The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตร-ประชาธิปัตย์-64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by khunkrunuiy, 2022-07-11 07:47:41

หลักสูตร-ประชาธิปัตย์-64

หลักสูตร-ประชาธิปัตย์-64

รหัสวชิ า 33102 คาอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน
กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชน้ั มธั ยมศกึ ษา

ปีที่ 6 เวลา 40 ช่วั โมง จานวน 1.0 หน่วยกิต

อ่านวิเคราะหว์ จิ ารณแ์ สดงความคดิ เห็นโต้แย้ง เสนอความคิดอยา่ งมีเหตุผล สงั เคราะห์การอา่ นสื่อส่ิงพิมพ์ สื่อ

อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เขยี นบนั ทึกการอา่ น เขียนเชิงสรา้ งสรรค์ ประเมนิ งานเขยี น ใช้วิจารณญาณในการฟังและดู พูดแสดง

ทรรศนะโต้แยง้ พูดโน้มนา้ วใจและเสนอแนวคดิ การใช้ภาษาเหมาะสมแกโ่ อกาส กาลเทศะ และบคุ คล คาราชาศพั ท์

แตง่ บทร้อยกรอง โคลงและฉันท์ วิเคราะหล์ กั ษณะเดน่ และสังเคราะห์ข้อคดิ จากวรรณคดีและวรรณกรรม ประเมนิ คณุ คา่

ด้านวรรณศลิ ป์ วรรณกรรมพืน้ บา้ น ภูมิปญั ญาทางภาษา ทอ่ งจาบทอาขยานและบทร้อยกรองท่ีมีคณุ ค่า

โดยใช้กระบวนการอา่ น การเขียน การอธบิ าย การคดิ วเิ คราะห์ วิจารณ์ ประเมินคา่ สังเคราะห์ เพอ่ื ให้เกดิ ความรู้

ความคิด ความเข้าใจ สามารถนาไปใชต้ ัดสนิ ใจ แกป้ ญั หาและประยุกต์ใชใ้ นการดาเนนิ ชวี ติ เพอ่ื พัฒนาตน พัฒนาการ

เรียน พฒั นาความรทู้ างอาชีพ มีนสิ ัยรักการอ่าน มีมารยาทในการอา่ น การเขยี น การฟัง การดู การพูดและเห็นคุณค่าใน

ความงามของวรรณคดีและวรรณกรรม

ตวั ชี้วดั

ท 1.1 ม. 6/5, ม. 6/8, ม. 6/9

ท 2.1 ม. 6/4, ม. 6/5, ม. 6/7, ม. 6/8

ท 3.1 ม. 6/4, ม. 6/5, ม. 6/6

ท 4.1 ม. 6/3, ม. 6/4

ท 5.1 ม. 6/2, ม. 6/3, ม. 6/4, ม. 6/5, ม. 6/6

รวมท้ังหมด 17 ตวั ชี้วัด

คาอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเติม

การใชห้ อ้ งสมดุ 1 , 2 กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย

ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 เวลา 80 ช่วั โมง จานวน 2.0 หนว่ ยกิต

อธิบายความหมาย วัตถุประสงค์ บทบาทและความสาคัญของห้องสมุด บอกประเภท หนา้ ท่ีของห้องสมดุ แตล่ ะ

ประเภท และประโยชนข์ องสารสนเทศ บอกความหมาย ลักษระและประเภทหนังสืออ้างอิง ใชห้ นังสอื อา้ งองิ แตล่ ะประเภท

ในการค้นสารสนเทศทตี่ ้องการ อธบิ ายความหมายและประโยชนข์ องการจัดหมหู่ นงั สือและระบบการจัดเกบ็ การแบง่ หมวดหมู่

หนังสอื ระบบดวิ อ้ี บอกความหมายและความสาคญั ของเลขเรยี กหนังสอื ใช้เลขเรยี กหนงั สือ หาตาแหน่งของหนงั สือทีต่ ้องการ

และนาความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้

ผลการเรยี นรู้

๑. อธบิ ายความหมาย วัตถปุ ระสงค์ บทบาทและความสาคัญของห้องสมุดได้
๒. บอกประเภท บทบาท และหนา้ ที่ของหอ้ งสมุดแตล่ ะประเภทและประโยชน์ของสารสนเทศได้
๓. บอกความหมาย ลกั ษณะ และประเภทหนงั สืออา้ งองิ ได้
๔. ใช้หนงั สอื อา้ งองิ แตล่ ะประเภทในการค้นสารสนเทศที่ตอ้ งการได้
๕. อธบิ ายความหมายและประโยชน์ของการจัดหมู่หนงั สอื และระบบการจดั เก็บได้
๖. อธิบายการแบ่งหมวดหมู่หนงั สอื ระบบดวิ อี้ได้
๗. บอกความหมายและความสาคญั ของเลขเรียกหนังสอื ได้
๘. ใชเ้ ลขเรยี กหนงั สือหาตาแหน่งของหนังสอื ทีต่ ้องการได้

รวมทั้งหมด 8 ผลการเรียนรู้

คาอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน

รหัสวชิ า ค 11101 กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์

ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 1 รวม 200 ชั่วโมง

ศึกษา จานวนนับ 1 ถึง 100 และ 0 การนับทีละ 1 และทีละ 10 อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยแสดง

จานวนนับไม่เกิน 100 และ 0 แสดงจานวนนับไม่เกิน 20 ในรูปแบบความสัมพันธ์ของจานวนแบบส่วนย่อย-ส่วนรวม บอก

ลาดับท่ี และเรียงลาดับจานวนไม่เกิน 100 และ 0 หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลักและการเขียนแสดงจานวนในรูปกระจาย

เปรียบเทียบจานวนนับไม่เกิน 100 และ0 โดยใช้เครื่องหมาย เท่ากับ ไม่เท่ากับ มากว่า น้อยกว่า ความหมายของการบวก การ

ลบ การหาผลบวก ผลลบ และความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ แก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบ และการสร้างโจทย์

ปญั หาของจานวนนับไม่เกิน 100 และ 0 แบบรูปของจานวนที่เพม่ิ ข้ึนหรือลดลงทีละ 1 และทีละ 10 แบบรูปซ้าของจานวน รูป

เรขาคณิตและรูปอ่ืนๆ การวัดความยาวโดยใช้หน่วยท่ีไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน การวัดความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร การ

เปรียบเทียบความยาว การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบที่เก่ียวกับความยาว การวัดน้าหนักโดยใช้หน่วยที่ไม่ใช่ หน่วย

มาตรฐาน การวัดน้าหนักเป็นกิโลกรัม เป็นขีด การเปรียบเทียบน้าหนัก การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบที่เก่ียวกับน้าหนัก

จาแนกรูปรูปสามเหล่ียม รูปสี่เหลี่ยม วงกลม วงรี ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย และการอ่านแผนภูมิ

รปู ภาพ

โดยใชก้ ระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการบอกจานวน ระบุจานวนที่หายไป เปรยี บเทียบจานวน เรียงลาดับจานวนนับ

หาคา่ ของตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยคสญั ลกั ษณแ์ สดงวิธหี าคาตอบ วัดและเปรียบเทียบความยาวและน้าหนัก จาแนกรปู เรขาคณิต

กระบวนการแก้โจทย์ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสร่างความตระหนัก การให้เหตุผลอิง

หลักการ การฝกึ ปฏิบัตผิ ่านการจัดเรยี นรแู้ บบบูรณาการระหวา่ งกลุ่มสาระ

เพื่อใหผ้ ู้เรยี นมีความสามารถในการแก้ปัญหา ใฝ่เรียนรู้ มีความมุ่งม่นั ในการทางานทางคณิตศาสตร์ สามารถสอ่ื สาร สื่อ

ความหมายทางคณิตศาสตร์ และนาทกั ษะทางคณติ ศาสตร์ไปใช้ในสถานการณต์ ่างๆ

ตวั ชว้ี ดั
ค 1.1 ป.1/1, ป.1/2 ,ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5
ค 1.2 ป.1/1

ค 2.1 ป.1/1, ป.1/2

ค 2.2 ป.1/1

ค 3.1 ป.1/1

รวม 5 มาตรฐาน 10 ตัวช้ีวดั

คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

รหัสวชิ า ค 12101 กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์

ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 รวม 200 ชวั่ โมง

ศึกษา จานวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 การนับทีละ 2 ทีละ 5 ทีละ 10 และทีละ 100 แบบรูปซ้าและแบบรูปของ

จานวนท่ีเพิ่มขึ้นหรือลดลง อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและตัวหนังสือแสดงจานวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

จานวนคู่ จานวนค่ี หลกั ค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั และการเขียนตวั เลขแสดงจานวนในรปู กระจาย เปรียบเทียบจานวนนับไม่

เกิน 1,000 และ 0 โดยใช้เคร่ืองหมาย เท่ากับ ไม่เท่ากับ มากว่า น้อยกว่า เรียงลาดับจานวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ตั้งแต่ 3

ถงึ 5 จานวนจากสถานการณ์ต่างๆ การบวก การลบ การคูณ การหาร จานวนนับไม่เกนิ 1,000 และ 0 ความหมายของการคูณ

การหาร การหาผลคูณ ผลหาร และเศษ และความสัมพันธ์ของการคูณและการหาร การบวก ลบ คูณ หารระคน การแก้โจทย์

ปัญหา และการสร้างโจทย์ปัญหาพร้อมทั้งหาคาตอบ การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที การบอกระยะเวลาเป็นช่ัวโมง การ

เปรยี บเทยี บระยะเวลา การอ่านปฏทิ นิ การแก้โจทยป์ ญั หาเกยี่ วกับเวลา การวดั ความยาวเป็นเมตรและเซนตเิ มตร การคาดคะเน

การเปรียบเทียบความยาวโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างเมตรกับเซนติเมตร การแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับความยาวท่ีมีหน่วยเป็น

เมตรและเซนติเมตรการวัดน้าหนักเป็นกิโลกรมั กรัม และขีดการคาดคะเนน้าหนกั การเปรียบเทียบน้าหนกั โดยใช้ความสัมพันธ์

ระหวา่ งกิโลกรมั กรัม และขีด การแก้โจทย์ปญั หาเกี่ยวกบั น้าหนักทีม่ ีหนว่ ยเปน็ กโิ ลกรมั กรมั และขีด การวัดปริมาตรและความ

จุโดยใช้หน่วยท่ีไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน การวัดปริมาตรและความจุเป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง และลิตร การเปรียบเทียบ

ปริมาตรและความจุ การแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับปริมาตรและความจุจาแนกและบอกลักษณะของรูปหลายเหลี่ยมและวงกลม

และการอ่านแผนภมู ริ ปู ภาพ

โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการบอกจานวน จาแนก เปรียบเทียบ เรียงลาดับจานวน หาค่าของตัวไม่ทราบ

ค่า หาผลลพั ธ์การบวก ลบ คูณ หารระคน แสดงวธิ ีหาคาตอบ ระบุจานวนที่หายไปแบบรูป และใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพใน

การหาคาตอบ บูรณาการกระบวนการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์

กระบวนการสรา้ งความตระหนัก การให้เหตุผลอิงหลกั การ การฝกึ ปฏบิ ัติผ่านการจดั เรียนรแู้ บบบูรณาการระหวา่ งกลุ่มสาระ

เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณ์ต่างๆมีความสามารถใน ใฝ่เรียนรู้ มีความ

มงุ่ ม่ันในการทางานทางคณิตศาสตร์ และนาทกั ษะทางคณิตศาสตรไ์ ปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน

ตัวชว้ี ดั
ค 1.1 ป.2/1, ป.2/2 ,ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5,ป.2/6, ป.2/7, ป.2/8
ค 2.1 ป.2/1 ป.2/2 ,ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5,ป.2/6

ค 2.2 ป.2/1

ค 3.1 ป.2/1

รวม 4 มาตรฐาน 16 ตัวช้ีวดั

คาอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

รหัสวิชา ค 13101 กลุ่มสาระคณิตศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3 รวม 200 ชัว่ โมง

ศึกษา จานวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและตัวหนังสือแสดงจานวนนับ

ไม่เกิน 100,000 และ 0 แบบรูปของจานวนท่ีเพิ่มข้ึนหรือลดลงทีละเท่าๆกันหลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลักและการเขียน

ตวั เลขแสดงจานวนในรูปกระจาย เปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวนนบั ไม่เกิน 100,000 จากสถานการณ์ต่างๆบอก อ่าน และ

เขยี นเศษส่วนแสดงปริมาณส่ิงต่างๆและแสดงสิ่งต่างๆตามเศษส่วนทีก่ าหนด เปรยี บเทียบและเรียงลาดับเศษส่วน การบวก การ

ลบ การคูณ การหาร จานวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวก การลบ

การคูณ และการหาร ท่ีผลลัพธ์ไม่เกิน 100,000 และ 0 การแก้โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหา พร้อมท้ังหาคาตอบ การ

บวกและการลบเศษสว่ น การแก้โจทย์ปัญหาการบวกและการลบเศษส่วน การบอกจานวนเงินและเขียนแสดงจานวนเงิน แบบ

ใชจ้ ุด การเปรยี บเทียบจานวนเงนิ และการแลกเงนิ การอ่านและเขียนบนั ทกึ รายรับรายจา่ ย การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกบั เงิน การ

บอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที การเขียนบอกเวลาโดยใช้มหัพภาค หรือทวิภาค และการอ่าน การบอกเวลาเป็นชั่วโมงและนาที

การเปรยี บเทียบระยะเวลาโดยใช้ความสมั พันธ์ระหว่างชวั่ โมงกบั นาที การอ่านและเขียนบันทึกกิจกรรมท่รี ะบุเวลา การแก้โจทย์

ปัญหาเก่ียวกับเวลาและระยะเวลา การวดั ความยาวเป็นเซนติเมตร มิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรละเมตร การเลือก

เครื่องวัดความยาวท่ีเหมาะสม การคาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร การเปรียบเทียบความยาวโดยใช้ความสัมพันธ์

ระหว่างหน่วยความยาว การแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับความยาว เลือกใช้เครื่องชั่งท่ีเหมาะสม วัดและบอกน้าหนักเป็นกิโลกรัม

กรัม แอละขดี คาดคะเนน้าหนกั เปรียบเทียบน้าหนักโดยใช้ความสมั พันธ์ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตนั กับกิโลกรัม การแก้

โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับน้าหนักเลือกใช้เคร่ืองตวงท่ีเหมาะสม วดั และเปรียบเทียบปริมาตร ความจุเป็นลิตรและมลิ ลิลิตร คาดคะเน

ปริมาตรและความจุเป็นลิตร การเปรียบเทียบปริมาตรและความจโุ ดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างลิตรกับมิลลิลิตร ช้อนชาช้อนโต๊ะ

ถ้วยตวงกบั มิลลิลิตร การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปรมิ าตรและความจุท่ีมีหน่วยเป็นลิตรและมิลลิลิตร ระบุรปู เรขาคณิตสองมิตทิ ่ี

มีแกนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตร การเก็บรวบรวมข้อมูลและจาแนกข้อมูล การอ่านและการเขียนแผนภูมิรูปภาพ การ

อ่านและการเขียนตารางทางเดียว โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการอ่านและเขียน เปรียบเทียบ คาดคะเน

เรียงลาดับตัวเลขแสดงจานวนนบั เศษสว่ น หาค่าของตัวไม่ทราบค่า หาผลลัพธ์ แสดงวธิ ีหาคาตอบ ระบจุ านวนท่ีหายไปในแบบ

รู)เลอื กใชเ้ ครือ่ งมอื วัดระบุรปู เรขาคณติ เขยี นแผนภูมิ เขียนตารางทางเดียว และใชข้ อ้ มูลจากตาราง บูรณาการรกระบวนการคิด

สร้างสรรค์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวเิ คราะห์ กระบวนการสร้างความตระหนัก การให้เหตุผล

องิ หลักการ การฝกึ ปฏบิ ตั ิผ่านการจดั เรยี นรตู้ ามแนวคิด Active Learning

เพื่อให้ผ้เู รยี นมีทกั ษะในการสื่อความหมายทางคณติ ศาสตร์ในสถานการณ์ตา่ งๆมคี วามสามารถใน ในการคิดแก้ปญั หา

ใฝ่เรียนรู้ มีความมุง่ มั่นในการทางานทางคณิตศาสตร์ ใชค้ วามรทู้ างคณิตศาสตร์เปน็ เคร่ืองมอื ในการเรยี นรูเ้ น้ือหาต่างๆหรอื

ศาสตร์อนื่ ๆ และนาทักษะทางคณติ ศาสตรไ์ ปใชใ้ นชวี ติ จริง

ตวั ช้วี ัด ค 1.1 ป.3/1, ป.3/2 ,ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5,ป.1/6, ป.3/7, ป.3/8,ป.3/9, ป.3/10, ป.3/11 ค 1.2 ป.3/1
ค 2.1 ป.3/1, ป.3/2 ,ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5,ป.1/6, ป.3/7, ป.3/8,ป.3/9, ป.3/10, ป.3/11, ป.3/12,

ป.3/13 ค 2.2 ป.3/1 ค 3.1 ป.3/1,ป.3/2 รวม 5 มาตรฐาน 28 ตวั ช้วี ัด

คาอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน

รหัสวิชา ค 14101 กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์

ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 รวม 160 ชั่วโมง

ศกึ ษา จานวนนับท่ีมากกว่า 100,000 และ 0 อ่านและเขียนตวั เลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและตัวหนังสือแสดงจานวน

นบั ที่มากกว่า 100,000 หลัก ค่าประจาหลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก ค่าของเลขโดในแต่ละหลักของทศนิยม และการ

เขียนตัวเลข เขียนทศนิยมแสดงจานวนในรูปกระจาย เปรียบเทียบและเรียงจานวนนับท่ีมากกว่า 100,000 จากสถานการณ์

ต่างๆ ค่าประมาณของจานวนนับและการใช้เคร่ืองหมายประมาณค่า บอก อ่าน และเขียนเศษส่วนจานวนคละแสดงปริมาณส่ิง

ต่างๆและแสดงสิ่งต่างๆตามเศษส่วน จานวนคละที่กาหนด เปรียบเทียบและเรียงลาดับเศษส่วน และจานวนคละท่ีตัวส่วนตัว

หน่ึงเป็นพหุคูณของอีกตัวหนงึ่ การอ่านและเขียนทศนิยมไม่เกิน 3 ตาแหน่งตามปริมาณที่กาหนด เปรียบเทียบและเรียงทศนิยม

ไมเ่ กิน 3 ตาแหนง่ จากสถานการณ์ตา่ งๆ การบวก การลบ การคณู การหาร จานวนนบั ทม่ี ากกว่า 100,000 และ 0 หาค่าของตัว

ไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวก การลบการคูณ และการหาร การแก้โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหา

พร้อมท้ังหาคาตอบ การบวก การลบเศษส่วนและจานวนคละ การแก้โจทย์ปญั หาการบวก การลบเศษส่วนและจานวนคละ การ

บวก การลบทศนิยม การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบทศนิยม แบบรูปของจานวนที่เกิดจากการคูณ การหารด้วยจานวน

เดียวกัน การบอกระยะเวลาเป็นวินาที ชั่วโมง วัน สัปดาห์ เดือน ปี การเปรียบเทียบระยะเวลาโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่าง

หน่วยเวลา การอ่านตารางเวลา การแก้โจทย์ปัญหาเก่ยี วกับเวลา วดั และสรา้ งมุม โดยใช้โพรแทรกเตอร์ ความยาวรอบรูป พ้ืนท่ี

ของรูปส่ีเหลี่ยมมุมฉาก การแกโ้ จทย์ปญั หาเก่ียวกับความยาวรอบรูป และพ้ืนทข่ี องรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ระนาบ จุด เสน้ ตรง รงั สี

ส่วนของเส้นตรงและสัญลักษณ์แสดงเส้นตรง รังสี ส่วนของเส้นตรง มุม ส่วนประกอบของมุม การเรียกช่ือมุม สัญลักษณ์แสดง

มมุ ชนดิ และสมบตั ิของมุม การสร้างรูปสเ่ี หล่ยี มมมุ ฉาก การอา่ นและการเขียนแผนภมู แิ ทง่ การอ่านตารางสองทาง

โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตรใ์ นการอ่านและเขียน จาแนก เปรียบเทียบ เรียงลาดับ ประมาณผลลพั ธ์ หาคา่ ของ

ตัวไม่ทราบค่า หาผลลัพธ์ แสดงวิธีการหาคาตอบ สร้างโจทย์ปัญหา วัดและสร้างมุม ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิในการหาคาตอบ

บูรณาการรกระบวนการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสร้าง

ความตระหนัก การให้เหตผุ ลอิงหลักการ การฝึกปฏบิ ัติผา่ นการจัดเรียนรู้ตามแนวคิด Research Based Learning

เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณ์ต่างๆมีความสามารถในการคิดแก้ปัญหา รับ

ฟงั และให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ในการสนับสนุนความคดิ ใฝเ่ รยี นรู้ มีความมุ่งมั่นในการทางานทางคณิตศาสตร์ ใช้ความรู้ทาง

คณิตศาสตรเ์ ป็นเครอื่ งมอื ในการเรียนร้เู นอื้ หาต่างๆหรอื ศาสตร์อ่ืนๆและนาทักษะทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในชีวติ จริง

ตัวชว้ี ดั
ค 1.1 ป.4/1, ป.4/2 ,ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5,ป.4/6, ป.4/7, ป.4/8,ป.4/9, ป.4/10 ,ป.4/11, ป.4/12, ป.4/13,ป.4/14, ป.4/15,

ป.4/16
ค 2.1 ป.4/1, ป.4/2 ,ป.4/3

ค 2.2 ป.4/1, ป.4/2

ค 3.1 ป.4/1

รวม 4 มาตรฐาน 22 ตวั ช้ีวดั

คาอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

รหัสวิชา ค 15101 กลมุ่ สาระคณิตศาสตร์

ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 5 รวม 160 ชัว่ โมง

ศกึ ษา ความสมั พันธ์ระหว่างเศษสว่ นและทศนยิ ม ค่าประมาณของทศนิยมไม่เกิน 3 ตาแหนง่ ที่เปน็ จานวนเตม็ ทศนยิ ม

1 ตาแหนง่ และ 2 ตาแหน่ง การใชเ้ ครอื่ งหมายประมาณค่า แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาโดยใช้บัญญตั ิไตรยางศ์

เปรยี บเทยี บเศษสว่ นและจานวนคละ การบวก การลบ การคูณ การหาร และหารระคนของเศษส่วนและจานวนคละ โจทย์

ปัญหาเศษส่วนและจานวนคละ การคูณ การหารทศนยิ มไม่เกนิ 3 ตาแหนง่ การแกโ้ จทย์ปัญหาทศนิยม การอ่านและเขียนร้อย

ละหรือเปอร์เซ็นต์ การแกโ้ จทยป์ ัญหาร้อยละ ความสมั พนั ธ์ระหว่างหน่วยความยาวเซนติเมตรกบั มลิ ลเิ มตร เมตรกับเซนตเิ มตร

กิโลเมตรกับเมตรโดยใช้ความรูเ้ ร่อื งทศนิยม การแก้โจทยป์ ัญหาเกยี่ วกบั ความยาวโดยใช้ความรู้เรือ่ งการเปล่ยี นหนว่ ยและ

ทศนยิ มความสัมพนั ธ์ระหว่างหนว่ ยน้าหนกั กโิ ลกรมั กับกรัม โดยใช้ความรเู้ รื่องทศนยิ ม การแก้โจทยป์ ญั หาเก่ียวกับนา้ หนกั โดย

ใช้ความรเู้ รื่องการเปลี่ยนหน่วยและทศนยิ ม ปริมาตรแลความจุ ความสมั พันธร์ ะหวา่ ง มิลลิตร ลติ ร ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร และ

ลูกบาศก์เมตร การแก้โจทยป์ ัญหาเก่ียวกบั ปริมาตรและความจุของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ความยาวรอบรูป พน้ื ท่ีของรูปส่ีเหลี่ยม

การแก้โจทยป์ ัญหาเกีย่ วกับความยาวรอบรูปและพ้นื ท่ีของรปู สเ่ี หลยี่ ม เสน้ ต้ังฉากและสัญลกั ษณ์แสดงการตั้งฉาก เส้นขนานและ

สัญลกั ษณแ์ สดงการขนาน การสรา้ งเส้นขนาน มุมแย้ง มมุ ภายใน และมมุ ภายนอกที่อยู่บนขา้ งเดยี วกันของเสน้ ตัดขวาง ชนิด

และสมบตั ิของรูปสีเ่ หล่ยี ม การสร้างรูปส่เี หล่ียม ลักษณะและส่วนตา่ งๆของปรซิ ึม การอ่านและการเขยี นแผนภมู ิแท่ง การเขยี น

กราฟเสน้

โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตรใ์ นการเขียนเศษส่วน แสดงวธิ หี าคาตอบหาผลลัพธ์ สรา้ งและบอกลกั ษณะรปู

เรขาคณิต ใช้ขอ้ มูลในการหาคาตอบ เขียนแผนภมู แิ ท่ง บูรณาการรกระบวนการคดิ สร้างสรรค์ กระบวนการแกป้ ญั หา

กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างความรคู้ วามเขา้ ใจ การให้

เหตผุ ลองิ หลกั การ และกระบวนการสรา้ งทกั ษะการฝึกปฏิบัติผ่านการจัดการเรยี นรตู้ ามแนวคิด Research Based Learning

เพื่อใหผ้ ้เู รยี นมที กั ษะในการส่ือสารและส่ือความหมายทางคณติ ศาสตร์ในสถานการณต์ ่างๆมคี วามสามารถในการคิด

แก้ปัญหา รับฟังและใหเ้ หตุผลทางคณิตศาสตรใ์ นการสนบั สนุนความคิดหรือโตแ้ ย้งทน่ี าไปส่กู ารสรปุ ผลโดยมีขอ้ เท็จจริงทาง

คณติ ศาสตรร์ องรับ ใฝเ่ รยี นรู้ มีความม่งุ มัน่ ในการทางานทางคณติ ศาสตร์ ใชค้ วามร้ทู างคณติ ศาสตรเ์ ป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้

เน้อื หาต่างๆหรือศาสตร์อื่นๆและนาทกั ษะทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในชีวติ จรงิ

ตวั ชว้ี ัด
ค 1.1 ป.5/1, ป.5/2 ,ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5,ป.5/6, ป.5/7, ป.5/8,ป.5/9
ค 2.1 ป.5/1, ป.5/2 ,ป.5/3, ป.5/4

ค 2.2 ป.5/1, ป.5/2 ,ป.5/3, ป.5/4

ค 3.1 ป.5/1, ป.5/2

รวม 4 มาตรฐาน 19 ตัวช้ีวัด

คาอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน

รหัสวชิ า ค 16101 กลุม่ สาระคณติ ศาสตร์

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 รวม 160 ชวั่ โมง

ศกึ ษา เปรียบเทียบ เรยี งลาดับเศษส่วนและจานวนคละโดยใชค้ วามรเู้ ร่อื ง ค.ร.น. เขียนอัตราส่วนแสดงการเปรยี บเทียบ

หาอัตราสว่ นท่เี ทา่ กับอัตราส่วนทีก่ าหนด ตวั ประกอบ จานวนเฉพาะ ตัวประกอบเฉพาะ และการแยกตวั ประกอบ การแกโ้ จทย์

ปัญหาเกย่ี วกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. การบวก การลบ การคณู การหารระคนเศษสว่ นและจานวนคละ การแก้โจทย์ปัญหา

เศษสว่ นและจานวนคละ ความสัมพันธร์ ะหว่างเศษสว่ นและทศนยิ ม การหารทศนิยม การแกโ้ จทย์ปญั หาเกย่ี วกบั ทศนิยม การ

แก้โจทยป์ ัญหาอัตราส่วนและมาตรฐาน การแก้โจทยป์ ัญหารอ้ ยละ การแกป้ ญั หาเกีย่ วกบั แบบรูป ปรมิ าตรและความจุ การแก้

โจทยป์ ัญหาเก่ยี วกับปริมาตรของรปู เรขาคณติ สามมิติ ความยาวรอบรปู พนื้ ที่ มุมภายใน ของรูปสามเหลย่ี มและรปู หลายเหลย่ี ม

การแก้โจทย์ปัญหาเก่ยี วกบั ความยาวรอบรปู และพ้นื ที่ของรปู หลายเหลี่ยม ความยาวรอบรปู และพ้ืนทข่ี องวงกลม การแก้โจทย์

ปญั หาเกยี่ วกบั ความยาวรอบรูปและพน้ื ที่ของวงกลม ชนิดและสมบัตขิ องรูปสามเหล่ียม การสรา้ งรูปสามเหลีย่ ม ส่วนตา่ งๆของ

วงกลม การสร้างวงกลม บอกลกั ษณะของรปู เรขาคณิตสามมติ ิชนดิ ตา่ งๆ ระบรุ ูปเรขาคณิตสามมติ ิทป่ี ระกอบจากรูปคลี่ และ

ระบุรูปคลีข่ องรูปเรขาคณิตสามมิติ การอ่านแผนภมู ริ ูปวงกลม

โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตรใ์ นการเปรยี บเทยี บ เรยี งลาดับ เขยี นอัตราสว่ น หาอัตราสว่ นหา ห.ร.ม. ค.ร.น.

แสดงวธิ คี ิด หาผลลพั ธ์ แสดงวธิ หี าคาตอบ จาแนก บอกลักษณะรูปเรขาคณติ สามมติ ิ ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปวงกลมหาคาตอบ

บรู ณาการรกระบวนการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลมุ่ กระบวนการคดิ วิเคราะห์ กระบวนการสร้าง

ความตระหนัก กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ การให้เหตผุ ลอิงหลักการ และกระบวนการสรา้ งทักษะการฝึกปฏิบตั ิผ่าน

การจดั การเรยี นรู้ตามแนวคิด Research Based Learning

เพอื่ ให้ผู้เรียนมที ักษะในการส่ือสารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณต์ ่างๆมคี วามสามารถในการคิด

แก้ปญั หาใหเ้ หตุผลทางคณิตศาสตร์โดยมีขอ้ เทจ็ จริงทางคณิตศาสตร์รองรับ ใฝ่เรยี นรู้ มคี วามมุ่งมนั่ ในการทางานทาง

คณติ ศาสตร์ ใชค้ วามรู้ทางคณติ ศาสตร์เป็นเครอื่ งมือในการเรียนรู้เน้อื หาตา่ งๆหรือศาสตร์อื่นๆและนาทักษะทางคณิตศาสตร์ไป

ใชใ้ นชีวิตจรงิ

ตวั ชว้ี ดั
ค 1.1 ป.6/1, ป.6/2 ,ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5,ป.6/6, ป.6/7, ป.6/8,ป.6/9, ป.6/10 ,ป.6/11, ป.6/12
ค 1.2 ป.6/1

ค 2.1 ป.6/1, ป.6/2 ,ป.6/3

ค 2.2 ป.6/1, ป.6/2 ,ป.6/3, ป.6/4

ค 3.1 ป.6/1

รวม 5 มาตรฐาน 21 ตัวชี้วัด

คาอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน

รหัสวิชา ค 21101 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์

ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 รวม 60 ชัว่ โมง จานวน 1.5 หนว่ ยกิต

ศึกษา จานวนเต็ม สมบตั ขิ องจานวนเต็ม ทศนิยมและเศษส่วน จานวนตรรกยะและสมบัตขิ องจานวนตรรกยะ เลขยก

กาลงั ทมี่ เี ลขชก้ี าลงั เปน็ จานวนเต็มบวก การนาความรู้เก่ียวกับจานวนเตม็ จานวนตรรกยะ และเลขยกกาลังไปใช้ในการแกป้ ญั หา

เขา้ ใจและประยุกต์ใช้อตั ราส่วน สัดส่วน และร้อยละ ในการแกป้ ัญหาคณติ ศาสตรแ์ ละปญั หาในชวี ิตจริง

โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการศึกษาจานวนเต็ม สมบตั ิของจานวนเต็ม ทศนิยมและเศษส่วน เลขยกกาลัง

อตั ราส่วน สัดสว่ น และร้อยละ บูรณาการรกระบวนการคิดสรา้ งสรรค์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด

วิเคราะห์ กระบวนการสร้างความตระหนกั กระบวนการสร้างความรคู้ วามเขา้ ใจ การใหเ้ หตผุ ลอิงหลักการ และกระบวนการ

สร้างทกั ษะการฝึกปฏบิ ตั ผิ ่านการจดั การเรยี นรู้ตามแนวคิด Research Based Learning

เพือ่ ให้ผเู้ รยี นมีทกั ษะในการส่ือสารและส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณ์ต่างๆมีความสามารถในการคดิ

แกป้ ัญหาใหเ้ หตุผลทางคณติ ศาสตร์โดยมขี ้อเทจ็ จรงิ ทางคณิตศาสตรร์ องรับ ใฝ่เรยี นรู้ มีความม่งุ มน่ั ในการทางานทาง

คณิตศาสตร์ ใชค้ วามรู้ทางคณติ ศาสตรเ์ ป็นเครอื่ งมือในการเรยี นร้เู นอ้ื หาต่างๆหรือศาสตร์อื่นๆและนาทักษะทางคณิตศาสตร์ไป

ใช้ในชวี ิตจรงิ

ตัวชี้วดั
ค 1.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3
ค 2.2 ม.1/1, ม.1/2

2 มาตรฐาน 5 ตัวชวี้ ดั

คาอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน

รหัสวชิ า ค 21102 กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์

ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 รวม 60 ช่ัวโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษา สมบัตขิ องการเท่ากันและสมบัตขิ องจานวน เพ่ือวิเคราะหแ์ ละแก้ปัญหาโดยใชส้ มการเชงิ เส้นตัวแปรเดยี วไปใช้ใน

ชีวติ จริง กราฟของความสัมพันธเ์ ชงิ เส้น สมการเชิงเส้นสองตวั แปร การนาความร้เู กย่ี วกับสมการเชิงเสน้ สองตัวแปรและกราฟ

ของความสัมพนั ธเ์ ชิงเสน้ ไปใช้ในชวี ิตจริง เข้าใจและใชค้ วามรูท้ างสถิติในการนาเสนอขอ้ มูลและแปลความหมายข้อมลู รวมท้งั

นาสถติ ไิ ปใช้ในชีวิตจรงิ โดยใช้เทคโนโลยีทีเ่ หมาะสม

โดยใชก้ ระบวนการทางคณิตศาสตรใ์ นการศึกษาสมบัติของจานวน วเิ คราะห์และแกป้ ัญหา โดยใช้สมการเชิงเสน้ นา

ความรเู้ ก่ียวกบั สมการเชิงเสน้ ไปใชแ้ ก้ปัญหาในชวี ิตประจาวัน มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกับข้อมูลและการนาเสนอข้อมูลโดยใช้

เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม บรู ณาการรกระบวนการคิดสรา้ งสรรค์ กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด

วิเคราะห์ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างความรคู้ วามเข้าใจ การให้เหตุผลอิงหลักการ และกระบวนการ

สรา้ งทักษะการฝึกปฏบิ ตั ิผ่านการจัดการเรียนรตู้ ามแนวคดิ Research Based Learning

เพื่อให้ผเู้ รียนมที กั ษะในการส่ือสารและส่ือความหมายทางคณติ ศาสตร์ในสถานการณต์ า่ งๆมีความสามารถในการคิด

แก้ปญั หาใหเ้ หตผุ ลทางคณติ ศาสตรโ์ ดยมขี ้อเท็จจรงิ ทางคณิตศาสตรร์ องรบั ใฝ่เรียนรู้

มีความมุ่งม่ันในการทางานทางคณติ ศาสตร์ ใช้ความรู้ทางคณติ ศาสตรเ์ ป็นเครื่องมือในการเรียนรูเ้ นื้อหาตา่ งๆหรือศาสตร์อน่ื ๆ

และนาทักษะทางคณติ ศาสตร์ไปใชใ้ นชีวติ จริง

ตวั ช้ีวดั
ค 1.3 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3
ค 3.1 ม.1/1

รวม 2 มาตรฐาน 4 ตัวช้ีวัด

คาอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

รหสั วิชา ค 22101 กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์

ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 2 รวม 60 ช่ัวโมง จานวน 1.5 หน่วยกติ

ศึกษา สมบัติของเลขยกกาลังทมี่ เี ลขชก้ี าลังเป็นจานวนเต็มในการแก้ปญั หาคณิตศาสตร์และปญั หาในชีวติ จรงิ

จานวนอตรรกยะ จานวนจริง รากท่ีสองและรากท่ีสามของจานวนตรรกยะ การนาความรู้เก่ยี วกบั จานวนจรงิ ไปใช้ ใช้ความร้ทู าง

เรขาคณติ และเครื่องมอื เชน่ วงเวียนและสนั ตรง รวมทั้งโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad หรือโปรแกรมเรขาคณติ

ตลอดจนนาความรู้เกีย่ วกับการสรา้ งนไ้ี ปประยุกตใ์ ช้ในการแกป้ ญั หาในชีวติ จริง สมบัติเก่ยี วกับเสน้ ขนานและรูปสามเหล่ยี ม การ

เล่ือนขนาน การสะท้อน การหมุน การนาความรู้เกีย่ วกบั การแปลงทางเรขาคณิตไปใช้ในการแก้ปัญหา ความเท่ากนั ทุกประการ

ของรปู สามเหลยี่ ม การนาความรเู้ กยี่ วกบั ความเทา่ กันทุกประการไปใช้ในการแกป้ ญั หา ทฤษฏบี ทพที าโกรัสและบทกลบั การนา

ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับไปใช้ในชวี ิตจริง

โดยใชก้ ระบวนการทางคณิตศาสตรใ์ นการศึกษาสมบัติของเลขยกกาลัง จานวนจริง การใชโ้ ปรแกรมทางคณติ ศาสตร์

สมบตั เิ ก่ียวกับเสน้ ขนาน ทฤษฎบี ทพที าโกรสั บูรณาการรกระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม

กระบวนการคดิ วิเคราะห์ กระบวนการสรา้ งความตระหนัก กระบวนการสรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจ การให้เหตุผลองิ หลกั การ และ

กระบวนการสร้างทกั ษะการฝึกปฏบิ ัตผิ ่านการจัดการเรยี นรู้ตามแนวคิด Research Based Learning

เพ่ือใหผ้ เู้ รียนมที ักษะในการสื่อสารและสื่อความหมายทางคณติ ศาสตร์ในสถานการณ์ตา่ งๆมคี วามสามารถในการคิด

แก้ปัญหาให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์โดยมขี อ้ เทจ็ จริงทางคณิตศาสตร์รองรับ ใฝ่เรียนรู้ มีความมุ่งมน่ั ในการทางานทาง

คณติ ศาสตร์ ใช้ความรู้ทางคณติ ศาสตร์เปน็ เคร่อื งมือในการเรยี นรู้เนือ้ หาต่างๆหรือศาสตร์อืน่ ๆและนาทักษะทางคณิตศาสตร์ไป

ใชใ้ นชีวิตจริง

ตัวชี้วดั
ค 1.1 ม.2/1, ม.2/2,
ค 2.2 ม.2/1, ม.2/2 , ม.2/3 , ม.2/4, ม.2/5

รวม 2 มาตรฐาน 7 ตัวชี้วัด

คาอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน

รหัสวิชา ค 22102 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์

ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 รวม 60 ช่วั โมง จานวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษา พหนุ าม การบวก การลบ การคูณของพหุนาม การหารพหนุ ามด้วยเอกนามทมี่ ีผลหารเป็นพหุนาม การแยกตัว

ประกอบของพหนุ ามดีกรสี องโดยใชส้ มบัตกิ ารแจกแจง กาลงั สองสมบูรณ์ ผลตา่ งกาลงั สอง การหาพน้ื ทผี่ ิวของปรซิ ึมและ

ทรงกระบอก การนาความรเู้ ก่ียวกบั พ้นื ทีผ่ ิวของปริซมึ และทรงกระบอกไปใชใ้ นการแกป้ ัญหา การหาปรมิ าตรของปริซึมและ

ทรงกระบอก การนาความรู้เกี่ยวกบั ปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอกไปใชใ้ นการแก้ปัญหา เขา้ ใจและใช้ความรทู้ างสถติ ใิ น

การนาเสนอข้อมลู และวเิ คราะหข์ ้อมลู จากแผนภาพจดุ แผนภาพตน้ – ใบ ฮสิ โทแกรม และคา่ กลางของข้อมูลและแปล

ความหมายผลลพั ธ์ รวมทั้งนาสถติ ิไปใช้ในชวี ติ จริงโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม

โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการศึกษาพหุนาม เอกนาม การแยกตัวประกอบของพหุนาม สมบัติของจานวน

การหาพ้ืนที่ผวิ และปริมาตรของปริซึม การวเิ คราะห์สถติ ิและนาเสนอข้อมลู บูรณาการ กระบวนการคิดสรา้ งสรรค์ กระบวนการ

แก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ

การให้เหตุผลอิงหลักการ และกระบวนการสร้างทักษะการฝึกปฏิบัติผ่านการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Research Based

Learning

เพ่ือใหผ้ เู้ รียนมีทกั ษะในการสื่อสารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณ์ตา่ งๆมีความสามารถในการคดิ

แก้ปัญหาใหเ้ หตุผลทางคณติ ศาสตรโ์ ดยมีขอ้ เทจ็ จรงิ ทางคณิตศาสตร์รองรบั ใฝ่เรยี นรู้ มคี วามมงุ่ มัน่ ในการทางานทาง

คณิตศาสตร์ ใช้ความรู้ทางคณติ ศาสตร์เปน็ เครอื่ งมอื ในการเรยี นรเู้ นอ้ื หาตา่ งๆหรือศาสตรอ์ ืน่ ๆและนาทักษะทางคณิตศาสตร์ไป

ใชใ้ นชวี ติ จรงิ

ตวั ชีว้ ัด
ค 1.2 ม.2/1, ม.2/2
ค 2.1 ม.2/1, ม.2/2

ค 3.1 ม.2/1

รวม 3 มาตรฐาน 5 ตัวชี้วัด

คาอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน

รหัสวชิ า ค 23101 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 รวม 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกติ

ศกึ ษา อสมการเชิงเส้นตวั แปรเดียว การแก้อสมการเชงิ เส้นตวั แปรเดียว การนาความรู้เกี่ยวกบั การแก้อสมการเชิงเสน้

ตวั แปรเดียวไปใช้ในการแก้ปัญหา สมการกาลังสองตัวแปรเดยี ว การแก้สมการกาลังสองตัวแปรเดยี ว การนาความรู้เก่ียวกับการ

แก้สมการกาลังสองตัวแปรเดียวไปใชแ้ กป้ ัญหา ระบบสมการเชงิ เสน้ สองตัวแปร การแก้ระบบสมการเชงิ เสน้ สองตวั แปร การนา

ความรูเ้ กย่ี วกับการแก้ระบบสมการเชิงเสน้ สองตัวแปรไปใช้ในการแกป้ ญั หา การหาพน้ื ท่ีผวิ และปรมิ าตรของพรี ะมิด กรวย และ

ทรงกลม การนาความร้เู กี่ยวกับพ้นื ท่ีผิว ปรมิ าตรของพรี ะมิด กรวย และทรงกลม ไปใชใ้ นการแก้ปัญหา รูปสามเหลีย่ มที่

คล้ายกัน การนาความรเู้ กีย่ วกับความคล้ายไปใช้ในการแก้ปัญหา อัตราสว่ นตรโี กณมติ ิ การนาค่าอตั ราสว่ นตรีโกณมิติของมมุ 30

องศา 45 องศา และ 60 องศา ไปใชใ้ นการแกป้ ัญหา วงกลม คอร์ด และเสน้ สัมผสั ทฤษฎบี ทเกี่ยวกบั วงกลม

โดยใชก้ ระบวนการทางคณิตศาสตรใ์ นการแก้ปญั หาเกี่ยวกับสมการเชงิ เส้นตวั แปรเดยี ว สมการกาลงั สองตวั แปรเดียว

อสมการเชงิ เส้นตัวแปรเดยี ว การหาพ้นื ทีผ่ วิ และปรมิ าตร อตั ราสว่ นตรีโกณมติ ิ ทฤษฎบี ทเกีย่ วกบั วงกลม บูรณาการรกระบวน

การคดิ สร้างสรรค์ กระบวนการแกป้ ญั หา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคดิ วิเคราะห์ กระบวนการสรา้ งความตระหนัก

กระบวนการสร้างความรูค้ วามเขา้ ใจ การใหเ้ หตผุ ลองิ หลักการ และกระบวนการสรา้ งทักษะการฝึกปฏิบัติผา่ นการจัดการเรียนรู้

ตามแนวคิด Research Based Learning

เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นมีทกั ษะในการสื่อสารและสื่อความหมายทางคณติ ศาสตร์ในสถานการณต์ า่ งๆมคี วามสามารถในการคิด

แก้ปัญหาใหเ้ หตผุ ลทางคณิตศาสตร์โดยมีข้อเท็จจรงิ ทางคณิตศาสตร์รองรบั ใฝเ่ รยี นรู้ มีความมุ่งมั่นในการทางานทาง

คณติ ศาสตร์ ใช้ความรู้ทางคณติ ศาสตรเ์ ป็นเครอ่ื งมอื ในการเรียนรเู้ น้ือหาต่างๆหรือศาสตรอ์ ่ืนๆและนาทักษะทางคณิตศาสตรไ์ ป

ใช้ในชวี ิตจริง

ตัวชว้ี ัด
ค 1.3 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3
ค 2.1 ม.3/1, ม.3/2

ค 2.2 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3

รวม 3 มาตรฐาน 8 ตัวช้ีวดั

คาอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน

รหัสวชิ า ค 23102 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์

ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 รวม 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกติ

ศึกษา การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ กราฟของฟังกช์ ันกาลังสอง การนา

ความรู้เก่ียวกับฟังก์ชันกาลังสองไปใช้ในการแก้ปัญหา เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการนาเสนอและวิเคราะห์ข้อมูลจาก

แผนภาพกล่องและแปลความหมายผลลัพธ์รวมทั้งนาสถิติไปใช้ในชีวิตจริงโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ความน่าจะเป็น

เหตกุ ารณ์จากการทดลองสุ่ม การนาความรเู้ กยี่ วกบั ความน่าจะเปน็ ไปใช้ในชวี ิตจริง

โดยใชก้ ระบวนการทางคณิตศาสตรใ์ นการแยกตัวประกอบของพหุนามดกี รีสงู กวา่ สอง กราฟของฟงั กช์ นั กาลงั สอง สถติ ิ

และการวิเคราะห์ข้อมูล ความน่าจะเป็น บูรณาการรกระบวนการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม

กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ การให้เหตุผลอิงหลักการ และ

กระบวนการสรา้ งทกั ษะการฝึกปฏิบตั ผิ า่ นการจัดการเรียนรูต้ ามแนวคดิ Research Based Learning

เพ่อื ให้ผูเ้ รียนมีทกั ษะในการส่ือสารและสื่อความหมายทางคณติ ศาสตร์ในสถานการณต์ า่ งๆมีความสามารถในการคดิ

แกป้ ญั หาใหเ้ หตุผลทางคณติ ศาสตรโ์ ดยมีข้อเทจ็ จรงิ ทางคณิตศาสตรร์ องรบั ใฝ่เรียนรู้ มคี วามมุ่งม่นั ในการทางานทาง

คณติ ศาสตร์ ใชค้ วามรู้ทางคณิตศาสตร์เป็นเครื่องมอื ในการเรียนรเู้ น้อื หาต่างๆหรือศาสตร์อ่ืนๆและนาทักษะทางคณิตศาสตร์ไป

ใชใ้ นชีวิตจริง

ตวั ชวี้ ัด
ค 1.2 ม.1/1, ม.1/2
ค 3.1 ม.1/1

ค 3.2 ม.1/1

รวม 3 มาตรฐาน 4 ตัวชี้วัด

คาอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

รหสั วชิ า ค 31101 กล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 4 รวม 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่วยกติ

ศึกษา ความรู้เบื้องต้นและสัญลักษณ์พ้ืนฐานเก่ียวกับเซต ยูเนียน อินเตอร์เซกซัน และคอมพลีเมนต์ของเชต ประพจน์

และตัวเชื่อ(นิเสธ และ หรือ ถ้า...แล้ว... ก็ต่อเมื่อ) เลขยกกาลัง รากท่ี n ของจานวนจริงเมื่อ n เป็นจานวนนับท่ีมากกว่า 1 เลข

ยกกาลงั ที่มีเลขชก้ี าลังเป็นจานวนตรรกยะ

โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการศึกษาเกยี่ วกบั เซต ยูเนียน อนิ เตอร์เซกซัน และคอมพลีเมนต์ และประพจน์

บูรณาการรกระบวนการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสร้าง

ความตระหนัก กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ การให้เหตุผลอิงหลักการ และกระบวนการสร้างทักษะการฝึกปฏิบัติผ่าน

การจัดการเรียนรูต้ ามแนวคิด Research Based Learning

เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนมที ักษะในการสื่อสารและส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณ์ตา่ งๆมีความสามารถในการคิด

แก้ปญั หาให้เหตผุ ลทางคณิตศาสตร์โดยมีข้อเท็จจรงิ ทางคณิตศาสตรร์ องรับ ใฝเ่ รียนรู้

มีความมุ่งมัน่ ในการทางานทางคณิตศาสตร์ ใชค้ วามรู้ทางคณติ ศาสตร์เป็นเครื่องมือในการเรียนร้เู นอื้ หาตา่ งๆหรือศาสตร์อ่นื ๆ

และนาทักษะทางคณติ ศาสตร์ไปใชใ้ นชวี ิตจริง

ตัวช้ีวดั
ค 1.1 ม.4-6/1
รวม 1 มาตรฐาน 1 ตัวชี้วัด

คาอธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน

รหัสวิชา ค 31102 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 รวม 40 ช่ัวโมง จานวน 1.0 หน่วยกติ

ศกึ ษา หลักการนับเบ้ืองต้น หลักการบวกและการคูณ การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีท่ีสิ่งของแตกต่างกันทั้งหมด การ

จัดหมู่กรณที ีส่ ิ่งของแตกตา่ งกนั ทัง้ หมด ความน่าจะเป็น การทดลองสมุ่ และเหตุการณ์ ความนา่ จะเปน็ ของเหตกุ ารณ์

โดยใชก้ ระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการศึกษาเกี่ยวกับหลักการนบั เบื้องต้น หลักการบวกและคณู การเรยี งสบั เปลย่ี น

การจัดหมู่ ความน่าจะเป็น บูรณาการรกระบวนการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด

วิเคราะห์ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ การให้เหตุผลอิงหลักการ และกระบวนการ

สรา้ งทกั ษะการฝึกปฏิบัติผา่ นการจดั การเรยี นรตู้ ามแนวคิด Research Based Learning

เพ่ือใหผ้ ู้เรียนมีทักษะในการสื่อสารและส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณ์ตา่ งๆมีความสามารถในการคดิ

แกป้ ัญหาให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์โดยมขี ้อเทจ็ จรงิ ทางคณิตศาสตรร์ องรบั ใฝเ่ รยี นรู้

มีความมงุ่ มั่นในการทางานทางคณิตศาสตร์ ใช้ความรทู้ างคณิตศาสตร์เป็นเคร่ืองมือในการเรยี นรู้เน้อื หาตา่ งๆหรือศาสตรอ์ ื่นๆ

และนาทักษะทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในชีวิตจริง

ตวั ชีว้ ดั
ค 3.2 ม.4-6/1 , ม.4-6/2
รวม 1 มาตรฐาน 2 ตัวชี้วัด

คาอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน

รหสั วชิ า ค 32101 กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์

ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 รวม 40 ช่ัวโมง จานวน 1.0 หน่วยกติ

ศึกษา เลขยกกาลัง รากท่ี n ของจานวนจริงเม่ือ n เป็นจานวนนับท่ีมากกว่า 1 เลขยกกาลังท่ีมีเลขชี้กาลังเป็นจานวน

ตรรกยะ เข้าใจและใช้ความรู้เก่ียวกบั ดอกเบ้ยี และมูลค่าของเงนิ ในการแกป้ ัญหา

โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการศึกษาเกี่ยวกับเลขยกกาลัง สมบัติของเลขยกกาลัง ดอกเบี้ยและมูลค่าของ

เงิน บูรณาการรกระบวนการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการ

สร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ การให้เหตุผลอิงหลักการ และกระบวนการสร้างทักษะการฝึกปฏิบัติ

ผ่านการจดั การเรียนรตู้ ามแนวคิด Research Based Learning

เพ่ือให้ผู้เรยี นมีทักษะในการส่ือสารและส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณ์ตา่ งๆมคี วามสามารถในการคิด

แก้ปญั หาให้เหตผุ ลทางคณิตศาสตรโ์ ดยมขี ้อเท็จจริงทางคณิตศาสตร์รองรับ ใฝเ่ รียนรู้

มีความมุ่งม่ันในการทางานทางคณิตศาสตร์ ใช้ความรทู้ างคณติ ศาสตรเ์ ป็นเครื่องมือในการเรยี นรเู้ น้อื หาตา่ งๆหรือศาสตรอ์ ื่นๆ

และนาทักษะทางคณิตศาสตร์ไปใชใ้ นชวี ติ จรงิ

ตัวชว้ี ัด
ค 1.1 ม.4-6/1
ค 1.3 ม.4-6/1
รวม 2 มาตรฐาน 2 ตัวช้ีวัด

คาอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน

รหสั วชิ า ค 32102 กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์

ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 รวม 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หนว่ ยกติ

ศึกษา ฟังก์ชันและกราฟของฟังก์ชัน(ฟังก์ชันเชิงเส้น ฟังก์ชันกาลังสองฟังก์ชันขั้นบันได ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเซียล)

ลาดับและอนกุ รม ลาดับเลขคณติ และลาดบั เรขาคณติ อนกุ รมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณติ

โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการศึกษาเกี่ยวกับฟังก์ชันและกราฟของฟังก์ชัน ลาดับและอนุกรม บูรณาการ

กระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสร้างความตระหนัก

กระบวนการสรา้ งความรูค้ วามเข้าใจ การให้เหตุผลองิ หลักการ และกระบวนการสร้างทักษะการฝึกปฏิบตั ิผา่ นการจดั การเรียนรู้

ตามแนวคดิ Research Based Learning

เพอื่ ให้ผเู้ รียนมีทกั ษะในการสื่อสารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณต์ ่างๆมคี วามสามารถในการคิด

แก้ปญั หาใหเ้ หตผุ ลทางคณติ ศาสตร์โดยมีขอ้ เท็จจรงิ ทางคณิตศาสตร์รองรับ ใฝเ่ รียนรู้

มคี วามมุง่ มน่ั ในการทางานทางคณิตศาสตร์ ใชค้ วามร้ทู างคณิตศาสตรเ์ ป็นเครื่องมือในการเรียนรูเ้ น้ือหาต่างๆหรือศาสตร์อืน่ ๆ

และนาทักษะทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในชีวิตจริง

ตัวชีว้ ดั
ค 1.2 ม.4-6/1 , ม.4-6/2
รวม 1 มาตรฐาน 2 ตัวชี้วัด

คาอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน

รหสั วิชา ค 33101 กล่มุ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์

ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 รวม 40 ช่ัวโมง จานวน 1.0 หนว่ ยกติ

ศกึ ษา สถิติ ข้อมูล ตาแหนง่ ท่ขี องข้อมูล ค่ากลาง (ฐานนิยม มัธยฐาน ค่าเฉล่ียเลขคณิต)คา่ กระจาย (พิสัย ส่วนเบี่ยงเบน

มาตรฐานความแปรปรวน)การนาเสนอขอ้ มูลเชิงคุณภาพและเชงิ ปรมิ าณ การแปลความหมายของคา่ สถติ ิ

โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการทาความเข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการนาเสนอข้อมูลและแปล

ความหมายของค่าสถิตเิ พอ่ื ประกอบการตัดสินใจ บูรณาการกระบวนการคดิ สร้างสรรค์ กระบวนการแกป้ ญั หา กระบวนการกลุ่ม

กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ การให้เหตุผลอิงหลักการ และ

กระบวนการสร้างทกั ษะการฝึกปฏบิ ัตผิ า่ นการจัดการเรยี นรตู้ ามแนวคิด Research Based Learning

เพอื่ ให้ผู้เรียนมีทักษะในการส่ือสารและสื่อความหมายทางคณติ ศาสตร์ในสถานการณ์ต่างๆมีความสามารถในการคิด

แกป้ ญั หาใหเ้ หตผุ ลทางคณติ ศาสตร์โดยมีข้อเท็จจรงิ ทางคณิตศาสตรร์ องรบั ใฝเ่ รียนรู้

มคี วามม่งุ ม่นั ในการทางานทางคณิตศาสตร์ ใชค้ วามรทู้ างคณิตศาสตรเ์ ป็นเคร่ืองมือในการเรยี นรเู้ นือ้ หาตา่ งๆหรือศาสตรอ์ ื่นๆ

และนาทักษะทางคณติ ศาสตร์ไปใชใ้ นชีวติ จริง

ตวั ชว้ี ดั
ค 3.1 ม.4-6/1
รวม 1 มาตรฐาน 1 ตัวช้ีวัด

รหสั วชิ า ค 31201 คาอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเติม
ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์

รวม 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษา ความรู้เบ้ืองต้นและสัญลักษณ์พื้นฐานเกี่ยวกับเซต ยูเนียน อินเตอร์เซกซัน และคอมพลีเมนต์ของเชต ประพจน์
และตวั เช่ือม ประโยคทมี่ ีตวั บง่ ปรมิ าณตัวเดียว การอา้ งเหตุผล จานวนจริงและพหุนาม จานวนจรงิ และสมบตั ิของจานวนจริง ค่า
สัมบูรณ์ของจานวนจริงและสมบัติของค่าสัมบูรณ์ของจานวนจริง จานวนจริงในรูปกรณฑ์และจานวนจริงในรูปเลขยกกาลัง
จานวนจริงและพหุนาม ตัวประกอบของพหุนาม สมการและอสมการพหุนาม สมการและอสมการพหุนาม สมการและอสมการ
เศษสว่ นของพหนุ าม สมการและอสมการคา่ สัมบรู ณ์ของพหนุ าม สมการเอกซโ์ พเนนเซียลและสมการลกิ าริทึม

โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตรใ์ นการศึกษาเกี่ยวกบั เซต ยูเนียน อนิ เตอร์เซกซัน และคอมพลีเมนต์ และประพจน์
การแบกตัวประกอบพหุนาม บูรณาการรกระบวนการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด
วิเคราะห์ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ การให้เหตุผลอิงหลักการ และกระบวนการ
สร้างทกั ษะการฝึกปฏิบัติผา่ นการจัดการเรียนรตู้ ามแนวคดิ Research Based Learning

เพือ่ ให้ผู้เรียนมีทกั ษะในการสื่อสารและส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณต์ ่างๆมคี วามสามารถในการคดิ
แกป้ ัญหาให้เหตุผลทางคณติ ศาสตรโ์ ดยมขี ้อเทจ็ จรงิ ทางคณิตศาสตรร์ องรบั ใฝเ่ รียนรู้ มีความมงุ่ มั่นในการทางานทาง
คณติ ศาสตร์ ใช้ความรู้ทางคณติ ศาสตร์เปน็ เคร่ืองมอื ในการเรียนรู้เนอ้ื หาตา่ งๆหรือศาสตรอ์ ืน่ ๆและนาทักษะทางคณิตศาสตร์ไป
ใชใ้ นชีวติ จริง
ตวั ชีว้ ดั
ค 1.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3
ค 1.3 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3, ม.4-6/4
รวม 2 มาตรฐาน 7 ตัวชี้วัด

คาอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเตมิ

รหสั วชิ า ค 31202 กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 รวม 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หนว่ ยกิต

ศึกษา การบวก การลบ การคูณ การหารฟังก์ชัน ฟังก์ชันประกอบ ฟังก์ชันผกผัน ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล ฟังก์ชัน

ลอการทิ ึม

โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์บวก ลบ คูณ หารฟังก์ชัน บูรณาการรกระบวนการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการ

แก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ

การให้เหตุผลอิงหลักการ และกระบวนการสร้างทักษะการฝึกปฏิบัติผ่านการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Research Based

Learning

เพ่ือใหผ้ ้เู รียนมีทกั ษะในการส่ือสารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณ์ต่างๆมีความสามารถในการคดิ

แกป้ ญั หาใหเ้ หตผุ ลทางคณติ ศาสตร์โดยมีข้อเท็จจริงทางคณิตศาสตรร์ องรับ ใฝ่เรยี นรู้ มีความมุ่งม่นั ในการทางานทาง

คณิตศาสตร์ ใช้ความรู้ทางคณติ ศาสตรเ์ ปน็ เคร่อื งมอื ในการเรียนรเู้ นือ้ หาต่างๆหรือศาสตรอ์ น่ื ๆและนาทักษะทางคณิตศาสตร์ไป

ใชใ้ นชวี ิตจรงิ

ตวั ชี้วดั
ค 1.2 ม.4-6/1 , ม.4-6/2 , ม.4-6/3
รวม 1 มาตรฐาน 3 ตัวช้ีวัด

คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเตมิ

รหัสวชิ า ค 32201 กล่มุ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 รวม 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษา เลขยกกาลัง รากที่ n ของจานวนจริงเม่ือ n เป็นจานวนนับท่ีมากกว่า 1 เลขยกกาลังท่ีมีเลขช้ีกาลังเป็นจานวน

ตรรกยะ เข้าใจและใชค้ วามรเู้ กี่ยวกับดอกเบย้ี และมลู คา่ ของเงนิ ในการแกป้ ญั หา

โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการศึกษาเกี่ยวกับเลขยกกาลัง สมบัติของเลขยกกาลัง ดอกเบ้ียและมูลค่าของ

เงิน บูรณาการรกระบวนการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการ

สร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ การให้เหตุผลอิงหลักการ และกระบวนการสร้างทักษะการฝึกปฏิบัติ

ผ่านการจดั การเรยี นรู้ตามแนวคิด Research Based Learning

เพ่ือให้ผู้เรยี นมที กั ษะในการส่ือสารและส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณ์ต่างๆมคี วามสามารถในการคดิ

แกป้ ัญหาให้เหตุผลทางคณิตศาสตรโ์ ดยมขี ้อเท็จจริงทางคณิตศาสตรร์ องรับ ใฝเ่ รียนรู้ มีความมุง่ มนั่ ในการทางานทาง

คณติ ศาสตร์ ใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์เปน็ เครื่องมอื ในการเรยี นรเู้ นือ้ หาต่างๆหรือศาสตร์อืน่ ๆและนาทักษะทางคณิตศาสตรไ์ ป

ใช้ในชีวิตจรงิ

ตัวช้วี ัด
ค 1.1 ม.4-6/1
ค 1.3 ม.4-6/1
รวม 2 มาตรฐาน 2 ตัวช้ีวัด

รหัสวิชา ค 32202 คาอธบิ ายรายวิชาเพิ่มเติม
ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 กล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

รวม 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่วยกติ

ศึกษา ฟังก์ชันและกราฟของฟังก์ชัน(ฟังก์ชันเชิงเส้น ฟังก์ชันกาลังสองฟังก์ชันข้ันบันได ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเซียล)
ลาดับและอนกุ รม ลาดับเลขคณติ และลาดบั เรขาคณติ อนกุ รมเลขคณติ และอนกุ รมเรขาคณิต

โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการศึกษาเก่ียวกับฟังก์ชันและกราฟของฟังก์ชัน ลาดับและอนุกรม บูรณาการ
กระบวนการคิดสรา้ งสรรค์ กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคดิ วิเคราะห์ กระบวนการสร้างความตระหนัก
กระบวนการสรา้ งความรู้ความเข้าใจ การให้เหตผุ ลองิ หลักการ และกระบวนการสร้างทักษะการฝึกปฏิบตั ิผ่านการจดั การเรียนรู้
ตามแนวคดิ Research Based Learning

เพือ่ ใหผ้ เู้ รยี นมีทักษะในการสื่อสารและส่ือความหมายทางคณติ ศาสตร์ในสถานการณต์ ่างๆมีความสามารถในการคดิ
แก้ปัญหาใหเ้ หตุผลทางคณติ ศาสตรโ์ ดยมขี ้อเท็จจรงิ ทางคณิตศาสตร์รองรับ ใฝ่เรยี นรู้
มีความมุ่งมน่ั ในการทางานทางคณิตศาสตร์ ใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรเู้ นือ้ หาต่างๆหรือศาสตร์อน่ื ๆ
และนาทักษะทางคณติ ศาสตร์ไปใชใ้ นชีวิตจริง
ตวั ช้ีวัด
ค 1.2 ม.4-6/1 , ม.4-6/2
รวม 1 มาตรฐาน 2 ตัวช้ีวัด

คาอธิบายรายวชิ าเพิ่มเตมิ

รหสั วชิ า ค 33201 กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์

ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 รวม 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หนว่ ยกติ

ศึกษา สถติ ิ ข้อมลู ตาแหน่งท่ีของข้อมลู ค่ากลาง (ฐานนิยม มธั ยฐาน คา่ เฉล่ียเลขคณิต)คา่ กระจาย (พิสยั ส่วนเบ่ียงเบน

มาตรฐานความแปรปรวน)การนาเสนอขอ้ มลู เชงิ คุณภาพและเชงิ ปรมิ าณ การแปลความหมายของค่าสถิติ

โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการทาความเข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการนาเสนอข้อมูลและแปล

ความหมายของคา่ สถิติเพอ่ื ประกอบการตดั สนิ ใจ บูรณาการกระบวนการคดิ สร้างสรรค์ กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการกลุ่ม

กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ การใหเ้ หตุผลอิงหลักการ และ

กระบวนการสร้างทกั ษะการฝึกปฏิบตั ผิ า่ นการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Research Based Learning

เพื่อให้ผเู้ รยี นมีทักษะในการส่ือสารและส่ือความหมายทางคณติ ศาสตร์ในสถานการณ์ตา่ งๆมคี วามสามารถในการคดิ

แก้ปัญหาให้เหตุผลทางคณติ ศาสตรโ์ ดยมีข้อเทจ็ จรงิ ทางคณิตศาสตร์รองรบั ใฝ่เรียนรู้ มีความมงุ่ มั่นในการทางานทาง

คณติ ศาสตร์ ใช้ความรู้ทางคณิตศาสตรเ์ ป็นเครือ่ งมือในการเรียนรเู้ นอ้ื หาตา่ งๆหรือศาสตร์อื่นๆและนาทักษะทางคณิตศาสตรไ์ ป

ใช้ในชีวิตจรงิ

ตวั ชี้วัด
ค 3.1 ม.4-6/1
รวม 1 มาตรฐาน 1 ตัวช้ีวัด

คาอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน

รหสั วิชา ว11101 กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 เวลาเรียน 80 ช่ัวโมง

ศกึ ษาคน้ คว้าเก่ียวกับชือ่ พืชและสัตว์ท่อี าศยั อยู่บริเวณต่างๆ สภาพแวดล้อม บอกสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมกบั การ

ดารงชวี ิตของสตั วใ์ นบริเวณท่ีอาศยั อยู่ ระบชุ ่ือบรรยายลักษณะและบอกหน้าที่ของสว่ นต่างๆ ของรา่ ยกายมนษุ ยส์ ัตว์และพืช

รวมท้งั บรรยายการทาหนา้ ท่ีรว่ มกนั ของส่วนตา่ งๆ ของรา่ งกายมนษุ ย์ในการทากจิ กรรมตา่ งๆ ความสาคัญของส่วนตา่ งๆ ของ

รา่ งกายตนเอง โดยการดแู ลส่วนต่างๆ อยา่ งถูกต้องปลอดภัยและรักษาความสะอาดอย่เู สมอ สมบตั ทิ สี่ ังเกตได้ของวสั ดุ ทใ่ี ชท้ า

วตั ถุที่ทาจากวัสดุ ชนดิ เดยี วหรอื หลายชนดิ ประกอบกนั โดยใช้หลักฐานเชิงประจกั ษ์ ชนิดของวสั ดุ และจดั กล่มุ วัสดุตามสมบัตทิ ี่

สงั เกต การเกดิ เสยี งและทิศทางการเคล่ือนท่ขี องเสยี งจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ดาวที่ปรากฏบนท้องฟา้ ในเวลากลางวันและ

กลางคนื จากข้อมลู ท่รี วบรวม สาเหตุทม่ี องไม่เหน็ ดาวสว่ นใหญใ่ นเวลากลางวันจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ลักษณะภายนอกของ

หินจากลักษณะเฉพาะตัวทสี่ ังเกต ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้การลองผิดลองถูก การเปรยี บเทียบ ลาดับขนั้ ตอนการทางานหรือการ

แกป้ ัญหาอย่างงา่ ยโดยใช้ภาพ สัญลกั ษณ์หรอื ข้อความ โปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้โดยใช้ซอฟต์แวร์ หรือสือ่ เทคโนโลยหี รอื การ

สร้าง จัดเก็บเรียกใชข้ ้อมลู ตามวัตถุประสงค์ เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลงในการใชค้ อมพิวเตอร์

ร่วมกนั ดูแลรกั ษาอุปกรณ์เบื้องต้นใช้งานอยา่ งเหมาะสม

โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการระบุ บอก ตระหนัก บรรยาย อธิบาย สร้างแบบจาลอง เปรียบเทยี บ ทดลอง

การแก้ปัญหาโดยการลองผิดลองถกู เขียนโปรแกรม ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัดเก็บข้อมลู บูรณาการกระบวนการวิเคราะห์

กระบวนการสบื เสาะ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการคิดวิเคราะหผ์ ่านกิจกรรมการเรียนรูต้ าม

แนวคดิ Active Learning

เพื่อให้ผเู้ รยี นตระหนกั ถงึ ความสัมพันธร์ ะหว่างวิทยาศาสตร์กบั สภาพแวดล้อม เป็นผูท้ ่ีมีจิตวิทยาศาสตร์ มคี วามม่งุ มัน่

และใฝ่เรียนรู้ในเชงิ วิทยาศาสตร์ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมในการใชว้ ทิ ยาศาสตร์อย่างสร้างสรรค์

ตวั ช้วี ดั

ว 1.1 ป.1/1, ป.1/2

ว 1.2 ป.1/1, ป.1/2

ว 2.1 ป.1/1, ป.1/2

ว 2.3 ป.1/1

ว 3.1 ป.1/1, ป.1/2

ว 3.2 ป.1/1

ว 4.2 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5

7 มาตรฐาน 15 ตัวชวี้ ัด

คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

รหัสวชิ า ว12101 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 เวลาเรยี น 80 ช่ัวโมง

ศกึ ษาพืชตอ้ งการแสงและน้าเพื่อการเจรญิ เตบิ โตโดยใช้ข้อมูลจากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ ความจาเปน็ ที่พืชตอ้ งไดร้ ับนา้

และแสงเพ่ือการเจริญเติบโต โดยดแู ลพชื ใหไ้ ดร้ บั สง่ิ ดงั กลา่ วอยา่ งเหมาะสม การสรา้ งแบบจาลองทีบ่ รรยายวฏั จักรชีวิตของพืช

ดอก ลักษณะของส่ิงมีชวี ติ และส่ิงไม่มชี ีวิตจากข้อมลู ทร่ี วบรวมได้ สมบัตกิ ารดูดซับน้าของวัสดโุ ดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ การ

นาสมบัติการดดู ซบั นา้ ของวัสดุไปประยุกต์ใช้ในการทาวตั ถุในชีวิตประจาวนั สมบตั ทิ สี่ งั เกตได้ของวสั ดุ การนาวัสดุที่ใช้แลว้

กลบั มาใชใ้ หม่ ประโยชน์ของการนาวัสดทุ ่ใี ชแ้ ลว้ กลับมาใช้ใหม่ แนวการเคล่ือนท่ขี องแสงจากแหลง่ กาเนดิ แสง การมองเหน็ ของ

วตั ถุ คณุ ค่าของความรูข้ องการมองเหน็ การป้องกนั อันตรายจากการมองวตั ถุท่อี ยู่ในบริเวณทมี่ แี สงสว่างไมเ่ หมาะสม

สว่ นประกอบของดนิ การจาแนกชนดิ ของดนิ โดยลักษณะเน้ือดนิ และการจับตัวเป็นเกณฑ์ การใชป้ ระโยชนจ์ ากดิน ขน้ั ตอนการ

ทางานหรือการแก้ปัญหาอย่างงา่ ยโดยใชภ้ าพ สญั ลกั ษณ์ หรอื ข้อความ การเขียนโปรแกรมอยา่ งง่ายโดยใชซ้ อฟตแ์ วร์หรือส่อื

และตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดของโปรแกรม เทคโนโลยใี นการสร้าง จดั หมวดหมู่ ค้นหา จัดเก็บ เรยี กใช้ขอ้ มลู ตามวัตถปุ ระสงค์ การ

ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั การปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลงในการใชค้ อมพิวเตอร์ร่วมกัน การดูแลรกั ษาอปุ กรณเ์ บอ้ื งตน้

โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตรใ์ นการสร้างแบบจาลอง เปรียบเทียบ ข้อมูลอธิบายสมบตั ทิ สี่ ังเกตได้ เขยี น

โปรแกรมและตรวจหาข้อผิดพลาด ใช้เทคโนโลยใี นการสร้าง หมวดหมู่ ค้นหาและจัดเก็บ บูรณาการกระบวนการวเิ คราะห์

กระบวนการสืบเสาะ กระบวนการกล่มุ ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิด Active Learning

เพื่อใหผ้ ้เู รียนแสดงความกระตอื รอื ร้น สนใจท่ีจะเรียนรู้ มี่ความคิดสร้างสรรค์ เก่ียวกับเรื่องที่ศึกษาตามคุณลกั ษณะของ

ผมู้ จี ติ วทิ ยาศาสตร์ เหน็ คุณค่าของการนาความรู้ทางวิทยาศาสตรไ์ ปใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ ประจาวัน

ตัวชวี้ ดั

ว 1.2 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3

ว 1.3 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 ป.2/4

ว 2.1 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 ป.2/4

ว 2.3 ป.2/1 ป.2/2

ว 3.2 ป.2/1 ป 2/2

ว 4.2 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 ป.2/4

6 มาตรฐาน 19 ตัวชี้วัด

คาอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน

รหัสวิชา ว13101 กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์

ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 เวลาเรียน 80 ชั่วโมง

ศกึ ษาส่ิงทจี่ าเป็นต่อการดารงชีวิตและการเจรญิ เตบิ โตของมนุษย์และสัตวโ์ ดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้ ประโยชน์ของ

อาหารนา้ และอากาศโดยการดแู ลตนเองและสัตวใ์ หไ้ ด้รบั สิ่งเหล่านอี้ ยา่ งเหมาะสม แบบจาลองทบ่ี รรยายวัฏจักรชวี ติ ของสัตว์

และเปรยี บเทยี บวฏั จกั รชีวิตของสตั วบ์ างชนิด คุณคา่ ของชวี ติ สตั ว์โดยไม่ทาให้วฏั จักรชวี ติ ของสัตวเ์ ปลีย่ นแปลง วตั ถุประกอบข้นึ

จากชน้ิ สว่ นย่อยๆ ซ่งึ สามารถแยกออกจากกนั ได้และประกอบกนั เปน็ วัตถุชนิ้ ใหมไ่ ด้ การเปลย่ี นแปลงของวสั ดุเมื่อทาให้ร้อนข้ึน

หรอื เยน็ ลง ผลของแรงท่มี ตี ่อการเปลย่ี นแปลงการเคลือ่ นท่ีของวัตถุ การเปรยี บเทยี บและยกตัวอย่างแรงสมั ผสั และแรงไม่สัมผัส

ทม่ี ผี ลต่อการเคลือ่ นท่ีของวัตถุ การจาแนกวัตถุโดยใชก้ ารดึงดูดกับแม่เหล็กเป็นเกณฑ์ การระบขุ ้ัวแมเ่ หล็กและพยากรณ์ผลท่ี

เกิดขึ้นระหว่างขวั้ แม่เหล็กเมื่อนามาเขา้ ใกลก้ นั การเปลยี่ นพลังงานหนึ่งไปเป็นอีกพลังงานหน่ึง การทางานของเครื่องกาเนิด

ไฟฟา้ แหล่งพลงั งานในการผลติ ไฟฟา้ ประโยชนแ์ ละโทษของไฟฟ้า วิธกี ารใช้ไฟฟา้ อย่างประหยัดและปลอดภัย แบบรูปเส้นทาง

การขน้ึ และตกของดวงอาทิตย์ สาเหตุของการเกดิ ปรากฏการณก์ ารขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ การเกิดกลางวนั กลางคืนและการ

กาหนดทิศโดยใช้แบบจาลอง ความสาคญั ของดวงอาทิตย์ ประโยชน์ของดวงอาทิตย์ต่อสิ่งมีชวี ิต สว่ นประกอบของอากาศ

ความสาคญั ของอากาศ การลดการเกิดมลพษิ ในอากาศ การเกดิ ลม ประโยชนแ์ ละโทษของลม อลั กอรทิ ึมในการทางาน การ

แกป้ ญั หาอยา่ งง่าย

โดยใชภ้ าพ สัญลักษณ์ หรอื ข้อความ การเขียนโปรแกรมอย่างงา่ ย โดยใชซ้ อฟตแ์ วรห์ รอื สอ่ื และตรวจหาข้อผดิ พลาดของ

โปรแกรม การใช้อนิ เตอร์เนต็ ค้นหาความรู้ การรวบรวม ประมวลผล และนาเสนอขอ้ มูลโดยใช้ซอฟตแ์ วร์ตามวัตถปุ ระสงค์ การ

ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั ข้อตกลงในการใช้อินเตอร์เนต็

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสรา้ งแบบจาลอง อธบิ ายการเปล่ยี นแปลงของวตั ถุ ระบผุ ลของแรง

เปรยี บเทียบและยกตัวอย่าง จาแนกวัตถุ บรรยายการทางาน อธิบายสาเหตตุ า่ งๆ จากแบบจาลอง แสดงอัลกอริทมึ ในการ

ทางาน เขยี นโปรแกรมและตรวจหาข้อผดิ พลาด ใช้อินเทอร์เน็ต บูรณาการ กระวนการคิดวเิ คราะห์ กระบวนการสืบเสาะ

กระบวนการกลุ่ม ผา่ นการจดั การเรยี นรู้ตามแนวคิด Active Learning

เพอ่ื ให้ผูเ้ รยี นตระหนักถงึ ประโยชน์ของการใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตรใ์ นการดารงชวี ติ ศกึ ษาหาความรู้

เพิ่มเติมสาหรับทาโครงงานหรอื ช้นิ งานตามความสนใจดว้ ยความมุ่งมั่น รอบคอบ ประหยัด ซอ่ื สตั ยแ์ ละทางานร่วมกับผูอ้ นื่ อยา่ ง

มคี วามสขุ

ตัวช้ีวัด

ว1.2 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 ป.3/4

ว.2.1 ป.3/1 ป.3/2

ว.2.2 ป.3/1ป.3/2 ป.3/3 ป3/4

ว.2.3 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3

ว.3/1 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3

ว.3.2 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 ป.3/4

ว.4.2 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 ป.3/4 ป.3/5

7 มาตรฐาน 25 ตัวชว้ี ดั

คาอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน

รหัสวชิ า ว14101 กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 เวลาเรยี น 80 ชั่วโมง

ศกึ ษาหน้าท่ีของราก ลาตน้ ใบและดอกของพืชดอก โดยใช้ขอ้ มลู ท่รี วบรวมได้ จาแนกสงิ่ มชี ีวิตโดยใช้ความเหมือนและ

ความแตกตา่ งของลกั ษณะของสงิ่ มชี วี ิตออกเป็นกลมุ่ พชื กลุ่มสัตว์ และกลุ่มท่ีไม่ใชพ่ ชื และสัตว์ จาแนกพชื ออกเปน็ พชื ดอกและ

พืชไมม่ ีดอกโดยใช้การมีดอกเป็นเกณฑโ์ ดยใช้ขอ้ มูลทร่ี วบรวมได้ จาแนกสัตว์ออกเป็นสตั ว์ท่ีมีกระดูกสนั หลงั และสัตว์ไม่มกี ระดกู

สันหลงั เปน็ เกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลทีร่ วบรวมได้ ลักษณะเฉพาะที่สงั เกตได้ของสัตว์ มีกระดูกสันหลังในกลมุ่ ปลา กลุ่มสัตว์สะเทนิ น้า

สะเทินบก กลุ่มสตั วเ์ ล้อื ยคลาน กลมุ่ นก และกลุ่มสตั ว์เลย้ี งลกู ด้วยนม และยกตวั อยา่ งส่ิงมีชวี ิตในแต่ละกลุ่ม สมบัตทิ างกายภาพ

ด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนาความร้อนและการนาไฟฟ้าของวสั ดุ โดยใช้หลักฐานเชงิ ประจกั ษจ์ ากการทดลองและระบุ

การนาสมบัตเิ รื่องความแข็ง สภาพยดื หย่นุ การนาความร้อนและการนาไฟฟา้ ของวัสดุไปใชใ้ นชวี ิตประจาวันผ่านกระบวนการ

ออกแบบช้นิ งาน สมบตั ิทางกายภาพของวสั ดุอยา่ งมเี หตุผลจากการทดลอง สมบัติของสสารท้งั 3 สถานะจากข้อมลู ท่ีไดจ้ ากการ

สังเกตมวลการต้องการที่อยรู่ ูปร่างและปรมิ าตรของสสาร ใช้เครอ่ื งมือเพ่ือวัดมวลและปริมาตรของสสารท้ัง 3 สถานะ ผลของ

แรงโนม้ ถ่วงที่มีต่อวตั ถุจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ การใช้เครื่องช่ังสปรงิ ในการช่ังน้าหนกั ของวตั ถุ มวลของวตั ถทุ ่ีมีผลตอ่ การ

เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนท่ขี องวัตถุทมี่ หี ลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ การจาแนกวัตถุเป็นตัวกลางโปรง่ ใส ตวั กลางโปรง่ แสง และวัตถุทบึ

แสงจากลกั ษณะการมองเหน็ ส่งิ ตา่ งๆ ผา่ นวัตถนุ ัน้ เป็นเกณฑโ์ ดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจักษ์ แบบรปู เส้นทางการข้ึนและตกของดวง

จันทร์โดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ การสร้างแบบจาลองทอี่ ธบิ ายแบบรูป การเปล่ยี นแปลงรปู รา่ งปรากฏของดวงจนั ทร์และ

พยากรณ์รปู รา่ งปรากฏของดวงจนั ทร์ การสรา้ งแบบจาลองแสดงองค์ประกอบของระบบสุริยะ เปรยี บเทยี บคาบการโคจรของ

ดาวเคราะห์ตา่ งๆ จากแบบจาลอง การใช้เหตผุ ลเชิงตรรกะในการแกป้ ัญหา การอธบิ ายการทางาน การคาดการณ์ผลลัพธจ์ าก

ปญั หาอยา่ งง่าย การออกแบบ การเขยี นโปรแกรมอย่างง่ายโดยใชซ้ อฟตแ์ วรห์ รือสื่อและตรวจหาข้อผิดพลาดและแกไ้ ข การใช้

อนิ เตอร์เน็ตค้นหาความร้แู ละประเมินความนา่ เช่ือถือของข้อมูล การรวบรวม ประเมนิ นาเสนอข้อมลู และสารสนเทศโดยใช้

ซอฟต์แวร์ท่ีหลากหลายเพอ่ื แกป้ ัญหาในชีวติ ประจาวัน การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย เขา้ ใจสิทธิและหน้าทข่ี องตน

เคารพในสิทธิของผู้อ่นื

โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการบรรยายลักษณะเฉพาะ เปรียบเทยี บสมบัติทางกายภาพ แลกเปล่ียน

ความคดิ เหน็ ใช้หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ จาแนกวัตถุ สร้างแบบจาลอง ใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะในการแกป้ ญั หา ออกแบบการเขยี น

โปรแกรม ประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูลจากอินเทอรเ์ น็ต ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ บรู ณาการกระบวนการคิดวเิ คราะห์

กระบวนการสืบเสาะ กระบวนการกลุ่ม ผา่ นการจัดการเรียนรู้ความแนวคิด Active Learning

เพื่อใหผ้ เู้ รยี นแสดงความรับผิดชอบดว้ ยการทางานที่ไดร้ ับมอบหมายอย่างรอบคอบ ประหยดั ซ่อื สัตย์ จนงานลุล่วงเป็น

ผลสาเร็จ แสดงความคิดเปน็ ของตนเอง ยอมรบั ในข้อมูลท่ีมีหลักฐานอ้างอิง และทางานร่วมกับผอู้ ่ืนอย่างสร้างสรรค์

ตวั ชว้ี ดั

ว. 1.2 ป.4/1

ว. 1.3 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4

ว. 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4

ว. 2.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3

ว. 2.3 ป.4/1

ว. 3.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3

ว. 4.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5

7 มาตรฐาน 21 ตัวช้ีวดั

คาอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน

รหสั วิชา ว15101 กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์

ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 เวลาเรยี น 80 ชว่ั โมง

ศกึ ษาโครงสรา้ งและลักษณะของสงิ่ มีชีวิตทีเ่ หมาะสมกบั การดารงชวี ติ ซึง่ เปน็ ผลมาจากกาปรบั ตัวของสง่ิ มชี วี ติ

ในแต่ละแหล่งทอี่ ยู่ ความสมั พันธ์ระหวา่ งสิ่งมีชีวติ กบั สง่ิ มีชีวติ และความสัมพนั ธร์ ะหว่างสง่ิ มชี ีวติ กับสิ่งไม่มีชวี ิตเพ่ือประโยชนต์ อ่

การดารงชีวติ โซอ่ าหาร บทบาทหนา้ ทข่ี องสง่ิ มีชีวิตทเี่ ป็นผู้ผลิตและผูบ้ รโิ ภคในโซอ่ าหาร คุณค่าของสิง่ แวดลอ้ มทม่ี ตี ่อการ

ดารงชวี ติ ของส่งิ มีชีวิต การดูแลรักษาสง่ิ แวดล้อม ลักษณะทางพนั ธุกรรมท่มี ีการถ่ายทอดจากพ่อแม่สลู่ ูกของพชื สัตว์ และมนษุ ย์

ลกั ษณะทีค่ ลา้ ยคลงึ กันของตนกับพ่อแม่ การเปล่ยี นสถานะของสสารเมือ่ ทาใหส้ สารร้อนข้นึ หรอื เยน็ ลง การละลายของสารในนา้

การเปล่ยี นแปลงของสารเม่ือเกิดการเปลยี่ นแปลงทางเคมี การเปลย่ี นแปลงที่ผนั กลบั ได้และการเปลี่ยนแปลงทผ่ี นั กลับไม่ได้

วธิ ีการหาแรงลพั ธข์ องแรงหลายแรงในแนวเดียวกันที่กระทาตอ่ วัตถใุ นกรณีท่ีวตั ถหุ ยุดน่ิง การเขียนแผนภาพแสดงแรงทก่ี ระทา

ต่อวัตถทุ ี่อยูใ่ นแนวเดยี วกนั และแรงลัพธ์ท่ีกระทาตอ่ วัตถุ การใช้เคร่ืองชัง่ สปริงในการวดั แรงทกี่ ระทาต่อวตั ถุ ผลของแรงเสียด

ทานท่มี ตี ่อการเปลยี่ นแปลงการเคลื่อนท่ีของวัตถุ การเขียนแผนภาพแสดงแรงเสยี ดทานและแรงที่อยใู่ นแนวเดียวกันท่ีกระทาตอ่

วัตถุ การไดย้ นิ เสียงผา่ นตัวกลาง ตัวแปร ทดลอง และลักษณะการเกิดเสียงสงู เสยี งต่า ลักษณะและการเกดิ เสียงดัง เสียงคอ่ ย

วดั ระดับเสยี งโดยใชเ้ คร่อื งมือวัดระดบั เสยี ง ระดับเสียง แนวทางในการหลีกเลย่ี งและลดมลพิษทางเสยี ง ความแตกตา่ งของดาว

เคราะหแ์ ละดาวฤกษ์ แบบจาลอง การใช้แผนท่ดี าวระบตุ าแหน่งและเส้นทางการขึ้นและตกของกลมุ่ ดาวฤกษบ์ นท้องฟ้า แบบรปู

เส้นทางการข้ึนและตกของกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้าในรอบปี ปริมาณน้าในแตล่ ะแหล่ง ปริมาณน้าที่มนุษยน์ ามาใชป้ ระโยชน์ได้

คุณคา่ ของนา้ การใช้น้าอย่างประหยัดและการอนรุ กั ษน์ ้า แบบจาลองที่อธบิ ายการหมุนเวียนของน้าในวัฏจกั รน้า กระบวนการ

เกดิ เมฆ หมอก น้าคา้ ง และน้าค้างแขง็ แบบจาลอง กระบวนการเกิดฝน หิมะ และลกู เห็บ การใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะ การ

แก้ปัญหา การอธิบายการทางาน การคาดการณ์ผลลัพธ์จากปญั หา การออกแบบและเขยี นโปรแกรมท่มี ีการใช้เหตุผลเชิงตรรกะ

การตรวจหาข้อผิดพลาดและแกไ้ ข

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตรใ์ นการบรรยายโครงสร้าง อธบิ ายความสัมพนั ธ์ วิเคราะหการเปลี่ยนแปลง เขยี น

แผนภาพ ใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์ ระบตุ ัวแปรทดลอง ออกแบบการทดลอง ใชแ้ ผนทีด่ าว สร้างแบบจาลองใชเ้ หตผุ ลเชิงตรรกะ

ในการแก้ปญั หา ออกแบบและเขยี นโปรแกรมท่ีมีการใชเ้ หตผุ ลเชงิ ตรรกะ ประเมินความนา่ เชื่อถอื ของข้อมูลจากอินเตอรเ์ น็ตใช้

เทคโนโลยสี ารสนเทศ บูรณาการกระบวนการวเิ คราะห์ กระบวนการสืบเสาะ กระบวนการกลุ่ม ผา่ นการจัดการเรยี นรู้ตาม

แนวคิด Active Learning

เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นแสดงความมงุ่ ม่ัน ในใจทจี่ ะเรยี นรู้ มีความคิดสรา้ งสรรค์เกี่ยวกบั เร่ืองทจ่ี ะศึกษาโดยตระหนักในคุณคา่ ของ

ความรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีใช้ความรูแ้ ละกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ในการดารงชีวติ แสดงความชืน่ ชมยกยอ่ งและ

เคารพสิทธใ์ิ นผลงานของผู้คดิ คน้ และศึกษาหาความรเู้ พ่ิมเติมดว้ ยการทาโครงงานหรือชิ้นงานตามความสนใจ

ตวั ช้ีวดั

ว.1.1 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4

ว.1.3 ป.5/1 ป.5/2

ว.2.1 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4

ว. 2.2 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5

ว.2.3 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5

ว.3.1 ป.5/1 ป.5/2

ว.3.2 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5

ว.4.2 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5 8 มาตรฐาน 32 ตัวช้วี ัด

คาอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน

รหัสวชิ า ว16101 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 เวลาเรียน 80 ชั่วโมง

ศึกษาสารอาหารและบอกประโยชนข์ องสารอาหารแตล่ ะประเภทจากอาหารท่ีตนเองรับประทาน การเลือกรับประทาน

อาหารใหไ้ ด้สารอาหารครบถ้วนในสดั ส่วนทเี่ หมาะสมกบั เพศและวยั รวมทัง้ ความปลอดภยั ต่อสุขภาพ ความสาคญั ของ

สารอาหาร โดยการเลอื กรับประทานอาหารทม่ี ีสารอาหารครบถ้วนในสดั สว่ นที่เหมาะสมกบั เพศและวยั รวมทง้ั ปลอดภยั ตอ่

สขุ ภาพ การสรา้ งแบบจาลองระบบยอ่ ยอาหาร และบรรยายหน้าท่ีของอวัยวะในระบบย่อยอาหาร รวมท้ังอธิบายการย่อยอาหาร

และการดดู ซึมสารอาหาร ความสาคญั ของระบบย่อยอาหารโดยบอกแนวทางในการดูแลรกั ษาอวยั วะในระบบย่อยอาหารให้

ทางานเป็นปกติ การแยกสารผสมโดยการหยบิ ออก การร่อน การใช้แมเ่ หล็กดึงดูด การรินออก การกรอง และการตกตะกอน

โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจักษ์ รวมทั้งระบุวธิ ีแก้ปัญหาในชวี ิตประจาวนั เก่ยี วกบั การแยกสาร การเกดิ และผลของแรงไฟฟ้าซงึ่ เกิด

จากวัตถทุ ผี่ ่านการขัดถู โดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจักษ์ ส่วนประกอบและบรรยายหน้าที่ของแตล่ ะส่วนประกอบของวงจรไฟฟา้

อย่างง่ายจากหลักฐานเชิงประจักษ์ แผนภาพและตอ่ วงจรไฟฟา้ อย่าง่าย การออกแบบการทดลองและการทดลองดว้ ยวิธที ี่

เหมาะสมในการอธบิ ายวิธีการและผลการตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนุกรม ประโยชน์ของความรขู้ องการตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนกุ รม

โดยบอกประโยชน์และการประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจาวัน การออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธที ีเ่ หมาะสมในการอธิบาย

การตอ่ หลอดไฟฟ้าแบบอนกุ รมและแบบขนาน ประโยชน์ของความรู้ของการต่อหลอดไฟฟา้ แบบอนกุ รมและแบบขนานโดยบอก

ประโยชน์ ขอ้ จากดั และการประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวนั การเกดิ เงามืดเงามัวจากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ แผนภาพรงั สีของแสง

แสดงการเกิดเงามืดเงามัว การสร้างแบบจาลองท่ีอธบิ ายการเกดิ และเปรียบเทยี บปรากฏการณส์ ุริยุปราคาและจนั ทรปุ ราคา

พัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศ และยกตวั อยา่ งการนาเทคโนโลยีอวกาศมาใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจาวัน จากขอ้ มูลท่ีรวบรวม

ได้ การเกดิ หนิ อัคนี หนิ ตะกอน และหินแปร และอธิบายวัฏจกั รหนิ จากแบบจาลอง ประโยชน์ของหนิ และแรใ่ นชวี ติ ประจาวนั

จากข้อมลู ท่รี วบรวมได้ การเกิดซากดึกดาบรรพ์และคาดคะเนสภาพแวดล้อมในอดตี ของซากดึกดาบรรพ์ การเกดิ ลมบก ลม

ทะเล และมรสมุ รวมท้ังอธิบายผลทมี่ ตี ่อส่งิ มีชวี ิตและสิ่งแวดลอ้ มจากแบบจาลอง ผลของมรสมุ ต่อการเกิดฤดขู องประเทศไทย

จากข้อมูลที่รวบรวมได้ ลกั ษณะและผลกระทบของนา้ ท่วม การกัดเซาะชายฝ่งั ดินถล่ม แผน่ ดนิ ไหว สนึ ามิ ผลกระทบของภัย

ธรรมชาตแิ ละธรณีพบิ ัตภิ ยั โดยนาเสนอแนวทางในการเฝ้าระวงั และปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากภยั ธรรมชาติและธรณพี ิบัตภิ ัยที่

อาจเกิดในท้องถน่ิ การสรา้ งแบบจาลองท่ีอธบิ ายการเกดิ ปรากฎการณเ์ รือนกระจก และผลของปรากฏการเรอื นกระจกต่อ

สิ่งมีชีวิต ผลกระทบปรากฏการณ์เรือนกระจก โดยนาเสนอแนวทางการปฏบิ ตั ิตนเพ่ือลดกิจกรรมที่กอ่ ใหเ้ กดิ แกส๊ เรือนกระจก

การใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะในการอธิบายและออกแบบวธิ กี ารแกป้ ญั หาท่ีพบในชวี ติ ประจาวัน การออกแบบและเขียนโปรแกรม

อย่างง่าย เพื่อแกป้ ัญหาในชวี ติ ประจาวนั ตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดของโปรแกรมและแกไ้ ข การใช้อินเตอรเ์ นต็ ในการค้นหาขอ้ มลู

อยา่ งมีประสิทธิภาพ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศทางานร่วมกันอยา่ งปลอดภยั เข้าใจสิทธิและหน้าท่ีของตน เคารพในสทิ ธิของ

ผู้อน่ื แจ้งผู้เก่ียวข้องเมื่อพบข้อมลู หรอื บุคคลท่ีไมเ่ หมาะสม

โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ในการบอกแนวทางในการเลอื ก อธบิ าย เปรยี บเทยี บ เขียนแผนภาพ ตอ่ วงจร

ออกแบบการทดลอง ทดลอง สรา้ งแบบจาลอง อธิบายพฒั นาการ อธบิ ายผลท่ีเกิดจากข้อมูลทรี่ วบรวม บรรยายลักษณะและ

ผลกระทบ ใช้เหตุผลเชิงตรรกะ ออกแบบและเขียนโปรแกรม ใช้อินเทอรเ์ นต็ และเทคโนโลยีสารสนเทศด้วยความเข้าใจในสทิ ธิ

และหน้าที่ บรู ณาการกระบวนการคิดวเิ คราะห์ กระบวนการสบื เสาะ กระบวนการกล่มุ ผ่านการจดั การเรียนรตู้ ามแนวคดิ

Active Learning

เพ่ือให้ผูเ้ รยี น ซาบซ้งึ ห่วงใย ดแู ลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม อยา่ งรู้คุณค่า นาความรทู้ างวิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยใี นการดารงชวี ติ เคารพสทิ ธิและหนา้ ท่ขี องตนเองและของผู้อ่ืน ในการทางานร่วมกับผอู้ น่ื อย่างสรา้ งสรรค์ เหน็

คณุ ค่าของการนาความร้ไู ปใช้ประโยชน์ในชวี ติ ประจาวนั ทางานร่วมกบั ผูอ้ ืน่ อยา่ งสร้างสรรค์

มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ว 1.2 ป.6/1, ป.6/2 ,ป.6/3 ,ป.6/4 ,ป.6/5
ว 2.1 ป.6/1
ว 2.2 ป.6/1
ว 2.3 ป.6/1, ป.6/2 ,ป.6/3 ,ป.6/4 ,ป.6/5 ,ป.6/6 ,ป.6/7 ,ป.6/8
ว 3.1 ป.6/1 ,ป.6/2
ว 3.2 ป6/1, ป.6/2, ป.6/3 ,ป.6/4 ,ป.6/5 ,ป.6/6 ,ป.6/7 ,ป.6/8 ,ป.6/9
ว 4.2 ป6/1 ,ป.6/2 ,ป.6/3 ,ป.6/4
รวม 7 มาตรฐาน 30 ตัวช้ีวัด

คาอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน

รหัสวชิ า ว22101 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 เวลาเรียน 120 ชวั่ โมง จานวน 3.0 หนว่ ยกติ

ศกึ ษาการเปรยี บเทยี บรูปรา่ ง ลกั ษณะ และโครงสร้างของเซลล์พืชและเซลล์สตั ว์ หน้าที่ของผนังเซลล์ เยอ่ื หมุ้ เซลล์ ไซ

โทพลาซมึ นิวเคลียส แวควิ โอล ไมโทคอนเดรยี และคลอโรพลาสต์ กล้องจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สง ศึกษาเซลลแ์ ละโครงสรา้ งต่างๆ

ภายในเซลล์ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างรูปรา่ งกับการทาหนา้ ท่ีของเซลล์ การจัดระบบของส่งิ มีชวี ิต โดยเรมิ่ จากเซลล์ เนื้อเยือ่ อวัยวะ
ระบบอวัยวะ จนเป็นสิง่ มีชีวติ กระบวนการแพร่และออสโมซสิ การแพรแ่ ละออสโมซสิ ในชวี ิตประจาวัน ปัจจยั ทจี่ าเปน็ ในการ

สังเคราะห์ดว้ ยแสงและผลผลติ ที่เกดิ ข้ึนจากการสงั เคราะห์ด้วยแสง ความสาคญั ของการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพืชต่อส่ิงมีชีวติ

และสิง่ แวดลอ้ ม คณุ คา่ ของพืชที่มีต่อสิง่ มีชวี ติ และส่งิ แวดลอ้ ม การรว่ มกันปลกู และดูแลรักษาต้นไม้ในโรงเรยี นและชุมชน
ลักษณะและหนา้ ทีข่ องไซเล็มและโฟลเอ็ม ทิศทางการลาเลียงสารในไซเลม็ และโฟลเอ็มของพืช การสืบพนั ธุแ์ บบอาศัยเพศและ
ไมอ่ าศยั เพศของพชื ดอก ลักษณะโครงสรา้ งของดอกทีม่ สี ่วนทาใหเ้ กิดการถ่ายเรณู การปฏิสนธขิ องพืชดอก การเกดิ ผลและเมล็ด

การกระจายเมล็ดและการงอกของเมลด็ ความสาคัญของสัตวท์ ชี่ ่วยในการถา่ ยเรณูของพืชดอก โดยการไมท่ าลายชีวติ ของสัตว์ท่ี
ช่วยในการถ่ายเรณู ความสาคัญของธาตุอาหารบางชนิดที่มีผลตอ่ การเจริญเติบโตและการดารงชวี ิตของพชื การเลอื กใช้ปยุ๋ ท่มี ี
ธาตุอาหารเหมาะสมกบั พืช การเลอื กวิธกี ารขยายพันธ์พุ ชื ใหเ้ หมาะสมกับความต้องการของมนุษย์ การสบื พนั ธุข์ องพชื

ความสาคัญของเทคโนโลยี การเพาะเล้ยี งเนอ้ื เยื่อในการใช้ประโยชนด์ ้านต่างๆ ประโยชน์ของการขยายพันธ์ุพืช สมบัติทาง

กายภาพบางประการของธาตุโลหะ อโลหะ และกึง่ โลหะ การจดั กลมุ่ ธาตุเปน็ โลหะ อโลหะและกงึ่ โลหะ การวิเคราะห์ผลจากการ
ใชธ้ าตโุ ลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะและธาตกุ มั มนั ตรงั สีที่มตี อ่ สิ่งมชี ีวติ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคม คณุ ค่าของการใช้ธาตุโลหะ

อโลหะ ก่งึ โลหะ ธาตุกัมมนั ตรังสี การใช้ธาตุอย่างปลอดภยั คุ้มค่า การเปรียบเทยี บจดุ เดอื ด จดุ หลอมเหลวของสารบรสิ ุทธ์ิและ

สารผสม การวดั อุณหภมู ิ เขยี นกราฟ แปลความหมายข้อมูลจากกราฟหรือสารสนเทศ ความหนาแน่นของสารบรสิ ทุ ธแ์ิ ละสาร
ผสม การใชเ้ คร่ืองมอื วดั มวลและปรมิ าตรของสารบรสิ ุทธ์แิ ละสารผสม ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งอะตอม ธาตุ และสารประกอบ

โครงสรา้ งอะตอมท่ีประกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และอิเลก็ ตรอน การจดั เรยี งอนภุ าคแรงยดึ เหนีย่ วระหวา่ งอนุภาคและการ

เคล่ือนท่ีของอนภุ าคของสสารชนดิ เดียวกันในสถานะของแข็ง ของเหลว และแกส๊ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งพลงั งานความร้อนกบั
การเปล่ยี นสถานะของสสาร ความสัมพนั ธ์ระหว่างความดันอากาศกบั ความสูงจากพนื้ โลก การวเิ คราะห์ แปลความหมายขอ้ มูล
และการคานวณปรมิ าณความร้อนทีท่ าใหส้ สารเปล่ยี นอุณหภูมแิ ละเปล่ยี นสถานะ โดยใชส้ มการ Q =mc t และ Q = mL การ

ใชเ้ ทอรโ์ มมิเตอรใ์ นการวัดอุณหภูมขิ องสสาร การขยายตัวหรือหดตวั ของสสารเนือ่ งจากไดร้ ับหรอื สญู เสียความร้อน ประโยชน์
ของความรูข้ องการหดและขยายตวั ของสสารเนื่องจากความรอ้ น การนาความรมู้ าแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน การถ่ายโอนความ
รอ้ น และคานวณปรมิ าณความร้อนที่ถ่ายโอนระหวา่ งสสารจนเกดิ สมดุลความร้อนโดยใช้สมการ Q สูญเสีย = Q ได้รบั การถ่าย

โอนความรอ้ นโดยการนาความร้อน การพาความรอ้ น การแผร่ งั สีความร้อน การออกแบบ เลอื กใช้ และสร้างอปุ กรณ์ เพือ่

แก้ปัญหาในชีวิตประจาวนั การแบง่ ชนั้ บรรยากาศ และเปรยี บเทยี บประโยชนข์ องบรรยากาศแต่ละชนั้ ปจั จยั ทมี่ ีผลต่อการ
เปลีย่ นแปลงองค์ประกอบของลมฟา้ อากาศ กระบวนการเกดิ พายุฝนฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตรอ้ นและผลที่มีต่อส่งิ มชี วี ิตและ

ส่งิ แวดล้อม การปฏบิ ตั ิตนให้เหมาะสมและปลอดภยั การพยากรณ์อากาศ และพยากรณ์อากาศอยา่ งง่าย คุณคา่ ของการ

พยากรณ์อากาศ ประโยชน์จากคาพยากรณ์อากาศ ผลกระทบการเปลยี่ นแปลงภูมิอากาศโลก การปฏิบัติตนภายใต้การ
เปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศโลก แนวคดิ หลักของเทคโนโลยีในชวี ติ ประจาวนั สาเหตุหรอื ปจั จัยท่ีส่งผลต่อการเปลย่ี นแปลงของ
เทคโนโลยี ปญั หาหรือความต้องการในชวี ิตประจาวนั การออกแบบวิธกี ารแก้ปัญหา การทดสอบ ประเมินผล ระบุข้อบกพร่องท่ี

เกิดขึ้น แนวทางการปรับปรงุ แกไ้ ข การใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ กลไก ไฟฟ้า หรืออเิ ล็กทรอนิกส์เพือ่
แกป้ ัญหาได้อยา่ งถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภัย การออกแบบอัลกอรทิ ึมที่ใชแ้ นวคดิ เชงิ นามธรรมเพ่ือแกป้ ัญหาหรอื อธิบายการ
ทางานท่ีพบในชีวติ จรงิ การออกแบบและเขยี นโปรแกรมอย่างง่ายเพื่อแกป้ ญั หาทางคณิตศาสตรห์ รอื วทิ ยาศาสตร์ การรวบรวม

ขอ้ มูลปฐมภูมิ ประมวลผล ประเมนิ ผล นาเสนอข้อมลู และสารสนเทศตามวตั ถปุ ระสงค์โดยใชซ้ อฟต์แวรห์ รอื บริการบน
อนิ เทอร์เนต็ ที่หลากหลาย การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย ใชส้ ือ่ และแหล่งข้อมูลตามข้อกาหนดและขอ้ ตกลง

โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ในการบอกแนวทางในการเลือก อธิบาย เปรยี บเทยี บ เขียนแผนภาพ ตอ่ วงจร
ออกแบบการทดลอง ทดลอง สร้างแบบจาลอง อธิบายพัฒนาการ อธบิ ายผลทีเ่ กิดจากข้อมลู ท่รี วบรวม บรรยายลกั ษณะและ
ผลกระทบ ใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะ ออกแบบและเขยี นโปรแกรม ใช้อินเทอร์เน็ตและเทคโนโลยีสารสนเทศดว้ ยความเข้าใจในสิทธิ
และหนา้ ท่ี บรู ณาการกระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสืบเสาะ กระบวนการกลมุ่ ผ่านการจดั การเรยี นรู้ตามแนวคิด
Active Learning

เพอ่ื ใหผ้ ้เู รยี น ซาบซ้งึ ห่วงใย ดแู ลรักษาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม อยา่ งรู้คณุ ค่า นาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยใี นการดารงชวี ิต เคารพสิทธแิ ละหน้าท่ีของตนเองและของผู้อ่ืน ในการทางานรว่ มกบั ผู้อืน่ อยา่ งสร้างสรรค์ เหน็
คณุ คา่ ของการนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ิตประจาวัน ทางานร่วมกบั ผู้อืน่ อย่างสร้างสรรค์
รหัสตัวชวี้ ัด
ว 1.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8 ม.1/9 ม.1/10 ม.1/11 ม.1/12 ม.1/13

ม.1/14 ม.1/15 ม.1/16 ม.1/17 ม.1/18
ว 2.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8 ม.1/9 ม.1/10
ว 2.2 ม.1/1
ว 2.3 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7
ว 3.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7
ว 4.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5
ว 4.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4
7 มาตรฐาน 52 ตัวชีว้ ดั

คาอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน

รหัสวิชา ว22201 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ชัน้ มธั ยมศกึ ษา

ปีท่ี 2 เวลาเรียน 120 ชั่วโมง จานวน 3.0 หน่วยกิต

ศกึ ษา อวัยวะและหน้าทขี่ องอวัยวะทเี่ ก่ียวข้องในระบบหายใจ กลไกการหายใจเข้าและออก แบบจาลอง กระบวนการ

แลกเปลีย่ นแกส๊ ความสาคัญของระบบหายใจ แนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะในระบบหายใจใหท้ างานเป็นปกติ อวัยวะ และ

หนา้ ทข่ี องอวยั วะในระบบขบั ถา่ ยในการกาจัดของเสยี ทางไต ความสาคญั ของระบบขบั ถ่ายในการกาจัดของเสียทางไต แนวทาง

ในการปฏบิ ตั ิตนทชี่ ่วยใหร้ ะบบขับถ่ายทาหนา้ ท่ีได้อย่างปกติ โครงสร้างและหน้าที่ของหัวใจ หลอดเลอื ด และเลือด การทางาน

ของระบบหมนุ เวยี นเลอื ด แบบจาลอง การออกแบบทดลองและทดลองในการเปรยี บเทียบอัตราการเตน้ ของหัวใจ ขณะปกติ

และหลังทากิจกรรม ความสาคัญของระบบหมนุ เวียนเลือด แนวทางในการดแู ลรกั ษาอวยั วะในระบบหมุนเวยี นเลอื ดให้ทางาน

เป็นปกติ อวยั วะและหน้าที่ของอวัยวะในระบบประสาทสว่ นกลางในการควบคมุ การทางานตา่ งๆ ของรา่ งกาย ความสาคญั ของ

ระบบประสาท การดแู ลรักษา การปอ้ งกนั การกระทบกระเทือนและอันตรายตอ่ สมองและไขสนั หลงั การระบุอวัยวะและ

บรรยายหน้าทีข่ องอวัยวะในระบบสืบพันธุข์ องเพศชายและเพศหญิงโดยใชแ้ บบจาลอง ผลของฮอร์โมนเพศชายและเพศหญงิ ท่ี

ควบคมุ การเปล่ยี นแปลงของร่างกาย เม่ือเขา้ สู่วยั หนุ่มสาว การเปลย่ี นแปลงของร่ายกายเมื่อเข้าสวู่ ัยหนุ่มสาว การดแู ลรักษา

ร่างกายและจติ ใจของตนเองในชว่ งที่มกี ารเปล่ียนแปลง การตกไข่ การมีประจาเดือน การปฏสิ นธิ และการพัฒนาของไซโกต จน

คลอดเป็นทารก วธิ ีการคุมกาเนดิ ทีเ่ หมาะสมกับสถานการณ์ที่กาหนด ผลกระทบของการตงั้ ครรภก์ อ่ นวัยอันควร การประพฤติ

ตนให้เหมาะสม การแยกสารผสมโดยการระเหยแหง้ การตกผลึก การกล่นั อย่างง่าย โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การสกดั ดว้ ย

ตวั ทาละลาย โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์ แยกสารโดยการระเหยแหง้ การตกผลึก การกลน่ั อยา่ งง่าย โครมาโทกราฟีแบบ

กระดาษ การสกัดดว้ ยตัวทาละลาย วิธกี ารแยกสาร การแก้ปญั หาในชีวติ ประจาวนั จากการบรู ณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์

เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์ ออกแบบการทดลอง และทดลอง ผลของชนดิ ตวั ละลาย ชนดิ ตัวทาละลาย อณุ หภมู ิท่ีมีตอ่

สภาพละลายได้ของสาร ผลของความดนั ท่ีมีต่อสภาพละลายไดข้ องสาร การใชส้ ารสนเทศ ปริมาณตวั ละลายในสารละลายใน

หนว่ ยความเข้มข้นเป็นร้อยละ ปรมิ าตรตอ่ ปรมิ าตร มวลต่อมวล และมวลตอ่ ปรมิ าตร ความสาคัญของการนาความรู้เร่ืองความ

เขม้ ขนของสารไปใช้ การใช้สารละลายในชวี ิตประจาวันอย่างถกู ต้องและปลอดภัย การพยากรณก์ ารเคล่อื นที่ของวตั ถุทีเ่ ปน็ ผล

ของแรงลัพธ์ที่เกิดจากแรงหลายแรงท่ีกระทาตอ่ วัตถุในแนวเดยี วกัน การออกแบบการทดลองและทดลองดว้ ยวธิ ที ่ีเหมาะสมใน

การอธิบายปัจจยั ท่ีมผี ลต่อความดนั ของของเหลว การวเิ คราะหแ์ รงพยงุ และการจม การลอยของวัตถุในของเหลว การเขยี น

แผนภาพแสดงแรงท่ีกระทาต่อวัตถใุ นของเหลว แรงเสยี ดทานสถิตและแรงเสียดทานจลน์ การออกแบบการทดลองและทดลอง

ดว้ ยวธิ ที ่เี หมาะสมในการอธบิ ายปจั จัยทีม่ ผี ลตอ่ ขนาดของแรงเสยี ดทาน การเขยี นแผนภาพแสดงแรงเสยี ดทานและแรงอืน่ ๆ ท่ี

กระทาต่อวตั ถุ ประโยชน์ของความรูเ้ รอ่ื งแรงเสยี ดทาน การวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา วธิ ีการลดหรือเพม่ิ แรงเสียดทานทีเ่ ป็น

ประโยชนต์ ่อการทากจิ กรรมในชวี ิตประจาวัน การออกแบบการทดลองและทดลองดว้ ยวิธีท่ีเหมาะสมในการอธบิ ายโมเมนต์ของ

แรง เมื่อวัตถุอยใู่ นสภาพสมดุลต่อการหมนุ และคานวณโดยใชส้ มการ M= Fl การเปรยี บเทียบแหล่งของสนามแมเ่ หล็ก

สนามไฟฟา้ และสนามโนม้ ถว่ ง และทิศทางของแรงท่ีกระทาตอ่ วตั ถทุ ี่อยู่ในแต่ละสนาม การเขียนแผนภาพแสดงแรงแม่เหลก็

แรงไฟฟา้ และแรงโนม้ ถว่ งทีก่ ระทาต่อวัตถุ การวเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธร์ ะหว่างขนาดของแรงแม่เหลก็ แรงไฟฟา้ และแรงโน้ม

ถ่วงทกี่ ระทาต่อวัตถทุ ่ีอย่ใู นสนามน้นั ๆ กับระยะหา่ งจากแหล่งของสนามถึงวัตถจุ ากข้อมูลทร่ี วบรวมได้ คานวณอตั ราเร็วและ

ความเร็วของการเคล่ือนท่ีของวัตถุ โดยใช้สมการ การเขียนแผนภาพแสดงการกระจัดและความเรว็ การวเิ คราะห์สถานการณ์

และคานวณเกีย่ วกบั งานและกาลงั ที่เกิดจากแรงทก่ี ระทาต่อวตั ถุโดยใชส้ มการ W= Fs และ P=w/t การวเิ คราะห์หลักการ

ทางานของเคร่ืองกลอย่างง่าย ประโยชนข์ องความรู้ของเคร่ืองกลอย่างงา่ ย ประโยชนแ์ ละการประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวนั การ

ออกแบบและทดลองด้วยวิธที ่เี หมาะสมในการอธิบายปัจจัยทมี่ ผี ลต่อพลังงานจลน์ และพลังงานศกั ยโ์ นม้ ถ่วง การแปล

ความหมายข้อมูลและอธิบายการเปล่ียนพลงั งานระหว่างพลงั งานศกั ยโ์ นม้ ถว่ งและพลังงานจลน์ของวตั ถโุ ดยพลังงานกลของวัตถุ

มีค่าคงตวั การวิเคราะห์สถานการณ์ การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลงั งานโดยใช้กฏการอนุรักษ์พลงั งาน การเปรียบเทียบ
กระบวนการเกดิ สมบัติ และการใชป้ ระโยชน์ ผลกระทบจากการใช้เช้อื เพลงิ ซากดึกดาบรรพ์ ผลจากการใชเ้ ชือ้ เพลิง ซากดกึ ดา
บรรพ์ แนวทางการใชเ้ ชอื้ เพลิงซากดึกดาบรรพ์ การเปรียบเทียบขอ้ ดีและขอ้ จากัดของพลังงานทดแทนแต่ละประเภท แนว
ทางการใช้พลังงานทดแทนท่เี หมาะสมในท้องถ่ิน การสร้างแบบจาลองท่ีอธบิ ายโครงสรา้ งภายในโลกตามองคป์ ระกอบทางเคมี
กระบวนการผุพงั อยกู่ ับท่ี การกรอ่ น และการสะสมตัวของตะกอน กระบวนการท่ีทาใหผ้ วิ โลกเกิดการเปลีย่ นแปลง ลกั ษณะของ
ชน้ั หน้าตดั ดินและกระบวนการเกิดดนิ ปจั จัยที่ทาให้ดนิ มีลักษณะและสมบัติท่ีแตกต่างกัน สมบตั บิ างประการของดิน การใช้
ประโยชนจ์ ากดิน ปจั จยั และกระบวนการเกดิ แหลง่ น้าผวิ ดนิ และแหล่งนา้ ใต้ดิน การใช้น้าอย่างย่ังยนื ในท้องถน่ิ กระบวนการ
เกิดและผลกระทบของนา้ ทว่ ม การกดั เซาะชายฝงั่ ดนิ ถล่ม หลมุ ยุบ แผ่นดินทรุด แนวโน้มเทคโนโลยที จี่ ะเกิดขน้ึ สาเหตปุ จั จัยท่ี
สง่ ผลต่อการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี การเลอื กใช้เทคโนโลยี ผลกระทบท่เี กดิ ขึน้ ต่อสังคมสงิ่ แวดล้อม การระบุปญั หาหรอื
ความตอ้ งการในชุมชน การออกแบบวิธกี ารแกป้ ญั หา การตดั สนิ ใจเลอื กขอ้ มูลที่จาเป็นภายใต้เงอ่ื นไขและทรัพยากรทม่ี ีอยู่ การ
ทดสอบประเมนิ ผลภายใตก้ รอบเง่ือนไข การหาแนวทางแก้ไข การใชค้ วามรูแ้ ละทักษะเกี่ยวกบั วสั ดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก
ไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกส์เพ่ือแกป้ ัญหาหรือพฒั นางานอย่างถกู ต้องเหมาะสม ปลอดภยั การออกแบบอลั กอริทีมทีใ่ ชแ้ นวคิดเชงิ
คานวณในการแก้ปญั หาหรือการทางาน การออกแบบและเขยี นโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังก์ชนั ในการแก้ปญั หา องค์ประกอบ
และหลกั การทางานของระบบคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยกี ารสอ่ื สาร การประยกุ ต์ใชง้ านหรอื แก้ปญั หาเบื้องตน้ การใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั มีความรับผดิ ชอบ สร้างและแสดงสิทธใิ นการเผยแพร่ผลงาน

โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการบอกแนวทางในการเลอื ก อธบิ าย เปรยี บเทียบ เขียนแผนภาพ ตอ่ วงจร
ออกแบบการทดลอง ทดลอง สร้างแบบจาลอง อธบิ ายพัฒนาการ อธบิ ายผลทเ่ี กิดจากข้อมูลท่รี วบรวม บรรยายลกั ษณะและ
ผลกระทบ ใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะ ออกแบบและเขยี นโปรแกรม ใช้อนิ เทอรเ์ น็ตและเทคโนโลยีสารสนเทศด้วยความเข้าใจในสิทธิ
และหน้าท่ี บรู ณาการกระบวนการคดิ วิเคราะห์ กระบวนการสืบเสาะ กระบวนการกลมุ่ ผ่านการจดั การเรียนรู้ตามแนวคิด
Active Learning

เพือ่ ให้ผ้เู รยี น ซาบซ้งึ ห่วงใย ดูแลรกั ษาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม อย่างรู้คุณค่า นาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยใี นการดารงชวี ติ เคารพสทิ ธแิ ละหน้าท่ีของตนเองและของผู้อืน่ ในการทางานรว่ มกบั ผอู้ ืน่ อย่างสร้างสรรค์ เหน็
คณุ ค่าของการนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน ทางานร่วมกบั ผอู้ ื่นอยา่ งสรา้ งสรรค์
รหัสตัวชี้วดั
ว1.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8 ม.2/9 ม.2/10 ม.2/11 ม.2/12 ม.2/13 ม.2/14

ม.2/15 ม.2/16 ม.2/17
ว.2.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6
ว.2.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8 ม.2/9 ม.2/10 ม.2/11 ม.2/12 ม.2/13 ม.2/14

ม.2/15
ว.2.3 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6
ว 3.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8 ม.2/9 ม.2/10
ว 4.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5
ว 4.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4
7 มาตรฐาน 63 ตัวชี้วัด

คาอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน

รหัสวชิ า ว23301 กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรช์ ั้นมัธยมศึกษา

ปที ่ี 3 เวลาเรยี น 120 ชั่วโมง จานวน 3.0 หนว่ ยกิต

ศึกษาปฏิสมั พันธข์ ององค์ประกอบของระบบนิเวศทีไ่ ด้จากการสารวจ รูปแบบความสัมพนั ธร์ ะหว่างสง่ิ มีชีวิตกบั

ส่งิ มีชวี ติ รปู แบบตา่ งๆ ในแหล่งที่อยเู่ ดยี วกันทีไ่ ดจ้ ากการสารวจ แบบจาลองในการอธบิ ายการถ่ายทอดพลงั งานในสายใยอาหาร

ความสัมพนั ธ์ของผผู้ ลิต ผูบ้ ริโภค และผ้ยู อ่ ยสลายสารอนิ ทรีย์ในระบบนิเวศ การสะสมสารพษิ ในสงิ่ มชี วี ติ และสง่ิ แวดล้อมใน

ระบบนเิ วศ โดยไม่ทาลายสมดุลระบบนิเวศ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งยีน ดีเอ็นเอ และโครโมโซม แบบจาลอง การถ่ายทอดลกั ษณะ

ทางพันธุกรรมจากการผสมโดยพิจารณาลกั ษณะเดยี วทแ่ี อลีลเด่นขม่ แอลลีลด้อยอย่างสมบรู ณ์ การเกิดจโี นไทป์และฟีโนไทปข์ อง

ลูกและคานวณอัตราสว่ นการเกดิ จโี นไทปแ์ ละฟโี นไทป์ของรุ่นลกู ความแตกตา่ งของการแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซสิ และไมโอซสิ การ

เปล่ยี นแปลงของยนี หรือโครโมโซมอาจทาใหเ้ กิดโรคทางพันธุกรรม ประโยชนข์ องความรู้เรือ่ งโรคทางพันธกุ รรม ก่อนแตง่ งาน

ควรปรกึ ษาแพทยเ์ พ่ือตรวจและวนิ ิจฉยั ภาวะเสยี่ งของลกู ท่ีอาจเกิดโรคทางพันธกุ รรม การใช้ประโยชน์จากสิ่งมีชีวิตดดั แปร

พันธุกรรมและผลกระทบท่ีอาจมีต่อมนุษย์และสิง่ แวดล้อม การรวบรวมขอ้ มลู ประโยชนแ์ ละผลกระทบของสิ่งมชี ีวติ ดัดแปร

พนั ธกุ รรมท่ีอาจมตี ่อมนุษย์และสิ่งแวดลอ้ ม การเผยแพร่ความรู้ทีไ่ ด้จากการโต้แย้งทางวิทยาศาสตรซ์ ึ่งมีข้อมูลสนับสนุน ความ

หลากหลายทางชวี ภาพในระดบั ชนดิ สงิ่ มชี วี ติ ในระบบนเิ วศต่างๆ ความสาคญั ของความหลากหลายทางชวี ภาพทีม่ ีต่อการรักษา

สมดลุ ของระบบนิเวศและต่อมนษุ ย์ คณุ คา่ และความสาคัญของความหลากหลายทางชวี ภาพ การมีส่วนร่วมในการดูแลรักษา

ความหลากหลายทางชวี ภาพ สมบตั ทิ างกายภาพและการใชป้ ระโยชน์วสั ดปุ ระเภทพอลเิ มอร์ เซรามกิ ส์ และวัสดุผสม คุณคา่

ของการใช้วัสดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิกส์ และวสั ดุผสม การใช้วสั ดุอย่างประหยัด ค้มุ คา่ การเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี การจัดเรยี งตวั

ใหม่ของอะตอมเม่ือเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี โดยใชแ้ บบจาลองและสมการข้อความ กฎทรงมวล ปฏกิ ิริยาดูดความร้อน และปฏกิ ริ ิยา

คายความร้อน จากการเปลยี่ นแปลงพลงั งานความร้อนของปฏิกิริยา ปฏกิ ริ ิยาการเกิดสนิมของเหลก็ ปฏกิ ริ ยิ าของกรดกบั โลหะ

ปฏิกิรยิ าการเผาไหม้ การเกิดฝนกรด การสงั เคราะหด์ ้วยแสง สมการข้อความแสดงปฏิกิรยิ า ประโยชนแ์ ละโทษของปฏิกิริยาเคมี

ที่มีตอ่ ส่ิงมีชีวติ และส่งิ แวดลอ้ ม วธิ กี ารป้องกนั และแกป้ ัญหาท่เี กิดจากปฏกิ ิรยิ าเคมที ่ีพบในชีวติ ประจาวนั การสืบค้นข้อมลู การ

ออกแบบวธิ ีแก้ปญั หาในชวี ติ ประจาวนั ความรเู้ กยี่ วกับปฏิกริ ิยาเคมี การบรู ณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และ

วศิ วกรรมศาสตร์ การวิเคราะหค์ วามสมั พันธค์ วามต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า และความตา้ นทาน และคานวณปริมาณที่เก่ยี วขอ้ งโดย

ใช้สมการ V= IR การเขยี นกราฟความสัมพันธร์ ะหว่างกระแสไฟฟ้า และความตา่ งศกั ย์ไฟฟา้ การใช้โวลตม์ ิเตอร์ แอมมิเตอร์ใน

การวัดปรมิ าณทางไฟฟา้ การวเิ คราะหค์ วามต่างศักยไ์ ฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าเมือ่ ต่อตัวตา้ นทานหลายตวั แบบ

อนกุ รมและแบบขนาน เขยี นแผนภาพวงจรไฟฟา้ การตอ่ ตัวตา้ นทานแบบอนุกรมและขนาน การทางานของชิน้ สว่ น

อิเลก็ ทรอนกิ ส์อย่างงา่ ยในวงจร การเขียนแผนภาพและต่อชิ้นส่วนอเิ ล็กทรอนิกส์อย่างง่ายในวงจรไฟฟ้าการอธิบายและคานวณ

พลังงานไฟฟา้ โดยใช้สมการ W= PT คานวณค่าไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟา้ ในบา้ น คณุ ค่าของการเลือกใชเ้ ครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้า วิธกี ารใช้

ไฟฟา้ อย่างประหยัดและปลอดภัย การสรา้ งแบบจาลองท่อี ธิบายการเกิดคลน่ื และบรรยายสว่ นประกอบของคลื่น คลน่ื

แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ และสเปกตรัม ประโยชน์และอนั ตรายจากคล่นื แม่เหล็กไฟฟ้า การใช้ประโยชนใ์ นดา้ นตา่ ง ๆ การออกแบบการ

ทดลองและดาเนนิ การทดลองด้วยวิธที ี่เหมาะสมในการอธบิ ายกฏการสะท้อนของแสง แผนภาพการเคลื่อนที่ของแสง การเกดิ

ภาพจากกระจกเงา การหักเหของแสงเมือ่ ผา่ นตวั กลางโปร่งใสทแ่ี ตกต่างกัน การกระจายแสงของแสงขาวเม่ือผา่ นปริซึม การ

เขยี นแผนภาพการเคลอ่ื นทีข่ องแสงแสดงการเกิดภาพจากเลนส์บาง ปรากฏการณ์ที่เกยี่ วกับแสงและการทางานของทัศน

อุปกรณ์ การเขียนแผนภาพการเคลือ่ นที่ของแสง การเกดิ ภาพของทัศนอปุ กรณแ์ ละเลนส์ตา ผลของความสว่างท่ีมตี ่อดวงตา

การวัดความสวา่ งของแสงโดยใชอ้ ปุ กรณ์วดั ความสวา่ งของแสง คณุ คา่ ของความรเู้ ร่อื งความสวา่ งของแสงทมี่ ีต่อดวงตา การโคจร

ของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ด้วยแรงโน้มถว่ งจากสมการ F=(Gm1m2)/r 2 การสร้างแบบจาลองที่อธิบายการเกดิ ฤดู และ

การเคลือ่ นท่ปี รากฏของดวงอาทติ ย์ การสรา้ งแบบจาลองที่อธบิ ายการเกดิ ข้างขึน้ ข้ามแรม การเปล่ียนแปลงเวลาการข้ึนและตก

ของดวงจันทร์ และการเกิดน้าข้นึ น้าลง การใชป้ ระโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ ความกา้ วหน้าของโครงการสารวจอวกาศ สาเหตุ
หรือปัจจัยท่ีสง่ ผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความสมั พนั ธ์ของเทคโนโลยีกบั ศาสตร์อน่ื โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรอื
คณติ ศาสตรเ์ พื่อเป็นแนวทางการแก้ปัญหาหรอื พัฒนางาน ปญั หาหรือความต้องการของชมุ ชน ความถกู ต้องดา้ นทรัพยส์ ินทาง
ปัญญา การออกแบบวิธีการแกป้ ัญหา เลือกข้อมลู ที่จาเป็น การดาเนินการแกป้ ัญหาอย่างเป็นข้นั ตอน การทดสอบ ประเมินผล
วเิ คราะห์ และใหเ้ หตุผลของปัญหาหรือข้อบกพร่องท่เี กิดขึ้นภายในกรอบเง่ือนไข แนวทางการปรบั ปรุงแกไ้ ข ความรแู้ ละทักษะ
เก่ยี วกบั วัสดุ อุปกรณ์ เครอ่ื งมือ กลไก ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนกิ ส์ การพฒั นาแอปพลเิ คชันทมี่ ีการบูรณาการกับวชิ าอืน่ การ
รวบรวมขอ้ มูล ประมวลผล ประเมินผล นาเสนอข้อมลู และสารสนเทศตามวตั ถุประสงคโ์ ดยใชซ้ อฟตแ์ วร์หรอื บริการบน
อินเทอรเ์ น็ตท่ีหลากหลาย การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล วเิ คราะหส์ ื่อและผลกระทบจากการให้ขา่ วสารทีผ่ ดิ เพ่อื การใช้
งานอยา่ งรู้เท่าทัน การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย และมีความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม กฎหมายเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ ใช้
ลิขสิทธิข์ องผู้อนื่ โดยชอบธรรม

โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการบอกแนวทางในการเลอื ก อธบิ าย เปรียบเทยี บ เขยี นแผนภาพ ต่อวงจร
ออกแบบการทดลอง ทดลอง สรา้ งแบบจาลอง อธิบายพัฒนาการ อธบิ ายผลท่เี กิดจากข้อมูลทรี่ วบรวม บรรยายลักษณะและ
ผลกระทบ ใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะ ออกแบบและเขยี นโปรแกรม ใช้อินเทอร์เนต็ และเทคโนโลยสี ารสนเทศดว้ ยความเข้าใจในสทิ ธิ
และหน้าที่ บูรณาการกระบวนการคดิ วเิ คราะห์ กระบวนการสืบเสาะ กระบวนการกลมุ่ ผา่ นการจดั การเรยี นรู้ตามแนวคิด
Active Learning

เพ่อื ให้ผเู้ รยี น ซาบซ้งึ ห่วงใย ดแู ลรกั ษาทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม อย่างรู้คณุ ค่า นาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยใี นการดารงชวี ิต เคารพสิทธแิ ละหน้าทข่ี องตนเองและของผ้อู นื่ ในการทางานร่วมกบั ผู้อื่นอยา่ งสร้างสรรค์เหน็
คุณคา่ ของการนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน ทางานร่วมกับผอู้ ่ืนอยา่ งสร้างสรรค์
รหัสตวั ชี้วัด
ว.1.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6
ว.1.3 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10 ม.3/11
ว.2.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8
ว.2.3 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10 ม.3/11 ม.3/12 ม.3/13 ม.3/14

ม.3/15 ม.3/16 ม.3/17 ม.3/18 ม.3/19 ม.3/20 ม.3/21
ว 3.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4
ว 4.1 ม3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5
ว 4.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4
7 มาตรฐาน 59 ตัวช้วี ัด

คาอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ

รหสั วิชา ว 11201 เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์

ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หนว่ ยกิต

ศึกษาและฝึกทักษะในการแก้ปญั หาโดยใชข้ นั้ ตอนการแก้ปัญหาอย่างงา่ ย การแสดงข้นั ตอนการแก้ปัญหาโดยการ

เขียน บอกเลา่ วาดภาพ หรอื ใช้สญั ลกั ษณ์ การเขียนโปรแกรมอยา่ งงา่ ยโดยใช้ซอฟต์แวรห์ รือส่ือ การใช้งานอุปกรณ์

เทคโนโลยเี บอ้ื งต้น การใช้งานซอฟต์แวร์เบ้ืองตน้ การสรา้ ง จัดเก็บ และเรียกใช้ไฟลต์ ามวตั ถปุ ระสงค์ การใชเ้ ทคโนโลยี

สารสนเทศอยา่ งปลอดภยั ข้อปฏบิ ัตใิ นการใชง้ านและการดแู ลรักษาอุปกรณ์ การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสม

ตัวช้วี ัด
ว.4.2 เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ)
1. แกป้ ัญหาอย่างง่ายโดยใชก้ ารลองผิดลองถูก การเปรียบเทยี บ
2. แสดงลาดบั ข้ันตอนการทางานหรือการแก้ปญั หาอย่างง่ายโดยใชภ้ าพ สัญลกั ษณ์ หรือข้อความ
3. เขยี นโปรแกรมอย่างงา่ ยโดยใช้ซอฟต์แวร์หรอื ส่ือ
4. ใชเ้ ทคโนโลยีในการสร้าง จดั เกบ็ เรียกใชข้ ้อมลู ตามวตั ถุประสงค์
5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้คอมพิวเตอรร์ ว่ มกนั ดูแลรกั ษาอปุ กรณ์เบ้ืองตน้ ใช้
งานอยา่ งเหมาะสม
รวมท้ังหมด 5 ผลการเรยี นรู้

คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม

รหสั วิชา ว 14201 เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 เวลา 20 ช่ัวโมง จานวน 0.5 หนว่ ยกิต

ศกึ ษาและฝกึ ทักษะเกยี่ วกับการใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะในการแกป้ ัญหา การอธบิ ายการทางานหรือการคาดการผลลพั ธ์

จากปัญหาอย่างงา่ ย การออกแบบและเขียนโปรแกรมอยา่ งง่าย การตรวจหาข้อผดิ พลาดในโปรแกรม การค้นหาข้อมลู ใน

อนิ เทอร์เน็ตและการใช้คาค้น การประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูล การรวบรวมข้อมูล การประมวลผลอยา่ งงา่ ย การ

วิเคราะห์ผลและสรา้ งทางเลือกการนาเสนอข้อมูล การสสื่อสารอยา่ งมีมารยาทและรู้กาลเทศะ การปกป้องข้อมลู สว่ นตัว

ตัวชว้ี ัด
ว.4.2 เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ)
ใชเ้ หตผุ ลเชงิ ตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบายการทางาน การคาดการณ์ผลลพั ธจ์ ากปญั หาอยา่ งง่าย
ออกแบบ และเขียนโปรแกรมอยา่ งง่าย โดยใช้ซอฟต์แวรห์ รือสื่อ และตรวจหาข้อผดิ พลาดและแก้ไข
ใช้อินเทอร์เน็ตคน้ หาความรู้ และประเมินความนา่ เช่ือถือของข้อมูล
รวบรวม ประเมนิ นาเสนอข้อมลู และสารสนเทศ โดยใชซ้ อฟต์แวรท์ ี่หลากหลาย เพ่ือแก้ปญั หาในชีวิตประจาวนั
ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย เข้าใจสทิ ธิและหน้าที่ของตน เคารพในสทิ ธขิ องผูอ้ นื่ แจ้งผู้เก่ยี วขอ้ งเมื่อพบข้อมลู หรอื
บคุ คลท่ีไม่เหมาะสม
รวมท้ังหมด 5 ผลการเรียนรู้

คาอธิบายรายวิชาเพ่ิมเตมิ

รหัสวชิ า ว 21201 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หนว่ ยกิต

ศึกษาแนวคดิ เชิงนามธรรม การคัดเลอื กคุณลกั ษณะทจ่ี าเป็นต่อการแกป้ ญั หา ข้นั ตอนการแกป้ ัญหา การเขยี นรหัส

ลาลองและผังงาน การเขียนออกแบบและเขยี นโปรแกรมอย่างง่ายท่ีมกี ารใชง้ านตัวแปร เงอ่ื นไข และการวนซา้ เพอื่

แกป้ ัญหาทางคณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ การรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ การประมวลผลขอ้ มูล การสรา้ งทางเลือกแลก

ประเมินผลเพื่อตดั สินใจ ซอฟต์แวร์และบริการบนอินเทอร์เนต็ ท่ีใช้ในการจดั การข้อมูล แนวทางการใช้งานเทคโนโลยี

สารสนเทศใหป้ ลอดภยั กาจัดการอัตลักษณ์ การพิจารณาความเหมาะสมของเน้ือหา ข้อตกลงและข้อกาหนดการใชส้ อ่ื และ

แหลง่ ข้อมลู

นาแนวคดิ เชงิ นามธรรมและขั้นตอนการแก้ปัญหาไปประยกุ ต์ใชใ้ นการเขยี นโปรแกรม หรือการแกป้ ัญหาในชวี ติ จรงิ

รวบรวมขอ้ มลู และสรา้ งทางเลอื ก ในการตัดสินใจได้อย่างมีประสทิ ธิภาพและตระหนกั ถึงการใชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง

ปลอดภยั เกดิ ประโยชนต์ ่อการเรียนรู้ และไมส่ ร้างความเสยี หายให้แกผ้ อู้ นื่

ตัวชีว้ ัด
ว.4.2 เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ)
ออกแบบอัลกอริทึมทใ่ี ช้แนวคิดเชงิ นามธรรมเพ่ือแก้ปัญหาหรอื อธบิ ายการทางานท่ีพบในชีวิตจริง
ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างงา่ ย เพ่อื แก้ปัญหาทางคณิตศาสตรห์ รือวิทยาศาสตร์
รวบรวมข้อมลู ปฐมภมู ิ ประมวลผล ประเมินผล นาเสนอข้อมลู และสารสนเทศ ตามวตั ถปุ ระสงค์ โดยใชซ้ อฟต์แวร์ หรือ
บริการบนอนิ เทอรเ์ นต็ ที่หลากหลาย
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย ใชส้ ่ือและแหล่งข้อมลู ตามข้อกาหนดและข้อตกลง
รวมท้ังหมด 4 ผลการเรียนรู้

คาอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเตมิ

รหสั วิชา ว 21202 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 เวลา 20 ชั่วโมง จานวน 0.5 หน่วยกิต

ศกึ ษาอธบิ ายความหมายของเทคโนโลยี วเิ คราะห์สาเหตหุ รือปจั จัยทีส่ ง่ ผลต่อการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี การ

ทางานของระบบทางเทคโนโลยี ประยกุ ต์ใช้ความรู้ทักษะ และทรพั ยากร โดยวเิ คราะห์เปรยี บเทยี บและเลือกขอ้ มลู ที่จาเป็น

เพอื่ อกแบบวิธีการแกป้ ัญหาในชวี ติ ประจาวันในดา้ นการเกษตรและอาหาร และสรา้ งช้ินงานหรอื พฒั นาวิธกี ารโดยใช้

กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม รวมท้ังเลอื กใช้วสั ดุ อุปกรณ์ เครอ่ื งมือในการแกป้ ัญหาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และ

ปลอดภยั

ตวั ช้วี ดั
ว.4.1 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
อธบิ ายแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยใี นชีวิตประจาวนั และวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจยั ทีส่ ่งผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี
ระบุปัญหาหรอื ความต้องการในชวี ติ ประจาวัน รวบรวม วเิ คราะห์ข้อมูลและแนวคิดทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั ปัญหา
ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรยี บเทยี บ และตดั สินใจเลอื กข้อมูลที่จาเปน็ นาเสนอแนวทางการแกป้ ัญหาให้ผ้อู ่ืน
เข้าใจ วางแผนและดาเนินการแก้ปญั หา
ทดสอบ ประเมินผล และระบขุ อ้ บกพร่องท่เี กิดขึ้น พรอ้ มทั้งหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนาเสนอผลการแก้ปัญหา
ใชค้ วามรู้และทักษะเก่ยี วกบั วัสดุ อปุ กรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า หรืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ เพื่อแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสมและปลอดภัย
รวมท้ังหมด 5 ผลการเรียนรู้

คาอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม

รหสั วชิ า ว 31201 เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์

ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 เวลา 40 ชว่ั โมง จานวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษาหลกั การของแนวคิดเชิงคานวณ การแยกสว่ นประกอบและการย่อยปัญหา การหารูปแบบการคิดเชิงนามธรรม

ตัวอยา่ งและประโยชน์ของแนวคดิ เชงิ คานวณเพ่ือแก้ปัญหาในชวี ิตประจาวนั ประยุกต์ใช้แนวคิดเชงิ คานวณในการออกแบบ

ขน้ั ตอนวิธีสาหรับแก้ปญั หา การแกป้ ัญหาดว้ ยคอมพิวเตอร์ การระบุข้อมลู เข้า ข้อมูลออก และเง่ือนไขข้องปัญหา การ

ออกแบบขัน้ ตอนวธิ ี การทาซ้า กาจัดเรียงและค้นหาข้อมลู ตวั อยา่ งการออกแบบขัน้ ตอนวิธีเพอ่ื แกป้ ัญหาดว้ ยคอมพวิ เตอร์

การศกึ ษา ตวั อยา่ งโครงงานทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ การกาหนดปญั หา ศึกษา วางแผน ดาเนินงาน สรปุ ผลและเผยแพร่

ในการพัฒนาโครงงานท่ีมีการบูรณาการร่วมกับวชิ าอนื่ และเชอ่ื มโยงกับชีวิตจริง

ตวั ช้วี ัด
ว.4.2 เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ)
ประยุกต์ใชแ้ นวคิดเชงิ คานวณในการพัฒนาโครงงานท่ีมีการบรู ณาการกับวชิ าอื่นอย่างสรา้ งสรรค์ และเชอื่ มโยงกับชวี ิตจรงิ
รวมท้ังหมด 4 ผลการเรยี นรู้

คาอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเติม

รหัสวชิ า ว 41202 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 เวลา 40 ช่วั โมง จานวน 1.0 หนว่ ยกิต

ศกึ ษา วิเคราะห์แนวคดิ หลักของเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยีท่เี กดิ ขึ้นและ

ความสัมพนั ธข์ องเทคโนโลยีกับศาสตรอ์ ่ืน ออกแบบ สรา้ ง หรอื พฒั นาผลงานสาหรบั แก้ปัญหาท่ีคานงึ ถึงผลกระทบตอ่ สงั คมใน

ประเดน็ ท่เี กี่ยวข้องกบั สขุ ภาพและการบริการ โดยใช้กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม ซึง่ ใช้ความรู้ ทกั ษะ และเลือกใช้

วสั ดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกส์ เพื่อแกป้ ัญหาได้อย่างถูกตอ้ ง เหมาะสม ปลอดภัย คานงึ ถึง

ทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา มีการใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบและนาเสนอผลงาน

ตัวชีว้ ัด
ว.4.1 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
วเิ คราะหแ์ นวคดิ หลักของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์กับศาสตร์อืน่ โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์หรอื คณติ ศาสตร์ รวมทัง้ ประเมนิ ผล
กระทบท่จี ะเกิดขน้ึ ตอ่ มนุษย์ สงั คม เศรษฐกิจ และส่ิงแวดล้อม เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาเทคโนโลยี
ระบุปัญหาหรือความต้องการทม่ี ผี ลกระทบต่อสงั คม รวมรวม วิเคราะหข์ ้อมูลและแนวคดิ ท่ีเกี่ยวข้องกับปัญหาท่ีมคี วาม
ซับซอ้ นเพ่ือสงั เคราะห์วิธกี าร เทคนิคในการแก้ปญั หา โดยคานงึ ถงึ ความถูกต้องด้านทรัพย์สินทางปัญญา
ออกแบบวธิ ีการแกป้ ญั หา โดยวเิ คราะห์เปรยี บเทียบ และตัดสินใจเลอื กขอ้ มูลทจ่ี าเปน็ ภายใต้เงือ่ นไขและทรัพยากรท่ีมอี ยู่
นาเสนอแนวทางการแกป้ ัญหาให้ผูอ้ นื่ เขา้ ใจดว้ ยเทคนิคหรือวิธีการทีห่ ลากหลาย โดยใชซ้ อฟตแ์ วร์ชว่ ยในการออกแบบ
วางแผนขนั้ ตอนการทางานและดาเนนิ การแก้ปญั หา
ทดสอบ ประเมนิ ผล วเิ คราะหแ์ ละให้เหตผุ ลของปัญหาหรือข้อบกพร่องท่ีเกดิ ขน้ึ ภายใต้กรอบเง่ือนไข หาแนวทางการปรับปรงุ
แก้ไข และนาเสนอผลการแก้ปญั หา พร้อมท้งั เสนอแนวทางการพฒั นาต่อยอด
ใช้ความรูแ้ ละทักษะเกีย่ วกับวสั ดุ อปุ กรณ์ เคร่ืองมือ กลไก ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีที่ซบั ซ้อนในการ
แก้ปญั หาหรือพัฒนางาน ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและปลอดภยั
รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู้

วิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ 1 คาอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน
กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4-6 เวลา 40 ช่ัวโมง จานวน 1.0 หน่วยกิต

ศกึ ษาวเิ คราะห์การรกั ษาดุลยภาพของเซลล์ของส่งิ มชี วี ิต กลไกการรักษาดุลยภาพของน้าในพชื กลไกการควบคุมดลุ ย

ภาพของน้า แร่ธาตุ อณุ หภูมขิ องมนษุ ย์และสตั ว์ ระบบภมู ิคุ้มกันของมนุษย์ กระบวนการถา่ ยทอดสารพันธกุ รรม การแปร

ผนั ทางพนั ธุกรรม การเกดิ มิวเทชัน ความหลากหลายทางชีวภาพ ผลของเทคโนโลยีชวี ภาพทีม่ ตี อ่ มนุษย์และสง่ิ แวดล้อมและ

นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ผลของความหลากหลายทางชีวภาพท่มี ตี ่อมนุษยแ์ ละส่ิงแวดลอ้ ม กระบวนการคัดเลอื กตาม

ธรรมชาติ และผลของการคดั เลือกตามธรรมชาตติ อ่ ความหลากหลายของสิ่งมีชวี ิต ดลุ ยภาพของระบบนิเวศ กระบวนการ

เปลย่ี นแปลงแทนท่ีของสิง่ มชี ีวิต ความสาคญั ของความหลากหลายทางชวี ภาพ และแนวทางในการดูแลรกั ษาสภาพปญั หา

สาเหตุของสงิ่ แวดลอ้ มและทรัพยากรธรรมชาตใิ นระดบั ท้องถน่ิ ระดบั ประเทศระดบั โลก แนวทางในการป้องกนั แก้ไขปัญหา

ส่งิ แวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ การวางแผนและการดาเนินการเฝ้าระวัง และพัฒนาส่ิงแวดลอ้ มและ

ทรัพยากรธรรมชาติ

โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสงั เกต การสบื ค้น

ขอ้ มูล การอภิปราย สรปุ เพ่อื ใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สอ่ื สาร

สิง่ ที่เรียนรู้ มคี วามสามารถในการตดั สนิ ใจ นาความรู้ไปใช้ในชวี ติ ของตนเอง มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และ

ค่านิยม

ตวั ชว้ี ัด

ว 1.1 ม.4-6/1 , ม.4-6/2 , ม.4-6/3 , ม.4-6/4

ว 1.2 ม.4-6/1 , ม.4-6/2 , ม.4-6/3 , ม.4-6/4

ว 2.1 ม.4-6/1 , ม.4-6/2 , ม.4-6/3

ว 2.2 ม.4-6/1 , ม.4-6/2 , ม.4-6/3

รวมทั้งหมด 14 ตัวชี้วดั

วิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ 2 คาอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน
กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4-6 เวลา 40 ชวั่ โมง จานวน 1.0 หน่วยกติ

ศกึ ษาวเิ คราะห์โครงสร้างอะตอม และสัญลกั ษณ์นวิ เคลยี ร์ของธาตุ การจดั เรียงอเิ ลก็ ตรอนในอะตอม ความสัมพันธ์

ระหวา่ งอิเลก็ ตรอนในระดบั พลังงานนอกสดุ กับสมบตั ิของธาตแุ ละการเกิดปฏกิ ริ ิยา การจัดเรยี งธาตุในตารางธาตุ แนวโนม้

สมบตั ิบางประการของธาตตุ ามตารางธาตุ การเกิดพนั ธะเคมีในโครงสร้างผลึกและในโมเลกุลของสาร ความสมั พันธร์ ะหว่างจุด

เดือด จดุ หลอมเหลว สถานะของสารกับแรงยดึ เหน่ียวระหว่างอนุภาค ของสาร สมการของปฏิกริ ยิ าเคมีที่พบในชีวติ ประจาวนั

ผลของสารเคมีที่มตี ่อสิง่ มชี วี ติ และสิ่งแวดลอ้ ม อัตราการเกิดปฏกิ ิรยิ าปจั จัยที่มผี ลต่ออตั ราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมีและนาความรู้ไป

ใชป้ ระโยชน์ การเกดิ ปิโตรเลยี ม กระบวนการแยกผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลยี มและการใช้ประโยชน์ การเกิดพอลิเมอร์ สมบัตพิ อลเิ มอร์

การนาพอลิเมอรไ์ ปใช้ประโยชน์ ผลทเ่ี กดิ จากการผลติ และใชพ้ อลิเมอร์ตอ่ ส่ิงมีชิวิตและสิง่ แวดล้อมองคป์ ระกอบ ประโยชน์

ปฏกิ ิรยิ าบางชนิดของคารโ์ บไฮเดรต ไขมนั และกรดไขมนั โปรตนี และกรดนิวคลีอกิ

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสบื คน้ ข้อมลู การอภิปราย การวเิ คราะห์

การเปรียบเทยี บ การสารวจตรวจสอบ การทานาย และการทดลอง เพอื่ ใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด

ความเขา้ ใจ สามารถสอ่ื สารส่ิงที่เรยี นรู้ มคี วามสามารถ ในการตดั สินใจ นาความรู้ไปใช้ในชวี ิต

ประจาวัน มจี ติ วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านยิ มท่ีเหมาะสม

ตวั ชี้วดั

ว 3.1 ม.4-6/1 , ม.4-6/2 , ม.4-6/3 , ม.4-6/4 , ม.4-6/5

ว 3.2 ม.4-6/1 , ม.4-6/2, ม.4-6/3 , ม.4-6/4 , ม.4-6/5 , ม.4-6/6, ม.4-6/7 , ม.4-6/8 , ม.4-6/9

รวมท้ังหมด 14 ตัวช้วี ัด

วชิ าวิทยาศาสตร์กายภาพ คาอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน
กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์

ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4-6 เวลา 40 ชวั่ โมง จานวน 1.0 หน่วยกิต ศึกษา

วเิ คราะหค์ วามสัมพันธร์ ะหว่างแรงกับการเคลื่อนท่ีของวัตถุในสนามโน้มถ่วง การเคลื่อนที่ของอนุภาคในสนามไฟฟา้ และ

สนามแม่เหลก็ แรงนิวเคลียร์และแรงไฟฟ้าระหวา่ งอนภุ าคในนวิ เคลียรค์ วามสมั พนั ธร์ ะหว่างระยะทาง การกระจดั เวลา

อตั ราเรว็ อัตราเรง่ การเคลื่อนที่แนวตรง โพรเจกไทล์ การเคลอ่ื นทีแ่ บบวงกลม และฮาร์มอนกิ อย่างงา่ ยการใช้ประโยชนจ์ าก

การเคลอ่ื นทแี่ บบตา่ ง ๆ แรงยดึ เหนย่ี วระหวา่ งอนุภาคในนิวเคลียส คลืน่ กล เสียงและสมบตั ิของเสียง เสียงและการได้ยนิ

สเปกตรมั ของคลนื่ แม่เหล็กไฟฟา้ ปฏกิ ิรยิ านิวเคลียร์ กัมมนั ตรังสี ไอโซโทป และการใช้ประโยชน์ในทางสรา้ งสรรค์รวมถงึ

ผลต่อสิง่ มีชวี ิตและส่งิ แวดล้อม

โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบการสบื ค้นขอ้ มูลและการอภิปราย

การนาภมู ิปญั ญาในท้องถน่ิ มาใช้ เพื่อใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งทเี่ รียนรู้ มีความสามารถใน

การตดั สินใจ นาความรู้ไปใช้ในชวี ิตประจาวนั มีจิตวทิ ยาศาสตร์ คุณธรรมจริยธรรม และค่านยิ มท่ีเหมาะสม

ตัวชีว้ ัด

ว 4.1 ม.4-6/1 , ม.4-6/2 , ม.4-6/3 , ม.4-6/4

ว 4.2 ม.4-6/1 , ม.4-6/2 , ม.4-6/3

ว 5.1 ม.4-6/1 , ม.4-6/2 , ม.4-6/3 , ม.4-6/4 , ม.4-6/5 , ม.4-6/6 , ม.4-6/7 ,

ม.4-6/8 , ม.4-6/9

รวมทั้งหมด 16 ตวั ชี้วัด

วิชาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ คาอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน
กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4-6 เวลา 40 ชว่ั โมง จานวน 1.0 หน่วยกติ

ศกึ ษาวิเคราะห์เก่ยี วกบั โครงสร้างของโลก กระบวนการเปลย่ี นแปลงทางธรณีภาคของโลก

การเกดิ ภเู ขาไฟ รอยเลอื่ น รอยคดโค้ง แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบดิ ปรากฏการณท์ างธรณี แผน่ ดนิ ไหว ภเู ขาไฟระเบิด ที่

สง่ ผลตอ่ ส่งิ มีชีวติ และสิง่ แวดล้อม การลาดับชั้นหนิ จากการวางตวั ของชน้ั หนิ ซากดึกดาบรรพ์ และโครงสร้างทางธรณีวทิ ยา

เพื่ออธิบายประวัติความเปน็ มาของพน้ื ที่ ประโยชน์ของข้อมูลทางธรณีวทิ ยา การเกิดและววิ ฒั นาการของระบบสรุ ยิ ะ

กาแล็กซี และเอกภพ ศึกษาธรรมชาตแิ ละวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ การสง่ และคานวณความเรว็ ในการโคจรของดาวเทียมรอบ

โลก ประโยชนข์ องดาวเทียมในด้านต่าง ๆ การสง่ และสารวจอวกาศโดยใช้ยานอวกาศ

โดยใช้กระบวนการการสืบคน้ บรรยาย อภิปราย ทดลอง และคานวณหาค่าต่าง ๆ ทเี่ กยี่ วข้องกับแรง เพ่อื ให้เกดิ

ความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถส่ือสารส่งิ ที่เรยี นรู้ มคี วามสามารถใน การตัดสินใจนาความรูไ้ ปใช้ในชวี ิตปรี ะจาวนั

อยา่ งมีจติ วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านยิ มที่เหมาะสม

ตัวช้วี ัด

ว 6.1 ม.4-6/1 , ม.4-6/2 , ม.4-6/3 , ม.4-6/4 , ม.4-6/5 , ม.4-6/6

ว 7.1 ม.4-6/1 , ม.4-6/2

ว 7.2 ม.4-6/1 , ม.4-6/2 , ม.4-6/3

รวมท้ังหมด 11 ตัวชี้วัด

คาอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเติม

วทิ ยาศาสตร์สง่ิ แวดลอ้ ม 1 , 2 กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 เวลา 80 ช่ัวโมง จานวน 2.0 หนว่ ยกิต

ศกึ ษาคน้ คว้า สารวจ ทดลอง อภิปราย แสดงและเสนอความคดิ ในรูปแบบหลากหลาย สามารถวิเคราะห์สาเหตุและ

ผลกระทบท่เี กิดขน้ึ กับประชากรและกล่มุ สง่ิ มีชีวติ ในระบบนเิ วศ ทรัพยากรน้า ดนิ พลงั งาน ปา่ ไม้ ความหลากหลายทาง

ชีวภาพ มลภาวะที่เกิดจากกจิ กรรมของคนในชุมชนจากการเกษตร การอตุ สาหกรรม และแนวคดิ ในการพฒั นาสงิ่ แวดล้อมและ

ทรพั ยากรธรรมชาติทีย่ งั่ ยนื เพ่อื ให้มคี วามรู้ ความเข้าใจในความสมั พนั ธข์ องมนุษยก์ ับสงิ่ แวดลอ้ มทั้งระบบ สามารถแก้ปัญหา

และจัดการทรพั ยากรธรรมชาตโิ ดยใช้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้มีความรัก ความซาบซ้ึงในส่งิ แวดล้อม ตลอดจนให้เกดิ

ความตระหนัก มีจิตสานกึ ทีจ่ ะมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมการอนุรักษแ์ ละพฒั นาสิ่งแวดล้อมท่ียง่ั ยืน

ผลการเรียนรู้
มีความร้คู วามเขา้ ใจในเร่อื งของวิทยาศาสตรส์ ่ิงแวดลอ้ ม ที่มคี วามสัมพนั ธก์ ันทง้ั ระบบ รวมท้ังความสัมพันธ์กันระหว่าง
วิทยาศาสตร์ ส่งิ แวดล้อม เศรษฐกิจ และสงั คม สามารถใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตรใ์ นการคิดวิเคราะห์ รวบรวมขอ้ มูล
และการศึกษาค้นควา้ เกย่ี วกับวทิ ยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม นาความร้แู ละกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใชใ้ นการแกป้ ญั หา
ส่งิ แวดล้อม ตลอดจนมคี วามสามารถในการตดั สนิ ใจ และลงมอื ปฏิบตั เิ กี่ยวกับการรักษาสิง่ แวดลอ้ มในบ้าน โรงเรยี น และชุมชน
ในระดับท้องถน่ิ และระดบั ประเทศ มคี วามรัก ซาบซ้งึ ในสิ่งแวดลอ้ ม และตระหนักในความสาคัญของสงิ่ แวดล้อมและ
ทรพั ยากรธรรมชาติ เข้ารว่ มกิจกรรมท่ีเกี่ยวกับการพัฒนาและอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดล้อมท่ยี ง่ั ยืน
รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู้

สารพษิ ในชีวิตประจาวัน 1 , 2 คาอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ
กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 6 เวลา 40 ช่ัวโมง จานวน 1.0 หน่วยกิต

ศกึ ษาหลักการพน้ื ฐานทางพษิ วทิ ยา ความหมาย และการจาแนกกลุ่มของสารพิษ ชนดิ ของสารพิษที่พบบ่อยใน

ชวี ิตประจาวนั

โดยศกึ ษาสารพิษแต่ละชนดิ ในแง่ของแหลง่ กาเนิด การปนเปอื้ น และความเปน็ พิษตอ่ ร่างกาย การป้องกันและ

หลักการรกั ษาเบ้อื งต้นทั้งในกรณีเฉยี บพลัน และเรอื้ รงั

ผลการเรยี นรู้

อธบิ ายหลกั การพ้ืนฐานทางพิษวทิ ยาได้
บอกความหมายและการจาแนกกลมุ่ ของสารพิษได้
บอกชนิดของสารพษิ ที่พบบ่อยในชีวิตประจาวนั ได้
บอกท่ีมาของแหลง่ กาเนดิ สารพษิ การปนเป้ือนของสารพษิ ทมี่ ีผลต่อรา่ งกายได้
ร้วู ธิ กี ารปอ้ งกันและการรักษาเบ้ืองตน้ จากสารพิษทัง้ ในกรณเี ฉียบพลัน และเรอ้ื งรงั
รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู้

คาอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน

รหัสวชิ า ส 11101 กลุ่มสาระการเรียนร้สู ังคมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม

ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 1 เวลา 80 ชั่วโมง

ศึกษาวิเคราะห์พทุ ธประวตั ิ หรือประวัตขิ องศาสดาที่ตนนับถือ แบบอย่างการดาเนินชวี ิต และข้อคิดจากประวตั สิ าวก

ชาดก/เร่อื งเล่าและศาสนิกชนตวั อยา่ งตามที่กาหนด ความหมาย ความสาคญั และเคารพพระรัตนตรัย ปฏบิ ัตติ ามหลกั ธรรม

โอวาท 3 ในพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาที่ตนนับถือ สวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติ บาเพ็ญประโยชน์ตอ่ วดั แสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ

หรอื ศาสนกิ ชนของศาสนาท่ตี นนับถือ ปฏิบัตใิ นศาสนพธิ ี พิธกี รรมและวันสาคญั ทางศาสนาตามท่ีกาหนดได้ถกู ต้อง ประโยชน์

และปฏบิ ัติตนเป็นสมาชิกทีด่ ีของครอบครัวและโรงเรยี น ศึกษา วเิ คราะห์ ความสามารถและความดีและผลจากการกระทาของ

ตนเอง ผู้อ่นื โครงสรา้ ง บทบาท หน้าที่ของสมาชกิ ในครอบครัวและโรงเรยี น บทบาท สิทธิ หนา้ ทข่ี องตนเองในครอบครวั และ

โรงเรียน มสี ว่ นรว่ มในการตัดสินใจ และทากิจกรรมในครอบครวั และโรงเรียนตามกระบวนการประชาธปิ ไตย ศึกษาสินค้าและ

บริการ การออมและการใช้จา่ ยอย่างพอเพียง ทรัพยากร งานสุจริต และสงิ่ ตา่ งๆ เพ่ือให้ผู้เรียนเกดิ ประโยชนส์ งู สดุ ในการใช้

ทรัพยากร ศึกษาส่งิ แวดล้อมท่ีเกดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาติและสงิ่ ท่ีมนุษยส์ รา้ งขนึ้ ท่ีบา้ นและทโี่ รงเรยี น ความสัมพนั ธ์ของตาแหนง่

ระยะ ทิศ ของสิ่งต่างๆรอบตวั แผนผังของสิ่งต่างๆในห้องเรียน และการเปลย่ี นแปลงของสภาพอากาศในรอบวัน สงิ่ แวดลอ้ มทาง

กายภาพท่ีมีผลต่อความเปน็ อยขู่ องมนุษย์ เช่น ภมู ิอากาศ มีผลตอ่ ลกั ษณะที่อยู่อาศยั และเครอ่ื งแต่งกาย การเปล่ียนแปลงของ

ส่ิงแวดล้อมที่อยู่รอบตัว อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมท่สี ง่ ผลต่อการปฏบิ ตั ติ นอย่างเหมาะสม การปฏิบัตติ นในการรักษาสงิ่ แวดล้อมใน

บา้ นและหอ้ งเรียน

โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสบื ค้นข้อมลู กระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการทางสงั คม กระบวนการกลมุ่

กระบวนการเผชิญสถานการณแ์ ละแกป้ ญั หา สงั เกตแวดล้อม แปลความหมายข้อมูลทางภูมิศาสตร์ ใชเ้ ทคนคิ และเครอื่ งมือทาง

ภมู ิศาสตร์สงั เกตสง่ิ บอกความสัมพันธ์ ใช้แผนผัง แปลความหมายข้อมลู ทางภูมิศาสตร์ มีสว่ นร่วมดแู ลสิ่งแวดล้อมด้วย

กระบวนการทางภมู ศิ าสตรเ์ พ่ือให้ผูเ้ รยี นเขา้ ใจระบบธรรมศาสตร์และมนุษย์ มคี วามรเู้ ก่ียวกบั ลกั ษณะทางกายภาพของสง่ิ ตา่ งๆ

ทอี่ ย่รู อบตวั และชุมชน

เพื่อใหผ้ ้เู รยี นเกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถนาไปปฏิบตั ิในการดาเนนิ ชีวิต มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มคี วามรู้เกีย่ วกบั

ลกั ษณะทางกายภาพของสงิ่ ต่างๆ ที่อยูร่ อบตวั และชมุ ชน มีคุณลกั ษณะ อันพงึ ประสงค์ในดา้ นรกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซอื่ สตั ย์

สุจรติ มีวนิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ มีความรับผดิ ชอบ รกั ความเป็นไทย มจี ติ สาธารณะ สามารถดาเนินชีวติ อย่างสันตสิ ขุ ในสังคมไทยและ

สังคมโลก ปฏบิ ัตติ นตามหลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ตัวชี้วัด ส 1.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4
ส 1.2 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
ส 2.1 ป.1/1, ป.1/2
ส 2.2 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
ส 3.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
ส 3.2 ป.1/1
ส 5.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4
ส 5.2 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3

รวม 23 ตัวช้ีวดั


Click to View FlipBook Version