The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานEbookนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา นางสาวสุมัทนา คำเกตุ เลขที่ 22 ห้อง 5

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Fern sumuttana, 2022-03-04 23:44:58

รายงานEbookนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา นางสาวสุมัทนา คำเกตุ เลขที่ 22 ห้อง 5

รายงานEbookนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา นางสาวสุมัทนา คำเกตุ เลขที่ 22 ห้อง 5



รายงาน

วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศึกษา

จัดทาโดย
นางสาวสุมทั นา คาเกตุ

เลขที่ 22 หอ้ ง 5

สอนโดย
อาจารย์ ดร.กฤษฎาพันธ์ พงษบ์ ริบูรณ์

รหสั วชิ า 810105
ภาคเรยี นท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2564
คณะศกึ ษาศาสตรแ์ ละศิลปศาสตร์ วทิ ยาลัยบณั ฑิตเอเซีย



คานา

รายงานนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาจัดทาขึ้นเพ่ือฝึกปฏิบัติการเขียน
รายงานจากการศึกษาค้นคว้าที่ถูกต้องเป็นระบบอันเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา วิชานวัตกรรมและ
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ซ่ึงสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการทารายงานค้นคว้าสาหรับ
วิชาอ่ืนตอ่ ไป

เนอื้ หาในรายงานฉบับน้ีประกอบดว้ ย ความหมายความหมาย ความสาคัญ แนวคิด รูปแบบ
และองคป์ ระกอบตา่ งๆ ที่เกย่ี วกบั นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศกึ ษา

ผู้เรยี บเรยี งขอขอบคณุ อาจารย์ ดร.กฤษฎาพันธ์ พงษ์บริบูรณ์ ที่ให้ความรู้และข้อเสนอแนะ
ในการทารายงานฉบับน้ี หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์ให้กับผู้ที่ศึกษาและให้
ความสนใจไมม่ ากกน็ ้อย จึงขอขอบคณุ มานะโอกาสนี้

สมุ ทั นา คาเกตุ
ผู้จัดทา



สารบัญ หน้า
(ก)
คานา (ข)
สารบัญ 1
บทที่ 1 ประวตั ิความเป็นมาของนวตั กรรมทางการศึกษา 2
2
1.1 ความหมายของนวัตกรรมทางการศึกษา 4
1.2 แนวคดิ พนื้ ฐานของนวัตกรรมทางการศึกษา 6
1.3 ประเภทของนวตั กรรมทางการศึกษา 7
1.4 ลกั ษณะของนวัตกรรมทางการศึกษา 8
1.5 กระบวนการพฒั นานวัตกรรมทางการศกึ ษา 8
1.6 นวัตกรรมทางการศึกษาในยคุ ปัจจุบนั 12
1.7 ประเภทของการใชน้ วตั กรรมการศึกษาในประเทศไทย 20
1.8 E-learning 27
1.9 m-Learning 29
1.10 การเปล่ียนแปลงเทคโนโลยีการศกึ ษา 32
1.11 การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยีท่มี ผี ลต่อสถานศึกษา 34
1.12 แนวโนม้ การเปล่ยี นแปลงทีส่ าคัญที่เกิดจากเทคโนโลยี 39
1.13 ปัญหาและอุปสรรคในการใชน้ วัตกรรมและเทคโนโลยที างการศึกษา 39
บทที่ 2 ความรเู้ บ้ืองต้นเก่ยี วกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ 40
2.1 ความสาคัญของเทคโนโลยสี ารสนเทศ 41
2.2 องคป์ ระกอบของระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 43
2.3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 44
2.4 ความสาคญั ของสารสนเทศ 46
2.5 ความหมายของสารสนเทศ 47
2.6 สาเหตุทีท่ าให้เกิดสารสนเทศ 48
2.7 คณุ ลักษณะของสารสนเทศทด่ี ี 50
2.8 คุณภาพของสารสนเทศ 51
2.9 บทบาทของสารสนเทศ 52
2.10 วิวัฒนาการของสารสนเทศ 55
2.11 เทคโนโลยสี ารสนเทศกับการใช้ชีวติ ในสงั คมปจั จุบัน
2.12 เทคโนโลยสี ือ่ สารโทรคมนาคม



สารบญั (ต่อ)

หน้า

2.13 ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ 57

2.14 ประโยชน์ของระบบสารสนเทศ 58

2.15 ปจั จัยท่ที าใหเ้ กิดความล้มเหลวในการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ 59

2.16 คอมพวิ เตอร์และอินเทอรเ์ นต็ 60

2.17 ประเภทของคอมพิวเตอร์ 62

2.18 อินเทอรเ์ น็ต 65

2.19 ระบบการสืบคน้ ผ่านเครอื ขา่ ยเพือ่ การเรียนรู้ 67

2.20 การสบื ค้น และรับส่งข้อมูล แฟ้มข้อมลู และสารสนเทศเพ่ือใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ 71

2.21 การโอนย้ายแฟ้มข้อมูล 74

2.22 ความหมายของคาว่า ข้อมูล 78

2.23 ชนดิ ของข้อมลู 80

2.24 กรรมวิธีการจดั การขอ้ มูล 80

บทท่ี 3 คอมพิวเตอรแ์ ละอินเทอรเ์ นต็ กับเทคโนโลยสี ารสนเทศ 83

3.1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ 83

3.2 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ 83

3.3 ววิ ัฒนาการของคอมพิวเตอร์ 84

3.4 อนิ เตอรเ์ นต็ เบอื้ งตน้ 85

3.5 เทคโนโลยีและสารสนเทศเพื่อการเรยี นรู้ 85

3.6 องค์ประกอบของระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 89

3.7 ววิ ัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ 91

3.8 เทคโนโลยสี ารสนเทศกับการใช้ชวี ติ ในสังคมปัจจบุ ัน 95

3.9 สอื่ เพื่อการศึกษา(การเรยี นร)ู้ 100

3.10 การเรียนรู้ แหลง่ เรียนรู้ เครือข่ายการเรยี นรู้ 112

3.11 ระบบการสบื คน้ ผา่ นเครอื ข่ายเพ่อื การเรยี นรู้ 118

3.12 การใช้งานอนิ เทอรเ์ น็ต 121

3.13 การโอนย้ายแฟม้ ข้อมลู 123

3.14 การสืบค้นข้อมลู โดยใช้โปรแกรมเรียกค้นข้อมลู (search engine) 124

3.15 การสนทนาบนเครอื ข่าย 124

สารบญั (ตอ่ ) จ

3.16 สารสนเทศเพ่ือใช้ในการจัดการเรยี นรู้ หน้า
3.17 ความสาคัญของสารสนเทศ 125
3.18 การวเิ คราะหป์ ญั หาท่เี กิดจากการใชน้ วตั กรรม 125
แนวขอ้ สอบทา้ ยบทเรียน บทท่ี 1-3 126
บรรณานุกรม 129
135

1

บทที่ 1
ประวตั ิความเป็นมาของนวตั กรรมทางการศกึ ษา

นวตั กรรม หมายถึง ความคิด การปฏิบัติและการกระทาใหม่ ๆ ท่ีไม่เคยมีมาก่อนหรือการ
พัฒนาดดั แปลงมาจากของเดิมที่มีอยูแ่ ล้วใหท้ นั สมยั และใชไ้ ดผ้ ลดยี ง่ิ ขึ้น เมื่อนานวัตกรรมมาใช้จะช่วย
ใหก้ ารทางานนน้ั ไดผ้ ลดมี ปี ระสิทธิภาพและประสทิ ธิผลสูงกวา่ เดิม

นวัตกรรมทางการศึกษา คือ นวัตกรรมทางการศึกษา” (Educational Innovation)
หมายถึง การนาเอาสิ่งใหม่ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของความคิดหรือการกระทา รวมท้ังสิ่งประดิษฐ์ก็ตาม
เข้ามาใช้ในระบบการศึกษา เพื่อมุ่งหวังท่ีจะเปลี่ยนแปลงสิ่งท่ีมีอยู่เดิมให้ระบบการจัดการศึกษามี
ประสทิ ธิภาพย่ิงขึ้น ทาให้ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็วเกิดแรงจูงใจในการเรียน และ
ชว่ ยใหป้ ระหยดั เวลาในการเรยี น เช่น การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน การใช้วีดิทัศน์เชิงโต้ตอบ
(Interactive Video) สอื่ หลายมิติ (Hypermedia) และอินเตอรเ์ นต็ เหล่านเ้ี ปน็ ต้น

นวัตกรรม (Innovation) มีรากศัพท์มาจาก innovare ในภาษาลาติน แปลว่า ทาส่ิงใหม่
ข้ึนมา ความหมายของนวตั กรรมในเชิงเศรษฐศาสตร์คือ การนาแนวความคิดใหม่หรือการใช้ประโยชน์
จากส่ิงที่มีอยู่แล้วมาใช้ในรูปแบบใหม่ เพื่อทาให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ หรือก็คือ การทาในสิ่งที่
แตกต่างจากคนอื่น โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงต่าง (Changs) ที่เกิดขึ้นรอบตัวเราให้กลายมาเป็น
โอกาส ( Opportunity) และถ่ายทอดไปสู่แนวความคดิ ใหมท่ ่ที าใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ ตนเองและสังคม

2

นวัตกรรมเป็นตัวแปรทนี่ าไปสู่การเปลี่ยนแปลงองค์กรด้านต่าง ๆ ในเชิงธุรกิจ ได้แก่ ความ
อยู่รอด การเจริญเติบโต การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน การสร้างโอกาสทางธุรกิจใหม่และ
สมรรถนะหลัก ซึ่งนวัตกรรมไม่ใช่แค่การพัฒนาสินค้าใหม่ เท่านั้น แต่เก่ียวข้องกับการลดต้นทุน การ
แสวงหาแนวทางการตอบสนองความต้องการของตลาด การยกระดับคุณภาพชีวิตและการสร้าง
คุณภาพเพิม่

นวัตกรรมในยุคแรก ๆ เกิดจากการคิดค้นใหม่ท้ังหมด แต่นวัตกรรมในยุคใหม่เกิดจากการ
พัฒนาให้ เปน็ ชิ้นใหมท่ ่มี มี ลู คา่ และสามารถนาไปใชใ้ นเชิงพาณิชยไ์ ด้
1.1 ความหมายของนวตั กรรมทางการศึกษา

นวตั กรรมทางการศึกษา หมายถงึ การนาแนวคดิ วิธกี ารปฏบิ ตั ิ หรือส่ิงประดิษฐ์ท่ีได้รับการ
พัฒนา ปรับปรุงหรือดัดแปลงให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับการนามาใช้ในการจัดการศึกษา
โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือแก้ไขปัญหา เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล และก่อให้เกิดความสาเร็จ
สูงสุดแก่ผ้เู รยี น อัญชลี โพธท์ิ อง และอปั ษรศรี ปลอดเปล่ยี ว (2542 ), อรนุช ลมิ ตศริ ิ (2543)

1.2 แนวคิดพ้นื ฐานของนวตั กรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษาได้รับการพัฒนาข้ึนโดยได้รับอิทธิพลจากแนวคิดพื้นฐาน 4

ประการ คือ
1.2.1 แนวคิดดา้ นความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล (Individual Difference) หลักการจดั การ

ศกึ ษาในปจั จบุ ันมุ่งเนน้ จดั การศกึ ษาตามความสนใจและความสามารถของผ้เู รียนเปน็ สาคญั ซง่ึ
นกั การศึกษาได้พัฒนาวธิ ีการใหม่ๆ เพ่ือส่งเสริมการจัดการเรียนรทู้ ี่เนน้ ให้ผเู้ รยี นใช้ความสามารถใน
การเรียนรทู้ ่แี ต่ละคนมีความแตกตา่ งกนั ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อการเรียนรูใ้ หม้ ากที่สุด

3

นวตั กรรมทางการศกึ ษาที่เกิดจากแนวคดิ ดา้ นความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล ได้แก่ การ
จัดการเรยี นรู้แบบไมแ่ บง่ ชน้ั บทเรียนสาเรจ็ รูป ชุดการสอน การสอนเป็นคณะ การใชเ้ คร่ืองช่วย
สอน การจดั โรงเรยี นในโรงเรียน เปน็ ตน้

1.2.2 แนวคิดด้านความพรอ้ ม (Readiness) การจัดบทเรียนให้มคี วามเหมาะสมกับระดับ
ความสามารถของผ้เู รียนโดยการปรับปรุงลาดับของเนื้อหา หรอื นานวัตกรรมการศกึ ษาทเี่ หมาะสม
กับการสร้างความพร้อมจะทาใหก้ ารจดั การเรียนร้ปู ระสบความสาเร็จ

นวัตกรรมทางการศึกษาท่เี กดิ จากแนวคิดด้านความพร้อม ไดแ้ ก่ ศนู ย์การเรยี น การจดั
โรงเรยี นในโรงเรยี น การสอนรวมช้นั เป็นตน้

1.2.3 แนวคิดด้านการใชเ้ วลาเพ่อื การศึกษา เปน็ การกาหนดเวลาในการจดั การเรียนรู้ให้
สัมพนั ธ์กับลักษณะเฉพาะของแตล่ ะวชิ า

นวัตกรรมทางการศึกษาทีเ่ กิดจากแนวคิดด้านการใชเ้ วลาเพอื่ การศึกษา ไดแ้ ก่ การจัด
ตารางสอนแบบยืดหยุน่ มหาวทิ ยาลัยเปดิ แบบเรยี นสาเร็จรปู การเรยี นทางไปรษณีย์ บทเรียน
โปรแกรมชุดการเรียน เป็นตน้

1.2.4 แนวคิดด้านการขยายตัวทางวชิ าการและอตั ราการเพิ่มประชากร เปน็ การเพมิ่
โอกาสในการเรียนรู้แกป่ ระชากรซ่ึงอาจมขี ้อจากัดทางการเรียนรบู้ างประการ นวตั กรรมทาง
การศกึ ษาทเ่ี กิดจากแนวคิดด้านการขยายตวั ทางวิชาการและอัตราการเพมิ่ ประชากร
ได้แก่ มหาวิทยาลยั เปดิ การเรยี นทางวิทยุ การเรยี นทางโทรทศั น์ การเรยี นทาง
ไปรษณยี ์ แบบเรียนสาเรจ็ รปู ชุดการเรยี น การจัดโรงเรียนสองผลัด บทเรยี นโปรแกรม เป็นต้น

4

1.3 ประเภทของนวตั กรรมทางการศกึ ษา
นกั การศกึ ษาได้แบ่งประเภทของนวัตกรรมทางการศึกษาตามจุดเน้นของการพัฒนาการจัด

การศึกษาหลายลักษณะ
วุทธิศกั ด์ิ โภชนุกูล (2550) อธบิ ายว่า นวตั กรรมทางการศกึ ษา แบ่งออกเป็น 5

ประเภท คอื
1.3.1 นวัตกรรมทางดา้ นหลกั สูตร เช่น หลักสตู รบรู ณาการ หลักสตู รรายบุคคล หลกั สูตร

กิจกรรมและประสบการณ์ หลกั สตู รท้องถ่นิ
1.3.2 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ เชน่ การสอนแบบศนู ย์การเรยี น การใช้กระบวนการ

กลุ่มสัมพันธ์ การสอนแบบเรียนรรู้ ว่ มกนั และการเรยี นผ่านเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์และอินเทอรเ์ น็ต
กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างเจตคติ กระบวนการสรา้ งความคิดรวบยอด
กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการสบื สอบ กระบวนการสรา้ งทักษะการคิดคานวณ การสอนแบบศนู ย์
การเรียน การสอนแบบใช้ บทบาทสมมติ การสอนโดยใช้สถานการณจ์ าลอง การเรียนแบบสญั ญา
การเรียน การเรียนเป็นคู่ การเรยี นเพอื่ รอบรู้ การเรียนแบบรว่ มมอื เปน็ ตน้

1.3.3 นวัตกรรมสอื่ การสอน เชน่ Computer Assisted Instruction (CAI), Web-based
Instruction (WBI) Web-based Training (WBT) Virtual Classroom (VC) Web Quest Web

5

Blog บทเรยี นสาเร็จรปู บทเรยี นโมดลู บทเรียนออนไลน์ คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน ชดุ การสอน จลุ บท
ชุดสือ่ ประสม วดี ทิ ศั น์ สไลดป์ ระกอบเสียง แผน่ โปร่งใส บตั รการเรียนรู้ บัตรกิจกรรม แบบฝกึ
ทักษะ เกม เพลง เป็นตน้

1.3.4 นวัตกรรมการประเมินผล เช่น การพัฒนาคลังข้อสอบ การลงทะเบยี นผ่านทาง
เครอื ข่ายคอมพวิ เตอรแ์ ละอนิ เทอร์เน็ต การใช้บัตรสมารท์ การด์ เพอื่ การใช้บริการของสถาบนั ศกึ ษา
การใชค้ อมพิวเตอรใ์ นการตัดเกรด

1.3.5 นวตั กรรมการบริหารจัดการ เช่น ฐานขอ้ มลู นักเรยี น นักศกึ ษา ฐานข้อมลู คณะ
อาจารย์ และบุคลากร ในสถานศกึ ษา ด้านการเงิน บัญชี พัสดุ และครุภัณฑ์

มหาวทิ ยาลยั รงั สิต (2549 : 1) กล่าวว่า นวัตกรรมทางการศึกษาดา้ นการจดั การเรียนรทู้ ่ี
ครผู ู้สอนสรา้ งหรอื พฒั นาข้นึ เพื่อพฒั นาหรอื ปรับปรงุ แก้ไขปญั หาการจดั การเรยี นรู้ แบ่ง
ได้ 2 ประเภท คือ

1) กิจกรรมการพัฒนาการเรียนรูห้ รอื เทคนิควิธสี อน
(Instruction) เชน่ บทเรยี นสาเร็จรูป ชดุ การเรียนการสอน ชดุ ฝึก แบบฝกึ แผนการจดั การ
เรียนรูท้ เ่ี น้นรูปแบบการสอน, กจิ กรรมการเรียนรู้, หรือกระบวนการเรยี นรู้ ชุดพฒั นา
คุณลกั ษณะ เปน็ ต้น

2) สอ่ื การเรยี นรูห้ รือสิง่ ประดษิ ฐ์ (Invention) เช่น สอ่ื
ประสม วดิ ีทศั น์ แบบจาลอง รปู ภาพ, แผน่ โปร่งใส แผนภาพ เกมประดษิ ฐ์หรอื เกมฝึกทักษะ เปน็
ตน้

6

สาหรับนวัตกรรมทางการศึกษาที่เก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในระดับชั้นเรียน
แบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก คือ ประเภทกิจกรรมการพัฒนาการเรียนรู้และเทคนิควิธีสอน (Learning
and Instruction) และประเภทส่ือการเรยี นรู้หรอื สิ่งประดษิ ฐ์ (Invention)

1.4. ลกั ษณะของนวัตกรรมทางการศกึ ษา
นวัตกรรมทางการศึกษา เป็นการนาแนวคดิ วธิ กี ารมาใช้ในการจดั การศึกษาเพ่ือส่งเสรมิ

กิจกรรมการเรียนการสอนให้มีประสทิ ธภิ าพยิง่ ขน้ึ มลี กั ษณะสาคัญ คือ
1.4.1 เป็นแนวความคดิ ท่ีไมย่ ังไมม่ ีการนามาปฏิบตั ิในวงการศกึ ษาและอาจเปน็ ส่งิ ใหม่

บางส่วนหรอื เป็นส่ิงใหม่ท้ังหมดซ่งึ ใช้ได้ไม่ไดผ้ ลในอดีตซึ่งได้รบั การปรบั ปรงุ แก้ไขให้ดขี ้ึน เช่น การ
นาคอมพวิ เตอร์มาใช้ในการจัดการเรียนรู้

1.4.2 เปน็ แนวความคดิ หรอื แนวทางปฏิบัตใิ นลกั ษณะใหม่ซ่งึ ดัดแปลงจากแนวความคิด
หรอื แนวทางปฏบิ ัติเดิมทปี่ ฏิบัตไิ ม่ประสบความสาเร็จให้มีความสอดคล้องกบั สภาพแวดลอ้ มใน
ปจั จบุ นั และก่อให้เกิดความสาเร็จได้ และมีการจดั ระบบข้ันตอนการดาเนินงาน (System
Approach) โดยการพจิ ารณาขอ้ มลู กระบวนการ และผลลพั ธ์ ให้เหมาะสมก่อนทาการ
เปลี่ยนแปลงนน้ั ๆ

1.4.3 เปน็ แนวความคดิ หรอื แนวทางปฏบิ ตั ซิ ่งึ มีมาแตเ่ ดมิ และได้รับการปรับปรุงใหม้ ี
ลักษณะทนั สมยั และได้รบั การพิสจู นป์ ระสิทธิภาพดว้ ยวธิ ที างวิทยาศาสตร์หรอื อย่รู ะหว่างการวจิ ยั

1.4.4 เป็นแนวความคดิ หรอื แนวทางปฏิบตั ิทส่ี อดคล้องกับการเปล่ียนแปลงของ

7

สภาพแวดลอ้ ม ซง่ึ เอื้ออานวยใหเ้ กิดความสาเร็จยิ่งข้นึ เชน่ การศกึ ษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง
1.4.5 เป็นแนวความคดิ หรอื แนวทางปฏบิ ตั ทิ ่คี ้นพบใหม่อย่างแทจ้ รงิ ซ่งึ ยังไม่ได้ทาการ

เผยแพรห่ รือได้รับการยอมรบั เปน็ ส่วนหนง่ึ ของระบบงานในปจั จุบนั

1.5 กระบวนการพัฒนานวตั กรรมทางการศกึ ษา
กระบวนการพัฒนานวตั กรรมทางการศกึ ษา แบ่งเป็น 3 ขน้ั ตอนหลัก คอื
1.5.1 การประดิษฐ์คิดค้น เป็นขั้นตอนการศึกษาสภาพปัญหาและการคิดค้นเพื่อกาหนด

รูปแบบนวัตกรรมที่ใช้ในการปรับปรุงแก้ไขปัญหา โดยพิจารณาความเป็นไปได้ตามหลักการท่ี
เกย่ี วข้อง

1.5.2 การสร้างและพัฒนานวัตกรรม เป็นข้ันตอนการจัดทานวัตกรรมตามรูปแบบท่ี
กาหนด จากขั้นตอนที่ 1 สาหรับวิธีพัฒนานวัตกรรมอาจทาได้หลายวิธี ซึ่งวิธีท่ีได้รับความนิยมและ
ได้รับความเช่ือถือ คือ การทดลองเพ่ือพิสูจน์ประสิทธิภาพของนวัตกรรมในการแก้ปัญหาหรือพัฒนา
คุณภาพการจดั การเรยี นรู้

1.5.3 การยอมรับและนานวัตกรรมไปใช้ เป็นข้ันตอนการยอมรับนวัตกรรมท่ีได้สร้างและ
พัฒนาขึน้ และนานวตั กรรมนนั้ ไปใช้ปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ในสถานการณ์และ
สภาพแวดลอ้ มปกติ

8

1.6 นวตั กรรมทางการศึกษาในยคุ ปจั จบุ ัน
นวัตกรรม เป็นความคดิ หรือการกระทาใหม่ๆ ซ่ึงนักวิชาการหรือผู้เชี่ยวชาญในแต่ละวงการ

จะมีการคิดและทาสิง่ ใหม่อย่เู สมอ ดังนน้ั นวตั กรรมจึงเป็นส่ิงท่ีเกิดข้ึนใหม่ได้เรื่อยๆ สิ่งใดท่ีคิดและทา
มานานแลว้ กถ็ ือว่าหมดความเป็นนวัตกรรมไป โดยจะมีส่ิงใหม่มาแทน ในวงการศึกษาปัจจุบัน มีสิ่งที่
เรียกว่า นวัตกรรมทางการศึกษา หรือ นวัตกรรมการเรียนการสอน อยู่เป็นจานวนมาก บางอย่าง
เกิดขึ้นใหม่ บางอย่างมีการใช้มาหลายสิบปีแล้ว แต่ก็ยังคงถือว่าเป็นนวัตกรรม เนื่องจากนวัตกรรม
เหล่านนั้ ยงั ไม่แพรห่ ลายเปน็ ที่ร้จู ักท่ัวไปในวงการศึกษา

1.7 ประเภทของการใชน้ วตั กรรมการศกึ ษาในประเทศไทย
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้มี

บทบัญญตั ทิ ่ีเกย่ี วข้องกับเทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรมการศึกษาไว้หลายมาตรา มาตราท่ีสาคัญ
คอื มาตรา 67 รัฐต้องสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารวจิ ยั และพัฒนาการผลติ และการพฒั นาเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา
รวมทง้ั การตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลการใช้เทคโนโลยีเพอ่ื การศกึ ษา เพอ่ื ให้เกิดการใช้ท่ีคุ้มค่า
และเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรู้ของคนไทยและในมาตรา 22 "การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า
ผู้ เ รี ย น ทุ ก ค น มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ เ รี ย น รู้ แ ล ะ พั ฒ น า ต น เ อ ง ไ ด้ แ ล ะ ถื อ ว่ า ผู้ เ รี ย น มี ค ว า ม ส า คั ญ ที่ สุ ด
กระบวนการจดั การศกึ ษาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญท่ีสุด กระบวนการจัดการศึกษาต้อง
ส่งเสริมให้ผูเ้ รยี นสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ" การดาเนินการปฏิรูปการศึกษา
ให้สาเร็จได้ตามท่ีระบุไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ดังกล่าว จาเป็นต้อง

9

ทาการศึกษาวจิ ยั และพัฒนานวัตกรรมการศกึ ษาใหม่ๆ ทจ่ี ะเข้ามาชว่ ยแกไ้ ขปัญหาทางการศึกษาท้ังใน
รูปแบบของการศึกษาวิจัย การทดลองและการประเมินผลนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่นามาใช้ว่ามี
ความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด นวัตกรรมท่ีนามาใช้ทั้งท่ีผ่านมาแล้วและที่จะมีในอนาคตมีหลาย
ประเภทข้ึนอยู่กับการประยุกต์ใช้นวัตกรรมในด้านต่างๆ ในท่ีน้ีจะขอกล่าวคือ นวัตกรรม 5 ประเภท
คือ

1.7.1 นวัตกรรมทางดา้ นหลักสตู ร
นวัตกรรมทางด้านหลักสตู ร เป็นการใชว้ ธิ ีการใหม่ๆ ในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับ
สภาพแวดลอ้ มในท้องถิน่ และตอบสนองความตอ้ งการสอนบุคคลให้มากข้ึน เน่ืองจากหลักสูตรจะต้อง
มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอเพ่ือให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีเศรษฐกิจและสังคม
ของประเทศและของโลก นอกจากน้ีการพัฒนาหลักสูตรยังมีความจาเป็นที่จะต้องอยู่บนฐานของ
แนวคดิ ทฤษฎีและปรชั ญาทางการจดั การสัมมนาอีกด้วย การพัฒนาหลักสูตรตามหลักการและวิธีการ
ดังกลา่ วต้องอาศัยแนวคิดและวิธกี ารใหม่ๆ ทเี่ ป็นนวตั กรรมการศกึ ษาเขา้ มาช่วยเหลือจัดการให้เป็นไป
ในทิศทางทีต่ อ้ งการ นวัตกรรมทางด้านหลักสูตรในประเทศไทย ไดแ้ ก่ การพัฒนาหลกั สูตรดังต่อไปนี้

1.7.1.1 หลักสูตรบูรณาการ เป็นการบูรณาการส่วนประกอบของหลักสูตรเข้าด้วยกัน
ทางด้านวิทยาการในสาขาต่างๆ การศึกษาทางด้านจริยธรรมและสังคม โดยมุ่งให้ผู้เรียนเป็นคนดี
สามารถใชป้ ระโยชน์จากองคค์ วามรใู้ นสาขาตา่ งๆ ใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพสงั คมอยา่ งมจี รยิ ธรรม

1.7.1.2 หลักสูตรรายบุคคล เป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อการศึกษาตาม
อัตภาพ เพื่อตอบสนองแนวความคิดในการจัดการศึกษารายบุคคล ซ่ึงจะต้องออกแบบระบบเพื่อ
รองรับความกา้ วหน้าของเทคโนโลยีดา้ นตา่ งๆ

10

1.7.1.3 หลักสูตรกจิ กรรมและประสบการณ์ เป็นหลักสูตรท่ีมุ่งเน้น กระบวนการในการ
จัดกิจกรรมและประสบการณ์ให้กับผู้เรียนเพื่อนาไปสู่ความสาเร็จ เช่น กิจกรรมท่ีส่งเสริมให้
ผ้เู รยี นมสี ว่ นรว่ มในบทเรียน ประสบการณก์ ารเรยี นรูจ้ ากการสืบคน้ ด้วยตนเอง เป็นตน้

1.7.1.4 หลักสูตรท้องถ่ิน เป็นการพัฒนาหลักสูตรท่ีต้องการกระจายการบริหารจัดการ
ออกสทู่ อ้ งถ่นิ เพอื่ ให้สอดคล้องกบั ศิลปวัฒนธรรมสิง่ แวดล้อมและความเปน็ อยู่ของประชาชนที่มีอยู่ใน
แต่ละทอ้ งถนิ่ แทนทหี่ ลกั สตู รในแบบเดมิ ท่ใี ช้วิธกี ารรวมศนู ยก์ ารพฒั นาอย่ใู นสว่ นกลาง

1.7.2 นวตั กรรมการเรียนการสอน

เป็นการใช้วธิ รี ะบบในการปรับปรุงและคิดคน้ พฒั นาวธิ สี อนแบบใหม่ๆ ที่สามารถตอบสนอง
การเรียนรายบุคคล การสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การเรียนแบบมีส่วนร่วม การเรียนรู้แบบ
แก้ปญั หา การพฒั นาวิธสี อนจาเป็นต้องอาศัยวิธีการและเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาจัดการและสนับสนุน
การเรียนการสอน ตัวอย่างนวตั กรรมที่ใช้ในการเรยี นการสอน ได้แก่ การสอนแบบศูนย์การเรียน การ
ใช้กระบวนการกลุม่ สัมพันธ์ การสอนแบบเรยี นรู้รว่ มกัน และการเรียนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์และ
อินเทอรเ์ น็ต การวจิ ยั ในชั้นเรยี น ฯลฯ

1.7.3 นวตั กรรมสอ่ื การสอน
เน่อื งจากมีความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครือข่ายและเทคโนโลยี
โทรคมนาคม ทาให้นักการศึกษาพยายามนาศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่าน้ีมาใช้ในการผลิตส่ือการ
เรียนการสอนใหม่ๆ จานวนมากมาย ทั้งการเรียนด้วยตนเองการเรียนเป็นกลุ่มและการเรียนแบบ
มวลชน ตลอดจนสื่อท่ใี ชเ้ พื่อสนับสนนุ การฝึกอบรม ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ตัวอย่าง นวัตกรรมส่ือ
การสอน ได้แก่

11

1) คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน (CAI)
2) มัลติมเี ดีย (Multimedia)
3) การประชมุ ทางไกล (Teleconference)
4) ชดุ การสอน (Instructional Module)
5) วีดที ศั นแ์ บบมีปฏิสมั พันธ์ (Interactive Video)

1.7.4 นวัตกรรมทางด้านการประเมินผล
เป็นนวัตกรรมท่ีใช้เป็นเครื่องมือเพื่อการวัดผลและประเมินผลได้อย่างมีประสิทธิภาพและ
ทาได้อย่างรวดเร็ว รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวิจัยสถาบัน ด้วยการประยุกต์ใช้โปรแกรม
คอมพิวเตอร์มาสนับสนุนการวัดผล ประเมินผลของสถานศึกษา ครู อาจารย์ ตัวอย่าง นวัตกรรม
ทางดา้ นการประเมนิ ผล ไดแ้ ก่

1) การพัฒนาคลังข้อสอบ
2) การลงทะเบียนผ่านทางเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ และอินเตอร์เนต็
3) การใช้บัตรสมารท์ การ์ด เพื่อการใช้บริการของสถาบันศึกษา
4) การใชค้ อมพวิ เตอร์ในการตดั เกรด

1.7.5 นวัตกรรมการบรหิ ารจดั การ
เป็นการใช้นวัตกรรมท่ีเก่ียวข้องกับการใช้สารสนเทศมาช่วยในการบริหารจัดการ เพ่ือการ
ตัดสินใจของผู้บริหารการศึกษาให้มีความรวดเร็วทันเหตุการณ์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก
นวัตกรรมการศึกษาที่นามาใช้ทางด้านการบริหารจะเกี่ยวข้องกับระบบการจัดการฐานข้อมูลใน
หน่วยงานสถานศึกษา เช่น ฐานข้อมูล นักเรียน นักศึกษา ฐานข้อมูล คณะอาจารย์และบุคลากร ใน

12

สถานศึกษา ด้านการเงิน บัญชี พัสดุ และครุภัณฑ์ ฐานข้อมูลเหล่าน้ีต้องการออกระบบท่ีสมบูรณ์มี
ความปลอดภัยของข้อมูลสงู

นอกจากนี้ยังมีความเกี่ยวข้องกับสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน เช่น ระเบียบปฏิบัติ
กฎหมาย พระราชบัญญัติ ที่เก่ียวกับการจัดการศึกษา ซึ่งจะต้องมีการอบรม เก็บรักษาและออกแบบ
ระบบการสืบค้นท่ีดีพอซึ่งผู้บริหารสามารถสืบค้นข้อมูลมาใช้งานได้ทันทีตลอดเวลาการใช้นวัตกรรม
แต่ละด้านอาจมีการผสมผสานที่ซ้อนทับกันในบางเร่ือง ซ่ึงจาเป็นต้องมีการพัฒนาร่วมกันไปพร้อมๆ
กันหลายด้าน การพัฒนาฐานข้อมูลอาจต้องทาเป็นกลุ่มเพื่อให้สามารถนามาใช้ร่วมกันได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพนวัตกรรมทางการศกึ ษาต่างๆ ท่ีกลา่ วถงึ กนั มากในปัจจุบนั
1.8. E-learning

1.8.1 ความหมายของ e-Learning
การเรียนทางอิเล็กทรอนกิ ส์ หรอื e-Learning รูปแบบการเรียนการสอน ซ่ึงใช้การถ่ายทอด
เนื้อหา(delivery methods) ผ่านทางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็น คอมพิวเตอร์ เครือข่าย
อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต หรือ ทางสัญญาณโทรทัศน์ หรือ สัญญาณดาวเทียม และใช้
รปู แบบการนาเสนอเน้ือหาสารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ ซ่ึงอาจอยู่ในรูปแบบการเรียนท่ีเราคุ้นเคยกัน
มาพอสมควร เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน(Computer-Assisted Instruction) การสอนบนเว็บ
(Web-Based Instruction) การเรียนออนไลน์ (On-line Learning) การเรียนทางไกลผ่านดาวเทียม
หรืออาจอย่ใู นลกั ษณะทยี่ ังไม่คอ่ ยเป็นทแี่ พร่หลายนัก เช่น การเรียนจากวิดีทัศน์ตามอัธยาศัย (Video
On-Demand) เปน็ ต้น

13

อย่างไรก็ดี ในปัจจุบัน เมื่อกล่าวถึง e-Learning คนส่วนใหญ่จะหมายเฉพาะถึง การเรียน
เน้ือหาหรือสารสนเทศซึ่งออกแบบมาสาหรับการสอนหรือการอบรม ซึ่งใช้เทคโนโลยีของเว็บ (Web
Technology) ในการถ่ายทอดเน้ือหา และเทคโนโลยีระบบการบริหารจัดการการเรียนรู้ (Learning
Management System)ในการบริหารจัดการการเรียนรู้ของผู้เรียนและงานสอนด้านต่างๆ โดย
ผู้เรียนท่ีเรียนจาก e-Learning น้ีสามารถศึกษาเนื้อหาในลักษณะออนไลน์ นอกจากน้ี เน้ือหา
สารสนเทศของ e-Learning จะถูกนาเสนอโดยอาศัยเทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia
Technology) และเทคโนโลยีเชิงโต้ตอบ (Interactive Technology)จากความหมายที่คนส่วนใหญ่
นิยาม e-Learning นั้น จาเป็นต้องทาความเข้าใจให้ชัดเจนว่า e-Learningไม่ใช่เพียงแค่การสอนใน
ลกั ษณะเดิม ๆ และนาเอกสารการสอนมาแปลงให้อยู่ในรูปดิจิตัล และนาไปวางไว้บนเว็บ หรือระบบ
บริหารจัดการการเรียนรู้เท่านั้น แต่ครอบคลุมถึง กระบวนการในการเรียนการสอน หรือการอบรมท่ี
ใช้เคร่ืองมือทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้เกิดความยืดหยุ่นทางการเรียนรู้ ( flexible
learning) สนับสนนุ การเรียนรู้ในลักษณะท่ีผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (learner-centered) และการเรียน
ในลักษณะตลอดชีวิต (life-long learning) ซ่ึงอาศัยการเปลี่ยนแปลงด้านกระบวนทัศน์ (paradigm
shift) ของทั้งกระบวนการในการเรียนการสอนด้วย นอกจากนี้ e-Learning ไม่จาเป็นต้องเป็นการ
เรียนทางไกลเสมอ คณาจารย์สามารถนาไปใช้ในลักษณะการผสมผสาน (blended) กับการสอนใน
ช้ันเรียนได้

1.8.2 ลักษณะสาคัญของ e-Learning (Feature of e-Learning)

ลกั ษณะสาคญั ของ e-Learning ท่ีดี ควรจะประกอบไปดว้ ยลักษณะสาคญั 4 ประการ ดังน้ี

1.8.2.1 ทุกเวลาทุกสถานที่ (Anywhere, Anytime) หมายถึง e-Learning ควรต้อง
ช่วยขยายโอกาสในการเข้าถึงเนื้อหาการเรียนรู้ของผู้เรียนได้จริง ในที่น้ีหมายรวมถึง การท่ีผู้เรียน
สามารถเรียกดูเน้ือหาตามความสะดวกของผู้เรียน เช่น ผู้เรียนมีการเข้าถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ท่ี
เชอื่ มต่อกับเครอื ข่ายได้อย่างยืดหยุ่น

1.8.2.2 มัลติมีเดีย (Multimedia) หมายถึง e-Learning ควรต้องมีการนาเสนอเน้ือหา
โดยใช้ประโยชน์จากสื่อประสมเพ่ือชว่ ยในการประมวลผลสารสนเทศของผู้เรียนเพอ่ื ให้เกิดความคงทน
ในการจดจาและหรอื การเรียนรู้ไดด้ ีขนึ้

1.8.2.3 การเช่ือมโยง (Non-linear) หมายถึง e-Learning ควรต้องมีการนาเสนอ
เน้ือหาในลักษณะที่ไม่เป็นเชิงเส้นตรง กล่าวคือ ผู้เรียนสามารถเข้าถึงเนื้อหาตามความต้องการ โดย
e-Learning จะต้องจัดหาการเชื่อมโยงที่ยืดหยุ่นแก่ผู้เรียน นอกจากนี้ยังหมายถึงการออกแบบให้
ผเู้ รยี นสามารถเรยี นได้ตามจงั หวะ(pace) การเรยี นของตนเองด้วย เช่น ผเู้ รยี นท่เี รยี นชา้ สามารถเลือก

14

เน้ือหาที่ต้องการเรียนซ้าได้บ่อยคร้ังผู้เรียนที่เรียนดีสามารถเลือกท่ีจะข้ามไปเรียนในเน้ือหาที่ต้องการ
ได้โดยสะดวก

1.8.2.4 การโต้ตอบ (Interaction) หมายถึง e-Learning ควรต้องมีการเปิดโอกาสให้
ผเู้ รียนโตต้ อบ(มีปฏิสัมพนั ธ์) กบั เนอ้ื หา หรอื กับผอู้ นื่ ได้ กล่าวคอื

1) e-Learning ควรต้องมีการออกแบบกิจกรรมซึ่งผู้เรียนสามารถโต้ตอบกับ
เนือ้ หา (InteractiveActivities) รวมทั้งมีการจัดเตรียมแบบฝึกหัดและแบบทดสอบให้ผู้เรียนสามารถ
ตรวจสอบความเขา้ ใจดว้ ยตนเองได้

2) e-Learning ควรต้องมีการจัดหาเคร่ืองมือในการให้ช่องทางแก่ผู้เรียนในการ
ติดตอ่ ส่ือสาร(Collaboration Tools) เพอื่ การปรึกษา อภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็นกับผู้สอน
วทิ ยากรผเู้ ชี่ยวชาญ หรือเพ่ือน ๆ ร่วมช้ันเรียนโดยในส่วนของการโต้ตอบนี้ จะต้องคานึงถึงการให้ผล
ป้อนกลับท่ีทันต่อเหตุการณ์ (ImmediateResponse) ซ่ึงอาจหมายถึง การท่ีผู้สอนต้องเข้ามาตอบ
คาถามหรือให้คาปรึกษาแก่ผู้เรียนอย่างสม่าเสมอและทันเหตุการณ์ รวมถึง การที่ e-Learning ควร
ต้องมีการออกแบบให้มีการทดสอบ การวัดผล และการประเมินผล ซ่ึงสามารถให้ผลป้อนกลับโดย
ทันทีแก่ผู้เรียน ไม่ว่าจะอยู่ในลักษณะของแบบทดสอบก่อนเรียน (pre-test) หรือ แบบทดสอบหลัง
เรยี น (posttest) กต็ าม

เนื้อหา (Content) เน้ือหาเป็นองค์ประกอบสาคัญที่สุดสาหรับ e-Learning คุณภาพของ
การเรียนการสอนของ e-Learningและการท่ีผู้เรียนจะบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนในลักษณะน้ี
หรอื ไม่อยา่ งไร ส่งิ สาคญั ท่ีสุดก็คอื เนื้อหาการเรียนซึ่งผู้สอนได้จัดหาให้แก่ผู้เรียน ซ่ึงผู้เรียนมีหน้าที่ใน
การใช้เวลาส่วนใหญ่ศึกษาเนื้อหาด้วยตนเอง เพื่อทาการปรับเปล่ียน (convert) เน้ือหาสารสนเทศที่
ผสู้ อนเตรียมไว้ใหเ้ กิดเปน็ ความรู้ โดยผ่านการคิดค้น วิเคราะห์อย่างมีหลักการและเหตุผลด้วยตัวของ
ผู้เรียนเอง คาว่า “เนื้อหา” ในองค์ประกอบแรกของ e-Learning นี้ ไม่ได้จากัดเฉพาะสื่อการสอน
และ/หรอื คอรส์ แวร์ เทา่ นัน้ แต่ยังหมายถึงส่วนประกอบสาคัญอ่ืน ๆ ที่ e-Learning จาเป็นจะต้องมี
เพ่ือให้เน้ือหามีความสมบูรณ์ เช่น คาแนะนาการเรียน ประกาศสาคัญต่าง ๆ ผลป้อนกลับของผู้สอน
เป็นต้น

ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ (Learning Management System) องค์ประกอบที่สาคัญ
มากเช่นกนั สาหรับ e-Learning ได้แก่ ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ ซึ่งเป็นเสมือนระบบท่ีรวบรวม
เครื่องมือซึ่งออกแบบไว้เพื่อให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้ในการจัดการกับการเรียนการสอนออนไลน์นั่นเอง
ซงึ่ ผู้ใชใ้ นทีน่ ี้ แบง่ ได้เป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ ผู้สอน (instructors) ผู้เรียน (students) ผู้ช่วยสอน (course
manager) และผู้ที่จะเข้ามาช่วยผู้สอนในการบริหารจัดการด้านเทคนิคต่าง ๆ (network

15

administrator)ซึ่งเครื่องมือและระดับของสิทธิในการเข้าใช้ที่จัดหาไว้ให้ก็จะมีความแตกต่างกันไป
ตามแตก่ ารใช้งานของแตล่ ะกลุ่ม ตามปรกติแล้ว เคร่ืองมือที่ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ต้องจัดหา
ไว้ให้กับผู้ใช้ ได้แก่ พ้ืนที่และเครื่องมือสาหรับการช่วยผู้เรียนในการเตรียมเนื้อหาบทเรียน พื้นที่และ
เครือ่ งมอื สาหรับการทาแบบทดสอบ แบบสอบถาม การจัดการกับแฟ้มข้อมูลต่าง ๆ นอกจากน้ีระบบ
บริหารจัดการการเรียนรู้ท่ีสมบูรณ์จะจัดหาเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารไว้สาหรับผู้ใช้ระบบไม่ว่าจะ
เป็นในลักษณะของ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) เว็บบอร์ด(Web Board) หรือ แช็ท (Chat)
บางระบบก็ยงั จัดหาองคป์ ระกอบพิเศษอื่น ๆ เพื่ออานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้อีกมากมาย เช่น การ
จัดให้ผู้ใช้สามารถเข้าดูคะแนนการทดสอบ ดูสถิติการเข้าใช้งานในระบบ การอนุญาตให้ผู้ใช้สร้าง
ตารางการเรยี น ปฏทิ นิ การเรยี น เปน็ ตน้

โหมดการติดต่อส่ือสาร (Modes of Communication) องค์ประกอบสาคัญของ e-
Learning ท่ีขาดไม่ได้อีกประการหนึ่ง ก็คือ การจัดให้ผู้เรียนสามารถติดต่อส่ือสารกับผู้สอน วิทยากร
ผู้เช่ียวชาญอ่ืน ๆ รวมท้ังผู้เรียนด้วยกัน ในลักษณะที่หลากหลาย และสะดวกต่อผู้ใช้ กล่าวคือ มี
เครือ่ งมอื ที่จัดหาไวใ้ หผ้ เู้ รียนใชไ้ ด้มากกว่า 1 รปู แบบ รวมทง้ั เครื่องมือนั้นจะต้องมีความสะดวกในการ
ใช้งาน (user-friendly) ด้วย ซ่งึ เคร่อื งมือท่ี e-Learning ควรจดั หาใหผ้ เู้ รียน ไดแ้ ก่

การประชุมทางคอมพิวเตอร์ ในท่ีน้ีหมายถึง การประชุมทางคอมพิวเตอร์ท้ังในลักษณะ
ของการติดต่อส่ือสารแบบต่างเวลา(Asynchronous) เช่น การแลกเปล่ียนข้อความผ่านทางกระดาน
ข่าวอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หรือ ที่รจู้ ักกนั ในชื่อของเว็บบอร์ด (Web Board) เป็นต้น หรือในลักษณะของการ
ติดต่อส่ือสารแบบเวลาเดียวกัน(Synchronous) เช่น การสนทนาออนไลน์ หรือท่ีคุ้นเคยกันดีในชื่อ
ของ แช็ท (Chat) และ ICQ หรือ ในบางระบบ อาจจัดให้มีการถ่ายทอดสัญญาณภาพและเสียงสด
(Live Broadcast / Videoconference) ผ่านทางเว็บ เป็นต้น ในการนาไปใช้ดาเนินกิจกรรมการ
เรียนการสอน ผู้สอนสามารถเปิดสัมมนาในหัวข้อที่เก่ียวข้องกับเนื้อหาในคอร์ส ซ่ึงอาจอยู่ในรูปของ
การบรรยาย การสมั ภาษณ์ผเู้ ชย่ี วชาญ การเปดิ อภปิ รายออนไลน์ เปน็ ตน้

ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นองค์ประกอบสาคัญเพ่ือให้
ผู้เรียนสามารถติดต่อส่ือสารกับผู้สอนหรือผู้เรียนอื่น ๆ ในลักษณะรายบุคคล การส่งงานและผล
ป้อนกลับให้ผู้เรียน ผู้สอนสามารถให้คาแนะนาปรึกษาแก่ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ทั้งน้ีเพ่ือกระตุ้นให้
ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนอย่างต่อเนื่อง ท้ังนี้ผู้สอนสามารถใช้
ไปรษณียอ์ ิเลก็ ทรอนกิ สใ์ นการใหค้ วามคิดเห็นและผลปอ้ นกลับทที่ นั ต่อเหตุการณ์

16

แบบฝึกหัด/แบบทดสอบ องค์ประกอบสุดท้ายของ e-Learning แต่ไม่ได้มีความสาคัญ
น้อยที่สุดแต่อย่างใด ได้แก่ การจัดให้ผู้เรียนได้มีโอกาสในการโต้ตอบกับเน้ือหาในรูปแบบของการทา
แบบฝกึ หัด และแบบทดสอบความรู้

1.8.3 การจัดใหม้ ีแบบฝกึ หดั สาหรับผู้เรียน
เนื้อหาท่นี าเสนอจาเปน็ ต้องมกี ารจัดหาแบบฝึกหัดสาหรับผู้เรียนเพื่อตรวจสอบความเข้าใจ
ไว้ด้วยเสมอ ท้ังน้ีเพราะ e-Learning เป็นระบบการเรียนการสอนซึ่งเน้นการเรียนรู้ด้วยตนเองของ
ผู้เรียนเป็นสาคัญ ดังน้ันผู้เรียนจึงจาเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องมีแบบฝึกหัดเพ่ือการตรวจสอบว่าตนเข้าใจ
และรอบรู้ในเรื่องท่ีศึกษาด้วยตนเองมาแล้วเป็นอย่างดีหรือไม่ อย่างไร การทาแบบฝึกหัดจะทาให้
ผ้เู รยี นทราบไดว้ ่าตนนน้ั พรอ้ มสาหรับการทดสอบ การประเมินผลแล้วหรอื ไม่

1.8.4 การจัดให้มแี บบทดสอบผเู้ รยี น
แบบทดสอบสามารถอยู่ในรูปของแบบทดสอบก่อนเรียน ระหว่างเรียน หรือหลังเรียนก็ได้
สาหรับ e-Learning แล้ว ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ทาให้ผู้สอนสามารถสนับสนุนการออก
ขอ้ สอบของผู้สอนไดห้ ลากหลายลกั ษณะ กล่าวคือ ผู้สอนสามารถออกแบบการประเมินผลในลักษณะ
ของ อัตนัย ปรนัย ถูกผิด การจับคู่ ฯลฯ นอกจากนี้ยังทาให้ผู้สอนมีความสะดวกสบายในการสอบ
เพราะผู้สอนสามารถที่จะจัดทาข้อสอบในลักษณะคลังข้อสอบไว้เพ่ือเลือกในการนากลับมาใช้ หรือ

17

ปรับปรุงแก้ไขใหม่ได้อย่างง่ายดาย นอกจากนี้ในการคานวณและตัดเกรด ระบบ e-Learning ยัง
สามารถช่วยให้การประเมินผลผู้เรียนเป็นไปได้อย่างสะดวก เนื่องจากระบบบริหารจัดการการเรียนรู้
จะช่วยทาให้การคิดคะแนนผู้เรียน การตดั เกรดผ้เู รยี นเป็นเรอื่ งงา่ ยข้นึ เพราะระบบจะอนุญาตให้ผู้สอน
เลือกได้ว่าต้องการที่จะประเมินผลผู้เรียนในลักษณะใด เช่น อิงกลุ่ม อิงเกณฑ์ หรือใช้สถิติในการคิด
คานวณในลกั ษณะใด เช่น การใช้คา่ เฉลี่ย ค่า T-Score เป็นต้น นอกจากน้ียังสามารถท่ีจะแสดงผลใน
รูปของกราฟได้อกี ด้วย

1.8.5 ประโยชนท์ ีไ่ ด้รบั จากการนา e-Learning ไปใชใ้ นการเรียนการสอนมี ดงั น้ี

1) e-Learning ช่วยให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น เพราะ
การถ่ายทอดเนื้อหาผ่านทางมัลติมีเดียสามารถทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีกว่าการเรียนจากส่ือ
ข้อความเพียงอย่างเดียว หรือจากการสอนภายในห้องเรียนของผู้สอนซ่ึงเน้นการบรรยายในลักษณะ
Chalk and Talk แต่เพียงอย่างเดียวโดยไม่ใช้สื่อใด ๆ ซ่ึงเม่ือเปรียบเทียบกับ e-Learning ที่ได้รับ
การออกแบบและผลิตมาอย่างมีระบบ e-Learning สามารถช่วยทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพมากกว่า ในเวลาท่ีเรว็ กวา่ นอกจากน้ียังเป็นการสนบั สนนุ ให้เกิดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลางได้เป็นอย่างดี เพราะผู้สอนจะสามารถใช้ e-Learning ในการจัดการเรียนการสอนที่ลดการ
บรรยาย (lecture)ได้ และสามารถใช้ e-Learning ในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนได้เป็น
ผูร้ ับผิดชอบในการจดั การเรียนรดู้ ้วยตนเอง (autonomous learning) ไดด้ ยี ง่ิ ข้นึ

2) e-Learning ช่วยทาให้ผู้สอนสามารถตรวจสอบความก้าวหน้าพฤติกรรมการ
เรียนของผเู้ รียนได้อย่างละเอยี ดและตลอดเวลา เน่ืองจาก e-Learning มีการจัดหาเคร่ืองมือ
ที่สามารถทาใหผ้ ้สู อนตดิ ตามการเรยี นของผ้เู รียนได้

3) e-Learning ช่วยทาให้ผู้เรียนสามารถควบคุมการเรียนของตนเองได้
เน่ืองจากการนาเอาเทคโนโลยี Hypermedia มาประยุกต์ใช้ ซึ่งมีลักษณะการเช่ือมโยงข้อมูลไม่ว่าจะ
เป็นในรูปของข้อความ ภาพนิ่ง เสียงกราฟิก วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว ที่เก่ียวเนื่องกันเข้าไว้ด้วยกันใน
ลักษณะที่ไม่เป็นเชิงเส้น (Non-Linear) ทาให้ Hypermedia สามารถนาเสนอเน้ือหาในรูปแบบใย
แมงมุมได้ ดังนั้นผู้เรียนจึงสามารถเข้าถึงข้อมูลใดก่อนหรือหลังก็ได้ โดยไม่ต้องเรียงตามลาดับ และ
เกดิ ความสะดวกในการเขา้ ถงึ ของผ้เู รียนอีกดว้ ย

4) e-Learning ช่วยทาให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตามจังหวะของตน (Self-
paced Learning) เนื่องจากการนาเสนอเนื้อหาในรูปแบบของ Hypermedia เปิดโอกาสให้ผู้เรียน
สามารถควบคุมการเรียนรู้ของตนในด้านของลาดับการเรียนได้ (Sequence) ตามพ้ืนฐานความรู้
ความถนัด และความสนใจของตน นอกจากนี้ผู้เรียนยังสามารถ ทดสอบทักษะตนเองก่อนเรียนได้ทา

18

ให้สามารถชี้ชัดจุดอ่อนของตน และเลือกเนื้อหาให้เข้ากับรูปแบบการเรียนของตัวเอง เช่นการเลือก
เรียนเนื้อหาเฉพาะบางส่วนที่ต้องการทบทวนได้ โดยไม่ต้องเรียนในส่วนท่ีเข้าใจแล้ว ซึ่งถือว่าผู้เรียน
ไดร้ ับอิสระในการควบคุมการเรียนของตนเอง จงึ ทาให้ผเู้ รยี นได้เรยี นรูต้ ามจังหวะของตนเอง

5) e-Learning ช่วยทาให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับครูผู้สอน และกับ
เพื่อน ๆ ได้ เน่ืองจาก e-Learning มีเคร่ืองมือต่าง ๆ มากมาย เช่น Chat Room, Web Board, E-
mail เป็นต้น ท่ีเอื้อต่อการโต้ตอบ (Interaction) ท่ีหลากหลาย และไม่จากัดว่าจะต้องอยู่ใน
สถาบันการศึกษาเดียวกัน (Global Choice) นอกจากน้ัน e-Learning ที่ออกแบบมาเป็นอย่างดีจะ
เอ้ือให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับเนื้อหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การออกแบบเนื้อหาใน
ลกั ษณะเกม หรอื การจาลอง เป็นตน้

1.8.6 ข้อจากดั

1) ผ้สู อนทน่ี า e-Learning ไปใชใ้ นลกั ษณะของส่อื เสริม โดยไม่มีการปรับเปลี่ยน
วิธีการสอนเลย กล่าวคือ ผู้สอนยังคงใช้แต่วิธีการบรรยายในทุกเนื้อหา และสั่งให้ผู้เรียนไปทบทวน
จาก e-Learning หาก e-Learning ไม่ได้ออกแบบใหจ้ ูงใจผู้เรียนแลว้ ผ้เู รียนคงใช้อยู่พักเดียวก็เลิกไป
เพราะไมม่ ีแรงจงู ใจใด ๆ ในการใช้ e-Learning ก็จะกลายเป็นการลงทุนที่ไม่คมุ้ ค่าแต่อยา่ งใด

2) ผู้สอนจะต้องเปลี่ยนบทบาทจากการเป็นผู้ให้ (impart) เน้ือหาแก่ผู้เรียน มา
เปน็ (facilitator) ผู้ชว่ ยเหลือและให้คาแนะนาต่าง ๆ แก่ผู้เรียน พร้อมไปกับการเปิดโอกาสให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองจาก e-Learning ทั้งนี้ หมายรวมถึง การท่ีผู้สอนควรมีความพร้อมทางด้าน
ทักษะคอมพิวเตอรแ์ ละรับผดิ ชอบต่อการสอนมีความใสใ่ จกบั ผ้เู รยี นโดยไม่ทง้ิ ผูเ้ รียน

3) การลงทุนในด้านของ e-Learning ต้องครอบคลุมถึงการจัดการให้ผู้สอนและ
ผเู้ รยี นสามารถเขา้ ถึงเนื้อหาและการติดตอ่ ส่ือสารออนไลน์ไดส้ ะดวก สาหรับ e-Learning แล้ว ผู้สอน
หรือผู้เรียนท่ีใช้รูปแบบการเรียนในลักษณะนี้จะต้องมีสิ่งอานวยความสะดวก (facilities) ต่าง ๆ ใน
การเรียนท่ีพร้อมเพรียงและมีประสิทธิภาพ เช่น ผู้สอนและผู้เรียนสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นได้
และสามารถเรียกดูเนื้อหาโดยเฉพาะอย่างยิ่งในลักษณะมัลติมีเดีย ได้อย่างครบถ้วน ด้วยความเร็ว
พอสมควร เพราะหากปราศจากข้อได้เปรียบในการติดต่อสื่อสารและการเข้าถึงเน้ือหาได้สะดวก
รวมทั้งข้อได้เปรียบสื่ออ่ืน ๆ ในลักษณะในการนาเสนอเนื้อหา เช่น มัลติมีเดีย แล้วน้ันผู้เรียนและ
ผสู้ อนกอ็ าจไมเ่ หน็ ความจาเป็นใด ๆ ท่ีต้องใช้ e-Learning

ระดับของสื่อสาหรับ e-Learning (Level of media for e-Learning) สาหรับ e-
Learning แล้ว การถ่ายทอดเนื้อหาสามารถแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะด้วยกัน กล่าวคือ 1. ระดับเน้น

19

ข้อความออนไลน์ (Text Online) หมายถึง เน้ือหาของ e-Learning ในระดับนี้จะอยู่ในรูปของ
ข้อความเป็นหลัก e-Learning ในลักษณะนี้จะเหมือนกับการสอนบนเว็บ (WBI) ซ่ึงเน้นเนื้อหาที่เป็น
ขอ้ ความ ตัวอักษรเป็นหลัก ซึ่งมีข้อดี ก็คือการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการผลิตเนื้อหาและการ
บริหารจดั การการเรียนรู้ 2. ระดับรายวชิ าออนไลนเ์ ชิงโต้ตอบและประหยัด (Low Cost Interactive
Online Course)หมายถึง เนื้อหาของ e-Learning ในระดับนี้จะอยู่ในรูปของตัวอักษร ภาพ เสียง
และวิดีทัศน์ ทผ่ี ลติ ขน้ึ มาอยา่ งงา่ ย ๆ ประกอบการเรียนการสอน e-Learning ในระดับหนึ่งและสองน้ี
ควรจะต้องมีการพัฒนา LMS ท่ีดี เพ่ือช่วยผู้ใช้ในการสร้างและปรับเนื้อหาให้ทันสมัยได้อย่างสะดวก
ดว้ ยตนเอง 3. ระดับรายวิชาออนไลน์คุณภาพสูง (High Quality Online Course) หมายถึง เนื้อหา
ของ e-Learning ในระดับน้ีจะอยู่ในรูปของมัลติมีเดียท่ีมีลักษณะมืออาชีพ กล่าวคือ การผลิตต้องใช้
ทีมงานในการผลิตที่ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญเน้ือหา (content experts) ผู้เช่ียวชาญการออกแบบ
การสอน (instructional designers) และ ผูเ้ ชย่ี วชาญการผลติ มลั ติมีเดีย (multimedia experts)

ระดับของการนา e-Learning ไปใช้ในการเรียนการสอน การนา e-Learning ไปใช้ในการ
เรยี นการสอน สามารถทาได้ 3 ระดบั ดังนี้

1. ใช้ e-Learning เป็นสื่อเสริม (Supplementary) หมายถึงการนา e-
Learning ไปใช้ในลักษณะส่ือเสริม กล่าวคือ นอกจากเนื้อหาท่ีปรากฏในลักษณะ e-Learning แล้ว
ผู้เรียนยังสามารถศึกษาเนื้อหาเดียวกันนี้ในลักษณะอ่ืน ๆ เช่น จากเอกสาร(ชีท) ประกอบการสอน
จากวิดีทัศน์ (Videotape) ฯลฯ การใช้ e-Learning ในลักษณะน้ีเท่ากับว่าผู้สอนเพียงต้องการใช้ e-
Learning เป็นอีกหนึ่งทางเลือกสาหรับผู้เรียนในการเข้าถึงเน้ือหาเพ่ือให้ประสบการณ์พิเศษเพ่ิมเติม
แก่ผู้เรยี นเทา่ นนั้

2. ใช้ e-Learning เป็นส่ือเติม (Complementary) หมายถึงการนา e-
Learning ไปใช้ในลักษณะเพิ่มเติมจากวิธีการสอนในลักษณะอ่ืน ๆ เช่น นอกจากการบรรยายใน
ห้องเรียนแล้ว ผู้สอนยังออกแบบเน้ือหาให้ผู้เรียนเข้าไปศึกษาเนื้อหาเพ่ิมเติมจาก e-Learning โดย
เนื้อหาที่ผเู้ รียนเรยี นจาก e-Learning ผ้สู อนไม่จาเป็นตอ้ งสอนซ้าอีก แต่สามารถใชเ้ วลาในชั้นเรียนใน
การอธิบายในเนื้อหาท่ีเข้าใจได้ยาก ค่อนข้างซับซ้อน หรือเป็นคาถามที่มีความเข้าใจผิดบ่อย ๆ
นอกจากนี้ ยังสามารถใช้เวลาในการทากิจกรรมที่เน้นให้ผู้เรียนได้เกิดการคิดวิเคราะห์แทนได้ ใน
ความคดิ ของผเู้ ขียนแลว้ ในมหาวทิ ยาลยั เชียงใหมข่ องเรา เมื่อได้มีการลงทุนในการนา e-Learning ไป
ใชก้ บั การเรยี นการสอนแล้วอย่างน้อยควรตั้งวัตถุประสงค์ในลักษณะของส่ือเติม (Complementary)
มากกว่าแค่เพียงเป็นสื่อเสริม(Supplementary) เพ่ือให้เกิดความคุ้มทุน นอกจากนี้อาจยังไม่
เหมาะสมท่ีจะใช้ในลักษณะแทนที่ผู้สอน (Replacement) ตัวอย่างการใช้ในลักษณะส่ือเติม เช่น
ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนศึกษาเน้ือหาด้วยตนเองจาก e-Learning ในวัตถุประสงค์ใดวัตถุประสงค์

20

หนึ่งก่อนหรือหลังการเข้าช้ันเรียน รวมท้ัง ให้กาหนดกิจกรรมท่ีทดสอบความเข้าใจของผู้เรียนใน
เน้ือหาดังกล่าวใน session การเรียนตามปรกติ เป็นต้น ท้ังนี้เพื่อให้เหมาะสมกับลักษณะของผู้เรียน
ของเรา ซึ่งยังต้องการคาแนะนาจากครูผู้สอน รวมทั้งการที่ผู้เรียนส่วนใหญ่ยังขาดการปลูกฝังให้มี
ความใฝ่รูโ้ ดยธรรมชาติ

3. ใช้ e-Learning เป็นสื่อหลัก (Comprehensive Replacement) หมายถึง
การนา e-Learning ไปใช้ในลักษณะแทนที่การบรรยายในห้องเรียน ผู้เรียนจะต้องศึกษาเน้ือหา
ทัง้ หมดออนไลน์ และโต้ตอบกับเพือ่ นและผเู้ รียนอื่น ๆ ในชั้นเรียนผ่านทางเครื่องมือติดต่อส่ือสารต่าง
ๆ ท่ี e- Learning จดั เตรียมไว้ ในปจั จุบันแนวคิดเกย่ี วกบั การนา e-Learning ไปใช้ในต่างประเทศจะ
อย่ใู นลักษณะlearning through technology ซง่ึ หมายถึง การเรยี นรโู้ ดยมุ่งเน้นการเรียนในลักษณะ
มีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็น ผู้สอน ผู้เรียน และผู้เช่ียวชาญอ่ืน ๆ (Collaborative
Learning) โดยอาศัยเทคโนโลยใี นการนาเสนอเนอ้ื หา และกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งต้องการการโต้ตอบผ่าน
เครื่องมือส่ือสารตลอด โดยไม่เน้นทางด้านของการเรียนรู้รายบุคคลผ่านส่ือ (courseware) มากนัก
ในขณะที่ในประเทศไทยการใช้ e-Learning ในลักษณะสื่อหลักเช่นเดียวกับต่างประเทศนั้น จะอยู่ใน
วงจากัด แต่การใช้ส่วนใหญ่จะยังคงเป็นในลักษณะของ learning with technology ซึ่งหมายถึง
การใช้ e-Learning เป็นเสมือนเคร่ืองมือทางเลือกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้น สนุกสนาน
พร้อมไปกับการเรยี นรู้ในชั้นเรยี น

1.9. m-Learning

m-Learningหรือ Mobile-Learning หลกั การก็คือทาใหผ้ ู้เรยี นสามารถท่จี ะนาเอาบทเรียน
มาวางไว้บนมือถือและเรียกดไู ดต้ ลอดเวลาทกุ ท่ี พรอ้ มทัง้ สามารถทจ่ี ะรับสง่ ข้อมูลได้เม่ือจาเป็นและมี
สัญญาณจากเครือข่ายโทรคมนาคม นอกจากนั้น จะต้องสามารถทางานได้ท้ังสองทาง เปล่ียนแปลง
บทเรียนส่งการบ้าน หรือวิเคราะห์คะแนนจาก แบบฝึกหัดได้เช่นกัน การเรียนแบบผสมผสาน
(Blended learning) การเรียนการสอนที่อาศัยสื่อหลายๆชนิดผสมผสานกัน ต้ังแต่ด้านเทคโนโลยี
กจิ กรรมการเรียนการ สอน และเหตุการณ์ท่ีเหมาะสมเพ่ือสร้างรูปแบบการเรียนการสอนที่เหมาะสม
สาหรับ กลุ่มเป้าหมาย Global learning บทเรียนในรูปแบบของการผสมผสานระหว่างวิดีโอ เสียง
ภาพเคลือ่ นไหว ทาให้ น่าสนใจและง่ายต่อการทาความเข้าใจ เป็นส่ือการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับความ
ตอ้ งการและวิถชี ีวิต ระบบ Online Learning เป็นการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านเทคโนโลยี Internet ซ่ึง
จะนาเสนอ บทเรียน ในรูปแบบของการผสมผสานระหว่างวิดีโอ เสียง ภาพเคล่ือนไหว และตัวอักษร
ทาให้ บทเรียน มีความน่าสนใจ และง่าย ต่อการทาความเข้าใจ เนื่องจากผู้เรียน Online Learning
สามารถเรียนรู้ทุกเรื่องราวได้ทุกที่ทุกเวลา จึงทาให้ Online Learning เป็นสื่อการเรียนรู้ออนไลน์
สมบรู ณแ์ บบท่ีสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการและวถิ ีชวี ติ Mentored learning บทบาทของผู้สอนใน E-

21

Learning จะเปลี่ยนไปเป็นผู้ให้คาแนะนา (Guide) เป็นผู้ฝึก (Coach) เป็นผู้อานวยความสะดวก
(Facilitator) และเป็นพ่ีเล้ียง (Mentor) ต่อกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ในขณะท่ีบทบาทของ
ผเู้ รียนจะเปลี่ยนแปลง

1.9.1 ความหมายของ M – Learning
การให้คาจากัดความของ Mobile Learning สามารถแยกพิจารณาได้เป็น 2 ส่วน จากราก ศัพท์ท่ี
นามาประกอบกนั คือ

1. Mobile (Devices) หมายถือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ หรือ โทรศัพท์มือถือ และเคร่ือง
เลน่ หรือแสดงภาพทพี่ กพาตดิ ตัวไปได้

2. Learning หมายถึงการเรียนรู้ เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเนื่องมาจากบุคคล
ปะทะ กับสิ่งแวดล้อมจึงเกิดประสบการณ์ การเรียนรู้เกิดขึ้นได้เมื่อมีการแสวงหาความรู้ การพัฒนา
ความรู้ ความสามารถของบุคคลให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น รวมไปถึงกระบวนการสร้างความเข้าใจ และ
ถา่ ยทอดประสบการณ์ทีเ่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ บคุ คล

เม่ือพิจารณาจากความหมายของคาทั้งสองแล้วจะพบว่า Learning นั่นคือแก่นของM -
learning เพราะเป็นการใช้เทคโนโลยีเครือข่ายไร้สายเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ซ่ึงก็คล้ายกับ E –
Learning ทเี่ ป็นการใชเ้ ครอื ข่ายอินเทอร์เน็ตเพอื่ ให้เกิดการเรียนรู้ นอกจากนี้มีผู้ใช้คานิยามของ M -
Learning ดังตอ่ ไปน้ี

ริว (Ryu, 2007) หัวหน้าศูนย์โมบายคอมพิวติ้ง (Centre for Mobile Computing) ท่ี
มหาวิทยาลัยแมสซ่ี เมืองโอ๊คแลนด์ ประเทศนิวซีแลนด์ ระบุว่า M- learning คือกิจกรรมการเรียนรู้
ทีเ่ กิดข้ึนเมื่อผเู้ รยี นอยูร่ ะหวา่ งการเดินทาง ณ ท่ใี ดก็ตาม และเมอื่ ใดกต็ าม

22

เกด็ ส์ (Geddes, 2006) ก็ให้ความหมายว่า M- learning คือการได้มาซึ่งความรู้และทักษะ
ผ่านทางเทคโนโลยีของเคร่ืองประเภทพกพา ณ ท่ีใดก็ตาม และเมื่อใดก็ตาม ซึ่งส่งผลเกิดการ
เปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรม

วตั สัน และไวท(์ Watson & White, 2006) ผูเ้ ขียนรายงานเร่ือง M- learning ในการศึกษา
(mLearning in Education) เน้นว่า M- learning หมายถึงการรวมกันของ 2 P คือ เป็นการเรียน
จาก เครื่องส่วนตัว (Personal) และเป็นการเรียนจากเคร่ืองที่พกพาได้ (Portable) การที่เรียนแบบ
ส่วนตัว นั้นผู้เรียนสามารถเลือกเรียนในหัวข้อที่ต้องการ และการท่ีเรียนจากเครื่องท่ีพกพาได้น้ัน
ก่อให้เกิด โอกาสของการเรียนรู้ได้ ซึ่งเครื่องแบบ Personal Digital Assistant (PDA) และ
โทรศพั ท์มือถือนัน้ เป็นเครื่องทใี่ ชส้ าหรบั M- learning มากที่สดุ

ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนซ่ึงสามารถจัดเป็นประเภทของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
แบบพกพาได้ 3 กล่มุ ใหญ่ หรือจะเรียกวา่ 3Ps

1. PDAs (Personal Digital Assistant) คือคอมพิวเตอร์แบบพกพาขนาดเล็ก
หรือขนาด ประมาณฝ่ามือ ท่ีรู้จักกันทั่วไปได้แก่ Pocket PC กับ Palm เครื่องมือสื่อสารในกลุ่มนี้ยัง
รวมถึง PDA Phone ซึ่งเป็นเครื่อง PDA ท่ีมีโทรศัพท์ในตัว สามารถใช้งานการควบคุมด้วย Stylus
เหมือนกับ PDA ทุกประการ นอกจากนี้ยังหมายรวมถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กอื่นๆ เช่น lap
top, Note book และ Tablet PC อีกดว้ ย

2. Smart Phones คือโทรศัพท์มือถือ ที่บรรจุเอาหน้าท่ีของ PDA เข้าไปด้วย
เพียงแต่ไมม่ ี Stylus แต่สามารถลงโปรแกรมเพิ่มเติมเหมือนกับ PDA และ PDA phone ได้ ข้อดีของ
อุปกรณ์กลมุ่ นค้ี ือมีขนาดเล็กพกพาสะดวกประหยัดไฟ และราคาไม่แพงมากนัก คาว่าโทรศัพท์มือถือ
ตรงกับ ภาษาอังกฤษ ว่า hand phone ซึ่งใช้คาน้ีแพร่หลายใน Asia Pacific ส่วนในอเมริกา นิยม
เรียกว่า Cell Phone ซ่ึงย่อมาจาก Cellular telephone ส่วนประเทศอ่ืนๆ นิยมเรียกว่า Mobile
Phone

3. IPod, เครื่องเล่น MP3 จากค่ายอ่ืนๆ และเคร่ืองที่มีลักษณะการทางานที่
คล้ายกัน คือ เคร่ืองเสียงแบบพกพก iPod คือ ช่ือรุ่นของสินค้าหมวดหนึ่งของบริษัท Apple
Computer, Inc ผู้ผลิต เคร่ืองคอมพิวเตอร์แมคอินทอช iPod และเครื่องเล่น MP3 นับเป็นเครื่อง
เสียงแบบพกพาท่ีสามารถ รับข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ด้วยการต่อสาย USB หรือ รับด้วยสัญญาณ
Blue tooth สาหรับรุ่นใหม่ๆ มีฮาร์ดดิสก์จุได้ถึง 60 GB. และมีช่อง Video out และมีเกมส์ให้เลือก
เล่นไดอ้ ีกดว้ ย

23

เคร่ืองเล่น MP3 สาหรับพัฒนาการของ m-Learning เป็นพัฒนาการนวัตกรรมการเรียน
การสอนมาจากนวัตกรรมการเรียนการสอนทางไกล หรือ d-Learning (Distance Learning) และ
การจัดการเรยี นการสอนแบบ e-Learning (Electronic Learning) ดงั ภาพประกอบตอ่ ไปนี้

M - Learning น้ันเกิดข้ึนได้โดยไร้ข้อจากัด ด้านเวลา และสถานที่ เพียงแค่ผู้เรียนมีความ
พร้อมและเคร่ืองมือ อีกทั้งเครือข่ายมีเน้ือหาที่ต้องการ จึงจะเกิดการเรียนรู้ข้ึน และจะได้ผลการ
เรียนรู้ท่ีปรารถนา หากขาดเน้ือหาในการเรียนรู้ วิธีการน้ันจะกลายเป็นเพียงการส่ือสาร กับเครือข่าย
ไร้สายนนั่ เอง

1.9.2 กระบวนการเรียนรู้แบบ M – Learning
กระบวนการเรยี นรู้แบบ M – Learning มีด้วยกันท้ังหมด 5 ขัน้ ตอน ดงั นี้

ข้ันที่ 1 ผู้เรียนมีความพร้อม และเคร่อื งมอื
ขั้นที่ 2 เชือ่ มต่อเข้าสู่เครือข่าย และพบเนอ้ื หาการเรยี นทตี่ ้องการ
ขั้นท่ี 3 หากพบเนอ้ื หาจะไปยงั ขัน้ ท่ี 4 แต่ถ้าไม่พบจะกลับเข้าสู่ขัน้ ท่ี 2
ขนั้ ที่ 4 ดาเนนิ การเรียนรู้ ซงึ่ ไม่จาเปน็ ทีจ่ ะตอ้ งอยู่ในเครือขา่ ย
ขั้นที่ 5 ไดผ้ ลการเรียนรตู้ ามวตั ถปุ ระสงค์

24

1.9.3 ประโยชนแ์ ละข้อจากัดของ M – Learning
เก็ดส์ (Geddes, 2006) ได้ทาการศึกษาประโยชน์ของ M - Learning และสรุปว่า
ประโยชน์ท่ี ชดั เจนอย่างยงิ่ น้นั สามารถจดั ไดเ้ ปน็ 4 หมวด คอื

1. การเข้าถงึ ขอ้ มูล (Access) ไดท้ กุ ที่ ทุกเวลา
2. สร้างสภาพแวดล้อมเพอ่ื การเรียนรู้ (Context) เพราะ M - Learning ช่วยให้การ
เรียนรู้จาก สถานท่ีใดก็ตามที่มีความต้องการเรียนรู้ ยกตัวอย่างเช่น การส่ือสารกับ
แหล่งข้อมูล และผู้สอนใน การเรียนจากส่ิงต่างๆ เช่น ในพิพิธภัณฑ์ท่ีผู้เรียนแต่ละคนมี
เคร่อื งมือสอื่ สารตดิ ตอ่ กบั วิทยากรหรอื ผสู้ อนไดต้ ลอดเวลา
3. การร่วมมือ (Collaboration) ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน และเพื่อนร่วมชั้นเรียนได้
ทุกท่ี ทุก เวลา
4. ทาให้ผู้เรียนสนใจมากข้ึน (Appeal) โดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่น เช่น นักศึกษาท่ีไม่
คอ่ ย สนใจเรยี นในหอ้ งเรยี น แต่อยากจะเรียนดว้ ยตนเองมากขึ้นด้วย M – Learning

1.9.4 ขอ้ ดีของ M - Learning
1. มคี วามเปน็ ส่วนตวั และอสิ ระทีจ่ ะเลอื กเรียนรู้ และรับรู้
2. ไมม่ ีข้อจากัดด้านเวลา สถานที่ เพม่ิ ความเป็นไปได้ในการเรียนรู้

25

3. มแี รงจูงใจตอ่ การเรยี นรมู้ ากขึน้

4. สง่ เสรมิ ใหเ้ กิดการเรยี นรไู้ ดจ้ รงิ

5. ด้วยเทคโนโลยีของ M - Learning ทาให้เปลี่ยนสภาพการเรียนจากที่ยึดผู้สอน
เป็นศูนย์กลาง ไปสูก่ ารมปี ฏิสัมพันธ์โดยตรงกับผ้เู รยี น จึงเป็นการสง่ เสริมให้มีการส่ือสารกับเพื่อนและ
ผูส้ อนมากขน้ึ

6. สามารถรบั ข้อมลู ทไี่ มม่ กี ารระบชุ ื่อได้ ซ่ึงทาใหผ้ ้เู รยี นท่ีไม่มั่นใจกล้าแสดงออกมาก
ข้นึ

7. เคร่ืองประเภทพกพาต่างๆ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นทางการเรียน
และมีความรับผิดชอบต่อการเรยี นด้วยตนเอง

1.9.5 ขอ้ ดอ้ ยของ M - Learning

1. ขนาดของความจุ Memory และขนาดหน้าจอทีจ่ ากดั อาจจะเป็นอุปสรรคสาหรับ
การอ่าน ข้อมูล แป้นกดตัวอักษรไม่สะดวกรวดเร็วเท่ากับคีย์บอร์ดคอมพิวเตอร์แบบต้ังโต๊ะ อีกท้ัง
เครอื่ งยงั ขาดมาตรฐาน ที่ตอ้ งคานึงถงึ เมือ่ ออกแบบส่ือ เช่น ขนาดหน้าจอ แบบของหน้าจอ ท่ีบางรุ่น
เปน็ แนวตง้ั บางรนุ่ เป็นแนวนอน

2. การเชื่อมต่อกับเครือข่าย ยังมีราคาที่ค่อนข้างแพง และคุณภาพอาจจะยังไม่น่า

พอใจนัก

3. ซอฟต์แวร์ท่มี ีอย่ใู นท้องตลาดทว่ั ไป ไมส่ ามารถใช้ได้กับเคร่ืองโทรศัพท์แบบพกพา
ได้

4. ราคาเครอ่ื งใหมร่ ุ่นทดี่ ี ยังแพงอยู่ อีกทงั้ อาจจะถูกขโมยไดง้ า่ ย

5. ความแขง็ แรงของเครอ่ื งยงั เทียบไม่ได้กับคอมพิวเตอรต์ งั้ โต๊ะ

6. อัพเกรดยาก และเครื่องบางรุน่ กม็ ีศกั ยภาพจากัด

7. การพัฒนาด้านเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ขาดมาตรฐานของการผลิตสื่อ
เพอ่ื M – Learning

26

1.9.6 บทบาทของ M-Learning
M-Learning นั้นมีแนวโน้มที่จะเป็นช่องทางใหม่ท่ีจะกระจายความรู้ สู่ชุมชนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ และจะเป็นทางเลือกใหม่ ที่ส่งเสริมให้การเรียนรู้ตลอดชีวิตบรรลุวัตถุประสงค์ได้ดี อีก
ด้วย เหตุผลหนึ่งที่สนับสนุนประเด็นนี้ก็คือ มีผู้ใช้โทรศัพท์มือถือทั่วโลกกว่า 3.3 พันล้านคน ใน ปี
ค.ศ. 2007 เพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็วเมื่อเทียบกับจานวนผู้ใช้ในปี 2006 ซ่ึงมีอยู่ประมาณ 2 พันล้านคน
จานวนผู้ลงทะเบียนใช้โทรศัพท์มือถือมากกว่าผู้ใช้อินเทอร์เน็ตท่ัวโลกเกือบ 3 เท่า เพราะในปี ค.ศ.
2008 นัน้ จานวนของผใู้ ช้อนิ เทอร์เน็ตอยู่ท่ี 1.3 พันล้านคน ซ่ึงเพ่ิมข้ึนเพียงเล็กน้อยจากปี ค.ศ. 2007
ที่มีอยู่ประมาณ 1.1 พันล้านคนเท่านั้น จากการเป็นเจ้าของเครื่องโทรศัพท์มือถือที่มากกว่าผู้ใช้
อินเทอร์เน็ตเป็นหลายเท่าน้ีเองที่ทาให้ M-Learning เป็นสิ่งที่น่าสนใจของนักการศึกษา เพราะอย่าง
น้อย M-Learning ก็เป็นไปได้เพราะคนเรานั้นมีเครื่องมือ หรือเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่แล้ว เทคโนโลยี
ของการรับส่งข้อมูลผ่านระบบไรส้ ายก็มกี ารพัฒนามากข้ึนอยู่แล้ว ดังนั้นการเรียนรู้แบบ M-Learning
จงึ มีโอกาสเปน็ ไปไดส้ งู และเป็นการขยายโอกาสทางการศกึ ษาอกี แขนงหนง่ึ

M-Learning กาลังก้าวเข้ามาเป็นการเรียนรู้คู่กับสังคมอย่างแท้จริง เน่ืองจากความเป็น
อิสระ ของเครือข่ายไร้สาย ท่ีสามารถเข้าถึงได้ทุกท่ี ทุกเวลา อีกทั้งจานวนเครื่องคอมพิวเตอร์แบบ
พกพาท่ี ใช้เป็นเครื่องมือนั้นมีจานวนเพ่ิมขึ้นเรื่อยๆ จึงเป็นการเรียนรู้อีกทางเลือกหน่ึงของการนา
เทคโนโลยี มาใช้เป็นช่องทางในการให้ผู้คนได้เข้าถึงความรู้ ทุกที่ทุกเวลาอย่างแท้จริง เพราะหาก
เทียบกับการ ใช้เคร่ืองพีซี ก็ยังไม่ถือว่าเป็นทุกท่ีทุกเวลาอย่างแท้จริง เพราะยังต้องใช้เคร่ือง
คอมพิวเตอร์ท่ีบ้าน หรือท่ีทางานเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต เพ่ือเข้าสู่ระบบเครือข่าย แต่ในปัจจุบัน
เทคโนโลยีกไ็ ด้ย่อโลก ของเครอื ขา่ ยใหอ้ ยู่ในมือของผ้บู รโิ ภคแลว้ และสามารถเข้าสู่แหล่งการเรียนรู้ได้
เมื่อต้องการอย่าง แท้จริงทุกเวลาและสถานที่ และหากเทียบราคาเครื่องคอมพิวเตอร์PC และ
อุปกรณส์ าหรบั เชือ่ มต่อ ไรส้ ายทก่ี ลา่ วไปขา้ งตน้ ราคาก็ไม่ได้แตกต่างกันมากนัก นับว่าเป็นเทคโนโลยี

27

ที่พัฒนาข้นึ มาไดด้ ี ทีเดียว และในอนาคตข้างหน้า คาดว่าการเรียนรู้แบบ M-Learning จะแพร่หลาย
มากขนึ้ ยง่ิ กวา่ ใน ปจั จบุ ัน

1.9.7 ผลกระทบต่อการศึกษา และการเรียนการสอน

ปัจจุบันได้มีการพัฒนาประสิทธิภาพของโทรศัพท์เคล่ือนท่ี เพื่อรองรับการบริการทางด้าน
ตา่ ง ๆ เพิ่มมากขึน้ รวมถึงทางด้านการศึกษาของไทย เน่ืองจากโทรศัพท์มือถือในปัจจุบันมีขนาด เล็ก
น้าหนักเบา สะดวกต่อการพกพาติดตัวไปไหนมาไหนตลอดเวลา จนกระท่ังเกิดการพัฒนา โปรแกรม
การเรียนการสอนผ่านโทรศัพท์มือถือ M-Learning (Mobile Learning) ซึ่งเป็นการเรียน การสอน
หรือบทเรียนสาเร็จรูป (Instructional package) ท่ีนาเสนอผ่านโทรศัพท์มือถือหรือ คอมพิวเตอร์
แบบพกพา โดยอาศัยเทคโนโลยีเครือข่ายไร้สาย (Wireless Communication Network) ที่สามารถ
ต่อเชื่อมจากเครือข่ายแม่ข่าย (Network Server) ผ่ายจุดต่อแบบไร้สาย (Wireless access point)
แบบเวลาจริง (real time) อีกท้ังยังสามารถปฏิสัมพันธ์กับโทรศัพท์มือถือหรือคอมพิวเตอร์ แบบ
พกพาเครือ่ งอื่น โดยใช้เทคโนโลยีดิจติ อล เช่น Bluetooth เพื่อสนับสนุนการทางานร่วมกัน

ดังนั้น เมื่อมีอุปกรณ์ท่ีสะดวกต่อการเรียนการสอนเช่นนี้แล้ว จะช่วยส่งผลให้การศึกษา
เป็นไปได้โดยง่าย เพราะผู้เรียนสามารถที่จะเข้าถึงความรู้อย่างง่ายดายมากข้ึน ในปัจจุบันน้ันเป็นยุค
ทวี่ ยั รนุ่ วยั เรยี น ให้ความสนใจกบั เทคโนโลยีมาก โดยเฉพาะโทรศัพท์มือถือ น้อยคนมากท่ีจะไม่มี มือ
ถอื ไวใ้ ช้ ดังนัน้ M-learning จึงเหมาะท่ีจะนามาใชก้ บั การศกึ ษาในสมยั ปัจจบุ ันมากท่ีสุด เพื่อเป็น การ
เสรมิ ความรูใ้ ห้กับผูเ้ รียนอยา่ งท่วั ถงึ

สรุปบทบาทของ M-Learning กับการศึกษา

โดยสรุปแล้ว M-Learning เข้ามามบี ทบาทต่อการศกึ ษาโดยชว่ ยเข้ามาส่งเสริมให้การศึกษา เป็นไปได้
ง่ายข้ึนและท่ัวถึง ทาให้ผู้ศึกษาสามารถเข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็ว ทุกท่ี ทุกเวลา M-Learning เป็น
เทคโนโลยีท่ีเหมาะสาหรับการนามาพัฒนาควบคู่ไปกับการศึกษาเพ่ือช่วยแก้ไขปัญหาด้าน การศึกษา
ตา่ งๆทเี่ กิดขึน้ ในปจั จุบนั และบทบาทของ M-learning ต่อการศึกษาในอนาคตจะยิง่ มีมาก ขึ้น เพราะ
ได้มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา และด้วยการพัฒนาน้ัน จะทาให้สามารถลดข้อด้อยและเพ่ิม ข้อดีของ
M-learning ไดม้ ากขนึ้ และจะยงิ่ เปน็ ประโยชน์ต่อการศึกษามากย่งิ ขึน้ ไป

1.10. การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยกี ารศกึ ษา

ปัจจัยท่ีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ดังท่ีกล่าวมาแล้วข้างต้นน้ัน นอกจากเป็น
ปัจจัยที่มีผลในทางบวก อันเป็นปัจจัยในการสร้างความเจริญเติบโตให้สังคมแล้ว อีกด้านหน่ึงการ

28

เปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีท่ีเกิดขึ้น ยังมีผลกระทบต่อสังคมในทางลบท่ีเป็นลูกโซ่ตามมาด้วย ดัง
ตัวอย่างต่อไปน้ีคอื

1.10.1 ผลกระทบต่อชุมชน การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีด้านต่างๆ ท่ีเกิดขึ้น ส่งผลให้
มนษุ ย์มสี ว่ นร่วมในสังคมลดนอ้ ยลง ความรู้สึกวา่ เป็นสว่ นหนึง่ ของชุมชน มีความสัมพันธ์กับเพ่ือนบ้าน
หายไป เพราะมนุษยท์ ุกคนสามารถพงึ่ ตนเองได้

1.10.2 ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีทาให้เกิดเทคโนโลยีท่ีใช้
แรงงานคนนอ้ ยลง ผทู้ ีม่ ที ุนมากอาจนาเทคโนโลยใี หมม่ าใชง้ านทงั้ หมดเปน็ ธรุ กิจขนาดใหญ่มากข้ึน ทา
ให้ธุรกิจขนาดเล็กหดลงแต่ในทางตรงกันข้ามการที่แต่ละคนสามารถเป็นเจ้าของเทคโนโลยีท่ีมีขนาด
เล็กอาจจะทาให้เขากลายเป็นนายทุนอิสระ หรือรวมตัวเป็นสหกรณ์เจ้าของเทคโนโลยีร่วมกัน และ
อาจทาให้เกดิ องคก์ รทางธุรกิจใหม่ ๆ ได้

1.10.3 ผลกระทบด้านจิตวิทยา ความเจริญทางเทคโนโลยีท่ีเพิ่มขึ้นในเครื่องมือสื่อสารทา
ให้มนุษย์มีการติดต่อส่ือสารผ่านทางจออิเล็กทรอนิกส์เท่าน้ัน จึงทาให้ความสัมพันธ์ของมนุษย์ต้อง
แบ่งแยกเป็น ความสัมพันธ์อันแท้จริงโดยการสื่อสารกันตัวต่อตัวท่ีบ้านกับความสัมพันธ์ผ่านจอ
อิเล็กทรอนกิ ส์ซงึ่ มผี ลให้ความรสู้ ึกนึกคิดในความเปน็ มนุษยเ์ ปล่ียนไป

1.10.4 ผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีบางตัวมีผล
กระทบต่อสภาพแวดล้อมด้วย นอกจากน้ีการสร้างเทคโนโลยีการผลิตมากขึ้น มีผลทาให้มีการขุดค้น
พลังงานธรรมชาติมาใช้ได้มากข้ึนและเร็วขึ้น เป็นการทาลายทรัพยากรธรรมชาติในทางอ้อมและการ
สร้างโรงงานอุตสาหกรรมเพิ่มข้ึน โดยปราศจากทิศทางการดูแลที่เหมาะสมจะทาให้ส่ิงแวดล้อม อาทิ
แมน่ า้ พ้นื ดนิ อากาศ เกิดมลภาวะมากย่ิงขน้ึ

1.10.5 ผลกระทบทางด้านการศึกษา นวัตกรรมทางการศึกษามีลักษณะตามธรรมชาติที่
เป็นส่ิงใหม่ ดังน้ันในความใหม่จึงอาจทาให้ท้ังครู และผู้ท่ีเกี่ยวข้อง เช่นนักเทคโนโลยีทางการศึกษา
ผู้บริหารการศึกษา อาจต้ังข้อสงสัยและไม่แน่ใจว่า จะมีความพร้อมท่ีจะนามาใช้เมื่อใด และเม่ือใช้
แล้วจะทาให้เกิดผลสาเร็จมากน้อยอย่างไร แต่นวัตกรรมก็ยังมีเสน่ห์ในการดึงดูดความสนใจ เกิดการ
ต่ืนตัว อยากรู้อยากเห็นตามธรรมชาติของมนุษย์ หรือ อาจเกิดผลในเชิงตรงข้าม คือกลัวและไม่กล้า
เข้ามาสัมผัสส่ิงใหม่ เพราะเกิดความไม่แน่ใจว่าจะทาให้เกิดความเสียหาย หรือใช้เป็นหรือไม่ ครูใน
ฐานะผู้ใช้นวัตกรรมโดยตรงจึงต้องมีความตื่นตัวและหมั่นติดตามความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี
ต่างๆ ให้ทันตามความก้าวหน้า และเลือกนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่สอดคล้องกับสถานภาพและ
สิ่งแวดล้อมของตนเอง การหมั่นศึกษา และติดตามความรู้วิทยาการใหม่ ๆ ให้ทันจะช่วยทาให้การ

29

ตัดสินใจนานวัตกรรมมาใช้เพ่ือการศึกษา สามารถทาได้อย่างถูกต้องมีประสิทธิภาพและลดการเสี่ยง
และความสนั้ เปลอื งงบประมาณและเวลาได้มากที่สดุ

สุดท้ายจะต้องมีกระบวนการในการตรวจสอบการใช้นวัตกรรมนั้น ๆ ว่า มีความเหมาะสม
มีข้อบกพร่องและแนวทางปรับปรุงแก้ไขอย่างไร ทั้งโดยการสังเกต การใช้แบบทดสอบเพ่ือตรวจวัด
การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียนอยู่เสมอ ก็จะทาให้เราเชื่อแน่ได้ว่าการใช้นวัตกรรมน้ันมี
ประสทิ ธภิ าพสูงสุด

1.11 การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยที ีม่ ผี ลต่อสถานศกึ ษา
สถานศึกษาในยุคปัจจุบันมี การเปล่ียนแปลงสภาพแวดล้อมเป็นอย่างมาก อิทธิพลของความ
เจริญกา้ วหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้สภาพแวดล้อมทางการเรียนและสถานการณ์ของ
การเรียนการสอนแตกต่างไปจากเดิม การเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นมีผลกระทบต่อการบริหารและการ
จัดการสภาพแวดล้อม ทางการเรียนซึ่งจาเป็นต้องเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย สภาพแวดล้อมทางการ
เรียนในสถานศึกษาปัจจุบันถูกกาหนดด้วยเทคโนโลยีท่ีได้มี การพิจารณานาเข้ามาใช้ การนา
เทคโนโลยีเข้ามาใช้ทาใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลงที่มีผลต่อสถานศึกษาอยา่ ง น้อย 3 ประการ ได้แก่

30

1.11.1 เทคโนโลยีเปล่ียนแปลงวิถีชีวิต (Technology alters orientation.)
สถานศึกษา สภาพของผู้เรียน และผู้สอนได้รับอิทธิพลจากเทคโนโลยีมีลักษณะของการใช้ชีวิตใน
ฐานะผู้เรียน และผสู้ อนเปล่ียนไป วิถีชีวิตของท้ังผู้เรียนและผู้สอนผูกพันและข้ึนอยู่กับเทคโนโลยีมาก
ขึ้น เช่น วันน้ีไฟดับงดจ่ายกระแสไฟฟ้า นักเรียนไม่สามารถทนน่ังในห้องเรียนท่ีร้อนอบอ้าวได้
เช่นเดียวกับครูท่ีไม่สามารถทาการสอนได้ เพราะเครื่องฉายภาพจากคอมพิวเตอร์ไม่ทางาน สื่อต่างๆ
ท่ีผู้สอนเตรียมมาไม่สามารถนามาใช้ได้ และมีการเรียนการสอนภาคนอกเวลาซ่ึงมักจะสอนในเวลา
กลางคืนคงไม่มีการจุดเทียน หรือจุดตะเกียงเพื่อการเรียนการสอน ส่ิงเหล่าน้ีแสดงให้เห็นถึงวิถีชีวิต
ของการเป็นผู้เรียนและการเป็นผู้สอนใน สถานศึกษาเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม และผูกพันกับ
เทคโนโลยีมากข้ึนจนบางท่านอาจคิดว่าเทคโนโลยีมีอิทธิพลในการ กาหนดวิถีชีวิตไม่เพียงการ
เปล่ียนแปลงวิถชี วี ติ เทา่ นนั้

1.11.2 เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงวิธีการ (Technology alters techniques.) วิธีการ
เรียนการสอนในสถานศึกษาปัจจุบันมีหลายรูปแบบหลายลักษณะ และในจานวนรูปแบบต่างๆ ของ
การเรียนเหล่าน้ันจาเป็นต้องพ่ึงพาเทคโนโลยี เช่น การเรียนการสอนทางไกลแบบสองทาง การเรียน
ด้วยสื่อโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม หรือรูปแบบของการเรียนการสอนท่ีไม่จาเป็นต้องมีชั้นเรียนให้ผู้เรียน
เรยี น ไดด้ ว้ ยตนเองจากแหล่งวทิ ยาบริการทมี่ อี ยู่หรอื จากชดุ การเรยี นท่ีทาข้ึนสาหรับ ผู้เรียนลักษณะนี้
โดยเฉพาะ นอกจากนี้เทคนิควิธีการเรียนการสอน การประเมินผล ยังเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมท่ีมีครู
เปน็ ศูนย์กลาง กลายเปน็ ผเู้ รียนเปน็ ศนู ย์กลางของการเรียนมากข้ึน

31

1.11.3 เทคโนโลยีเปล่ียนแปลงสถานการณ์ของการเรียน (Technology alters
situations of learning.) การเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ของการเรียนในสถานศึกษา เป็นสภาพใหม่ที่
เกิดข้ึนพร้อมๆ กับนาเทคโนโลยีใหม่เข้ามาใช้ สถานการณ์ของการเรียนการสอนในสภาพของ
สิ่งแวดล้อมในสถานศึกษาที่เต็มไปด้วย เทคโนโลยีเพื่อช่วยการเรียนรู้จะมีบรรยากาศของการเรียน
เงื่อนไขในการเรียน ที่แตกต่างจากเดิม ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนในสถานการณ์และเงื่อนไขท่ีตนเอง
ต้องการได้มากขน้ึ สถานการณท์ ่ที าใหเ้ กิดการเรียนรู้ไม่จาเป็นต้องสร้างขึ้นด้วยครูผู้สอน เท่านั้นอย่าง
แต่ก่อน แต่เทคโนโลยีสามารถจะสร้างสถานการณ์ของการเรียนให้เกิดขึ้นได้และมีความหลาก หลาย
อกี ดว้ ย

32

จากผลของการเปล่ียนแปลงโดยมีเทคโนโลยีเป็นตัวกาหนดดัง กล่าวข้างต้น ทาให้
สภาพแวดล้อมทางการเรียนในสถานศึกษาต้องมีการวางแผนและจัดการกับ เทคโนโลยีที่เป็น
ตัวกาหนดน้ันอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและให้เกิดประสทิ ธิภาพ สูงสุด เพ่ือเป็นแนวทางที่จะนาไปสู่การจัด
การศกึ ษาอยา่ งมคี ณุ ภาพ ที่สถานศึกษาทุกแห่งต้องการให้เกดิ ขนึ้
1.12 แนวโนม้ การเปล่ียนแปลงที่สาคญั ท่เี กิดจากเทคโนโลยี

แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้การกระจายข้อมูล
ข่าวสารเป็นไปอย่างรวดเร็ว ทุกทิศทาง และมีระบบตอบสนอง ด้วยเหตุนี้ผลกระทบต่อการ
เปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ผลของความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศทาให้เกิดแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงท่ีสาคัญหลายด้าน แนวโน้มที่สาคัญที่เกิดจาก
เทคโนโลยที ีส่ าคญั และเป็นที่กล่าวถงึ กันมาก ดังนี้

1) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้สังคมเปล่ียนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเป็น
สังคมสารสนเทศ สภาพของสังคมโลกได้เปล่ียนแปลงมาแล้วสองครั้ง จากสังคมความเป็นอยู่แบบ
เร่ร่อนมาเป็นสังคมเกษตรที่มีการเพาะปลูกและสร้างผลิตผลทางการเกษตร ทาให้มีการสร้าง
บ้านเรือนเป็นหลักแหล่ง ต่อมามีความจาเป็นต้องผลิตสินค้าให้ได้ปริมาณมากและต้นทุนถูก จึงต้อง
หันมาผลติ แบบอุตสาหกรรม ทาให้สภาพความเปน็ อยขู่ องมนุษย์เปล่ยี นแปลงมาเป็นสังคมเมือง มีการ
รวมกลุ่มอย่อู าศยั เปน็ เมือง มอี ุตสาหกรรมเป็นฐานการผลิต สังคมอุตสาหกรรมได้ดาเนินการมาจนถึง
ปัจจุบัน และเข้าสู่สังคมสารสนเทศ การดาเนินธุรกิจใช้สารสนเทศอย่างกว้างขวาง เกิดคาใหม่ว่า ไซ
เบอร์สเปซ มีการดาเนินกจิ กรรมต่างๆ เชน่ การพดู คุยผา่ นอนิ เทอรเ์ นต็ การซื้อสนิ คา้ และบริการ ฯลฯ

33

2) เทคโนโลยสี ารสนเทศ เปน็ เทคโนโลยีแบบตอบสนองตามความตอ้ งการของผู้ใช้แต่ละ
คน เช่น การดูโทรทัศน์ วิทยุ เม่ือเราเปิดเคร่ืองรับโทรทัศน์หรือวิทยุ เราไม่สามารถเลือกตามความ
ตอ้ งการได้ หากไม่พอใจก็ทาไดเ้ พยี งเลอื กสถานใี หม่ แนวโนม้ จากน้ไี ปจะมีการเปล่ียนแปลงในลักษณะ
ที่เรียกว่า on demand เราจะมีโทรทัศน์และวิทยุแบบเลือกดู เลือกฟังได้ตามความต้องการ หาก
ระบบการศึกษาจะมีระบบ education on demand คือสามารถเลือกเรียนตามต้องการได้ การ
ตอบสนองตามความต้องการ เป็นหนทางที่เป็นไปได้ เพราะเทคโนโลยีมีพัฒนาการที่ก้าวหน้าจน
สามารถนาระบบสื่อสารมาตอบสนองตามความต้องการของมนษุ ย์

3) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้เกิดสภาพการทางานแบบทุกสถานที่ และทุกเวลา เมื่อ
การสื่อสารก้าวหน้าและแพร่หลายข้ึน การโต้ตอบผ่านเครือข่ายทาให้มีปฏิสัมพันธ์ได้ เกิดระบบการ
ประชุมทางวีดิทัศน์ ระบบประชุมบนเครือข่าย ระบบโทรศึกษา ระบบการค้าบนเครือข่าย ลักษณะ
ของการดาเนินงานเหล่านี้ ทาให้ผู้ใช้ขยายขอบเขตการดาเนินกิจกรรมไปทุกหนทุกแห่งตลอด 24
ช่ัวโมง เราจะเห็นจากตัวอย่างที่มีมานานแล้ว เช่น ระบบเอทีเอ็ม ทาให้การเบิกจ่ายได้เกือบ
ตลอดเวลา และกระจายไปใกล้ตวั ผรู้ ับบรกิ ารมากข้ึน และด้วยเทคโนโลยีท่ีก้าวหน้าข้ึน การบริการจะ
กระจายมากยงิ่ ข้นึ จนถงึ ที่บ้าน ในอนาคตสังคมการทางานจะกระจายจนงานบางงานอาจน่ังทาที่บ้าน
หรือที่ใดกไ็ ด้ และเวลาใดกไ็ ด้

4) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาใหร้ ะบบเศรษฐกิจเปลยี่ นจากระบบทอ้ งถิ่นไปเป็นเศรษฐกิจ
โลก ระบบเศรษฐกิจซึ่งแต่เดิมมีขอบเขตจากดั ภายในประเทศ กก็ ระจายเป็นเศรษฐกิจโลก ทั่วโลกจะมี
กระแสการหมุนเวียนแลกเปลี่ยนสินค้า บริการอย่างกว้างขวางและรวดเร็ว เทคโนโลยีสารสนเทศมี
ส่วนเอ้ืออานวยให้การดาเนินการมีขอบเขตกว้างขวางมากย่ิงข้ึน ระบบเศรษฐกิจของทุกประเทศใน
โลกเชอ่ื มโยงและมผี ลกระทบต่อกัน

5) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้องค์กรมีลักษณะผูกพันหน่วยงานภายในเป็นแบบ
เครือข่ายมากขึ้น แต่เดิมการจัดองค์กรมีการวางเป็นลาดับขั้น มีสายการบังคับบัญชาจากบนลงล่าง
แต่เมอื่ การส่ือสารแบบสองทางและการกระจายข่าวสารดีข้ึน มีการใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ในองค์กร
ผูกพันกันเป็นกลุ่มงาน มีการเพิ่มคุณค่าขององค์กรด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดโครงสร้างของ
องค์กรจึงปรับเปล่ียนจากเดิม และมีแนวโน้มที่จะสร้างองค์กรเป็นเครือข่ายที่มีลักษณะการบังคับ
บัญชาแบบแนวราบมากขึ้น หน่วยธุรกิจจะมีขนาดเล็กลง และเชื่อมโยงกันกับหน่วยธุรกิจอ่ืนเป็น
เครอื ขา่ ย โครงสรา้ งขององคก์ รจงึ เปลยี่ นแปลงไปตามกระแสของเทคโนโลยี

6) เทคโนโลยีสารสนเทศ กอ่ ให้เกดิ การวางแผนการดาเนินการระยะยาวข้ึน อีกท้ังยังทา
ให้วิถีการตัดสินใจรอบคอบมากขึ้น แต่เดิมการตัดสินปัญหาอาจมีหนทางให้เลือกได้น้อย เช่น มี

34

คาตอบเดียว ใช่ และ ไม่ใช่ แต่ด้วยข้อมูลข่าวสารที่สนับสนุนการตัดสินใจ ทาให้วิถีความคิดในการ
ตดั สนิ ปัญหาเปลี่ยนไป ผ้ตู ัดสนิ ใจมที างเลอื กไดม้ ากและมคี วามรอบครอบในการตัดสินปัญหาไดด้ ีข้นึ

7) เทคโนโลยสี ารสนเทศ เปน็ เทคโนโลยีเดยี วท่ีมีบทบาททส่ี าคัญในทกุ วงการ ดังน้ันจึงมี
ผลต่อการเปล่ียนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม ศีลธรรม การศึกษาเศรษฐกิจและการเมืองได้อย่างมาก
ลองนึกดวู า่ ขณะนี้เราสามารถชมข่าว ชมรายการทีวี ที่ส่งกระจายผ่านดาวเทียมของประเทศต่างๆ ได้
ท่ัวโลก เราสามารถรับรู้ข่าวสารได้ทันที เราใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตในการสื่อสารระหว่างกัน และ
ติดต่อกับคนได้ทั่วโลก จึงเป็นท่ีแน่ชัดว่าแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคม
และการเมืองจงึ มลี กั ษณะเปน็ สังคมโลกมากขึ้น

1.13 ปัญหาและอุปสรรคในการใช้นวตั กรรมและเทคโนโลยที างการศกึ ษา

สภาพปัจจุบันและปัญหาการใช้เทคโนโลยีการศึกษาในประเทศไทย จากความ
เจริญก้าวหน้าทางวิทยาการจึงทาให้กระบวนการจัดการศึกษาต้องเปลี่ยนแปลงตามไปด้วยอย่าง
ต่อเนื่อง ดังนั้นเทคโนโลยีการศึกษาไม่ว่าจะเป็นส่ือวัสดุอุปกรณ์ประเภทต่างๆรวมทั้งเทคนิควิธีการ
และแหล่งสนับสนุนการเรียนรู้ต้องเปล่ียนแปลงตามไปด้วยเช่นกัน คอมพิวเตอร์ ได้เข้ามามีอิทธิพล
และมีบทบาทต่อการจดั การศกึ ษาอยา่ งเด่นชัดมากยิ่งขึน้ และดูเหมอื นว่าจะเป็นส่ือท่ีน่าสนใจและเป็น
ส่อื ท่ตี อ้ งการของหลายฝา่ ยทเ่ี กีย่ วข้องกบั การจัดการศึกษาทุกๆระดับ ทั้งน้ีสังคมคาดหวังว่าสื่อยุคใหม่
หรือนวัตกรรมทางการสอนท่ีแปลกใหม่และมีความหลากหลายเหล่านั้นจะช่วยเสริมสร้าง
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลทางการเรียนรู้และการจัดการศึกษาโดยรวมในที่สุด หากมองย้อนหลัง
สักหน่อย จะพบว่าเราเริ่มจาก การไม่มี อยากมี แล้วได้มี ติดตามด้วยใช้ไม่ค่อยเป็น แล้วก็ใช้เป็นกัน
มากขึ้น แต่ได้ประโยชน์ มีแก่นสารสาระหรือไม่เป็นเร่ืองน่าคิด ส่วนมากจะเข้าลักษณะใช้เป็น แต่ไม่
ค่อยได้ประโยชน์ ดูท่ีกลุ่มเยาวชนก็แล้วกันว่าเขากาลังทาอะไรกันอยู่กับอินเตอร์เน็ต เสียเวลาและ
ทรพั ยากรไปเท่าไร และไดอ้ ะไรตอบแทนกลับมา สว่ นมากจะเข้าขา่ ยไร้สาระมากกวา่

1.13.1 ปัญหาท่พี บในการใช้นวัตกรรมการศึกษามดี ังนี้

1. ปัญหาด้านบุคลากร บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจในการผลิตสื่อประกอบการจัด
กิจกรรม บุคลากรขาดประสบการณ์ในการใช้ส่ือนวัตกรรมทางการศึกษา ไม่เข้าใจและรู้จักวิธีการใช้
นวัตกรรมที่ทางโรงเรียนจัดทาข้ึน ขาดความชานาญในการใช้นวัตกรรม ขาดสื่อประกอบการเรียน
บคุ ลากรส่วนใหญ่ให้ความร่วมมือในการใช้นวัตกรรม แต่ขาดความต่อเน่ืองแนวทางแก้ไข คือ สร้าง
ความตระหนัก ความรับผิดชอบในส่วนท่ียังบกพร่องทางนวัตกรรมของบุคลากร ส่งเสริมให้เข้าร่วม
การอบรมสัมมนา ส่งเสริมให้เกิดการศึกษาด้วยตนเอง เพื่อให้ความรู้และประสบการณ์ในการใช้สื่อ
นวตั กรรมทางการศกึ ษาท่มี ากข้นึ

35

2. ปญั หาด้านวสั ดุ อปุ กรณ์ และงบประมาณ เกีย่ วกับนวัตกรรม คือ ขาดงบประมาณใน
การพฒั นานวตั กรรม ขาดวัสดุ – อุปกรณ์และงบประมาณท่ีจะพัฒนาสื่อนวัตกรรม การจัดหา การใช้
การดูแลรักษาและขาดงบจัดหาส่ือทันสมัย แนวทางการแก้ไขเพิ่มงบประมาณให้เพียงพอ ให้
หน่วยงานท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องจัดหางบประมาณสนับสนุน สานักงานเขตพ้ืนที่ต้องช่วยดูแลและให้ความ
ช่วยเหลือจัดสรรงบประมาณได้ เพื่อใช้ในการพัฒนานวัตกรรมให้มีคุณภาพดีย่ิงข้ึน และระดม
ทรัพยากรที่มีในท้องถ่ิน มาชว่ ยสนับสนนุ

3. ปัญหาด้านสภาพแวดล้อม และสถานที่การใช้นวัตกรรม สภาพแวดล้อมโดยท่ัวไป
ยังไมเ่ หมาะสมกบั การใชส้ ือ่ เนอื่ งจากความยุ่งยากและไม่คล่องตัว มีสถานที่ไม่เป็นสัดส่วน ไม่มีห้อง
ที่ใช้เพื่อเก็บรักษาส่ือ นวัตกรรมเป็นการเฉพาะ ทาให้การดูแลทาได้ยากและขาดการพัฒนาท่ี
ต่อเน่ือง แนวทางการแก้ไข คือ ใช้สื่อนวัตกรรมตามความเหมาะสมของเน้ือหาวิชาตามความยาก
ง่ายของเนื้อหา จัดทาห้องสื่อเคล่ือนที่ แบ่งสื่อไปตามห้องให้ครูรับผิดชอบ ควรจัดหาห้องเพ่ือการนี้
เปน็ การเฉพาะ

36

4. ปัญหาด้านสภาพการเรียนการสอน เด็กมีความแตกต่างกันด้านสติปัญญา และด้าน
ร่างกาย ปัญหาครอบครัวแตกแยก เด็กอาศัยอยู่กับญาติ มีเน้ือหาวิชาที่มากและสาระ การเรียน
การสอนแต่ละคร้ังไม่ต่อเน่ือง นักเรียนบางคนไม่สบายใจในกิจกรรม และทาไม่จริงจังจึงมีผลต่อการ
จดั กจิ กรรม นกั เรยี นตอ้ งเข้าควิ รอนานกับนวตั กรรมบางชนิด และสภาพการเรียนการสอน ครูยังยึด
วิธกี ารสอนแบบเดิม คอื บรรยายหนา้ ชนั้ เรยี น แต่สว่ นใหญ่มีแนวโน้มในการพฒั นาท่ีดีข้ึน ครูยังไม่มี
การนาส่ือนวัตกรรมมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเน่ือง แนวทางการแก้ไข คือ จัดกลุ่มให้
เพื่อนช่วยเพ่ือน คอยกากับแนะนาช่วยเหลือ จัดครูเข้าสอนตามประสบการณ์ความถนัด ควรจัด
อบรมเพื่อให้ความรู้ จัดทานวัตกรรมที่มีโอกาสเป็นไปได้ และสร้างการมีส่วนร่วมจากชุมชน สอน
เพิ่มเติมนอกเวลา และจัดการสอนแบบรวมชนั้ โดยใชก้ ระบวนการเรียนการสอนตามชว่ งช้ัน

5. ปัญหาด้านการวัดผลและประเมินผล คือ บุคลากรขาดความรู้ในการท่ีจะนาสื่อ
นวัตกรรมมาใช้ในการวัดผลและประเมินผล นักเรียนที่ไม่ค่อยสนใจหรือไม่ชอบกิจกรรมก็จะมีผลต่อ
การจัดผลประเมินผล ขาดนวัตกรรมสื่อคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต การวัดประเมินผล ครูส่วนใหญ่
ยังใช้วิธีการทาแบบทดสอบ แบบปรนัย แนวทางการแก้ไข จัดทาแบบสอบถามสุ่มเป็นรายบุคคล
เพศชาย หญิง เน้นนักเรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง จัดแบบทดสอบท่ี
หลากหลาย ท้ังแบบปรนัย และอัตนัย และประเมินผลตามสภาพจริง ประเมินผลงานจากแฟ้มสะสม
งาน

1.13.2 ปญั หา อุปสรรค การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารของสถานศึกษา
1. ด้านการกระจายโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการศึกษา มีสถานศึกษาจานวนหนึ่งท่ี

โทรศัพท์ยังเข้าไม่ถึง และคอมพิวเตอร์ยังไม่มีหรือมีแต่ไม่เพียงพอต่อความต้องการ และที่มีอยู่ก็ขาด
การบารุงรักษา รวมทั้งไม่อยู่ในสภาพที่ใช้การได้ แสดงให้เห็นว่าโครงสร้างพ้ืนฐานเพ่ือการศึกษา

37

โดยเฉพาะคู่สายโทรศัพท์ยังมีบริการไม่ทั่วถึง อาจจะเป็นไปได้ว่าสถานศึกษาเหล่านี้อยู่ในท้องถิ่นท่ี
ห่างไกล ดังนนั้ สถานศกึ ษาต้องรีบดาเนินการเพราะเปน็ พืน้ ฐานทีจ่ าไปสูร่ ะบบอินเทอร์เน็ต

2. ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ครูใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการส่ือสารเพอ่ื พัฒนาทกั ษะวชิ าชพี ครูนอ้ ยมาก และคอมพิวเตอร์มีจานวนไม่พอกับความต้องการ
ท่ีครจู ะใช้ แสดงใหเ้ หน็ วา่ ครยู งั ตอ้ งได้รับการพฒั นาด้านการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ อกี เป็นจานวน
มาก และสถานศึกษากต็ อ้ งจัดหาคอมพวิ เตอรใ์ ห้เพยี งพอต่อความต้องการของครู

3. ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพื่อพัฒนาการบริหารจัดการและ
ให้บริการทางการศึกษา สถานศึกษายังขาดรูปแบบระบบสารสนเทศ ผู้บริหารให้มีความรู้ความ
เขา้ ใจในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารในระดบั เบอื้ งต้น แสดงใหเ้ หน็ ว่าสถานศึกษายังไม่
มีระบบข้อมูลสารสนเทศที่เป็นรูปธรรมท่ีชัดเจน ผู้บริหารต้องได้รับการพัฒนาด้านการใช้เทคโนโลยี
สารเสนเทศและการส่ือสารเพ่ือให้เกิดความตระหนักและเห็นความสาคัญของการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอ่ื สารท่จี ะนามาพัฒนาการบริหารจดั การและการบริการทางการศึกษา

4. ด้านการผลิตและพฒั นาบุคลากรดา้ นการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาตนเอง
ของครูด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศยังขาดความต่อเน่ือง บางคนใน 3 ปีท่ีผ่านมายังไม่เคยไปเข้า
รับการฝึกอบรมด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเลย แสดงให้เห็นว่า ครูได้รับการ
พัฒนาด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารยังไม่ท่ัวถึงเพราะมีครูอีกจานวนหนึ่งที่ในรอบ
3 ปีท่ผี า่ นมายังไมเ่ คยได้รบั การอบรมดา้ นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเลย

38

39

บทที่ 2
ความร้เู บ้อื งต้นเก่ยี วกบั เทคโนโลยีสารสนเทศ

2.1. ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ในภาวะปจั จบุ นั ท่ที ว่ั ทุกมุมโลกมกี ารเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็ว ประเทศต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น

ประเทศด้อยพัฒนาทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมหรือประเทศที่พัฒนาแล้วก็ตาม ต่างอยู่ในภาวะท่ี
ต้องมีการปรับตัวกันอย่างมาก ประเทศไทยก็เช่นเดียวกันฉะนั้นจึงถือได้ว่าเราทุกคนน้ันต่างดาเนิน
ชีวิตอยู่ในช่วงเวลาของการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะรูปแบบทางสังคมท่ีเกิดข้ึน ต่างมีความต้องการท่ี
จะรับทราบข้อมูลข่าวสาร และพึ่งพาอาศัยข้อมูลสารสนเทศในการดารงชีวิตประจาวันมากขึ้นทุกวัน
ซงึ่ กเ็ ป็นผลสบื เน่อื งมาจากแรงผลกั ดนั ของเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หรือที่
เรียกกนั ว่า IT

นอกจากน้ี ถือได้วา่ ระบบคอมพวิ เตอร์และระบบส่ือสารโทรคมนาคมท่ีทันสมัยจะก่อให้เกิด
การปฏวิ ัติทางเทคโนโลยีแล้ว ยงั ส่งผลกระทบในวงกวา้ งตอ่ ระบบเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม และ
กิจกรรมระหว่างประเทศ เปรียบเสมือนในช่วงท่ีมีการเปล่ียนแปลงใช้เครื่องจักร ไอน้าในงาน
อตุ สาหกรรม และถือได้ว่าเปน็ ยุคทสี่ ามทพ่ี ฒั นาตอ่ เน่ืองมาจาก ยคุ เกษตรกรรม และ ยุคอุตสาหกรรม
ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้สร้างการเปลี่ยนแปลงในทุกระดับ ตั้งแต่ระบบสังคม องค์การธุรกิจ
และปัจเจกชน โดยเทคโนโลยีสารสนเทศกระตุ้นให้เกิดการปรับรูปแบบ ความสัมพันธ์ภายในสังคม

40

การแข่งขัน และความรว่ มมอื ทางธรุ กิจ ตลอดจนกิจกรรมการดารงชีวิตของบุคคลให้แตกต่างจากอดีต
ดังนั้นบุคคลทุกคนในฐานะสมาชิกของสังคมสารสนเทศ (Information Society) จึงจาเป็นต้องมี
ความรู้ ทักษะ และความเข้าใจถึงศักยภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือให้สามารถดารงชีวิตและ
ประกอบธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพในอนาคต เทคโนโลยีสารสนเทศมีผลเก่ียวข้องกับทุกเร่ืองใน
ชีวิตประจาวัน บทบาทเหลา่ นมี้ ีแนวโน้มที่สาคัญมากยิ่งขึ้น ด้วยเหตุน้ีเยาวชนคนรุ่นใหม่จึงควรเรียนรู้
และเขา้ ใจเก่ยี วกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอื่ จะได้เป็นกาลงั สาคัญในการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ให้กา้ วหนา้ และเกิดประโยชนต์ ่อประเทศตอ่ ไป

2.2 องค์ประกอบของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบบ คอื กลุ่มขององคก์ ารตา่ งๆ ท่ีทางานรว่ มกนั เพอื่ จุดประสงค์อันเดียวกัน ระบบอาจจะ

ประกอบด้วยบุคคลากร เคร่ืองมือ เครื่องใช้ พัสดุ วิธีการ ซ่ึงทั้งหมดนี้จะต้องมีระบบจัดการอันหน่ึง
เพื่อใหบ้ รรลจุ ดุ ประสงค์อันเดยี วกนั

สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์หรือประมวลผลแล้ว พร้อม
จะใชง้ านไดท้ นั ที โดยไม่ตอ้ งแปล หรือตคี วามใด ๆ อีก

เทคโนโลยสี ารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีมาช่วยในการประมวลผล เพ่ือให้ได้
สารสนเทศ ตามทต่ี ้องการ

ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศนั้นอาจกลา่ วได้ว่าประกอบข้นึ จากเทคโนโลยีสองสาขาหลกั คือ
เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีส่อื สารโทรคมนาคม สาหรบั รายละเอยี ดพอสงั เขปของแต่ละ
เทคโนโลยีมีดังต่อไปน้คี ือ

41

2.3 เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์
คอมพิวเตอรเ์ ปน็ เครอ่ื งอิเล็กทรอนกิ ส์ท่สี ามารถจดจาขอ้ มูลตา่ ง ๆ และปฏบิ ัติตามคาสง่ั ท่ี

บอก เพอื่ ให้คอมพวิ เตอรท์ างานอยา่ งใดอยา่ งหนึ่งให้ คอมพวิ เตอร์น้ันประกอบด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆ
ตอ่ เช่อื มกันเรยี กวา่ ฮารด์ แวร์ (Hardware) และอปุ กรณฮ์ าร์ดแวร์นจี้ ะตอ้ งทางานร่วมกับโปรแกรม
คอมพิวเตอร์หรือที่เรียกกนั วา่ ซอฟต์แวร์ (Software) (มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช. สาขาวิชา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2546: 4)

1.3.1 ฮารด์ แวร์ ประกอบดว้ ย 5 ส่วน คือ
1. อุปกรณ์รับข้อมูล (Input) เช่น แผงแป้นอักขระ (Keyboard), เมาส์, เครื่องตรวจ

กวาดภาพ (Scanner), จอภาพสัมผัส (Touch Screen), ปากกาแสง (Light Pen), เคร่ืองอ่านบัตร
แถบแม่เหลก็ (Magnetic Strip Reader), และเครอื่ งอ่านรหัสแทง่ (Bar Code Reader)

2. อุปกรณ์ส่งข้อมูล (Output) เช่น จอภาพ (Monitor), เคร่ืองพิมพ์ (Printer), และ
เทอร์มนิ ลั

3. หน่วยประมวลผลกลาง จะทางานร่วมกับหน่วยความจาหลักในขณะคานวณหรือ
ประมวลผล โดยปฏบิ ตั ิหนา้ ทตี่ ามคาสงั่ ของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยการดึงข้อมูลและคาส่ังท่ีเก็บไว้
ไว้ในหน่วยความจาหลักมาประมวลผล

4. หน่วยความจาหลกั มีหนา้ ที่เก็บข้อมูลท่ีมาจากอุปกรณ์รับข้อมูลเพ่ือใช้ในการคานวณ
และผลลัพธ์ของการคานวณก่อนท่ีจะส่งไปยังอุปกรณ์ส่งข้อมูล รวมทั้งการเก็บคาส่ังขณะกาลัง
ประมวลผล

5.หน่วยความจาสารอง ทาหน้าที่จัดเก็บข้อมูลและโปรแกรมขณะยังไม่ได้ใช้งาน เพื่อ
การใช้ในอนาคต

42

1.3.2 ซอฟตแ์ วร์
เปน็ องค์ประกอบท่ีสาคัญและจาเปน็ มากในการควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์
ซอฟตแ์ วรส์ ามารถแบง่ ออกได้เปน็ 2 ประเภท คือ
Ÿ 1.3.2.1 ซอฟต์แวรร์ ะบบ มหี นา้ ท่คี วบคมุ อุปกรณต์ า่ ง ๆ ภายในระบบคอมพิวเตอร์
และเปน็ ตัวกลางระหวา่ งผู้ใชก้ บั คอมพิวเตอรห์ รือฮาร์ดแวร์ ซอฟตแ์ วรร์ ะบบสามารถแบง่ เป็น 3
ชนดิ ใหญ่ คือ

1. โปรแกรมระบบปฏิบัติการ ใช้ควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
พ่วงต่อกบั เครือ่ งคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างโปรแกรมที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน เช่น UNIX, DOS, Microsoft
Windows

2. โปรแกรมอรรถประโยชน์ ใช้ช่วยอานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์
ในระหว่างการประมวลผลข้อมลู หรือในระหวา่ งทีใ่ ชเ้ ครือ่ งคอมพวิ เตอร์ ตัวอย่างโปรแกรมท่ีนิยมใช้กัน
ในปัจจุบนั เช่น โปรแกรมเอดิเตอร์ (Editor)

3. โปรแกรมแปลภาษา ใช้ในการแปลความหมายของคาส่ังที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์
ให้อยใู่ นรปู แบบท่ีเครอื่ งคอมพิวเตอร์เข้าใจและทางานตามทผี่ ู้ใชต้ อ้ งการ
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็นโปรแกรมที่เขียนข้ึนเพ่ือทางานเฉพาะด้านตามความต้องการ ซึ่ง
ซอฟต์แวร์ประยกุ ต์นีส้ ามารถแบง่ เปน็ 3 ชนดิ คือ

1) ซอฟตแ์ วรป์ ระยุกตเ์ พ่อื งานทว่ั ไป เป็นซอฟตแ์ วร์ท่ีสรา้ งขนึ้ เพ่ือใชง้ านท่วั ไปไม่
เจาะจงประเภทของธุรกิจ ตัวอยา่ ง เชน่ Word Processing, Spreadsheet, Database
Management เป็นต้น

43

2) ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงาน เป็นซอฟต์แวร์ท่ีสร้างข้ึนเพ่ือใช้ในธุรกิจเฉพาะ
ตามแตว่ ัตถปุ ระสงคข์ องการนาไปใช้

3) ซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์อื่น ๆ เปน็ ซอฟตแ์ วรท์ ี่เขยี นขึน้ เพอ่ื ความบนั เทิง และอื่น ๆ
นอกเหนือจากซอฟต์แวร์ประยุกต์สองชนิดข้างต้น ตัวอย่าง เช่น Hypertext, Personal
Information Management และซอฟตแ์ วรเ์ กมต่าง ๆ เป็นต้น
สาหรับกระบวนการการจัดการระบบสารสนเทศ เพ่ือให้ไดส้ ารสนเทศตามต้องการอย่าง
รวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยา และมีคณุ ภาพ ดังแผนภาพต่อไปนี้คอื

แผนภาพแสดงกระบวนการจัดการระบบสารสนเทศ
2.4 ความสาคญั ของสารสนเทศ

สารสนเทศแท้จริงแล้วย่อมมีความสาคัญต่อทุกส่ิงที่เก่ียวข้อง เช่น ด้านการเมือง การ
ปกครอง ด้านการศึกษา ด้าน เศรษฐกิจ ดา้ นสงั คม ฯลฯ ในลกั ษณะดงั ตอ่ ไปนี้
ทาให้ผู้บริโภคสารสนเทศเกิดความรู้ (Knowledge) และความเข้าใจ (Understanding) ในเร่ือง
ดังกล่าว ขา้ งต้น เมือ่ เรารแู้ ละเข้าใจในเรอ่ื งทเ่ี กยี่ วข้องแล้ว สารสนเทศจะช่วยให้เราสามารถตัดสินใจ
(Decision Making) ใน เรอื่ งต่างๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม

นอกจากน้ันสารสนเทศ ยังสามารถทาให้เราสามารถแก้ไขปัญหา (Solving Problem) ท่ี
เกิดข้ึนได้อย่าง ถกู ต้อง แมน่ ยา และรวดเรว็ ทนั เวลากับสถานการณ์ตา่ งๆ ที่เกดิ ข้นึ

44

2.5 ความหมายของสารสนเทศ
ซาเรซวิค และวูด (Saracevic and Wood 1981 : 10) ได้ให้คานิยามสารสนเทศไว้ 4

นิยามดังนี้
1. Information is a selection from a set of available message, a selection

which reduces uncertainty. สารสนเทศ คือ การเลือกสรรจากชุดของข่าวสารท่ีมีอยู่ เป็นการ
เลือกท่ีช่วยลดความไม่แน่นอน หรือกล่าวได้ว่า สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ได้มีเลือกสรรมาแล้ว (เป็น
ข้อมลู ที่มคี วามแนน่ อนแลว้ ) จากกลุ่มของขอ้ มลู ท่ีมอี ยู่

2. Information as the meaning that a human assigns to data by means of
conventions used in their presentation. สารสนเทศ คอื ความหมายที่มนุษย์ (สั่ง) ให้แก่ ข้อมูล
ดว้ ยวิธีการนาเสนอทเ่ี ป็นระเบียบแบบแผน

3. Information is the structure of any text-which is capable of changing
the image-structure of a recipient. (Text is a collection of signs purposefully
structured by a sender with the intention of changing the image-structure of
recipient) สารสนเทศ คือ โครงสร้างของข้อความใดๆ ท่ีสามารถเปล่ียนแปลงโครงสร้าง ทาง จินต
ภาพ (ภาพลักษณ์) ของผู้รับ (ข้อความ หมายถึง ท่ีรวมของสัญลักษณ์ต่างๆ มีโครงสร้างที่มี
จุดมุ่งหมาย โดยผู้ส่งมีเป้าหมายท่ีจะ เปล่ียนแปลงโครงสร้างทาง จินตภาพ (+ความรู้สึกนึกคิด) ของ
ผู้รับ(สาร)

4. Information is the data of value in decision making. สารสนเทศ คือ ข้อมูลท่ี
มคี ่าในการตัดสินใจ

นอกจากนัน้ ยังมีความหมายท่ีนา่ สนใจดังน้ี
สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่มีการปรับเปล่ียน (Convert) ด้วยการจัดรูปแบบ (Formatting)
การกล่ันกรอง (Filtering) และการสรุป (Summarizing) ให้เป็นผลลัพธ์ท่ีมี รูปแบบ (เช่น ข้อความ
เสียง รูปภาพ หรือวีดิทัศน์) และเนื้อหาท่ีตรงกับ ความต้องการ และเหมาะสมต่อการนาไปใช้ (Alter
1996 : 29, 65, 714)
สารสนเทศ คือ ตัวแทนของข้อมูลท่ีผ่านการประมวลผล (Process) การจัดการ
(Organized) และการผสมผสาน (Integrated) ใหเ้ กดิ ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ (Post 1997 : 7)
สารสนเทศ คือ ข้อมูลท่ีมีความหมาย (Meaningful) หรือเป็นประโยชน์ (Useful) สาหรับ
บางคนทจ่ี ะใช้ชว่ ยในการ ปฏิบตั ิงานและการจดั การ องค์การ (Nickerson 1998 : 11)
สารสนเทศ คือ ขอ้ มลู ท่มี ีความหมาย (Schultheis and Sumner 1998 : 39)


Click to View FlipBook Version