หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดาเนินชีวติ
รายวชิ า สุขศึกษา พลศึกษา
( ทช11002 )
ระดบั ประถมศึกษา
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551
สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ
ห้ามจาหน่าย
หนงั สือเรียนเล่มน้ีจดั พมิ พด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพ่ือการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน ลิขสิทธ์ิ
เป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวชิ าการลาดบั ที่ 12/2555
หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดาเนินชีวติ
รายวชิ า สุขศึกษา พลศึกษา ( ทช 11002 )
ระดบั ประถมศึกษา
ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560
ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวชิ าการลาดบั ท่ี 12/2555
คํานาํ
กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศกั ราช 2551 เม่อื วนั ที่ 18 กนั ยายน พ.ศ. 2551 แทนหลกั เกณฑและวิธกี ารจัดการศกึ ษานอกโรงเรียน
ตามหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2544 ซ่ึงเปนหลักสูตรท่ีพัฒนาข้ึนตามหลักปรัชญาและ
ความเชื่อพ้ืนฐานในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนที่มีกลุมเปาหมายเปนผูใหญมีการเรียนรูและส่ังสม
ความรูและประสบการณอ ยา งตอเนือ่ ง
ในปง บประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดก ําหนดแผนยุทธศาสตรใ นการขบั เคลอื่ นนโยบาย
ทางการศึกษาเพือ่ เพ่มิ ศกั ยภาพและขดี ความสามารถในการแขงขันใหป ระชาชนไดมีอาชีพทส่ี ามารถสรา ง
รายไดที่ม่ังคั่งและม่ันคง เปนบุคลากรที่มีวินัย เปยมไปดวยคุณธรรมและจริยธรรม และมีจิตสํานึก
รับผิดชอบตอตนเองและผูอ่ืน สํานักงาน กศน. จึงไดพิจารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย มาตรฐาน ผล
การเรียนรทู ค่ี าดหวัง และเนือ้ หาสาระ ทัง้ 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั
การศกึ ษา ข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ใหม ีความสอดคลองตอบสนองนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ
ซง่ึ สงผลใหตอ งปรบั ปรุงหนังสือเรียน โดยการเพ่ิมและสอดแทรกเน้ือหาสาระเก่ียวกับอาชีพ คุณธรรม
จริยธรรมและการเตรยี มพรอม เพ่ือเขาสปู ระชาคมอาเซยี น ในรายวิชาท่ีมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน แต
ยังคงหลักการและวิธีการเดิมในการพัฒนาหนังสือท่ีใหผูเรียนศึกษาคนควาความรูดวยตนเอง ปฏิบัติ
กจิ กรรม ทาํ แบบฝกหัด เพ่ือทดสอบความรูความเขาใจ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรูกับกลุม หรือ
ศกึ ษาเพมิ่ เตมิ จากภมู ิปญ ญาทอ งถิ่น แหลง การเรยี นรแู ละสอ่ื อนื่
การปรับปรุงหนังสือเรียนในคร้ังนี้ ไดรับความรวมมืออยางดีย่ิงจากผูทรงคุณวุฒิในแตละ
สาขาวิชา และผูเก่ียวขอ งในการจดั การเรียนการสอนที่ศึกษาคนควา รวบรวมขอมูลองคความรูจากสื่อ
ตา ง ๆ มาเรียบเรียงเนือ้ หาใหค รบถว นสอดคลองกับมาตรฐาน ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวัง ตัวชี้วัดและกรอบ
เนื้อหาสาระของรายวชิ า สํานักงาน กศน.ขอขอบคณุ ผมู สี ว นเกย่ี วของทกุ ทานไว ณ โอกาสนี้ และหวังวา
หนังสือเรียน ชุดน้ีจะเปนประโยชนแกผูเรียน ครู ผูสอน และผูเก่ียวของในทุกระดับ หากมี
ขอ เสนอแนะประการใด สาํ นกั งาน กศน. ขอนอมรับดวยความขอบคณุ ย่ิง
สารบญั หนา
1
บทท่ี 1 รางกายของเรา 2
เร่อื งท่ี 1 วัฏจกั รชวี ติ ของมนษุ ย
เรือ่ งที่ 2 โครงสรา ง หนา ทแ่ี ละการทํางานของอวัยวะภายนอก ภายใน ที่สําคญั 4
ของรางกาย
เรอื่ งที่ 3 การดูแลรักษาปอ งกนั ความผดิ ปกติของอวยั วะสําคญั ของรางกาย 10
อวัยวะภายนอกและภายใน 16
17
บทที่ 2 พัฒนาการทางเพศของวัยรนุ การคุมกําเนดิ และโรคติดตอทางเพศสัมพนั ธ 19
เรอ่ื งท่ี 1 พฒั นาการทางเพศของวยั รนุ 20
เรอ่ื งที่ 2 การดูแลสขุ ภาพเบอื้ งตนในวัยรนุ 24
เรอ่ื งท่ี 3 การคุมกาํ เนิด 27
เรอื่ งท่ี 4 วิธีการสรางสัมพนั ธภาพทีด่ รี ะหวา งคนในครอบครวั 29
เรอ่ื งท่ี 5 การสื่อสารเรื่องเพศในครอบครวั 39
เรอ่ื งที่ 6 ปญหาที่เก่ยี วขอ งกับพัฒนาการทางเพศของวัยรนุ 44
เร่อื งที่ 7 ทกั ษะการจัดการกับปญ หา อารมณ และความตองการทางเพศของวัยรนุ 47
เรอ่ื งท่ี 8 หลากหลายความเชื่อทผ่ี ดิ ในเรอ่ื งเพศ 53
เรอ่ื งท่ี 9 กฎหมายที่เกย่ี วขอ งกบั การลว งละเมดิ ทางเพศ 58
เร่อื งที่ 10 โรคตดิ ตอทางเพศสมั พันธ 59
65
บทที่ 3 การดูแลสขุ ภาพ 67
เร่ืองที่ 1 ความหมาย ความสําคญั และคณุ คาของอาหาร และโภชนาการ 68
เรื่องท่ี 2 การเลอื กบรโิ ภคอาหารตามหลักโภชนาการ 70
เรื่องที่ 3 วธิ กี ารถนอมอาหารเพือ่ คงคุณคาของสารอาหาร 72
เรื่องท่ี 4 ความสาํ คญั ของการมสี ุขภาพดี 74
เรอ่ื งท่ี 5 หลกั การดูแลสุขภาพเบื้องตน 75
เรื่องที่ 6 ปฏิบตั ิตนตามหลักสุขอนามัยสว นบคุ คล 76
เรอ่ื งท่ี 7 คุณคา และประโยชนข องการออกกําลงั กาย
เรอื่ งที่ 8 หลกั การและวิธอี อกกําลงั กายเพื่อสุขภาพ
เรอ่ื งท่ี 9 การปฏบิ ัตติ นในการออกกาํ ลงั กายรปู แบบตา ง ๆ
เรอื่ งท่ี 10 ความหมาย ความสาํ คญั ของกจิ กรรมนันทนาการ 80
เรอ่ื งที่ 11 ประเภทและรูปแบบของกจิ กรรมนนั ทนาการ 81
บทท่ี 4 โรคติดตอ
เรื่องที่ 1 โรคตบั อักเสบจากเช้อื ไวรสั 82
เรื่องท่ี 2 โรคไขเลอื ดออก 83
เร่ืองท่ี 3 โรคไขหวดั ธรรมดา 84
เรือ่ งท่ี 4 โรคเอดส 85
เรือ่ งท่ี 5 โรคฉีห่ นู 86
เรอื่ งท่ี 6 โรคมอื เทา เปอย 88
เรอื่ งที่ 7 โรคตาแดง 90
เรอื่ งท่ี 8 โรคไขห วดั นก 91
บทที่ 5 ยาสามญั ประจําบา น 93
94
เร่ืองท่ี 1 หลักการและวธิ ีการใชยาสามัญประจําบา น
เรือ่ งท่ี 2 อันตรายจากการใชยา และความเชอ่ื ท่ีผิดเกี่ยวกบั ยา 95
บทท่ี 6 สารเสพตดิ อนั ตราย 100
เรื่องท่ี 1 ความหมาย ประเภท และลกั ษณะของสารเสพติด 104
เร่อื งที่ 2 อันตรายจากสารเสพติด 105
บทที่ 7 ความปลอดภยั ในชวี ิตและทรัพยส นิ 108
110
เรือ่ งที่ 1 อนั ตรายท่อี าจเกดิ ในชวี ติ ประจําวนั
เร่อื งท่ี 2 อันตรายทเ่ี กดิ ขึน้ ในบา น 111
เรอื่ งท่ี 3 อันตรายทเ่ี กิดขึน้ จากการเดนิ ทาง 113
เรื่องท่ี 4 อันตรายจากภัยธรรมชาติ 113
บทที่ 8 ทกั ษะชวี ติ เพ่อื การคิด 115
เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคญั ของทักษะชวี ิต 10 ประการ 118
เรื่องท่ี 2 ทักษะชวี ิตที่จาํ เปน 119
บทที่ 9 อาชีพกบั งานบรกิ ารดานสขุ ภาพ 120
ความหมายงานดา นบรกิ ารดา นสุขภาพ 126
การนวดแผนไทย
ธุรกจิ นวดแผนไทย 129
บรรณานกุ รม 129
คณะผูจดั ทํา 136
139
141
คาํ แนะนาํ การใชห นังสือเรยี น
หนังสือเรียนสาระทักษะการดําเนินชีวิต รายวิชา สุขศึกษา พลศึกษา ระดับประถมศึกษา รหัส
ทช 11002 เปนหนังสือเรียนที่จัดทําข้ึน สําหรับผูเรียนที่เปนนักศึกษานอกระบบ ในการศึกษาหนังสือ
เรียนสาระทักษะการดาํ เนนิ ชีวิต รายวชิ าสขุ ศกึ ษา พลศกึ ษา ผเู รียนควรปฏิบัตดิ ังนี้
1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอและสาระสําคัญ ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง
และขอบขา ยเน้ือหาของรายวชิ าน้นั ๆ โดยละเอียด
2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามที่กําหนด
แลว ตรวจสอบกับแนวตอบกจิ กรรมตามท่กี าํ หนด ถาผเู รียนตอบผิดควรกลบั ไปศึกษาและทําความเขาใจ
ในเนอ้ื หาน้นั ใหมใหเ ขาใจ กอนทจ่ี ะศกึ ษาเรือ่ งตอ ๆ ไป
3. ปฏิบัติกิจกรรมทายเรื่องของแตละเรื่อง เพื่อเปนการสรุปความรู ความเขาใจของเนื้อหา
ในเรื่องนัน้ ๆ อกี คร้งั และการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมของแตล ะเนอ้ื หา แตล ะเร่อื ง ผเู รยี นสามารถนาํ ไปตรวจสอบ
กบั ครูและเพอ่ื น ๆ ที่รวมเรียนในรายวิชาและระดบั เดยี วกันได
4. หนงั สอื เรยี นเลมนีม้ ี 8 บท
บทที่ 1 รา งกายของเรา
บทที่ 2 พัฒนาการทางเพศของวัยรนุ การคุมกําเนดิ และโรคติดตอ ทางเพศสัมพนั ธ
บทที่ 3 การดูแลสขุ ภาพ
บทที่ 4โรคตดิ ตอ
บทท่ี 5 ยาสามัญประจาํ บาน
บทที่ 6 สารเสพตดิ อันตราย
บทที่ 7 ความปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพยสนิ
บทท่ี 8 ทกั ษะชวี ิตเพ่อื การคดิ
บทท่ี 9 อาชีพกบั งานบรกิ ารดา นสขุ ภาพ
โครงสรา งหลักสตู รรายวิชาสาระทกั ษะการดาํ เนนิ ชีวิต
ระดบั ประถมศกึ ษา สุขศกึ ษา พลศึกษา (ทช11002)
สาระสําคญั
เปนสาระที่เก่ียวของกับธรรมชาติการเจริญเติบโต และพัฒนาการของมนุษย เมื่อมนุษยมีการ
พฒั นาการดา นสรรี ะ เจรญิ เติบโต แลว มนุษยตองดแู ลและสรา งเสรมิ พฤติกรรมสุขภาพทดี่ ีของตนเองและ
ครอบครัว ปฏิบตั ิตนจนเกิดเปน นสิ ัย รูจกั หลกี เลี่ยงพฤติกรรมเส่ียงตอสุขภาพ ตลอดจนสงเสริมสุขภาพ
พลานามยั ของตนเองและครอบครัว
ผลการเรยี นรูท่คี าดหวงั
1. อธบิ ายธรรมชาตกิ ารเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนุษยได
2. บอกหลักการดแู ลและสรางเสริมสขุ ภาพท่ดี ีของตนเองและครอบครวั
3. ปฏิบัตติ นในการดูแลและสรางเสรมิ พฤติกรรมสขุ ภาพพลานามยั จนเปน กิจนสิ ยั
4. ปองกนั และหลีกเล่ียงพฤติกรรมเส่ียงตอ สุขภาพและความปลอดภัยดว ยกระบวนการทกั ษะชวี ติ
ขอบขายเนือ้ หาวิชา
บทท่ี 1 รา งกายของเรา
บทท่ี 2 พัฒนาการทางเพศของวยั รนุ การคมุ กําเนดิ และโรคตดิ ตอทางเพศสมั พันธ
บทท่ี 3 การดแู ลสุขภาพ
บทที่ 4 โรคตดิ ตอ
บทที่ 5 ยาสามัญประจําบาน
บทที่ 6 สารเสพตดิ อันตราย
บทที่ 7 ความปลอดภัยในชวี ิตและทรพั ยส นิ
บทท่ี 8 ทักษะชวี ติ เพ่ือการคิด
บทที่ 9 อาชพี กบั งานบรกิ ารดานสุขภาพ
1
บทท่ี 1
รางกายของเรา
สาระสําคญั
รางกายของมนุษยประกอบดวยอวัยวะตางๆ ท้ังภายใน และภายนอกท่ีทําหนาท่ีตางๆ
ตามความสําคัญของโครงสรางรางกายมนุษย รวมถึงการปองกันดูแลรักษาไมใหเกิดอาการผิดปกติ
เพื่อใหรางกายไดมีการพัฒนาและเปล่ียนแปลงตามวัฏจักรชีวิตของมนุษยและมีสุขภาพกายที่สมบูรณ
ตามวัย
ผลการเรียนรทู ี่คาดหวัง
1. อธิบายการเปลย่ี นแปลงและพัฒนาการตามวัยของรางกายได
2. อธิบายโครงสรางและการทํางานของอวัยวะภายใน และภายนอกได
3. อธิบายวิธีการดูแลรักษาปองกันความผิดปกติของอวัยวะท่ีสําคัญของรางกาย ท้ังภายใน
และภายนอกได
ขอบขายเนอ้ื หา
เรอื่ งที่ 1 วฏั จักรชีวิตของมนษุ ย
เรือ่ งท่ี 2 โครงสราง หนา ทแ่ี ละการทํางานของอวยั วะภายนอก ภายใน ที่สําคัญของรางกาย
เรือ่ งที่ 3 การดแู ลรักษาปองกนั ความผดิ ปกติของอวัยวะสาํ คัญของรา งกาย อวยั วะภายนอกและ
ภายใน
2
เรอ่ื งที่ 1 วัฏจักรชีวิตของมนษุ ย
ธรรมชาตขิ องชีวิตมนษุ ย
ธรรมชาติของมนุษยประกอบไปดวยการเกิด แก เจ็บ ตาย ซ่ึงเปนธรรมดาของชีวิตท่ี
ทุกคนหลีกไมพ น ดงั นั้นควรเรียนรแู ละปฏิบัติตนดวยความไมประมาท
1. การเกิด
ทุกคนเกิดมาจากพอซ่งึ เปนเพศชาย และแมซ่ึงเปน เพศหญงิ โดยธรรมชาติไดกําหนดให
เพศหญิงเปนคนอุมทองตามปกติประมาณ 9 เดือน จะคลอดจากครรภมารดา เจริญเติบโตเปนทารก
แลวพัฒนาการเปนวัยเด็ก วัยรุน วัยผูใหญ วัยชรา ตามลําดับ รางกายของคนเราก็จะคอย ๆ เปล่ียนไป
ตามวัย
2. การแก
เมือ่ อายุมากขน้ึ รางกายจะมีการเปลี่ยนแปลงท่เี หน็ ไดช ัด เชน เมื่ออยูในชวงชรารางกาย
จะเสอ่ื มสภาพลง ผิวหนงั เหี่ยวยน การเคลอ่ื นไหวชา ลง คนสวนใหญเ รยี กวา “คนแก”
3. การเจบ็
การเจ็บปวยของมนุษยสวนใหญเกิดจากการขาดการดูแลรักษาสุขภาพที่ถูกตองและ
สม่ําเสมอ คนสวนใหญมักเคยเจ็บปวย บางคนเจ็บปวยเล็ก ๆ นอย ๆ หรือมาก จนตองรับการรักษา
จากแพทย ถาไมดูแลรักษาสุขภาพตนเอง รางกายยอมออนแอและมีโอกาสจะรับเช้ือโรคเขาสูรางกาย
ไดง ายกวาบคุ คลทร่ี ักษาสุขภาพสมาํ่ เสมอ
4. การตาย
ความตายเปนสิ่งที่ทุกคนหนีไมพน เกิดแลวตองตายดวยกันทุกคน แตการตายน้ัน
ตองถึงวัยท่ีรางกายเสื่อมสภาพไปตามธรรมชาติ เมื่ออยูในวัยหนุมสาวจึงควรดูแลรักษาสุขภาพและ
ดาํ รงชวี ติ ดว ยความไมป ระมาท
การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการตามวยั
การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย จะเร่ิมต้ังแตเกิด ซึ่งแบงไดเปน 5 ชวงวัย
โดยแตละวยั จะมีลักษณะและพฒั นาการเฉพาะของวยั
การเจรญิ เติบโต (Growth) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงในขนาดรูปราง สัดสวนตลอดจน
กระดูก กลามเน้ือ และอวยั วะทกุ สวนของรา งกายตามลําดับข้นั
3
พัฒนาการ (Development) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของมนุษยทุกสวนที่ตอเนื่องกัน
ตงั้ แตแรกเกดิ จนตลอดชวี ิต ซ่ึงเปน กระบวนการเปลี่ยนแปลงท้ังรางกายและจิตใจผสมผสานกันไปเปน
ข้นั ๆ จากระยะหน่งึ ไปสอู กี ระยะหนงึ่ ทําใหเกดิ การเจริญกาวหนา เปนลาํ ดับ ซึง่ แบงเปน 5 ชว งวัย ดังนี้
1. วัยทารก (Infancy) ตง้ั แตเกดิ – 2 ป
เด็กในวัยน้ีจะมีพัฒนาการทางดานรางกายที่รวดเร็วมากในขวบปแรกเปน 2 เทาจาก
แรกเกิด ปตอไปมาพัฒนาการจะเพิ่มข้ึนเพียง 30 % จากน้ันจะเจริญเติบโตข้ึนตามลําดับ ตามแผนของ
การพัฒนา วยั ทารกจะสามารถรับรูส ่ิงตา ง ๆ ไดในระดับเบ้ืองตน เชน รูจักสํารวจ คนหา ทําความเขาใจ
และปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมรอบ ๆ ตัว รูจักใชอวัยวะสัมผัสส่ิงตางๆ วัยน้ีตองอาศัยการเลี้ยงดู
เอาใจใสม ากทสี่ ุด
2. วยั เด็ก (Childhood) ต้งั แต 3 – 12 ป
การเจริญเติบโตในวัยน้ีสวนใหญเปนเร่ืองของกระดูกกลามเนื้อ และการประสานกับ
ระบบตา ง ๆ ในรางกาย ความแตกตางระหวางบุคคลและเพศตรงกันขาม จะปรากฏชัดเจน โดยวัยเด็ก
แบงออกเปน 3 ชวง ดังน้ี
2.1 วัยเด็กตอนตน (3 - 5 ป) รูจักใชภาษา หัดพูด กินขาว ลางมือ รูจักสังเกต อยากรู
อยากทดลอง และเลน
2.2 วัยเดก็ ตอนกลาง (6 - 9 ป) เร่มิ ไปโรงเรียนตอ งปรับตวั เขา กับคนแปลกหนา และทํา
ความเขา ใจกับระเบยี บของโรงเรียน รจู กั เลอื กตัดสินใจ รับผดิ ชอบการทาํ งานของตนเองได
2.3 วัยเด็กตอนปลาย (10 – 12 ป) เพศชาย - หญิง จะแสดงความแตกตางชัดเจนในดาน
พฤติกรรมและความสนใจ เดก็ หญิงจะโตกวา เดก็ ชาย มีทกั ษะการใชภ าษาท่ีดีขึ้น ทําตามคําส่ังได เรียนรู
บทบาททเ่ี หมาะสมกบั เพศของตน และจะเลน เฉพาะกลุม ทเี่ ปน เพศเดียวกนั
3. วัยรุน (Adolescence) อายุระหวา ง 13 – 20 ป
วัยนี้เปนชวงหัวเล้ียวหัวตอของชีวิต เนื่องจากเปนวัยท่ีมีการเปลี่ยนแปลงทางรางกาย
จิตใจและตอ งปรับตัวเขากับส่งิ ใหมๆ ที่เกดิ ขึ้น รวมทั้งปรับตัวใหเขากับสังคม บางคร้ังทําใหเกิดปญหา
ตาง ๆ ขน้ึ โดยเฉพาะปญหาทางเพศ เร่ิมใหความสนใจกับเพศตรงกันขาม เริ่มมองอนาคต คิดถึงการมี
อาชีพของตน คิดถึงครอบครัว อยากรูอยากเห็น อยากแสดงความสามารถ บางคร้ังแสดงออกในทางท่ี
ไมถูกตอง จึงทาํ ใหเ กิดปญหาขึน้ ผูปกครองหรอื ผูใหญ ควรใหคาํ แนะนาํ ท่ีเหมาะสม
4
4. วัยผูใ หญ (Adulthood) อายุระหวา ง 21 – 60 ป
วัยน้รี า งกายเจริญเติบโตเตม็ ทแี่ ลว มีรูปรางสมสวน รางกายแข็งแรง แตเนื่องจากความ
เจรญิ เติบโตและพฒั นาการทางกาย และใจของแตละคนตางกัน เชน คนที่เปนลูกคนโต ตองดูแลนอง ๆ
กอ็ าจจะเปนผูใหญเร็วกวานองคนเล็ก หรือคนท่ีกําพราพอแม ก็ยอมเปนผูใหญเร็วกวาคนที่มีพอแมอยู
ใกลชิด สรุปไดวาวัยนี้ เปนวัยท่ีมีความเจริญดานตาง ๆ ทั้งดานความสนใจ ทัศนคติ และคานิยม
โดยเฉพาะเรื่องอาชีพ การเลือกคูครอง และการมีชีวิตครอบครัว เปนวัยท่ีมีพละกําลัง มีความสามารถ
ในการทาํ งานมากทสี่ ดุ เพราะเปน วัยทตี่ อ งรับผดิ ชอบในหนาที่ เพอ่ื ครอบครัวและประเทศชาติ
5. วยั ชรา (Old Age) อายุ 60 ปข น้ึ ไป
วัยน้ีเปนวัยท่ีมีการเปล่ียนแปลงทางดานรางกาย จิตใจ อารมณ รวมท้ังสมองในทาง
เสอื่ มลง จงึ ประสบปญ หาสขุ ภาพมากกวา วยั อ่ืน มอี าการหลงลืม มกั จะจําเรื่องราวในอดตี เหมาะที่จะเปน
ท่ีปรึกษาใหคําแนะนําแกผูอ่ืน เพราะเปนผูท่ีมีประสบการณมากอน วัยน้ีมักมีอารมณคอนขางเครียด
โกรธ และนอ ยใจงาย
เรอ่ื งที่ 2 โครงสรา ง หนา ท่แี ละการทาํ งานของอวยั วะภายนอก ภายใน
ทส่ี ําคญั ของรา งกาย
อวัยวะและระบบตา ง ๆ ในรา งกาย
อวัยวะภายนอกและอวัยวะภายใน
อวัยวะภายนอก เปน อวัยวะทมี่ องเห็นได เชน ตา หู จมกู ปากและผิวหนัง อวยั วะเหลาน้ี
มหี นา ท่ีการทํางานตา งกนั
อวยั วะภายใน เปน อวัยวะที่อยใู นรางกายท่ีมีความสําคัญมาก เพราะเปนสวนหน่ึงของ
ระบบตาง ๆ ภายในรางกาย โดยอวยั วะภายนอกและอวยั วะภายใน มีการทาํ งานทสี่ ัมพนั ธกันหากสวนใด
สว นหนึง่ บกพรอ ง หรือไดรับอนั ตรายก็อาจมีผลกระทบตอ สวนอน่ื ได
5
1. อวัยวะภายนอก มดี งั น้ี
1.1 ตา เปนอวัยวะทีท่ าํ ใหม องเห็นสิง่ ตางๆ และชว ยใหเ กดิ การเรียนรู เพราะถาไมมี
ดวงตา สมองจะไมสามารถรับรูและจดจําสิ่งท่ีอยูรอบตัว นอกจากน้ันตายังแสดงออกถึงอารมณ
ความรสู ึกตา งๆ เชน ดใี จ เสยี ใจ ตกใจ
สวนประกอบของตา ท่สี าํ คัญมดี ังนี้
(1) ค้ิว เปนสวนประกอบท่ีอยูเหนือหนังตาบน ทําหนาท่ีปองกันอันตราย
ไมใหเกิดกับดวงตา โดยปองกันส่ิงสกปรก เหงื่อ น้ํา และส่ิงแปลกปลอมท่ีอาจไหลหรือตกมาจาก
หนา ผาก หรอื ศีรษะ เขา สูด วงตาได
(2) หนงั ตา และเปลอื กตา ทาํ หนา ที่เปด ปดตา เพ่อื รบั แสง และปอ งกันอันตราย
ท่ีอาจเกดิ ข้นึ แกต า และกระจกตา โดยอตั โนมัติเม่อื มสี ิง่ อนั ตรายเขา มาใกลตา
(3) ขนตา เปนสวนประกอบที่อยูหนังตาบน หนังตาลาง ทําหนาที่ปองกัน
อนั ตราย เชนฝนุ ละออง ไมใหทาํ อนั ตรายแกต า
(4) ตอ มน้าํ ตา เปนสว นประกอบของตาที่อยูในเบาตา ทางดานหางคิ้วบริเวณ
หนงั ตาบน ทาํ หนาทซี่ ับนาํ้ ตา มาชว ยใหต าชมุ ช้ืน และขับสงิ่ สกปรกออกมากบั นํ้าตา
1.2 หู เปนอวัยวะรับสัมผัสท่ีทําใหไดยินเสียงตาง ๆ เชน เสียงเพลง เสียงพูดคุย
การไดยนิ เสยี ง ทาํ ใหเกิดการสือ่ สารระหวา งกัน ถาหูผิดปกติไมไดยินเสียงใดเลย สมองไมสามารถแปล
ความไดว าเสยี งตา ง ๆ เปน อยา งไร
สว นประกอบของหู
สว นประกอบของหแู บงเปน 3 สว น คือ หชู ั้นนอก หูชน้ั กลาง หูชัน้ ใน
(1) หูชน้ั นอก ประกอบดว ยสว นตาง ๆ ดังนี้
ใบหู ทาํ หนาท่ีรบั เสียงสะทอนเขา สูรหู ู
รูหู ทําหนาที่เปนทางผานของเสียง ใหเขาไปสูสวนตาง ๆ ของรูหู
ภายในรหู จู ะมตี อ มนํ้ามัน ทําหนาท่ีผลิตไขมันทําใหหูชุมชื้น และดักจับฝุนละออง และส่ิงแปลกปลอม
ทเ่ี ขามาภายในรหู ู และเกดิ เปน ขห้ี ู นอกจากน้นั ภายในรหู ยู ังมเี ยื่อแกวหู ซึ่งเปน เยอื่ แผนกลมบาง ๆ กั้นอยู
ระหวา งหชู ้นั นอก กบั หชู นั้ กลาง ทาํ หนาท่ีถายทอดเสียงผานหชู ั้นกลาง
(2) หูชัน้ กลาง มีลักษณะเปน โพรง ประกอบดวยสวนตาง ๆ ไดแก กระดูก
รูปคอน กระดูกรูปทั่ง และกระดูกรูปโกลน เปนกระดูกชิ้นนอกติดอยูกับหูช้ันใน กระดูกท้ัง 3 ชิ้น
ดังกลาว ทําหนา ท่รี บั คลื่นเสียงตอจากเยอ่ื แกวหู
6
(3) หูช้ันใน มีลักษณะเปนรูปหอยโขง เปนสวนท่ีอยูดานในสุด ทําหนาท่ี
ขับคล่ืนเสียงโดยผานประสาทรับเสียงสงตอไปยังสมอง และสมองก็แปลผลทําใหรูวาเสียงท่ีไดยิน
คอื เสยี งอะไร
1.3 จมูก เปนอวัยวะรับสัมผัส ทําหนาท่ีหายใจเอาอากาศเขาและออกจากรางกาย
และมีหนาที่รับกลิ่นตาง ๆ ถาจมูกไมสามารถทําหนาที่ไดตามปกติ จะไมไดกล่ินอะไรเลย หรือทําให
ระบบการหายใจและการออกเสียงผดิ ปกติ
สวนประกอบของจมกู
จมูกเปนอวัยวะภายนอกท่ีอยูบนใบหนา ชวยเสริมใหใบหนาสวยงาม จมูก
แบง ออกเปน 3 สวน ดงั น้ี
(1) สนั จมูก เปนสว นที่มองเห็นจากภายนอก เปนกระดูกออ น ทาํ หนา ท่ปี อ งกัน
อันตรายใหก ับอวัยวะภายในจมกู
(2) รูจมูก รูจมูกมี 2 ขาง ทําหนาท่ีเปนทางผานของอากาศ ที่หายใจเขาออก
ภายในรจู มูกมีขนจมกู และเย่ือจมกู ทําหนาท่กี รองฝนุ และเช้อื โรคไมใหเ ขาสูห ลอดลมและปอด
(3) ไซนสั เปน โพรงอากาศครอบจมกู ในกะโหลกศีรษะ จํานวน 4 คู ทําหนาที่
พัดอากาศเขาสปู อด และปรบั ลมหายใจใหม อี ุณหภมู ิและความชืน้ พอเหมาะ
1.4 ปากและฟน เปนอวัยวะสําคัญของรางกายท่ีใชในการพูด ออกเสียง
และรับประทานอาหาร โดยฟนของคนเราจะมี 2 ชุด คือ ฟนน้าํ นมและฟนแท
(1) ฟนนํ้านม เปนฟนชุดแรก มีท้ังหมด 20 ซี่ เปนฟนบน 10 ซี่ ฟนลาง 10 ซ่ี
ฟนน้ํานมเริ่มงอกเมื่ออายุประมาณ 6 - 8 เดือน จะงอกครบเม่ืออายุ 2 ขวบ ถึง 2 ขวบคร่ึง และจะคอย ๆ
หลดุ ไปเมือ่ อายุประมาณ 6 ขวบ
(2) ฟนแท เปนฟนชุดท่ีสอง ท่ีเกิดขึ้นมาแทนฟนนํ้านมท่ีหลุดไป ฟนแทมี
32 ซ่ี ฟนบน 16 ซ่ี ฟน ลา ง 16 ซ่ี ฟนแทจะครบเมอื่ อายุประมาณ 21 - 25 ป ถาฟนแทผ ุหรือหลุดไป จะไม
มฟี นงอกขนึ้ มาอกี
7
หนา ท่ขี องฟน
ฟน มีหนาที่ในการเคี้ยวอาหาร เชน ฉีก กัด บดอาหารใหละเอียด ฟนจึงมีหนาที่และ
รูปรางตางกันไป ไดแก ฟนหนา มีลักษณะคลายลิ่ม ใชกัดตัด ฟนเขี้ยว มีลักษณะปลายแหลม ใชฉีก
อาหาร และฟน กราม มีลกั ษณะแบน กวา ง ตรงกลางมรี องใชบดอาหาร
1.5 ผิวหนัง เปนอวัยวะรับสัมผัส ทําใหรูสึก รอน หนาว เจ็บปวด เพราะภายใต
ผิวหนังเปนที่รวมของเซลลประสาทรับความรูสึก นอกจากน้ันผิวหนังยังทําหนาท่ีปกคลุมรางกาย
และชว ยปองกันอวัยวะภายในไมใหไดรับอันตราย และยงั ชวยระบายความรอนภายในรา งกายทางรูเหง่ือ
ตามผิวหนงั อกี ดวย
สวนประกอบของผวิ หนงั แบงออกเปน 2 ช้นั ดังน้ี
(1) ช้ันหนงั กาํ พรา เปน ช้นั บนสดุ เปน ชั้นทีจ่ ะหลุดเปนขี้ไคล แลวมีการสราง
ขน้ึ มาทดแทนข้นึ เรื่อย ๆ และเปน ผิวหนังช้ันทบี่ ง บอกความแตกตางของสผี ิวในแตล ะคน
(2) ชั้นหนังแท เปนผิวหนังที่หนากวาช้ันหนังกําพรา เปนแหลงรวมของ
ตอ มเหงอื่ ตอมไขมัน และเซลลประสาทรับความรสู กึ ตา ง ๆ
2. อวัยวะภายใน
อวยั วะภายในเปนอวัยวะที่อยูใตผิวหนัง ซ่ึงเราไมสามารถมองเห็น อวัยวะภายใน
เหลาน้ีมีมากมายและทํางานประสานสมั พันธกันเปน ระบบ
2.1 ปอด ปอดเปนอวัยวะภายในอยางหนึ่ง อยูในระบบหายใจ ปอดมี 2 ขาง ตั้งอยู
บริเวณทรวงอกทง้ั ทางดานซายและดานขวา จากตน คอลงไปจนถึงอก ปอดมีลกั ษณะน่ิมและหยุนเหมือน
ฟองน้ํา ขยายใหญเทากับซ่ีโครงเวลาที่ขยายตัวเต็มท่ี มีเยื่อบาง ๆ หุม เรียกวา เย่ือหุมปอด ปอด
ประกอบดวยถุงลมเล็กๆ จํานวนมากมาย เวลาหายใจเขาถุงลมจะพองออกและเวลาหายใจออกถุงลมจะ
แฟบ ถุงลมนปี้ ระสานติดกันดวยเย่ือประสานละเอียดเต็มไปดวยเสนเลือดฝอยมากมาย เลือดดําจะไหล
ผานเสนเลือดฝอยเหลา นั้น แลวคายคารบอนไดออกไซดอ อก และรับเอาออกซิเจนจากอากาศท่ีเราหายใจ
เขาไปในถุงลมไปใชในกระบวนการเคมีในการสันดาปอาหารของรางกาย กระบวนการที่เลือดคาย
คารบอนไดออกไซด และรับออกซิเจนขณะท่ีอยใู นปอดน้ี เรยี กวา การฟอกเลือด
8
หนาทีข่ องปอด
ปอดจะทาํ หนาที่สูบและระบายอากาศ ฟอกเลือดเสียใหเปนเลือดดี การหายใจมีอยู
2 ระยะ คอื หายใจเขา และหายใจออก หายใจเขา คอื การสูดอากาศเขาไปในปอดหรือถุงลมปอด เกิดข้ึน
ดว ยการหดตวั ของกลามเนอ้ื กะบงั ลม ซ่ึงกน้ั อยรู ะหวางชอ งอกกบั ชองทอง เมื่อกลามเนื้อกะบังลมหดตัว
จะทําใหชองอกมีปริมาตรมากข้ึน อากาศจะวิ่งเขาไปในปอด เรียกวาหายใจเขา เม่ือหายใจเขาสุดแลว
กลามเนื้อกะบังลมจะคลายตัวลง กลามเนื้อทองจะดันเอากลามเนื้อกะบังลมข้ึน ทําใหชองอกแคบลง
อากาศจะถกู บบี ออกจากปอด เรยี กวา หายใจออก ปกติผูใหญหายใจประมาณ 18 - 22 คร้ังตอนาที ผูท่ีมี
อายนุ อยการหายใจจะเรว็ ข้นึ ตามอายุ
2.2 หัวใจ เปนอวัยวะท่ีประกอบดวยกลามเนื้อ ภายในเปนโพรง รูปรางเหมือนดอก
บวั ตูม มีขนาดราวๆ กาํ ปน ของเจา ของ รอบๆ หวั ใจมีเยือ่ บางๆ หุมอยเู รยี กวา เย่ือหุมหัวใจ ซ่ึงมีอยู
2 ชน้ั ระหวางเย่อื หุม ท้งั สองชน้ั จะมชี อง ซ่ึงมีนํ้าใสสีเหลืองออนหลออยูตลอดเวลา เพื่อมิใหเยื่อทั้งสอง
ชั้นเสยี ดสกี นั และทําให หวั ใจเตนไดสะดวกไมแหงติดกับเยอื่ หุมหวั ใจ หัวใจตั้งอยูร ะหวา งปอดท้ังสอง
ขา ง แตคอ นไปทางซายและอยูหลังกระดูกซ่ีโครงกับกระดูกอก โดยปลายแหลม ชี้เฉียงลงทางลาง
และชี้ไปทางซา ย ภายในหัวใจจะมโี พรง ซึง่ ภายในโพรงนี้จะมผี นังกัน้ แยกออกเปนหอ งๆ รวม 4 หอง คือ
หอ งบน 2 หอง และหองลา ง 2 หอ ง สาํ หรับหอ งบนจะมขี นาดเล็กกวาหองลาง
หนาทข่ี องหัวใจ
หัวใจมจี งั หวะการบีบตัว หรือที่เราเรียกวาการเตนของหัวใจ เพ่ือสูบฉีดเลือดแดง ไป
หลอ เลี้ยงรางกายตามสว นตางๆ ของรา งกาย ขณะท่ีคลายตัวหัวใจหองบนขวาจะรับเลือดดํามาจาก ท่ัว
รางกาย และจะถูกบีบผานล้ินที่กั้นอยูลงไปทางหองลางขวา ซึ่งจะถูกฉีดไปยังปอดเพื่อคาย
คารบอนไดออกไซดและรับออกซิเจนใหมกลายเปนเลือดแดง ไหลกลับเขามายังหัวใจหองบนซาย
และถูกบบี ผา นลิน้ ท่ีก้นั อยไู ปทางหองลางซาย จากน้ันกจ็ ะถกู ฉดี ออกไปเล้ยี งท่ัวรางกาย ถาเราใชน้ิวแตะ
บริเวณเสนเลือดใหญ เชน ขอมือ หรือขอพับตาง ๆ เราจะรูสึกไดถึงจังหวะการบีบตัวของหัวใจ
ซึง่ เราเรียกวา ชีพจร หัวใจเปนอวัยวะท่ีสําคัญท่ีสุด เพราะเปนอวัยวะที่บอกไดวาคนนั้นยังมีชีวิตอยูได
หรอื ไม ถา หากหวั ใจหยุดเตน กห็ มายถงึ วา คนคนนนั้ เสียชีวิตแลว การเตน ของหัวใจน้ัน ในคนปกติหัวใจ
จะเตน ประมาณ 70 - 80 ครัง้ ตอ นาที หัวใจตอ งทาํ งานหนกั ตลอดชวี ิต ทง้ั เวลาหลับและตื่น เวลาทห่ี ัวใจจะ
ไดพักผอนบา งกค็ อื ตอนทีเ่ รานอนหลบั หวั ใจจะเตน ชา ลง เราจึงตอ งระมัดระวังรกั ษาหวั ใจใหแข็งแรงอยู
เสมอ โดยอยาใหห วั ใจตอ งทํางานหนกั มากจนเกนิ ไป
9
2.3 กระเพาะอาหาร มีรูปรางเหมือนนํ้าเตา คลายกระเพาะหมู มีความจุประมาณ 1
ลิตร อยูตอ หลอดอาหารและอยใู นชอ งทอ งคอนไปทางดานซาย
หนา ที่สําคญั ของกระเพาะอาหาร คอื มีหนาท่ีในการยอยอาหารท่ีมีขนาดเล็กลง และ
ละลายใหเปน สารอาหาร แลวสงอาหารท่ียอยแลวไปยงั ลําไสเล็ก แลวลาํ ไสเล็กจะดูดซึมไปใชประโยชน
แกร างกายตอไป สวนทไ่ี มเปน ประโยชนท ีเ่ รยี กวากากอาหารจะถูกสงตอไปยังลําไสใหญ เพื่อขับถาย
ออกจากรางกายเปนอุจจาระตอไป สิ่งท่ีชวยใหกระเพาะยอยอาหารก็คือ น้ํายอยซ่ึงมีสภาพ เปนกรด
นา้ํ ยอยในกระเพาะจะมีเปนจํานวนมากเม่ือถึงเวลารับประทานอาหาร ถาไมรับประทานอาหารใหตรง
เวลานา้ํ ยอยจะกดั เนื้อเยอื่ ในบริเวณกระเพาะไดเ ชน กัน อาจจะทําใหเ กดิ เปนแผลในกระเพาะอาหารได วิธี
ท่จี ะชว ยปอ งกนั ไดก ค็ ือ ดม่ื นํา้ สะอาดใหม ากๆ และรบั ประทานอาหารใหต รงเวลา งดรับประทานอาหาร
ทม่ี ีรสจัด
2.4 ลําไสเล็ก มีลักษณะเปนทอกลวงยาวประมาณ 6 เมตร ขดอยูในชองทอง
ตอนบน ปลายบนเชื่อมกับกระเพาะอาหาร สว นปลายลา งตอ กับลาํ ไสใ หญ
หนาท่ีสําคัญของลําไสเล็ก คือ ยอยอาหารตอจากกระเพาะอาหาร จนอาหาร มี
ขนาดเลก็ พอท่ีจะดูดซมึ เขาสกู ระแสเลือด เพอ่ื นําไปเล้ยี งสว นตาง ๆ ของรา งกาย
2.5 ลาํ ไสใ หญ เปนอวัยวะทีอ่ ยูในระบบทางเดนิ อาหาร ลาํ ไสใหญของคนมคี วามยาว
ประมาณ 1.5 เมตร เสนผานศูนยกลางประมาณ 6 เซนติเมตร แบง ออกเปน 3 สวน คือ
(1) กระเพาะลําไสใหญ เปนลําไสใหญสวนแรก ตอจากลําไสเล็ก ทําหนาท่ี
รบั กากอาหารจากลําไสเลก็
(2) โคลอน (Colon) เปนลําไสใหญสวนที่ยาวที่สดุ ประกอบดวยลําไสใหญขวา
ลําไสใหญกลาง และลําไสใหญซาย มีหนาที่ดูดซึมน้ําและพวกวิตามินบี12 ที่แบคท่ีเรียในลําไสใหญ
สรา งข้ึนและขบั กากอาหารเขา สลู ําไสใ หญสว นตอ ไป
(3) ไสต รง เม่ือกากอาหารเขาสูไสต รงจะทาํ ใหเกิดความรูส กึ อยากถายขน้ึ
เพราะความดนั ในไสตรงเพ่มิ ขน้ึ เปนผลทาํ ใหก ลา มเนือ้ หรู ูดท่ที วารหนกั ดา นใน ซึง่ จะทําใหเกดิ การ
ถายอจุ จาระออกทางทวารหนักตอ ไป
หนา ท่ีของลาํ ไสใ หญ
(1) ชว ยยอยอาหารเพยี งเลก็ นอ ย
(2) ถายระบายกากอาหาร ออกจากรา งกาย
(3) ดูดซึมนาํ้ และสารอเิ ล็คโตรลัยต เชน โซเดียม และเกลอื แรอ ื่น ๆ จากอาหาร
10
ที่ถูกยอ ยแลว ทเี่ หลืออยใู นกากอาหาร รวมท้งั วติ ามินบางอยางทส่ี รางจากแบคทเี รยี ซง่ึ อาศยั อยู
ในลาํ ไสใ หญ ไดแ ก วติ ามินบรี วม วติ ามนิ เค ดว ยเหตนุ ้ี จึงเปนชองทางสาํ หรับใหน า้ํ อาหารและยาแก
ผปู วยทางทวารหนกั ได
(4) ทําหนา ทเ่ี กบ็ อุจจาระไวจ นกวาจะถงึ เวลาอนั สมควรทจี่ ะถายออกนอก
รางกาย
1.5 ไต เปน อวัยวะสว นหน่งึ ในระบบขบั ถาย จะขับถายของเสียจากรางกายออกมา
เปน นํ้าปสสาวะ ไตของคนเรามี 2 ขาง มีรปู รา งคลา ยเมลด็ ถ่วั แดง ยาวประมาณ 12 เซนติเมตร อยูติดผนัง
ชอ งทองดานหลงั ตํ่ากวา กระดูกซีโ่ ครงเล็กนอ ย
หนาท่ีสําคัญของไต คือ กรองของเสียออกจากเลือดแดง แลวขับของเสีย
ออกนอกรา งกายในรูปของปส สาวะ
เรือ่ งที่ 3 การดูแลรกั ษาปอ งกนั ความผดิ ปกติของอวยั วะสาํ คัญของรา งกาย อวยั วะ
ภายนอกและภายใน
การดูแลรกั ษาปอ งกนั ความผิดปกตขิ องอวัยวะสําคัญของรางกาย อวัยวะภายนอกและภายใน
มีความสําคัญของรางกาย จําเปนตองดูแลรักษาใหสามารถทํางานไดตามปกติ เพราะถาอวัยวะสวนใด
สว นหนึ่งเกิดความบกพรองหรือเกิดความผดิ ปกติ ระบบการทํางานนั้นก็จะบกพรองหรือผิดปกติดวย มี
วธิ กี ารงา ย ๆ ในการดูแลรกั ษาอวัยวะตาง ๆ ดังน้ี
1. การดแู ลรักษาตา
ตามคี วามสําคัญ ทาํ ใหม องเหน็ ส่งิ ตาง ๆ จึงควรดแู ลรักษาตาใหด ดี วยวธิ ี ดงั ตอ ไปนี้
1. ไมควรใชสายตาจองหรือเพงสิ่งตาง ๆ มากเกินไป ควรพักสายตาโดยการหลับตา
หรือมองออกไปยงั ที่กวาง ๆ หรอื พ้ืนที่สีเขียว
2. ขณะอา นหรือเขยี นหนงั สือ ควรใหแสงสวางอยางเพียงพอ และควรวางหนังสือใหหาง
จากตาประมาณ 1 ฟุต
3. ไมควรอา นหนังสอื ขณะอยูบนยานพาหนะ เชน รถ หรือรถไฟท่กี ําลงั แลน
11
4. ดูโทรทศั นใหหางจากจอภาพไมนอยกวา 3 เทา ของขนาดจอภาพ
5. เมอื่ มฝี ุนละอองเขา ตา ไมควรขยตี้ า ควรใชวธิ ลี มื ตาในนํ้าสะอาด หรอื ลางดวยน้าํ ยาลางตา
6. ไมค วรใชผ า เช็ดหนา รว มกับผูอ่ืน เพราะอาจติดโรคตาแดงจากผูอืน่ ได
7. หลกี เลยี่ งการมองบรเิ วณท่แี สงจา หรือหลกี เลยี่ งสถานท่ที ่มี ีฝุนละอองฟุงกระจาย
8. อยาใชย าลางตาเม่อื ไมม คี วามจาํ เปน เพราะตามธรรมชาตนิ าํ้ ในเปลอื กตาทําหนาทีล่ างตา
ดีท่สี ุด
9. บริหารเปลอื กตาบนและเปลือกตาทุกวันดวยการใชนิ้วช้ีรูดกดไปบนเปลือกตาจากค้ิว
ไปทางหางตา
2. การดแู ลรักษาหู
หูมีความสําคญั ตอการไดยนิ ถา หูผิดปกติจนไมส ามารถไดยินเสยี งตา งๆ การทํากิจกรรม
ในชวี ติ ประจาํ วนั ก็ไมร าบรื่นเกดิ อุปสรรค ดงั น้ันจงึ ควรดูแลรกั ษาหูใหท าํ หนาที่ใหด อี ยเู สมอ
1. หลีกเลี่ยงแหลงท่ีมีเสียงดังอึกทึก ถาหลีกเล่ียงไมไดควรปองกันตนเอง โดยหา
อปุ กรณม าอดุ หู หรอื ครอบหู เพือ่ ปองกนั ไมใ หแกว หูฉีกขาด
2. ไมควรแคะหดู วยวสั ดใุ ด ๆ เพราะอาจทาํ ใหหูอักเสบเกิดการติดเชอ้ื
3. เม่อื มีแมลงเขา หู ใหใ ชน ้ํามันมะกอก หรือนํ้ามันพาราฟลหยอดหู ท้ิงไวสักครูแมลง
จะตาย แลวจงึ เอยี งหูใหแ มลงไหลออกมา
4. ขณะวายนํ้า หรืออาบน้ํา พยายามอยาใหน้ําเขาหู ถามีนํ้าเขาหูใหเอียงหูใหน้ําออก
มาเอง
5. เม่ือเปนหวัดไมควรสั่งนํ้ามูกแรงๆ เพราะเช้ือโรคอาจผานเขาไปในรูหู เกิดอักเสบ
ตดิ เชอื้ กลายเปน หูนาํ้ หนวก และเมื่อมสี ง่ิ ผิดปกติเกิดขึ้นกับหู ควรปรึกษาแพทย
3. การดแู ลรกั ษาจมูก
จมูกเปนอวัยวะรับสัมผัสที่มีความสําคัญ ทําใหไดกล่ิน และหายใจเอาอากาศบริสุทธิ์
เขาสูป อด ควรดแู ลรกั ษาจมกู ใหทําหนา ทไี่ ดต ามปกตดิ วยวธิ ดี งั นี้
1. หลีกเล่ียงบริเวณท่ีมีฝุน ละอองฟุงกระจาย
2. ไมควรแคะจมกู ดวยวัสดุแข็ง เพราะอาจทําใหจมูกอักเสบ
3. ไมค วรสั่งน้ํามกู แรง ๆ ถาเปนหวดั เรื้อรงั ไมควรปลอ ยทงิ้ ไว ควรปรกึ ษาแพทย
4. ถามคี วามผิดปกติเกดิ ข้ึนกบั จมูก ควรปรึกษาแพทย
12
4. การดูแลรักษาปากและฟน
1. ควรแปรงฟนใหถกู วิธหี ลงั อาหารทกุ ม้อื หรือควรแปรงฟนอยางนอยวนั ละ 2 คร้ัง
2. ไมควรกดั หรือฉีกของแข็งดวยฟน และควรพบทันตแพทยเพือ่ ตรวจฟนทกุ 6 เดือน
3. ออกกําลังเหงือกดวยการถู นวดเหงือก ตอนเชา และกลางคืนกอนนอน โดยการ
อมเกลอื หรือเกลอื ปนผสมสารสม ปนประมาณ 5 นาที แลวนวดเหงือก
4. รับประทานผัก ผลไมสดมาก ๆ และหลีกเลี่ยงรับประทานลูกอม ช็อคโกแลตและ
ขนมหวาน ๆ
5. การดูแลรกั ษาผวิ หนงั
1. อาบนาํ้ อยา งนอ ยวนั ละ 2 คร้ัง หลงั จากอาบนา้ํ เสรจ็ ควรเช็ดตวั ใหแหง
2. สวมเสอื้ ผา ทส่ี ะอาด ไมเปยกช้นื และไมรัดรูปจนเกินไป
3. รับประทานอาหารท่ีมีประโยชนและด่ืมนํ้ามาก ๆ ออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ
หลกี เล่ยี งแสงแดดจา และระมดั ระวงั ในการใชเครอื่ งสาํ อาง
4. เมอื่ ผวิ หนังผดิ ปกติ ควรปรกึ ษาแพทย
6. การดูแลรกั ษาปอด มีขอ ควรปฏบิ ัติดังน้ี
1. ควรอยใู นสถานที่ที่มอี ากาศบริสทุ ธถิ์ ายเทไดเสมอ หลีกเลี่ยงอยูในสถานที่ท่ีมีฝูงชน
แออดั
2. ควรหายใจทางจมูก เพราะในจมกู มีขนจมูกและเยื่อเสมหะ ซึ่งจะชวยกรองฝนุ ละออง
และเชื้อโรคไมใ หเขา ไปในปอด หลีกเลี่ยงการหายใจทางปาก
3. ไมค วรนอนควา่ํ นาน ๆ จะทําใหปอดถูกกดทบั ทํางานไมส ะดวก
4. ไมค วรสูบบุหรี่ เพราะจะสงผลใหเปน อนั ตรายตอ ปอด
5. ควรน่ังหรือยืนตัวตรง ไมควรสวมเส้ือผาท่ีรัดแนน เพราะจะทําใหปอดขยายตัว
ไมส ะดวก
6. ควรรกั ษารางกายใหอบอนุ เพ่อื ปองกนั การเปนหวดั
7. ควรบริหารปอด ดวยการหายใจยาว ๆ วันละ 5-6 ครั้งทุกวัน ทําใหปอดขยายตัว
ไดเตม็ ท่ี
8. ควรระวังการกระทบกระเทือนอยางรุนแรงจากภายนอก เชน หนาอก แผนหลัง
เพราะจะกระทบกระเทือนไปถงึ ปอดดว ย
13
9. ควรพกั ผอ นใหเ ตม็ ที่ การออกกําลังกายหรือการเลนกีฬาใด ๆ อยาใหเกินกําลังหรือ
เหนือ่ ยเกินไป เพราะจะทําใหป อดตองทาํ งานหนกั จนเกนิ ไป
10. ควรตรวจสุขภาพ หรอื เอ็กซเรยปอดอยางนอยปละ 1 ครั้ง
7. การดแู ลรักษาหวั ใจ มีวธิ กี ารปฏิบัติ ดงั น้ี
1. ควรออกกําลังกายสม่ําเสมอ เหมาะสมกับสภาพรางกาย และวัย ไมหักโหมเกินไป
เพราะจะทาํ ใหหัวใจตองทาํ งานมาก อาจเปนอนั ตรายได
2. ไมดมื่ น้ําชา กาแฟ สบู บหุ รี่ ด่ืมสรุ าหรอื เครื่องด่ืมท่ีมีสารกระตุน เพราะมีสารกระตุน
ทําใหห วั ใจทาํ งานหนักจนอาจเปน อนั ตรายแกกลามเนื้อหวั ใจได
3. ไมรับประทานยา ทจ่ี ะกระตนุ ในการทํางานของหวั ใจโดยไมปรกึ ษาแพทย
4. การนอนควา่ํ เปนเวลานานๆ จะสงผลทาํ ใหหวั ใจถูกกดทบั ทํางานไมส ะดวก
5. ไมค วรนอนในสถานท่ีอากาศถา ยเทไมส ะดวก หรือสวมเส้ือผาทร่ี ดั รปู จนเกนิ ไป
จะทําใหระบบการทํางานของหวั ใจไมสะดวก
6. ระมัดระวังไมใหหนาอกไดรับความกระทบกระเทือน เพราะอาจเปนอันตรายกับ
หวั ใจได
7. ไมควรวิตกกังวล กลัว ตกใจ เสียใจมากเกินไป เพราะจะสงผลตอการทํางานของ
หัวใจ
8. ไมควรรบั ประทานอาหารท่มี ีไขมนั และนํ้าตาลมากเกนิ ไป เพราะจะทําใหเกิดไขมัน
เกาะภายในเสนเลือดและกลา มเน้ือหวั ใจ ทําใหหวั ใจตองทํางานหนักข้นึ จะเปน อนั ตรายได
9. เมื่อเกดิ อาการผดิ ปกตขิ องหัวใจ ควรปรึกษาแพทย
8. การดูแลรักษากระเพาะอาหารและลาํ ไส ควรปฏิบตั ิ ดงั นี้
1. ควรรับประทานอาหาร ท่มี ีประโยชน ไมแข็ง ไมเหนียว หรือยอยยาก หรือมีรสจัด
เกินไป เพราะทําใหกระเพาะอาหารทํางานหนกั หรือทําใหเ กิดเปน แผลได
2. ควรใหรางกายอบอุน ในเวลานอนตองสวมเส้ือผาหรือหมผาเสมอ เพื่อมิใหทอง
รับความเย็นจนเกินไป จนอาจเกดิ อาการปวดทอง
3. ควรควบคุมอารมณ เพราะความเครียด ความวติ กกงั วล กท็ าํ ใหกระเพาะอาหารหล่ัง
น้ํายอ ยออกมามาก
4. เค้ียวอาหาร ใหละเอียดกอนกลืน และไมรีบรับประทาน เพราะจะทําใหอาหาร
ยอ ยยาก
14
5. ไมควรสวมเส้ือผาคับหรือรัดเข็มขัดแนนเกินไป จะทําใหกระเพาะอาหารทํางาน
ไมส ะดวก
6. ไมควรรับประทานจุบจิบ เพราะจะทําใหกระเพาะอาหารตองทํางานอยูเสมอไมมี
เวลาพกั
7. ควรรับประทานอาหารใหเปนเวลา ไมปลอยใหหิวมาก หรือรับประทานอาหาร
มากเกินไป จะทําใหก ระเพาะอาหารตอ งทํางานหนกั หรอื เกดิ อาการอาหารไมยอ ย แนน ทองได
8. ไมร ับประทานของหมกั ดอง จะทําใหเกิดอาการทอ งเสยี หรือทองรวงได
9. ปฏิบัติตนตามหลักสุขนิสัยท่ีดี โดยรักษาความสะอาดมือ ภาชนะและอาหารท่ี
รบั ประทานเพือ่ ปองกันเชอ้ื โรคจะเปนอนั ตรายตอกระเพาะอาหารได
10. ควรรับวคั ซีนปองกันโรค เม่ือเกิดโรคติดตอระบาดในชุมชน เชน อหิวาตกโรค บิด
พยาธติ า ง ๆ ทองรวง
9. การดแู ลรักษาไต ควรปฏบิ ัตดิ ังน้ี
1. ควรรบั ประทานอาหาร นํ้า เกลือแร ใหเหมาะสมตามสภาวะของรา งกาย
2. ควรหลกี เลี่ยงการใชย าหรอื รับประทาน ยาท่มี ีผลเสยี ตอ ไต เชน ยาซัลฟา ยาแกปวด
และแกอกั เสบตอ เนือ่ งเปน เวลานาน
3. ไมควรกลัน้ ปส สาวะเอาไวน าน ๆ หรอื สวนปส สาวะ
4. ผูท่ีมีอาการของโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ควรรักษา เพราะจะสงผล
กระทบตอการทาํ งานของไต
5. เมื่อเกิดอาการผิดปกตทิ ่ีสงสัยวาจะเปนโรคไต เชน เทา ตัว หรือหนาบวม ปสสาวะ
เปนสีคลา้ํ เหมอื นสนี ้าํ ลา งเนอ้ื หรือปสสาวะบอ ยผดิ ปกติ ควรปรึกษาแพทย
6. ควรตรวจสขุ ภาพ ตรวจปสสาวะ อยา งนอ ยประจําปล ะ 1 - 2 คร้งั
15
กิจกรรมทายบท
1. ใหผ เู รยี นแบงกลุมศึกษาพฒั นาการของมนุษยตามวัยตางๆ แลวใหแตละกลุมอภิปราย
นาํ เสนอผลงานแตล ะกลุม
2. ใหผ ูเ รยี นเปรียบเทยี บความแตกตา งที่เกิดขน้ึ ในแตละวยั และชวยกันสรปุ ผล
3. ใหผูเรียนบอกความแตกตางของการดูแลรักษาอวัยวะภายในและภายนอก
พรอมอภปิ รายวิธกี ารปอ งกนั และดูแลรกั ษา
16
บทที่ 2
พฒั นาการทางเพศของวยั รุน
การคมุ กําเนดิ และโรคตดิ ตอทางเพศสัมพนั ธ
สาระสําคัญ
มคี วามรูความเขาใจเกี่ยวกับปญหาและการพัฒนาทางเพศของวัยรุนในเรื่องตาง ๆ ท้ังเพศชาย
และเพศหญิง ท่ีมีปญหาที่แตกตางกันออกไปตลอดจนเรียนรูในเร่ืองของกฎหมายที่เกี่ยวของกับการ
ลวงละเมิดทางเพศ และมีความรูในการดูแลรักษาสุขภาพของตนเองใหพนจากโรคติดตอจากการ
มเี พศสัมพันธ
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1. เรียนรเู ก่ียวกบั การพัฒนาการทางเพศ และการดูแลสุขภาพของวยั รุน
2. เรียนรูเกี่ยวกบั การปองกันปญหาทีจ่ ะเกดิ จากสาเหตุตาง ๆ ของวยั รนุ
3. เรยี นรใู นเรอื่ งกฎหมายทเี่ กีย่ วของกบั การลว งละเมิดทางเพศ
4. เรียนรใู นเรอื่ งของโรคติดตอตาง ๆ ทีเ่ กดิ จากการมีเพศสัมพันธ
ขอบขา ยเน้อื หา
เรื่องที่ 1 พัฒนาการทางเพศของวยั รุน
เรื่องที่ 2 การดูแลสขุ ภาพเบ้อื งตน ในวัยรนุ
เรื่องที่ 3 การคมุ กาํ เนิด
เรอ่ื งที่ 4 วธิ กี ารสรางสัมพันธภาพทีด่ ีระหวา งคนในครอบครัว
เรื่องท่ี 5 การส่อื สารเรอ่ื งเพศในครอบครัว
เรอ่ื งที่ 6 ปญหาทเ่ี ก่ยี วขอ งกบั พัฒนาการทางเพศของวยั รุน
เรอ่ื งที่ 7 ทกั ษะการจัดการกับปญหา อารมณ และความตองการทางเพศของวัยรุน
เรือ่ งที่ 8 หลากหลายความเชื่อที่ผดิ ในเรือ่ งเพศ
เรอ่ื งท่ี 9 กฎหมายทีเ่ ก่ยี วกับการลว งละเมิดทางเพศ
เรอ่ื งที่ 10 โรคตดิ ตอทางเพศสมั พนั ธ
17
เรอ่ื งท่ี 1 พฒั นาการทางเพศของวยั รุน
วยั รนุ ชว งอายรุ ะหวาง 8 - 18 ป เปนวยั ทรี่ างกายเปล่ยี นจากเดก็ ไปเปนผูใ หญ เรียกวา วัยรุน หรือ
วยั เจรญิ พันธุ มกี ารเปลยี่ นแปลงเกดิ ขึน้ หลายอยา งทั้งทางรางกายและจิตใจ โดยมฮี อรโ มน เปน ตวั กระตุน
การทีจ่ ะบอกใหแ นชัดลงไปวา เดก็ ชายและเดก็ หญิงเขา สูวยั รุนเมอื่ ใดนนั้ เปน เรือ่ งคอ นขา งยาก เพราะเดก็
ท้ังสองเพศนอกจากจะแตกเนื้อหนุมสาวไมพรอมกันแลว คนแตละคนในเพศเดียวกันก็ยังแตกเนื้อ
หนมุ สาวไมพรอ มกันอีกดว ย แตพอจะกลา วโดยท่วั ไปไดว า เด็กหญิงจะเขา สวู ยั รนุ ในอายุระหวาง 13 - 15
ป และเด็กชายจะเริ่มเม่ืออายุ 15 ป โดยเด็กหญิงจะมีอัตราการเจริญเติบโตทางดานรางกายในชวงน้ี
เรว็ กวาเดก็ ชายประมาณ 1 - 2 ป แตท ั้งนข้ี ้ึนอยูกับลักษณะหรือแบบแผนการเจริญเตบิ โตของแตละคน
ฮอรโมนเพศ หญิงและชายเมื่อเขา สูชวงวัยรนุ ตอมไฮโปเตลามสั (Hypothalamus) ซ่ึงเปนตอม
เล็ก ๆ ในสมอง เริ่มสงสัญญาณผานตอมใตสมองพิทูอิตารี (Pituitary gland หรือ Master gland) ซึ่งเปน
ตอมไรทอ ท่ีสาํ คญั ทสี่ ดุ ของรางกาย เพราะมีหนาทผี่ ลิตฮอรโ มนท่แี ตกตา งกัน เพ่ือไปกระตุนและควบคุม
การทํางานของอวัยวะตา ง ๆ รวมถงึ อวัยวะทเ่ี กยี่ วกบั เพศ คอื รงั ไขสําหรบั ผหู ญิงในการผลิตฮอรโมนเพศ
เอสโทรเจน (Estrogen) และลกู อัณฑะสาํ หรับผูชายผลติ ฮอรโมนเพศเทสทอสเทอโรน (Testosterone)
ฮอรโมนเอสโทรเจน และฮอรโ มนเทสทอสเทอโรน ซึ่งเปนฮอรโมนเพศน้ี ทําใหรางกายวัยรนุ
เจรญิ เตบิ โตอยา งรวดเรว็ มไี ขมันและกลามเนื้อเพ่ิมข้ึน ตัวสูงข้ึน มีขนขึ้นบริเวณอวัยวะเพศ รักแรและ
สวนตาง ๆ ของรางกาย มีกล่ินตัว มีสิว ผูหญิงจะมีสะโพกผาย ตนขา หนาอกและกนใหญขึ้น และมี
ประจาํ เดือน สวนผูชาย เสียงจะแตกหาว ฝนเปยก และท้ังหญิงชายจะเริ่มมีความรูสึกตองการทางเพศ
หรือมอี ารมณเพศ
นอกจากการเปล่ียนแปลงทางรางกายแลว วัยรุนหญิงชายยังมีการเปล่ียนแปลงทางดานจิตใจ
อารมณแ ละความรูส กึ โดยเรม่ิ มีความสนใจ หรอื ความรูสกึ พงึ พอใจเปนพิเศษตอบางคนทีอ่ าจเปนท้ังเพศ
เดียวกนั และตา งเพศ
วัยรุนเปนวัยท่ีรางกายมีความพรอมในการผลิตเซลลเพศเพ่ือการสืบพันธุ คนทั่วไปจึงตัดสิน
การเขาสูวัยรุน โดยพิจารณาจากการมีประจําเดือนครั้งแรก (เด็กหญิงราว 13 ป) และการหลั่งนํ้าอสุจิ
ครั้งแรก (เด็กชายอายุประมาณ 11 ป) แตปรากฏการณทั้งสองไมคอยแนนอนนัก เชน การหล่ังนํ้าอสุจิ
อาจเกดิ ชากวาการเปลยี่ นแปลงทางรางกายดา นอนื่ ๆ สาํ หรบั การมาของประจาํ เดอื นครง้ั แรกของเด็กหญิง
กเ็ ชน กัน การสุกของไข (ไขต ก) ในบางคนอาจไมมีความสมั พนั ธก ับการมปี ระจําเดือนเสมอไป และการ
ตกไขฟ องแรก ๆ อาจไมท ําใหเ กิดประจําเดือนกเ็ ปนได รวมทั้งการมปี ระจําเดอื นคร้ังแรกอาจเกิดขน้ึ กอน
หรอื หลงั การเปลี่ยนแปลงของรา งกายสว นอน่ื ๆ เมือ่ เขาสูวยั รุนแลว ไดเ ปนเวลานาน
18
การมีประจําเดือนครัง้ แรก
ขณะแรกคลอด รงั ไขของเดก็ หญิงจะมีไขทย่ี งั ไมเ จริญอยูแลวหลายพันใบ เม่ือนับจากชวงวัยรุน
เปนตนไป ทุก ๆ 28 วันจะมีไข 1 ใบที่เจริญเต็มที่แลวหลุดออกมาเขาสูทอนําไข เรียกวา การตกไข
ขณะเดียวกัน เยอ่ื บุโพรงมดลกู จะมีหลอดเลือดงอกมาหลอเล้ียงมากมาย เพื่อเตรียมรับไขท่ีผสมกับอสุจิ
หากไมไดรับการผสม เยื่อบุโพรงมดลูกจะลอกหลุดออกมาเปนเศษเนื้อเย่ือและเลือดไหลออกมา
ทางชอ งคลอด เรยี กวา ประจําเดือน อายขุ องเด็กหญิงทปี่ ระจําเดอื นมาคร้ังแรกยอมแตกตางกัน สวนมาก
จะมอี ายุ 12 - 13 ป แตบางคนอาจเริ่มต้ังแตอายุ 10 ป บางคนก็ลาชาไปถึง 16 ป ซ่ึงยังไมนับวาเปนเรื่อง
ผิดปกติ
การฝน เปยก
การหลงั่ นํ้าอสจุ นิ ัน้ จะเริม่ เกดิ ขนึ้ ในชว งอายปุ ระมาณ 11 ป แตก็อาจเกิดข้ึนเร็วหรือชากวานี้ดังท่ี
กลาวมาแลวขางตน ขึ้นอยูกับแตละคน การฝนเปยกเปนลักษณะทางธรรมชาติของเด็กผูชาย
ทแ่ี ตกเน้อื หนุม เมอ่ื รางกายผลิตนาํ้ อสจุ แิ ละเก็บสะสมไว เม่ือมีปริมาณมากเกินไป รางกายจะขับออกมา
ตามกลไกธรรมชาติ มักเกิดขึ้นในชวงท่กี าํ ลงั ฝนโดยอาจนึกถงึ สงิ่ ท่กี ระตนุ อารมณทางเพศ เมื่อต่ืนขึ้นมา
กพ็ บวา มขี องเหลวเปย กช้นื ตรงเปากางเกงนอน หรือเปอนบนที่นอน จึงเรียกวา “ฝนเปยก” หรืออีกกรณี
การเลน ตอ สกู ับเพอ่ื นๆ อาจปลกุ เรา และกระตุน องคชาตได จะทาํ ใหน ้ําอสุจเิ ลด็ ลอดออกมาตามธรรมชาติ
ท่ีเรยี กวา “การหล่ังอยางไมรูตัว” ท้ังนี้ เด็กชายแตละคนอาจมีความถ่ีในการฝนเปยกแตกตางกัน ตั้งแต
ไมเ คยฝนเปยกเลยจนกระทง่ั สัปดาหละหลาย ๆ ครั้ง จึงไมควรถือเรื่องนี้เปนเรื่องความผิดปกติทางเพศ
ของวัยรุนชาย น้าํ อสจุ เิ ปน ของเหลวสขี าวขุน ประกอบ ดว ยตวั อสจุ แิ ละสารคดั หล่งั จากตอ มลูกหมากและ
ตอมพักตัวอสุจิ ซึง่ จะถกู ขับออกมาพรอมกนั ผานทางทอ นาํ อสจุ ิ ในน้าํ อสจุ ิเพียงหยดเดยี วจะมสี เปร ม หรอื
ตวั อสจุ ิประมาณ 1,500 ตวั ขณะทผ่ี ชู ายถึงจุดสดุ ยอด จะหลั่งนํา้ อสุจิออกมาประมาณ 1 ชอนชา ซึ่งมีอสุจิ
อยูถ ึง 300 ลา นตวั และเชือ้ อสจุ ิเพียงหนึง่ ตวั ก็สามารถเขาไปผสมกับไขไดเมื่อมีเพศสัมพันธแบบสอดใส
วยั รุน ชายจะมีอสจุ ิทีส่ มบรู ณเ มอ่ื อายรุ าว 13 - 14 ป
การจัดการอารมณเ พศ หรอื การชวยตัวเอง
วัยรนุ หญิงชายตา งก็เร่ิมมีความรสู กึ หรืออารมณทางเพศเพิ่มมากข้ึนตามลําดับ (วัยรุนเปนวัยท่ีมี
ความรูสกึ ทางเพศสูงสุด) การชวยตัวเอง เปนวิธีการจัดการเพ่ือผอนคลายอารมณเพศ ซ่ึงเปนเร่ืองปกติ
ธรรมดาของท้ังหญิงและชาย โดยการลูบคลําอวัยวะเพศของตนเองจนถึงจุดสุดยอด แตละคนอาจมี
วิธีการแตกตา งกันไป
19
การต้งั ครรภ
เกิดขนึ้ จากการมีเพศสมั พนั ธร ะหวา งชายและหญิง เมือ่ มีการหลั่งน้าํ อสุจใิ นชองคลอด ตวั อสุจิจะ
วา ยเขาไปในมดลูกจนถงึ ทอ นาํ ไข และพบไขของฝา ยหญงิ พอดี ก็จะเกิดการผสมระหวางอสุจิกับไขหรือ
ทเ่ี รยี กวา “การปฏิสนธ”ิ แตถาไมม ีไข อสุจิจะตายไปเองภายในเวลา 2 - 3 วนั
เรอ่ื งท่ี 2 การดูแลสุขภาพเบือ้ งตน ในวัยรนุ
วธิ กี ารดแู ลผิวหนา ใหส ะอาดเพอื่ ลดการมีสิว
การลา งหนา ดว ยนา้ํ สะอาดเพียงอยางเดียว และซับหนาใหแหงอยางเบามือ เปนการถนอมผิวที่
ไดผ ลดี เปนวธิ ีทีแ่ พทยผวิ หนงั แนะนําใหใช เพื่อลดการระคายเคือง แตการลางหนาดวยสบูหรือครีมลาง
หนาบอยครง้ั ซง่ึ จะไปชะลา งไขมันทผ่ี วิ สรางข้นึ ตามธรรมชาติ เมื่อผิวแหงตึง ก็จะกระตุนใหตอมไขมัน
ยง่ิ ทาํ งานมากขึน้
การทําความสะอาดอวยั วะเพศหญงิ
ใหลางจากดา นหนา ไปดานหลังดวยสบูและนํ้าสะอาด ไมจําเปนตองใชสเปรยหรือน้ํายาลางทํา
ความสะอาดชอ งคลอดอีก เนื่องจากชองคลอดมีระบบทําความสะอาดตามธรรมชาติอยูแลว บางคนใช
แลวอาจเกิดอาการระคายเคืองจากสารเคมีเหลาน้ัน เพราะผิวบริเวณนั้นบอบบางมาก ระหวางมี
ประจาํ เดอื น ควรเปลย่ี นผาอนามัยทกุ 2 - 3 ชั่วโมงเพอื่ ปอ งกันกลิน่
การทําความสะอาดอวัยวะเพศชาย
ทบ่ี รเิ วณใตหนังหุมปลายของผูชายจะมีเมือกขาวเหลืองขุนๆ เรียกวา ‘ขี้เปยก’ ซึ่งทําใหมีกล่ิน
การลา งทาํ ความสะอาดอวยั วะเพศชายจึงตองดงึ หนังหุมปลายอวัยวะเพศข้ึน เพ่ือทําความสะอาดบริเวณ
สวนหวั ของอวยั วะเพศ (ถาหนังหมุ ปลายตึงเกินไป ใหคอยๆ ดึงขนึ้ ทลี ะนอ ยในระหวา งอาบน้าํ โดยใชสบู
ชว ย)
20
อาการผดิ ปกติบรเิ วณอวยั วะเพศ
เชน คนั ในชอ งคลอด ตกขาวมากจนผิดสงั เกต อวัยวะเพศมกี ลิ่นเหมน็ มาก มสี ผี ิดไปจากเดิม
หรอื เวลาปส สาวะแลวรสู ึกเจ็บเหมือนปส สาวะไมสดุ สามารถขอคาํ ปรกึ ษาจากหนว ยงานทใี่ หบรกิ าร
ดา นสุขภาพวยั รนุ หรือคลกิ เขาไปทคี่ ลินิกสขุ ภาพ www.teenpath.net
กลนิ่ ตวั
เม่ือเขาสูวัยรุน ตอมไขมันจะผลิตความมันออกมาตามรูขุมขนเพิ่มขึ้น ตอมเหง่ือก็เชนกันผลิต
เหง่ือออกมามากโดยเฉพาะเวลาวง่ิ เลน เดินเร็วในอากาศรอน เหงื่อออกมาจากรูเปดของตอมเหง่ือซึ่งอยู
ไมหางจากรูเปดขุมขนมากนัก เม่ือทั้งความมันและน้ําเหง่ือไหลซึมออกมาจากรูเปดบนผิวพรรณสัก
ระยะเวลาหน่ึง และมีสภาพแวดลอมท่ีอับช้ืนนานพอเหมาะ บรรดาเชื้อจุลินทรียตางๆ ที่อาศัยอยูตาม
ธรรมชาตบิ นผวิ พรรณเรากจ็ ะพากันเจรญิ เติบโตแพรพ ันธุออกมาจํานวนมาก พรอมทั้งสงกลิ่นเหม็นอับ
ออกมาเปนกล่นิ ตวั แรง ๆ
นอกจากน้ัน อาหารประเภท เครือ่ งเทศ กระเทียม ทุเรียน ซึ่งเปนอาหารท่ีมีกลิ่นแรง อาจระเหย
ออกมาจากลมหายใจ ขับถายออกมาทางตอมเหงื่อ ตอมไขมัน ตอมกลิ่น หรือเปนบอเกิดในการสราง
สารประกอบมีกล่ินไดแลว จึงปลดปลอยออกมาทางชองระบายของรางกายไดอีกทอดหนึ่ง รวมท้ัง
รองเทา หมุ สน รองเทาผาใบ ลว นเปน บอ เกดิ ของกลิน่ เหม็นอบั ไดเชน กัน
วธิ กี ารทาํ ความสะอาดดวยการอาบน้ํา ฟอกสบูทุกคร้ังท่ีมีเหงื่อออกมาก โดยเฉพาะผูที่มีผิวมัน
ตอ งหมัน่ สระผม ถรู กั แรซ ่งึ เปนจดุ อบั ทม่ี กั สง กลน่ิ รนุ แรงเสมอดวยสารสม เปนวธิ ีพน้ื บานทีไ่ ดผ ลดี
เรอ่ื งที่ 3 การคมุ กาํ เนิด
การแสวงหาขอมลู เก่ียวกับวธิ กี ารคุมกาํ เนิด ถอื เปนการแสดงความรับผิดชอบท้ังตอตัวเองและ
คนที่เรามคี วามสมั พนั ธด วย มคี นจาํ นวนมากยังเช่ือวาเร่ืองเพศเปนเรื่องนาอาย ทําใหไมกลาหาความรู
ในเร่ืองนีอ้ ยางเปด เผย จงึ สงผลใหข าดความรู หรอื มีความเชื่อที่ผิด ๆ จนสงผลตอสุขภาพทางเพศ ท้ังท่ี
การมีขอมูลถูกตอง รอบดานและเพียงพอในเร่ืองเพศจะชวยใหทุกคนมีทางเลือกท่ีเหมาะสมท่ีสุดกับ
21
เงื่อนไขของตนเองเมือ่ ตองตัดสนิ ใจในเรือ่ งเพศ เชน การส่ือสารกับคู/คนรอบขาง การมีเพศสัมพันธที่
ปลอดภยั ฯลฯ
วิธกี ารคมุ กําเนดิ แบบตางๆ
ถงุ ยางอนามัย
มหี ลายขนาด ควรเลือกขนาดที่เหมาะสมกับอวัยวะเพศ ควรดวู ันผลติ หรือวันหมดอายกุ อ น
การใช
ใชส วมเมือ่ อวัยวะเพศแข็งตัว โดยใหบ ีบปลายถุงยางอนามัยเพ่ือไลล มขณะสวม เร่มิ สวมจากตรง
ปลายอวยั วะเพศรูดเขาหาตวั แลวรดู ใหส ุดโคนอวยั วะเพศ
เมอ่ื เสรจ็ กิจ ใหถอดถุงยางอนามยั ขณะท่ีอวยั วะเพศยงั แขง็ ตวั โดยจับที่ขอบถุงยางและคอยๆ รูด
ออก หากปลอ ยใหอ วัยวะเพศออ นตัวในชอ งคลอดอาจทาํ ใหถ งุ ยางอนามยั หลดุ ได
ในขณะนี้ ถุงยางอนามัยเปนวิธีคุมกําเนิดแบบชั่วคราวที่มีประสิทธิภาพในการคุมกําเนิดและ
สามารถปองกันการติดเชื้อเอชไอวี รวมท้ังโรคตดิ ตอทางเพศสัมพันธอ ื่นๆ เชน เริม หูดหงอนไก
หนองใน ซิฟล สิ แผลริมออ น ไปพรอมกนั ได
ยาเมด็ คุมกาํ เนดิ ทั่วไป
• ยาคุมกาํ เนิดชนดิ เมด็ มี 2 แบบคอื แบบ 21 เมด็ และแบบ 28 เมด็ ซง่ึ มีประสิทธิภาพไมแตกตาง
กนั
• ยาคมุ ชนดิ 28 เม็ด เม็ดยาท่เี พ่ิมขึ้นมา 7 เม็ดเปนวิตามนิ ทชี่ ว ยใหกนิ ยาตอเนือ่ งโดยไมลืม
• วิธีการกินยาคุมแผงแรก ใหเริ่มกินเม็ดแรกภายใน 5 วันแรกของการมีประจําเดือน แลวกิน
ติดตอ กันทกุ วนั วันละ 1 เม็ดจนหมดแผง
• สาํ หรับยาคมุ 21 เมด็ เมอื่ กินหมดแผง ใหเ วนไป 7 วันแลวจึงเริ่มแผงใหม สวนยาคุม 28 เม็ด
ใหกนิ แผงใหมต ิดตอ ไปไดเ ลย
• ออกฤทธค์ิ มุ กําเนิดโดย 1) ยับยั้งไมใหม ีการเจรญิ เตบิ โตของไข และปองกนั ไขตก 2) ทาํ ให
เยอ่ื บุโพรงมดลกู บางลงไมเ หมาะแกก ารฝงตวั ของตวั ออ น 3) ทาํ ใหม ูกที่ปากมดลูกเหนยี วขน
ไมเ หมาะแกก ารใหอสจุ เิ คล่อื นผา นเขาไปในโพรงมดลูก 4) เปลี่ยนแปลงการเคล่ือนไหวของ
ทอนาํ ไข ทาํ ใหไขทีผ่ สมแลวเดนิ ทางไปถงึ มดลกู เร็วเกินไปจนไมสามารถฝงตวั ได
• ถาลมื กิน 1 วัน ใหก นิ 2 เมด็ ในวันถัดไป
22
• ถาลมื กิน 2 วัน ใหก นิ 2 เม็ดในวนั ทส่ี าม และอกี 2 เม็ดในวันท่ี 4
• ถา ลืมกนิ 3 วนั ขึ้นไป ควรหยุดกนิ ยาคุมแผงน้ันไปเลย และใชว ิธคี มุ กําเนิดชนิดอนื่ ไปกอ น เชน
ใชถุงยาง แลวจงึ เริม่ กินแผงใหมในการมีประจําเดือนรอบถัดไป
• หากเร่ิมกินเปนคร้ังแรก ตองกินไป 14 วัน แลวจึงจะมีผลตอการปองกันการต้ังครรภ หากมี
เพศสมั พนั ธในชวงเวลาดงั กลาว ควรใชถุงยางอนามัยควบคูไ ปดวย
• แมผูหญงิ จะเปน คนกินยาคมุ แตผ ูช ายควรมสี วนรวมในการชวยเตอื นใหก ินยาตอเนือ่ ง
ยาเม็ดคุมกาํ เนิดแบบฉกุ เฉนิ
• ตอ งกิน 2 เม็ด จึงมปี ระสิทธิภาพในการคมุ กําเนดิ
• เม็ดแรก กินทันทีหรือภายใน 72 ชั่วโมง (สามวัน) หลังการมีเพศสัมพันธ ประสิทธิภาพจะ
ขึ้นกับเวลาทกี่ ินภายหลังการมีเพศสัมพันธ หากกนิ ไดเร็วเทาไร ความสามารถในการปองกัน
การต้งั ครรภก จ็ ะสงู ขึน้ เทานัน้
เม็ดที่สอง กินหา งจากเมด็ แรก 12 ช่วั โมง
• หากกนิ ถูกวิธี มีประสทิ ธภิ าพปอ งกันการต้ังครรภ 75%
• การกนิ ยาคมุ ฉกุ เฉนิ มีประสทิ ธิภาพตาํ่ กวา วธิ ีคุมกําเนิดแบบปกตทิ ว่ั ๆ ไป ดังนนั้ ควรใชใ นกรณี
ฉกุ เฉินเทา นนั้ ไมค วรใชเ ปนวิธีการคุมกําเนดิ ประจํา
การนับระยะปลอดภัย หรอื นบั หนา 7 หลัง 7
เปนวิธีคุมกาํ เนดิ แบบธรรมชาติ วธิ ีนี้ใชไ ดผลเฉพาะผูหญงิ ทม่ี รี อบเดือนมาสม่ําเสมอเทาน้ัน ซึ่ง
ไมเ หมาะกบั วยั รุน ซง่ึ รางกายยังอยูในชวงฮอรโมนเพศปรับตัว อาจมรี อบเดือนไมส มํ่าเสมอ
การนับหนาเจ็ดหลังเจ็ด ใหใช “วันแรก” ของการมีประจําเดือน นับเปนวันท่ี 1 หนาเจ็ดคือ
นับยอนข้ึนไปใหครบเจ็ดวัน สวนหลังเจ็ด ใหนับตอจากวันแรกที่มีประจําเดือนไปใหครบ 7 วัน
ดังตัวอยา ง
23
12 3 4 5 6 7
89 10 11 12 13 14
21
ระยะหนา เจ็ด วันแรกของ ระยะหลังเจด็
การมปี ระจาํ เดอื น
15 16 17 18 19 20
22 23 24 25 26 27 28
29 30 31
การหลัง่ ขา งนอก
การหลัง่ ขา งนอก เปนวธิ ีการคมุ กาํ เนดิ แบบธรรมชาติ ไดผ ลไมแนน อน เพราะขณะที่สอดใส
ฝายชายจะมีน้ําคัดหลงั่ จํานวนหน่ึงออกมากอ น ซ่ึงจะมอี สุจปิ ะปนอยูดวย ตวั อสุจนิ นั้ สามารถวา ยไป
ผสมกบั ไข การตั้งครรภจงึ เกดิ ข้ึนไดก อ นผชู ายจะหลงั่ น้ําอสุจิภายนอกเสยี อกี
24
นอกจากน้นั การหลัง่ ภายนอกยังเปนวธิ กี ารทข่ี ึ้นอยกู ับฝา ยชาย โดยทฝ่ี า ยหญิงไมส ามารถ
ควบคุมไดเ ลย
o การกินยาคุมกาํ เนิดชนดิ เมด็ ยาคมุ กาํ เนดิ แบบฉกุ เฉนิ การนับวัน และการหลั่ง
ขา งนอก ลวนเปนวธิ ีคมุ กาํ เนิดทไ่ี มสามารถปองกนั การติดเชอื้ เอชไอวี และเชอ้ื
โรคติดตอ ทางเพศสมั พนั ธ
o ถุงยางอนามัย เปน วิธีเดียวที่ชวยปอ งกนั การตงั้ ครรภ ปองกนั การตดิ เชือ้ เอชไอวี
และเช้ือโรคตดิ ตอทางเพศสัมพันธ
เรอื่ งที่ 4 วธิ ีการสรา งสมั พนั ธภาพที่ดรี ะหวา งคนในครอบครวั
ครอบครวั หมายถงึ กลมุ คนต้ังแต 2 คนขึน้ ไปมาเกยี่ วพนั กนั และสืบสายเลือด ไดแก พอ แม ลูก
และอาจมญี าติ หรือไมใชญาติมาอาศยั อยูดว ยกัน ซ่งึ ถอื เปนสมาชกิ ครอบครัว เชนกัน มีความรัก มีความ
ผูกพนั ซ่ึงกันและกัน
ครอบครัวมหี นาทีห่ ลอ หลอม ขดั เกลาสมาชิกในครอบครัว ใหเปนคนดี รูระเบียบและกฎเกณฑ
ของสังคม อีกท้ังยังสรางความเปนตัวตนของทุกคน เชน ลักษณะนิสัย ความคิด ความเชื่อ ความสนใจ
เปนตน
การสรา งสัมพนั ธภาพในครอบครวั
ความขัดแยงระหวางพอแมและลูกเปนเร่ืองที่เกิดข้ึนเสมอ เพราะความแตกตางของวัยและ
ประสบการณ ความหว งใยของพอ แมท ี่ปรากฏผานการวากลาว ตกั เตือน หา มปราม ใหค วามรสู ึกไมไ วใจ
และกงั วลเกินความจาํ เปนตอลูกโดยเฉพาะลกู ท่ีอยใู นวยั รนุ
เปลี่ยนพฤติกรรม เน่อื งจากพอ แมใ ชประสบการณข องตนมาคาดเดาถงึ ผลทอ่ี าจเกิดขึ้นเม่ือเห็น
การกระทาํ ของลกู การตาํ หนิจงึ มกั มาพรอมกับทา ทีขนุ เคอื ง โมโห บน ทําใหด เู หมอื นวาพอแมชอบใช
อารมณ ไมใชเหตผุ ล ไมค อ ยยอมรับส่งิ ทีเ่ ปน อยขู องลกู วยั รุน
ความตอ งการของตวั เองเปน ทตี่ ั้ง ไมพยายามเขา ใจอกี ฝา ยหนงึ่ วา ตองการอะไร ยอ มทาํ ใหเกิด
ความขัดแยงกัน การหาทางออกจึงตองเริ่มจากตัวเองกอนในการเปดใจมองหาความหมายที่อีกฝาย
พยายามส่ือสารผานการกระทําซึ่งเราอาจไมชอบใจ การเขาใจความหมายท่ีแทจริงจะชวยใหเกิดการ
สอื่ สารระหวา งกัน ไมติดกบั อารมณและทา ทขี องกันและกนั
25
การเรียนรูถึงความแตกตางของวัยและประสบการณของทั้งสองฝาย จะชวยสรางความเขาใจ
ลดขอขดั แยง และส่ือสารกันไดม ากขน้ึ
ปจ จยั ท่ชี วยสง เสริมใหมสี ัมพันธภาพทด่ี ีตอ กนั ไดแก
การชมเชยหรอื ชืน่ ชมอยา งเหมาะสม
การติเพ่อื กอ
การแกไขความขดั แยงในเชงิ สรา งสรรค
การชมเชยหรอื ช่ืนชม
คนสวนใหญไ มวาจะอยใู นครอบครัวหรืออยูในสงั คมภายนอกครอบครัว มักจะไมค อยช่ืนชม
หรอื ชมเชยกนั พอแมส ว นใหญเ ช่ือวาถา ชมลูกบอยๆ เดก็ จะเหลิง อาจกลายเปน คนไมดีได ทาํ ใหพ อ แม
ไมชมเมื่อลกู กระทําสิง่ ท่ีดหี รือมีพฤตกิ รรมในลักษณะท่ีเปน สิ่งทพี่ อแมต องการ จึงทาํ ใหเด็กขาดกําลังใจ
ขาดนํ้าหลอเล้ยี งจติ ใจ
คนเราโดยทว่ั ไปตอ งการคําชมเชย โดยการชมเชยทจี่ ะสรางเสริมสมั พันธภาพใหด คี วรมีลกั ษณะ
ดังน้ี
ชมพฤติกรรมท่ีเพิ่งเกดิ ขึ้นใหมๆ
การชมควรเนนทีพ่ ฤตกิ รรมที่ทําไดด ี และชมทลี ะ 1 พฤติกรรม
บอกความรูสกึ ของเราตอพฤตกิ รรมนนั้ อยา งจริงใจ
ชมเฉพาะสงิ่ ทค่ี วรชม
ไมช มมากเกนิ กวา ความเปน จรงิ
ตัวอยา ง เชน
ลกู บอกกบั แมว า “วนั นี้ แมทาํ กับขา วอรอยมาก ทาํ ใหก นิ ไดม าก ลูกรูสกึ มีความสขุ ภูมิใจที่มีแม
ทํากบั ขา วอรอย”
แมบอกกับลูกวา “วันน้ี แมรูสึกภูมิใจท่ีลูกชวยลางชามในตอนเย็นไดสะอาดเรียบรอยดีมาก
โดยทีแ่ มไมตองเรียกใหทํา”
การตเิ พื่อกอ
คนสวนใหญ ไมชอบฟงคําติ การติติงท่ีไมเหมาะสม มักจะทําใหเกิดผลเสียหายตามมา เชน
เกดิ การทะเลาะกันได แตก ารติในเชิงสรา งสรรคก ็มปี ระโยชน และสามารถเสริมสรา งสัมพันธภาพท่ีดีได
โดยมีลักษณะดังน้ี
ตอ งแนใจวา เขาสนใจทจ่ี ะรบั ฟง คําติ และพรอมที่จะรบั ฟง
26
เรือ่ งทจี่ ะติ ตองเปนเรอื่ งที่เพิ่งเกดิ ขึ้น ไมใ ชเ กิดขึน้ เมือ่ นานมาแลว
ส่ิงทจ่ี ะติ ตอ งเปนสงิ่ ท่ีเปล่ยี นแปลงได
พดู ถงึ พฤตกิ รรมท่ีตใิ หช ดั เจน เปน รปู ธรรม
บอกทางแกไขไวดว ย เชน ควรทําอยา งไรใหด ีขนึ้
รกั ษาหนาของผูร บั คาํ ตเิ สมอ เชน ไมสมควรตติ อ หนาคนอนื่
เลอื กเวลาและจังหวะทีเ่ หมาะสม เชน ผรู ับคําติมีอารมณส งบหรอื แจมใส ไมตใิ นชวงทมี่ ี
อารมณโกรธ
ตวั อยางเชน หากพอหรือแมตองการติลกู วยั รนุ ในเร่ืองการคยุ โทรศัพทนาน ควรเลอื กเวลาทลี่ กู มี
อารมณส งบ พรอมที่จะรบั ฟง และพดู ตใิ นเชิงสรางสรรคว า
“วันนีล้ กู คุยโทรศัพทก ับเพื่อนมานาน 2 ชว่ั โมงแลว แมคดิ วาลกู ควรหยดุ คุยโทรศัพทไดแ ลว
และหนั มาทําการบาน อานหนังสอื แลวเขา นอน จะดกี วา ไหม”
การแกไ ขความขดั แยง ในเชงิ สรางสรรค
หนทางในการแกไ ขปญ หา เมอ่ื เกิดความขดั แยง ในครอบครวั คือ การสอื่ สารทด่ี ี ซง่ึ ตองอาศยั
ทักษะและความสามารถ ดังตอ ไปนี้
แสดงความปรารถนาอยา งแนว แนท่จี ะรว มกนั รกั ษาความสัมพนั ธทด่ี ตี อกนั ไว
มุงมั่นเชงิ สรางสรรค เปนไปในทางการปรกึ ษากัน
ใหค วามสําคัญ และตงั้ ใจฟงความคิดเห็นของอกี ฝา ยหนง่ึ
แสดงความคดิ เห็นของเราใหช ดั เจนและสอ่ื สารใหอีกฝา ยหนง่ึ ไดร ับทราบ
ไมถ อื วา การยอมรับความคดิ เหน็ ของผอู ื่นเปน เรือ่ งแพหรอื เปนเรอ่ื งที่เสยี หาย
ยอมรบั ฟงความคิดเห็นของกนั และกนั
หลกี เลีย่ งการใชอารมณ ขู คกุ คาม ด้ือรนั้
ชวยกันเลอื กหาทางออกทีย่ อมรบั ไดท ัง้ 2 ฝา ย
ตัวอยา งการแกไขความขัดแยง ระหวางคูส มรส
คสู มรสทง้ั 2 คนจะตอ งเปด ใจรบั ฟงกันกอนโดยการพูดทีละคน และรับฟงกันโดยพูดใหจบ
ประโยคหรือจบประเดน็ ทลี ะคน และรบั ฟงใหเขาใจวา อีกคนตงั้ ใจจะสือ่ อะไรใหทราบ
27
ถาฝายหน่งึ พูดแทรกในขณะทอี่ ีกคนพูดไมจบประเด็น ก็จะทาํ ใหสอื่ สารกันไมได
ถา คนหน่งึ หรือทงั้ 2 คน โกรธ โมโห ขม ขู กจ็ ะย่ิงทาํ ใหไมส ามารถแกไขความขดั แยงได ตอง
หลกี เล่ยี งการใชอ ารมณ พยายามพูดคุยกันดวยอารมณที่สงบ และต้ังใจฟงความคิดเห็นของ
อีกฝายหนง่ึ
ทา ยทสี่ ุด ชวยกนั เลือกหรอื ตดั สนิ ใจมองหาทางออกท่ีทัง้ คยู อมรบั ได
เรื่องที่ 5 การสอื่ สารเรื่องเพศในครอบครัว
พอแมท่ีมีลูกกําลังเปนวัยรุน ลวนพบปญหาเดียวกันคือ “พูดกับลูกไมคอยจะรูเร่ือง คุยกันได
แปบๆ กข็ ดั คอกัน ทะเลาะกนั แลว” ชว งเวลาแหงการเชื่อฟง ไมวาพอแมพูดอะไร ลูกก็ เออ ออ หอหมก
ไปดวยไดหมดไปแลวเม่ือลูกยางเขาสูวัยที่กําลังจะเร่ิมเปนหนุมเปนสาว และย่ิงยากมากขึ้นเมื่อหัวขอ
ของการพดู คุยเก่ียวกบั ความประพฤตทิ ีพ่ อแมเ ปนหวง เพราะลูกกําลังจะเปน หนมุ เปน สาวน่ีเอง
เพราะไมเคยมีใครสอนเราซึ่งเปนพอแมมากอนวาตองคุยกับลูกยังไง ดังนั้น เม่ือเกิดความ
ไมส บายใจ กังวลใจกับพฤตกิ รรมของลูก เราจึงมักเลือกวิธีเดียวกับที่พอแมปฏิบัติกับเราเมื่อเราเปนเด็ก
คือ เงียบ บน หรือดา วา ซึง่ วธิ ีการเหลา นั้นเปนการสรางกาํ แพงระหวางเรากับลกู ใหยิ่งสูงขึ้น และยากตอ
การปนปา ยขาม โดยเฉพาะเมอื่ เปน เร่อื งเพศ ซ่ึงเปนเรื่องท่ีหลายครอบครัวไมเคยเอยปากสนทนาเมื่ออยู
ดว ยกันพรอ มหนา
ลองเร่ิมตน จากการตอบคําถามตวั เองกอ น
การกอบกชู ว งเวลาดี ๆ ท่ีเคยมีเมื่อตอนลูกยังเปนเด็กเล็ก ๆ ใหกลับมาแมลูกจะเขาสูวัยรุนแลว
เปนเร่ืองที่ทําได แตตองอาศัยการฝกฝน ทําบอย ๆ และแมจะยากเพียงใด ก็เปนเรื่องที่พอแมควรตอง
เรียนรู ตองฝกการพูดคุยกับลูกดวยทาทีท่ีแสดงใหลูกเห็นถึงความรัก ความหวงใย และสรางความ
ไวว างใจ เพราะผลดีจะตกอยูท ีล่ กู ของเรา เมือ่ ความสัมพันธใ นครอบครัวดีข้ึน
กอ นจะเรม่ิ ตน คุยกับลูก ลองทบทวน ถามตวั เองในใจวา
มเี ร่อื งอะไรบา งทเ่ี ราพูดไดอยางสบายใจ
มีเร่ืองอะไรทเ่ี หน็ ๆ อยูตาํ ตา แตไมเ คยพูดเลย
มเี ร่ืองอะไรท่ีเปนความลับสุดยอดของครอบครัว ซึ่งตองปดไว ไมสามารถเปดเผยไดจริงๆ
เพราะจะสงผลกระทบถึงสมาชกิ ในครอบครัว
มคี วามลับอะไรในครอบครัวท่เี ก่ียวของกับเรอ่ื งศาสนา
28
มีศีลธรรม จรยิ ธรรมขอไหนบางทเ่ี ราไดแ ตพ ูด แตทําตามไมได
การตอบคาํ ถามเหลาน้ี คือการเร่มิ ตน ทจ่ี ะทาํ การสํารวจและทําความเขาใจกับกฎกติกาความคิด
ความเชื่อของครอบครัวเราที่มตี อเรอื่ งตา ง ๆ ทําใหเรารวู าทาํ ไมเราถึงคิดและประพฤตเิ ชน น้นั และจะชว ย
เตอื นเราวามีหลายเรอื่ งอาจไมสอดคลอ งกับครอบครัวของเราหรือกบั ของคนอืน่ เราจงึ ควรเปดใจกวา งขนึ้
ซึ่งการเปดใจยอมรับประสบการณใ หม ๆ คือจุดเรม่ิ ตนของการส่อื สารทไี่ ดผ ล
เมอ่ื ส่อื สารเรอ่ื งเพศกบั ลกู
สิง่ ที่ตอ งระวัง ลองพยายามทาํ สงิ่ น้ี
ไมค วรหลกี เลีย่ ง บา ยเบ่ยี ง - ต้ังใจฟงคําถามลูก และฉวยโอกาสพูดคุยโดยยกตัวอยางจาก
หรือ เปลยี่ นเรือ่ งคยุ สถานการณตาง ๆ ในขณะน้ัน เชน ระหวางดูโฆษณา ละครทีวี
เดินเลน ในหา ง นงั่ รถ ฯลฯ
- ใหคําตอบส้ัน ๆ ถายังไมสะดวกใจจะคุย เชน อยูในที่สาธารณะ
หรืออยใู นชว งเวลาที่ยงั ไมเ หมาะสมวา “เด๋ียวเราคอยคุยเรื่องน้ีกัน
ทีบ่ า น” หรือ “รอใหแม/ พอวา งกอนนะ เดย๋ี วจะคยุ ใหฟง ”
ไมควรไลใ หไ ปถามพอ - บอกลูกไปตรง ๆ วา “ไมรู แตจะลองไปหาคําตอบให” หรือชวน
หรอื ถามแมแ ทน ลูกใหช ว ยกันหาคาํ ตอบวา เพราะอะไร
- หากคณุ ลาํ บากใจ อายท่จี ะพดู กค็ วรใหล กู รบั รูว า “แมกระดากปาก
ยังไมก ลาพูด ขอเวลาหนอย แลว จะตอบ”
ไมค วรหัวเราะ ลอเลยี น หรือ การหัวเราะหรือลอเลียนคําถามของเด็กในเรื่องเพศ จะทําใหลูกเกิด
แสดงใหลูกเห็นวา คําถามของ ความสับสน และกังวลใจ สง ผลใหใ นอนาคตเม่ือลกู เกิดปญหาในเรื่อง
ลูกเปน เรือ่ งตลก เพศ ลกู จะไมส ามารถตดั สินใจไดวา ควรทําอยา งไร
สิ่งที่ควรทํา คือ การสนับสนุน หรือแสดงออกทั้งนํ้าเสียง กริยา วาจา
ในทางท่ีทําใหลกู รวู าเมอ่ื ไหรท ่ีมคี าํ ถามในเร่ืองเพศ ใหมาปรึกษาหรือ
ถามกบั พอ แมไ ดเสมอ
29
สงิ่ ทีต่ องระวัง ลองพยายามทาํ สิง่ นี้
ไมควรใชน ํ้าเสียงตําหนิ หา ม เปดใจรับฟง แสดงใหลกู เห็นวา พอ แมมีความสนใจเรอ่ื งตา งๆ ท่ี
ปรามเม่อื ไดยนิ คาํ ถามที่แสดง เกยี่ วของกับเรือ่ งเพศ และเหน็ วา เปน เร่ืองธรรมชาติ ไมใ ชเรอ่ื งผิดปกติ
ความอยากรอู ยากเหน็ ในเรอื่ ง
เพศของลูก ใชคําเรียกอวัยวะตางๆ ที่เกย่ี วขอ งกบั เร่อื งเพศทีถ่ ูกตอ งตามความเปน
ไมควรใชคาํ เรียกอวยั วะตา งๆ จริง
ดว ยน้ําเสียงดูถูก ติเตียน
ไมค วรใหลูกฟง ขอมูลตางๆ การพดู คุยเรื่องเพศกับลูก ตองเลือกใชคําศัพทท่ีสอดคลองกับวยั ของลกู
มากมายในคราวเดยี ว ไมใชศัพทท่ยี ากเกินกวา ลกู จะเขา ใจ เชน การตอบคาํ ถามวา เด็กเกดิ มา
จากไหน กบั เดก็ วยั 5 ป ตอ งใชการอธบิ ายทต่ี างจากการตอบคําถามแก
เด็กวยั 8 ป และ 11 ป
เร่อื งท่ี 6 ปญหาทเ่ี กี่ยวขอ งกับพัฒนาการทางเพศของวยั รุน
เม่ือรางกายเจริญเติบโตเขาสูวัยรุน หญิงและชายมีการเปลี่ยนแปลงหลายดานทั้งทางรางกาย
จติ ใจ สงั คม และพฒั นาการทางเพศ ซ่ึงเปนพฒั นาการตามธรรมชาตขิ องมนษุ ย การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ
คือในผูชายมีการฝนเปยก และในผูหญิงมีประจําเดือน ซ่ึงหมายถึงภาวะท่ีนําไปสูการตั้งครรภได
พัฒนาการทางรางกายน้ีมีความจําเปนที่แตละบุคคลตองดูแลสุขอนามัยสวนบุคคล และเขาใจกลไก
การสบื พนั ธุข องรา งกายเพือ่ ท่จี ะดํารงอยูไดอ ยา งมสี ุขภาวะทดี่ ี
ประจาํ เดือน การตัง้ ครรภ และการแทง
ผหู ญิงมีประจาํ เดอื นไดอยา งไร
การมีประจําเดือน หรือระดู (Menstruation) เปนกระบวนการทางธรรมชาติที่เกิดข้ึนในสตรี
โดยรังไขจะผลิตไขขึ้นมาทุกเดือน เมื่อไขสุกรางกายเตรียมพรอม เพื่อรองรับไขท่ีอาจถูกผสมโดยเช้ือ
อสุจิของฝายชาย โดยผนังมดลูกจะเกิดการเปล่ียนแปลง ถาไมมีการผสมระหวางไขและเช้ืออสุจิของ
30
ฝายชาย ผนงั มดลกู จะลอกหลดุ ออกมาเปนเลือด ท่ีเรียกวา “ประจําเดือน” กระบวนการท้ังหมดกินเวลา
ประมาณ 28 วัน หรือคลาดเคล่ือนมากหรือนอยกวา 7 วัน และมักจะมีครั้งละ 3 – 7 วัน จํานวนเลือด
ทีอ่ อกมาในแตละเดอื นประมาณ 30 – 80 มิลลลิ ิตร
เมื่อรางกายของผูหญิงเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงจากเด็กหญิงเขาสูวัยสาว นอกเหนือจากการ
เปล่ียนแปลงทางสรรี ะภายนอกแลว การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญอีกอยางหนึ่งคือ การมีประจําเดือนน่ันเอง
เด็กผูหญิงจะเริ่มมีประจําเดือนครั้งแรกในอายุราว 11 – 15 ป การมีประจําเดือนคร้ังแรกจะชาหรือเร็ว
ขึ้นกับพัฒนาการของสมอง กรรมพันธุ และสุขภาพกายและใจของคน ๆ น้ัน ในชวงปแรก ๆ ที่มี
ประจาํ เดอื นใหม ๆ และในวยั ใกลห มดประจําเดือน รอบเดือนมักจะไมสม่ําเสมอและบางเดือนอาจไมมี
การตกไข และโดยเฉลยี่ แลววยั หมดประจําเดอื นจะเกิดขนึ้ เมอ่ื มีอายุประมาณ 45 – 50 ป ซึ่งเปนเวลาที่รัง
ไขหยดุ สรางไขอ อกมา
วงจรการเกิดประจําเดือน
การตกไข
ชว งประมาณก่ึงกลางของรอบเดือน ตอมใตสมองจะหล่ังฮอรโมนออกมาตัวหนึ่ง ซึ่งมีผล
ทาํ ใหร งั ไขปลดปลอ ยไขอ อกมาเพือ่ รอการผสม
หลงั จากตกไข
หลังจากไขตก ก็จะเคลื่อนไปตามทอนําไขไปสูมดลูก ขณะเดียวกัน รังไขก็เร่ิมผลิตฮอรโมน
เพ่ือทาํ ใหผ นังมดลูกเร่มิ สรา งตวั ใหหนาขน้ึ ขณะเดยี วกันก็มีเลอื ดมาหลอเลยี้ งมดลูกมากข้ึน และพรอมที่
จะรองรบั ไขท อ่ี าจถูกผสม
ระหวางมีประจําเดอื น
เม่อื ไขเดินทางมาถึงมดลูก และไมไดรับการผสม ซึ่งอาจเปนเพราะไมไดมีเพศสัมพันธ หรือมี
เพศสัมพันธโดยมีการปองกันการตั้งครรภ ระดับฮอรโมนเอสโตรเจน และโปรเจสเตอโรนจะลดลง
อยางรวดเร็ว ทําใหผนังมดลูกหลุดลอกออกกลายเปนประจําเดือน โดยปกติผูหญิงจะมีประจําเดือน
อยใู นชวง 3 - 5 วัน
หลังจากหมดประจําเดือน
หลงั จากหมดประจาํ เดอื น ฮอรโมนจากตอ มใตส มองในกระแสเลอื ด ก็เริ่มกระตุน ใหไ ขในรังไข
เจริญขึ้น ขณะเดียวกัน ฮอรโ มนจากรงั ไขก ็เร่มิ กระตุนการสรา งตัวของผนังมดลูก
31
ลักษณะของประจาํ เดือนทป่ี กติ
ลักษณะของประจําเดือนปกติคือเลือดที่ออกจากชองคลอดอยางสมํ่าเสมอ ทุก 28 วัน 7 วัน
ประจาํ เดอื นท่ีออกมา ประกอบดว ยนาํ้ เมอื กจากปากมดลูก นํ้าชองคลอด น้ําเมือกและช้ินสวนของเย่ือบุ
มดลูก และเลือด ซ่งึ สว นประกอบเหลานเี้ ห็นไมชดั เจนเพราะสขี องเลือด ประจําเดือนท่ีปกติมีสีคลํ้า ไมมี
เลือดกอน ไมมีกลิ่น จนกระทั่งมีแบคทีเรียและมีการสัมผัสอากาศภายนอกชองคลอด จึงทําใหมีกล่ิน
เกิดขน้ึ ปกตจิ ะมาประมาณ 3 - 7 วนั หากผิดไปจากนอี้ าจถอื วาผดิ ปกติ
ปญหาและอาการที่มักเกิดขึ้นในชว งมีประจําเดือน
กอนหนาท่ีจะมีประจาํ เดอื น
ในชว งระหวา งที่มกี ารตกของไข สว นมากผหู ญงิ จะมอี าการทีบ่ งบอกลว งหนา กอน บางคนอาจมี
อาการปวดถวงบรเิ วณทอ งนอย หรือปวดหลงั อาจปวดมากหรือนอยแตกตางกันไป อาจมีอาการรวมของ
ทองเสีย และรสู กึ คล่นื ไส มบี างรายอาจปวดศีรษะเพิ่มเขา มาอกี อยางหนง่ึ ในชว งแรก กอนประจําเดือนมา
มกั มอี าการตกขาว และมอี าการเจ็บคดั เตานมรวมดวยก็ได ในระหวางน้ี ผูหญิงหลายรายจะมีความรูสึก
ไมสบายใจ ซึมเศรา หรือหงุดหงิด รําคาญใจไดงาย ซึ่งถือเปนเร่ืองปกติธรรมดา และอาการอยางน้ี
จะหายไปไดเองเมื่อประจําเดือนออกมาแลว ตามสถิติพบวา อาการปวดจะรุนแรงมากขึ้นใสชวงอายุ
18 – 24 ปแลว ก็จะทุเลาลง อาการปวดประจาํ เดือนจะหายไปไดภายหลังหญิงนั้นต้ังครรภและคลอดบุตร
ซงึ่ เชอ่ื วา เปน เพราะปากมดลูกทถ่ี างขยาย มผี ลใหเกดิ การทาํ ลายปลายประสาทท่ีอยูบรเิ วณดงั กลา ว
วิธกี ารบําบดั อาการอาการปวดทองปวดเกรง็ สามารถทําไดด วยวิธีงาย ๆ คือ การประคบบริเวณ
หนาทอ งดวยการใชก ระเปา น้ํารอน และนอนพักเพื่อทุเลาอาการ หรืออาจรับประทานยาระงับปวดชนิด
ธรรมดา หรือใหยาชวยคลายการหดเกร็งของกลามเน้ือมดลูก นอกจากนี้ควรออกกําลังอยางสมํ่าเสมอ
จะชวยปองกันมใิ หป ญ หาการปวดทองประจําเดือนรุนแรงไดดว ย
อาการปวดประจําเดือนอีกประเภทหน่ึงที่อาจไมปกติท่ีผูหญิงควรระวัง สวนใหญอาการ
จะเกิดข้ึนภายหลังจากหญิงนั้นมีประจําเดือนเปนเวลานานหลายป เชน อาการของโรคภายใน
ชองเชิงกราน ซึ่งเกิดจากภาวะการติดเชื้อในอุงเชิงกรานชนิดเรื้อรัง ทําใหมีผังผืดยึดอวัยวะใน
ชองเชงิ กรานไวด วยกัน หรือภาวะเยื่อบุผนังโพรงมดลูกเจริญผิดที่ในอุงเชิงกราน หรือเพราะมีเนื้องอก
ของกลามเน้ือผนังมดลูก นอกจากนี้การใสหวงคุมกําเนิดก็เปนสาเหตุที่พบบอย ในภาวะเหลานี้จะมี
อาการปวดประจําเดือนแตกตางกันไป เชน ยังคงปวดทองแมประจําเดือนหยุดไปแลวหลายวัน หรือมี
32
อาการปวดทวีขึ้นอยา งมากในแตละวงจรรอบประจําเดือนตามกาลเวลาที่ผานไป หรือบางคร้ังอาจรูสึก
หรือคลํากอนที่ทอ งนอยไดเ อง หากมีอาการเหลา นี้ควรรบี ปรกึ ษาแพทยเ พือ่ การวนิ ิจฉยั ท่ีถกู ตอ ง
ประจําเดือนไมมา
ตามปกติ ประจําเดือนจะมาคร้ังแรกเม่ืออายุระหวาง 11–15 ป ชาหรือเร็วแตกตางกันไปบาง
หากประจาํ เดือนไมม าเม่ือถงึ เวลา หรือวยั ที่ควรจะตองมี ถือวามคี วามผิดปกติ
สาเหตทุ ่ปี ระจําเดือนไมม า เกดิ ขึน้ ไดดังนคี้ ือ
1. ไมม ีมดลกู
2. ไมม รี ังไข
3. ไมม ีชองคลอดโดยกําเนดิ
4. มรี ังไขแตเ กดิ ความผิดปกตขิ องรังไข
5. เยอื่ พรหมจารีไมเ ปด
6. เกดิ ความผิดปกตขิ องชอ งคลอด
7. เกิดความผดิ ปกตขิ องมดลกู
บางรายอาจมปี ระจําเดือนขาดหายไป กค็ วรตองพิจารณาสาเหตุความผิดปกติท่ีเกิดข้ึน หากเกิด
ขาดหายไปโดยไมทราบสาเหตุ ควรรีบปรึกษาแพทยทันที สาเหตุของประจําเดือนขาดหายไปอาจเกิด
จากสาเหตุเชน
1. เกดิ การตัง้ ครรภ
2. ใชย าคุมกาํ เนดิ เชน ยาฉีดคุมกาํ เนิด
3. หลงั การคลอดบุตรหรอื กาํ ลงั ใหน ้าํ นมบตุ รอยู
4. เกิดอาการเครียดทางจิตใจมาก
5. ไดรบั การผา ตัดเอามดลูกออก หรือรงั ไขออกทัง้ สองขางแลว
ทัศนคตแิ ละความเช่ือเกยี่ วกบั ประจาํ เดอื น
ประสบการณของผูหญิงเกี่ยวกับประจําเดือน มิใชเพียงเปนแคสวนหนึ่งของชีวิต ท่ีเปนเร่ือง
ของธรรมชาติ หากแตย งั สะทอ นใหเ ห็นถงึ อทิ ธิพลความเชอ่ื ศาสนาและวัฒนธรรมในสังคมที่มากําหนด
วิธกี ารปฏิบัตติ อ ภาวะการมีประจาํ เดอื นของผหู ญงิ อันสะทอ นใหเ ห็นถึงความคิดและทัศนคติของสังคม
33
ที่ มีตอ ผหู ญงิ และโดยมากมกั เปนทัศนะในดา นลบมากกวาดา นบวก ดงั เชน การหามผหู ญงิ เขาสูพธิ กี รรม
ทางศาสนา หรอื หามหญงิ สงั สรรคก ับผอู น่ื หากหญงิ น้นั อยใู นชว งมปี ระจาํ เดือน เปน ตน
นอกจากน้ี อทิ ธพิ ลความเช่ือบางอยางมผี ลตอ การปฏิบัติตัวในระหวางมีประจําเดือนของผูหญิง
เชน ความเช่ือในการงดเวนการออกกําลังกาย การอาบน้ําหรือสระผม หรือไมมีเพศสัมพันธระหวางน้ี
ขอเท็จจริงในเรื่องเหลานี้ไมปรากฏชัด บางเร่ืองก็พอสามารถหาเหตุผลได และบางเรื่องก็ไมมีเหตุผล
ท่ีชัดเจน ดังเชน การหามการมีเพศสัมพันธขณะมีประจําเดือน ซ่ึงในทางการแพทยไมมีขอหามใดๆ
แตไมเปน ทน่ี ิยม กเ็ พราะเลอื ดประจําเดอื นจะออกมาเลอะเทอะ และท่ีสําคัญก็คือโอกาสจะมีการอักเสบ
ติดเชื้อไดงายข้ึน เพราะปากมดลูกเปดออกเล็กนอย และในมดลูกจะมีแผลเน่ืองจากมีการลอกหลุดของ
เยือ่ บุมดลูก
การตัง้ ครรภ
การต้ังครรภเกิดจากการปฏิสนธิ หรือการผสมของไข กับตัวอสุจิของฝายชาย ในชวงกึ่งกลาง
ของรอบประจําเดอื น ซ่ึงเปนระยะท่ีฝา ยหญิงมีไขสกุ
เมื่อไขและอสุจิผสมกันแลว ไขท่ีไดรับการผสม จะเดินทางมาฝงตัวบนเยื่อมดลูกซ่ึงหนาข้ึน
แลวแบงตัวออกเร่ือยๆ กลายเปนเด็กตัวเล็กๆ จนอายุครบ 9 เดือนจึงคลอดออกมา ขณะท่ีต้ังครรภแม
และลกู มกี ารเช่อื มโยงกันของเลอื ดผานทางรก
เม่ือเริ่มต้ังครรภผูห ญิงจะมอี าการตางๆ ท่ีสังเกตไดด ังนี้
ประจาํ เดอื นขาด
ประจําเดือนทีเ่ คยมมี าสม่าํ เสมอทกุ เดอื น จะหายไปไมม าอกี เลยตลอดระยะเวลาตั้งครรภ
ประมาณ 38 - 40 สปั ดาห
อาการคลน่ื ไส อาเจียน วิงเวียนศรี ษะ
มักจะมอี าการในสามเดอื นแรก อาการเหลาน้ีมกั เปนในตอนเชา ซึง่ เราเรียกวา แพทอ ง
นัน่ เอง
เตา นมคัด
หัวนมและอวยั วะเพศจะมสี คี ลาํ้ ลง มกั พบในครรภแรก บางครั้งอาจมีนา้ํ นมเหลือง
ออกมาเม่อื บบี หวั นม
เด็กด้นิ
34
ในครรภแ รก จะรสู ีกวา เดก็ เรมิ่ ดนิ้ เมือ่ อายคุ รรภป ระมาณ 20 สัปดาห สว นในครรภหลัง
จะเร่ิมด้นิ เมือ่ อายุครรภป ระมาณ 16 สปั ดาห ถาเด็กท่เี คยดนิ้ อยแู ลวดน้ิ นอยลง ตอ งรีบไปพบ
แพทย
ปสสาวะบอ ย
เนอ่ื งจากมดลูกโตขนึ้ และไปกดทบั กระเพาะปสสาวะ แตถ าปสสาวะบอยขึน้ มอี าการ
แสบขดั หรือปสสาวะขนุ ตอ งรีบไปพบแพทย
มอี ารมณห งดุ หงิด
การตรวจการตงั้ ครรภ
หากผูห ญิงเราไมแ นใจวา ตัง้ ครรภหรือไม สามารถตรวจสอบไดทีค่ ลินกิ สถานพยาบาลทง้ั ของรฐั
และเอกชน หรอื สามารถซื้อชุดตรวจการตั้งครรภไดตามรานขายยาทั่วไป ซึ่งเปนการตรวจหาฮอรโมน
ในปส สาวะ เปนวิธีท่ีงาย สะดวก และประหยัด ซึ่งผลการตรวจจะคอนขางแมนยําสําหรับผูหญิงที่อายุ
ครรภป ระมาณ 27 วันหลงั ปฏสิ นธิ
ขอ ควรปฏบิ ัตกิ อ นการทดสอบการตงั้ ครรภเ อง เพอ่ื เพิม่ ประสทิ ธภิ าพการตั้งครรภ คือ
1. งดน้ําหรอื เครอื่ งดืม่ ใด ๆ ต้ังแตสองทมุ และถา ยปสสาวะใหหมดกอ นเขา นอนของคนื กอนทจ่ี ะ
เก็บปส สาวะ
2. เก็บปส สาวะ ครงั้ แรกท่ีถายปสสาวะเมอ่ื ต่นื นอนในตอนเชา ลงในภาชนะทส่ี ะอาด
3. ไมควรรับประทานยาใด ๆ ท้ังสิน้ ใน 48 ชว่ั โมงกอนเกบ็ ปส สาวะ
4. ในกรณที ี่ยงั ไมท ดสอบทนั ที ควรเกบ็ ปสสาวะใสชอ งเก็บอาหารปกติของตูเยน็ เพราะฮอรโ มน
ทขี่ บั ออกมาในปสสาวะของผหู ญิงตัง้ ครรภ จะเสอ่ื มสลายในอุณหภมู ิหอง
อะไรคือทอ งนอกมดลกู
ทอ งนอกมดลกู คอื การฝง ตวั นอกโพรงมดลูกของไขท ี่ถกู ผสมซ่งึ จะเจรญิ ตอ ไปเปนรกและทารก
แตตําแหนงที่ไขฝงตัวกลับอยูผิดท่ี ตําแหนงที่เกิดขึ้นบอยคือในทอนําไข แตอาจมีบางรายเกิดขึ้นที่คอ
มดลกู ชอ งทอ ง รงั ไขและตาํ แหนงอน่ื ๆ ไดด วย สาเหตุสําคัญของการเกดิ ทอ งนอกมดลกู คอื กลไกการ
นาํ ไขเสยี ไป โดยรทู อนาํ ไขผดิ ปกติ ทาํ ใหไขท ่ผี สมแลว ไมส ามารถเคล่ือนผานไปไดสะดวก มักมีสาเหตุ
มาจากการอักเสบติดเช้ือ เช้ือท่ีสําคัญคือหนองใน ซึ่งกอใหเกิดความผิดปกติของเยื่อบุผนังทอนําไข
35
โดยตรง นอกจากนี้การอักเสบหรือพยาธิสภาพเรื้อรังของชองเชิงกราน ก็ทําใหเกิดพังผืดท่ียึดทอนําไข
มใิ หเคลอ่ื นไหวไดส ะดวก ทําใหก ารเคลื่อนยา ยไขท ่ีผสมใหเดินทางสมู ดลูกไมไ ดตามกาํ หนด
อาการที่เกิดข้ึน คือประจําเดือนจะขาดไปชวงหน่ึง แตมักไมมีอาการแพทองเดนชัด เม่ือ
ภาวะวกิ ฤตดังกลาวเกดิ ข้นึ กจ็ ะทาํ ใหม อี าการปวดทองเฉยี บพลันทีท่ องนอยขางใดขา งหน่ึงอยูตลอดเวลา
แลวรูสึกหนามืด ใจส่ัน หรือเปนลม อาจมีเลือดออกทางชองคลอดกะปริบกะปรอยรวมดวยหรือไมมี
กไ็ ด ในบางราย เลือดที่ตกในชองทองมีจํานวนมาก ก็จะไประคายกะบังลมที่ก้ันระหวางชองปอดและ
ชองทอง ทําใหมีอาการเจ็บปวดที่หัวไหลขางขวาได ผูปวยจะซีดมาก กระสับกระสาย เหงื่อออก
สติสัมปชัญญะเลือนราง มีอาการรุนแรงเฉียบพลัน ถึงขั้นช็อกได หากนําสงโรงพยาบาลไมทัน
อาจอันตรายถงึ ชวี ิตได เพราะรา งกายขาดเลือด
ในสตรที ีท่ ําหมนั แลว กอ็ าจเกดิ อบุ ัติเหตุของการตั้งครรภนอกมดลูกไดแมวาโอกาสเสี่ยงมีนอย
มาก สาเหตเุ กิดจากทอ นําไขท ่ถี ูกผูกตัดออกไปแลวบางสวนจากการผาตัดกลับเช่ือมกันไดใหม หรือมีรู
เปดถงึ กนั ไดใหม เปนเหตใุ หต ง้ั ครรภได ตามสถิตพิ บวา เกิดขน้ึ นอยกวา 1 ใน 1,000 ราย และในจํานวนน้ี
เปนการทองนอกมดลูกสวนหนงึ่ หากเปรยี บเทียบอัตราสวนกับการต้ังครรภปกติแลว พบวาเปอรเซ็นต
การตงั้ ครรภนอกมดลกู เกดิ ขึ้นสงู ในหญิงที่ทอ งภายหลังการทาํ หมนั แลว
การระมัดระวังมิใหเกิดการอักเสบในชองเชิงกราน และมิใหเกิดโรคติดตอทางเพศสัมพันธ
จึงเปน การปอ งกันมิใหเ กิดการทองนอกมดลูกได หากรสู กึ มผี ิดขาวผดิ ปกติ หรอื ปส สาวะแสบขัด อยานิ่ง
นอนใจ ควรไปใหแพทยตรวจเพื่อการรักษาในระยะแรกเร่ิม เพราะอาการโรคติดตอทางเพศสัมพันธ
ทส่ี าํ คญั โดยเฉพาะหนองในในผหู ญงิ น้นั จะไมม อี าการเดนชัดเทา อาการในเพศชาย
อาการปกตริ ะหวา งต้งั ครรภ การดูแล การปอ งกันและขอปฏิบตั ิในการบรรเทาอาการ
อาการ การดแู ล /ลดอาการ/ปอ งกัน
คลืน่ ไส กินอาหารคร้ังละนอย แตบ อ ยครงั้ หลกี เลย่ี งอาหาร
บวม มันๆ
พักผอ นใหเ พยี งพอ ทาํ จติ ใจใหส ดชนื่
ยกขาใหส งู ระหวางวนั
เวลานอนใหต ะแคงซาย
36
เลือกรองเทาไมร ัดรปู และไมส ูง
ตะครวิ ที่เทา เวลาเปน ใหนอนหงายเหยยี ดเทา ตรง และเหยยี ด
ปลายหวั แมเทา ขึน้
หม่ันนวดทน่ี อ ง และระวงั อยาใหเ ทา เย็นจดั
ออนเพลีย เหน่อื ยงา ย หนามืด เปน อยา เปลยี่ นอริ ิยาบถโดยกะทันหนั
พกั ผอนใหเพยี งพอ
ลม เวียนศีรษะ เบอ่ื อาหาร
ปวดแสบบริเวณล้นิ ป ไมท านอาหารใหอ่มิ เกนิ ไป แตท านใหบ อ ยครั้งขน้ึ
ปวดหลัง นอนในทา ศรี ษะสูง
ทองผกู ด่ืมนมและน้ํามากๆ ไมค วรดมื่ นํา้ อัดลม
ทํางาน ออกกาํ ลงั กายเบาๆ
ตกขาว น่ังหลังตรง และยนื ตวั ตรง
นอนตะแคงโดยกอดหมอนขาง
ด่ืมน้ํามากๆ อยา งนอ ยวนั ละ 10 แกว
ออกกาํ ลงั กายเบาๆ
ถา ยอุจจาระใหเปน เวลา
รบั ประทานผักผลไม และอาหารท่มี เี สน ใยเพิ่มขึ้น
ในชว งตงั้ ทองอาจมอี าการตกขาวมากกวาปกติมี
สีขาวปนเทาหรอื เหลืองออน แตไมม ีกล่ิน และไมคัน
ซึ่งเปนเร่ืองปกติ ใหดแู ลความสะอาดโดยการลา งดว ย
นํ้าสบูออน ๆ ที่อวัยวะเพศภายนอกก็เพียงพอ
ไมจ ําเปน ตองใชน ํา้ ยาฆา เช้อื โรค
การแทง
การแทง หมายถึง การสน้ิ สุดของการตงั้ ครรภใ นระยะกอนท่เี ดก็ จะเตบิ โตพอทีจ่ ะมีชวี ติ รอดได
โดยมีอายุครรภน อ ยกวา 28 สัปดาห และ/หรือ นาํ้ หนักเดก็ นอ ยกวา 1,000 กรัม
37
ชนดิ ของการแทง
การแทงแบงออกไดเ ปน 2 ชนิด คือ
1. แทงทีเ่ กดิ ขึ้นเอง คือ การแทงบุตรทเี่ กดิ ขึ้น โดยไมม กี ารใชย า เครอ่ื งมอื หรอื วธิ ีการใด ๆ ทัง้ ส้ิน
2. แทง ท่เี กดิ จากการกระทํา แบงออกไดเ ปน 2 ชนิด คอื
2.1 การทําแทงเพอ่ื การรกั ษา
2.2 การทําแทงที่ผิดกฎหมาย
สาเหตุของการแทงทเี่ กดิ ขนึ้ เอง
ความผิดปกตขิ องตัวออน ซ่งึ อาจเกดิ จากความผดิ ปกตขิ องตัวออนเอง ซึง่ พบบอยถึงรอ ยละ 60
ความผดิ ปกตใิ นตวั มารดา ซงึ่ อาจเกดิ จากความผดิ ปกติของมดลูกการอกั เสบ ติดเชื้อ เชน ซิฟล สิ
ซึ่งอาจจะทําใหแ ทง ได
นอกจากนยี้ งั มสี าเหตุตา ง ๆ อีกมากมาย บางสาเหตุก็ไมส ามารถรักษา หรอื ปองกนั ได บางสาเหตุ
กส็ ามารถปอ งกันได เพราะฉะน้ัน ผูที่เคยแทงควรจะตองไปพบแพทยเพ่ือตรวจหาสาเหตุ และปองกัน
กอ นทจ่ี ะต้ังครรภในครงั้ ตอไป เพราะอาจจะเกิดการแทงซ้ําได และขณะตั้งครรภควรจะตองระมัดระวัง
เปนพเิ ศษ และอยใู นความดแู ลของแพทย
อาการของการแทงทเ่ี กดิ ขน้ึ เอง
โดยท่ัวไป หญิงมีครรภเมื่อจะแทงลูก จะเริ่มตนดวยอาการเลือดออกกะปริบกะปรอยทาง
ชองคลอด ซึ่งเปนเลือดท่ีออกจากโพรงมดลูก เรียกการแทงอยูในระยะคุกคาม อาจรวมกับอาการปวด
ทองนอยท่ีบริเวณตรงกลางเหนอื หัวเหนา จากน้ันมดลกู เรม่ิ บบี รดั ตวั เมื่อการแทงลุกลามมากข้ึน จนการ
ตัง้ ครรภไ มอ าจดาํ เนินตอไปได เลอื ดกจ็ ะออกมากขึ้น อาการปวดทองจะรุนแรงข้ึน สุดทายมดลูกจะหด
ตัวบบี ไลต ัวออนหรอื ทารกและรกออกมา ซึ่งอาจหลดุ ออกมาจากโพรงมดลกู ไดท ั้งหมด เรียกวาแทงครบ
โดยมากการแทงออกมาครบเชนนีจ้ ะเกดิ ในชว งอายคุ รรภท อ่ี อ นเดอื นมาก ๆ คือไมเกนิ 8 สปั ดาหหลังจาก
วันแรกของการมีประจําเดือนครั้งสุดทาย ถาอายุครรภมากกวาน้ี ส่ิงท่ีแทงออกมาอาจจะไมครบหมด
ทุกอยาง สว นใหญ มเี พียงแตท ารกและกอนเลือด แตรกยังคงคางอยู เพราะย่ิงอายุครรภมาก รกจะเจริญ
มากขึน้ ทาํ ใหไ มหลุดออกจากโพรงมดลกู ไดง าย ๆ การแทงเชนนี้ถือวาเปนแทงไมครบ มีผลตอสุขภาพ
ของผูหญิงคือทําใหผูหญิงตกเลือดไดอยางมากจนเปนอันตรายตอชีวิต การบําบัดคือการขูดมดลูก
เพื่อเอารกสวนทีเ่ หลอื ออกใหห มด
38
ขอปฏบิ ัติและการปองกนั การแทง ทเี่ กดิ ข้นึ เอง
1. เม่อื รูวา ตนเองประจําเดอื นขาด หรอื สงสัยวา จะตัง้ ครรภ ควรมาพบแพทยต งั้ แตเ นน่ิ ๆ และมาพบ
ทุกคร้ังตามนัด
2. บอกประวตั กิ ารเจบ็ ปว ยในอดีต และโรคทางกรรมพันธุ เชน ธาลสั ซเี มีย เบาหวาน
ความดนั โลหติ สงู ใหแกแพทยท ราบ
3. ถาตง้ั ครรภเ มอ่ื อายุมาก (35 ปข ้นึ ไป) ควรรบี มาพบแพทย
4. ถาเคยมีการแทงมากอ น ตองแจงใหแ พทยทราบ
5. ในระหวางตั้งครรภ ถา เกดิ อาการผดิ ปกติ เชน เลอื ดออก ตอ งรบี มาพบแพทยโ ดยดว น แมว า จะยงั
ไมถงึ เวลานัด
6. รับประทานยาบาํ รุงท่แี พทยใ หอ ยา งสมา่ํ เสมอ
7. หลกี เลีย่ งการมเี พศสมั พนั ธใ นขณะท่ีมี เลือด หรอื นํ้าใส ๆ ไหลออกมาทางชอ งคลอด
8. ควรตงั้ ครรภในระยะหา งกนั อยา งนอย 2 ป
9. ควรหลกี เลย่ี ง ของมึนเมา เคร่ืองดม่ื ผสมคาเฟอนี และสิ่งเสพติด
การแทง ทเ่ี กดิ จากการกระทาํ
ตามกฎหมายไทย การทําแทง เปนการกระทาํ ผิดกฎหมาย แตกฎหมายมขี อยกเวนใหมีการทําแทง
ไดบางประการ ซ่ึงจะตองเปนการกระทําของแพทยและมีขอบงชี้ขัดเจน เชน อันตรายตอสุขภาพของ
มารดา หรือหญิงตง้ั ครรภเพราะถูกขมขืน เปนตน นอกเหนือจากกรณีเหลาน้ี การทําแทงถือเปนการผิด
กฎหมายทงั้ ส้ิน
สาเหตุของการทําแทงสวนใหญของผูหญิงไทยมาจากการต้ังครรภไมพึงประสงค เคยมี
ผูศึกษาวิจัยสาเหตุและกลุมอายุของผูทําแทง พบวา วัยรุนมีการต้ังครรภไมพึงประสงคคอนขางสูง
โดยมีตนเหตุมาจากการไมใชวิธีคุมกําเนิดปองกันเม่ือมีเพศสัมพันธ แตก็เปนท่ีสังเกตพบวา ในกลุม
ผูใหญ หญิงที่แตงงานแลวก็พบมีการไปทําแทงในสัดสวนท่ีไมนอย ซ่ึงมีสาเหตุสวนใหญมาจาก
ความลม เหลวจากการใชวิธีคมุ กําเนิด
ยังมีผูหญิงจํานวนมากท่ีไมมีความรูความเขาใจเพียงพอเกี่ยวกับผลกระทบท่ีตามมาจากการ
ทําแทงทผี่ ิดกฎหมาย ซง่ึ นอกจากเปนอนั ตรายตอชวี ติ อยา งมาก โดยเฉพาะอยางยงิ่ ในรายที่อายุครรภมาก
ยง่ิ อนั ตรายมาก อาการแทรกซอนท่พี บไดบอยจากการทาํ แทงที่ผิดกฎหมาย ที่อาจมีทั้งอาการแทรกซอน
ในระยะสนั้ และระยะยาวตอ ชวี ติ ของหญิงคนน้นั เชน
39
การตกเลอื ด อาจมีเลอื ดออกมากผดิ ปกติ ถาไมไ ดร ับเลือดทดแทน หรือชวยเหลือได
ทนั ทวงทีกอ็ าจถงึ แกชีวติ ได
มดลูกทะลุ อาจจะตอ งตดั มดลูกทงิ้
มดลูกแตก จะตอ งตดั มดลกู ทงิ้ ทาํ ใหห มดโอกาสท่จี ะมีลูกไดอีก
การอกั เสบติดเชอ้ื อนั เกดิ จากกระบวนการทําแทง ท่ีใชเ คร่อื งมอื ที่ไมส ะอาดปราศจาก
ความระมดั ระวังในมาตรการการปองกันการแพรเชื้อโรค ทําใหเกิดการอักเสบติดเชื้อจากการ
ขูดมดลกู ซงึ่ สง ผลตามมาในปญ หาสขุ ภาพอ่นื ๆ ทาํ ใหส ิ้นเปลืองคา ใชจา ยในการรกั ษา เน่อื งจาก
เช้ือทก่ี อ ใหเ กิดการอกั เสบมกั เปนแบคทีเรยี ทม่ี อี านภุ าพในการกระจายเชอ้ื ไดรุนแรงมาก จึงตอง
ใชก ารรักษาเปนเวลานาน หากไมห ายขาดก็จะทาํ ใหเกิดการติดเชื้ออกั เสบเรื้อรังในอวัยวะอุงเชิง
กราน และหากรักษาหายขาดจากการอักเสบแลว ผูหญิงคนนั้นก็อาจมีการปญหาดานการมีบุตร
ยากตอไปได
เรอ่ื งที่ 7 ทักษะการจดั การกบั ปญ หา อารมณแ ละความตองการทางเพศของวัยรนุ
เพศสัมพันธเปนเรื่องของความรับผิดชอบตอตนเอง เคารพความรูสึกของคูของตน ไตรตรอง
วิเคราะหถึงผลดี ผลเสีย และเปนสิทธิสวนบุคคลท่ีจะตัดสินใจ แตตองไมสรางปญหาภาระแกผูอื่น
ภายหลัง และเม่ือมีความผิดพลาดเกิดขึ้นก็เปนเรื่องที่จะแกไขและหาทางออกท่ีเหมาะสมตอไป และ
กอนที่จะคิดถึงการมีเพศสัมพันธ ตองแสวงหาความรูเก่ียวกับเร่ืองเพศสัมพันธ และสุขภาพอนามัย
ท่ีเก่ียวของกับเพศสัมพันธ เพื่อจะไดปลอดภัย ไมเกิดการต้ังครรภที่ไมตองการ และไมเกิดการติดโรค
รวมทงั้ ปญ หาอน่ื ๆ ทางดา นจิตใจ ที่จะตามมา
สิ่งที่ตามมาจากการตัดสินใจมีเพศสัมพันธ จึงมีทั้งดานบวกและดานลบ การวิเคราะหถึงผล
ที่จะตามมาลวงหนา จะชวยใหเราสามารถเตรียมการ และคิดวิธีการปองกันและ/หรือหลีกเล่ียงไมให
ตวั เองและคนท่ีเก่ียวของตองเผชิญกับปญหาท่ีอาจตามมา ดังน้ัน เม่ือคิดและคาดการณไดลวงหนาวา
ส่ิงที่ตวั เองตองการและไมตองการใหเกิดขน้ึ คอื อะไร กส็ ามารถใชเปน เหตผุ ลประกอบการตดั สินใจวาจะ
ทําหรือไมทํา เพราะผลที่เกิดขึ้น เปน เรื่องทีเ่ ราจะตองเผชิญและรบั ผิดชอบดวยตวั ของเราเอง
การเรียนรูทจ่ี ะประเมินสถานการณ หรอื การคาดเดาไดวา อะไรบา งที่จะนาํ ไปสกู ารมเี พศสมั พนั ธ
ของตนเอง เราพรอ มที่จะเผชญิ สถานการณนน้ั หรือไมอยางไร การคาดการณและตอบตัวเองไดชัดเจน
40
จะชวยใหเราควบคุม จัดการ และแกไขสถานการณไดดีกวาการไมไดเตรียมตัว ซึ่งอาจสงผลตอส่ิงท่ี
ตามมาทีไ่ มพงึ ประสงค เชน การต้ังครรภท ไี่ มพ รอ มและความเส่ียงตอ การตดิ เช้อื เอชไอวี เปน ตน
เชนเดียวกับการเรียนรูและฝกฝนทักษะการยืนยันความตองการและการตอรองเพื่อใหบรรลุ
ความตอ งการของท้ังสองฝายเปนเร่ืองสําคญั การเรยี นรนู ้ดี ําเนินไปตลอดชีวิต การเผชิญกับความรูสึกผิด
อารมณโกรธ หว่นั เกรงกับความรสู ึกของผอู ่ืนท่ีมตี อ ตนเองหรอื รูสึกวาตนเองดอยคา เปนประสบการณ
รวมของทกุ คน การเริม่ ตนและฝกฝนในชีวิตประจาํ วันจะชว ยใหเราทําไดดีข้ึนและจะนําไปสูการพัฒนา
ความสมั พนั ธข องท้งั ฝายใหแ นน แฟนยิ่งขนึ้
การเรียนรูความตองการของตัวเอง และสิ่งที่อาจมีอิทธิพลตอความคิด และการตัดสินใจของ
ตัวเองเปนเรือ่ งสําคัญของวัยรนุ เพราะในสถานการณหลายอยางที่วัยรุนเผชิญ การเขาใจความตองการ
ของตัวเองอยางชัดเจนจะชวยใหวัยรุนสามารถส่ือสาร ตอรอง หรือปฏิเสธเพื่อใหเปนไปตามความ
ตอ งการของตนเองได
นอกจากน้ัน การเรียนรูเทคนิคการชักชวน จะทําใหเห็นวา คนสวนใหญมีวิธีการหลายอยาง
ในการโนม นา วใจ หรอื ชกั จูงคนอ่ืนใหค ลอยตาม ท้ังน้ี อาจทําไปโดยไมสนใจความตองการของอีกฝาย
และไมเ คารพในการตัดสินใจที่แตกตา งไปจากส่งิ ทีต่ ัวเองตอ งการ การเรียนรู ยอมรับ และเคารพความ
คดิ เห็นทีแ่ ตกตา งของบุคคลเปนพื้นฐานสําคัญในการสรา งสมั พนั ธภาพและการอยูรวมกนั
เสน ทางความคิดเพอื่ ตดั สนิ ใจ
1. เรอ่ื งทตี่ อ งตดั สนิ ใจคืออะไร
เรอื่ ง.................................................................................
2. ทางเลือกท่ีมีอยูม อี ะไรบา ง
ทางเลอื กที่ 1 ทางเลอื กที่ 2 ทางเลอื กท่ี 3 ทางเลือกอนื่ ๆ
คดิ ตอ...มที างเลอื กอนื่ อกี ไหม
41
3. คดิ ถงึ ผลทีต่ ามมาของแตละทางเลอื ก วา จะเกดิ อะไรขน้ึ ถาเราเลอื ก
ผลบวก ผลลบ มีความเส่ียงอะไรบา ง?
ความเส่ยี งนั้นมีโอกาสที่จะเกิดข้ึนมากแคไ หน?
ถาเกดิ ขึน้ แลว เราจัดการ/รบั ไดหรือไม?
จะลดความเสยี่ งของทางเลือกทีเ่ ราอยากเลอื ก
ไดอ ยางไร?
4. ความตองการที่แทจรงิ ของเราคอื
เรารวู าคนอนื่ อยากใหเราทําอะไร
แลว เรารูไ หมวา เราอยากทําอะไรท่ีเปนความตองการที่แทจ ริงของตัวเราเอง
5. ตดั สินใจ
ทางเลือก 1. .....................................................................................................
2. .....................................................................................................
ฉันเปนแบบไหน
บุคลกิ 3 แบบ ในเรื่องการกลาแสดงความคดิ เหน็ ความตอ งการและการตอบสนองความตอ งการของ
ตัวเอง
1. “ฉันจะเอาแบบน้ี ฉันไมสนใจวาเธออยากเลือกแบบไหน” (Aggressive)
คนบุคลิกนี้ไมคอยสนใจความตองการของผูอื่น กลาแสดงออก กลาทําเพ่ือใหไดตามที่
ตอ งการ
42
ไมช อบใหข ดั ใจ
คนทีไ่ มคอ ยสนใจความตองการของผูอ่ืนเปนคนที่รูวาตัวเองตองการอะไรและเดินหนา
เพ่อื ใหไดม า การไดตามทีต่ อ งการเปนเร่อื งสําคัญจงึ ทาํ ใหเปนคนท่ีไมให ความสนใจ
กับผลทเี่ กิดกับผูอ่ืนมากนัก มักทาํ ใหเ พอ่ื นอดึ อดั ใจ
2.“ฉันรเู ธออยากไดอะไร และฉันเลอื กไดว าฉนั จะทําอะไร” (Assertive)
คนบุคลกิ น้ี จะยอมรับในสิทธแิ ละความตอ งการของผูอ ื่น รูจกั ปกปอ งสทิ ธแิ ละตอบสนอง
ความตองการของตวั เอง
กลา ถามและกลาบอก
คนที่ยอมรับในสิทธแิ ละความตองการของผอู น่ื ขณะเดียวกันกร็ ูจกั ปกปองสิทธแิ ละ
ตอบสนองความตองการของตวั เอง เปน ผูท่ีมคี วามสขุ และสรา งสัมพันธภาพท่ียง่ั ยนื ได
3. “สําหรับฉนั อะไรกไ็ ด” (Passive)
คนบุคลกิ นี้ มกั คลอยตามผูอ นื่ ไมค อ ยกลาแสดงความตองการและความรูสกึ ของตวั เอง
โดยเฉพาะเรื่องที่ตองขดั ใจผอู น่ื ปฏิเสธไมเปน
ไมค อ ยกลาบอก
คนทม่ี ักคลอ ยตามผูอ่ืนเปน คนที่ไปกบั เพือ่ นไดดี ไมมคี วามขดั แยง ไมค อยแสดง
ความตองการและความรสู กึ ออกมาโดยเฉพาะเรอื่ งทีต่ องขดั ใจผูอ นื่ เมอ่ื อยูใ นสถานการณ
อยากปฏิเสธจึงยากที่จะบอกยนื ยันความตองการของตวั เอง
การบอกยนื ยนั ความตองการ
ทบทวนเร่ือง + บอกความรสู ึก + ระบคุ วามตองการ
ตวั อยาง: สถานการณค ยุ กนั จนดึก แฟนขอนอนคางท่ีหอ ง
ทบทวน “เรอ่ื ง”
คือ คําชกั ชวนหรอื คาํ ขอรอง ทางเลอื กทเ่ี พอ่ื นหยบิ ยนื่ ให : (แฟนขออยคู า ง)