The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maw.nfe, 2020-04-15 01:58:56

สุขศึกษา พลศึกษา ประถมศึกษา

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

93

- ใสแ วน กนั แดด หากมองแสงสวางไมไ ด
- อยา ใส contact lens ในระยะท่ตี าแดง ตาอักเสบ
- เปลยี่ นปลอกหมอนทุกวัน

เรื่องท่ี 8 ไขห วดั นก

สาเหตุ โรคไขหวดั นก (Avian influenza หรือ Bird flu) เกิดจากเช้ือไวรัสเอเวียนอินฟลู
เอนซา ชนดิ เอ (Avian influenza Type A) ทําใหเ กิดโรคขึน้ ไดทง้ั ในคนในสัตวเล้ียงลูกดวยนม และสัตว
ปก

อาการ ผูปวยจะมีอาการคลายกับไขหวัดใหญ มีระยะฟกตัวเพียง 1-3 วัน จะมีอาการ
ไขสูง หนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดเมอื่ ยกลามเน้ือ ออ นเพลีย เจ็บคอ ไอ ตาแดง เหนื่อยหอบ หายใจลําบาก
รายทรี่ นุ แรงเนื่องจากมีอาการปอดอกั เสบรว มดวย โดยเฉพาะในเดก็ และผูสงู อายอุ าจทําใหเ สยี ชีวติ ได

การตดิ ตอ เชอ้ื ไวรัสนี้จะถูกขับถา ยออกมากับมูลของนกท่มี ีเชื้อน้ีอยแู ละตดิ ตดิ ตอสูสัตว
ปกท่ไี วตอ การรบั เชื้อ ซงึ่ จะเกิดกบั ไก เปด หาน และนก คนจะตดิ ตอ มาจากสตั วอกี ตอ หน่ึงโดยการสัมผสั
มูลสัตว น้ํามูก น้ําตา น้ําลาย ของสัตวที่ปวยหรือตาย ปจจุบันยังไมพบวามีการติดตอจากคนสูคน
ผูทท่ี าํ งานในฟารมสตั วป ก โดยเฉพาะในพน้ื ทท่ี ่ีมกี ารระบาดของโรคไขห วัดนก มโี อกาสติดโรคไขหวัด
นกสูง

การปอ งกัน โดยการปฏิบตั ิดงั น้ี
1. หลกี เลย่ี งการสัมผัสกบั สตั วปกท่ปี ว ยเปน โรคอยู
2. ลา งมอื ใหสะอาดดว ยน้าํ และสบูทุกครง้ั หลงั หยบิ จบั เน้อื สัตวปก หรือไขดบิ
และอาบน้าํ หลงั จบั ตองหรือสัมผสั สัตว โดยเฉพาะสตั วป กที่ปวยหรือตาย
3. ดูแลรกั ษารา งกายใหแ ขง็ แรงเพื่อเพิ่มภูมิตา นทานโรค
4. ถามีไข ปวดศีรษะ หนาวสั่น เจ็บคอ ไอ โดยเฉพาะผทู ค่ี ลุกคลีกับสัตวปกท้ังท่ีมีชีวิต
และไมม ชี ีวติ ควรรีบไปพบแพทย
5. รบั ประทานอาหารประเภทไกแ ละไขท ่ีปรงุ สุกเทานน้ั งดรับประทานอาหารทีป่ รงุ
สุก ๆ ดบิ ๆ โดยเฉพาะในชว งท่มี ีการระบาดของโรค
6. ลา งเปลือกไขดวยน้ําใหส ะอาดกอ นปรุงอาหาร

94

บทที่ 5
ยาสามัญประจําบาน

สาระสําคัญ

ยาสามัญประจําบานเปน ยาท่ปี ระชาชนทกุ คนควรจะมีไวใ ชในครอบครวั เพื่อใชสําหรับบรรเทา
อาการเจ็บปวยเบ้ืองตนของสมาชิกในครอบครัว เวลาท่ีเกิดอาการเจ็บปวย หลังจากน้ันจึงนําสง
สถานพยาบาลตอ ไป

ผลการเรยี นรทู ่ีคาดหวงั

1. อธิบายสรรพคณุ และวธิ ีการใชย าสามญั ประจาํ บา นไดถูกตอ ง
2. อธบิ ายถึงอันตรายจากการใชย าสามัญประจาํ บาน
3. อธิบายถงึ ความเช่ือทีผ่ ดิ ๆ เกี่ยวกับการใชย า

ขอบขา ยเนอ้ื หา

เรอ่ื งท่ี 1 หลกั การและวธิ กี ารใชย าสามญั ประจาํ บา น
เรือ่ งท่ี 2 อันตรายจากการใชย า และความเชื่อทผ่ี ดิ เก่ยี วกบั ยา

95

ยาสามัญประจําบานเปนท่ีประชาชนท่ัวไปสามารถหาซ้ือและจําหนายไดโดยไมตองมี
ใบอนุญาตจากแพทย ซงึ่ องคการเภสัชกรรม กระทรวงสาธารณสขุ ไดผ ลิตยาตาง ๆ ทีม่ ีคุณภาพดี ราคาถูก
และไดมาตรฐานสาํ หรบั จําหนายใหแ กป ระชาชนทว่ั ไป

ยาสามัญประจําบานเปนยาแผนปจจุบันหรือแผนโบราณท่ีใชรักษาอาการเจ็บปวยเล็ก ๆ
นอ ย ๆ เชน ไอ ปวดศีรษะ ปวดทอ ง ของมคี มบาด แผลพุพอง เปนตน หากใชแลวอาการไมดีข้ึนควรไป
ปรึกษาแพทยเ พื่อรบั การรกั ษาตอ ไป

ตัวอยา งยาสามญั ประจําบา นควรมไี วไดแก
1. ยาแกป วดแกไข
2. ยาแกแพ
3. ยาถาย ยาระบาย
4. ยาสาํ หรับกระเพาะอาหารและลาํ ไส

- ยาลดกรด
- ยาธาตุนาํ้ แดง
- ผงน้ําตาลเกลือแร
- ทงิ เจอรม หาหิงคุ
5. ยาสาํ หรับสูดดมและแกลมวิงเวียน
6. ยาแกไ อ แกเ จ็บคอ
7. ยาสําหรับโรคผิวหนัง
8. ยารักษาแผล
- ยาใสแ ผลสด
- แอลกอฮอลเ ชด็ แผล

เร่อื งที่ 1 หลกั การและวธิ กี ารใชยาสามญั ประจาํ บาน

หลกั และวิธกี ารใชยา
ยารักษาโรคน้ันมีท้ังคุณและโทษ ดังน้ันเพ่ือใหเกิดความปลอดภัย เราควรคํานึงหลักการ

ใชย าดงั น้ี
1. ใชย าตามคําส่ังแพทย เทา น้ัน เพือ่ จะไดใ ชยาถูกตอ งตรงกับโรค ไมควรใชย าตาม คํา

โฆษณา เพราะการโฆษณานั้นอาจแจง สรรพคุณยาเกนิ ความจรงิ

96

2. ใชยาใหถกู วธิ ี เนือ่ งจากการจะนํายาเขาสูรางกายมีหลายวิธี เชน การกิน การฉีด การทา
การหยอด การเหน็บ เปนตน ซ่ึงการจะใชวิธีใดก็ข้ึนอยูกับคุณสมบัติของตัวยานั้นๆ ดังน้ันกอนใชยา
จึงจาํ เปนตอ งอา นฉลาก ศึกษาวธิ กี ารใชใหล ะเอียดกอนใชทุกคร้ัง

3. ใชยาใหถกู ขนาด คือการใชย ารักษาโรคจะตองไมม ากหรอื นอ ยเกินไป ตองใชใ หถ ูกขนาด
ตามทีแ่ พทยสัง่ จึงจะใหผ ลดีในการรักษา เชน ใหกนิ ครงั้ ละ 1 เมด็ วันละ 3 คร้ัง ก็ไมควรกิน 2 เม็ด หรือ
เพมิ่ เปน วันละ 4 - 5 คร้ัง เปน ตน และการใชยาในแตล ะคนก็แตกตางกันโดยเฉพาะเด็กจะมีขนาดการใช
ทแี่ ตกตา งจากผใู หญ

4. ใชยาใหถ ูกเวลา คอื ชวงเวลาในการรับประทานยาหรือการนํายาเขา สูรางกายดว ยวิธี
ตา ง ๆ เชน หยอด เหนบ็ ทา ฉดี เปนตน เพอื่ ใหป ริมาณของยาในกระแสเลือดมีมากพอในการบําบัดรักษา
โดยไมเ กดิ พษิ และไมน อยเกนิ ไปจนสามารถรักษาโรคได ซึ่งการใชย าใหถกู เวลาควรปฏิบัติดังนี้

- การรับประทานยากอนอาหาร ยาท่ีกําหนดใหรับประทานกอนอาหารตองกินกอน
อาหารอยางนอย ½ - 1 ชั่วโมง ซ่ึงมีจุดมุงหมายเพ่ือใหยาถูกดูดซึมไดดี ถาลืมกินยาในชวงใดก็ใหกิน
หลังอาหารมื้อน้ันผานไปแลว อยา งนอย 2 ช่วั โมง เพราะจะทําใหย าถูกดดู ซึมไดด ี

- การรับประทานยาหลังอาหาร ยาที่กําหนดใหรับประทาน “หลังอาหาร” โดยทั่วไป
จะใหรบั ประทานหลังอาหารทันที หรือหลังจากกินอาหารแลวอยา งนอย 15 นาที เพื่อใหย าถูกดดู ซึมเขาสู
กระแสเลือดรวมกับอาหารในลาํ ไสเลก็

- การรับประทานยากอนนอน ยาที่กําหนดใหรับประทาน “ กอนนอน” ใหกินยาน้ัน
หลังจากกินอาหารม้อื เย็นเสร็จแลวไมต าํ่ กวา 4 ชั่วโมง กอนเขา นอน

5. ใชย าใหถกู มาตรฐาน คือใชยาทีม่ ตี ัวยาครบทง้ั ชนิดและปริมาณไมใชย าเสื่อมคณุ ภาพหรือ
หมดอายุ ซ่ึงสามารถดไู ดจ ากวนั ,เดอื น,ป ทรี่ ะบไุ ววา ผลติ เมื่อใด หมดอายเุ มอ่ื ใด เปน ตน

6. ใชยาใหถูกกับคน คือ ตองดูใหละเอียดกอนใชวา ยาชนิดใดใชกับใคร เพศใด และอายุ
เทา ใด เพราะอวัยวะตางๆ ในรางกายของคนแตละเพศแตละวัยมีความแตกตางกัน เชน เด็กจะมีอวัยวะ
ตา งๆ ในรางกายที่ยงั เจริญเติบโตไมเ ตม็ ทีเ่ มอื่ ไดรบั ยาเด็กจะตอบสนองตอ ยาเร็วกวาผูใหญมาก และสตรี
มคี รรภก็ตอ งคาํ นึงถงึ ทารกในครรภด วยเพราะยาหลายชนิดสามารถผานจากแมไปสูเด็กไดทางรกอาจมี
ผลทาํ ใหเ ดก็ ทีค่ ลอดออกมาพิการไดก ารใชยาในเดก็ และสตรีมีครรภจ ึงตองระมดั ระวงั เปน พิเศษ

7. ใชยาใหถูกโรค คือ ใชยาใหตรงกับโรคท่ีเปน ซึ่งจะเลือกใชยาตัวใดในการรักษาน้ัน
ควรจะใหแ พทย หรือเภสชั กรผรู ูเ ปนคนจดั ใหเราไมควรซื้อยา หรือใชยาตามคําบอกเลาของคนอื่น หรือ
หลงเช่ือคําโฆษณา เพราะหากใชยาไมถูกกับโรคอาจทําใหไดรับอันตรายจากยาน้ันได หรือไมไดผล
ในการรักษาและยังอาจเกิดโรคอ่ืนแทรกซอ นได

97

8. การใชยาท่ีใชภายนอก ยาที่ใชภายนอก ไดแก ข้ีผ้ึง ครีม ยาผง ยาเหน็บ ยาหยอด
โดยมีวธิ ีการดังน้ี

- ยาใชทาใหทาเพยี งบางๆ เฉพาะบริเวณทเ่ี ปน โรค หรือบริเวณทม่ี อี าการ
- ยาใชถ ูนวด ใหท าและถบู ริเวณทีม่ ีอาการเบา ๆ
- ยาใชโรย กอนที่จะโรยยาควรทําความสะอาดแผลและเช็ดบริเวณท่ีจะทําใหแหง
เสียกอน ไมควรโรยยาทแี่ ผลสด หรือแผลทมี่ นี าํ้ เหลอื งเพราะผงยาจะเกาะกันแข็งปดแผล อาจเปนแหลง
สะสมเช้ือโรคภายในแผลได
- ยาใชหยด จะมีท้งั ยาหยอดตา หยอดหู หยอดหรอื พน จมกู โดยยาหยอดตาใหใชหลอด
หยอดยาทใ่ี หม าโดยเฉพาะเวลาหยอดจะตองไมใหหลอดสัมผัสกับตา ใหหยอดบริเวณกลางหรือหางตา
ตามจาํ นวนท่ีกําหนดไวในฉลาก ยาหยอดยาเมื่อเปด ใชแลว ไมควรเก็บไวใ ชน านเกนิ 1 เดือน และไมควร
ใชรว มกันหลายคน
9. การใชย าท่ใี ชภ ายนอกและยาทีใ่ ชภายใน คือยาที่ใชรับประทาน ไดแก ยาเม็ด ยาผง ยานํ้า
โดยมวี ธิ กี ารใชดงั น้ี
- ยาเม็ด ที่ใหเ คี้ยวกอนรับประทาน ไดแก ยาลดกรดชนิดเม็ดยาที่หามเคี้ยว ใหกลืนลง
ไปเลย ไดแก ยาชนดิ ท่เี คลือบน้ําตาลและชนิดทีเ่ คลอื บ ฟลม บางๆ จบั ดูจะรูสึกล่ืน
- ยาแคปซลู เปน ยาท่ีหา มเค้ียวใหก ลืนลงไปเลย ทั้งชนิดออน และชนดิ แข็ง ซึ่งชนิดแข็ง
จะประกอบดวยปลอก 2 ขา งสวมกนั
- ยาผง มอี ยหู ลายชนดิ และใชแตกตางกัน เชน ตวงใสชอนรับประทานแลวด่ืมน้ําตาม
หรือชนดิ ตวงมาละลายนาํ้ กอน และยาผงท่ีตองละลายน้ําในขวดใหไดปริมาตรที่กําหนดไวกอนท่ีจะใช
รบั ประทาน นํา้ ท่ีนํามาใชต อ งเปนน้าํ ดื่มทตี่ ม สุกทงิ้ ใหเยน็ แลว และควรใชย าใหห มดภายใน 7 วันหลังจาก
ผสมนา้ํ แลว
10. ใชยาตามคําแนะนําในฉลาก ปกติยาทุกชนิดจะมีฉลากยาเพื่อบอกถึงชื่อยา วิธีการใช
และรายละเอียดอ่ืน ๆ ซ่ึงเราจําเปนตองอานใหเขาใจโดยละเอียดเสียกอน วาเปนยาท่ีเราตองการใช
หรือไม และปฏบิ ัติใหถกู ตองตามทีฉ่ ลากยาแนะนําเอาไว

ลกั ษณะยา
เนื่องจากยามหี ลายประเภท มที ้งั ยากนิ ยาทา ยาอมในแตละประเภทมีอีกหลายชนิดซึ่งมี

วิธีการและขอควรระวังแตกตา งกัน จงึ จาํ เปน ตอ งเรียนรูลักษณะและประเภทของยา

98

การจําแนกประเภทของยา
ตามพระราชบัญญตั ยิ า ฉบบั ท่ี 3 พ.ศ. 2522 ไดใ หความหมายวา ยา หมายถึง สารที่ใชใน

การวิเคราะห บําบดั รกั ษา ปองกนั โรคหรือความเจบ็ ปว ยของมนุษยและสัตว รวมทั้งใชในการบํารุงและ
เสรมิ สรา งสุขภาพรางกายและจิตใจดวย สามารถจําแนกไดเปน 6 ประเภท ดงั น้ี

1. ยาแผนปจจบุ ัน หมายถึง ยาทใ่ี ชร ักษาโรคแผนปจ จุบนั ทั้งในคนและสัตว เชน ยาลด
ไข ยาปฏิชีวนะ ยาแกป วด ยาแกแพ เปน ตน

2. ยาแผนโบราณ หมายถึง ยาท่ีใชรักษาโรคแผนโบราณทั้งในคนและสัตวยาชนิดน้ี
จะตองข้ึนทะเบียนเปนตํารับยาแผนโบราณอยางถูกตอง เชน ยามหานิลแทงทอง ยาธาตุบรรจบ ยาเทพ
มงคล ยาเขยี วหอม เปนตน

3. ยาอันตราย หมายถึง ยาที่ตองควบคุมการใชเปนพิเศษ เพราะหากใชยาประเภทนี้
ไมถ กู ตองอาจมอี นั ตรายถงึ แกชีวติ ได เชน ยาปฏชิ ีวนะชนิดตา งๆ ยาจําพวกแกค ลืน่ เหียนอาเจียน เปนตน

4. ยาสามญั ประจาํ บาน หมายถึง ยาทั้งท่เี ปนแผนปจ จบุ ันและแผนโบราณ ซงึ่ กาํ หนดไว
ในพระราชบัญญัติยาวาเปนยาสามัญประจําบาน เชน ยาธาตุน้ําแดง ยาขับลม ยาเม็ดซัลฟากัวนิดีน
ยาระบายแมกนเี ซยี ดเี กลอื ยาเมด็ พาราเซตามอล เปนตน

5. ยาสมนุ ไพร หมายถงึ ยาทีไ่ ดจากพืช สตั ว หรือแร ซึ่งยังไมไดนํามาผสมหรือเปลี่ยน
สภาพ เชน วา นหางจระเข กระเทยี ม มะขาม มะเกลือ นอแรด เข้ียวเสือ ดีงูเหลือม ดีเกลือ สารสม จุนสี
เปนตน

6. ยาควบคมุ พเิ ศษ ไดแ ก ยาแผนปจจุบนั หรือยาแผนโบราณทร่ี ัฐมนตรีประกาศเปนยา
ควบคมุ พิเศษ เชน ยาระงับประสาทตา ง ๆ

รูปแบบของยา
ยาที่ผลิตในปจจุบันมีหลายรูปแบบ เพ่ือสะดวกแกการใชยาและใหมีประสิทธิภาพสูงสุด

ไดแก
1. ยาเม็ด มีทั้งยาเม็ดธรรมดา เชน พาราเซตามอล เม็ดเคลือบฟลม เชน ยาแกไอ ยาเม็ด

เคลอื บนาํ้ ตาล เชน ไวตามิน เม็ดเคลอื บพิเศษ เพ่อื ใหยาแตกตวั ที่ลาํ ไส เชน ยาวณั โรค ยาแกป วด
2. ยาแคบซลู แคปซูลชนดิ แข็ง ไดแ ก ยาปฏิชีวนะตา ง ๆ แคปซูลชนิดออนไดแก นํ้ามันตับ

ปลา วติ ามินอี ปลอกหมุ ของยานี้จะละลายในกระเพาะอาหาร เพราะมรี สขมหรอื มีกลิ่นแรง
3. ยาน้าํ มหี ลายชนดิ เชน ยาแกไอน้ําเชอื่ ม ยาแกไขห วัดเด็ก
4. ยาฉีด ทําเปน หลอดเลก็ ๆ และเปน ขวด รวมทงั้ นํา้ เกลือดวย

99

นอกจากน้ยี ังมยี าขีผ้ ึ้งทาผิวหนงั บดผง ยาเหน็บ ยาหยอดตา ยาหยอดหู ยาหยอดจมูก ยาอม
รูปแบบของยาข้นึ อยูกับจดุ มุง หมายผใู ช

การเก็บรักษา
เมื่อเราทราบถงึ วธิ ีการใชย าท่ถี กู ตองแลว กค็ วรรูถงึ วิธีการเก็บรักษาที่ถกู ตอ งดวย เพอื่ ใหยามี

คุณภาพในการรักษา ไมเ สื่อมคณุ ภาพเร็ว โดยมวี ธิ กี ารเก็บรักษา ดังนี้
1. ตยู าควรต้ังอยใู นทที่ ี่แสงแดดสองเขา ไปไมถึง ควรต้ังใหพนจากมือเด็ก โดยอยูในระดับ

ท่ีเด็กไมสามารถหยิบถึง เพราะยาบางชนิดมีสีสวย เด็กอาจนึกวาเปนขนมแลวนํามารับประทาน
จะกอ ใหเ กดิ อันตรายได

2. ไมตัง้ ตยู าในท่ชี ื้น ควรตง้ั อยูใ นที่ทีอ่ ากาศถายเทไดสะดวก ควรเก็บยาใหห างจากหอ งครัว
หองนํ้าและตนไม

3. ควรจดั ตูยาใหเปนระเบยี บ โดยแยก ยาใชภายนอก ยาใชภายใน และเวชภัณฑ เพื่อปองกนั
อันตรายจากการหยิบยาผดิ อันตรายจากการหยบิ ยาผดิ

4. เก็บรักษาไมใหถกู แสงสวาง เพราะยาบางชนิดหากถูกแสงแดด จะเสื่อมคุณภาพจึงตอง
เกบ็ ในขวดทึบแสงมักเปนขวดสีชา เชน ยาหยอดตา ยาวิตามนิ ยาปฏิชวี นะ และยา แอดดรีนาลินที่สําคัญ
ควรเก็บยาตามท่ีฉลากกําหนดไวอ ยางเครง ครัด แตถาฉลากไมไดบง ไวกเ็ ปน ท่เี ขาใจวา ใหเ ก็บในที่ปอ งกนั
ความชน้ื ไดดี ไมเกบ็ ยาในทอ่ี ณุ หภูมสิ งู เกนิ ไป หรือไมน ํายาไปแชแ ข็ง การเก็บรักษายาท่ีถูกตอง ยอมได
ใชย าที่มีประสทิ ธภิ าพ และยากไ็ มเ ส่ือมคณุ ภาพเร็วซง่ึ จะใหผ ลในการรกั ษาเต็มที่

การสงั เกตยาทเ่ี สือ่ มสภาพ
ยาเส่ือมสภาพ หมายถึง ยาที่หมดอายุ ไมมีผลทางการรักษาและอาจกอใหเกิดปญหา

ตอสขุ ภาพ กอนการใชย าและเวชภัณฑท กุ ชนดิ จะตองสังเกตลักษณะของยาวามีการเส่ือมสภาพหรือยัง
โดยมขี อสงั เกตดงั ตอ ไปน้ี

1. ยาเมด็ ธรรมดา เปนยาทีจ่ ะเกดิ การเปลยี่ นสภาพไดง า ยเม่ือถูกความช้ืนของอากาศ ดังนั้น
ทุกครัง้ ทีเ่ ปด ขวดใชยาแลว ควรปดใหแ นน ถาพบวายามีกล่ินผดิ ไปจากเดมิ เม็ดยามีผลึกเกาะอยู แสดงวา
ยาเส่ือมสภาพไมค วรนํามาใช

2. ยาเม็ดชนดิ เคลอื บนํา้ ตาล จะเปลีย่ นแปลงงายถาถูกความรอนหรือความช้ืน จะทําใหเม็ด
ยาเย้ิมสีละลาย ซีดและดางไมเสมอกัน หรือบางครั้งเกิดการแตกรอนได ถาพบสภาพดังกลาวก็ไมควร
นํามาใช

3. ยาแคปซลู ยาชนดิ แคปซูลท่ีเส่ือมสภาพสามารถสังเกตไดจากการท่ีแคปซูลจะพองหรือ
แยกออกจากกนั และยาภายในแคปซลู กจ็ ะมีสเี ปลยี่ นไปไมควรนาํ มาใช

100

4. ยาฉีด ยาฉีดท่ีเส่ือมสภาพจะสังเกตไดงายโดยดูจากยาท่ีบรรจุในขวดหรือหลอด ยาฉีด
ชนดิ เปนผง ถามลี ักษณะตอ ไปนแ้ี สดงวา เสือ่ มสภาพ

- สขี องยาเปลย่ี นไป
- ผงยาเกาะตดิ ผนงั หลอดแกว
- ผงยาเกาะตัวและตอ งใชเ วลาทาํ ละลายนานผดิ ปกติ
- เมอื่ ดดู ยาเขาหลอดฉีดยาทาํ ใหเ ขม็ อุดตนั
5. ยานา้ํ ใส ลกั ษณะของยานา้ํ ใสท่เี สือ่ มสภาพสงั เกตไดง า ยดังนี้
- สขี องยาเปลยี่ นไปจากเดิม
- ยาขุน ผดิ ปกติและอาจมีการตกตะกอนดวย
- ยามกี ล่ินบูดเปรยี้ ว
6. ยานาํ้ แขวนตะกอน ลักษณะของยานํ้าแขวนตะกอน ที่เส่ือมสภาพจะสังเกตพบลักษณะ
ดงั นี้
- มีสี กลิน่ และรสเปลย่ี นไปจากเดิม
- เมื่อเขยา ขวดแลว ยาทั้งขวดไมเปน เนอ้ื เดียวกนั หรือยามีตะกอนแข็งเขยาไมแตก
7. ยาเหนบ็ ลกั ษณะของยาเหน็บทีเ่ สอื่ มสภาพและไมค วรใชม ีดังน้ี
- เมด็ ยาผดิ ลกั ษณะจากรปู เดิมจนเหนบ็ ไมไ ด
- ยาเหลวละลายจนไมส ามารถใชได
8. ยาขผี้ ึง้ เมอื่ เส่ือมสภาพจะมลี ักษณะที่สังเกตไดง า ยดังน้ี
- มกี ารแยกตัวของเนอ้ื ยา
- เน้อื ยาแข็งผดิ ปกติ
- สีของขี้ผึ้งเปลยี่ นไปและอาจมจี ดุ ดา งดาํ เกิดขน้ึ ในเนอ้ื ยา

เรอ่ื งท่ี 2 อนั ตรายจากการใชย า และความเชอื่ ท่ีผิดเกย่ี วกบั ยา

ยาเปนสิง่ ท่มี ีประโยชนถาใชอยางถูกตองและเหมาะสมในขณะเดียวกัน ถาใชยาไมถูกตอง
ก็จะมีโทษมหันต ทาํ ใหไมหายจากการเจบ็ ปว ยและอาจมีอนั ตรายถึงชีวิต

1. อันตรายเกดิ จากการใชย าเกินขนาด เกิดจากการรับประทานยาชนิดเดียวกันในปริมาณ
มากกวาทีแ่ พทยกาํ หนด ซึง่ กอ ใหเกิดอันตรายตอ รางกายจนถึงขั้นเสยี ชวี ติ ได

101

2. อนั ตรายเกิดจากการใชยาเส่ือมคณุ ภาพ เชน การรับประทานยาหมดอายุ นอกจากอาการ
เจ็บปว ยไมห าย แลว ยังอาจทําใหอาการทรุดหนกั เปน อันตรายได

3. อนั ตรายจากการใชยาติดตอกันเปนเวลานาน ยาบางชนิดเมื่อใชติดตอกันเปนเวลานาน
อาจสะสมทําใหเปนพิษตอ ระบบตา ง ๆ ของ รางกาย นอกจากนน้ั การใชยาติดตอกัน นาน ๆ อาจทาํ ใหเกดิ
การติดยา เชน ยาแกปวดบางชนดิ

4. อันตรายจากการใชยาจนเกิดการดื้อยา เกิดจากการรับประทานยาไมครบจํานวน
ตามแพทยส ง่ั หรอื ยังไมท ันจะหายจากโรค ผปู ว ยกเ็ ลิกใชย าชนดิ นัน้ ทง้ั ๆ ท่ีเช้ือโรคในรางกายถูกทําลาย
ไมห มด ทาํ ใหเชื้อโรคนนั้ ปรับตวั ตอตานฤทธยิ์ า ทําใหยารักษาไมไ ดผล

5. อันตรายที่เกิดจากการใชยา โดยไมทราบถึงผลขางเคียงของยาบางชนิด มีผลขางเคียง
ตอ รา งกาย เชน ยาแกห วัด ชว ยลดน้าํ มกู และลดอาการแพต า งๆ แตมีผลขางเคียงทําใหผูใช รูสึกงวงนอน
ซึมเซา ถา ผูใชไมทราบ และไปทาํ งานเกี่ยวกับเคร่ืองจักร หรือ ขับข่ียานพาหนะ ก็จะกอใหเกิดอุบัติเหตุ
ไดงา ย

ขอแนะนําการใชยา
1. ควรใชย าที่รูจ ักคณุ และโทษเปนอยา งดีแลว
2. เลอื กใชยาเปนตัว ๆตามอาการและสาเหตุของโรค
3. ควรกินยาใหไดขนาด (เทียบตามอายุ) และเม่ืออาการดีข้ึนแลวก็ตองกินใหครบตาม

กาํ หนดระยะเวลาของยาแตล ะชนดิ โดยเฉพาะกลมุ ยาปฏิชวี นะ
4. เม่ือกนิ ยาหรือใชย าแลวอาการไมดีขนึ้ หรอื มอี าการรนุ แรงขึ้น ควรไปหาหมอโดยเรว็
5. เมื่อกินยาหรือใชยาแลวมีอาการแพ (เชน มีลมพิษผ่ืนแดง ผ่ืนคัน หนังตาบวม หายใจ

หอบแนน) ควรหยุดยาและปรึกษาหมอ ผูท่ีมีประวัติแพยา กอนใชยาคร้ังตอไปควรปรึกษาแพทยหรือ
เภสชั กร

6. ควรซอื้ ยาจากรานขายยาที่รูจักกันและไวใ จได
7. เวลาซ้อื ยาควรบอกชอื่ ยาที่ตองการเปน ตัวๆ อยาใหคนขายหยบิ ยาชดุ ยาซอง
หรือยาท่ไี มร ูจ กั สรรพคณุ ให เพราะอาจเปน อันตรายไดโ ดยเฉพาะยากลมุ สเตยี รอยด (เพรด็ นโิ ซโลน
เดกซาเมโซน) และยาปฏชิ ีวนะ

8. เด็กเล็ก หญิงต้ังครรภและหญิงท่ีเล้ียงลูกดวยนมตัวเอง ตองเลือกใชยาท่ีไมมี
อนั ตราย ตอ เด็กหรอื ทารกในทอง

102

ยาท่ีหญงิ ตัง้ ครรภไ มควรใช
1. เหลา
2. บุหรี่
3. ยาเสพติด (เชน ฝน เฮโรอนี ฯลฯ)
4. ยานอนหลบั
5. แอสไพริน
6. ฮอรโ มนเพศ (เชน เอสโตรเจน โปรเจสเตอรโรน,แอนโดรเจน ฯลฯ)
7. สเตยี รอยด (เชน เพร็ดนโิ ซโลน เดกซาเมธาโซน ฯลฯ)
8. ซลั ฟา
9. เตตราไซคลนี
10. ไดแลนตนิ (ใชร กั ษาโรคลมชัก)
11. ยาแกคล่นื ไสอาเจียน (ถา จาํ เปนใหใ ชว ติ ามินบี 6 )
12. ยาขบั เลอื ดพวกเออรก อต

ยาท่หี ญงิ เลย้ี งลกู ดว ยนมตัวเองไมค วรใช
1. ยารกั ษาโรคคอพอกเปนพษิ
2. ยาขบั เลือดพวกเออรก อต
3. แอสไพรนิ
4. ยานอนหลบั และยากลอ มประสาท
5. ซลั ฟา
6. เตตราไซคลนี
7. ยาระบาย
8. ยาคุมกําเนดิ
9. รเี ซอรพ ีน (ใชรกั ษาความดันเลอื ดสงู )

ยาท่ีทารกไมค วรใช
1. เตตราไซคลนี
2. คลอแรมเฟนคิ อล
3. ซลั ฟา.
4. แอสไพริน
5. ยาแกห วัด แกแ พ (ในชว งอายุ 2 สปั ดาหแรก)

103

6. ยาแกท องเสยี –โลโมติล (Lomotill) ในทารกตาํ่ กวา 6 เดอื น อิโมเดียม (Imodium) ในทารก
ต่าํ กวา 1 ป
วิธีการใชย าเพอื่ ดแู ลรักษาตนเอง
วธิ ีการใชย าเพือ่ ดแู ลรกั ษาตนเองมีดังน้ี
1. ควรมีความรูเร่ืองยาชนิดน้ัน ดีพอ และใชยารักษาตนเองในระยะสั้น หากอาการไมดีข้ึน
ควรไปพบแพทย
2. ไมควรใชย าผสมหลายชนิด ควรเลอื กใชยาท่ีมสี ว นประกอบเปนตวั ยาเด่ียว ๆ เชนการใชยา
แกปวด ควรใชยาทม่ี ีแอสไพรินหรือพาราเซตามอลอยา งเดียว ไมควรใชย าทผ่ี สมอยกู ับยาชนดิ อ่ืน ๆ
3. หากเกดิ อาการผิดปกติและสงสัยวาแพยาใหหยดุ ยาทันทแี ละรบี ไปพบแพทย
4. อยา ซอ้ื ยาท่ไี มมฉี ลากยาและวิธกี ารใชย ากํากับ
5. อยา หลงเชื่อและฟง คาํ แนะนําจากผูท่ไี มม คี วามรูเรอ่ื งยาดพี อเปนอันขาด
6. ควรเก็บยาไวใ นที่มดิ ชดิ ไกลจากมือเดก็ และไมมีแสงแดดสองถงึ
กิจกรรมทา ยบท
1. ใหผเู รยี นบอกชื่อยาสามญั ประจําบานและยาสมุนไพรมาอยา งละ 5 ชือ่ และนําเสนอ
หนาช้นั เรยี น
2. ใหผเู รียนแบงกลมุ บอกถงึ อนั ตรายจากการใชย าที่เคยพบ วธิ ีแกไ ขเบื้องตนและ
อภปิ รายรว มกัน

104

บทที่ 6
สารเสพติดอนั ตราย

สาระสาํ คญั

มคี วามรแู ละความเขา ใจเก่ียวกับปญ หา ประเภท และลักษณะของสารเสพติดตลอดจนอันตราย
จากการตดิ สารเสพตดิ

ผลการเรยี นรูทีค่ าดหวัง

1. อธบิ ายและบอกประเภทของสารเสพตดิ ได
2. อธิบายและบอกถงึ อันตรายจากการติดสารเสพติด

ขอบขา ยเนอ้ื หา

เร่อื งที่ 1 ความหมาย ประเภท และลักษณะของสารเสพติด
เร่อื งที่ 2 อันตรายจากสารเสพตดิ

105

ปจจุบันปญหาการแพรร ะบาดของสารเสพตดิ มแี นวโนม เพ่ิมสูงขึ้น ในหมูวัยรุนและนักเรียนที่มี
อายุนอยลง โดยสารเสพตดิ ทีแ่ พรระบาดมรี ปู แบบท่ีหลากหลาย ยากแกการตรวจสอบมากข้ึน สงผลให
เด็กและเยาวชนมีความเสี่ยงตอภัยของสารเสพติดมากข้ึน จึงควรศึกษาและระมัดระวังเพ่ือปองกัน
อนั ตรายดังกลา ว

เร่อื งที่ 1 ความหมาย ประเภท และลักษณะของสารเสพตดิ

องคก ารอนามัยโลกไดใ หค วามหมายไวว า สารใดกต็ ามท่ีเสพเขาสูรางกายโดยการ ฉีด สูบ หรือ
ดม จะทาํ ใหม ผี ลตอ จติ ใจและรา งกาย 4 ประการ

1. เมือ่ เสพติดแลวจะมีความตอ งการท้งั รา งกายและจติ ใจ
2. ผทู ใี่ ชย าแลวตอ งเพ่มิ ปรมิ าณการเสพขน้ึ เร่ือย
3. เม่อื หยดุ ใชยาจะเกิดอาการอดหรอื เลิกยาทเ่ี รยี กวา อาการเส่ยี น หรอื ลงแดง
4. ใชไ ปนาน ๆ เกิดผลรา ยตอ สขุ ภาพ
ประเภทและลกั ษณะของสารเสพติด
เราสามารถแบงสารเสพติดชนิดตาง ๆ ออกไดเปน 4 ประเภทตามฤทธิ์ที่มีตอรางกายผูเสพ
ดังนี้
1. ประเภทออกฤทธกิ์ ดประสาท ประเภทน้ีจะมีฤทธ์ิทําใหสมองมึนงง ประสาทชา งวงซึม
หมดความเปน ตัวของตัวเองไปชวั่ ขณะ สารเสพติดทจ่ี ดั อยูใ นประเภทน้ี คอื

1.1 ฝน ทาํ มาจากยางของผลฝน นาํ มาเค่ียวจนมสี ีดํา เรียกวา ฝน สุก มีรสขม กลิ่นเหม็น
เขยี ว ละลายนํ้าไดด ี สามารถเสพไดหลายวธิ ี

โทษของฝน จากแอลคาลอยด ออกฤทธ์กิ ดประสาท ทาํ ใหส มองมึนชา อารมณ และ
จติ ใจเฉือ่ ยชา รูสึกเย็นขนลุกสลับกับรอน ปวดท่ีรางกาย เบ่ืออาหาร ทองผูก รางกายทรุดโทรม ติดเชื้อ
โรคงา ย

อาการ แสดงของการขาดยา คอื หงุดหงดิ ตน่ื เตน ทรุ นทรุ าย หาว นํ้าตาไหล ปวดที่
รา งกาย อาเจยี น ถายอุจจาระเปน เลือด

1.2 เฮโรอีน ผลิตจากมอรฟ น โดยกรรมวธิ ที างเคมี จงึ มีชื่อทางเคมีวาไดเคทฟล มอรฟน
มี 2 ชนดิ คือ

106

- เฮโรอีนบริสุทธิ์ ลกั ษณะเปนผงสขี าว รสขม
- เฮโรอีนผสม ลักษณะเปนเกรด็ สนี ํา้ ตาล ชมพู เหลอื ง มวง
- สารท่ีผสมมักเปน พวกสารหนู สตริกนิน ยานอนหลบั ยาควินนิ ฯลฯ
โทษของเฮโรอนี เปนเชน เดยี วกับฝน โดยแรงกวา ฝน ประมาณ 30 - 100 เทา
การเสพเขาสรู า งกาย โดยการฉีดและสดู หายใจไอระเหยเขา สรู า งกาย
1.3 ยานอนหลับ จัดอยูในพวกบารบิตูเรท เปนอนุพันธของกรดบารบิตูเรทมีท้ังชนิด
ออกฤทธ์ิชา และออกฤทธ์ิเร็ว ไดแก เซโคบารบิทาล หรือเซโคนาล คนทั่วไปมักเรียกวา นาตาลีฟา
สีเหลือง เหลา แหง ไกแดง หรือปศาจแดง มีลกั ษณะเปนเมด็ สีขาว หรือแคปซลู สตี างๆ เชน สีฟา สีเหลือง
สแี ดง
โทษของยานอนหลับ เปนยาออกฤทธ์ิ กดประสาทสวนกลาง ถาใชมากจะมึนเมา
พดู ไมชดั เดินโซเซ อารมณหงุดหงดิ เกิดความกลา บาบิ่นรุนแรงจนสามารถทาํ รา ยตนเองได ชอบทะเลาะ
ววิ าท กา วราว เมือ่ ขาดยาจะมอี าการชักกระตุก ตวั เกรง็ กระวนกระวาย คลน่ื ไส ประสาทหลอน

2. ประเภทออกฤทธิ์กระตุนประสาท ประเภทน้จี ะทาํ ใหเกิดอาการตนื่ เตน ตลอดเวลา
ไมร ูสึกงวงนอน แตเ มอื่ หมดฤทธย์ิ าแลว จะหมดแรงเพราะรา งกายไมไดรับการพักผอน สารเสพติดที่จัด
อยใู นประเภทน้ี ไดแ ก

2.1 กระทอม เปน ไมยืนตนขนาดกลาง มลี ักษณะใบคลายใบกระดังงาไทย แตเสนใบมี
สแี ดงเร่ือ สารเสพตดิ ใบกระทอม ชอื่ มิตราจินิน

โทษของกระทอ ม ออกฤทธ์ิกระตนุ ประสาท ทาํ ใหอ ารมณราเริง แจมใส มีเรี่ยวแรง
และมีความอดทนเพิ่มขึ้น ทํางานไดนาน ไมอยากอาหาร อยูกลางแดดไดนานๆ แตกลัวฝน ทองผูก
รางกายทรดุ โทรม และอาจเปน โรคจติ ได

2.2 แอมเฟตตามีน (ยามา หรือยาบา ) เปนยากระตุนประสาทมีลักษณะเม็ดสีขาว สีแดง
หรอื บรรจใุ นแคปซลู บางครั้งอาจเปน ผง เสพโดยรับประทานหรอื ผสมเครือ่ งดืม่

โทษของยามา จะไปกระตุนใหหัวใจเตนเร็ว ความดันโลหิตสูง หายใจถี่ พูดมาก
รมิ ฝป ากแหง มอื ส่ัน เสพนาน ๆ รา งกายจะหมดกําลัง กลามเน้ือออนลา ประสาทและสมองเส่ือม มึนงง
อาจเกิดภาพหลอน ทําใหตัดสินใจผิดพลาดผเู สพจะมคี วามผิดปกติของจิตใจ ความคิดเลื่อนลอย เพอฝน
คุมสตไิ มได เมอ่ื ขาดยา จะมีอาการถอนยาอยางรุนแรง

107

2.3 ยากลอมประสาท ไมใชยาเสพติดโดยตรง แตอาจทําใหเสพติดไดจากความเคยชิน
เมอ่ื ใชยาบอ ยและเพิ่มขนาดขึ้นเรอ่ื ย ๆ ยากลอ มประสาทมที ้งั ชนดิ ออน เชน ไดอาซแี พม ชนดิ ที่มฤี ทธ์ิรุนแรง
เชน คลอโปรมาซนี และไฮโอรด าซนี ชอ่ื ทางการคา วา ลาแทกตลิ เลมลารลิ เปนตน

โทษของยากลอมประสาท ยาประเภทน้ีสามารถกลอมประสาทใหหายกังวล
หายหงุดหงดิ หายซมึ เศรา แตถ า ใชม ากเกินความจําเปน อาจมอี ันตรายตอ ประสาทและสมองได

3. ประเภทออกฤทธิ์หลอนประสาท ประเภทนี้จะทําใหเกิดอาการประสาทหลอนเห็นภาพ
ลวงตา หูแวว อารมณแปรปรวน ควบคุมอารมณตัวเองไมได อาจทําอันตรายตอชีวิตตนเองและผูอื่น
ไดส ารเสพติดประเภทนี้ไดแ ก

3.1 สารระเหย จัดเปนพวกอินทรียเคมี มีกล่ินเฉพาะ ระเหยไดงาย เชน น้ํามันเบนซิน
ทนิ เนอร แลกเกอร นาํ้ มนั กา ด กาววทิ ยาศาสตร แอลเอสดี เมลลาลีน เห็ดข้ีควายเปน ตน

โทษอันตรายของสารระเหย ไดแก กดประสาทสวนกลางทําใหสมองพิการ
สติปญญาเสอื่ ม มึนเมา เวยี นศีรษะ เดินเซ ตาพรา งวงซึม เบื่ออาหาร ทําใหไตอักเสบ ตับอักเสบ ตับโต
และพกิ าร สดู ดมมาก ๆ ทําใหห ัวใจเตนชาลง หมดสติ หยุดหายใจ และตายได

4. ประเภทออกฤทธิ์หลายอยา ง ประเภทนอี้ อกฤทธิต์ อ รา งกายหลายอยางท้งั กดประสาทและ
หลอนประสาท ซึ่งทําใหมีอาการหลงผิด เกิดความเส่ือมโทรมท้ังสุขภาพกายและทางจิตใชไปนาน ๆ
จะทําลายประสาท เกิดประสาทหลอนและมีอาการทางจิต สารเสพติดประเภทน้ี ไดแ ก

กัญชา เปนพืชลมลกุ ขึน้ งา ยในเขตรอน มลี กั ษณะเปนใบหยกั เรียวแหลม ภายในใบและ
ยอดดอกมยี างมากกวา สว นอืน่ ของตน ยางน้ีเองมสี ารท่ีทาํ ใหเ สพตดิ ชือ่ เตตระไฮโดรคานาบนิ อล

โทษของกัญชา ออกฤทธิ์หลายอยาง ทั้งกระตุนประสาท กดประสาทสวนใน
เกิดประสาทหลอน กลา มเนื้อส่ัน หัวใจเตน เรว็ หายใจไมสะดวก ความคดิ สับสน อารมณเ ปล่ยี นแปลงงา ย
เกิดภาพหลอน เมอ่ื เสพนานอาจเปนโรคจิตได

อาการขาดกัญชา จะมีอาการหงุดหงิด กระวนกระวาย ปวดศีรษะและปวดทองอยาง
รนุ แรง และอาจหมดสติได

108

เร่ืองท่ี 2 อันตรายจากสารเสพตดิ

โทษของสารเสพติดทีเ่ ปนอันตรายตอ ตนเอง ครอบครวั และสังคม จาํ แนกไดด งั นี้
1. โทษตอรา งกายและจิตใจ ทําใหการทํางานของระบบตาง ๆ ในรางกายเสื่อมลง สุขภาพ

ทรุดโทรม ผายผอม ไมมีเรี่ยวแรง ทําใหบุคลิกภาพแปรปรวน อารมณไมปกติกระวนกระวายคลุมคลั่ง
บางครง้ั เงยี บเหงา เศรา ซึม ปลอยตัวสกปรก เปน ทรี่ ังเกยี จแกผ พู บเหน็ และภมู ติ า นทานของรางกายลดลง

2. โทษทางเศรษฐกิจ สิน้ เปลืองเงินทองในการซื้อสารเสพตดิ เมือ่ สุขภาพทรุดโทรม
ไมส ามารถทาํ งานได ทําใหขาดรายได สูญเสยี เงินทองท้ังของตนเอง ครอบครวั และรัฐบาล

3. โทษทางสังคม บ่ันทอนความสุขในครอบครัว ทําใหมีปญหา เปนท่ีรังเกียจของบุคคล
ทวั่ ไป เปน หนทางไปสูอาชญากรรม ตั้งแตลักเล็กขโมยนอย ไปจนถึงปลน ทํารายและฆาชิงทรัพยเพ่ือ
ตอ งการเงินไปซื้อยาเสพติด ทําใหเปน ภาระของสังคม เนื่องจากผูตดิ ยามักไรค วามสามารถในการทาํ งาน

4. โทษทางการปกครอง เปนภาระของรฐั บาลในการบําบัดรกั ษาและฟน ฟู เปนภาระในการ
ปราบปราม ตอ งเสยี งบประมาณในการปราบปราม เนือ่ งจากปญหาอาชญากรรมท่ผี เู สพกอเพมิ่ ขน้ึ

หลกั ท่ัวไปในการหลกี เลี่ยงและปอ งกนั การตดิ สารเสพตดิ
1. เชอ่ื ฟง คําสอนของพอ แม ญาติผูใ หญ ครู และผูทนี่ า นบั ถอื และหวงั ดี
2. เม่อื มปี ญ หาควรปรกึ ษาผูปกครอง ครู หรอื ผูใหญท ่ีนบั ถอื และหวงั ดไี มค วรเก็บปญ หา

น้นั ไว หรือหาทางลืมปญ หาน้ันโดยใชส ารเสพติดชว ย หรอื ใชเ พื่อการประชด
3. หลกี เลย่ี งใหห า งไกลจากผูท ต่ี ดิ สารเสพติด ผูจําหนา ยหรอื ผลติ ยาเสพติด
4. ถาพบคนกําลังเสพสารเสพติด หรือพบคนจําหนาย หรือแหลงผลิต ควรแจงใหผูใหญ

หรอื เจาหนา ที่ทราบโดยดว น
5. ตองไมใหความรว มมอื เขา ไปเกี่ยวขอ งกบั เพอ่ื นทีต่ ดิ สารเสพติด เชน ไมใ หยมื เงิน

ไมใ หยืมสถานที่ เปนตน แตค วรแนะนําใหเพื่อนไปปรึกษาผูปกครอง เพือ่ หาทางรกั ษาการติดสารเสพติด
โดยเรว็

6. ศึกษาใหมีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับโทษและอันตรายของสารเสพติด เพื่อท่ีจะได
สามารถปองกนั ตนเองและผใู กลช ิดจากการตดิ สงิ่ เสพตดิ

7. ไมห ลงเชอ่ื คาํ ชักชวนโฆษณา หรอื คําแนะนาํ ใด ๆหรอื แสดงความเกงกลาเกีย่ วกบั การเสพ
สารเสพติด

8. ไมใ ชย าอนั ตรายทุกชนดิ โดยไมไ ดรับคาํ แนะนําจากแพทยสัง่ ไวเ ทา น้นั
9. หากสงสัยวาตนเองจะตดิ สง่ิ เสพติดตองรบี แจงใหผ ใู หญห รอื ผปู กครองทราบ

109

10. ยึดม่ันในหลักคําสอนของศาสนาที่นับถือ เพราะทุกศาสนามีจุดมุงหมายใหบุคคล
ประพฤตแิ ตส ิง่ ดีงามและละเวน ความชั่ว

กิจกรรมทายบท
1. ใหผเู รยี นบอกโทษของสารเสพติดมาคนละ 10 ขอ
2. ถาเพื่อนของผเู รียนกาํ ลงั คดิ จะทดลองยาเสพตดิ ผูเรยี นจะมคี าํ แนะนําอยา งไร

พรอมอภปิ ราย
3. ผูเ รียนบอกวิธปี ฏิบัตแิ ละดูแลตวั เองใหห ลกี เลี่ยงกบั ยาเสพติดมาคนละ 5 ขอ

110

บทที่ 7
ความปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ยสิน

สาระสาํ คัญ

ความรู ความเขา ใจเก่ยี วกับการดูแลรกั ษาความปลอดภยั ในชีวิตและทรัพยของตนเอง ท่ีเกิดจาก
อันตรายจากการใชชวี ิตประจาํ วันในการเดนิ ทาง ในบานและภยั จากภัยธรรมชาติ

ผลการเรยี นรทู คี่ าดหวัง

1. สามารถอธบิ ายถึงแนวทางการดแู ลรกั ษาความปลอดภยั ในชีวติ และทรพั ยของตนเอง
2. สามารถอธิบายวธิ ีการปองกันอนั ตรายอนั จะเกดิ จากการใชชวี ติ ประจําวนั

ขอบขายเน้ือหา

เรื่องที่ 1 อนั ตรายทอ่ี าจเกดิ ในชวี ติ ประจาํ วัน
เร่อื งท่ี 2 อันตรายที่อาจเกิดขน้ึ ในบาน
เร่ืองที่ 3 อันตรายทีอ่ าจจะเกดิ ขนึ้ จากการเดินทาง
เรอื่ งที่ 4 อันตรายจากภัยธรรมชาติ

111

การดํารงชวี ิตในปจจุบัน มีปจจัยเสี่ยงมากมายท่ีคุกคามความปลอดภัยของมนุษย ไมวาจะเปน
ความเจ็บปว ย พกิ าร สูญเสยี อวัยวะจนถึงข้ึนถึงสาเหตุ วิธีปองกันและหลีกเล่ียงอันตราย อันอาจเกิดขึ้น
เพ่ือความปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพยส นิ ของตนเองและผูอ่ืน

เรือ่ งที่ 1 อันตรายที่อาจเกิดในชีวิตประจาํ วัน

ความสูญเสียชีวิตและทรัพยสินของมนุษยในแตละปมีมูลคามหาศาล และเปนการสูญเสียทาง
เศรษฐกิจดวย อันเนื่องมาจากสาเหตุหลายประการ บางคนอาจไมถึงเสียชีวิตแตทุพพลภาพเปนภาระ
แกค รอบครัวและสงั คมดงั นี้

ปจ จัยความเสย่ี ง
1. การบริโภคอาหาร การไดรบั สารอาหารเกินความตองการของรางกาย จนเกิดการสะสม

เปนอันตราย เชน ปริมาณของไขมันเกินทําใหเกิดโรค หรือการขาดสารอาหารจนทําใหเจ็บปวย
นอกจากน้ยี ังมสี ิ่งปลอมปนในอาหาร เชน ผงชรู ส สารบอเร็กซ สารฟอกสี สีผสมอาหาร สารเคมีตกคาง
ในผกั ปลา เนื้อหมู ไก ฯลฯ จงึ ควรตระหนกั และนําความรูดงั กลา วไปใชประโยชนในการบรโิ ภคอาหาร

2. การบริโภคอาหารที่ไมใชอาหาร สิ่งเหลาน้ีไมมีความจําเปนตอชีวิตแตเปนคานิยมของ
สังคม ความเช่ือ เชน ยาชูกาํ ลงั อาหารเสริมสขุ ภาพ

3. การมีสัมพันธทางเพศ บุคคลที่มีพฤติกรรมสําสอนทางเพศพฤติกรรมเบ่ียงเบนทางเพศ
เปนกจิ กรรมท่ีอาจทําใหเ กดิ ผลเสียตอสุขภาพและตอ ชีวิตได

4. การเสพสิ่งเสพติด สิ่งเสพติดไดมีการพัฒนารูปแบบตาง ๆ ซ่ึงมีอันตรายรายแรงถึงชีวิต
ทําลายสขุ ภาพใหเ ส่อื มโทรม ซ่ึงผูท ่ใี ชสิง่ เสพตดิ ทาํ ใหเ สียอนาคต

5. การใชร ถใชถ นน อบุ ตั เิ หตุจากการใชรถใชถ นนมีสถติ กิ ารสูญเสียทง้ั รางกายและทรพั ยสิน
ในอตั ราสูง ดังนั้น ใชรถใชถ นนควรตอ งปฏบิ ตั ติ ามกฎจราจร

6. การจราจรทางนํ้า ในปจจุบันมีจราจรทางนํ้าเพ่ิมขึ้น แมวาจะไมหนาแนนเหมือนจราจร
ทางบก แตพบวา อุบัติเหตุจากการจราจรทางน้ําทําใหเรือลมเกิดการบาดเจ็บ เสียชีวิต และทรัพยสิน
จากการเดินทางทางนา้ํ เพิม่ ขน้ึ

7. การเลนกีฬาและการออกกําลังกาย หากปฏิบัติไมถูกตองตามหลักวิธีการยอมมีผลเสีย
ตอสขุ ภาพ ดังนน้ั ควรมีการยดื เหยียดกลา มเนอ้ื กอ นและหลังการออกกาํ ลังกาย

8. การใชยา ถาใชยาไมถูกตอง ไมถูกโรค ไมถูกขนาด ไมถูกเวลา อาจทําใหอาการของ
โรครุนแรงขนึ้ หรือการใชยาผดิ ประเภท ยาเส่อื มสภาพ ทาํ ใหเกิดอนั ตรายตอ ชีวติ ได

112

9. การใชอ ปุ กรณภ ายในบา น เชน เคร่ืองใชไ ฟฟา โทรทัศน โทรศัพท คอมพิวเตอร เคร่อื งซัก
ผา หมอหงุ ขาว ฯลฯ สิง่ เหลา นมี้ สี วนเกีย่ วขอ งกบั สขุ ภาพและความปลอดภัยในชีวิต อาจเกิดอนั ตราย เชน
ไฟฟาช็อตตาย เกิดเพลิงไหม จงึ ควรตองอานรายละเอยี ดในการใชดว ย

10. การประกอบอาชีพ มีหลายอาชีพที่เส่ียงตอความไมปลอดภัยในชีวิต จึงตองหาทาง
ปองกนั เชน แวน ตาปองกัน หนา กากปอ งกนั รองเทา บธู ถงุ มอื ฯลฯ

11. สง่ิ แวดลอ ม ปจ จุบนั สิง่ แวดลอ มกําลังอยูในสภาพที่เลวลง เพราะการกระทําของมนุษย
นนั่ เอง มีผลโดยตรงตอสขุ ภาพและความปลอดภยั ในชีวติ เชนน้ําในแมน้าํ ลําคลองสกปรกไมสามารถใช
นํ้าดื่มและบริโภคได สตั วน าํ้ อาศยั อยใู นแมน ํ้าไมไ ด ทําใหขาดอาหาร อากาศมฝี ุนละอองมาก มีวัตถุหนัก
เจือปนหายใจเขาไปมากๆ ทาํ ใหเ กิดโรคทางเดนิ หายใจ

12. ความรนุ แรง ความรุนแรงตา งๆ ท่เี กดิ ขึน้ ในสังคมไทยมีหลายรปู แบบ เชน ความขัดแยง
ในครอบครัว ความขัดแขงของกลุมวัยรุน ความขัดแยงดานผลประโยชน ความขัดแยงทางการเมือง
สงิ่ เหลา น้มี ีผลกระทบตอความไมปลอดภัยในชวี ิตประจาํ วนั ดวยเหมือนกนั

การปองกันและหลกี เลีย่ งการเสี่ยงภัยตอชีวติ
การปอ งกนั และหลีกเลี่ยงความเสย่ี งภัยตอ ชวี ติ และทรพั ยสินมหี ลักดงั น้ี
1. ปฏบิ ตั ิตนตามหลักโภชนาการในการบรโิ ภคอาหาร รายละเอียดอยูในบทที่ 3 เร่ืองการ

บริโภคอาหาร และโภชนาการ
2. ปฏิบตั ติ นตามคาํ แนะนาํ เรื่อง โรคตดิ ตอทางเพศสัมพนั ธ และวิธกี ารปอ งกันโรค
3. ปฏบิ ัติตนเพ่ือปอ งกันและหลกี เล่ียงจากเสพตดิ
4. ปฏิบัติตนเพ่ือปองกันและหลีกเล่ียงการเสี่ยงภัยตอการใชรถใชถนนตองปฏิบัติอยาง

เครงครดั ตามกฎจราจร และกฎหมายเก่ยี วกบั การจราจร เชน ขับรถตองรัดเข็มขัดนิรภัย ไมด่ืมเครื่องด่ืม
ทม่ี แี อลกอฮอลก อนการขับรถ ไมรบั ประทานยาทที่ ําใหเ กิดการงวงนอน และใชความเร็วเกินท่ีกฎหมาย
กาํ หนดไมอ ดนอนกอ นขบั รถเดนิ ทางไกลเพราะอาจทําใหห ลับใน

5. กอนเลนกีฬาหรือออกกําลงั กาย จะตอ งอบอนุ รางกาย มคี วามระมดั ระวังในการใชอุปกรณ
กีฬา และออกกําลังกายตามวัย

6. กอนใชยา ตองอานวิธีรับประทาน หรือการใชและปฏิบัติตามคําแนะนํา เม่ือเกิดการ
ผิดปกติตองปรึกษาแพทย

7. การใชอุปกรณอํานวยความสะดวกภายในบาน อุปกรณไฟฟา กาซหุงตม มีด ฯลฯ
ตอ งศึกษาวิธีใช การเกบ็ รักษา การตรวจสอบและชํารุด เพ่อื ปอ งกนั ไฟฟาดูด ไฟฟาช็อต อัคคีภัย

113

8. การดแู ลสงิ่ แวดลอ ม ไมใ หม ีกลิ่น เสยี ง มลภาวะทางอากาศ ขยะมูลฝอย และหากมีตองหา
วิธีกําจัดอยา งถูกวธิ ี

9. การประกอบอาชพี มกี ารเสย่ี งภยั สงู จะตอ งระมดั ระวงั ตามสภาพของอาชีพ เชน การใชยา
ฆาแมลงท่ีถูกวิธี การใชเ ครอ่ื งมอื อุปกรณอยางระมดั ระวงั ไมป ระมาท เชน ไมอ อคหรือเช่ือมเหล็กใกลถัง
แกส วางแกสหงุ ตม หางจากเตาไฟฟา หลงั จากใชเ สร็จปด วาวล ปด สวชิ ต ปองกันอคั คีภัย

เรอื่ งที่ 2 อันตรายทอ่ี าจเกดิ ข้ึนในบา น

ความหมายของอุบตั เิ หตใุ นบา น

1. อุบัติเหตุในบาน คือ อุบัติเหตุท่ีเกิดขึ้นภายในบาน เชน การพลัดตกหกลม ไฟไหม
น้าํ รอ นลวก การถกู ของมีคมบาด การไดร บั สารพิษ ไดรบั อบุ ัตเิ หตจุ ากแกส หุงตม เปนตน

2. การปองกันอุบัติเหตุในบาน เราสามารถที่จะปองกันอุบัติเหตุท่ีจะเกิดข้ึนภายในบาน
ดว ย หลกั ปฏบิ ัติ ดงั น้ี

- รอบคอบ ใจเยน็ ไมทาํ ส่งิ ใด ไมเปน คนเจา อารมณ
- เปนคนมรี ะเบยี บในการทํางาน เกบ็ ของอยางเปนระเบยี บหางาย
- ใหความรูอยางถกู ตอ งแกสมาชิกในบานในการใชเครือ่ งใชไ ฟฟา ในบาน
- หม่นั ซอ มแซมอุปกรณ เครื่องมอื เครื่องใชต า งๆ ท่ีชํารุดใหอ ยูในสภาพดี
- เกบ็ สงิ่ ทีเ่ ปนอนั ตรายทงั้ หลาย เชน ยา สารเคมี เชอ้ื เพลงิ เปนตน ใหพ น จากมือเดก็
- หลีกเล่ียงการเขาไปอยใู นบริเวณ ที่อาจมีอันตรายได เชน ทร่ี กชืน้ ที่มดื มดิ ที่ขรขุ ระ
เปน หลุมเปนบอ เปนตน
- การใชแ กสหุงตมภายในบา น ตองปดถงั แกส หลังการใชท กุ ครงั้
- มีถังดบั เพลิงไวในบา น ตองศึกษาวิธกี ารใชและสามารถหยิบใชไดส ะดวก
- หลังจากจดุ ธูปไหวพ ระควรดบั ไฟใหเ รียบรอย

เร่อื งท่ี 3 อันตรายทีอ่ าจจะเกิดขึ้นจากการเดินทาง

การปองกันอุบัติเหตุนอกบานหรือจากการเดินทาง ควรใหความสําคัญเปนอยางย่ิงกับ
การจราจรเน่ืองจากอุบัติเหตุจากการใชรถใชถนน กอใหเกิดการศูนยเสียในชีวิตและทรัพยสิน
การปองกนั โดยการปฏิบัติตามกฎจราจรจงึ เปนสงิ่ จําเปน มีขอปฏิบตั ทิ ถ่ี ูกตองเพอื่ ความปลอดภัย

ขอควรปฏบิ ัตใิ นการปอ งกนั อบุ ัตเิ หตุจากการเดนิ ทาง

114

1. ขอปฏบิ ัติในการเดนิ ทาง
- ควรศกึ ษาและปฏิบตั ติ ามกฎจราจรอยา งเครงครดั
- ควรเดินบนทางเทาและเดนิ ชดิ ซายของทางเทา
- ถา ไมมที างเทาใหเ ดินชิดขวาของถนนมากทส่ี ดุ เพ่ือจะไดเ หน็ รถท่ีสวนมาได
- บรเิ วณใดที่มที างขามหรือสะพานคนขาม ควรขา มถนนตรงทางขาม หรือสะพานน้นั
- อยา ปนปายขามรัว้ กลางถนนหรือรั้วริมทาง
- ถาตองออกนอกบานเวลาค่ําคืน ควรสวมใสเสื้อผาสีขาวหรือสีออนๆ เพื่อรถจะได

มองเห็นชดั เจน
2. ขอควรปฏบิ ตั ใิ นการใชรถประจําทาง
- ควรรอขึน้ รถ บรเิ วณปายรถประจาํ ทาง และขนึ้ รถดว ยความรวดเรว็
- เมือ่ จะขนึ้ หรอื ลงจากรถ ควรรอใหรถเขาปาย และจอดใหสนทิ กอน
- ไมแยงกนั ขึน้ หรอื ลงรถ ควรขึน้ และลงตามลาํ ดบั กอน – หลงั
- ไมหอ ยโหนขา งรถ หลงั รถ หรือขึน้ ไปอยบู นหลงั คารถ เพราะอาจพลดั ตกลงมาได
- เมอื่ ข้ึนบนรถแลวควรเดินชิดเขาขางใน หาที่นั่งและนั่งใหเปนท่ี ถาตองยืนก็ควรหา

ทีย่ ดึ เหน่ียวใหม ั่นคง
- ไมย น่ื สว นใดสวนหนง่ึ ของรางกายออกนอกรถ
- ไมรบกวนสมาธิผูขับ และไมพูดยุแหยหรือพูดสงเสริมใหผูขับ ขับรถดวย

ความประมาท และไมค วรนําโทรศัพทขึ้นมาเลน รบกวนผอู น่ื
3. ขอควรปฏบิ ัตใิ นการโดยสารรถไฟ
- ไมแยง กันขึ้นหรอื ลงจากรถไฟ
- ไมหอยโหนขา งรถ น่ังบนหลงั คา หรอื นง่ั บนขอบหนา ตางรถไฟ
- ไมยื่นสว นหนึ่งสว นใดของรางกายออกนอกรถไฟ
- ไมเ ดินเลน ไปมาระหวางตูรถไฟ และไมย ืนเลนบริเวณหวั ตอระหวา งตูร ถไฟ
- สัมภาระตาง ๆ ควรจัดเก็บเขาที่ใหเรียบรอย ไมวางใหเปนท่ีกีดขวางทางเดินและ

ไมเ ก็บไวบ นทสี่ ูงในลักษณะท่ีอาจหลนมาถูกคนได
- ไมดืม่ เคร่ืองดื่มทมี่ ีแอลกอฮอล
- ถา มอี บุ ตั ิเหตเุ กิดขึ้นหรือจะเกิดอบุ ตั เิ หตขุ ึ้น ถารถไฟไมหยุดว่ิงใหดึงสายโซสัญญาณ

ขา งตรู ถไฟ เพ่ือแจงเหตใุ หเ จาหนาทป่ี ระจาํ รถไฟทราบ

115

4. ขอควรปฏบิ ตั ิในการโดยสารเรอื
- การข้ึนลงเรือ ตองรอใหเรือเขาเทียบทาและจอดสนิทกอน ควรจับราวหรือสิ่งยึด

เหนย่ี วขณะทกี่ าวขน้ึ หรอื ลงเรอื
- หาท่นี ง่ั ใหเ รียบรอ ย ไมไตก าบเรือเลน ไมย นื พักเทา บนกาบเรือ ไมน่ังบนกาบเรือ หรือ

บริเวณหวั ทา ยเรอื เพราะอาจพลดั ตกน้ําไดระหวางเรือแลน
- ไมใ ชม อื เทาราน้าํ เลน ขณะอยบู นเรือ
- เม่ือเวลาตกใจ ไมควรเกาะกลมุ หรอื ไมน่งั รวมกลุม กนั อยดู านใดดา นหน่งึ ของเรือ

เพราะจะทาํ ใหเรอื เอยี งและลม ได
- ควรทราบที่เกบ็ เครอื่ งชชู พี เพือ่ ทจ่ี ะหยิบใชไดท ันทวงทเี มอ่ื เกดิ อบุ ตั เิ หตุเรอื ลม

เรอื่ งท่ี 4 อันตรายจากภัยธรรมชาติ

1. น้ําปาไหลหลากหรือนํ้าทวมฉับพลันมักจะเกิดขึ้นในท่ีราบตํ่าหรือท่ีราบลุมบริเวณใกล
ภูเขาตนนํ้า เกิดขึ้นเนื่องจากฝนตกหนักตอเนื่องเปนเวลานานทําใหจํานวนนํ้าสะสมมีปริมาณมากจน
พื้นดินและตนไมดูดซับนํ้าไมไหว ไหลบาลงสูที่ราบต่ําเบื้องลางอยางรวดเร็วทําใหบานเรือนพังทลาย
เสยี หายและอาจทําใหเกิดอันตรายถึงชวี ติ ได

2. นา้ํ ทว มหรือนํา้ ทว มขงั เปน ลกั ษณะของอุทกภยั ที่เกดิ ขึน้ จากปริมาณนํ้าสะสมจํานวนมาก
ท่ไี หลบา ในแนวระนาบจากที่สูงไปยงั ท่ีต่ําเขาทวมอาคารบานเรือน สวนไรนาไดรับความเสียหาย หรือ
เปนสภาพนํา้ ทวมขัง ในเขตเมอื งใหญที่เกิดจากฝนตกหนักตอเน่ืองเปนเวลานาน มีสาเหตุมาจากระบบ
การระบายนา้ํ ไมดีพอมีสิ่งกอสรา งกีดขวางทางระบายนาํ้ หรือเกิดนํา้ ทะเลหนุนสงู กรณีพืน้ ทอ่ี ยใู กลช ายฝง
ทะเล

3. น้ําลนตล่ิง เกิดขึ้นจากปริมาณนํ้าจํานวนมากท่ีเกิดจากฝนตกหนักตอเนื่องที่ไหลลงสู
ลํานาํ้ หรือแมนาํ้ มีปริมาณมากจนระบายลงสลู ุมนาํ้ ดา นลา ง หรือออกสูปากน้ําไมทัน ทําใหเกิดสภาวะน้ํา
ลน ตลิ่งเขาทวมสวน ไรนา และบานเรือนตามสองฝงนํ้า จนไดรับความเสียหาย ถนน หรือสะพานอาจ
ชํารุด ทางคมนาคม

4. พายุหมุนเขตรอน ไดแก ดเี ปรสชน่ั พายโุ ซนรอน พายใุ ตฝ นุ
5. พายุฤดูรอน สวนมากจะเกิดระหวางเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน โดยจะเกิดถี่ใน
ภาคเหนือและภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ สว นภาคกลางและภาคตะวันออก การเกิดนอยคร้ังกวา สําหรับ
ภาคใตก็สามารถเกิดไดแตไมบอยนัก โดยพายุฤดูรอนจะเกิดในชวงท่ีมีลักษณะอากาศรอนอบอาว
ตดิ ตอกนั หลายวนั แลว มีกระแสอากาศเย็นจากความกดอากาศสูงในประเทศจนี พัดมาปะทะกัน ทาํ ใหเกดิ

116

ฝนฟาคะนองมีพายุลมแรง และอาจมีลูกเห็บตกไดจะทําความเสียหายในบริเวณที่ไมกวางนัก
ประมาณ 20 - 30 ตารางกโิ ลเมตร

6. ภัยจากคล่นื ยกั ษสึนามิ
6.1 คล่ืนสึนามิ คือ คล่ืนหรือกลุมคลื่นที่มีจุดกําเนิดอยูในเขตทะเลลึก ซึ่งมักปรากฏ

หลังแผนดินไหวขนาดใหญ แผนดินไหวใตทะเล ภูเขาไฟระเบิด ดินถลม แผนดินทรุด หรืออุกกาบาต
ขนาดใหญ ตกสพู ืน้ ทะเลหรือมหาสมทุ รบนผิวโลก คลนื่ สึนามิท่ีเกดิ ข้ึนนจ้ี ะถาโถมเขา สูพ ืน้ ทีช่ ายฝง ทะเล
ดวยความรวดเร็วและรุนแรง สรางความเสียหายอยางใหญหลวงใหแกชีวิตและทรัพยสินท่ีอยูอาศัยที่
พงั พินาศไปพรอ ม ๆ กับมนษุ ยจ ํานวนมากมายท่อี าจไดรบั บาดเจ็บและลมตายไปดวยฤทธ์ิของมหาพิบัติ
ภยั ทเี่ กดิ ข้นึ อยา งฉบั พลัน

6.2 สญั ญาณเกดิ เหตแุ ละระบบเตอื นภัย
สัญญาณเตือนคล่ืนสึนามิ การสังเกตท่ีเมืองกามากุระ ประเทศญี่ปุน กําแพงก้ัน

สนึ ามใิ นญป่ี นุ ขณะทีจ่ ดุ ต่าํ สดุ ของคลื่นเคลื่อนเขาสูฝง ใหสังเกตระดับนํ้าทะเลท่ีลดลงอยางรวดเร็วและ
ทาํ ใหขอบทะเลรนถอยออกจากชายฝง ถาชายฝงนั้นมีความลาดชันนอย ระยะการรนถอยน้ีอาจมากถึง
800 เมตร ผทู ่ีไมท ราบถึงอันตรายที่จะเกิดข้ึนอาจยังคงรออยูที่ชายฝงดวยความสนใจ นอกจากนี้บริเวณ
ทต่ี าํ่ อาจเกิดน้าํ ทวมไดก อนทีย่ อดคลน่ื จะเขาปะทะฝง น้ําท่ีทวมนี้อาจลดลงไดกอนท่ียอดคลื่นถัดไปจะ
เคล่ือนที่ตามเขามา ดังนั้นการทราบขอมูลเก่ียวกับคลื่นสึนามิจึงเปนสิ่งที่สําคัญที่จะทําใหตระหนักถึง
อันตราย ตวั อยางเชน ในกรณีทรี่ ะดบั นํา้ ในครั้งแรกลดลงไปนั้น อาจมีคลื่นลูกใหญตามมาอีกได ดังน้ัน
บริเวณทมี่ คี วามเสยี่ งตอการเกิดสึนามกิ ารตดิ ตั้งระบบเตอื นภัยเพือ่ พยากรณ และตรวจจับการเกิดขึ้นของ
คลืน่ ยักษน ้ี

6.3 ขอ ปฏบิ ตั ิในการปอ งกนั และบรรเทาภยั จากคลน่ื สนึ ามิ
ค ว ร รี บ อ พ ย พ ขึ้ น ไ ป ใ น ที่ สู ง โ ด ย เ ร็ ว ที่ สุ ด แ ล ะ ร อ ป ร ะ ก า ศ จ า ก ห น ว ย ง า น

เมื่อสถานการณป ลอดภยั หากทา นอยใู นทะเล ขอควรปฏิบัติ คอื
(1) เน่ืองจากเราไมสามารถรูสึกถึงคลื่นสึนามิไดในขณะที่อยูในมหาสมุทรเปด

ดงั น้ันหากอยูในทะเลและมีประกาศเตอื นภยั ในพน้ื ที่คลนื่ สึนามสิ ามารถทาํ ใหร ะดับนา้ํ ทะเลเปลยี่ นแปลง
อยา งรวดเรว็ และทําใหเกดิ กระแสนํา้ แปรปรวนยุงเหยิงและอันตรายในบริเวณชายฝงจึงไมควรแลนเรือ
กลบั เขาฝง

(2) หากมีเวลาพอสามารถเคลื่อนยายเรือออกไปบริเวณน้ําลึก โดยพิจารณา
หลกั เกณฑก ารดแู ลควบคุมทาเรอื จากหนว ยงานทม่ี ีอํานาจหนาทรี่ ับผิดชอบตาง ๆ ดว ย

(3) เมื่อเหตกุ ารณสงบแลว แตอาจยังเกิดผลขางเคียงตาง ๆ การนําเรือกลับเขาสูทา
ตอ งตดิ ตอ กับหนว ยทา เรือเพื่อตรวจสอบความปลอดภัยเสยี กอ น

117

7. ไฟปา การเกดิ ไฟปา เกดิ จากความประมาทมักงายของคน ไฟปารอยละ 90 เกิดจากฝมือ
มนษุ ย โดยเฉพาะผบู ุกรกุ ไปในปาทาํ การกอ กองไฟแลวไมด ับไฟใหส นิท หรือทิง้ กน บหุ รีโ่ ดยไมดับกอน
ไฟปาจะทําความเสยี หายใหกับปาไม แลว ยงั ทําลายชวี ติ สัตวปา อีกดวย ตลอดจนกอใหมลพิษทางอากาศ
บรเิ วณกวางและมีผลกระทบตอ การจราจรทางอากาศดวย

8. อคั คภี ัย มักจะเกิดความประมาทของมนษุ ย ทําใหเกดิ การสญู เสียอยางใหญหลวงตอชีวิต
และทรพั ยส นิ ดงั นั้นจึงควรระมัดระวังปองกันไมใหเกิดอัคคีภัย โดยดูจากการปฏิบัติในชีวิตประจําวัน
ในเรอ่ื งการหงุ ตม การใชแกส การจุดธปู บชู าพระ การรีดผา การทง้ิ กน บุหร่ี การเกบ็ เชื้อเพลิงสารเคมีในท่ี
ปลอดภัย

กิจกรรมทายบท
1. ใหผูเรียนอธบิ ายถงึ ความเส่ยี งทม่ี ตี อ ชวี ิตประจาํ วนั มากทสี่ ดุ พรอมแนวทางหลกี เลย่ี ง
2. ใหผ เู รียนแบงกลุมอภปิ รายอันตรายที่อาจจะเกดิ ขึน้ ในแตล ะวันพรอ มคําแนะนาํ ปอ งกนั

118

บทที่ 8
ทักษะชีวิตเพ่ือการคดิ

สาระสําคัญ

การมคี วามรู ความเขา ใจเกย่ี วกบั ทกั ษะทีจ่ าํ เปน สาํ หรับชีวิตมนุษย โดยเฉพาะทักษะเพื่อการคิด
ทจี่ าํ เปนสาํ หรบั ชวี ิต 10 ประการ ซ่ึงจะชว ยใหบ คุ คลดังกลาว สามารถท่จี ะดาํ รงชีวิตในครอบครัว ชุมชน
และสังคมอยา งมคี วามสุข

ผลการเรยี นรทู คี่ าดหวงั

1. มีความรูค วามเขา ใจถึงความหมาย ความสาํ คญั ของทกั ษะชวี ิต 10 ประการ
2. มคี วามรูเ กีย่ วกบั ทักษะชีวติ ทจ่ี าํ เปนในการคิด

ขอบขา ยเนือ้ หา

เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย ความสําคญั ของทกั ษะชีวิต 10 ประการ
เรอื่ งท่ี 2 ทกั ษะชวี ติ ท่ีจําเปน

119

เนือ่ งจากสภาพสงั คม เศรษฐกิจ และการเมืองในปจจุบัน มีการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว ทําให
ประชาชนตองปรบั ตวั เพื่อดาํ รงชีวติ ใหอ ยรู อดภายใตส ถานการณท่ีแข็งขัน และเรงรีบ ดังกลาว ซ่ึงการท่ี
จะปรับตัวใหอยูในสังคมไดอยางมีความสุข จําเปนตองมีทักษะในการดําเนินชีวิต เชน ทักษะการ
แกป ญ หา ทักษะการตัดสนิ ใจ ทกั ษะการคดิ อยางมวี จิ ารณญาณ เปน ตน

เรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คัญของทักษะชีวติ 10 ประการ

ทักษะชีวติ (Life skill) หมายถึง คุณลักษณะหรือความสามารถเชิงสังคม จิตวิทยา ที่เปนทักษะ
ที่จะชว ยใหบ ุคคลสามารถเผชญิ สถานการณต างๆทเี่ กดิ ขน้ึ ในชวี ิตประจําวันได อยางมีประสิทธิภาพและ
เตรยี มพรอมสาํ หรบั การปรับตวั ในอนาคต

องคประกอบของทักษะชวี ิต มี 10 ประการ
องคประกอบของทกั ษะชีวติ จะมคี วามแตกตางกันตามวัฒนธรรมและสถานท่ี แตท กั ษะชีวิต

ทจี่ ําเปน ท่สี ดุ ทท่ี ุกคนควรมี ซงึ่ องคก ารอนามัยโลกไดส รปุ ไว และถือเปน หวั ใจสาํ คัญในการดํารงชวี ติ คอื
1. ทักษะการตัดสินใจ (Decision making) เปนความสามารถในการตัดสินใจเก่ียวกับ

เรอื่ งราวตางๆ ในชีวิตไดอยางมีระบบ เชน ถาบุคคลสามารถตัดสินใจเกี่ยวกับการกระทําของตนเองที่
เก่ียวกับพฤติกรรมดานสุขภาพ หรือความปลอดภัยในชีวิต โดยประเมินทางเลือกและผลท่ีไดจากการ
ตัดสนิ ใจเลอื กทางที่ถูกตอ งเหมาะสม กจ็ ะมีผลตอ การมีสุขภาพที่ดีทั้งรา งกายและจิตใจ

2. ทักษะการแกปญหา (Problem Solving) เปนความสามารถในการจัดการกับปญหาที่
เกิดขึ้นในชีวติ ไดอยา งมีระบบ ไมเ กดิ ความเครยี ดทางกายและจติ ใจจนอาจลกุ ลามเปนปญหาใหญโตเกิน
แกไ ข

3. ทกั ษะการคิดสรางสรรค (Creative thinking) เปนความสามารถในการคิดท่ีจะเปนสวน
ชวยในการตัดสินใจและแกไขปญหาโดยการคิดสรางสรรค เพื่อคนหาทางเลือกตางๆรวมท้ังผลท่ีจะ
เกดิ ข้นึ ในแตล ะทางเลือก และสามารถนําประสบการณม าปรับใชในชวี ิตประจําวันไดอยางเหมาะสม

4. ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical thinking) เปนความสามารถในการคิด
วิเคราะหขอ มูลตางๆ และประเมินปญหาหรือสถานการณท ีอ่ ยูรอบตัวเราท่มี ผี ลตอ การดาํ เนินชีวติ

5. ทกั ษะการส่อื สารอยา งมีประสิทธิภาพ (Effective communication) เปนความสามารถใน
การใชค ําพูดและทา ทางเพือ่ แสดงออกถึงความรูสึกนกึ คดิ ของตนเองไดอ ยา งเหมาะสมกับวัฒนธรรมและ
สถานการณตางๆ ไมวาจะเปนการแสดงความคิดเห็น การแสดงความตองการ การแสดงความช่ืนชม
การขอรอ ง การเจรจาตอ รอง การตักเตอื น การชว ยเหลอื การปฏิเสธ ฯลฯ

120

6. ทักษะการสรางสมั พันธภาพระหวางบคุ คล (Interpersonal relationship)
เปน ความสามารถในการสรา งความสัมพันธท ดี่ รี ะหวางกันและกัน และสามารถรักษาสัมพันธภาพไวได
ยนื ยาว

7. ทักษะการตระหนักรูในตน (Self awareness) เปนความสามารถในการคนหารูจักและ
เขา ใจตนเอง เชน รขู อดี ขอเสยี ของตนเอง รูความตองการ และส่ิงที่ไมตองการของตนเอง ซึ่งจะชวยให
เรารูตัวเองเวลาเผชิญกับความเครียดหรือสถานการณตางๆ และทักษะนี้ยังเปนพื้นฐานของการพัฒนา
ทกั ษะอืน่ ๆ เชน การส่ือสาร การสรา งสมั พนั ธภาพ การตัดสนิ ใจ ความเหน็ อกเห็นใจผอู น่ื

8. ทักษะการเขา ใจผูอ นื่ (Empathy) เปนความสามารถในการเขาใจความเหมือนหรือความ
แตกตางระหวา งบุคคล ในดา นความสามารถ เพศ วยั ระดบั การศึกษา ศาสนา ความเชื่อ สีผิว อาชีพ ฯลฯ
ชวยใหสามารถยอมรับบุคคลอื่นที่ตางจากเรา เกิดการชวยเหลือบุคคลอื่นท่ีดอยกวา หรือไดรับความ
เดือดรอน เชน ผูติดยาเสพตดิ ผตู ดิ เชอื้ เอดส

9. ทักษะการจัดการกับอารมณ (Coping with emotion) เปนความสามารถในการรบั รูอ ารมณ
ของตนเองและผอู ่นื รูวาอารมณม ีผลตอ การแสดงพฤติกรรมอยางไร รวู ิธกี ารจัดการกับอารมณโกรธ และ
ความเศรา โศก ท่ีสงผลทางลบตอรา งกาย และจติ ใจไดอ ยางเหมาะสม

10. ทักษะการจดั การกบั ความเครียด (Coping with stress) เปนความสามารถในการรับรูถึง
สาเหตุ ของความเครียด รวู ธิ ีผอนคลายความเครียด และแนวทางในการควบคุมระดบั ความเครียด เพื่อให
เกิดการเบ่ียงเบนพฤติกรรมไปในทางท่ีถูกตอ งเหมาะสมและไมเ กดิ ปญ หาดา นสุขภาพ

เรื่องที่ 2 ทักษะชีวติ ท่ีจําเปน

จากองคป ระกอบของทักษะชวี ติ 10 ประการ เมื่อจําแนกแลว มที ักษะ 3 ประการที่จะชวยในการ
ดาํ รงชวี ติ ของตนเอง ครอบครวั และสังคมไดอยางมคี วามสขุ คอื

1. ทกั ษะการตดั สินใจ (Decision making)การตัดสนิ ใจเปนกระบวนการของการหาโอกาสที่
จะหาทางเลือกท่ีเปนไปไดและการเลือกทางเลือกที่มีอยูหลายๆ ทางเลือกและไดแบงการตัดสินใจ
ออกเปน 2 ชนดิ คอื

1.1 การตดั สินใจที่กาํ หนดไวล วงหนา (Program decision) เปน การตัดสนิ ใจตามระเบยี บ
กฎเกณฑ แบบแผนทีเ่ คยปฏบิ ตั มิ าจนกลายเปน งานประจาํ (Routine) เชน การตัดสินใจเกี่ยวกับการเรียน
ตอ การลงทนุ ประกอบอาชพี การปลูกสรางบา นพกั อาศัย เปน ตน การตดั สนิ ใจแบบกําหนดไวลวงหนานี้
จะเปด โอกาสใหบุคคลน้ันเลอื กทางเลือกไดนอย เพราะเปน การตดั สนิ ใจภายใตส ถานการณท แี่ นนอน

121

1.2 การตดั สนิ ใจทีไ่ มไ ดก าํ หนดไวล วงหนา (Non – Program decision) เปนการตัดสินใจ
ในเรื่องใหมท่ีไมเคยมีมากอน และไมมีกฎเกณฑ ไมมีระเบียบ จึงเปนเรื่องท่ีสรางความกังวลใจ
พอสมควร ซึ่งบางครั้งผูบ รหิ ารจะตองคดิ ถึงเรอื่ งความเสี่ยงและความไมแ นน อนท่จี ะเกิดข้ึนดวย เชน

การตัดสินใจเปลย่ี นงานใหม การตัดสินใจทจี่ ะขยายธุรกิจเพิ่ม การตัดสนิ ใจทจี่ ะลงทนุ ในธุรกิจตัวใหม
เปน ตน

ข้นั ตอนการตดั สนิ ใจ สามารถแบง ออกไดเ ปน ดงั นค้ี ือ
ข้ันท่ี 1 การระบุปญหา (Defining problem) เปน ข้นั ตอนแรกท่มี คี วามสาํ คญั อยางมาก

เพราะจะตอ งระบปุ ญหาไดถ กู ตอ ง จงึ จะดําเนนิ การตัดสินใจในข้นั ตอนตอ ๆ ไปได
ข้ันที่ 2 การระบขุ อ จาํ กัดของปจจัย (Identify limiting factors) เปนการระบุปญหาไดถูกตอง

แลว นําไปพิจารณาถึงขอจํากัดตาง ๆ ของตนเองหรือหนวยงาน โดยพิจารณาจากทรัพยากรซึ่งเปน
องคประกอบของกระบวนการผลิต

ขั้นท่ี 3 การพัฒนาทางเลือก (Development alternative) ตอนที่ตองพัฒนาทางเลือกตาง ๆ
ข้นึ มาซ่ึงทางเลอื กเหลาน้ีควรเปนทางเลอื กทม่ี ีศกั ยภาพและมีความเปนไปไดในการแกปญหาใหนอยลง
หรือใหประโยชนสูงสุด เชน เพิ่มการทํางานกะพิเศษ เพิ่มการทํางานลวงเวลาโดยใชตารางปกติ
เพิ่มจํานวนพนักงาน เปน ตน

ข้นั ที่ 4 การวเิ คราะหท างเลือก (Analysis the alternative) เมือ่ ไดทาํ การพฒั นาทางเลือกตา ง ๆ
โดยนาํ เอาขอดขี อเสียของแตละทางเลือกมาเปรียบเทียบกันอยางรอบคอบ ควรพิจารณาวาทางเลือกน้ัน
หากนํามาใช จะเกิดผลตอเนอ่ื งอะไรตามมา

ข้ันที่ 5 การเลือกทางเลือกที่ดีท่ีสุด (Select the best alternative) เมื่อผูบริหารไดทําการ
วเิ คราะห และประเมินทางเลือกตางๆ แลว บุคคลควรเปรียบเทยี บขอดแี ละขอเสยี ของแตละทางเลอื ก
อกี คร้ังหน่ึง แลวจึงตัดสินใจ

2. ทกั ษะการแกปญ หา (Problem solving)
ทักษะการแกปญหาอาจทําไดหลายวิธี ทั้งน้ีข้ึนอยูกับลักษณะของปญหา ความรูและ

ประสบการณของผูแ กปญหานัน้ ซ่ึงแตละขัน้ ตอนมีความสมั พนั ธดงั น้ี
2.1 ทาํ ความเขาใจปญ หา ผแู กป ญ หาจะตองทาํ ความเขา ใจกับปญ หาท่ีพบใหถ องแท

ในประเดน็ ตางๆ คอื
- ปญ หาถามวาอยา งไร

122

- มีขอมลู ใดแลวบา ง
- มีเงื่อนไขหรอื ตอ งการขอ มูลใดเพมิ่ เติมอกี หรือไม
การวิเคราะหปญหาอยางดีจะชวยใหข้ันตอนตอไป ดําเนินไปอยางราบรื่น การจะ
ประเมินวาผูเรียนเขาใจปญหามากนอยเพียงใด ทําไดโดยการกําหนดใหผูเรียนเขียนแสดงถึงประเด็น
ตา งๆ ท่ี เกี่ยวของกับปญหา
2.2 วางแผนแกปญหา ข้ันตอนน้ีจะเปนการคิดหาวิธี วางแผนเพ่ือแกปญหาโดยใชขอมูล
จากปญหาท่ีไดวิเคราะหไวแลวในข้ันท่ี 1 ประกอบกับขอมูลและความรูที่เกี่ยวของกับปญหานั้นและ
นํามาใชประกอบการวางแผนการแกปญ หาในกรณที ปี่ ญ หาตองตรวจสอบโดยการทดลอง ขั้นตอนนี้ก็จะ
เปนการวางแผนการทดลอง ซึ่งประกอบดวยคาดคะเนผลท่ีจะเกิดลว งหนา (การตัง้ สมมตฐิ าน) กาํ หนดวิธี
ทดลองหรือตรวจสอบและอาจรวมถึงแนวทางในการประเมินผลการแกป ญหา
2.3 ดําเนนิ การแกป ญ หาและประเมินผล ขนั้ ตอนนี้จะเปนการลงมอื แกป ญ หาและประเมนิ วา
วิธกี ารแกป ญหาและผลท่ีไดถูกตองหรือไม หรือไดผลเปนอยางไร ถาการแกปญหาทําไดถูกตองก็จะมี
การประเมินตอไปวาวิธีการนั้นนาจะยอมรับไปใชในการแกปญหาอื่นๆ แตถาพบวาการแกปญหานั้น
ไมประสบความสาํ เรจ็ กจ็ ะตอ งยอ นกลับไปเลือกวธิ กี ารแกปญ หาอ่นื ๆท่ไี ดก ําหนดไวแลวในข้ันที่ 2 และ
ถา ยงั ไมประสบความสําเร็จ ผเู รียนจะตองยอ นกลบั ไป ทาํ ความเขาใจปญหาใหมวามีขอบกพรองประการ
ใด เชน ขอมูลกาํ หนดใหไมเ พยี งพอ เพื่อจะไดเริ่มตน การแกป ญหาใหม
2.4 ตรวจสอบการแกปญหา เปนการประเมินภาพรวมของการแกปญหาท้ังในดานวิธีการ
แกปญ หา ผลการแกป ญ หาและการตดั สินใจ รวมท้ังการนาํ ไปประยกุ ตใช ท้ังนี้ในการแกป ญหาใด ๆตอง
ตรวจสอบถึงผลกระทบตอ ครอบครัวและสงั คมดวย
แมว า จะดาํ เนินตามขัน้ ตอนทกี่ ลา วมาแลว ก็ตาม ผูแกปญหาตองมีความมั่นใจวาจะสามารถ
แกปญหานั้นได รวมท้ังตองมุงมั่นและทุมเทใหกับการแกปญหา เน่ืองจากบางปญหาตองใชเวลาและ
ความพยายามเปน อยางสงู นอกจากน้ถี า ผเู รียนเกิดความเหน่ือยลาจากการแกปญหาก็ควรใหผูเรียนไดมี
โอกาสผอนคลาย แลว จงึ กลบั มาคิดแกปญหาใหม ไมค วรทอแทหรอื ยอมแพ
3. ทักษะการคดิ สรางสรรค (Creative Thinking)
3.1 ลกั ษณะสาํ คญั ของความคดิ ริเรม่ิ สรางสรรคจะประกอบดวยคณุ ลกั ษณะตา ง ๆ
ดังตอ ไปนีค้ ือ
(1) เปนความคดิ ทม่ี อี สิ ระ และสรา งใหเ กิดเปน แนวคิดใหมๆ
(2) ไมมขี อบเขตจํากัด หรือกฎเกณฑตายตวั และเปนแนวคดิ ท่นี า จะเปน ไปได
(3) เปนแนวคดิ ที่อาศยั การมองทกี่ าวไกลสรา งใหเกดิ ความคดิ ทตี่ อ เนื่อง

123

(4) เปน ความคิดท่อี ยใู นลักษณะของจนิ ตนาการ ซึง่ คนทว่ั ไปจะไมค อ ยคดิ กัน
(5) ระบบของความคิดน้จี ะกระจายไปไดห ลายทศิ ทาง และหลายทางเลอื ก
(6) เปนความคิดท่ีอยใู นลักษณะแปลก และแหวกแนวออกไปจากความคิดปกติทั่วไป
(7) สรางใหเกิดสิ่งประดิษฐใหม นวัตกรรมใหม และมีการพัฒนาที่แปลกใหมที่เปน
ประโยชนและสรางสรรค
(8) ความคิดนีจ้ ะไมก อ ใหเ กิดความเสยี หาย หรอื เปน ภยั ตอตนเองและผูอ ื่น
3.2 ทาํ ไมตอ งฝกและพัฒนาใหเ กดิ ความคิดสรางสรรค
ความคิดสรางสรรคสามารถฝกและพัฒนาได โดยคนเราจะมีความพรอมตั้งแตวัยเด็ก
ซง่ึ อยูระดับประถมศกึ ษาจะจดั หลักสตู รใหเออื้ อํานวยและกระตนุ ใหเกิดความคิดริเร่ิมตางๆ เพื่อนําไปสู
การพฒั นาอยา งสรางสรรค ดงั นค้ี ือ
1. สรางใหบุคคลกลาคิดกลาแสดงออก คนที่มีความคิดสรางสรรคมักจะเปนบุคคล
ท่กี ลา เสนอวธิ กี ารและแนวทางใหม ๆ ทไ่ี มมใี ครคดิ กนั มากอ น และจะเปน คนทตี่ อสูอยางเต็มที่ เพื่อที่จะ
แสดงความคิดเห็นทีถ่ ูกตองของตนเอง
2. ความคิดนี้จะนําบุคคลไปสูส่ิงใหมและวิธีการใหม ความคิดริเริ่มสรางสรรคจะ
กอ ใหเกดิ สงิ่ ใหม นวัตกรรมใหม จึงเปนสิ่งจําเปนอยางหนึ่งในการที่จะใหบุคคลหลุดพนจากเรื่องจําเจ
ทีต่ อ งประสบอยทู กุ วัน
3. สรางใหบุคคลเปนผูที่มองโลกในมุมกวาง และยืดหยุน นอกจากจะสรางความคิด
ใหมหรือไดคนพบส่ิงใหม ๆ และสรางวิธีการใหมๆแลว ผูท่ีมีความคิดสรางสรรคน้ันแมจะมองส่ิง
เดียวกันกบั ทท่ี ุกคนมองอยูแตความคิดของเขาจะไมเหมือนคนอื่นๆโดยจะคดิ แตกตา งไปอยา งไรขอบเขต
เปน ความคิดตามจินตนาการท่ีมอง และรับรูสิง่ ตาง ๆ รอบขา งในแงม มุ ท่ีแตกตา งจากคนทัว่ ๆ ไป
4. สรางใหบ คุ คลไมอ ยูกบั ท่ี และบม เพาะความขยัน คนที่มคี วามคิดสรางสรรคจะเปน
ผทู ท่ี าํ งานหนกั มีสมาธิสามารถทํางานไดนาน มีความขยันและกระตือรือรน อยากรู อยากเห็น คนควา
และทดลองสง่ิ ใหม ๆ อยเู สมอ
5. สรางใหบคุ คลเกิดความสามารถในการแกไ ขปญ หาตามสภาพและตามขอ จาํ กัดของ
ทรัพยากร คนท่ีมีความคดิ สรา งสรรคจะไมมีการสรางเงื่อนไขในความคิดสามารถคิดหาแนวทางแกไข
ปญ หา และตัดสนิ ใจตามสภาพแวดลอมของปญ หาไดภายใตอุปสรรคและขอจํากัดของทรัพยากรตาง ๆ
ในทาํ นองทีว่ า “Small and Beautiful” หรือ “จิ๋ว แต แจว ”
6. สรางผลงานและเกิดส่ิงใหม ๆ นักสรางสรรคจะมีความสามารถในการอธิบาย
สอ่ื สาร สรา งความเขาใจใหผ ูอ ืน่ นําความคดิ ท่มี คี าของตนไปทาํ ใหเกดิ ประโยชนได

124

ผูที่มีความคดิ สรางสรรคจะใชส ิ่งทกี่ ลาวมานี้เปนสอื่ และเปนแนวทางในการพัฒนาความสามารถ
ของตนเองไดดี

3.3 วิธีการพฒั นาใหเ กดิ ความคิดสรา งสรรค
การพัฒนาใหเ กดิ ความคิดสรางสรรคใ นตนเอง จะตอ งฝกและพฒั นาตนเองดงั นี้
(1) ใหอสิ ระตนเอง
(2) นาํ ตนออกนอกขอบเขต กฎเกณฑ กรอบ และเกราะกาํ ลังตางๆ
(3) คดิ ใหลึกซง้ึ ละเอียด รอบคอบ
(4) อาศัยการใชส มาธแิ ละสตใิ หอยเู หนอื อารมณ
(5) ปราศจากอคติ คานิยมสงั คม
(6) ยอมรบั คําวิพากษว จิ ารณไ ด
(7) อยาใหเ วลามาเรงรดั ความคดิ จนเกนิ ไป
(8) ไมม งุ หวงั ผลกําไรจากความคดิ
(9) มีทกั ษะในการฟง
(10) หม่นั ฝกฝนความคิดอยางสมํ่าเสมอ

3.4 วิธกี ระตุนใหเ กดิ ความคิดริเริ่มสรางสรรค
การกระตนุ ใหบุคคลเกดิ ความคิดรเิ ร่ิมสรา งสรรคไ ดนนั้ ผูทีเ่ ปนตัวกระตุน อาทิเชน พอ

แม ผูปกครอง ครู หรือบังคับบัญชา สามารถใชวิธีการตางๆ ตอไปนี้ฝกใชความคิดอยางสรางสรรคได
โดยอยใู นบรรยากาศท่ีดี เอื้ออํานวยใหเกดิ การใชปญญา คอื

(1) การระดมสมองอยางอสิ ระ
(2) การเขียนวิจารณค วามคดิ
(3) การแยกความเหมือน – ตาง
(4) การอปุ มาอุปไมย
(5) การมีความคลมุ เครือ
3.5 อปุ สรรคของความคดิ สรางสรรค
(1) อปุ สรรคจากตนเองไมมน่ั ใจในตนเอง ใชความเคยชนิ และสญั ชาตญาณแกไขปญหา
พอใจในคําตอบเดิม ๆ กลัวพลาด ไมกลาเสี่ยง ไมกลารับผิดชอบ ชอบสรางขอบเขตและกฎเกณฑให
ตนเอง ชอบเลียนแบบแอบอางผูอ่ืน ชอบเปนผูตาม สามารถทําตามคําส่ังไดดี ไมชอบแสวงหาความรู
ไมเสาะหาประสบการณ ไมเปดใจ ปราศจากการยืดหยุน ไมมสี มาธิ ไมมีสติ

125

(2) อุปสรรคจากบคุ คลอนื่ ไมย อมรบั ฟง มงุ ตาํ หนิ วิจารณ และปฏเิ สธทุกประเด็น อิจฉา
เยาะเยย ถากถาง ปด โอกาส

(3) ขาดการกระตุนสงเสริม มีการบั่นทอนกําลังใจ ปราศจากการยอมรับ เนนผลกําไร
จนเกนิ ไป มีความจาํ กัดดา นเวลา ทรพั ยากรอ่นื ๆ

ดงั นั้น การจะสรางใหตนเองมีความคิดสรางสรรค หรือสงเสริม กระตุนใหบุคคลเกิด
ความคดิ ริเร่ิมสรา งสรรค จึงควรจัดกิจกรรมและสภาพแวดลอมใหเอื้ออํานวย พรอม ๆ กับการปองกัน
และขจดั อุปสรรคดังที่กลาวมาแลว

4. ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical thinking) การคิดอยางมีวิจารณญาณ คือ
ความสามารถในการสรา งและประเมินขอ สรุปจากหลกั ฐานหรือสภาวการณใดไดอยางถูกตองตามความ
เปนจริง มอี งคประกอบ 4 อยางดงั นี้

4.1 ทักษะเบ้ืองตนสําหรับใชเปนเคร่ืองมือในการคิด ไดแก ความสามารถในการสังเกต
ความสามารถในการคน หารูปแบบและ การสรปุ สาระสาํ คญั และการประเมินขอสรุปบนพื้นฐานจากการ
สงั เกต

4.2 ความรูเฉพาะเก่ียวกับส่ิงท่ีตองคิด ไดแก ความรูเก่ียวกับเน้ือหาสาระ หลักฐาน หรือ
สถานท่ีเกี่ยวของ เชน เม่ือตองตัดสินใจวาจะเชื่อหรือไมเช่ือในเรื่องใด ตองหาเหตุผล หลักฐานตาง ๆ
ประกอบการตัดสนิ ใจ

4.3 การรคู ดิ ไดแ ก รกู ระบวนการรูคดิ ของตนและควบคุมใหปฏบิ ัตติ ามกระบวนการคิดน้ัน
เชน ตอ งจดจอ ใครค รวญ พิจารณาตามหลักเหตุผล เปน ตน

4.4 แรงจูงใจ หมายถึง พลังท่ีใชในการคิด ซึ่งเกิดจากความตองการหรือปรารถนาที่จะคิด
อยางมวี จิ ารณญาณ แรงจงู ใจในการคิดจะกําหนดเจตคติ และนิสัยในการคิดของบุคคลน้ัน ๆ ทําใหเช่ือ
หรอื ไมเช่อื ในเรื่องใดเรื่องหน่งึ

กิจกรรมทา ยบท
1. จงอธบิ ายถงึ ทักษะชีวติ ในขอใดท่ผี ูเ รียนเคยนําไปใชใ นชวี ิตประจําวนั อยา งนอย

3 ทกั ษะพรอมยกตวั อยา งประกอบ
2. ใหผูเรียนแบง กลุมอภปิ รายทกั ษะชีวติ ท่ีมคี วามจําเปนในการดาํ เนนิ ชีวิตประจําวนั

มากที่สดุ และนาํ เสนอในกลมุ

126

บทที่ 9
อาชพี กับงานบรกิ ารดา นสุขภาพ

ความหมายงานบรกิ ารดานสขุ ภาพ

ในปจจุบันคนเรามีการดแู ลสุขภาพของตนเองกันมากข้ึน โดยใหความสําคัญตอตัวเองเพ่ิมเติม
จากปจจัย 4 ท่ีตองใหความสําคัญอยูแลว จึงเกิดธุรกิจงานบริการดานสุขภาพเพ่ือตอบสนองตอ
ความตอ งการของทกุ ๆ คน ซึ่งมหี ลายประเภท เชน การนวดแผนไทย การทําสปา การฝกโยคะ การเตน
แอโรบิค และการลีลาศเพือ่ สุขภาพ เปนตน ในท่นี จี้ ะขอยกตวั อยางเชน การนวดแผนไทย เพื่อเปนลูทาง
ไปสูการประกอบอาชีพกับงานบริการดานสุขภาพไดตอไป

การนวดแผนไทย

การนวดแผนไทย เปน ภูมิปญญาอนั ลาํ้ คาของคนไทยท่ีสั่งสมและสืบทอดมาแตโบราณ คนไทย
เรียนรูวิธีการชวยเหลือกันเองเมื่อปวดเม่ือย เจ็บปวย รูจักการผอนคลายกลามเน้ือดวยการบีบ นวด
ยดื เหยียด ดดั ดึงตนเอง หรือรูไวชวยเหลือผูอ่ืน การนวดเปนการชวยเหลือเกื้อกูลที่อบอุนเริ่มจากคน
ในครอบครัวดว ยสอ่ื สมั ผสั แหง ความรักและความเอื้ออาทร ถา ยทอดความรูจากการสั่งสมประสบการณ
จากคนรุน หนึ่งไปยังอีกรุนหนึ่ง จนกระทั่งมีหลักในการปฏิบัติและมีวิธีการท่ีเปนเอกลักษณเฉพาะตัว
และการนวดเปนศิลปะของการสัมผัสท่ีสรางความรูสึกอบอุน ผอนคลายความเม่ือยลา ทําใหเรารูสึก
สดชื่นท้งั รา งกายและจติ ใจ การนวดแผนไทยจงึ เปน ทั้งศาสตรและศลิ ปท ่ีมีพฒั นาการมาเปนลาํ ดับ แมว า
ความเจริญกา วหนา ทางเทคโนโลยอี นั ทนั สมัยของการแพทยแ ผนปจ จุบัน จะมีบทบาทสําคัญในการดูแล
สุขภาพของคนทั่วโลก แตหลายคนก็ยังเสาะแสวงหาทางเลือกอ่ืน ในการดูแลสุขภาพของตนเอง
ดวยเหตุผลแตกตา งกัน การนวดแผนไทย เปนอีกทางเลอื กหนง่ึ สําหรับการดูแลสุขภาพ และไดรับความ

127

นิยมมากข้นึ เรอื่ ย ๆ เนือ่ งจาก ปจ จบุ นั มีการใชย าแกป วด และยากลอมประสาทหลายชนดิ และมผี ลแทรก
ซอ นจาก ยาแกปวดบางชนิดคอนขางรุนแรง เชน ทําใหป วดทอง เกดิ แผลในกระเพาะอาหาร อาเจียนเปน
เลือด เปน ตน

ประวัติการนวดแผนไทย

ในสมัยโบราณนั้น ความรูเกี่ยวกับการแพทยและการนวดของไทย จะสั่งสอนสืบตอกันมา
เปนทอด ๆ โดยครูจะรับศษิ ยไว แลวคอยสั่งคอยสอนใหจดจําความรูตาง ๆ ซ่ึงความรู ท่ีสืบทอดกันมานั้น
อาจเพ่มิ ขน้ึ สญู หาย หรอื ผดิ แปลกไปบา ง ตามความสามารถของครู และศษิ ยท สี่ ืบทอดกันมา

ในสมยั กรุงศรีอยธุ ยา รชั สมัยของ สมเดจ็ พระนารายณมหาราช การแพทยแ ผนไทย เจริญรุงเรือง
มาก โดยเฉพาะอยางยิ่งการนวดแผนไทย ปรากฏในทําเนียบศักดินาขาราชการฝายทหาร และพลเรือน
ทรงโปรดใหมีการแตงต้ังกรมหมอนวด ใหบรรดาศักด์ิเปนปลัดฝายขวา มีศักดินา 300 ไร ฝายซายมี
ศักดินา 400 ไร หลักฐานอกี ประการหน่ึงจากจดหมายเหตุของราชฑูตลาลูแบร ประเทศฝร่ังเศส บันทึก
เรื่องหมอนวดในแผนดินสยาม มีความวา "ในกรุงสยามนั้น ถามีใครปวยไขลง ก็จะเร่ิมทําเสนสายยืด
โดยผูช าํ นาญทางน้ี ข้ึนไปบนรางกายคนไขแ ลว ใชเทา เหยยี บ"

ในสมัยรัตนโกสินทร การแพทยแผนไทยไดสืบทอดมาจากสมัยอยุธยา แตเอกสารและวิชา
ความรบู างสว น สญู หายไปในชว งภาวะสงคราม ท้ังยงั ถูกจบั เปนเชลยสว นหน่ึง เหลือเพียงหมอพระท่ีอยู
ตามหวั เมือง พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ทรงโปรดใหระดมปนรูปฤาษีดัดตน 80 ทา และ
จารึกสรรพวิชาการนวดไทย ลงบนแผนหินออน 60 ภาพ แสดงจุดนวดตาง ๆ อยางละเอียด ประดับบน
ผนังศาลาราย และบนเสาภายในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธ์ิ) เพ่ือใหประชาชนไดศึกษา
โดยทั่วกนั

ตอ มาใน พ.ศ.2375 ในรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกลาเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ
ใหบูรณะวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธ์ิ) ใหม ทรงให หลอรูปฤษีดัดตนเปนโลหะ มีการ
ปรับปรุงตํารายาสมุนไพร จารึกไวรอบอาราม และทรงใหรวบรวมตําราการนวด และตําราการแพทย
จารึกในวดั โพธิ์ เพอื่ เผยแพรใหป ระชาชนทว่ั ไปศกึ ษา และนําความรูไปใชใ หเกดิ ประโยชนตอไป

ใน พ.ศ. 2397 สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว มีการชําระตําราการนวดไทยและ
การแพทยไทยเรียกวา “ตําราแพทยหลวง” หรือ แพทยในราชสํานัก และทรงโปรดใหหมอนวดและ
หมอยา ถวายการรักษาความเจ็บปว ยยามทรงพระประชวร แมเ สด็จประพาสแหงใด ตอ งมีหมอนวดถวาย
งานทกุ คร้ัง

128
ใน พ.ศ. 2499 สมัยพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา เจา อยูหัว ทรงโปรดเกลาฯใหแพทยหลวงทํา
การสังคายนา และแปลตาํ ราแพทยจ าก ภาษาบาลี และสันสกฤตเปนภาษาไทย เรียกวาตําราแพทยศาสตร
สงเคราะห (ฉบับหลวง)
ตอมาเม่ือการแพทยแผนตะวันตกเขามาในสังคมไทย การนวด จึงหมดบทบาทจากราชสํานัก
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว และมาฟนฟูอีกครั้งในสมัยรัชกาลปจจุบัน เมื่อมีการ
จัดต้ังอายุรเวชวิทยาลัย (วิทยาลัยสําหรับการแพทยแผนไทย) สวนการนวดกันเองแบบชาวบานยังคง
สืบทอดตอ กันมาจากบรรพบุรษุ จนถึงปจจุบัน

แบบของการนวดแผนไทย

การนวดแผนไทยแบง ออกเปน 2 แบบ ไดแ ก
1. การนวดแบบราชสํานัก เปนการนวดเพ่ือถวายพระมหากษัตริย และเจานายชั้นสูง
ในราชสํานัก การนวดประเภทนี้จึงใชเฉพาะมือ นิ้วหัวแมมือ และปลายน้ิว เพ่ือที่ผูนวดจะไดสัมผัส
รา งกายของผูรับการนวดใหนอยท่ีสุด และทวงทาที่ใชในการนวดมีความสุภาพเรียบรอย มีขอกําหนด
ในการเรียนมากมาย ผูที่เช่ียวชาญทางวิชาชีพดานนี้ จะไดทํางานอยูในรั้วในวังเปนหมอหลวง
มเี งินเดือนมยี ศมตี ําแหนง
2. การนวดแบบทั่วไป (แบบเชลยศักด์ิ) หรือเรียกกันทั่วไปวา "จับเสน" เปนการนวดของ
สามญั ชนเพือ่ ผอนคลายกลามเน้ือ และชวยการไหวเวียนของโลหิต โดยใชมือนวดรวมกับอวัยวะอื่น ๆ
เชน ศอก เขา และเทา ดว ยทาทางทวั่ ไปไมมีแบบแผน หรือพธิ รี ตี องในการนวดมากนัก นับเปนการนวด
ซ่งึ เปนทร่ี จู ักกันอยางแพรห ลายในสงั คมไทย

129

ประเภทของการนวดแผนไทย

การนวดแผนไทย ทาํ ใหสขุ ภาพดี ผอนคลาย ซ่ึงแบง ออกไดหลายประเภท ไดแก
1. นวดนา้ํ มนั
การนวดรา งกายโดยใชนา้ํ มันท่สี กัดจากธรรมชาติทบ่ี ริสุทธ์ิ ท่ีมีกล่ินหอมจากธรรมชาติ ชวยให
สดชืน่ ผอนคลาย และคลายเครียด ดวยกลิ่นหอม เฉพาะทางท่ีใชในการบําบัดอาการใหเบาบางลง เชน
อาการนอนไมหลับ อาการเครียด หดหู นอกจากนี้น้ํามันบริสุทธิ์ยังชวยบํารุงผิว และกระชับรูปราง
ทําใหกลามเนื้อไมหยอนยาน สลายไขมันตามรางกาย ความรอนของน้ํามันที่เกิดจากการนวด
จะซมึ ซาบ ลกึ เขา ไปผิวหนังและกลามเนือ้ ชว ยใหร ูสกึ เบาสบายตัว
2. นวดผอ นคลาย
การนวดผอนคลาย เปนการนวดท่ีถกู สุขลกั ษณะตามแบบแผนไทยโบราณ ซ่ึงสงผลโดยตรงตอ
รางกายและจิตใจ ทําใหเกิดการไหลเวียนของเลือดลม คลายกลามเน้ือท่ีลา รักษาอาการปวดเม่ือย
ตามรา งกาย คลายเครยี ด เคล็ดขัดยอก ชว ยใหส ขุ ภาพกระปรก้ี ระเปรา จิตใจผอ นคลาย
3. นวดฝาเทา

การนวดฝา เทา นวดเทา เปน การปรับสมดุลในรางกาย ชวยใหระบบการไหวเวียนไปยังอวัยวะ
ตา ง ๆ ภายในรา งกายไดดขี ้นึ สงผลใหม ีการขับถา ยของเสียออกจากเซลล ปรับสภาวะสมดุลของรางกาย
ทําใหส ุขภาพโดยรวมดขี ึน้

4. นวดสปอรท
การออกกําลังกายอยางหักโหมจนเกินไป อาจทําใหเกิดอาการเกร็งของกลามเนื้อเฉพาะสวน
หรอื อาการลา การนวดสปอรต จึงเปน การนวดคลายกลามเนื้อดงั กลาว ชว ยใหกลา มเนอ้ื ผอนคลาย

130

5. นวดจับเสน
การนวดเพอื่ บําบดั อาการปวดเมอื่ ยเฉพาะจดุ หรือตามขอ ตอ การยึดติดของพังผืดของรางกายให
ทุเลา ผอ นคลาย โดยการใชน ํ้าหนกั กดลงตลอดลําเสน ท่กี ระหวดั ไปตามอวยั วะตา ง ๆ การนวดชนดิ นต้ี อง
อาศัยความเชีย่ วชาญของผูนวด ซึ่งไดท าํ การนวดมานาน และสังเกตถงึ ปฏิกริ ยิ าของแรงกดท่ีแลนไปตาม
อวัยวะตา ง ๆ
6. นวดสลายไขมนั – อโรมา
เปน การนวดนาํ้ มัน เพอื่ ผอนคลายกลา มเนือ้ ทุกสวนของรางกาย
7. นวด – ประคบ
เปนการใชล กู ประคบสมุนไพร โดยการนําเอาสมุนไพรทั้งสดหรือแหงหลาย ๆ ชนิด โขลกพอ
แหลกและคลกุ รวมกัน หอ ดวยผา ทาํ เปนลูกประคบ จากนั้นน่ึงดวยไอความรอน แลวนําไปประคบตาม
รางกาย เพื่อผอ นคลายกลามเนอ้ื ทต่ี ึงหรือเครียดใหส บาย
8. นวด – ไมเกรน
เปนการนวดเพ่อื แกอาการปวดศรี ษะ โดยจะกดจดุ บริเวณศรี ษะที่ปวด

วิธกี ารนวดแผนไทย

วธิ ีการนวดแผนไทยทถี่ กู ตอ ง จะทาํ ใหผนู วดไมเ หนอ่ื ย และการนวดก็ไดผ ลเตม็ ที่ มีความสะดวก
และปลอดภยั สงผลทําใหผูถูกนวดมีสุขภาพดี ผอนคลายความตึงเครียดไดเปนอยางดี ซึ่งแบงออกได
หลายวิธีไดแก

1. การกด

เปนการใชน้ําหนักกดบนเสนพลังงานบนกลามเน้ือโดยใชน้ิวหัวแมมือกดนว ด
เปนวงกลม หรือใช ฝามือกดเปนวงกลม และกดตรงเสนพลังงาน โดยใชนํ้าหนักตัวกด นิ้วและหัวแมมือ

131

หวั เขา ฝาเทา ทาํ การกดเพอื่ ยดื เสน ทําใหกลามเนื้อคลายตัวหลอดเลือดขยายตัว การไหลเวียนของเลือด
ระบบประสาทการทํางานของอวัยวะตา ง ๆ ดขี น้ึ

2. การบีบ
เปน การใชนา้ํ หนกั บีบกลามเนอ้ื ใหเต็มฝา มอื เขาหากันโดยการออกแรง สามารถใชน้ิวหัวแมมือ
ชวยหรือการประสานมือเพ่ือเพิ่มการออกแรง เปนการเพ่ิมการหมุนเวียนของเลือด และผอนคลาย
กลามเนอ้ื
3. การทบุ /ตบ/สับ
ใชมือและกําปน ทุบ/ตบ/สบั กลา มเนื้อเบา ๆ เปนการผอนคลายการตงึ ของกลามเน้ือและใหเลือด
หมุนเวยี นดีขนึ้ และเปนการชว ยขจัดของเสยี ออกจากรางกาย
4. การคลงึ
เปนการใชนํ้าหนักกดคลึงบริเวณกลามเนื้อโดยการหมุนแขนใหกลามเนื้อเคลื่อนหรือคลึง
เปนวงกลม ใชแรงมากกวา การใชขอศอก ซึ่งใหผลในการผอนคลาย มักใชกับบริเวณที่ไวตอการสัมผัส
เชน กระดูก หรอื ขอตอ

5. การถู
โดยใชนา้ํ หนกั นวดถูไปมา หรอื วนไปมาเปนวงกลม บนกลา มเนอ้ื เพื่อชวยผอนคลายอาการปวด
เมื่อยเฉพาะจดุ หรอื ตามขอ ตอตาง ๆ

6. การหมุน
โดยการใชมือจับและออกแรงหมุนขอตอกระดูกวนเปนวงกลม ชวยใหการเคลื่อนไหวของ
ขอ ตอ ทํางานดขี ้ึน ผอ นคลาย
7. การกล้ิง
เปนการใชข อ ศอกและแขนทอนลาง กดแรง ๆ ในกลา มเน้อื มดั ใหญๆ เชน ตนขา โดยใชน้ําหนัก
หมุนกล้ิง ทําใหเกิดแรงกดตอเน่ือง และเคลื่อนท่ีไปตลอดอวัยวะท่ีตองการนวด ทั้งยังเปนการยืด
กลามเน้ือดวย
8. การสัน่ /เขยา
ใชมือเขยาขาหรือแขนของผูถูกนวด เพื่อชวยทําใหการหมุนเวียนของเลือดดีข้ึน ผอนคลาย
กลามเนื้อไปในตวั

132

9. การบิด
ลักษณะคลายการหมุน แตเปนการออกแรงบิดกลามเนื้อกับขอตอใหยืดขยายออกไป
ในแนวทะแยง ทาํ ใหก ลามเนอื้ ยืด เพื่อใหผ งั ผดื เสนเอน็ รอบ ๆ ขอตอยึดคลาย เคลือ่ นไหวดขี ้ึน
10. การลัน่ ขอตอ
เปนการออกแรงยดื ขอ ตออยา งเรว็ ทําใหเกิดเสยี งดังล่ัน เพอ่ื ใหก ารเคลอื่ นไหวของขอ ตอทํางานดี
ขน้ึ
11. การยืดดดั ตวั

โดยใชฝาเทา เปนการออกแรงยืดกลามเน้ือขอตอใหยืดขยายออกไปทางยาว ชวยใหกลามเน้ือ
เสนเอน็ ยดื คลายตัว

12. การหยดุ การไหลเวียนของเลือด
ใชฝามือกดที่จุดชีพจรที่โคนขาเพ่ือหยุดการไหลเวียนของเลือดช่ัวขณะกดไวประมาณครึ่ง
ถงึ 1 นาทแี ลว คอ ย ๆ ปลอ ยชา ทาํ ใหก ารไหลเวียนของเลอื ดดีขึ้น

แหลง เรียนรูการนวดแผนไทย

เน่ืองจากการนวดแผนไทยไดรับความนิยมเปนอยางมากในปจจุบัน ดังน้ัน จึงมีการนําบริการ
การนวดแผนไทยมาทาํ เปนธุรกิจควบคกู ับธรุ กจิ สปา ซง่ึ กลายเปน ธรุ กิจท่ีสรางรายไดใหแกประเทศไทย
เปนจํานวนมาก โดยมรี ายไดเฉลีย่ ในการดําเนนิ กจิ การการนวดแผนไทย มีรายละเอียด ดังนี้
การนวดตวั โดยเฉลย่ี 300 - 400 บาท/ 2 ช่วั โมง
การนวดฝา เทา โดยเฉล่ยี 150 - 250 บาท/ชัว่ โมง

การนวดประคบสมุนไพร โดยเฉล่ยี 300 - 350 บาท/ 2 ชว่ั โมง
การนวดนา้ํ มัน โดยเฉลี่ย 600 - 800 บาท/ 2 ชว่ั โมง

133

ดังน้ัน หากผูเรียนที่สนใจก็สามารถศึกษาฝกทักษะสรางความชํานาญนําไปสูอาชีพเปนของ
ตนเองได จากแหลง เรยี นรูตา งๆ ในชุมชน เชน

แหลงเรยี นรกู ารนวดแผนไทย เขตกรุงเทพมหานคร
1. โรงเรียนแพทยแผนโบราณวัดพระเชตุพนฯ (ทาเตียน) มีโรงเรียนในเครือ 3 สาขาเปด

ใหบริการดานการเรียน-การสอนเกี่ยวกับการนวดแผนไทยมาตั้งแตป 2505 และตอมาไดมีการเพ่ิม
หลักสูตรเรียนใหมมาจนถึงปจจุบัน 392/25-28 ซอยเพ็ญพัฒน 1 ถ.มหาราช เขตพระนคร กรุงเทพฯ
10200 โทร: 02-622-3551, 02-221-3686

2. บานนานาชาติ บานสิริรามาเพลส ถนนพัฒนาการ ระหวางซอย 48 กับ ซอย 50
เขตสวนหลวง กทม โทร.66 [0]2 722 6602 to 10

3. ศูนยอบรมเรือนไมสปาสมาคมแพทยแผนไทย สาขาพหลโยธิน 54/4 โทร.089-214-1118,
084-091-9511

4. โรงเรียนพฤษภาหัตถแผนไทย 25/8 ซอย 26, ถ.สุขุมวิท คลองตัน คลองเตย กทม 10110
โทร.66-2204-2922/3

5. โรงเรียนการนวดแผนไทย 13 หมู 12 ถนนรามคําแหง 166 แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กทม.
10510 โทร.02-917-4933 / 02-517-6818

6. ศูนยพัฒนาการแพทยแผนไทย ชลนิเวศน 530 หมูบานชลนิเวศน ซอย 9 (แยก 18) ถนน
ประชาชื่น ลาดยาวจตุจกั ร กทม. 10900 โทร.0-2911-0543, 0-2585-0995

7. โครงการดอยนํ้าซับ 505 ซอยลาดพราว 48 แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง กทม.
โทร.02-939-8167,02939-9939,02-513-9086

8. สมาคมนวดแผนโบราณไทย 138/157 หมู 4, วงคนั นายาว เขตคันนายาว กรงุ เทพ
9. โรงเรียนสปาออฟสยาม 163 Thai Ocean Bld. ถ.สุริยวงศ. บางรัก กรุงเทพ
โทร.02-634-1900,081-426-5843
10. ชีวาศรม อคาเดมี่ กรุงเทพฯ ช้ัน 1 อาคารโมเดริ น ทาวน 87/104 ถ. สุขุมวทิ ซอย 63 กรุงเทพ
10110 โทร. 02-711-5270-3
11. ปริน๊ เซสบวิ ตี้เซ็นเตอร สาขาสยามสแควร 194-196 ซอย 1 (สกาลา) ถ.พระราม 1 เขตปทุมวัน
กรงุ เทพฯ 10330 โทร. 02-253-3681
12. เบญจ สปา 333 ซ.21 เมืองทอง 2/2 ถ.พัฒนาการ 61 เขตประเวศ กรุงเทพ 10250
โทร. 02-722-2900

134

13. สถาบนั เวชศาสตรความงามแผนไทย 111/40 หมูบา นศิริสุข ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงสีกัน
เขตดอนเมอื ง กรุงเทพฯ 10120

14. พลอยมาลี ศนู ยฝก สาขาสมาคมแพทยแ ผนไทย(ฝก ออ มใหญ) 177(30) ซ.พหลโยธิน 24, ถ.
พหลโยธนิ , แขวงจอมพล, เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900

15. โรงเรียนกรุงเทพความงามและ สปา 12/1 ถ.ลาดพราว 122 แขวงวังทองหลาง
เขตวังทองหลาง กรงุ เทพฯ 10310 โทร. 02-9342-690 ,02-734-3290, 086-510-5078 , 086-322-5458
แหลงเรียนรูก ารนวดแผนไทย เขตภาคกลาง

1. โรงเรียนแพทยแผนโบราณวัดพระเชตุพนฯ (ศาลายา) มีโรงเรียนในเครือ 3 สาขาเปด
ใหบริการดานการเรียน-การสอนเก่ียวกับการนวดแผนไทยมาต้ังแตป 2505 และตอมาไดมีการเพ่ิม
หลักสตู รเรยี นใหมมาจนถึงปจจบุ ัน 87 หมู 1 ถ.ศาลายา-นครชัยศรี ต.มหาสวสั ดิ์ อ.พุทธมณฑล นครปฐม
73120 โทร.034-365-001 ถึง 04

2. โรงเรียนแพทยแผนโบราณวัดพระเชตุพนฯ (วัดโพธ์ิ-แจงวัฒนะ) อาคารสายลม 50-89
ซ.ปากเกร็ด-แจงวัฒนะ 15 ถ.แจงวัฒนะ ปากเกร็ด นนทบุรี 11120 โทร. 02-962-7338 ถึง 40
โทร. 02-962-7338 ถึง 40 โทร. 053-410-360 5 ถงึ 1

3. สมาคมแพทยแ ผนไทย ศูนยฝกอาชพี ต. คลองสาม อ. คลองหลวง จ. ปทมุ ธานี
4. สถานนวดแผนโบราณ (หมอธนู) คลองหนึ่ง คลองหลวง จังหวัดปทมุ ธานี
5. สวนนานาชาติ อาณาจักรแหงการพักผอนที่เพียบพรอมไปดวยการนวดในแบบตาง ๆ
ตลอดจนการปฏิบัติเพื่อการ บําบัดรักษาโรค เวลาเพียง 1 หรือ 2 ชั่วโมง กับผูชํานาญการดานการนวด
ท่ีมีคุณภาพและมากดวยประสบการณ 36/12 หมูที่ 4 ต.หนองบัว อ. เมือง จ.กาญจนบุรี 71190
โทร . 081-9080-201, 081-6999-052, 034-633-356
6. พลอยมาลี ศูนยฝกสาขา สมาคมแพทยแผนไทย (ฝกออมใหญ) 47/78 ม.นิศาชล
ถ.เพชรเกษม ต.ออมใหญ อ.สามพราน จ.นครปฐม 73160
7. โรงเรยี นสขุ ภาพเชตวัน 87 หมู 1 ศาลายา-นครชัยศรี ต.มหาสวัสดิ์ อ.พุทธมณฑล นครปฐม
73170 โทร. 034-365-001 ถึง 4
8. กลมุ พฒั นาอาชพี นวดแผนไทยวัดเสาธงทอง ต. เกาะเกร็ด อ. ปากเกรด็ จ. นนทบุรี
9. สถาบันอบรมคลินิก หมอนภา การแพทยแผนไทย: 89/59 ซอยภูมิเวท 4 ปากเกร็ด
ต.ปากเกร็ด อ. ปากเกรด็ นนทบุรี 11120 โทร. 081-8683-888, 02-583-3377, 083-4391-414
10. โรงเรียนอนันตสุขนวดแผนไทย23/3-4 หมู 3 ถ.คลองมะขามเรียง ต.หอรัตนไชย
อ.พระนครศรอี ยธุ ยา จ.พระนครศรอี ยธุ ยา 13000 โทร. 035-244-696, 086-126-0008

135

แหลงเรียนรกู ารนวดแผนไทย เขตภาคเหนอื
1. โรงเรียนแพทยแผนโบราณวัดพระเชตุพนฯ (เชียงใหม) มีโรงเรียนในเครือ 3 สาขาเปด

ใหบริการดานการเรียน-การสอนเก่ียวกับการนวดแผนไทยมาต้ังแตป 2505 และตอมาไดมีการเพ่ิม
หลักสตู รเรยี นใหมมาจนถงึ ปจจบุ ัน 7/1-2 ซอยหลังรา นสมุดลา นนา ถ. ประชาอทุ ิศ ต.ชางเผอื ก อ.เมอื ง
จ. เชียงใหม โทร. 053-410-360 ถงึ 1

2. โรงเรียน ไอทีเอ็ม นวดไทยโบราณ 17/6-7 มรกต ตําบลชางเผือก อําเภอเมืองเชียงใหม
เชยี งใหม 50300 โทร. 053-218-632

3. โรงเรียนอาทิตยนวดแผนไทย 159/2 ซอย 4 แกวนวรัตน ตําบลวัดเกต อําเภอเมือง เชียงใหม
โทร. 053-262-574

4. โรงเรียนลานนานวดแผนไทย 47 ถนนชา ง มอยเกา ซอย 3 ตาํ บลชา งมอย อําเภอเมือง จังหวัด
เชียงใหม 50300 โทร. 053-232-547
แหลง เรียนรูการนวดแผนไทยการนวดแผนไทย เขตตะวนั ออก

1. กศน. อําเภอบางปะกง จงั หวดั ฉะเชิงเทรา โทร. 038-531-310
2. กศน. อาํ เภอสนามชยั เขต จังหวดั ฉะเชงิ เทรา โทร. 038-597-011
3. วารีปุระ มาสสาจ แอนด สปา 52 หมู 9 ตําบลบางพระ อําเภอศรีราชา จ.ชลบุรี 20110
โทร. 038-312-581
4. เรียนพัฒนาการนวดแผนไทย พัทยา 437/48-50 ถนน พัทยาสาย 2 ซอยยศศักดิ์ (ซอย 6)
อ.บางละมุง จ.ชลบุรี 20150 โทร. 038-414-115 5 ถงึ 6

แหลงเรียนรูการนวดแผนไทยการนวดแผนไทย เขตภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
1. กลุม นวดแผนไทยเพอื่ สุขภาพ บา นดาวเรือง ต.สองหอง อ. เมือง จ. หนองคาย 41300 โทร.

089-6213-512
2. วทิ ยาลัยชุมชนหนองบวั ลาํ ภู ต.ดานชา ง อ.นากลาง จ.หนองบัวลําภู
3. ศนู ยส าธติ นวดแผนไทย สาํ นักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี โทร. 042-223-356 ตอ 611

หรือโทร 042-249-692
4. กลมุ แพทยแ ผนไทย ตําบลนาพนิ อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี 34130 โทร 08-7908-2733,

08-7958-4209
แหลงเรียนรกู ารนวดแผนไทยการนวดแผนไทย เขตภาคใต

สุโข สปา วัฒนธรรมและสุขภาพ รีสอรท 5/10 หมู 3 ถ.เจาฟา ต.วิจิตร Vichit, อ.เมือง, ภูเก็ต
83000 โทร. 076-26 3-222

136

ธุรกิจนวดแผนไทย

ในปจจบุ ัน ปญหาเมื่อยขบ อาการปวดตามรางกาย หรืออาการเครียด มักจะเกิดข้ึนกับหลาย ๆ
คนโดยเฉพาะเมอื่ มอี ายุมากขน้ึ สาเหตุมาจากหลายปจจัย เชน ปวดเมื่อยจากการนั่งทํางานนาน ๆ คอตก
หมอน หรือเครียดจากปญหาเศรษฐกิจ สิ่งเหลานี้ทําใหมีผูท่ีมีความตองการใชบริการนวดมากข้ึน
ซึ่งความนิยมการนวดไมจํากัดอยูเฉพาะแคชาวไทย หากแตขยายตัวออกไปในหมูชาวตางชาติดวย
โดยเฉพาะในกลุมอาเซียน ดังนั้น ธุรกิจนวดแผนไทย จึงเกิดขึ้นเพ่ือตอบสนองความตองการ
การประกอบธุรกจิ น้ีจึงเปน ทางเลือกหนงึ่ ของผูท ่ีตองการประกอบธุรกิจของตนเอง แตก อ นทีจ่ ะเริม่ ตน ลง
มอื ทํา ผูป ระกอบการควรศึกษาและทาํ ความเขาใจในธุรกจิ นใี้ หล ึกซง้ึ เสียกอ น ผูท ่ีสนใจทาํ ธรุ กจิ นวดแผน
ไทย ควรมศี กั ยภาพและคุณสมบัตพิ ้ืนฐาน ดงั นี้

1. มีใจรักในการใหบรกิ าร เน่ืองจากวาการนวดแผนไทย เปนธรุ กจิ บริการ ผปู ระกอบการจึงตอง
มีใจรักการใหบรกิ าร มคี วามซ่อื สตั ย จรงิ ใจ สภุ าพ พดู จาไพเราะ มมี นษุ ยสมั พันธท ดี่ ี

2. มีสขุ ภาพกาย สุขภาพใจทีด่ อี ยูเสมอ หมัน่ ออกกําลังกายใหแ ข็งแรง หากมีอาการไขหรือรูสึก
ไมส บาย ไมควรทําการนวด เพราะนอกจากจะไมไดผลดแี ลวยงั อาจแพรโ รคใหก บั ผูถ กู นวดได

3. มีศีลธรรม และมีสัมมาอาชีวะ การนวดเปนการบริการแบบตัวตอตัว โอกาสใกลชิดและ
สมั ผสั รา งกายลกู คา มีอยตู ลอดเวลา ดงั น้นั ผปู ระกอบอาชีพนจ้ี งึ ตอ งใหก ารนวดเปนไปดวยความบริสุทธ์ิ
ใจ มศี ลี ธรรม คอื

 ไมดื่มสุรา ไมดื่มสุรา ท้ังกอนและหลังการนวด เพราะอาจจะควบคุมตัวเองไมได
และอาจทําใหการนวดไมไดผ ลเทา ท่ีควร

137

 ไมเจา ชู โดยไมแสดงกิริยาลวนลาม หรือใชคําพูดแทะโลมผูถูกนวดหรือคนไขที่เปนผูหญิง
กรณีผูนวดเปนผชู ายหรือถา ผูนวดเปนผูหญิงก็ไมควรแสดงกิริยาชี้ชวนผูถูกนวดในเร่ืองท่ีไมเหมาะสม
โดยเฉพาะเร่อื งที่เกี่ยวกับเพศสมั พนั ธ ตองนวดดว ยความสุภาพเรียบรอย พูดคุยแคพ อสมควร

 ไมพดู จาหลอกลวง หมายถงึ ไมเ ล้ยี งไขหรอื ลอ ลวงใหผูถูกนวดกลบั มาอีกคร้งั ก็ตามถาเห็นวา
ไมไดผลก็ควรบอกไปตามตรง และแนะนําใหผูปวยไปรับการรักษาโดยวิธีอื่น มิใชลอลวงเพื่อหวัง
ผลประโยชน เงินทอง ลาภยศสรรเสริญ

 ผูน วดไมควรนวดในสถานที่ อโคจร หรอื สถานท่ีทไ่ี มเ หมาะสม เชน สถานท่ีคาประเวณี โรง
นา้ํ ชา บอ นการพนัน เปนตน

4. ควรมีพื้นฐานความรูดานการนวดแผนไทย หรือผานการฝกอบรมจากสถานฝกอบรม
อยางนอย 30 – 75 ชม. หรือ 15 – 45 วัน เพราะพ้ืนฐานดังกลาว จะทําใหผูประกอบการมีความเขาใจ
ในธรุ กิจนอ้ี ยา งถองแท

5. มที ําเลที่เหมาะสม มองเหน็ ไดงาย ชดั เจน การคมนาคมสะดวก เพราะธุรกิจน้ีหากมีทําเลที่ดี
กถ็ อื วาประสบความสําเร็จไปแลวสวนหน่ึง

การประกอบการ
กอ นเปด การนวดแผนไทย นนั้ ผูประกอบการจําเปนตองตดิ ตอหนวยงานตา ง ๆ ดงั นี้
 กรมพัฒนาธุรกิจการคา เพื่อจดทะเบียนจัดต้ังธุรกิจ โดยทั่วไปธุรกิจบริการจะไดรับการ

ยกเวนไมตองจดทะเบียนพาณิชย แตถาขายสินคาอ่ืนรวมดวยตองจดทะเบียน โดยสามารถศึกษา
รายละเอยี ดขออนญุ าตไดท ี่ www.ismed.or.th หรอื ท่ี www.thairegistration.com

 กรมสรรพากร เพื่อดําเนินการทางภาษีการจดทะเบียน และภาษีมูลคาเพ่ิม โดยศึกษาจาก
www.rd.go.th

 กระทรวงสาธารณสุข เพ่ือจดทะเบียนและรับใบอนุญาตเปนผูประกอบโรคศิลปะ ทั้งนี้
หากเปน การนวดเพ่ือบาํ บัด วนิ จิ ฉยั โรค หรอื ฟน ฟูสมรรถภาพ ตาม พ.ร.บ. การประกอบโรคศลิ ปะ พ.ศ.2542

ผทู ําการนวดตองข้ึนทะเบยี นและรับใบอนุญาต สาขาการแพทยแผนไทยหรือเวชกรรมโบราณ
จากคณะกรรมการวิชาชีพกอน และตองดําเนินการในสถานพยาบาลท่ีไดรับใบอนุญาตแลวเทานั้น
แตห ากเปนการนวดเพื่อบรรเทาอาการปวดเม่อื ย ไมใ ชเพ่ือการรกั ษาโรค ผทู ี่ทําการนวดไมจ ําเปนตองข้ึน
ทะเบียนและรับใบอนุญาตผูประกอบการโรคศิลปะ ผูประกอบการสามารถย่ืนคําขอไดที่กองการ
ประกอบโรคศลิ ปะ สาํ นักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข หรือในตางจังหวัดยื่นที่สํานักงานสาธารณสุข
อาํ เภอ หรือสํานักงานสาธารณสุขจงั หวดั แมธ ุรกิจการนวดจะเปนอาชีพใหบริการ แตก็เปนอาชีพท่ีตอง
ใชค วามรับผดิ ชอบสูงเชนกัน

138

โทษทางกฎหมาย
มีบทลงโทษทางกฎหมายหากผูนวดกระทําการนวดแบบการรักษาโรค แตไมมีใบอนุญาต

ประกอบโรคศิลปะ ซึ่งจะมคี วามผิดจําคกุ ไมเ กนิ 3 ป ปรบั ไมเ กิน 30,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ และแม
จะไมไดน วดแตข ้ึนปา ยโฆษณาวา เปน การนวดรักษาโรคโดยไมมีใบอนุญาตกม็ ีความผิด คือ มีโทษจําคุก
ไมเกิน 2 ป ปรับไมเกิน 40,000 บาท หรือท้ังจําท้ังปรับ ตามกฎหมายผูนวดตองรับผิดชอบ หากเกิด
อนั ตรายแกผถู ูกนวด ดงั นี้หากทาํ ใหผูอน่ื เกดิ อนั ตรายแกรางกาย จิตใจ มีความผิดตามประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา 295 จําคุกไมเกนิ 2 ป ปรับไมเ กิน 4,000 บาท หรือท้งั จําทั้งปรับ หากผูถูกนวดเปนอันตราย
สาหัส ดงั น้คี อื ตาบอด หหู นวก ลิ้นขาด เสียความสามารถท่มี า นประสาท อวยั วะสืบพันธุ ใบหนา แทงลูก
จติ พิการติดตัว ทพุ พลภาพหรอื เจ็บปว ยเรื้อรังตลอดชีวิต หรอื ไมส ามารถประกอบกจิ ตามปกติเกินกวา 20
วัน ตองโทษจําคุก 6 เดอื นถึง 10 ป หากกระทําโดยประมาท เชน นวดแลวเกิดอันตรายสาหัส ตองโทษ
จําคกุ ไมเกนิ 3 ป หรอื ปรับไมเ กนิ 6,000 บาท หรือทั้งจําท้ังปรับ หากนวดผูปวยแลวทําใหเสียชีวิตถือวา
กระทาํ การโดยประมาท ตอ งโทษจําคกุ ไมเกิน 10 ป ปรับไมเ กนิ 20,000 บาท

ปจ จยั ทีท่ าํ ใหธ รุ กิจนวดแผนไทยประสบความสาํ เร็จ
1. ตองซอื่ สตั ยกับลูกคา ตอตวั เองและพนักงาน
2. สรางจติ สาํ นกึ ทด่ี ดี า นการบรกิ ารลกู คาใหแ กพนกั งาน เชน การสวัสดีเมอ่ื มลี ูกคา เขา รา น

การทักทายอยางเปนมิตร
3. รักษาการบริการใหไดมาตรฐานคงท่ี โดยใหบริการนวดครบทุกข้ันตอนและตามเวลาที่

กาํ หนด
4. ทาํ เลทตี่ งั้ เหมาะสม ใกลกลมุ ลกู คา เปา หมาย คา เชาสถานที่ไมแ พงจนเกนิ ไป
5. มีการรักษาความสะอาดของสถานท่ี ความสะอาดอุปกรณการนวด และความสะอาดของ

พนกั งานใหด ูดีตลอดเวลา

กจิ กรรมทายบท

1. ใหผ ูเรยี นเขยี นอธบิ ายประวัติของการนวดแผนไทยมาพอสังเขป
2. ใหผูเรยี นอธิบายประเภทของการนวดแผนไทยมีก่ีประเภทอะไรบา ง
3. ใหผเู รยี นอธิบายวิธกี ารนวดแผนไทยแบบตา งๆ มาพอเขา ใจ
4. ใหผเู รียนบอกแหลงขอมูลการเรียนรูการนวดแผนไทยมา 4 - 5 แหง

139

บรรณานุกรม

วิภาวดี ลีม้ ่ิงสวัสด์แิ ละจินตนา ไมเ จรญิ . (2547). หนงั สอื เรยี นสาระการเรยี นรูพื้นฐาน กลุมสาระ
การเรยี นรูสุขศกึ ษาและพลศกึ ษา สขุ ศกึ ษา. กรุงเทพฯ : บรษิ ัทสํานักพมิ พแมค็ จาํ กดั

วีณา เลศิ วไิ ลกุลนท.ี (2551). หมวดวชิ าพฒั นาทกั ษะชีวติ ระดับประถมศกึ ษา
กรงุ เทพฯ : บริษัทนวตสาร จาํ กดั

วฒุ ิชยั อนนั คูและคณะ. (2548). หมวดวิชาพฒั นาทกั ษะชีวติ ระดบั ประถมศกึ ษา กรุงเทพฯ :
บรษิ ทั สาํ นกั พมิ พบรรณกิจ 1991 จํากดั

สวุ ัฒน แกว สงั ขทอง. (2547). หมวดวิชาพฒั นาทกั ษะชวี ิต ระดับประถมศึกษา นนทบุรี :
บรษิ ัทปยมิตร มัลติมเี ดยี จาํ กัด

การศึกษาทางไกล,สถาบัน.(2551) ชดุ การเรียนทางไกล หมวดวชิ าพฒั นาทกั ษะชีวิต 1 ระดบั
มัธยมศึกษาตอนตน กรุงเทพฯ : โรงพิมพ สกสค.ลาดพราว

โรดตดิ ตอ http://www.siamhealth.net วนั ที่ 9 กนั ยายน 2552
รศ.นพ.สุรเกยี รติ อาชานานภุ าพ (2544) คมู อื หมอชาวบา น สํานักพมิ พหมอชาวบาน กรุงเทพฯ
นิภา แกว ศรีงาม “ความคดิ ริเรม่ิ สรา งสรรค (Creative Thinking)”

http://www.geocities.com/phichitnfc/KN2.htm วันที่ 14 กนั ยายน 2552
การคดิ อยางมีวิจารญาณ : Critical Thinking http://www.swuaa.com/webnew/ วนั ที่ 14 กันยายน 2552
การตัดสนิ ใจ http://www.radompon.com/resourcecenter/?q=node/41 วันท่ี 14 กันยายน 2552
กระบวนการแกปญ หา (problem solving process) http://toeyswu.multiply.com/journal/item/6

วนั ท่ี 14 กนั ยายน 2552
นพ. สุริยเดว ทรปี าต.ี “พัฒนาการและการปรบั ตวั ในวยั รุน ”

http://www.dekplus.org/update/index.html
เยาวเรศ นาคแจง . “ขนั้ ตอนการระงับกลน่ิ กาย.” ใกลห มอ ปท ่ี 26 ฉบับท่ี 12 (ธ.ค. 2545 -ม.ค.

2546) : 92-93
www.teenpath.net
siriraj e public library ภาควิชาจติ เวชศาสตร คณะแพทยศาสตรศ ริ ิราชพยาบาล
คมู ือคุยเปด ใจ รกั ปลอดภยั เพือ่ การสื่อสารเร่ืองเพศอยา งสรางสรรคร ะหวางพอ แมแ ละบุตรหลานใน
ครอบครัว โดย โครงการคยุ เปด ใจ รักปลอดภัย

140

วันทนีย วาสิกะสนิ และคณะ. ๒๕๓๗. ความรูท่ัวไปเกี่ยวกบั เพศศกึ ษา. กรุงเทพฯ:
สํานักพมิ พม หาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร, หนา ๕๗–๗๔

โครงการปองกันเอดสบางซื่อ มลู นิธิศภุ นิมิตแหงประเทศไทย. ๒๕๓๙. จดุ ประกาย BAPP.
กรงุ เทพฯ: ศนู ยการพิมพอ าคเนย, หนา ๕๗-๗๐.

รา งกายมนษุ ย สง่ิ มีชวี ติ มหศั จรรย. กรงุ เทพฯ: สํานกั พมิ พธ งสฟี า. มปพ.
วราวุธ สุมาวงศ. เกรด็ จากลวมยาชดุ คลนิ ิกผหู ญงิ . กรุงเทพฯ: สาํ นักพิมพพ มิ พทอง, มปพ.
ใครวา ..การตรวจสอบการต้ังครรภไมสาํ คญั . ฟารมานิวส. ปท ่ี ๒ ฉ.๔, ๒๕๔๑. หนา ๔.
The New Our Bodies, Ourselves: A Book by and for Women. The Boston Women’s Health

Book Collective, New York: A Touchstone Book, 1992.
The Good Housekeeping. The Good Housekeeping illustrated Guide to Women's Health.

Kathryn Cox, Editor. New York: Hearst Books, 1995.
Grace Chin. Menstrual Myths and Taboos. The Star vol. 4, No. 12 : 4, December 1997.
นวพล ใจดี : คมู ืออบรมเชงิ ปฏิบัติการ เทคนิคการนวดไทยแบบเชลยศักดิ์ ,2553. สํานักพิมพ ฮับเฮลท
เมดิซนิ . กรงุ เทพมหานคร
ปรยี านชุ วงษต าแพง : อบ อบ นวด, 2553, สาํ นกั พมิ พ ธิงค กดู . กรุงเทพมหานคร
นวดแผนไทย http : //www.xn--13 cgebo 2b 4a 7q3a.com/
ธุรกจิ นวดแผนไทย http : //www.prathyecity.com/N_panThai.doc
ธรุ กิจนวดแผนไทย http : //www.women.sanook.com/800197/
ธรุ กจิ นวดแผนไทย http : //www.library.dip.go.th/multim/edoc/09490.pdf

141

ท่ปี รึกษา บญุ เรอื ง คณะผจู ัดทํา
1. นายประเสริฐ อม่ิ สุวรรณ
2. ดร.ชยั ยศ จาํ ป เลขาธิการ กศน.
3. นายวชั รนิ ทร แกว ไทรฮะ รองเลขาธกิ าร กศน.
4. ดร.ทองอยู ตัณฑวฑุ โฒ รองเลขาธิการ กศน.
5. นางรักขณา ท่ีปรึกษาดานการพัฒนาหลกั สูตร กศน.
ผอู าํ นวยการกลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

ผูเขยี นและเรยี บเรียง สถาบนั กศน. ภาคใต
1. นายมณเฑยี ร ละงู

ผบู รรณาธิการ และพัฒนาปรับปรุง
1. นางนวลพรรณ ศาสตรเวช หนว ยศกึ ษานิเทศก
2. นางสุปรารถนา ยุกตะนนั ทน โรงเรียนบดนิ ทรเดชา ( สิงห สงิ หเสนีย )
3. นางกนกพรรณ สวุ รรณพทิ กั ษ กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
4. นางสาวเยาวรัตน คําตรง กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
องคก ารแพธ (PATH)
5. นางสาวภาวนา เหวียนระวี องคการแพธ (PATH)
ขา ราชการบํานาญ
6. นางสาวกษมา สตั ยาหรุ ักษ ขาราชการบาํ นาญ
ขาราชการบํานาญ
7. นางสาวสรุ ีพร เจรญิ นิช ขา ราชการบํานาญ
8. นางธัญญวดี เหลาพาณชิ ย สาํ นักงาน กศน เขตบางเชน
9. นางเอื้อจติ ร สมจติ ตช อบ
10. นางสาวชนติ า จติ ตธรรม
11. นางสาวอนงค เชอ้ื นนท

คณะทาํ งาน มั่นมะโน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
1. นายสุรพงษ กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
2. นายศุภโชค ศรรี ตั นศลิ ป กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
3. นางสาววรรณพร ปทมานนท กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
4. นางสาวศรญิ ญา กุลประดษิ ฐ กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
5. นางสาวเพชรนิ ทร เหลอื งจติ วัฒนา

142

ผูพิมพตน ฉบบั คะเนสม กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
1. นางสาวปย วดี เหลอื งจิตวฒั นา กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
2. นางสาวเพชรินทร กววี งษพพิ ฒั น กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
3. นางสาวกรวรรณ ธรรมธษิ า กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
4. นางสาวชาลินี บา นชี กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
5. นางสาวอลิศรา ศรีรัตนศลิ ป กลุม พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น

ผูอ อกแบบปก
นายศุภโชค


Click to View FlipBook Version