The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by รอฮานี มีซา ศว.ยะลา, 2021-12-22 22:39:02

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 2564

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 2564

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
Self-Assessment Report : SAR
ประจำปีงบประมาณ 2564

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา

สำ นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ศึ ก ษ า น อ ก ร ะ บ บ แ ล ะ ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม อั ธ ย า ศั ย
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
Self-Assessment Report : SAR
ประจำปีงบประมาณ 2564

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา

สำ นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ศึ ก ษ า น อ ก ร ะ บ บ แ ล ะ ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม อั ธ ย า ศั ย
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545
และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา 47 ที่กำหนด
ให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบ
กับในมาตรา 48 กำหนดให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษา จัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษาและให้ถือว่า การประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา
ที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงาน
ทีเ่ กย่ี วข้องและเปดิ เผยตอ่ สาธารณชน เพอ่ื นำไปการพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาต่อไป

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา เป็นสถานศึกษาขึ้นตรง สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีภารกิจในการส่งเสริม สนับสนุนและจัดกิจกรรมการศึกษา
ตามอัธยาศัย ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดทำรายงานการประเมินตนเอง
ของสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564 ขึ้นตามมาตรฐานและประเด็นการพิจารณาของสำนักงาน
ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จำนวน 3 มาตรฐาน 14 ประเด็นการพิจารณา
ภายใต้กระบวนการบริหาร งานอย่างมีคุณภาพหรือวงจร PDCA สาระสำคัญของรายงานการประเมิน
ตนเองฉบับนี้มุ่งเน้นเพื่อให้ได้ข้อมูลสารสนเทศ อันจะนำไปสู่การปรับปรุงและพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์
เพอ่ื การศกึ ษายะลาให้เปน็ องค์กรทม่ี ีคุณภาพท่ดี ีย่งิ ข้ึนต่อไป

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา ขอขอบพระคุณคณะกรรมการสถานศึกษา บุคลากร
ผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนที่ให้ความร่วมมือ มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อเป็นข้อมูล
ในการจัดทำรายงานการประเมินตนเองในครั้งนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์
แกผ่ ูส้ นใจต่อไป

ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพ่อื การศึกษายะลา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ประจำปงี บประมาณ 2564 ก

สารบญั หนา้

คำนำ ก
สารบญั ข
บทสรปุ สำหรับผู้บริหาร ช
บทท่ี 1 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศกึ ษา
1
สภาพทั่วไปของสถานศกึ ษา 1
ประวัตคิ วามเป็นมา 2
ประวตั ศิ ูนยว์ ิทยาศาสตร์เพ่ือการศกึ ษายะลา 3
วัตถปุ ระสงค์การจดั ตัง้ 4
ตราสัญลักษณ์ สญั ลักษณ์ และรูปแบบสญั ลักษณ์ 5
มีหน้าทค่ี วามรับผิดชอบ 5
พ้ืนท่ใี หบ้ ริการ 6
ลักษณะภมู ปิ ระเทศจังหวัดยะลา 7
การปกครอง 8
ข้อมลู จำนวนสถานศึกษา 9
ประเพณีวัฒนธรรม 10
ลกั ษณะภูมปิ ระเทศจงั หวัดสงขลา 11
การปกครอง 12
ลักษณะภูมิประเทศจังหวัดสตูล 12
การปกครอง 13
ทำเนียบผู้บริหารสถานศึกษา 14
คณะกรรมการสถานศึกษา 15
โครงสร้างการบรหิ ารของสถานศกึ ษา 16
จำนวนผูร้ ับบรกิ าร 18
การจัดการเรียนรใู้ นสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2021 19
กิจกรรมท่ีใหบ้ ริการ 23
บุคลากร

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ประจำปงี บประมาณ 2564 ข

งบประมาณที่ไดร้ บั จดั สรร 26
สง่ิ อำนวยความสะดวก 28
หนว่ ยงานรว่ มจัด 29
ภาคีเครือข่าย 31
ภูมิปญั ญา 45
รางวลั เกยี รตบิ ัตร การเชิดชูเกียรตทิ ่ีสถานศกึ ษาไดร้ ับ 47
ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษาทผ่ี า่ นมา 48
บทท่ี 2 ทศิ ทางและผลการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา
ทศิ ทางการดำเนินงานของสถานศึกษา 50
เป้าประสงค์และตวั ช้วี ัดความสำเร็จ 51
ยทุ ธศาสตร์ในการดำเนินงาน 52
โครงการ/กจิ กรรม 53
บทท่ี 3 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
ผลการประเมนิ คุณภาพการจัดการศึกษาตามอธั ยาศยั 58
(มาตรฐานท่ี 1-2)
ผลการประเมนิ คณุ ภาพการบริหารจัดการของสถานศกึ ษา 70
(มาตรฐานที่ 3)
บทท่ี 4 สรปุ ผลการประเมินตนเอง และแนวทางการพัฒนาคณุ ภาพของสถานศกึ ษา 73
มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย 76
แนวทางการพัฒนา
ภาคผนวก 78
ประกาศใช้มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาเพอื่ การประกัน 84
คุณภาพภายในของสถานศึกษา
คำสง่ั แตง่ ต้ังคณะทำงานจัดทำระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา 87
คำส่งั แตง่ ตัง้ คณะกรรมการรับผิดชอบรายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 89
(SAR) ด้วยระบบออนไลน์
คำสงั่ แต่งต้ังคณะกรรมการตรวจสอบการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา 91
กฎกระทรวง กำหนดระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายในสำหรบั 95
สถานศกึ ษาที่จัดการศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2555
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ประจำปงี บประมาณ 2564 ค

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษา 98
ตามอธั ยาศัย พ.ศ. 2562 100
เกณฑ์การเทยี บคะแนนกับระดับคุณภาพ
บรรณานกุ รม
คณะผจู้ ัดทำ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564 ง

สารบญั รูปภาพ หน้า

รูปภาพท่ี 1 ตราสญั ลักษณ์ 4
รปู ภาพที่ 2 สัญลักษณ์ 4
รปู ภาพท่ี 3 รปู แบบสัญลักษณ์ 4
รูปภาพที่ 4 แผนที่จังหวัด 5
รูปภาพที่ 5 โครงสรา้ งสถานศึกษา 15
รูปภาพที่ 6 แผนภูมเิ ปรยี บเทียบเปา้ หมายกบั จำนวนผู้รับบริการ
จำแนกตามกจิ กรรม ปงี บประมาณ 2564 16
รูปภาพที่ 7 การเรยี นรผู้ ่านนิทรรศการ 19
รูปภาพที่ 8 ค่ายวทิ ยาศาสตร์ 20
รูปภาพที่ 9 กิจกรรมการศกึ ษา 21
รปู ภาพท่ี 10 บรกิ ารวชิ าการ 22
รปู ภาพที่ 11 ปรชั ญา 50

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564 จ

สารบัญตาราง

หนา้

ตารางท่ี 1 รายละเอียดประวัตศิ นู ยว์ ิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษายะลา 3
ตารางท่ี 2 การปกครองจังหวัดยะลา 7
ตารางที่ 3 ข้อมลู จำนวนสถานศึกษา 8
ตารางที่ 4 จำนวนอำเภอและประชากรในเขตพน้ื ที่บริการ 8
ตารางท่ี 5 การปกครองจังหวัดสงขลา 11
ตารางท่ี 6 การปกครองจงั หวัดสตูล 12
ตารางที่ 7 ข้อมลู ทำเนยี บผ้บู ริหารสถานศึกษา 13
ตารางท่ี 8 ข้อมูลคณะกรรมการสถานศกึ ษา 14
ตารางที่ 9 จำนวนผรู้ บั บริการ 16
ตารางท่ี 10 บคุ ลากรศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการศึกษายะลา 23
ตารางท่ี 11 รายละเอยี ดงบประมาณท่ีไดร้ ับจัดสรรประจำปงี บประมาณ 2564
แผนงาน : พื้นฐานด้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากร ผลผลิตที่ 5 26
ผ้รู บั บริการการศกึ ษาตามอัธยาศัย
ตารางที่ 12 รายละเอียดงบประมาณที่ไดร้ บั จัดสรรประจำปีงบประมาณ 2564 27
แผนงาน : พน้ื ฐานดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากร ผลผลิตท่ี 5
ผู้รบั บรกิ ารการศกึ ษาตามอัธยาศยั (ตอ่ ) 28
ตารางที่ 13 ข้อมลู อาคาร สถานที่ อำนวยความสะดวก 28
ในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 29
ตารางที่ 14 ข้อมูลยานพาหนะของศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพ่ือการศึกษายะลา 31
ตารางที่ 15 หน่วยงานร่วมจดั 45
ตารางที่ 16 ภาคเี ครือขา่ ย 48
ตารางท่ี 17 ภูมิปญั ญา 51
ตารางท่ี 18 ผลการประเมินคุณภาพของสถานศกึ ษาทผี่ ่านมา 52
ตารางที่ 19 เปา้ ประสงค์และตวั ชว้ี ัดความสำเร็จ
ตารางที่ 20 รายละเอียดยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์การดำเนินงาน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564 ฉ

ตารางท่ี 21 รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม และงบประมาณจดั สรร แผนงาน 53
พ้ืนฐานด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพภาพทรัพยากรมนษุ ยฯ์ 56
ตารางท่ี 22 รายละเอยี ดการดำเนนิ งานโครงการ/กจิ กรรม
และงบประมาณจัดสรรเงินนอกงบประมาณ 58
ตารางท่ี 23 ผลการประเมินคุณภาพการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 70
(เฉพาะมาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผรู้ บั บรกิ ารการศกึ ษาตามอัธยาศัย 72
และมาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอธั ยาศัย 75
ตารางท่ี 24 ผลการประเมินคุณภาพการจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั
(มาตรฐานที่ 3 การบริหารจัดการของสถานศกึ ษา)
ตารางท่ี 25 สรปุ ผลการประเมินตนเองในภาพรวมของสถานศกึ ษา
ตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
ตารางที่ 26 แนวทางการพฒั นา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ประจำปงี บประมาณ 2564 ช

บทสรุปสำหรบั ผูบ้ ริหาร

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา ตั้งอยู่เลขที่ 1/29 ถนนอาคารสงเคราะห์ ตำบลสะเตง
อำเภอเมือง จังหวัดยะลา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ มีการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย

คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา ได้ดำเนินการประเมินคุณภาพการศึกษา
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ในวันท่ี 9 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ซึ่งจากการประเมินคุณภาพ
ภายในสถานศกึ ษา สามารถสรุปได้ ดงั น้ี

สถานศึกษามีผลการประเมินตนเองในภาพรวม อยู่ในระดับ ดีเลิศ มีคะแนนรวมเท่ากับ 78.91
คะแนน และเมื่อพิจารณาผลการประเมินตนเองตามประเภทการจัดการศึกษาของสถานศึกษา พบว่า
มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย สถานศึกษามีผลการประเมินตนเอง อยู่ในระดับ ดีเลิศ มีคะแนนรวม
เทา่ กบั 78.91 คะแนน

ทั้งนี้ จากการสรุปผลการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
โดยภาพรวมของสถานศึกษา จึงได้มีการกำหนดแนวทางเพื่อรักษาคุณภาพหรือพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ที่สถานศกึ ษาคาดวา่ จะนำไปดำเนนิ การในปงี บประมาณถดั ไป ดังนี้

1. สถานศึกษาควรมีการจัดนิทรรศการที่หลากหลาย ทั้งนิทรรศการเคลื่อนที่ นิทรรศการถาวรร
และนิทรรศการชั่วคราว ในรูปแบบ Online และ On-site เพื่อให้ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายของ
ผ้รู ับบรกิ าร

2. สถานศึกษาควรมีการจัดค่ายวิทยาศาสตร์ และมีการกำหนดกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสม
กับขอ้ จำกัดในสถานการณ์โรคระบาดเชอ้ื ไวรสั โคโรน่า (โควิด – 19) เพื่อใหไ้ ดก้ ลมุ่ เป้าหมายทีว่ างไว้

3. สถานศึกษาควรมีการประชาสัมพันธ์เชิงรุก เพื่อให้ได้กลุ่มเป้าหมายอย่างทั่วถึงในพื้นที่
ที่ให้บริการ ได้แก่ จังหวัดยะลา สงขลา และสตูล ทั้งนักเรียน นักศึกษา ครูในระบบ ครู กศน.
และประชาชนทว่ั ไป

4. สถานศึกษาควรมีการส่งเสริม สนับสนุน สร้างความสัมพันธ์ ระหว่างสถานศึกษากับภาคี
เครอื ข่ายให้ครอบคลมุ พืน้ ทท่ี ่ีบริการให้มากย่ิงขึน้

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564 ซ

คณะกรรมการการประเมินตนเองของสถานศึกษา หวังเป็นอย่างยิ่งว่า สถานศึกษาจะนำผล
การประเมินจากรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาไปใช้เป็นข้อมูลในการกำหนดแนวทาง
การพฒั นาคุณภาพการศึกษาตอ่ ไป

ลงชอื่
(นายณฐั ภมู นิ ทร์ สังข์พงศ์)

ประธานกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา
วนั ที่ 9 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2564

ทงั้ นี้ คณะกรรมการสถานศึกษาไดร้ ับทราบผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเป็นท่ีเรียบร้อย
แล้ว และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า สถานศึกษาจะนำผลการประเมินจากรายงานการประเมินตนเอง
ของสถานศกึ ษาไปใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลในการกำหนดแนวทางการพฒั นาคุณภาพการศึกษาต่อไป

ลงช่ือ
(นายพงษศ์ ักดิ์ ย่ิงชนมเ์ จรญิ )
ประธานกรรมการสถานศึกษา

วันที่ 9 เดือนธนั วาคม พ.ศ. 2564

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ประจำปงี บประมาณ 2564 ฌ

บทท่ี 1
ข้อมูลพ้นื ฐานของสถานศึกษา

ชอ่ื สถานศกึ ษา ศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พ่อื การศกึ ษายะลา
ที่อยู่ เลขที่ 1/29 ถนน อาคารสงเคราะห์ ตำบลสะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา รหัสไปรษณีย์ 95000
โทรศัพท์ 073-214920 , 073-215292 โทรสาร 073-216755 E-mail [email protected]
Website : http://sites.google.com/dei.ac.th/yalascience
Facebook : เพจศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พอื่ การศึกษายะลา
สังกัด สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวง
ศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง จัดตั้งศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา เมื่อวันท่ี
16 สิงหาคม พ.ศ. 2537 คณะรัฐมนตรีอนุมัตโิ ครงการ “ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศกึ ษาและเครือขา่ ย”
โดยจัดต้ัง ศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษารงั สิต ทจ่ี งั หวดั ปทุมธานี และศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา
จงั หวดั ข้ึนในเขตการศกึ ษา รวม 12 เขตการศึกษา

ปัจจุบันศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษามีทั้งหมด 20 แห่ง ซึ่งสถานภาพเป็นหน่วยงาน
จำนวน 1 แหง่ คอื ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พ่ือการศกึ ษา และศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพื่อการศึกษาท่มี สี ถานภาพภาพ
เปน็ สถานศกึ ษา จำนวน 19 แหง่ กระจายตามภมู ิภาคทั่วประเทศ ดงั น้ี

1. ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการศึกษารังสิต
2. อุทยานวทิ ยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หวา้ กอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
3. ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษากาญจนบุรี
4. ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พ่ือการศึกษาขอนแก่น
5. ศนู ย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาตรงั
6. ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พ่ือการศึกษานครราชสีมา
7. ศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษานครสวรรค์
8. ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครศรีธรรมราช

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ประจำปงี บประมาณ 2564 1

9. ศนู ย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา
10. ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษายะลา
11. ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพือ่ การศกึ ษาลำปาง
12. ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พอื่ การศกึ ษาสมุทรสาคร
13. ศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษาสระแก้ว
14. ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื การศกึ ษาอบุ ลราชธานี
15. ศูนยว์ ิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมเพือ่ การศึกษาร้อยเอ็ด
16. ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษาพษิ ณโุ ลก
17. ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษานครพนม
18. ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษานราธวิ าส
19. ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษาปัตตานี

ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพือ่ การศึกษายะลา เป็นสถานศกึ ษาข้ึนตรงในสังกัดสำนักงานส่งเสรมิ การศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ จดั ตั้งขึ้น
ตาม มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2537 ในส่วนการดำเนินงานเกี่ยวกับศูนย์วิทยาศาสตร์
เพื่อการศึกษา และเครือข่ายให้จัดตั้งศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาจังหวัดในทุกเขตการศึกษา
เขตการศึกษาละ 1 แห่ง ซึ่งในวันที่ 16 มีนาคม 2538 กระทรวงศึกษาธิการได้พิจารณาเห็นว่า
จังหวัดยะลา เป็นจังหวัดที่มีความพร้อม ในการจัดตั้งศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาจังหวัด จึงให้จัดต้ัง
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาจังงหวัดยะลา โดยเรียกชื่อว่า “ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาจังหวัด
ยะลา” ซึ่งประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ณ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2538 โดยนายสุขวชิ รุ้งสิตพล รัฐมนตรี
กระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบัน ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา เรียกโดยย่อว่า “ศว. ยะลา”
ตงั้ อย่บู รเิ วณพ้ืนที่รว่ มกับ สำนักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย จังหวัดยะลา
ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมือง และสำนักงานส่งเสริมสวัสดิการ
และสวสั ดภิ าพครแู ละบุคลากรทางการศึกษาจงั หวดั ยะลา รายละเอียดดังน้ี

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ประจำปงี บประมาณ 2564 2

ตารางท่ี 1 รายละเอยี ดประวัตศิ นู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษายะลา

วนั เดือน ปี รายละเอยี ด

8 พฤศจกิ ายน 2538 จดั ตั้งศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การศกึ ษาจงั หวดั ยะลา เป็นสถานศกึ ษา

อยู่ในความดูแลของศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดยะลา ตั้งอยู่ เลขที่ 1/29

ถนนอาคารสงเคราะห์ ตำบลสะเตง อำเภอเมอื ง จังหวัดยะลา 95000

10 ตุลาคม 2539 ดำเนินการกอ่ สร้างในวงเงนิ งบประมาณก่อสร้าง 5,000,000 บาท

(เงินห้าล้านบาทถ้วน)

10 มิถนุ ายน 2540 เปิดใหบ้ รกิ ารกลมุ่ เปา้ หมาย

14 กรกฎาคม 2543 เปิดอย่างเป็นทางการ โดยมี นางสาวกัญจนา ศิลปะอาชา รัฐมนตรีช่วยว่าการ

กระทรวงศึกษาธกิ ารเป็นประธานในพิธเี ปดิ

10 มนี าคม 2551 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา

กำหนดให้ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา รับผิดชอบพื้นที่บริการ 4 จังหวดั

คอื นราธวิ าส ปตั ตานี สตลู และยะลา

9 สิงหาคม 2556 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่อื ง แก้ไขพื้นท่ีรบั ผิดชอบของศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือ

การศึกษา กำหนดให้ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา รับผิดชอบพื้นที่บริการ

3 จงั หวดั คือ สตลู สงขลา และยะลา

1. เพื่อเป็นการขยายโอกาสทางการศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
จากส่วนกลางไปสู่ส่วนภูมิภาค สำหรับกลุ่มเป้าหมาย ทั้งในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียน
ตลอดจน เยาวชนและประชาชนท่ัวไป

2. เพื่อเป็นแหล่งวิทยาการเพื่อการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
โดยผ่าน การจัดกิจกรรมการศึกษาหลากหลายรูปแบบ เช่น ฐานการเรียนรู้ ห้องเรียนวิทยาศาสตร์
ค่ายวิทยาศาสตร์ นิทรรศการเคลื่อนที่การแสดงทางวิทยาศาสตร์ (Science Show) การพัฒนาบุคลากร
ด้านวิทยาศาสตร์ การประกวดสิ่งประดษิ ฐ์ทางวิทยาศาสตร์ การประชมุ สมั มนาทางวชิ าการ เปน็ ตน้

3. เพอ่ื ส่งเสริมให้ผูร้ บั บรกิ ารมคี วามรทู้ างวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและส่ิงแวดล้อม อยา่ งกว้างขวาง
มีความสนใจและติดตามวิทยาการใหม่ ๆ ทางวิทยาศาสตร์ มีจิตวิทยาศาสตร์หรือมีเจตคติที่ดี
ตอ่ วทิ ยาศาสตร์ ตลอดจนสามารถนำความร้ทู างวทิ ยาศาสตรม์ าใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวัน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ประจำปงี บประมาณ 2564 3

ตราสญั ลักษณ์ (Emblem)

รปู ท่ี 1 ตราสัญลกั ษณ์ เปน็ รูปวงกลม 2 ช้ัน มีเสน้ รอบวง สนี ้ำเงิน ภายในวงกลมวงในมีตราเสมาธรรมจักร
สีเขียว ต้งั อยบู่ นเครอื่ งหมาย (Infinity) ล้อมรอบตัวชอื่ สำนกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยอยู่ด้านบน สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ อยู่ด้านล่างตัวอักษร
สีน้ำเงิน คั่นด้วยรูปดอกประจำยาม สีเดียวกัน และรองรับด้วยรูป รวงข้าว สีเหลืองทอง และ
ภายในวงกลมนอกมีชื่อศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา อยู่ด้านบนคั่นด้วยดอกประจำยาม
2 ดอก มคี ำว่า ส่วนกลาง อยูด่ ้านล่าง
ตราเครื่องหมายนี้แสดงถึง “การส่งเสริมให้ประชาชนได้เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิต
เพอื่ ความผาสุกของประชาชน”
ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพอื่ การศกึ ษายะลา เปน็ สถานศกึ ษาข้ึนตรงในสังกดั สำนกั งานส่งเสริม
การศกึ ษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั (สว่ นกลาง)

สัญลกั ษณ์ (Logo)

รูปที่ 2 สญั ลกั ษณ์ สัญลักษณ์ (Logo) ได้แนวคิดมาจากสูตรเคมี หมายถึง วิทยาศาสตร์ทั้ง 3 แขนง คือ
สีแดง แทน ฟิสิกส์ สีเหลือง แทนเคมี สีเขียว แทนชีววิทยา หรืออีกนัยหนึ่งมี ความหมายว่า
“รังผึ้ง” คือความเป็นองค์กรที่มีความสามัคคีและพร้อมที่จะพัฒนา องค์กรเพื่อให้เกิดประโยชน์
ต่อสังคม แกนกลางเป็นรูปอะตอมแทนความเป็น วิทยาศาสตร์ทุกแขนง และมีลูกอะตอมสีดำ
แทนความเขม้ ขน้ ของอะตอมน้นั

รปู แบบสัญลักษณ์ (Mascot)

รูปที่ 3 รปู แบบสัญลกั ษณ์ “เจ้าหนูถามจัง” เกิดจากการให้ความสำคัญกับการสร้างระบบ ความคิด เกิดจากการ
ประดิษฐ์คดิ ค้นโดยวทิ ยาศาสตร์ มลี กั ษณะคล้าย มนุษย์ เขาเปน็ เด็กชา่ งสงสัย รู้จักสังเกต มคี วาม
อยากรู้อยากเห็น และต้องการค้นหาคำตอบอยู่ตลอดเวลาเจ้าหนูถามจังเสมือนเป็นทูตแห่ง
วทิ ยาศาสตรท์ จี่ ะนำพาทกุ คนไปรู้จกั โลกของวิทยาศาสตร์

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564 4

ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศ ณ วันที่ 10 มีนาคม 2551 ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125 ตอนพิเศษ 60 ง หน้า 5 ข้อ 6
ลงวันที่ 25 มีนาคม 2551 กำหนดให้ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา เรียกโดยย่อว่า ศว. มีอำนาจและ
หน้าที่ ดังต่อไปนี้

1. จัดและบริการการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอ้ ม แก่นักเรียน นักศึกษา
ทั้งใน และนอกระบบโรงเรยี น และประชาชนในพื้นทีท่ ่ีรบั ผดิ ชอบ

2. ศึกษา ค้นคว้า วิจัย และพัฒนารูปแบบกิจกรรม หลักสูตร สื่อและกระบวนการเรียนรู้
ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิง่ แวดล้อม อาทิ ธรรมชาตวิ ทิ ยา เทคโนโลยีที่เหมาะสม ดาราศาสตร์

3. เผยแพร่และบริการรูปแบบกิจกรรม หลักสูตร สื่อ และกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสง่ิ แวดล้อม

4. พัฒนาครู อาจารย์ วิทยากร และบุคลากรทางการศึกษา ผู้รับผิดชอบการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม

5. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานร่วมกับภาคีเครือข่าย ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และส่งิ แวดลอ้ ม

6. ปฏิบัติงานอนื่ ๆ ตามที่ไดร้ ับมอบหมาย

ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง แก้ไขพื้นที่รับผิดชอบ ของศูนย์วิทยาศาสตร์
เพื่อการศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 9 สิงหาคม 2556 ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 130 ตอนพิเศษ 113 ง
หน้า 19 ข้อ 11 ลงวันที่ 5 กันยายน 2556 กำหนดให้ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา รับผิดชอบ
พื้นที่บริการ 3 จังหวัด คือ สตูล สงขลา และยะลา ให้บริการการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และสง่ิ แวดลอ้ มให้แก่ นักเรียน นักศกึ ษาทัง้ ในและนอกระบบโรงเรยี น และประชาชนในพื้นท่ีทรี่ บั ผิดชอบ

รูปท่ี 4 แผนทจ่ี ังหวดั
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564 5

ลักษณะภูมิประเทศ
ภูมิประเทศโดยทั่วไปของจังหวัดยะลา มีลักษณะเป็นภูเขา เนินเขาและหุบเขา ตั้งแต่ตอนกลาง
จนถึงใต้สุดของจังหวัด มีที่ราบบางส่วนทางตอนเหนือของจังหวัด ได้แก่ บริเวณที่ราบแม่น้ำปัตตานี
และแม่น้ำ สายบุรีไหลผ่าน อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลปานกลางถึงสูงมาก โดยเฉลี่ยระห ว่าง 100 - 200
เมตร พื้นที่ส่วนใหญ่ ปกคลุมด้วยป่าดงดิบ และสวนยางพารา มีเทือกเขาที่สำคัญอยู่ 2 เทือกเขา คือ
เทือกเขาสันกาลาคีรี เริ่มจากอำเภอเบตง เป็นแนวยาวกั้นพรมแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศ
มาเลเซียและเทือกเขาปิโล ซึ่งเป็นเทือกเขา อยู่ภายในจังหวัด ในเขตตำบลบุดี บันนังสาเรง
ของอำเภอเมืองยะลา กิ่งอำเภอกรงปินัง และอำเภอรามัน
จังหวัดยะลา มีแม่น้ำที่สำคัญ คือ แม่น้ำปัตตานี ต้นน้ำเกิดจากภูเขาในท้องที่อำเภอเบตง
ไหลผ่านอำเภอธารโต อำเภอบันนังสตา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา อำเภอยะรัง อำเภอหนองจิก
จงั หวัดปัตตานี และไหลลงสู่ทะเลที่อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปตั ตานี ความยาวประมาณ 210 กิโลเมตร
บริเวณที่แม่น้ำปัตตานีไหลผ่านเขตอำเภอเบตง อำเภอธารโตและอำเภอบันนังสตาเป็นพื้นท่ีระหว่างภูเขา
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย จึงได้ก่อสร้างเขื่อนบางลางขึ้น ที่ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา
เป็นเขื่อนไฟฟ้าพลังงานอีกแห่งหนึ่งของภาคใต้ ติดตั้งเคร่ืองกำเนิดไฟฟ้า 3 เครื่อง มีกำลังผลิตรวม
72,000 กิโลวตั ต์
แม่น้ำอีกสายหนึ่งที่ไหลผ่านจังหวัดยะลา คือ แม่น้ำสายบุรี ต้นกำเนิดจากภูเขาสันกาลาคีรี
ซึ่งกั้นเขตแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศมาเลเซีย ไหลผ่านอำเภอแว้ง อำเภอรือเสาะ
จังหวัดนราธิวาส ผ่านอำเภอรามัน จังหวัดยะลา แล้วไหลลงสู่ทะเลที่อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
ความยาวประมาณ 150 กโิ ลเมตร
ภูเขาที่สำคัญ ของจังหวัดยะลา คือ ภูเขาสันกาลาคีรี ซึ่งเริ่มต้นจากเขตอำเภอโคกโพธิ์
จังหวัดปัตตานี ผ่านอำเภอยะหา อำเภอบันนังสตา อำเภอธารโต และอำเภอเบตง เป็นสันเขาที่แบ่งเขต
แดนระหว่างประเทศไทยกันประเทศมาเลเซีย และเป็นต้นน้ำที่สำคัญ คือ แม่น้ำสายบุรี อีกภูเขาหนึ่ง คือ
ภูเขาปิโล อยู่ระหว่างตำบลบุดี ตำบลบันนังสาเรง อำเภอเมืองยะลา และตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง
เป็นเทือกเขา ยาวเหยียดติดต่อกับเขตอำเภอรามันและอำเภอบันนังสตา นอกจากนั้นยังมีภูเขาปรินยอ
ซงึ่ อยูร่ ะหวา่ งเขตอำเภอรามัน และอำเภอบนั นังสตา
จากสภาพภมู ิประเทศที่อุดมไปด้วยภเู ขา ทำให้จังหวดั ยะลามฝี นตกเกือบตลอดท้ังปี ทำให้อากาศ
ชมุ่ ชนื้ อากาศอบอนุ่ ในตอนกลางวันและเยน็ สบายในเวลากลางคนื

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ประจำปงี บประมาณ 2564 6

ลักษณะภมู ิอากาศ
จังหวัดยะลาตั้งอยู่ในเขตมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือและลมมรสมุ ตะวันตกเฉียงใต้ ทำให้มีสภาพ

อากาศแบบร้อนชื้น มี 2 ฤดู คือ ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - พฤษภาคม และฤดูฝนเริ่มตั้งแต่
พฤษภาคม - กุมภาพันธ์ อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ยประมาณ 23.1 องศาเซลเซียส และสูงสุด เฉลี่ย 32.7
องศาเซลเซียส ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 2,281.6 มิลลิเมตรต่อปี มีฝนตกเฉลี่ย 135 วันต่อปี เดือนตุลาคม -
พฤศจิกายน มฝี นตกชกุ ทสี่ ดุ

จังหวัดยะลา แบ่งเขตการปกครองตามลักษณะพื้นที่ออกเป็น 8 อำเภอ 58 ตำบล 379 หมู่บ้าน

แยกไดต้ ามตารางขา้ งล่าง

ตารางท่ี 2 การปกครองจังหวัดยะลา

ท่ี อำเภอ/กิ่งอำเภอ ตำบล เขตการปกครอง อบต. พ้ืนที่
หมูบ่ ้าน เทศบาล (ตร.กม.)

1. อำเภอเมืองยะลา 14 80 6 9 462.24

2. อำเภอรามัน 16 90 3 14 516.031

3. อำเภอบันนงั สตา 6 50 2 5 715

4. อำเภอกรงปินงั 4 23 - 4 185

5. อำเภอธารโต 4 37 1 4 675

6. อำเภอเบตง 5 32 2 3 1,328

7. อำเภอยะหา 7 49 2 7 499.9

8. อำเภอกาบัง 2 18 - 2 451

รวม 58 379 11 52 4,832.171

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปงี บประมาณ 2564 7

จำนวนสถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา จำแนกราย

จังหวดั

ตารางท่ี 3 ข้อมูลจำนวนสถานศกึ ษา

ประชากร จำนวนสถานศึกษา (แห่ง)
(คน)
จงั หวัด สพม. สพป. สช. กศน. สถาบัน ตชด. อาชีว อดุ ม รวม
ปอเนาะ ศกึ ษา ศึกษา
165
ยะลา 539,577 12 210 2,558 8 100 6 17 7 244
171
สตลู 324,216 12 167 40 7 9 2 5 2 580

สงขลา 1,428,803 41 462 160 16 72 10 24 12

รวม 2,292,596 65 839 2,758 31 181 18 46 21

ตารางจำนวนอำเภอและประชากรในเขตพื้นที่บริการของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา

จำแนกรายจังหวัด

ตารางท่ี 4 จำนวนอำเภอและประชากรในเขตพน้ื ท่ีบริการ

จงั หวัด จำนวนอำเภอ ชาย ประชากร (คน) รวม
หญิง

ยะลา 8 268,471 271,106 539,577

สงขลา 7 696,443 732,360 1,428,803

สตลู 16 161,360 162,856 324,216

รวม 31 1,126,274 1,166,322 2,292,596

ทมี่ า : สำนักบรหิ ารการทะเบียน กรมการปกครอง. (2564). สถติ จิ ำนวนประชากร. สืบค้น 21 เมษายน 2564,

จาก https://stat.bora.dopa.go.th

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปงี บประมาณ 2564 8

การแข่งขันนกเขาชวาอาเซียน ยะลาเป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่างที่นิยมเสียงของนกเขา
และยังเชื่อว่า นกเขาเป็นสัตว์มงคลที่จะนำโชคลาภมาให้แก่ผู้เป็นเจ้าของ โดยเฉพาะหากเป็นนกเขา
ทม่ี ลี ักษณะถูกต้องตามตำรา ด้วยเหตุนที้ างเทศบาลเมืองยะลาร่วมกับชมรมผู้เลย้ี งนกเขาชวาจังหวัดยะลา
จึงจัดให้มีการแข่งขันนกเขาชวาเสียงชิงแชมป์อาเซียน ครั้งที่ 1 ขึ้นในประเทศไทย เมื่อปี 2529 ต่อมา
ได้จัดเป็นงานเทศกาลประจำปีของจังหวัดยะลา ณ บริเวณสนามสวนขวัญเมือง กำหนดการจัดงาน
คือ วันเสาร์-อาทิตย์ แรกของเดือนมีนาคมทุกปี ผลปรากฏเป็นที่นิยมของผู้ที่เลี้ยงนกเขาจากทั่วภูมิภาค
ของประเทศไทยและประเทศในกลุ่มอาเซยี น เชน่ มาเลเซยี สงิ คโปร์ บรูไน และอินโดนีเซีย ในการแข่งขัน
ได้แบ่งระดับเสียง 3 ระดับ ได้แก่ ระดับเสียงเล็ก ระดับเสียงกลาง และระดับเสียงใหญ่ ปัจจุบันเทศบาล
นครยะลาร่วมกับชมรมนกเขาชวาเสียงจังหวัดยะลาและกลุ่มประเทศอาเซียนเป็นผู้จัดการแข่งขัน
นอกจากมีการแข่งขันนกเขาชวาเสียงแล้วยังมีกิจกรรมอื่น ๆ เช่น การชนโค ชนแกะ ชนไก่ ตกปลา
และจำหน่ายสินค้าผลติ ภัณฑ์ อปุ กรณ์การเลย้ี งนกเขาชวาทกุ ชนิด

งานสมโภชหลักเมืองยะลา เดิมจังหวัดยะลาเป็นอาณาเขตหนึ่งในบริเวณ 7 หัวเมือง
ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดปัตตานี เมื่อแยกออกเป็นเมืองหนึ่งต่างหากในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์
(ในรัชกาล ที่ 1 พ.ศ. 2333) มีเจ้าเมืองปกครองนับตั้งแต่แยกเป็นจังหวัดมาจนกระทั่งปัจจุบัน
(พ.ศ. 2505) รวม 31 คน

จากการดำริของ พ.ต.อ. (พิเศษ) ศิริ คชหิรัญ ครั้งดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
ร่วมใจกันก่อสร้างหลักเมืองข้ึนที่บริเวณศูนย์วงเวียน หน้าศาลากลางจงั หวัด โดยเริ่มวางศลิ าฤกษ์กอ่ สร้าง
เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2504 เวลา 10.30 น. โดยกรมป่าไม้เป็นผู้จัดหาไม้ชัยพฤกษ์ จากป่าเมือง
กาญจนบุรี

เสาหลักเมืองมีลักษณะเป็นแท่งกลม ต้นเสาวัดโดยรอบได้ 105 เซนติเมตร ปลายเสา
48 เซนติเมตร สูง 1.25 เมตร มีเทพารักษ์จากกาญจนบุรีมาประจำอยู่วางบนฐานกลมแกะสลักลวดลาย
แบบไทย ลงรักษ์ปดิ ทองรอบฐานช้ันบนและกลางแกะสลักเป็นรูปนักรบโบราณถือโล่และดาบ กล่าวกันว่า
เปน็ วญิ ญาณแม่ทพั คนหนึง่ ของพระเจ้าตากสินมหาราช

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลปัจจุบัน ทรงพระสุหร่ายและทรงเจิมยอดเสาหลักเมือง
และพระราชทานแก่ พ.ต.อ. (พิเศษ) ศิริ คชหิรัญ เมื่อวันศุกร์ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2505 และได้ฤกษ์
ประกอบพธิ ีฝงั เสาและปักยอดกลกั เมืองเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2505 เวลา 12.11 น.

ยอดเสาหลักเมืองแกะเป็นรูปพระพรหมมี 4 หน้า อันเป็นหลักแห่งความเมตตา กรุณา มุทิตา
และอุเบกขา ส่วนศาลหลักเมืองก่อสร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กตบแต่งด้วยหินขัดทั้งหลังเป็นรูปจัตุรมุข
หันหน้าไปตามทิศทัง้ 4 มีบันไดขึ้นทัง้ 4 ทิศ รูปลักษณ์ส่ีเหล่ียมย่อมุมไม้สอบสอง หลังคามุงด้วยกระเบื้อง

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปงี บประมาณ 2564 9

เคลือบสลับสี ตัวศาลากว้าง 6.00 เมตร สูง 6.50 เมตร มีถนนทางเข้า 4 ทิศ รอบ ๆ ตัวศาลมีสระน้ำ
และปลูกไมป้ ระดบั พนั ธุ์ไม้ไทย

หลังจากพิธีกรรมในการฝังหลักเมืองผ่านพ้นไปแล้ว ได้จัดให้มีงานเฉลิมฉลองสมโภช 7 วัน 7 คืน
ต้งั แตว่ นั ท่ี 25 – 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2505 และไดย้ ึดถือเป็นงานสมโภชประจำปีทุกปีตลอดมาจนกระท่ัง
ปัจจุบนั

ลิเกฮูลู หรือ ดีเกฮูลู เป็นการละเล่นขึ้นบทเป็นเพลงประกอบดนตรีและจังหวะตบมือ มีรากฐาน
เดิมมาจากคำว่า ลิเก คือ การอ่านทำนองเสนาะและคำว่า ฮูลู ซึ่งหมายถึง ทิศใต้ ซึ่งเมื่อรวมความแล้ว
คือ การขับกลอนเป็นทำนองเสนาะจากทศิ ใต้ บทกลอนที่ใช้ขับเรียกว่า ปันตน หรือ ผาตง ในภาษามลายู
ถิ่นปตั ตานี

ผู้รู้บางท่านได้กล่าวไว้ว่า ลิเดฮูลู เกิดขึ้นเริ่มแรกที่อำเภอรามัน ซึ่งไม่ทราบแน่ว่า ผู้ริเริ่มนี้คือใคร
ชาวปัตตานีเรียกคนในอำเภอรามันว่า คนฮูลู แต่ชาวมาเลเซียเรียกศิลปะชนิดนี่ว่า ดีเกปารัต
ซึ่งปารัตแปลว่า เหนือ จึงเป็นที่ยืนยันได้ว่าลิเกฮูลู หรือดีเกปารัตนี้มาจากทางเหนือของมาเลเซีย
และอยู่ทางใตข้ องปัตตานี

ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ
จังหวัดสงขลาทางตอนเหนือเป็นคาบสมุทรแคบและยาวยื่นลงมาทางใต้ เรียกว่า คาบสมุทรสทิง
พรกับส่วนที่เป็นแผ่นดินรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าทางตอนใต้แผ่นดินทั้งสองส่วนเชื่อมต่อกันโดยสะพานติณสูลา
นนท์ พื้นที่ทางทิศเหนือส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม ทิศตะวันออกเป็นที่ราบริมทะเล ทิศใต้และทิศตะวันตก
เปน็ ภเู ขาและทร่ี าบสงู ซึง่ เป็นแหลง่ กำเนดิ ต้นนำ้ ลำธารที่สำคัญ
ลักษณะภมู ิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศ จังหวัดสงขลา ตั้งอยู่ในเขตอิทธพิ ลของลมมรสุมเมืองรอ้ น มีลมมรสุมพัดผ่าน
ประจำทกุ ปคี ือ ลมมรสมุ ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ เริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคมถึงกลางเดือนมกราคม และลมมรสุม
ตะวันตกเฉียงใต้ เริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม จากอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าว
สง่ ผลให้มีฤดูกาลเพียง 2 ฤดู คือ ฤดูร้อน เรม่ิ ตง้ั แตเ่ ดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนกรกฎาคม ซึ่งจะเป็นช่วงท่ีว่าง
ของลมมรสุมจะเริ่มตั้งแต่หลังจากหมดมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือแล้ว อากาศจะเริ่มร้อนและอากาศ
จะมีอุณหภูมิสูงสดุ ในเดือนเมษายน แตอ่ ากาศจะไมร่ ้อนมากนักเนื่องจากต้ังอยู่ใกล้ทะเล ฤดูฝน เร่ิมตั้งแต่
เดือนสิงหาคมถึงเดือนมกราคม จังหวัดสงขลาจะมีฝนตก ทั้งในช่วงลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือและลม
มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ แต่ในช่วงลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ จะมีฝนตกชุกมากกว่า เนื่องจากพัดผ่าน
อ่าวไทย ส่วนลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉียงใต้ จะถูกเทือกเขาบรรทัดปิดก้นั ทำให้ฝนตกน้อยลง จงั หวดั สงขลา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปงี บประมาณ 2564 10

ในปี 2545 มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยรวมตลอดปี 1,399.1 มิลลิเมตร จำนวนฝนตก 142 วัน ฝนตกมากที่สุด

ในช่วงเดอื น พฤศจกิ ายน วัดได้ 503.4 มลิ ลเิ มตร ฝนตกน้อยทีส่ ดุ ในเดือนกุมภาพันธ์ วดั ได้ 1.5 มิลลิเมตร

อณุ หภมู ิเฉลยี่ 28.28 องศาเซลเซียส อุณหภมู ิสูงสดุ เฉลยี่ ทั้งปี 36.6 องศาเซลเซียส เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม

2454 อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ยทั้งปี 23.0 องศาเซลเซียส เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2545 ความชื้นสัมพันธ์

78.49% (ทมี่ า: ศนู ยอ์ ตุ ุนยิ มวิทยาภาคใตฝ้ ั่งตะวนั ออก)

การปกครอง

จังหวัดสงขลาแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 16 อำเภอ 127 ตำบล 1,023 หมู่บ้าน แยกได้ตาม

ตาราง ดงั นี้

ตารางที่ 5 การปกครองจงั หวัดสงขลา

เขตการปกครอง พน้ื ท่ี

ที่ อำเภอ ตำบล หม่บู า้ น เทศบาล อบต. (ตร.กม.)

1 อำเภอเมอื งสงขลา 6 47 4 2 171.9

2 อำเภอสทิงพระ 11 79 1 11 120

3 อำเภอจะนะ 14 139 3 12 502.98

4 อำเภอนาทวี 11 92 2 9 747

5 อำเภอเทพา 7 67 2 6 978

6 อำเภอสะบา้ ย้อย 9 62 2 8 852.81

7 อำเภอระโนด 13 73 3 10 783.8

8 อำเภอกระแสสนิ ธุ์ 4 22 22 96.4

9 อำเภอรตั ภมู ิ 5 63 4 3 591.8

10 อำเภอสะเดา 8 66 6 6 1,029.273

11 อำเภอหาดใหญ่ 12 93 10 5 852.796

12 อำเภอนาหม่อม 4 29 - 4 92.47

13 อำเภอควนเนียง 4 46 2 3 208

14 อำเภอบางกลำ่ 4 36 2 2 147.8

15 อำเภอสิงหนคร 11 77 3 7 228

16 อำเภอคลองหอยโข่ง 4 32 2 2 275

รวม 127 1,023 48 92 7,678.02

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปงี บประมาณ 2564 11

ลกั ษณะภมู ิประเทศ

พื้นที่จังหวัดสตูลทางด้านทิศเหนือและทิศตะวันออกเป็นเนินเขาและภูเขาสลับซับซ้อน

โดยมีทิวเขาที่สำคัญแบ่งเขตประเทศไทยกับประเทศมาเลเซีย คือ ทิวเขาบรรทัดและทิวเขาสันกาลาคีรี

พื้นที่ของจังหวัดค่อยๆ ลาดเอียงลงสู่ทะเลด้านทิศตะวันตกและทิศใต้ โดย ยังมีภูเขาน้อยใหญ่

อยู่กระจัดกระจายในตอนล่าง ภูเขาที่สำคัญ ได้แก่ เขาจีน เขาบารัง เขาใหญ่ เขาทะนาน และเขาพญาวัง

และมีที่ราบแคบๆ ขนานไปกับชายฝั่งทะเล ถัดจากที่ราบลงไปเป็นพื้นที่ป่าชายเลนน้ำเค็มขึ้นถึงอุดม

ไปด้วยป่าแสมและป่าโกงกาง สตูลเป็นจังหวัดที่ไม่มีแม่น้ำไหลผ่าน คงมีแต่ลำน้ำส้ันๆ ต้นน้ำเกิดจากภูเขา

ทางทศิ เหนอื และทศิ ตะวันออกของจงั หวัด

ภมู ิอากาศ

พื้นที่จังหวัดสตูลได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดผ่านอ่าวไทย และมรสุม

ตะวนั ตกเฉียงใตจ้ ากมหาสมทุ รอนิ เดยี ลกั ษณะภูมอิ ากาศเป็นแบบรอ้ นชนื้ มี 2 ฤดู คอื

- ฤดูรอ้ น เริ่มต้งั แตเ่ ดือนมกราคมถงึ เดือนเมษายน อุณหภมู อิ ยรู่ ะหวา่ ง 21.6-39.5 องศาเซลเซยี ส

- ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนธันวาคม อุณหภูมิอยู่ระหว่าง 21.9-38.8

องศาเซลเซยี ส

การปกครอง

จังหวัดสตูล แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 7 อำเภอ 36 ตำบล 257 หมู่บ้าน แยกได้ตามตาราง

ดงั น้ี

ตารางที่ 6 การปกครองจงั หวดั สตลู

ท่ี อำเภอ เขตการปกครอง อบต. พ้นื ท่ี
ตำบล หมู่บ้าน เทศบาล (ตร.กม.)

1 อำเภอเมอื งสตลู 12 70 4 10 880.2

2 อำเภอควนโดน 4 30 1 4 199.033

3 อำเภอควนกาหลง 3 32 - 3 412.9

4 อำเภอทา่ แพ 4 28 - 4 197.25

5 อำเภอละงู 6 61 1 6 380.35

6 อำเภอทุ่งหวา้ 5 35 1 5 416.03

7 อำเภอมะนงั 2 19 - 2 207.8

รวม 36 257 7 34 2,693.86

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564 12

ปัจจุบัน ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา มีผู้บริหารดำรงตำแหน่งตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน

จำนวน 14 ทา่ น รายละเอยี ด ดังน้ี

ตารางท่ี 7 ขอ้ มลู ทำเนยี บผู้บริหารสถานศกึ ษา

ลำดบั ช่ือ-สกลุ ตำแหน่ง ระยะเวลาท่ดี ำรงตำแหนง่
ท่ี

1. ดร.วิชัย สังขรัตน์ ผู้อำนวยการสถานศึกษา พ.ศ. 2540 – พฤศจิกายน 2545

2. นายอทุ ยั พงศ์จันทรเสถียร ผู้อำนวยการสถานศึกษา พฤศจิกายน 2545 - มกราคม 2549

3. นายวิรัตน์ มะลิสุวรรณ รก.ผู้อำนวยการสถานศึกษา มกราคม 2549 – สิงหาคม 2549

4. นางวรรญา ทพิ ย์ดนตรี รก.ผ้อู ำนวยการสถานศึกษา สงิ หาคม 2549 - กนั ยายน 2549
5. วา่ ที่ ร.อ. ทิพยา แสงทอง
6. นายชัยฤทธ์ิ เบญญากาจ ผู้อำนวยการสถานศึกษา กนั ยายน 2549 - กนั ยายน 2551
7. นางดวงแกว้ อลั ภาชน์ ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา ตลุ าคม 2551 - กันยายน 2556
8. นางสริ กิ าญจน์ จนั ทรสงค์
รก.ผ้อู ำนวยการสถานศกึ ษา ตลุ าคม 2556 - มกราคม 2557
9. นางดวงแกว้ อลั ภาชน์
ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา กมุ ภาพันธ์ 2557 - พฤษภาคม
10. นายสุชาติ ถาวระ 2557

11. นางดวงแก้ว อลั ภาชน์ รก.ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา มิถุนายน 2557 – กุมภาพันธ์ 2558

12. นายอุดร สทิ ธพิ าที ผู้อำนวยการสถานศึกษา กมุ ภาพันธ์ 2558 – พฤศจกิ ายน
2558

รก.ผู้อำนวยการสถานศึกษา พฤศจิกายน 2558 – กันยายน
2559

รก.ผู้อำนวยการสถานศึกษา ตลุ าคม 2559 – มกราคม 2560

13. นายธนกร เกื้อกลู รก.ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา มกราคม 2560 – สงิ หาคม 2560
14. นายณัฐภมู ินทร์ สงั ขพ์ งศ์ ผ้อู ำนวยการสถานศกึ ษา กันยายน 2560 – ปัจจุบัน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปงี บประมาณ 2564 13

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา มีคณะกรรมการสถานศึกษา ตามคำสั่งสำนักงานส่งเสริม

การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ที่ 124/2562 ลงวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2562

เรื่อง แตง่ ต้ังคณะกรรมการสถานศึกษาศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษายะลา รายละเอียดดังตารางท่ี 8

ตารางท่ี 8 ขอ้ มลู คณะกรรมการสถานศึกษา

ลำดบั ท่ี ช่ือ-สกุล ตำแหนง่

1. นายพงษ์ศักด์ิ ย่งิ ชนม์เจริญ ประธานกรรมการ ผูท้ รงคุณวฒุ ดิ ้านการเมือง การปกครอง

2. รศ.เฉลมิ ยศ อุทยารัตน์ กรรมการ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิดา้ นการศึกษา

3. รอ้ ยตำรวจตรีกริยา ตระกูลศึกษา กรรมการ ผทู้ รงคุณวฒุ ดิ ้านศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม

4. นายปกรณ์ ปรชี าวุฒิเดช กรรมการ ผทู้ รงคณุ วุฒดิ า้ นการพัฒนาสังคม ชุมชน และ
สิ่งแวดล้อม

5. พนั เอก ทรงชยั สมเคหา กรรมการ ผู้ทรงคุณวฒุ ดิ ้านความม่ันคง

6. ผศ.ดร.ลิลลา อดุลยศาสน์ กรรมการ ผูท้ รงคณุ วุฒิด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ
สารสนเทศ

7. นายสงกรานต์ ใหมช่ ุม กรรมการ ผทู้ รงคุณวฒุ ิด้านสาธารณสขุ

8. นางดวงแก้ว อลั ภาชน์ กรรมการ ผู้ทรงคณุ วุฒิดา้ นภูมิปญั ญาท้องถ่ิน

9. นายณัฐภูมินทร์ สังขพ์ งศ์ กรรมการและเลขานุการ

คณะกรรมการสถานศกึ ษามีอำนาจหนา้ ที่ ดังนี้
1. ให้คำปรึกษาและพิจารณาให้ข้อเสนอแนะแผนพัฒนา แผนปฏิบัติการ การศึกษานอกระบบ

และการศกึ ษาตามอัธยาศัย และให้ความเห็นชอบหลกั สูตรของสถานศกึ ษา
2. ส่งเสริมให้มีการระดมทุนทางสังคมและทรัพยากรจากชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน

องคก์ รอื่นทง้ั ภาครัฐและเอกชนให้มีส่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
3. ติดตามและเสนอแนะผลการดำเนินงานการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา

ตามอัธยาศยั ของสถานศกึ ษา
4. ปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการส่งเสริม สนับสนุน และประสานความร่วมมือการศึกษา

นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564 14

ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การศกึ ษายะลา แบ่งโครงสร้างการบริหารงาน ออกเป็น 3 กลมุ่ ไดแ้ ก่
กลมุ่ อำนวยการ กลุม่ วิชาการ และกลมุ่ สง่ เสริมและบริการ ดงั น้ี

กลมุ่ อานวยการ กล่มุ วชิ าการ กลุ่มส่งเสรมิ และบรกิ าร โดมท้อง าจาลอง

● ● ● ●
● ● ● ●
● ● ● ●
● ● ●
● ● ●







รปู ที่ 5 โครงสร้างสถานศกึ ษา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564 15

ในปงี บประมาณ 2564 ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพือ่ การศึกษายะลา ไดด้ ำเนินการจดั กิจกรรมการเรียนรู้

วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม และส่งเสริม สนับสนุนการให้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์

ในหลากหลายรปู แบบ แก่กลุม่ เป้าหมายและผ้รู ับบริการ ในพื้นที่รบั ผิดชอบ 3 จังหวดั ได้แก่ ยะลา สงขลา

และสตูล ซงึ่ มีผลการปฏิบัตงิ านในแต่ละกิจกรรม ดงั ตารางนี้

ตารางท่ี 9 จำนวนผู้รบั บรกิ าร

จำนวนผู้รบั บรกิ าร

กจิ กรรม เปาหมาย นักเรียน ครใู น นกั ศกึ ษา ครู กศน. ประชาชน รวม คดิ เปน็
ในระบบ ระบบ กศน. รอ้ ยละ

1. นิทรรศการ 49,440 3,461 311 645 184 4,998 9,599 19.41

2. คา่ ยวทิ ยาศาสตร์ 10,300 1,845 149 28 6 0 2,028 19.68

3. กจิ กรรมการศึกษา 30,900 32,276 1,070 3,908 859 4,708 42,821 100.00

4. บริการวิชาการ 32,960 1,230 1,937 2,021 1,296 55,552 62,036 100.00

รวมทัง้ สิน้ 123,600 38,812 3,467 6,602 2,345 65,258 116,484 94.24

แผนภมู เิ ปรียบเทยี บเปา้ หมายกบั จำนวนผ้รู ับบริการ จำแนกตามกจิ กรรม ปงี บประมาณ 2564
รูปท่ี 6 แผนภูมิเปรยี บเทยี บเปา้ หมายกับจำนวนผู้รับบริการ จำแนกตามกจิ กรรม ปีงบประมาณ 2564

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564 16

จากแผนภูมิเปรียบเทียบเป้าหมายกับจำนวนผู้รับบริการ จำแนกตามกิจกรรม ปีงบประมาณ
2564 จากการดำเนินงานของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา ประจำปีงบประมาณ 2564
โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้
4 รูปแบบ ได้แก่ การเรียนรู้ผ่านนิทรรศการ ค่ายวิทยาศาสตร์ กิจกรรมการศึกษา และบริการวิชาการ
โดยมีรายละเอียด ดงั น้ี

1. การเรียนรู้ผ่านนิทรรศการ เป็นการจัดแสดงนิทรรศการเพื่อให้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ซึ่งผู้รับบริการสามารถเข้าถึงการเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี สามารถฝึกปฏิบัติ
และมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ หรือหาคำตอบจากการลงมือปฏิบัติ และสามารถนำไปประยุกต์
ใช้ในชวี ติ ประจำวันได้ ลกั ษณะการจดั แสดง เพอื่ บริการให้แก่กลมุ่ เป้าหมาย แบ่งออกเปน็ 3 รูปแบบ ไดแ้ ก่
นิทรรศการชั่วคราว นิทรรศการถาวร และนิทรรศการเคลื่อนที่ในปีงบประมาณ 2564 ผู้รับบริการ
การเรยี นร้ผู า่ นนิทรรศการ จำนวนทัง้ ส้นิ 9,599 คน จำแนกเปน็ นกั เรียนในระบบโรงเรยี น จำนวน 3,461
คน คิดเป็นร้อยละ 36.05 ครูในระบบโรงเรียน จำนวน 311 คน คิดเป็นร้อยละ 3.23 นักศึกษา กศน.
จำนวน 645 คน คิดเป็นร้อยละ 6.71 ครู กศน. จำนวน 184 คน คิดเป็นร้อยละ 1.91 และประชาชน
จำนวน 4,998 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 52.06

2. ค่ายวิทยาศาสตร์ เป็นกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม
ให้บริการทั้งลักษณะค่ายไป-กลับ และค่ายพักแรม โดยเน้นให้ผู้รับบริการกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์
มีความรู้ ความเข้าใจ และเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนการเรียนรู้การอยู่ร่วมกัน
กับบุคคลอื่นอย่างมีความสุข กิจกรรมการเรียนรู้เน้นการปฏิบัติจริง เรียนรู้จากประสบการณ์ และฝึกคิด
ฝึกแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง ในปีงบประมาณ 2564 ผู้รับบริการค่ายวิทยาศาสตร์ จำนวนทั้งสิ้น 2,028 คน
จำแนกเป็น นักเรียนในระบบโรงเรียน จำนวน 1,845 คน คิดเป็นร้อยละ 90.97 ครูในระบบโรงเรียน
จำนวน 149 คน คิดเป็นร้อยละ 8.07 นักศึกษา กศน. จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 1.51
ครู กศน. จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 0.32 และประชาชน จำนวน 0 คน คดิ เป็นร้อยละ 00.00

3. กิจกรรมการศึกษา เป็นการเรียนรู้ที่จัดขึ้นเพื่อให้บริการการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
สิ่งแวดล้อม ลักษณะการให้บริการการประกวด การแข่งขัน การอบรมส่งเสริมการให้ความรู้
ทางวิทยาศาสตร์ และการจัดกิจกรรมเคลื่อนที่สู่ชุมชน ในปีงบประมาณ 2564 ผู้รับบริการ
กิจกรรมการศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 42,821 คน จำแนกเป็นนักเรียนในระบบโรงเรียน จำนวน 32,276 คน
คิดเป็นร้อยละ 75.37 ครูในระบบโรงเรียน จำนวน 1,070 คน คิดเป็นร้อยละ 2.49 นักศึกษา กศน.
จำนวน 3,908 คน คิดเป็นร้อยละ 9.12 ครู กศน. จำนวน 859 คน คิดเป็นร้อยละ 2.00 และประชาชน
จำนวน 4,708 คน คดิ เป็นร้อยละ 10.99

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปงี บประมาณ 2564 17

4. บริการวิชาการ เป็นการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และให้บริการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การบริการข่าวสารทางเว็บไซต์
http:/ / sites.google.com/ dei.ac.th/yalascience ก า ร เ ผ ย แ พ ร ่ ส ื ่ อ ก ิ จ ก ร ร ม ว ิ ท ย า ศ า ส ต ร์
ทาง YouTube Chanel : ศูนย์วิทย์ ยะลา, เพจศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา, สารการรับรู้
ศูนย์วิทย์ฯยะลา และจดหมายข่าว เป็นต้น ในปีงบประมาณ 2564 ผู้รับบริการบริการวิชาการ
จำนวนทั้งส้ิน 62,036 คน จำแนกเป็น นักเรียนในระบบโรงเรียน จำนวน 1,230 คน คิดเป็นร้อยละ 1.98
ครูในระบบโรงเรียน จำนวน 1,937 คน คิดเป็นร้อยละ 3.12 นักศึกษา กศน. จำนวน 2,021 คน
คิดเป็นร้อยละ 3.25 ครู กศน. จำนวน 1,296 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2.08 และประชาชน จำนวน 55,552 คน
คดิ เป็นร้อยละ 89.54

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เมื่อเดือนธันวาคม
2562 ส่งผลกระทบต่อระบบการจัดการเรียนรู้การสอนของไทยในทุกระดับชั้น ซึ่งรัฐบาล
และกระทรวงศึกษาธิการได้ออกประกาศ และมีมาตรการเฝ้าระวัง เพื่อป้องกันการแพร่กระจาย
ของเชื้อไวรัสดังกล่าว อาทิ กำหนดให้มีการเว้นระยะห่างทางสังคม ( Social Distancing)
ห้ามการใช้อาคารสถานที่ของโรงเรียนและสถาบันการศึกษาทุกประเภท เพื่อจัดการเรียนการสอน
การสอบ ฝกึ อบรมหรอื การทำกิจกรรมใดๆ ท่มี ผี เู้ ข้าร่วมเป็นจำนวนมาก การปดิ สถานศกึ ษาดว้ ยเหตุพิเศษ
การกำหนดให้ใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ อาทิ การจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์
การจดั การเรยี นรู้ผ่านระบบการออกอากาศทางโทรทัศน์ วทิ ยุ และโซเซยี ลมีเดียต่าง ๆ รวมถึงการสื่อสาร
แบบทางไกลหรือด้ววิธีอิเล็กทรอนิกส์ ในส่วนของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา ได้มีการพัฒนา
ปรับเปลี่ยนรูปแบบ กระบวนการและวิธีการดำเนินงานในภารกิจต่างๆ ในสถานการณ์
การใช้ชีวิตประจำวัน และการจัดการเรียนรู้ เพื่อรองรับการใช้ชีวิตแบบวิถีใหม่ (New Normal)
ซงึ่ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไดใ้ ห้ความสำคัญกับการดำเนินงานตามมาตรการการป้องกันการแพร่ระบาด
ของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) อาทิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้, อบรม, สัมมนาแบบออนไลน์
ผ่านทางระบบซูม (Zoom), ไลนก์ ลุ่ม หรือเฟซบุก๊ (Facebook) เพจศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา
หากมีความจำเป็นต้องรวมกลุ่มทางสถานศึกษามีมาตรการป้องกันที่เข้มงวด มีการตรวจวัดอุณหภูมิ
มีเจลแอลกอฮอลล์ ้างมือ บุคลากรของสถานศึกษา และผรู้ บั บรกิ ารต้องใสห่ น้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า
ต้องมีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล เน้นการใช้สื่อดิจิทัลและเทคโนโลยีออนไลน์ในการจัดการเรียนรู้
ทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และส่งิ แวดล้อม

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564 18

ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพือ่ การศึกษายะลา จัดตงั้ ขน้ึ ตามพระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4)
พ.ศ. 2562 และพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551
ในลักษณะแหล่งเรียนรู้ตามอัธยาศัยที่ให้บริการการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม
ใหแ้ ก่ นักเรยี น นกั ศกึ ษาทั้งใน และนอกระบบโรงเรยี น และประชาชนในพ้นื ท่ีทรี่ ับผิดชอบ โดยมีกิจกรรม
ที่ให้บริการ 4 รูปแบบ ได้แก่ การเรียนรู้ผ่านนิทรรศการ ค่ายวิทยาศาสตร์ กิจกรรมการศึกษา
และบรกิ ารวิชาการ ซงึ่ มรี ายละเอยี ด ดังนี้

1. การเรียนรู้ผ่านนิทรรศการ หมายถึง การให้บริการการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และสิ่งแวดล้อม ผ่านนิทรรศการ สื่อประสมที่ทันสมัย น่าสนใจ ทั้งสื่อแสง สี เสียง ของเล่น หุ่นจำลอง
เกม ฯลฯ ซึ่งผู้รับบริการสามารถมีส่วนร่วมในการลงมือปฏิบัติ หรือหาคำตอบจากการปฏิบัติ
ซึ่งผู้รับบริการจะได้รับ ทั้งความสนุกสนานและสาระความรู้ไปพร้อมๆ กัน โดยมีการจัดแสดงการเรียนรู้
นทิ รรศการ ดังน้ี

- นิทรรศการถาวร เป็นการจัดแสดงนิทรรศการภายในอาคารศูนย์วิทยาศาสตร์
เพอ่ื การศึกษายะลา ซ่งึ ผู้รับบริการสามารถเขา้ ชม เรียนร้ไู ด้ในเวลาทำการ

- นิทรรศการชั่วคราว เป็นการจัดแสดงนิทรรศการเป็นครั้งคราวในวาระโอกาส หรือ
วาระในวันสำคญั โดยกำหนดห้วงเวลาในการจัดแสดง

- นิทรรศการเคลื่อนที่ เป็นนิทรรศการที่จัดทำขึ้นเป็นชุดสำเร็จ สามารถหมุนเวียน
การให้บรกิ าร กลุ่มเปา้ หมายในพน้ื ทรี่ ับผิดชอบ

รปู ที่ 7 การเรยี นรู้ผ่านนิทรรศการ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564 19

2. ค่ายวิทยาศาสตร์ หมายถึง การให้บริการการเรียนรู้ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ
สิ่งแวดล้อม ที่มุ่งเน้นให้ผู้รบั บริการเกิดความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ตลอดทั้งการเรียนรู้ด้านการดำเนินชีวิต โดยใช้กระบวนการกลุ่ม
เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และประสบการณ์โดยมีการให้บริการในลักษณะ ค่ายไป – กลับ
และคา่ ยพกั แรม

รูปที่ 8 คา่ ยวทิ ยาศาสตร์

3. กิจกรรมการศึกษา หมายถึง การให้บริการกิจกรรมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และสิ่งแวดล้อม และอื่นๆ แก่ผู้รับบริการทั้งในลักษณะกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับนักเรียน นักศึกษา
กิจกรรมการประกวดแข่งขันทางวิทยาศาสตร์ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เคลื่อนที่สู่ชุมชน รวมถึง
กิจกรรมฝึกอบรม ประชมุ สัมมนา และบรรยายพเิ ศษแก่ผรู้ ับบริการ ซง่ึ จัดในลักษณะการเรียนรู้นอกระบบ
และการเรียนรู้ตามอธั ยาศยั ประกอบด้วยกิจกรรม ดังน้ี

- ห้องเรียนวิทยาศาสตร์เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในลักษณะของห้องเรียน
วิทยาศาสตร์เพื่อการเสริมสร้างการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยจัดให้บริการ
แก่กลุ่มเป้าหมายนักเรียน นักศึกษา ทั้งในระบบและนอกระบบ ซึ่งจัดกิจกรรมการเรียนรู้สอดคลอ้ งสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามหลกั สูตร การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน และวทิ ยาศาสตรเ์ พื่อชีวติ

- การอบรม/สัมมนา เป็นกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูทั้งในระบบ
และนอกระบบ บุคลากรทางการศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ เกิดทักษะ สามารถพัฒนาสื่อการเรียนรู้
ในการจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนส่งเสริมให้ผู้รับบริการมีการศึกษา
ค้นควา้ เชิงวชิ าการและมีขอ้ มูลที่ทันสมยั ทางวิทยาศาสตรท์ ม่ี ีความเจริญก้าวหนา้ อยา่ งรวดเร็ว

- กจิ กรรมเสรมิ ทักษะวิทยาศาสตร์เป็นกจิ กรรมทีจ่ ัดข้นึ เพ่ือเสริมสร้างทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสงิ่ แวดลอ้ ม

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ประจำปงี บประมาณ 2564 20

- กิจกรรมงานสัปดาหว์ ิทยาศาสตร์ เปน็ กิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ีจัดขึ้นในช่วงเดือนสิงหาคม
ของทุกปี เพื่อรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4
และเพือ่ ส่งเสรมิ ให้ผูร้ บั บริการเกิดกระบวนการทกั ษะทางวิทยาศาสตร์ โดยร่วมกับหนว่ ยงานภาคีเครือข่าย
ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้ดู ้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิง่ แวดล้อม

- กิจกรรมวิทยาศาสตร์สัญจรหรือวิทยาศาสตร์น่ารู้สู่ชุมชน เป็นกิจกรรมการเรียนรู้
ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม เคลื่อนที่ไปสู่ชุมชน หรือหน่วยงานสถานศึกษา
โดยเน้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต เทคโนโลยีที่เหมาะสม
รว่ มกับหนว่ ยงานภาคีเครือข่าย

- การแสดงทางวิทยาศาสตร์ (Science Show) เป็นกิจกรรมที่นำหลักการทฤษฎี
ทางวิทยาศาสตร์พื้นฐาน มาประยุกต์เป็นการแสดงที่เข้าใจง่าย โดยใช้สื่อและอุปกรณ์ต่าง ๆ ประกอบ
การแสดงเพ่ือกระตุน้ ความสนใจ เกดิ เจตคติทดี่ ีต่อการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

- การประกวดและการแข่งขันทางวิทยาศาสตร์ เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อส่งเสริม
สนับสนุนการแสดงความสามารถ การพัฒนาความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา และความคิด
สรา้ งสรรค์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

รูปท่ี 9 กจิ กรรมการศกึ ษา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564 21

4. บริการวิชาการ หมายถึง การให้บริการความรู้ ข้อมูลข่าวสาร ข้อมูลการจัดกิจกรรม
ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ในรูปแบบต่างๆ โดยการให้ความรู้ผ่านสื่อเอกสาร
อินโฟกราฟิก (Infographic), แผ่นพับ, เว็บไซต์ http://sites.google.com/dei.ac.th/yalascience,
Facebook : เพจศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา, YouTube : ศูนย์วิทย์ ยะลา, รายการวิทยุ :
Hi School ฮารียัน, สารการรับรู้, บทเรียนออนไลน์ และรวมถึงการเป็นวิทยากรในการฝึกอบรม ประชุม
สัมมนา บรรยายพิเศษ และคณะกรรมการตัดสินต่างๆ

รูปท่ี 10 บริการวิชาการ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564 22

÷ บุคคลากร

บคุ ลากรศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พือ่ การศกึ ษายะลา ณ ปีงบประมาณ 2564 รา

ตารางท่ี 10 บคุ ลากรศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษายะลา

ช่ือ-สกลุ ตำแหน่ง วุฒิการศึก

ขา้ ราชการ

1. นายณฐั ภมู ินทร์ สังขพ์ งศ์ ผ้อู ำนวยการสถานศึกษา ปรญิ ญาโ

2. นายภทั รพล ทองหล่อ ครชู ำนาญการพเิ ศษ ปรญิ ญาโ
3. นายมะยารี ยาฝาด ครูชำนาญการ ปรญิ ญาโ
4. นางรอหานา สาเมาะ ครูชำนาญการ ปรญิ ญาต
5. นางสาวนรู ดี า สาและ ครูชำนาญการ ปริญญาโ
6. นายณฐั กร ปลวชั ร ครผู ชู้ ว่ ย ปรญิ ญาต
พนักงานราชการ
1. นายธนาธปิ ชเู มอื ง วทิ ยากรนำชม ปริญญาต
2. นางสาวนรู ใอนี ดอเลาะ วทิ ยากรนำชม ปรญิ ญาต
3. นายอาเรฟ หะยีดือเระ๊ วิทยากรนำชม ปริญญาต
4. นางสาวธรรวดี ศิริจติ ร วิทยากรนำชม ปริญญาต
5. นางสาวกานต์ธดิ า พระธานี นกั วิชาการศึกษา ปรญิ ญาต
ปริญญาโ

ายละเอียดดังตารางนี้

กษา สาขาวชิ าเอก ระยะเวลา

โท วท.ม. (วาริชศาสตร)์ กนั ยายน 2560 – ปจั จบุ นั

ประกาศนยี บัตรบณั ฑิต (บริหารการศึกษา)

โท ศษ.ม. (บริหารการศกึ ษา) มถิ นุ ายน 2555 - ปัจจบุ นั

โท กศ.ม. (บริหารการศกึ ษา) สงิ หาคม 2559 - ปจั จบุ ัน

ตรี วท.บ. (จลุ ชีววิทยา) กรกฎาคม 2560 - ปัจจุบัน

โท ศษ.ม. (บริหารการศกึ ษา) กรกฎาคม 2557 - ปัจจุบัน

ตรี ศษ.บ. (ชีววทิ ยา) ตลุ าคม 2563 - เมษายน 2564

ตรี ศ.บ. (การบริหารทรพั ยากรมนษุ ย์) ตลุ าคม 2553 - ปัจจบุ นั
ตรี บธ.บ. (การตลาด) มกราคม 2561 - ปัจจุบนั
ตรี วท.บ. (อนามัยสิง่ แวดลอ้ ม) พฤศจกิ ายน 2563 - ปจั จบุ นั
ตรี บธ.บ. (การตลาด) พฤศจกิ ายน 2563 - ปัจจบุ ัน
ตรี ค.บ. (การศึกษาพเิ ศษ) พฤศจกิ ายน 2560 - ปจั จบุ ัน
โท ศษ.ม. (บรหิ ารการศกึ ษา)

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ประจำปงี บประมาณ 2564 23

ช่ือ-สกุล ตำแหน่ง วุฒิการศึก
6. นางสาวรอฮานี มีซา นกั วิชาการศึกษา ปริญญาต
7. นางสาวกฤชสร ตระกูลรัมย์ นกั วชิ าการศึกษา ปริญญาต
ปริญญาโ
8. นางสาวรอดฮี ะ๊ ลาเตะ นักวิชาการเงินและบัญชี ปรญิ ญาต
9. นางสาวสาอดี ะ๊ เจ๊ะมะ นักวชิ าการเงินและบัญชี ปรญิ ญาต
10. นางหทัยรตั น์ สขุ ดี เจ้าพนกั งานพสั ดุ
11. นางสาวชุมนมุ พร อุทัย นักจัดการงานท่ัวไป ปวส.
12. นางสาวพชิ ยา วัฒนะนกุ ลู เจ้าหนา้ ทแ่ี ผนงานและโครงการ ปริญญาต
13.นางสาวธญั ญรัตน์ เม่าคง เจา้ พนักงานธรุ การ ปรญิ ญาต
พนกั งานจ้างเหมาบริการ ปริญญาต
1. นางวรรณี อามะ นกั วิชาการวิทยาศาสตร์ศึกษา
2. นายฐานันดร์ สทุ ธศิ กั ดา นักวิชาการวิทยาศาสตร์ศกึ ษา ปรญิ ญาต
ปริญญาต
3. นางสาวซัยยานี โตะเปะ๊ นักวิชาการวิทยาศาสตรศ์ กึ ษา
4. นางสาวสวุ ีณา ยโู ซะ๊ นักวิชาการวิทยาศาสตร์ศึกษา ปริญญาต
ปรญิ ญาต
5. นายเพาซนั ดแี ม นกั เทคโนโลยีสารสนเทศ
6. นายอบั ดุลเลาะ เจะแม นกั วชิ าการโสตทัศนศึกษา ปริญญาต
ปรญิ ญาต

กษา สาขาวิชาเอก ระยะเวลา
ตรี ศศ.บ. (พฒั นาสงั คม) ธันวาคม 2561 - ปจั จบุ นั
ตรี ศศ.บ. (สงั คมวทิ ยาและมานุษยวิทยา) พฤศจกิ ายน 2563 - ปัจจบุ นั
โท ศศ.ม. (สังคมวิทยาประยกุ ต)์
ตรี บธ.บ. (บริหารธุรกิจประกนั ภยั ) พฤศจิกายน 2560 - ปัจจุบัน
ตรี บธ.บ. (การบญั ช)ี มิถุนายน 2561 - ปัจจบุ นั
มนี าคม 2562 - ปัจจบุ นั
บริหารธรุ กจิ (คอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ) พฤศจิกายน 2563 - ปจั จบุ ัน
ตรี วท.บ. (บรหิ ารโรงพยาบาล) พฤศจิกายน 2563 - ปัจจบุ ัน
ตรี วท.บ. (สารสนเทศสถิติ) มิถุนายน 2564 - ปจั จบุ นั
ตรี วท.บ. (สาธารณสุขศาสตร์)

ตรี วท.บ. (เทคโนโลยีคอมพิวเตอร)์ มนี าคม 2554 - ปัจจบุ นั

ตรี วท.บ. (ภมู ิสารสนเทศศาสตร์) มถิ นุ ายน 2556 – พฤษภาคม

2564

ตรี วท.บ. (ชีววทิ ยา) เมษายน 2562 - ปจั จุบนั

ตรี วท.บ. (เทคโนโลยีสารสนเทศ) พฤศจกิ ายน 2563 - พฤษภาคม

2564

ตรี วบ.บ. (นวตั กรรมออกแบบสอื่ และการผลติ ส่ือ) ตุลาคม 2556 - ปจั จบุ นั

ตรี ร.บ. (นโยบายสาธารณะ) พฤศจกิ ายน 2563 - มิถุนายน

2564

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปงี บประมาณ 2564 24

ชอื่ -สกุล ตำแหน่ง วฒุ ิการศกึ
7. นางสาวรญั ชนา มโนสถาพร นกั วิเทศสมั พนั ธ์ ปริญญาต
8. นางสาวไซมะ บนิ แวยูโซะ นักวิเทศสมั พนั ธ์ ปริญญาต
9. นายอาฟาน เปาะหารง นักวชิ าการวทิ ยาศาสตรศ์ ึกษา ปริญญาต
10.นางสาวรุสมี สาและ นกั วิชาการวิทยาศาสตรศ์ กึ ษา ปรญิ ญาต
11.นางสาวลนิ ดา บินเมรุนี พนักงานบรกิ าร (แม่บา้ น)
12.นายนมิ านสั ดนี า พนักงานบรกิ าร (คนสวน) ม.6
13.นายแวสะแม สะมะแอ พนักงานขบั รถ ป.6
14.นายจิรยทุ ธ ยามาสาเร๊ะ พนักงานรกั ษาความปลอดภัย ม.6
ม.6

กษา สาขาวิชาเอก ระยะเวลา
ตรี บธ.บ. (การตลาด) พฤศจกิ ายน 2563 - มนี าคม 2564
ตรี บธ.บ. (การจดั การการท่องเที่ยว) พฤศจกิ ายน 2563 - ปัจจุบัน
ตรี ศศ.บ. (รฐั ศาสตร์) มถิ ุนายน - สิงหาคม 2564
ตรี วท.บ. (ชีววิทยา) กรกฎาคม 2564 - ปจั จุบัน
กมุ ภาพนั ธ์ 2555 - ปจั จบุ นั
- ตลุ าคม 2563 - ปจั จบุ นั
- ตลุ าคม 2563 - ปัจจบุ นั
- กรกฎาคม 2563 - ปจั จบุ ัน
-

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ประจำปงี บประมาณ 2564 25

 งบประมาณทไ่ี ดร้ บั จดั สรร

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ 2564
ไตรมาส 1 – 4 (1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564) แผนงาน บุคลากรภาครัฐ รายการค่าใช้จ่าย
บุคลากรภาครัฐ ยกระดับการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต กิจกรรมบุคลากรภาครัฐ สำนักงาน กศน.
ได้รับงบประมาณจัดสรร รวมท้ังสน้ิ 3,566,610 บาท และแผนงาน พ้นื ฐานด้านการพฒั นาและเสริมสร้าง
ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 5 ผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย ได้รับงบประมาณจัดสรร
รวมทง้ั สิ้น 11,497,568 บาท รายละเอียดดงั ตารางท่ี 11 และตารางท่ี 12

ตารางที่ 11 รายละเอียดงบประมาณที่ได้รับจัดสรร แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง

ศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 5 ผู้รับบริการการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

หมวดรายจ่าย ไตรมาส 1 -2 ได้รบั จัดสรร (บาท) รวมท้ังสิน้
ไตรมาส 3 - 4

แผนงาน : บุคลากรภาครัฐ รายการ 1,682,600.00 1,884,010.00 3,566,610.00

คา่ ใช่จ่ายบุคลากรภาครฐั ยกระดับ

การศึกษาและการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ

กิจกรรมบุคลากรภาครัฐ สำนักงาน

กศน.

1. งบบคุ ลากร 1,311,060.00 1,470,060.00 2,781,120.00

1.1 คา่ ตอบแทนพนักงานราชการ 1,311,060.00 1,470,060.00 2,781,120.00

2. งบดำเนนิ งาน 371,540.00 413,950.00 785,490.00

2.1 ค่าตอบแทน 321,500.00 356,500.00 678,000.00

2.1.1 คา่ เช่าบา้ น 33,000.00 33,000.00 66,000.00

2.1.2 คา่ ตอบแทนพิเศษรายเดอื น 185,500.00 210,500.00 396,000.00

สำหรับ ผู้ปฏิบตั ิงานในเขตพืน้ ที่พเิ ศษ

2.1.3 คา่ พัฒนาคุณภาพการศึกษาใน 103,000.00 113,000.00 216,000.00

พื้นที่ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้

2.2 ค่าใช้สอย 50,040.00 57,450.00 107,490.00

2.2.1 คา่ ประกันสงั คม 50,040.00 57,450.00 107,490.00

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ประจำปงี บประมาณ 2564 26

ตารางที่ 12 รายละเอียดงบประมาณที่ได้รับจัดสรร แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง

ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตท่ี 5 ผู้รับบริการการศึกษาตามอธั ยาศยั

หมวดรายจ่าย ไตรมาส 1 -2 ไดร้ ับจัดสรร (บาท) รวมทั้งสนิ้
ไตรมาส 3 - 4

แผนงาน : พน้ื ฐานการพฒั นาและ 5,787,784.00 5,709,784.00 11,497,568.00

เสรมิ สรา้ ง ศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์

ผลผลิตท่ี 5 ผู้รบั บรกิ ารการศึกษา

ตามอธั ยาศยั กิจกรรมจดั การศึกษา

ตามอัธยาศยั

1. งบดำเนนิ งาน 2,180,784.00 2,180,784.00 4,361,568.00

1.1 ค่าตอบแทน ใช้สอย และวสั ดุ 2,075,930.00 2,075,930.00 4,151,860.00

- งบบรหิ าร 327,950.00 327,950.00 655,900.00

- คา่ จ้างเหมาบรกิ าร 862,080.00 862,080.00 1,724,160.00

- ค่าเชา่ รถยนต์ 1 คัน 147,300.00 147,300.00 294,600.00

- งบกจิ กรรม 260,100.00 260,100.00 520,200.00

- งบพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 478,500.00 478,500.00 957,000.00

1.2 ค่าสาธารณปู โภค 97,150.00 97,150.00 194,300.00

1.3 คา่ อนิ เตอร์เนต็ 7,704.00 7,704.00 15,408.00

2. งบลงทุน 78,000.00 - 78,000.00

2.1 คา่ ครุภัณฑ์คอมพวิ เตอร์ 78,000.00 78,000.00 78,000.00

3. งบรายจา่ ยอน่ื 3,529,000.00 3,529,000.00 7,058,000.00

3.1 ค่าใช้จ่ายปรับปรุงนิทรรศการ 3,529,000.00 3,529,000.00 7,058,000.00

เทคโนโลยี ชวี ภาพเพอื่ ชีวิตและชมุ ชน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ประจำปงี บประมาณ 2564 27

ข้อมลู อาคาร
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา มีอาคารสถานที่ อำนวยความสะดวก สำหรับ
การจัดกิจกรรม จัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ให้เป็นแหล่งเรียนรู้
ที่มีคุณภาพ พร้อมให้บริการ แก่กลุ่มเป้าหมาย นักเรียน นักศึกษา ทั้งในระบบและนอกระบบโรงเรียน
รวมถงึ ประชาชนผู้สนใจ รายละเอยี ดดงั ตารางนี้

ตารางที่ 13 ข้อมูลอาคาร สถานที่ อำนวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านวิทยาศาสตร์

เทคโนโลยี และสง่ิ แวดลอ้ ม

ท่ี ประเภท จำนวน

1. อาคารสำนักงานและแสดงนิทรรศการ 1 หลงั

2. อาคารนิทรรศการพลังงานและไฟฟา้ ในชวี ติ ประจำวัน 1 หลัง

3. อาคารห้องปฏิบตั กิ ารทางวทิ ยาศาสตร์ 1 หลัง

4. หอ้ งนิทรรศการโลกเมืองเด็ก 1 หลัง

5. อาคารจัดกจิ กรรมการแสดงทางวิทยาศาสตร์ 1 หลงั

6. อาคารจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 3 ชั้น 1 หลงั

7. คอมพิวเตอร์/คอมพวิ เตอร์โนต๊ บคุ๊ 36 เครอ่ื ง

8. ห้องสขุ า ห้องอาบน้ำ 2 หลัง

ตารางท่ี 14 ขอ้ มูลยานพาหนะของศนู ย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา

ท่ี ประเภท ทะเบียน หมายเหตุ
งปม. (TOR) ปี 2552
1. รถตู้ (นิทรรศการพลงั งาน) นข 1061 ยะลา
-
2. รถยนตบ์ รรทุก บง 4263 ยะลา งปม. (TOR) ปี 2548

3. รถนิทรรศการเคล่ือนที่ 6 ลอ้ 80-5046 ยะลา

(ความหลากหลายทางชวี ภาพ)

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ประจำปงี บประมาณ 2564 28

ตารางท่ี 15 หนว่ ยงานร่วมจัด ทต่ี ง้ั /ที่อยู่
ช่อื หน่วยงานรว่ มจดั 224 หมูท่ ี่ 10 ต.ลำภู อ.เมอื ง จ.นราธวิ าส 96000
หาดใหญ่ - ปตั ตานี ต.บางเขา อ.หนองจิก จ.ปัตตานี 94170
ศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษานราธิวาส 1 ถนนอาคารสงเคราะห์ ต.สะเตง อ.เมอื ง จ.ยะลา 95000
ศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษาปัตตานี 1 ถนนอาคารสงเคราะห์ ต.สะเตง อ.เมอื ง จ.ยะลา 95000
สำนกั งาน กศน.จังหวดั ยะลา 1 ถนนจรูญวิถี ต.กายบู อเกาะ อ.รามัน
กศน.อำเภอเมอื งยะลา จ.ยะลา 95140
กศน.อำเภอรามัน หมูท่ ่ี 2 ต.ยะหา อ.ยะหา จ.ยะลา 95120
หมู่ท่ี 2 ถนนสขุ ยางค์ ต.บนั นังสตา อ.บันนังสตา
กศน.อำเภอยะหา จ.ยะลา 95130
กศน.อำเภอบนั นงั สตา 117/1 ถนนสุขยางค์ ต.แม่หวาด อ.ธารโต จ.ยะลา 95150
5 ถนนอัยเยอรเ์ บอร์จงั ต.เบตง อ.เบตง จ.ยะลา 95110
กศน.อำเภอธารโต ต.กรงปนิ ัง อ.กรงปนิ ัง จ.ยะลา 95000
กศน.อำเภอเบตง 1 หม่ทู ่ี 5 ถนนรพช-ลาแล ต.กาบงั อ.กาบงั จ.ยะลา 95120
กศน.อำเภอกรงปินงั 168 หมทู่ ี่ 6 ต.คลองขุด อ.เมือง จ.สตลู 91140
กศน.อำเภอกาบงั 168 หม่ทู ่ี 4 ต.คลองขดุ อ.เมือง จ.สตลู 91140
สำนักงาน กศน.จังหวดั สตูล หมู่ที่ 4 ต.ควนกาหลง อ.ควนกาหลง จ.สตลู 91130
กศน.อำเภอเมืองสตูล หมทู่ ่ี 1 ต.ควนโดน อ.ควนโดน จ.สตลู 91160
กศน.อำเภอควนกาหลง หมู่ท่ี 2 ต.ท่าแพ อ.ท่าแพ จ.สตูล 91150
กศน.อำเภอควนโดน หมู่ที่ 6 ต.ทงุ่ หว้า อ.ทุง่ หว้า จ.สตลู 91120
กศน.อำเภอทา่ แพ หมู่ที่ 7 ต.นิคมพัฒนา อ.มะนัง จ.สตูล 91130
กศน.อำเภอทงุ่ หว้า หมูท่ ี่ 3 ต.กำแพง อ.ละงู จ.สตูล 91110
กศน.อำเภอมะนัง 2 ถนนรามวิถี อ.เมือง จ.สงขลา 90100
กศน.อำเภอละงู ชน้ั 4 อาคารเลขท่ี 2 ถนนรามวิถี อ.เมอื ง จ.สงขลา 90100
สำนักงาน กศน.จังหวดั สงขลา 200 อาคารจุลดศิ ช้ัน 3 ถนนนิพัทธ์อทุ ิศ3 อ.หาดใหญ่
กศน.อำเภอเมอื งสงขลา จ.สงขลา 90110
กศน.อำเภอหาดใหญ่ 3 ต.เชงิ แส อ.กระแสสินธุ์ จ.สงขลา 90270

กศน.อำเภอกระแสสินธ์ุ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564 29

ช่ือหน่วยงานรว่ มจัด ที่ตง้ั /ที่อยู่
กศน.อำเภอคลองหอยโข่ง 118 หมทู่ ่ี 2 ถนนโคกมว่ ง-บ้านเหนือ ต.คลองหอยโข่ง
อ.คลองหอยโข่ง จ.สงขลา 90230
กศน.อำเภอจะนะ ต.บ้านนา อ.จะนะ จ.สงขลา 90130
กศน.อำเภอเทพา 26 ถนนเทพา – ลำไพล หมูท่ ี่ 1 ต.เทพา อ.เทพา
จ.สงขลา 90150
กศน.อำเภอนาทวี หมู่ที่ 1 ต.นาทวี อ.นาทวี จ.สงขลา 90160
กศน.อำเภอบางกลำ่ ต.บางกลำ่ อ.บางกล่ำ จ.สงขลา 90110
กศน.อำเภอระโนด ต.ระโนด อ.ระโนด จ.สงขลา 90140
กศน.อำเภอรัตภูมิ ถนนยนตรการกำธร ต.กำแพงเพชร อ.รตั ภมู ิ
จ.สงขลา 90180
กศน.อำเภอสะทงิ พระ ถนนเขาแดง - ระโนด ต.จะทงิ้ พระ อ.สะทงิ พระ
จ.สงขลา 90190
กศน.อำเภอสะเดา 98 ถนนกาญจนวนชิ ต.สะเดา อ.สะเดา จ.สงขลา 90170
กศน.อำเภอสะบา้ ย้อย 77 หม่ทู ี่ 1 ถนนราษฎรบ์ ำรุง อ.สะบา้ ย้อย จ.สงขลา 90210
กศน.อำเภอสงิ หนคร 256/23 หมทู่ ่ี 5 ต.สทิงหม้อ อ.สงิ หนคร จ.สงขลา 90280
กศน.อำเภอนาหม่อม หมู่ท่ี 5 ต.นาหม่อม อ.นาหมอ่ ม จ.สงขลา 90310
กศน.อำเภอควนเนียง ถนนศรสี วา่ ง อ.ควนเนยี ง จ.สงขลา 90220

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ประจำปงี บประมาณ 2564 30

ตารางที่ 16 ภาคเี ครอื ข่าย ที่ต้งั /ที่อยู่
ชื่อภาคเี ครือข่าย 32 ถนนสุริยะประดิษฐ์ ต.บางนาค อ.เมือง
จ.นราธิวาส 96000
สำนักงาน กศน.จงั หวดั นราธวิ าส ถนนสุริยะประดิษฐ์ ต.บางนาค อ.เมือง จ.นราธิวาส
96000
กศน.อำเภอเมืองนราธวิ าส ต.แวง้ อ.แว้ง จ.นราธวิ าส 96160
52/2 ถนนทรายทอง 2 ซอย 2 อ.สไุ หงปาดี
กศน.อำเภอแวง้ จ.นราธวิ าส 96140
กศน.อำเภอสไุ หงปาดี สไุ หงโก-ลก อ.สุไหงโกลก จ.นราธิวาส 96120
หมูท่ ่ี 3 ต.เจ๊ะเห อ.ตากใบ จ.นราธิวาส 96110
กศน.อำเภอสุไหงโกลก ถนนระแงะมรรคา ตันหยงมัส อ.ระแงะ จ.นราธิวาส
กศน.อำเภอตากใบ 96130
กศน.อำเภอระแงะ ต.จวบ อ.เจาะไอรอ้ ง จ.นราธวิ าส 96130
153/1 หมู่ที่ 3 ต.จะแนะ อ.จะแนะ จ.นราธิวาส
กศน.อำเภอเจาะไอรอ้ ง 96220
กศน.อำเภอจะแนะ ต.ย่งี อ อ.ยีง่ อ จ.นราธิวาส 96180
ถนนเพชรเกษม อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส 96170
กศน.อำเภอย่งี อ ต.มาโมง อ.สุคีริน จ.นราธิวาส 96190
กศน.อำเภอบาเจาะ ต.ซากอ อ.ศรสี าคร จ.นราธวิ าส 96210
กศน.อำเภอสุครี นิ ต.รือเสาะออก อ.รือเสาะ จ.นราธิวาส 96150
กศน.อำเภอศรีสาคร 191/61 ถนนสวนสมเดจ็ ฯ ต.รสู ะมิแล อ.เมือง
กศน.อำเภอรือเสาะ จ.ปตั ตานี 94000
สำนกั งาน กศน.จังหวัดปัตตานี 191 หมู่ที่ 6 ถนนสวนสมเด็จฯ ต.รสู ะมิแล อ.มือง
จ.ปัตตานี 94000
กศน.อำเภอเมืองปัตตานี ถนนเพชรเกษม ต.โคกโพธ์ิ อ.โคกโพธ์ิ
จ.ปตั ตานี 94180
กศน.อำเภอโคกโพธิ์ ถนนสิโรรส ต.ปิตมู ดุ ี อ.ยะรงั จ.ปัตตานี 94160

กศน.อำเภอยะรัง

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564 31

ช่ือภาคเี ครอื ข่าย ทตี่ ั้ง/ท่ีอยู่
กศน.อำเภอสายบุรี ถนนท่าเสดจ็ ต.ตะลบุ ัน อ.สายบุรี จ.ปัตตานี 94110
กศน.อำเภอกะพ้อ ต.กะรบุ ี อ.กะพ้อ จ.ปัตตานี 94230
กศน.อำเภอไม้แก่น หมูท่ ่ี 1 ต.ไทรทอง อ.ไม้แก่น จ.ปัตตานี 94220
กศน.อำเภอแม่ลาน หม่ทู ี่ 1 ต.ตะโละแมะนา อ.แมล่ าน จ.ปตั ตานี 94180
กศน.อำเภอทงุ่ ยางแดง อ.ทงุ่ ยางแดง จ.ปตั ตานี 94140
กศน.อำเภอมายอ ถนนมายอ-ทงุ่ ยางแดง ต.มายอ อ.มายอ จ.ปตั ตานี
94140
กศน.อำเภอยะหรงิ่ ถนนรามโกมุท ต.ยามู อ.ยะหริง่ จ.ปัตตานี 94150
กศน.อำเภอหนองจิก หมทู่ ี่ 1 ต.ตยุ ง อ.หนองจิก จ.ปัตตานี 94170
กศน.อำเภอปะนาเระ หมทู่ ่ี 1 ต.ปะนาเระ อ.ปะนาเระ จ.ปตั ตานี 94190
สถานีวทิ ยุกระจายเสียงแหง่ ประเทศไทยจังหวดั หอ้ งสง่ เอฟเอ็ม ถนนวงเวียน 1 ต.สะเตง อ.เมืองยะลา
ยะลา จ.ยะลา 95000
สถานีอุตนุ ยิ มวิทยาจงั หวดั ยะลา ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 410 ต.สะเตง อ.เมือง
จ.ยะลา 95000
สำนกั งานพลงั งานจงั หวดั ยะลา ศาลากลางจงั หวัดยะลา (ส่วนขยาย) อาคาร 2 ช้ัน 3
ต.สะเตง อ.เมือง จ.ยะลา 95000
มหาวทิ ยาลัยราชภฎั ยะลา 133 ถ.เทศบาล3 ต.สะเตง อ.เมือง จ.ยะลา 95000
สำนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวดั ถนนผังเมือง 2 ต.สะเตง อ.เมอื ง จ.ยะลา 95000
ยะลา
สำนักงานส่งเสรมิ สวัสดิภาพครูและบคุ ลากร ถ.อาคารสงเคราะห์ ต.สะเตง อ.เมือง จ.ยะลา 95000
ทางการศึกษาจงั หวดั ยะลา
สำนักงานพัฒนาทด่ี ินจงั หวดั ยะลา 110 ถ.สุขยางค์ ต.สะเตง อ.เมือง จ.ยะลา 95000
สำนกั งานปศสุ ตั ว์จงั หวัดยะลา 28 วงเวยี น 3 ต.สะเตง อ.เมือง จ.ยะลา 95000
วทิ ยาลยั ชมุ ชนยะลา 2 สขุ ยางค์ 1 ต.สะเตง อ.เมือง จ.ยะลา 95000
สำนักงานเกษตรจังหวัดยะลา ศาลากลางจังหวัดยะลา อาคาร 2 (อาคารสว่ นขยาย)
ช้ัน 1 ถนนสขุ ยางค์ ต.สะเตง อ.เมอื ง จ.ยะลา 95000
สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษายะลา
เขต 1 12 ถนนสขุ ยางค์ อ.เมอื ง จ.ยะลา 95000

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564 32

ชอื่ ภาคีเครือขา่ ย ทต่ี ั้ง/ที่อยู่

สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษายะลา ต.บนั นังสตา อ.บันนังสตา จ.ยะลา 95130

เขต 2

สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษายะลา 34 หมทู่ ี่ 7 หม่บู า้ นบนั นังสิแน ถนนนรัตนกิจ ต.ยะรม

เขต 3 อ.เบตง จ.ยะลา 95110

สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั สตูล อาคารหอสมุดกลางชัน้ 2 โรงเรยี นสตูลวทิ ยา

ต.คลองขดุ อ.เมอื งสตูล จ.สตูล 91000

สำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั สงขลา 173 หมู่ท่ี 4 ถ.สงขลา-นาทวี อ.เมืองสงขลา จ.สงขลา

90000

สำนักงานการศกึ ษาเอกชนจังหวัดยะลา ศาลากลางจงั วดั ยะลา อาคาร 1 ชัน้ 2 ต.สะเตง อ.เมือง

จ.ยะลา 95000

สำนักงานการศึกษาเอกชนจงั หวดั สตลู อาคารเฉลิมพระเกียรติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศึกษาสตลู หมูท่ ี่ 4 ต.คลองขุด อ.เมอื งสตูล

จ.สตูล 91000

สำนักงานการศึกษาเอกชนจงั หวัดสงขลา 173 หมู่ 4 ถ.สงขลา-นาทวี ต.เขารปู ช้าง อ.เมืองสงขลา

จ.สงขลา 90000

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา 174 หมู่ที่ 4 ต.เขารูปช้าง อ.เมืองสงขลา จ.สงขลา

สตลู 90000

วิทยาลัยอาชีวศกึ ษายะลา 100 หมู่ 5 ถนน สาย 15 ต.สะเตงนอก อ.เมือง จ.ยะลา

95000

วทิ ยาลยั สารพดั ชา่ งยะลา 4/2 ถ.เวฬุวัน ต.สะเตง อ.เมือง จ.ยะลา 95000

วิทยาลัยเทคนิคสตูล 217 ถนนศุลกานุกลู ต.พิมาน อ.เมอื งจ.สตูล 91000

วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยสี ตูล ต.ควนกาหลง อ.ควนกาหลง จ.สตลู 91130

สถานวี ิทยศุ ูนยอ์ ำนวยการบริหารจังหวดั ชายแดน 60 ถ.สุขยางค์ ต.สะเตง อ.เมือง จ.ยะลา 95000

ภาคใต้ ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดน

ภาคใต้ (ศอ.บต)

ชุมชนธารโต 121 หมูท่ ่ี 2 ถนนสขุ ยางค์ ต.ธารโต อ.ธารโต จ.ยะลา

95150

ชมุ ชนพรบุ าโกย 25 ถนนขวญั เมือง ต.สะเตง อ.เมอื ง จ.ยะลา 95000

ชมุ ชนดารสุ สลาม 28 ซอยศรปี ตุ รา ถนนสโิ รรส ต.สะเตง อ.เมือง

จ.ยะลา 95000

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564 33

ช่ือภาคีเครอื ขา่ ย ท่ตี ัง้ /ที่อยู่
องค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัดยะลา ถนน สุขยางค์ ต.สะเตง อ.เมือง จ.ยะลา 95000
สถานีตำรวจภูธรจังหวัดยะลา 31 วงเวยี น 2 ต.สะเตง อ.เมอื ง จ.ยะลา 95000
โรงพยาบาลศูนยย์ ะลา 152 ถ. สโิ รรส ต.สะเตง อ.เมอื ง จ.ยะลา 95000
ชมรมผสู้ งู อายจุ งั หวัดยะลา ต.สะเตง อ.เมือง จ.ยะลา 95000
เทศบาลนครยะลา 10 ถนนสุขยางค์ ต.สะเตง อ.เมอื ง จ.ยะลา 95000
สำนกั งานคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวดั 4089 ตำบล ทา่ สาป ต.สะเตง อ.เมอื ง จ.ยะลา 95000
ยะลา
สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม 35 ถนน สุขยางค์ ต.สะเตง อ.เมือง จ.ยะลา 95000
จังหวัดยะลา
เครอื ข่ายสง่ เสริมประสิทธิภาพการจดั การศึกษา ถนนพิพิธภกั ดี ต.สะเตง อ.เมือง จ.ยะลา 95000
จงั หวดั ยะลา (สมป.ยะลา)
ศนู ยว์ จิ ัยและพัฒนาการป่าไม้ภาคใต้ อ.รัตภมู ิ จ.สงขลา
(อำเภอรัตภูมสิ งขลา)
423 ถ.ไทรบรุ ี ต.บ่อยาง อ.เมอื ง จ.สงขลา 90110
กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนท่ี 43 หมู่ท่ี 5 ต.เขาแดง อ.สะบา้ ยอ้ ย จ.สงขลา 90210
โรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดนบ้านสำนกั เอาะ ตำบลธารครี ี อ.สะบ้ายอ้ ย จ.สงขลา 90210
โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบา้ นหาดทราย บ้านนำ้ เชียว หม่ทู ี่ 4 ต.เขาแดง อ.สะบ้าย้อย จ.สงขลา
โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านมหาราช 1 90210
หม่ทู ี่ 5 บา้ นแกแดะ ต.ธารคีรี อ.สะบา้ ยอ้ ย จ.สงขลา
โรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดนพลเอก 90210
นวล-คณุ หญิงบานช่นื จันทร์ตรี ต. ทบั ชา้ ง อ.นาทวี จ.สงขลา 90160
โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนเชิญ พิศลยบตุ ร ต. ประกอบ อ. นาทวี จ.สงขลา 90160
โรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดนบา้ นประกอบ
ออก หมู่ที่ 6 ต.สำนักแต้ว อ.สะเดา จ.สงขลา 90240
โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนส่อื มวลชนกฬี า ต.ปาดังเบซาร์ อ.สะเดา จ.สงขลา 90240
โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านชายควน ต.ทงุ่ หมอ อ.สะเดา จ.สงขลา 90240
โรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดนบ้านทุง่ สบายใจ ต.ปาดังเบซาร์ อ.สะเดา จ.สงขลา 90240
โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านบาโรย ต.บดุ ี อ.เมืองยะลา จ.ยะลา 95000
กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 44 ถนน สำโรง ตเขารูปช้าง อ.เมืองสงขลา จ.สงขลา
มหาวิทยาลยั ราชภัฏสงขลา 90000

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปงี บประมาณ 2564 34

ชื่อภาคีเครอื ขา่ ย ทตี่ ง้ั /ท่ีอยู่
สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดยะลา 3/4 ถ.อาคารสงเคราะห์ ต.สะเตง อ.เมอื งยะลา
จ.ยะลา
วิทยาลัยเทคโนโลยอี ดุ มศึกษาพณชิ ยการ 406 ถนนธรรมนูญวถิ ี ต.หาดใหญ่ อ.หาดใหญ่
จ. สงขลา 90110
โรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดนนคิ มพิทักษ์ ต.บา้ นแหร อ.ธารโต จ.ยะลา 95150
ราษฎร์
โรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดนปาโจแมเราะ ต.แมห่ วาด อ.ธารโต จ.ยะลา 95170
โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนสงั วาลยว์ ิทย์ 4 ต.ธารโต อำเภอ ธารโต ยะลา 95170
โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนเฉลมิ พระเกยี รติ 5 ซอยรวมเพชร ต.บุดี อ.เมอื งยะลา จ.ยะลา 95000
50 พรรษา
โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนยาสูบ2 บ้านสะปอ่ ง หมู่ 3 ต.ปะแต อ.ยะหา จ.ยะลา 95120
ศนู ย์การเรยี นตำรวจตระเวนชายแดนบา้ นภักดี หมู่ท่ี 5 ต.เขอ่ื นบางลาง อ.บันนังสตา จ.ยะลา 95130
โรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดนส้านแดงรัฐ หมู่ที่ 11 ต.ควนกาหลง อ.ควนกาหลง จ.สตูล 91130
ประชาสรรค์
โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนยูงทอง หมู่ท่ี 4 ต.ควนกาหลง อ.ควนกาหลง จ.สตูล 91130
รฐั ประชาสรรค์
หอดดู าวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ ถ.หอดดู าวภูมิภาคสงขลา ต.เขารูปช้าง อ.เมือง
พระชนมพรรษา สงขลา จ.สงขลา 90110
โรงเรยี นคณะราษฎรบำรงุ จังหวัดยะลา 125 ถนนพพิ ิธภกั ดี ต.สะเตง อ.เมอื งยะลา จ.ยะลา
95000
โรงเรียนสตรยี ะลา 25 สุขยางค์ ถนนสขุ ยางค์ ต.สะเตง อ.เมืองยะลา
ยะลา 95000
โรงเรยี นคณะราษฎรบำรุง 2 เลขท่ี 129 หมู่ 3 ต.ยุโป อ.เมือง จ.ยะลา 95000
โรงเรียนเฉลมิ พระเกยี รตสิ มเด็จพระศรนี ครินทร์ 135 หมู่ 1 ถนนรม่ เกล้า ต.บุดี อ.เมอื งยะลา จ.ยะลา
ยะลา 95000
โรงเรียนรามนั หศ์ ริ ิวทิ ย์ 181หมู่ 1 อ.รามัน จ.ยะลา 95140
โรงเรยี นบันนงั สตาวทิ ยา 24/1 หมทู่ ่ี 2 ถนนบนั นังสตา-ยะหา ต.บันนงั สตา
อำเภอบันนงั สตา จังหวัดยะลา
โรงเรียนธารโตวัฑฒนวทิ ย์ หมู่ที่ 1 บ้านธารโต ต.ธารโต อ.ธารโต จ.ยะลา
95150

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ประจำปงี บประมาณ 2564 35

ชือ่ ภาคีเครอื ขา่ ย ท่ีต้งั /ท่ีอยู่
โรงเรยี นนคิ มพัฒนวทิ ย์ 429 ต.ตลง่ิ ชัน อำเภอ บนั นงั สตา จ.ยะลา 95130
โรงเรยี นเบตง"วรี ะราษฎร์ประสาน" 19 ถ.รวมวิทย์ อ.เบตง อ.เบตง จ.ยะลา 95110
โรงเรยี นยะหาศิรยานุกลู 90 หมู่ 6 ถนนยะหา - ตาขี อ.ยะหา จ.ยะลา 95120
โรงเรยี นกาบงั พิทยาคม 3 หมู่ 5 ต.กาบัง อ.กาบงั จ.ยะลา 95120
โรงเรยี นธรรมวิทยามูลนิธิ 762 ถนนสิโรรส ต.สะเตง อ.เมอื ง จ.ยะลา 95000
โรงเรียนพัฒนาวทิ ยา (แผนกสาธิต) 19 ถนนผงั เมอื ง ต.สะเตง อ.เมอื ง จ.ยะลา 95000
โรงเรียนสตรอี ิสลามวิทยามูลนิธิ 104 ถนนจะปะกียาอุทิศ ต.สะเตง อ.เมือง จ.ยะลา
95000
โรงเรยี นอิสลามประสานวิทย์ 376 ถนนยะลา-โกตา ต.โกตาบารู อ.รามัน ยะลา
โรงเรยี นตารเ์ บียตุลวาตัน 1 ถนนเทศบาล 3 ต.สะเตง อ.เมอื งยะลา จ.ยะลา
โรงเรยี นอุดมศาสน์วิทยา 95000
โรงเรียนประทปี วิทยา 11 หมทู่ ่ี 5 ต.สะเตงนอก อ.เมือง จ.ยะลา 95000
89/1 ต.บนั นงั สาเรง อ.เมือง จ.ยะลา 95000
โรงเรียนอาลาวียะห์วทิ ยา 36 หมู่ท่ี 2 ต.บุดี อ.เมืองยะลา จ.ยะลา 95000
90 หมทู่ ่ี 4 ตำบลลดิ ล อำเภอเมอื งยะลา จงั หวัดยะลา
โรงเรยี นพัฒนาวทิ ยา 95160
โรงเรียนอสิ ลามบาเจาะวทิ ยา 84 หมู่ 3 ต.ตาเนาะปเู ต๊ะ อ.บันนังสตา จ.ยะลา
95130
ปญั ญาวิทยา 52 ผงั เมอื ง2 ต.สะเตง อ.เมือง จ.ยะลา 95000
ฮ 72 ต.บาเจาะ อ.บนั นงั สตา จ.ยะลา 95130
74 หมู่ท่ี 9 ต.กรงปนิ งั อ.กรงปนิ ัง จ.ยะลา 95000
โรงเรียนรชั ตะวิทยา ยะลา 35 ถนน ผังเมือง 5 ต.สะเตงนอก อ.เมืองยะลา
จ.ยะลา 95000
โรงเรยี นดาริลอิหซาน ยะลา 2 ถ.ผังเมอื ง 5 อ.เมอื งยะลา จ.ยะลา 95000
โรงเรียนศรบี างลางวิทยานสุ รณ์ 2/3 ถนนสุขยางค์ 1 ต.สะเตง อ.เมอื ง จ.ยะลา
โรงเรยี นรุง่ อรณุ พฒั นา ยะลา 95000
โรงเรียนแสงอรณุ วิทยา 4060 ต.เกะรอ อ.รามนั จ.ยะลา 95140
453 ต.เขือ่ นบางลาง อ.บันนงั สตา จ.ยะลา 95130
54/2 ม.5 ต.ปะแต อ.ยะหา จ.ยะลา 95120
หมทู่ ี่ 2 ต.บาเจาะ อ.บนั นงั สตา จ.ยะลา 95130

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ประจำปงี บประมาณ 2564 36


Click to View FlipBook Version