The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการดำเนินงาน-OTOP

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เป้ ปัตตานี, 2019-11-19 04:08:54

คู่มือการดำเนินงาน-OTOP

คู่มือการดำเนินงาน-OTOP

คู่มอื

การด�าเนนิ งาน
ผ้ผู ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่

ประจ�าปี 2558

ค่มู อื การดา� เนินงานผ้ผู ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558

ค่มู อื การดา� เนินงานผ้ผู ลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558

ค� ำ น� ำ

เอกสาร “คมู่ อื การด�าเนินงานผ้ผู ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่” ประจา� ปี 2558
จดั ท�าขน้ึ เพ่อื ใหเ้ จ้าหนา้ ที่พัฒนาชมุ ชน และผู้ท่มี สี ่วนเกีย่ วข้อง ได้ใชเ้ ปน็ ค่มู อื ในการดา� เนนิ การ
ประชมุ เชิงปฏิบตั ิการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพผู้ผลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ และเป็นแนวทาง
เพื่อใช้ในการสง่ เสรมิ ให้ผ้ผู ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ มีความรู้ในการพฒั นาคณุ ภาพ
ผลติ ภณั ฑ์ OTOP สามารถยกระดบั คณุ ภาพของผลติ ภณั ฑใ์ หม้ มี าตรฐาน เปน็ ทต่ี อ้ งการของตลาด
สามารถสรา้ งรายไดใ้ ห้กบั ผูป้ ระกอบการและชมุ ชน

กรมการพัฒนาชมุ ชนหวังเป็นอย่างยิง่ ว่า เอกสารฉบบั นจี้ ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ เจ้าหน้าท่ี
พัฒนาชุมชน และผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องได้น�าไปเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม
สง่ ผลใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพในการขบั เคลอื่ นงาน ตามยทุ ธศาสตร์ของกรมการพฒั นาชุมชนตอ่ ไป

กรมการพฒั นาชมุ ชน
กมุ ภาพันธ์ 2558

คมู่ ือการดา� เนนิ งานผผู้ ลิต ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558

ส า ร บั ญ

สว่ นท่ี 1 บทนำ� 1

— กระบวนการขับเคลื่อนการดา� เนนิ งานโครงการหน่ึงต�าบล หน่งึ ผลติ ภัณฑ์ 3
— ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาโครงการหน่งึ ต�าบล หนง่ึ ผลติ ภณั ฑ์ 11

ปี (2556 – 2558) 15

สว่ นท่ี 2 กำรสง่ เสริมภมู ิปัญญำท้องถ่ินและวิสำหกิจชุมชน 16
28
1. การลงทะเบยี น ผู้ผลิต ผ้ปู ระกอบการ OTOP 33
2. ศูนย์บรกิ ารสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ฐานราก 36
3. การดา� เนินงานเครือขา่ ย OTOP 39
4. โครงการหมู่บา้ น OTOP เพือ่ การท่องเทีย่ ว 44
5. การพฒั นาเยาวชนเพอื่ การอนุรักษแ์ ละสืบสานภมู ิปัญญาท้องถิน่ 50
6. การคัดสรรสดุ ยอดหนึง่ ต�าบล หน่ึงผลิตภณั ฑ์ไทย ปี พ.ศ. 2559
7. โครงการส่งเสรมิ กระบวนการเครือขา่ ยองคค์ วามรู้ 55
63
(Knowledge – Based OTOP : KBO) สูเ่ ศรษฐกจิ สร้างสรรค์
8. การพฒั นาผลติ ภัณฑ์ OTOP ตามการจดั กลุ่ม Quadrant ( A B C D ) 65
70
ส่วนท่ี 3 สำระนำ่ รูส้ ำ� หรบั ผู้ผลติ ผปู้ ระกอบกำร OTOP รำยใหม่ 73
75
— 9 หลักการตลาดเบ้อื งตน้ ทผี่ ้ผู ลติ ผู้ประกอบการ OTOP ต้องรู้ 75
— วิธกี ารตั้งราคาและการกระตุน้ ยอดขาย 80
— เทคนิคการขาย 94
— การขอมาตรฐานผลติ ภัณฑ์

1. การขออนญุ าตผลิตภณั ฑ์อาหาร (ขอเครอื่ งหมาย อย.)
2. การปฏิบัติทางการเกษตรทีด่ ี (Good Agricultural Practices : GAP)
3. GMP : มาตรฐานการปฏิบัติในการผลติ ท่ีดี ( Good Manufacturing Practice)

คู่มือการด�าเนินงานผูผ้ ลิต ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558

ส า ร บั ญ

4. มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร “ Q MARK ” 96
5. HACCP : มาตรฐานการผลิตท่ีมีมาตรการป้องกันอันตราย ที่ผู้บริโภคอาจได้รับ 100

จากการบริโภคอาหาร 103
6. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) 108
7. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) 110
8. กระบวนการขอรับรองฮาลาลและขอใช้เคร่ืองหมายรับรองฮาลาล 114
9. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ผ้าไหมไทย (ตราสัญลักษณ์นกยูงพระราชทาน) 119

ส่วนท่ี 4 กรอบหลักสตู รแนวทำงกำรเพมิ่ ประสทิ ธิภำพ 121
ผ้ผู ลิต ผปู้ ระกอบกำร OTOP รำยใหม่ 122

— การด�าเนินงานโครงการเพมิ่ ประสิทธภิ าพผผู้ ลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม่
— กรอบแนวทางหลักสตู รโครงการเพม่ิ ประสิทธิภาพผผู้ ลิต ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่

ค่มู อื การด�าเนินงานผผู้ ลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558

ค่มู อื การดา� เนินงานผ้ผู ลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558

ส่วนที่ 1

บทน�ำ

— กระบวนการขับเคลอื่ นการด�าเนนิ งานโครงการหน่งึ ตา� บล หนึง่ ผลิตภัณฑ์
— ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาโครงการหน่ึงตา� บล หนงึ่ ผลิตภณั ฑ์
ปี (2556 – 2558)

คมู่ ือการดา� เนินงานผู้ผลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจ�าป ี 2558 1

2 ค่มู อื การดา� เนินงานผ้ผู ลิต ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจ�าป ี 2558

1สว่ นที่

บทนำ�

1. กระบวนการขบั เคลื่อนการด�าเนนิ งานโครงการหน่งึ ต�าบล หนึ่งผลติ ภณั ฑ์

ปี พ.ศ. 2544 ไดม้ กี ารประกาศสงครามกบั ความยากจน โดยจัดใหม้ ีโครงการหนึง่ ต�าบล

หน่ึงผลิตภัณฑ ์ เป็นหนงึ่ ในนโยบายเศรษฐกิจชมุ ชนทส่ี �าคญั ของยุทธศาสตรก์ ารสรา้ งรายได้ ลดรายจ่าย และ
ขยายโอกาส โดยมีวตั ถปุ ระสงคส์ �าคัญ เพอ่ื แกไ้ ขปญั หาความยากจน สรา้ งงาน สรา้ งรายได้ในชุมชนและ
ท้องถ่ิน ซ่ึงไดเ้ ชญิ นายโมรฮิ โิ กะ ฮริ ามัทซึ (Morihiko Hiramatsu) ผู้ว่าราชการจงั หวดั โออติ ะ(Oita) ประเทศ
ญป่ี ่นุ ผู้รเิ รมิ่ โครงการ One Village One Product หรือ OVOP ไดม้ าบรรยายใหแ้ นวคดิ และหลักการของ
OVOP ของจังหวัดโออติ ะ ประเทศญ่ปี ุ่น แกผ่ บู้ รหิ าร ขา้ ราชการ ทุกกรม กระทรวง เพ่อื ใหท้ กุ ภาคสว่ นได้
เขา้ ใจและเรยี นรู้จากประเทศต้นแบบการด�าเนินงาน OTOP โดยเฉพาะแนวคดิ พื้นฐาน ปรชั ญา OTOP ทัง้ 3
ประการ คือ

1. ภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ สูส่ ากล (Local yet Global :
Think Globally, Act Locally) หรือคิดระดบั โลก แตท่ า�
ระดบั ทอ้ งถน่ิ คอื การผลติ สนิ คา้ ทคี่ งไวซ้ ง่ึ วฒั นธรรมทอ้ งถนิ่
และอตั ลกั ษณข์ องชมุ ชน ซงึ่ ไมใ่ ชเ่ พยี งการผลติ ทต่ี อบสนอง
ความต้องการของชมุ ชนเทา่ น้ัน แต่เป็นการผลิตทีส่ ามารถ
เข้าถึงรสนิยมของผู้บริโภคท้ังในประเทศและต่างประเทศ
โดยพจิ ารณาความตอ้ งการของตลาดเปน็ สา� คญั ซง่ึ หมายความ
รวมถึงการมีคุณภาพและมาตรฐานท่ีเป็นที่
ยอมรับด้วยการท่ีสินค้ามีเอกลักษณ์เฉพาะ
เปน็ การสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ อนั นา� ไปสกู่ ารมรี ายได ้
ทเี่ พ่มิ ข้ึน

คู่มอื การด�าเนินงานผู้ผลิต ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจ�าปี 2558 3

2. การพึ่งพาตนเองและคิดอย่างสร้างสรรค์
(Self – reliance and Creativity) คือ การปลกู จิต
สา� นกึ ในการพ่ึงพาตนเอง ให้ประชาชนในท้องถิ่นเป็น
ผตู้ ดั สนิ ใจเพอ่ื พฒั นาทอ้ งถน่ิ ของตนเอง กจิ กรรมตา่ ง ๆ
ต้องมาจากความต้องการของคนในชุมชน โดยคนใน
ทอ้ งถนิ่ เปน็ ผตู้ ดั สนิ ใจวา่ สงิ่ ใดของทอ้ งถนิ่ ทม่ี ศี กั ยภาพ
และสิ่งใดท่ีมีเฉพาะในท้องถิ่น ชุมชนต้องร่วมกันใช้
ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ คิดค้นผลิตสินค้าและบริการ
ใหม่ ๆ จากทรัพยากรในท้องถิ่นโดยผสมผสานกับเอกลกั ษณเ์ ฉพาะของท้องถน่ิ เพื่อสร้างความแตกต่างและ
การสรา้ งมลู คา่ ในเชงิ เศรษฐกจิ อนั เปน็ การผลติ ทไ่ี มไ่ ดแ้ ขง่ ขนั ดา้ นราคาทม่ี าจากการผลติ สนิ คา้ ตามกนั ในชมุ ชน
หนง่ึ ๆ อาจมหี ลายผลติ ภณั ฑ ์ หากชมุ ชนเหน็ ชอบตกลงรว่ มกนั ผลติ ความสา� คญั คอื ตอ้ งอยบู่ นพน้ื ฐานของ
การนา� เสนอ ความเปน็ ตวั แทนของทอ้ งถน่ิ เปน็ ความภาคภมู ใิ จ รวมถงึ การมตี ลาดรองรบั ภาครฐั ควรมบี ทบาท
ในการสนบั สนุนใหช้ ุมชนประสบความส�าเร็จในสิง่ ทช่ี มุ ชนต้องการ
3. การพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์ (Human Resource Development) คอื การสง่ เสริมพฒั นาบุคลากร
ในท้องถิ่นใหส้ ามารถเรียนรู้ ค้นควา้ พัฒนาได้ด้วยตนเอง กระตนุ้ และส่งเสริมให้ทา� ในส่งิ ใหม่ ๆ ที่ท้าทายความ
สามารถ และมีความคดิ สรา้ งสรรค์ เพราะผ้ทู ม่ี บี ทบาทส�าคญั ในการขับเคล่อื นใหท้ อ้ งถิน่ เกดิ การพัฒนาอยา่ ง
ยงั่ ยนื คอื ผ้นู า� ชมุ ชนและประชาชนในทอ้ งถ่นิ การพฒั นาบุคลากรถอื เป็นปจั จัยสา� คัญที่สดุ
โครงการหนงึ่ ตา� บล หนง่ึ ผลติ ภณั ฑ ์ (OTOP) ไดด้ า� เนนิ การอยา่ งเปน็ รปู ธรรมทว่ั ทกุ ภมู ภิ าค ทวั่ ประเทศ
โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์
(1) สรา้ งงานและเพม่ิ รายไดใ้ หแ้ กช่ มุ ชน
(2) เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ให้แก่ชมุ ชน
(3) สง่ เสรมิ การใชภ้ มู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ
(4) สง่ เสรมิ การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย ์
(5) สง่ เสรมิ ความคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรคข์ องชมุ ชน

เปน็ การสรา้ งเศรษฐกจิ ฐานรากใหเ้ ขม้ แขง็ โดยไดร้ บั การสนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื ดา้ นความร ู้ เทคโนโลย ี ทนุ
การบรหิ ารจดั การ เชอื่ มโยงสนิ คา้ จากชมุ ชนไปสตู่ ลาดทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ คณะกรรมการอา� นวยการ
หนึ่งต�าบล หนึ่งผลิตภัณฑ์แห่งชาติ (กอ.นตผ) ได้ถูกแต่งต้ังข้ึน ตามระเบียบส�านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย
คณะกรรมการอา� นวยการหนง่ึ ตา� บล หน่ึงผลิตภณั ฑแ์ ห่งชาติ พ.ศ. 2544 โดยมกี ลไกการบริหารงาน OTOP
ในสว่ นกลางและส่วนภูมภิ าค ไดก้ า� หนดตราสัญลักษณ ์ OTOP ขนึ้ เปน็ รปู ปลาตะเพียน

4 คู่มือการดา� เนินงานผู้ผลิต ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจ�าปี 2558

ปี 2545 กระทรวงมหาดไทย โดยกรม

การพัฒนาชุมชน จัดกิจกรรมส่งเสริมการตลาด OTOP
โดยการจดั งาน มหกรรมหนง่ึ ตา� บล หนง่ึ ผลติ ภณั ฑ์ การ
จัดเทศกาลสุราแช่ไทย การสร้างช่องทางการจ�าหน่าย
สนิ ค้า OTOP จุดจา� หนา่ ยสนิ ค้าทว่ั ประเทศ ซ่ึงผลการ
จา� หนา่ ยสนิ คา้ OTOP ในป ี 2545 ปรากฏมยี อดจา� หนา่ ย
รวม 16,714 ลา้ นบาท

ปี 2546 มกี ารเปลยี่ นตราสญั ลกั ษณก์ ารดา� เนนิ งาน OTOP จากตราสญั ลกั ษณร์ ปู ปลาตะเพยี น

เป็นสัญลักษณ์ ที่มีค�าว่า “OTOP” แทนตราสัญลักษณ์ท่ีมีรูปปลาตะเพียน และมีการคัดสรรสินค้า OTOP
จากสินคา้ สุดยอดจงั หวดั ภาค และประเทศ โดยกา� หนดกรอบในการคัดสรรสนิ คา้ OTOP (OTOP Product
Champion : OPC) ไว ้ 4 ดา้ น คือ สามารถสง่ ออกได้ ผลิตอย่างต่อเนอื่ งและคุณภาพคงเดิม ตอ้ งมีมาตรฐาน
และมปี ระวตั ิความเป็นมาของผลติ ภณั ฑ์ มีการกา� หนดระดบั สินคา้ Product Level ไว ้ 5 ระดับ คือ ระดบั 5
ดาว ถึง 1 ดาว กระทรวงมหาดไทย โดยกรมการพัฒนาชมุ ชน เป็นเจ้าภาพในการจัดงานเมืองแห่งภูมปิ ญั ญา
ไทย หรอื งาน OTOP City ครงั้ ท ่ี 1 มยี อดจา� หนา่ ยสนิ คา้ OTOP ตลอดป ี 2546 รวมเปน็ เงนิ 34,242 ลา้ นบาท
มนี โยบายจะเพมิ่ “คุณภาพและมาตรฐานของผลิตภัณฑ์”

คู่มือการด�าเนินงานผูผ้ ลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจ�าป ี 2558 5

ปี 2547 เป็นปีทีเ่ ร่มิ สร้างเครอื ข่ายผปู้ ระกอบการ OTOP ในปีแรก เพม่ิ ประสทิ ธิภาพกลไกการ

ทา� งานของอนกุ รรมการ OTOP โครงการสร้างตา� นานผลิตภัณฑ์ (Story of Product) โครงการสรา้ งศลิ ปนิ
OTOP ในปี 2547 น้ ี เป็นปเี ริม่ ต้นทกี่ ระทรวงมหาดไทย มอบหมายให้กรมการพฒั นาชมุ ชนได้ทดลองจัดต้ังและ
พฒั นาหมบู่ า้ น OTOP ต้นแบบ 4 ภาค ๆ ละ 1 จังหวดั เป็นหมูบ่ า้ น OTOP ตน้ แบบนา� ร่อง จัดงานเมืองแหง่
ภมู ิปญั ญาไทย (OTOP City คร้ังที ่ 2) รวมยอดเงินจา� หนา่ ย OTOP ในป ี 2547 จ�านวน 46,506 ลา้ นบาท

ปี 2548 กอ.นตผ ไดป้ ระกาศเปน็ ปแี หง่

การสง่ เสรมิ การตลาด โดยกา� หนดแนวทางการดา� เนนิ งาน
นโยบายเร่งดว่ น การสรา้ งรายได้ เพ่ิมบทบาทของ
อ�าเภอและจังหวดั ในการบริหารจดั การ OTOP และ
สง่ เสรมิ OTOP ในฐานะทีเ่ ป็นสนิ ค้าทางวฒั นธรรม
(Cultural Product) ทา� ใหท้ ั่วโลกรูจ้ ักสินคา้ OTOP
ในฐานะทีเ่ ปน็ สินคา้ ท่ีมีรากเหง้าทางวัฒนธรรม
เน้นสร้างความเข็มแขง็ ของชุมชน เพื่อสรา้ งให ้ OTOP
เปน็ Citizen Park อย่างแท้จริง โดยการสนบั สนนุ
การรวมกลุ่มของชาวบ้านเพื่อจัดต้ังบริษัท หรือศูนย์ OTOP ประจ�าจังหวัด จัดงานเมืองแห่งภูมิปัญญาไทย
(OTOP City ครง้ั ท ี่ 3) รวมยอดรายได้จากการจ�าหน่าย OTOP ป ี 2548 รวม 56,510 ลา้ นบาท

ปี 2549 กอ.นตผ ได้ประกาศเปน็ ปแี ห่งการคน้ หาสุดยอดผลิตภัณฑ์ (In Search of Excellent

OTOP) โดยมุ่งเนน้ การค้นหาสดุ ยอดผลติ ภณั ฑ์ OTOP
ได้แก ่ การคัดสรรสดุ ยอดผลติ ภัณฑห์ นง่ึ ต�าบล หน่ึงผลติ ภัณฑไ์ ทย
(OTOP Product Champion - OPC) การคดั สรร
สดุ ยอดหมู่บ้าน OTOP Village Champion (OVC)
และการคัดสรรสดุ ยอดผลติ ภณั ฑ์เด่นของจงั หวัด
Provincial Star OTOP (PSO) และกิจกรรมสร้างฐาน
ความรตู้ อ่ ยอดบรหิ ารธุรกจิ (Advance Smart OTOP)
โดยมอบหมายใหก้ รมการพัฒนาชมุ ชน จัดประกวด
หมู่บ้าน OTOP Village Champion : OVC
ทง้ั 75 จงั หวัด โดยใชเ้ กณฑ์การคดั สรร 4 P
คอื P-People, P-Product, P-Place และ
P-Preserve มีหมู่บา้ นไดร้ ับการคัดเลือกเปน็ หมบู่ า้ น OVC ระดับประเทศจา� นวน 80 หมู่บา้ น การลงทะเบยี น
ผผู้ ลิต/ผปู้ ระกอบการ OTOP จดั งาน OTOP Midyear Fair (The Best of OTOP) และจัดงานเมอื งแห่ง
ภมู ปิ ญั ญา (OTOP City ครัง้ ท่ ี 4) ยอดจา� หน่าย OTOP ในป ี 2549 จา� นวน 68,868 ล้านบาท

6 คูม่ อื การด�าเนินงานผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ป ี 2558

ปี 2550 กอ.นตผ มกี ารเปล่ยี นชอ่ื จาก “หนง่ึ ตา� บล หนึ่งผลิตภัณฑ”์ เป็น “ผลติ ภัณฑช์ ุมชน

และทอ้ งถิ่น” นโยบายการสง่ เสริมในปนี ้ี ไดม้ ุง่ เน้นความส�าคัญของ “ชมุ ชน” แทน “ผลิตภัณฑ”์ และเร่มิ
ระบบการสง่ เสรมิ อยา่ งเปน็ ขนั้ ตอนเพอื่ คน้ หาผลติ ภณั ฑท์ ม่ี ศี กั ยภาพทางการตลาด ผา่ นกระบวนการจบั คธู่ รุ กจิ
พฒั นาความสามารถของผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ และ
การพฒั นาคณุ ภาพมาตรฐานของผลติ ภณั ฑใ์ หเ้ ปน็ ทยี่ อมรบั
ในระดบั สากล (OTOP Select) โดยการทา� งานรว่ มกบั
ภาคเอกชนในการกา� หนดแนวทางการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์
และกระจายไปสภู่ มู ภิ าคเพอ่ื ให้สามารถตอบสนองต่อ
ความต้องการของตลาดได้อย่างกวา้ งขวาง รวมถงึ
การขยายเครือข่ายองค์ความรใู้ นชุมชน
(Knowledge Based OTOP : KBO) และยกระดับ
มาตรฐานการจดั การวสิ าหกจิ ชมุ ชน ผลการจา� หนา่ ย
ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนและทอ้ งถนิ่ ในป ี 2550 รวม 72,864 ลา้ นบาท

ปี 2551 เนน้ การส่งเสรมิ ผูผ้ ลิต ผปู้ ระกอบการ (Entrepreneur Promotion) กรมการพฒั นา

ชมุ ชน ไดจ้ ัดสรรงบประมาณในสว่ นของกรมการพัฒนาชมุ ชน ตามยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน ป ี 2551
เพอ่ื ดา� เนนิ กจิ กรรมการสง่ เสรมิ และพฒั นา OTOP ผลการดา� เนนิ งาน OTOP ป ี 2551 ทก่ี รมการพฒั นาชมุ ชน
ไดส้ นบั สนนุ งบประมาณด�าเนินการ มีดังน ี้ จดั แสดงและจา� หนา่ ยผลิตภณั ฑ์ OTOP ระดบั จังหวดั 75 จงั หวดั
พฒั นาหมบู่ า้ น OTOP เพอื่ การทอ่ งเทยี่ ว (OVC) เพมิ่ อกี 8 หมบู่ า้ น จดั งาน OTOP City ครงั้ ท ่ี 5 ผลการจา� หนา่ ย
ผลติ ภัณฑ์ OTOP ปี 2551 รวม 77,882 ล้านบาท

ค่มู อื การด�าเนนิ งานผ้ผู ลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าป ี 2558 7

ปี 2552 จดั ประกวดผลงานของเครือข่ายองคค์ วามร ู้ KBO จงั หวดั (OTOP KBO Contest) เพ่อื คน้ หา

Best Practice และผลติ ภณั ฑ ์ OTOP ทไ่ี ดร้ บั การยกระดบั มาตรฐาน จดั โครงการพฒั นาเยาวชนเพอื่ การอนรุ กั ษ์
และสืบสานภูมปิ ัญญาท้องถิ่น (Young OTOP Camp 2009) เพื่อพฒั นาเยาวชนไดเ้ รียนรู ้ เกิดความรัก
มคี วามศรทั ธา สามารถจดั การในการอนรุ กั ษแ์ ละสบื สานภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ดา้ นการสง่ เสรมิ การตลาด จดั OTOP
ภมู ิภาค 4 ภาค งาน OTOP ช้อปชว่ ยชาต ิ (OTOP Midyear 2009) และ การจดั งาน OTOP City ครั้งที่ 6
ผลการจา� หนา่ ยผลติ ภณั ฑ ์ OTOP ปี 2552 รวม 65,753 ล้านบาท

ปี 2553 ยงั คงมุง่ เนน้ การสง่ เสรมิ OTOP ให้ไดม้ าตรฐาน และสง่ เสรมิ การบริหารผลิตภัณฑ ์

OTOP ให้เกดิ ประโยชน์สงู สดุ การลงทะเบยี นผู้ประกอบการ OTOP ปี 2553 การคดั สรรสุดยอดหนงึ่ ต�าบล
หน่ึงผลิตภัณฑ์ไทย (OPC) การเพ่ิมประสิทธิภาพกลุ่มอาชีพ OTOP เสริมสร้างความเข้มแข็งแก่เครือข่าย
องคค์ วามร ู้ (Knowledge - Based OTOP : KBO)
การพฒั นาเครอื ขา่ ย OTOP การพฒั นาเยาวชน
ดา้ นการสง่ เสรมิ การตลาด จดั งาน OTOP ภมู ภิ าค
OTOP Midyear 2010 และงาน OTOP City 2010
ผลการจา� หนา่ ยผลติ ภณั ฑ ์ OTOP ปี 2553
รวม 68,208 ล้านบาท

ปี 2554 เนอื่ งจากครบรอบ 1 ทศวรรษ OTOP ไทย มนี โยบายและแนวทางในการสง่ เสรมิ พฒั นา

OTOP เชิงรุก โดยเฉพาะการตลาดเพื่อเพ่ิมช่องทางการตลาดผ่านโครงการต่าง ๆ เช่น OTOP DELIVERY
OTOP MOBILE TO THE FACTORY การจดั แสดงและจา� หนา่ ยผลติ ภัณฑ ์ OTOP สานสมั พันธส์ องแผ่นดิน
หมู่บ้าน OTOP เพ่ือการท่องเท่ียว (OVC) การจัดงาน OTOP ภูมิภาค การสืบสานสุดยอดภูมิปัญญาไทย
สู่เวทีโลก คลังภูมิปัญญา OTOP การพัฒนาเยาวชนเพ่ือการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถ่ิน
เพ่ิมประสิทธิภาพเครือข่าย OTOP ระดับประเทศ การประชาสัมพันธ์ช่องทาง TV Mahadthai Channel
PRESS TOUR OTOP และหอ้ งแสดงผลติ ภณั ฑ ์
OTOP 2011 จัดงาน OTOP City ครง้ั ท่ี 8
ผลการจ�าหนา่ ยผลติ ภณั ฑ ์ OTOP ป ี 2554
ไมน่ อ้ ยกวา่ 70,000 ลา้ นบาท และการจดั งาน
“OTOP ทว่ั ไทย รวมใจชว่ ยภยั นา�้ ทว่ ม”
(24 - 30 ธันวาคม 2554) ซ่ึงมียอดการจ�าหน่าย
สินค้า OTOP ภาพรวม รวมทัง้ ส้นิ 366,445,415 บาท
ยอดผเู้ ขา้ ชมงาน 498,564 คน

8 ค่มู อื การด�าเนินงานผผู้ ลิต ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจา� ปี 2558

ปี 2555 การด�าเนินการจัดงาน “ศิลปาชีพ ประทีปไทย OTOP ก้าวไกล ด้วยพระบารมี”

โดยนา� ผลติ ภณั ฑศ์ ลิ ปาชพี มารว่ มแสดงและจา� หนา่ ยกบั สนิ คา้ OTOP ระดบั 3 - 5 ดาว เปน็ ครงั้ แรก ในระหวา่ ง
วนั ท ่ี 21 - 27 กมุ ภาพนั ธ ์ 2555 ณ อาคารชาเลนเจอร ์ 1 - 3 อมิ แพค็ เมอื งทองธาน ี อา� เภอปากเกรด็ จงั หวดั นนทบรุ ี
ซึ่งมียอดการจ�าหนา่ ยสินค้าจา� นวน 2,124 บทู 2,926 กล่มุ ยอดจา� หน่ายรวมทงั้ สิ้น 663,892,697 บาท และ
รวมยอดประมาณการมูลค่าการเจรจาท�าธุรกิจร่วมกันระหว่าง
นักธุรกิจกับผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ตามโครงการ
สร้างนักธรุ กจิ OTOP จา� นวน 120,700,000 บาท
เปน็ เงนิ ท้งั ส้นิ 784,592,697 บาท

ปี 2556 กรมการพัฒนาชมุ ชนได้ด�าเนนิ งานภายใตน้ โยบายการสง่ เสรมิ การพาณิชย์เพือ่ เตรยี ม

ความพรอ้ มสู่ AEC โดยได้มีการจัดงานจา� หนา่ ยผลติ ภณั ฑ ์ OTOP เพ่ือเพ่มิ ช่องทางการจดั จา� หนา่ ยผลิตภัณฑ์
ในหลากหลายกิจกรรม เช่น การจดั งาน OTOP Midyear 2013 ระหวา่ งวันท่ี 28 พฤษภาคม - 2 มถิ นุ ายน
2556 ณ ศูนย์การแสดงสินคา้ และการประชุมอมิ แพค็ เมอื งทองธาน ี อ�าเภอปากเกรด็ จังหวัดนนทบรุ ี มียอด
การจ�าหนา่ ยสนิ คา้ จ�านวน 722,761,704 บาท การจัดงานเทศกาลอาหาร
OTOP และผลไม ้ จัดขนึ้ ระหวา่ งวนั ท ี่ 28 - 30 มิถนุ ายน 2556
ณ ศูนยก์ ารแสดงสินคา้ และการประชมุ อิมแพค็ เมอื งทองธาน ี
อ�าเภอปากเกร็ด จงั หวดั นนทบุรี โดยมยี อดการจา� หน่ายทง้ั ส้นิ
111,421,813 บาท การจดั งานศิลปาชพี ประทีปไทย OTOP
กา้ วไกล ดว้ ยพระบารม ี ระหวา่ งวนั ท ี่ 10 - 18 สงิ หาคม 2556
ณ ศนู ยก์ ารแสดงสนิ คา้ และการประชมุ อมิ แพค็ เมอื งทองธานี
อา� เภอปากเกรด็ จงั หวดั นนทบรุ ี ซง่ึ มยี อดการจา� หนา่ ยรวม
820,461,105 บาท และจดั การงาน OTOP เพอื่ สุขภาพ
ระหวา่ ง 22 - 28 ตุลาคม 2556 ณ ศนู ย์การแสดงสินค้าและ
การประชมุ อมิ แพ็ค เมืองทองธานี อ�าเภอปากเกรด็ จังหวัดนนทบรุ ี
ซงึ่ มียอดจา� หน่ายผลิตภณั ฑ์รวมทั้งส้ิน 416,505,387 บาท เปน็ ต้น

คู่มือการด�าเนนิ งานผูผ้ ลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจา� ป ี 2558 9

ปี 2557 ดา� เนนิ การภายใตน้ โยบายสง่ เสรมิ การพาณชิ ยอ์ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยการดา� เนนิ การจดั งาน

จา� หนา่ ยผลติ ภณั ฑจ์ ากภมู ปิ ญั ญาดงั น ้ี 1) การจดั งาน OTOP CITY 2013 ในระหวา่ งวนั ท ี่ 29 มกราคม - 6 กมุ ภาพนั ธ ์
2557 ณ อาคารชาเลนเจอร ์ 1 - 3 อมิ แพ็ค เมืองทองธาน ี อ�าเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบรุ ี ยอดจ�าหนา่ ยรวม
ทงั้ สิ้น 845,918,536 บาท 2) การจัดงาน OTOP Midyear 2014 ระหว่างวนั ที่ 26 พฤษภาคม - 1 มถิ นุ ายน
2557 ณ ศนู ยก์ ารแสดงสินค้าและการประชมุ อิมแพค็ เมืองทองธานี อา� เภอปากเกรด็ จังหวัดนนทบุรี มียอด
การจ�าหน่ายสนิ คา้ จ�านวน 926,497,786 บาท 3) การจดั งานศิลปาชพี ประทปี ไทย OTOP กา้ วไกล ดว้ ยพระ
บารม ี ระหว่างวันที่ 11 - 19 สงิ หาคม 2557 ณ ศูนย์การแสดงสนิ ค้าและการประชมุ อิมแพ็ค เมืองทองธานี
อา� เภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุร ี มยี อดการจา� หน่ายรวม 972,129,199 บาท 4) การจัดงาน OTOP ภูมภิ าค
ในจงั หวดั ตา่ ง ๆ จา� นวน 10 แหง่ มยี อดการจา� หนา่ ยรวม 422,601,133 บาท และ 5) การจดั งาน OTOP CITY
2014 ระหวา่ งวนั ท ่ี 16 – 24 ธนั วาคม 2557 ณ อาคารชาเลนเจอร ์ 1 - 3 อมิ แพค็ เมอื งทองธาน ี อา� เภอปากเกรด็
จงั หวัดนนทบุรี มยี อดจา� หน่ายทั้งส้นิ 1,004,530,299 บาท

10 คู่มือการด�าเนินงานผู้ผลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าป ี 2558

ปี 2558 ด�าเนนิ การส่งเสรมิ การสรา้ งงานสรา้ งรายได้ชมุ ชน โดยการสร้างผู้ประกอบการร่นุ ใหม ่

และการสรา้ งรายไดจ้ ากการจา� หนา่ ยผลิตภัณฑ ์ OTOP เพ่มิ ข้นึ เป็น 1 แสนล้านบาท ในปี 2558 ผลติ ภณั ฑ ์
OTOP มมี าตรฐานสูงขึ้น และมีมลู คา่ เพ่ิมข้นึ จากการพัฒนานวตั กรรม

2. ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาโครงการหนง่ึ ตา� บล หนึง่ ผลติ ภณั ฑ์ (ปี 2556 - 2558)

กรมการพฒั นาชมุ ชน มภี ารกจิ ในการสง่ เสรมิ และ การตลาด รวมทั้งเป็นคณะอนุกรรมการพัฒนา
พัฒนาเศรษฐกิจชุมชนฐานรากให้มีความมั่นคง โดย ผลิตภัณฑ์อาหารและเคร่ืองด่ืม คณะอนุกรรมการ
สง่ เสรมิ กระบวนการเรยี นร ู้ การพฒั นาอาชพี การพฒั นา พฒั นาผลติ ภณั ฑผ์ า้ และเครอ่ื งแตง่ กาย คณะอนกุ รรมการ
ผลติ ภณั ฑท์ เี่ กดิ จากภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ และการมสี ว่ นรว่ ม พฒั นาผลติ ภณั ฑข์ องใชแ้ ละของทรี่ ะลกึ คณะอนกุ รรมการ
ของประชาชนในการสรา้ งงานสรา้ ง รายไดใ้ หแ้ กช่ มุ ชน พัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรท่ีไม่ใช่อาหาร และเป็น
เชื่อมโยงไปสู่การด�าเนินงานโครงการ OTOP ซ่ึง อนกุ รรมการหนงึ่ ตา� บล หนง่ึ ผลติ ภณั ฑร์ ะดบั ภมู ภิ าค
ในฐานะท่ีกรมการพัฒนาชุมชนได้รับมอบหมายให้ พฒั นาการจงั หวดั เปน็ อนกุ รรมการ/เลขานกุ ารในคณะ
รบั ผิดชอบ ด�าเนินการส่งเสริมการดา� เนนิ งาน OTOP อนกุ รรมการหนึ่งต�าบล หนึ่งผลิตภณั ฑร์ ะดับจงั หวัด
ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2544 จนถึงปัจจุบัน โดยอธิบดีกรม ตามค�าส่ังคณะกรรมการอ�านวยการหนึ่งต�าบล
การพฒั นาชมุ ชน เป็นกรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ หนง่ึ ผลติ ภัณฑ์แหง่ ชาติ (กอ.นตผ) พ.ศ. 2556
ในคณะกรรมการอา� นวยการหนงึ่ ตา� บล หนงึ่ ผลติ ภณั ฑ ์
แห่งชาติ (กอ.นตผ) เป็นคณะอนุกรรมการพัฒนา

คมู่ อื การดา� เนินงานผผู้ ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าป ี 2558 11

ยทุ ธศาสตร์การพัฒนา OTOP

การดา� เนนิ การเชงิ ยทุ ธศาสตรใ์ นการเชื่อมโยงการบริหารจัดการโครงการหน่งึ ต�าบล หน่งึ ผลติ ภณั ฑ์ให้
มศี กั ยภาพ ดว้ ยการสนบั สนนุ ใหช้ มุ ชน วสิ าหกจิ ชมุ ชนใชท้ รพั ยากรและภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ผนวกกบั องคค์ วามร้ ู
สมยั ใหมเ่ พอื่ ยกระดบั มาตรฐานคณุ ภาพสนิ คา้ และบรกิ าร การเขา้ ถงึ แหลง่ ทนุ และการตลาดเชงิ รกุ ทง้ั ในประเทศ
และตา่ งประเทศ โดยมแี นวคดิ พนื้ ฐาน 3 ประการ คอื ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ สสู่ ากล พงึ่ ตนเองและคดิ อยา่ งสรา้ งสรรค์
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพ่ือสร้างงานและเพ่ิมรายได้ให้แก่ชุมชน เสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชน
สรา้ งเศรษฐกจิ ฐานรากใหม้ ่ันคง

12 คู่มอื การด�าเนินงานผ้ผู ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558

แนวคดิ ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นา OTOP (พ.ศ. 2556 - 2558)

ยุทธศาสตร์การพฒั นา OTOP (พ.ศ. 2556 - 2558)

เป้าหมาย ปี 2558 ตวั ช้ีวัด

1. สรา้ งผ้ปู ระกอบการรุ่นใหม่ 1. จา� นวนผูป้ ระกอบการรนุ่ ใหมเ่ พิม่ ข้นึ (อายุเฉลยี่ ผูป้ ระกอบการตลาด)
2. สรา้ งงาน สร้างรายไดช้ ุมชน 2. รายได้จากการจ�าหน่าย OTOP เพ่มิ ขน้ึ 1 แสนล้านในปี 2558
3. เครอื ข่ายชุมชนเข้มแขง็ 3. จ�านวนสมาชิกเครือข่ายชมุ ชนเพม่ิ ข้ึน
4. OTOP กา้ วไกลสูส่ ากล 4. สัดสว่ นมลู คา่ การสง่ ออก OTOP ต่อจา� นวนสนิ คา้ ทผ่ี ลติ ได้ทง้ั หมด
5. ผลติ ภัณฑม์ ีมาตรฐานสงู ข้ึน เพิม่ ขน้ึ เปน็ รอ้ ยละ 12 ในปี 2558
6. ผลติ ภัณฑ์มีมลู ค่าเพมิ่ สงู ขน้ึ 5. จ�านวนผลติ ภณั ฑ์ OTOP ได้รบั การรบั รองมาตรฐานเพมิ่ ขน้ึ
จากการพัฒนานวตั กรรม รอ้ ยละ 5 ตอ่ ปี
6. 1) จา� นวนสนิ ค้า OTOP ทจ่ี ดทะเบยี น IP/GI เพิ่มข้นึ
2) จ�านวนสนิ ค้าทมี่ กี ารวิจัยและพัฒนาสรา้ งนวตั กรรมไปสู่เชิง
พาณิชยเ์ พิม่ ขนึ้

คมู่ ือการดา� เนินงานผูผ้ ลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ป ี 2558 13

14 ค่มู อื การดา� เนินงานผ้ผู ลิต ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจ�าป ี 2558

สว่ นท่ี 2

กำรสง่ เสริมภมู ปิ ญั ญำท้องถิน่ และวิสำหกิจชมุ ชน

1. การลงทะเบยี น ผูผ้ ลติ ผู้ประกอบการ OTOP
2. ศนู ย์บริการสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ฐานราก
3. การดา� เนนิ งานเครือข่าย OTOP
4. โครงการหมบู่ า้ น OTOP เพอ่ื การท่องเที่ยว
5. การพัฒนาเยาวชนเพอ่ื การอนุรักษ์และสบื สานภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ิน
6. การคัดสรรสดุ ยอดหน่ึงต�าบล หน่งึ ผลติ ภัณฑไ์ ทย ป ี พ.ศ. 2559
7. โครงการสง่ เสรมิ กระบวนการเครอื ขา่ ยองคค์ วามรู้
(Knowledge – Based OTOP : KBO) ส่เู ศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์
8. การพฒั นาผลติ ภัณฑ ์ OTOP ตามการจัดกลมุ่ Quadrant ( A B C D )

ค่มู ือการดา� เนนิ งานผผู้ ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจ�าป ี 2558 15

2สว่ นท่ี

การส่งเสรมิ ภมู ิปญั ญาท้องถิน่ และวสิ าหกิจชุมชน

1. การลงทะเบยี น ผู้ผลติ ผู้ประกอบการ OTOP

ความเป็นมา

กรมการพัฒนาชุมชนได้รับมอบหมายในการจัดท�าฐานข้อมูลผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP เพื่อตรวจ
สอบความถกู ต้องและเพม่ิ เตมิ ขอ้ มลู ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ท้งั รายเดิมทเี่ คยผา่ นการลงทะเบียนผูผ้ ลิต
ผ้ปู ระกอบการ OTOP และผู้ผลติ ผปู้ ระกอบการรายใหม ่ เพอื่ ให้ไดข้ ้อมูลท่เี ป็นปจั จุบัน สามารถใชป้ ระโยชน์
ในการส่งเสรมิ การดา� เนนิ งานได้ จึงไดด้ �าเนินการลงทะเบียนผ้ผู ลิต ผู้ประกอบการ OTOP ทกุ ๆ 2 ป ี โดย
ด�าเนินการมาต้ังแต่ปี พ.ศ. 2547 - 2555 และในปี พ.ศ. 2557 ได้มีการเปล่ียนแปลงระยะเวลาในการ
ลงทะเบยี นผ้ผู ลติ ผู้ประกอบการ OTOP เปน็ การลงทะเบียนทุกปี โดยก�าหนดหว้ งระยะเวลาการลงทะเบียน
เป็นรายไตรมาส
วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่ือจัดท�าฐานข้อมูลผูผ้ ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP ให้เป็นปจั จุบนั
2. เพอื่ ใชป้ ระโยชนใ์ นการก�าหนดแผนการส่งเสริมและพัฒนาได้อย่างเหมาะสม
ขั้นตอนการดา� เนนิ โครงการลงทะเบียนผู้ผลติ ผูป้ ระกอบการ OTOP
1. ประชาสัมพนั ธก์ ารลงทะเบียนผ้ผู ลิต ผ้ปู ระกอบการ OTOP
2. จดั ประชุมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารผแู้ ทนหน่วยงาน
ที่เกยี่ วข้องเพือ่ รา่ งหลักเกณฑก์ ารลงทะเบยี นผ้ผู ลิต
ผปู้ ระกอบการ OTOP
3. ปรับปรงุ หลกั เกณฑ์และคู่มือการลงทะเบยี นผู้ผลติ
ผปู้ ระกอบการ OTOP
4. ปรบั ปรงุ /พฒั นาระบบโปรแกรมการลงทะเบยี น
และรายงานผลการลงทะเบยี นผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP
5. ฝึกอบรมการใช้โปรแกรมการลงทะเบียน
แก่เจ้าหน้าท่ผี ูร้ ับผิดชอบ (จังหวัด/กรุงเทพมหานคร)
6. สร้างความเขา้ ใจในการดา� เนินงานแกอ่ า� เภอ/จงั หวดั /กรงุ เทพมหานคร

16 คู่มอื การด�าเนินงานผูผ้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ป ี 2558

7. ด�าเนินการลงทะเบียน/บันทึกข้อมูล/ให้ความเหน็ ชอบ/สง่ ขอ้ มูลใหจ้ ังหวดั
7.1 อา� เภอ/ส�านกั งานเขต (กรงุ เทพมหานคร)
7.2 นตผ.อ�าเภอ/คณะกรรมการระดับอา� เภอทไ่ี ด้รบั มอบหมายใหค้ วามเห็นชอบ
8. ใหก้ ารรับรอง/กรมการพัฒนาชุมชนตรวจทานขอ้ มลู รว่ มกับจงั หวัด/กรงุ เทพมหานคร
9. ติดตามประเมนิ ผล
10. กรมการพฒั นาชุมชนตรวจสอบ/ประมวลผล/
จัดทา� ฐานขอ้ มลู เป็นรายไตรมาส
11. กรมการพฒั นาชมุ ชนจดั ท�าสรุปผล
การดา� เนนิ งานโครงการลงทะเบียนผู้ผลติ
ผู้ประกอบการ OTOP เปน็ รายไตรมาส
12. ประชาสมั พันธเ์ ผยแพรข่ ้อมูลและ
นา� ไปใช้ประโยชน ์
กลมุ่ เป้าหมาย
กล่มุ เปา้ หมายในการลงทะเบยี นผู้ผลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP ได้แก่ กลุ่มผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ ทผี่ ลติ
สินค้า OTOP รายเดมิ ที่เคยลงทะเบยี น และผู้ผลิต ผปู้ ระกอบการ ทีผ่ ลิตสินคา้ OTOP รายใหม ่ ยังไม่เคย
ลงทะเบยี นเป็นผู้ผลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP
หลักเกณฑ์การลงทะเบยี น

1. ลักษณะและคณุ สมบัตขิ องผผู้ ลิต ผู้ประกอบการ ที่มีสิทธิลงทะเบยี น
1.1 เป็นผผู้ ลติ ดงั ต่อไปน้ี
1.1.1 เป็นกลุ่มผู้ผลิตชุมชน
1.1.2 เปน็ ผผู้ ลติ ชุมชนที่เปน็ เจา้ ของรายเดียว
1.1.3 เป็นผูผ้ ลติ ทีเ่ ปน็ วสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม

ผ้ผู ลิต ผู้ประกอบการท่จี ะลงทะเบียน ให้ใชท้ ตี่ ั้งของสถานที่ผลติ เปน็ หลกั ในการยน่ื
ซองขอลงทะเบียน โดยผ่านการรับรองจากประธานเครือข่าย OTOP อ�าเภอ/ผู้แทน หรือ
ประธานชุมชนของเขต (กรุงเทพมหานคร)/ผแู้ ทน วา่ ไดด้ �าเนนิ การผลิตในพน้ื ทีน่ นั้ จริง

คู่มือการดา� เนินงานผู้ผลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจา� ปี 2558 17

1.2 กลมุ่ เปา้ หมายตามขอ้ 1.1.1 ตอ้ งมคี วามเชอื่ มโยงกบั ชมุ ชน โดยเขา้ เกณฑข์ อ้ ใดขอ้ หนง่ึ ตอ่ ไปน้ี
1.2.1 ชุมชนมีส่วนร่วมในการผลิต เช่น ใช้แรงงานในชุมชน (ภายในจังหวดั ท่ีขอลงทะเบียน) มี
การใชว้ ตั ถุดบิ การผลิตในชุมชน เป็นต้น
1.2.2 ชุมชนมีส่วนรว่ มในการบริหารจดั การ
1.2.3 ชุมชนไดร้ บั ประโยชน์
1.3 สถานท่ีผลิตของกลุ่มเป้าหมายตามข้อ 1.1.1 ต้องต้ังอยู่ภายในอ�าเภอ/เขต (กรุงเทพมหานคร)
ท่ีขอลงทะเบยี น
1.4 ผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการและสมาชกิ กลมุ่ ต้องมสี ัญชาตไิ ทย
1.5 กรณีส่งตวั แทนมาแจง้ การลงทะเบยี นจะต้องเป็นผไู้ ด้รับมอบอ�านาจ (มีเอกสารมอบอา� นาจ)

2. ลกั ษณะผลติ ภณั ฑ์ หนงึ่ ต�าบล หน่งึ ผลติ ภณั ฑ์ ทสี่ ามารถลงทะเบียนได้ตอ้ งแสดงถงึ ภูมปิ ัญญาไทย
และมลี กั ษณะดงั น้ี
2.1 วตั ถุดิบทีน่ �ามาผลติ ตอ้ งไมผ่ ิดกฎหมาย
2.2 ไม่เป็นสินค้าทเ่ี ลียนแบบ ดัดแปลง น�าเข้า หรอื น�าเขา้ เพ่อื ดัดแปลงหรอื ละเมิดทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา

18 คูม่ อื การดา� เนินงานผูผ้ ลติ ผูป้ ระกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจ�าป ี 2558

2.3 ไมเ่ ป็นสินคา้ ที่กอ่ อนั ตรายอย่างร้ายแรงต่อชุมชนหรอื ส่งิ แวดล้อม รวมทง้ั ไมข่ ดั ตอ่ ขนบธรรมเนียม
ประเพณวี ัฒนธรรมอนั ดขี องไทย
2.4 กรณเี ปน็ ผลิตภัณฑ์ท่ีมีกฎหมายบงั คบั ตอ้ งได้รับอนุญาตให้ผลิต

3. ประเภทผลติ ภณั ฑ์ หน่ึงต�าบล หนึง่ ผลติ ภัณฑ์
ผลติ ภณั ฑท์ จ่ี ะนา� มาดา� เนนิ การลงทะเบยี น ตอ้ งผา่ นกระบวนการผลติ โดยใชภ้ มู ปิ ญั ญา จา� แนก 5 ประเภท
ดังน้ี
3.1 ประเภทอาหาร หมายถงึ ผลผลติ ทางการเกษตรและอาหารแปรรปู ซงึ่ ไดร้ บั มาตรฐาน อย., GAP,
GMP, HACCP, Qmark, มผช., มอก., มาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ์, ฮาลาล และมีบรรจุภณั ฑ์ เพอ่ื การจ�าหน่าย
ทวั่ ไป แบง่ เปน็ 3 กลุม่ ดังนี้
3.1.1 ผลิตผลทางการเกษตรท่ใี ช้บริโภคสด
3.1.2 ผลติ ผลทางการเกษตรที่เปน็ วตั ถุดบิ และผา่ นกระบวนการแปรรูปเบือ้ งตน้
3.1.3 อาหารแปรรปู ก่งึ ส�าเรจ็ รูป/สา� เรจ็ รปู
3.2 ประเภทเครอื่ งดมื่ แบ่งเปน็ 2 กลมุ่
3.2.1 เคร่อื งด่ืมที่มีแอลกอฮอล ์
3.2.2 เคร่ืองด่ืมที่ไม่มแี อลกอฮอล์
3.3 ประเภทผา้ เครือ่ งแต่งกาย แบ่งเปน็ 2 กลุ่ม
3.3.1 ผา้
3.3.2 เครอื่ งแตง่ กาย
3.4 ประเภทของใช/้ ของตกแตง่ /ของท่ีระลกึ แบ่งเป็น 7 กลมุ่
3.4.1 ไม ้
3.4.2 จักสาน
3.4.3 ดอกไมป้ ระดิษฐ/์ วัสดุจากเสน้ ใยธรรมชาติ
3.4.4 โลหะ
3.4.5 เซรามิค/เคร่อื งปน้ั ดินเผา
3.4.6 เคหะสง่ิ ทอ
3.4.7 อนื่ ๆ
3.5 ประเภทสมนุ ไพรทีไ่ มใ่ ชอ่ าหาร แบ่งเปน็ 3 กลมุ่
3.5.1 ยาจากสมนุ ไพร
3.5.2 เครื่องส�าอางสมุนไพร
3.5.3 วตั ถอุ นั ตรายทีใ่ ช้ในบ้านเรอื น

คูม่ อื การด�าเนินงานผูผ้ ลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ป ี 2558 19

4. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ท่ไี ดร้ ับการรบั รองจากทางราชการ
ในการลงทะเบยี น หากผลิตภัณฑไ์ ดร้ บั การรบั รองมาตรฐานจากทางราชการ ให้ผมู้ าลงทะเบียน
ไดน้ า� ใบรบั รองมาตรฐานจากทางราชการมาด้วย เพ่อื กรอกข้อมลู และแสดงตอ่ เจา้ หนา้ ทีผ่ รู้ ับลงทะเบยี น ใน
กรณีที่อยู่ระหว่างการด�าเนินการยื่นขอการรับรองให้น�าเอกสารที่แสดงรายละเอียดการยื่นขอดังกล่าวมา
ประกอบด้วย
วธิ กี ารลงทะเบยี น
1. ลงทะเบียนเป็นรายผู้ผลิต ผู้ประกอบการ โดยให้หัวหน้ากลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ หรือ ผู้แทน
ทไ่ี ด้รบั มอบอ�านาจ เปน็ ผูย้ ่นื แบบลงทะเบียน
2. การรับลงทะเบยี น จะดา� เนนิ การภายในระยะเวลาทป่ี ระกาศหรือก�าหนดเท่านนั้ โดยก�าหนดใหร้ บั
ลงทะเบยี นเป็นไตรมาส ด�าเนินการไตรมาสที ่ 1 – 4
3. เอกสารประกอบการลงทะเบียน ให้น�าท้ังเอกสารจริงและถ่ายส�าเนา ส�าหรับเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ
หมายเลขเอกสาร/หลักฐาน ใหต้ รงกับขอ้ มลู ท่กี รอก ไดแ้ ก่
3.1 ส�าเนาบัตรประชาชน และทะเบยี นบ้านของผ้ยู ่นื ลงทะเบียน
3.2 หนงั สือมอบอ�านาจจากกลุ่มผู้ผลติ ผูป้ ระกอบการ
3.3 ภาพถา่ ยผลิตภัณฑ์ทกุ ประเภท ทจ่ี ะลงทะเบียน ขนาด 4” x 6” หรือ ไฟลภ์ าพดิจติ อล
3.4 เอกสารอนุญาตใหท้ �าการผลิต กรณมี ีกฎหมายก�าหนด
3.5 หนงั สอื รบั รองมาตรฐานผลติ ภณั ฑท์ จี่ ะแจง้ ในแบบลงทะเบยี น (ถา้ ม)ี เพอื่ ใหเ้ จา้ หนา้ ทต่ี รวจสอบ
ชอ่ื กล่มุ ช่อื ผลติ ภณั ฑ ์ และเลขที่ก�ากับใบรบั รองมาตรฐาน
3.6 เอกสารตามข้อ 3.3.1 – 3.3.4 ใหอ้ า� เภอเกบ็ ไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน
3.7 ใหป้ ระธานเครอื ขา่ ย OTOP ระดบั อา� เภอ/ผแู้ ทน หรอื ประธานชมุ ชนของเขต (กรงุ เทพมหานคร)
/ผ้แู ทน รับรองวา่ เปน็ ผลิตภัณฑ ์ OTOP ทผี่ ลติ ในพืน้ ที่ที่รบั ลงทะเบียนจริง
ขนั้ ตอนการลงทะเบียน

1. กลมุ่ ผู้ผลติ ผ้ปู ระกอบการ
ขอรบั แบบฟอรม์ กรอกขอ้ มลู ใหถ้ ูกต้อง ครบถว้ น และยืน่ ขอลงทะเบียนได้ ณ ท่วี า่ การอา� เภอ /เขต
(กรงุ เทพมหานคร) ทเ่ี ป็นท่ีตัง้ ของกลุ่มผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ

2. อ�าเภอ / สา� นักงานเขต (กรงุ เทพมหานคร)
2.1 เจา้ หนา้ ทผ่ี รู้ ับลงทะเบียน รับค�าร้อง ตรวจสอบความครบถ้วนถูกต้องของขอ้ มูล และเอกสาร
ประกอบ
2.2 บนั ทกึ ขอ้ มลู ของกลมุ่ เปา้ หมายทม่ี ายนื่ ขอลงทะเบยี นในโปรแกรม (บนั ทกึ เฉพาะขอ้ มลู ทถี่ กู ตอ้ ง)
2.3 พมิ พ์หลกั ฐานการรบั ลงทะเบยี นมอบใหผ้ ู้ลงทะเบียนเกบ็ ไว้เปน็ หลกั ฐาน
2.4 จัดการประชมุ คณะกรรมการ ทีอ่ �าเภอ/เขต (กรุงเทพมหานคร) แต่งตั้ง เพื่อพจิ ารณาใหค้ วาม
เหน็ ชอบ
2.5 แจ้งขอ้ มลู การลงทะเบยี นและผลการพิจารณาใหค้ วามเห็นชอบ ใหจ้ งั หวดั /กรุงเทพมหานคร

20 คู่มอื การดา� เนินงานผผู้ ลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558

3. จงั หวดั / กรงุ เทพมหานคร
3.1 จดั การประชุมคณะกรรมการ ท่จี งั หวดั /กรุงเทพมหานคร แตง่ ตัง้ เพ่ือพิจารณารบั รอง ให้ขน้ึ
ทะเบยี นเปน็ ผู้ผลิต ผ้ปู ระกอบการ OTOP
3.2 ตรวจสอบข้อมลู ร่วมกบั กรมการพัฒนาชุมชนเพ่ือยืนยนั ข้อมูล

4. กรมการพัฒนาชมุ ชน
4.1 ตรวจสอบขอ้ มลู ผไู้ ดร้ บั การรบั รองใหข้ นึ้ ทะเบยี นเปน็ ผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP ของจงั หวดั /
กรงุ เทพมหานคร ในกรณที ต่ี รวจสอบแลว้ เห็นว่ามีบางรายไม่ใชผ่ ้ผู ลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP กรมการพัฒนา
ชุมชน จะแจ้งให้จังหวัด/กรุงเทพมหานคร ด�าเนินการเพิกถอนการเป็นผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ต่อไป
4.2 ด�าเนนิ การจดั ทา� ฐานขอ้ มูลผผู้ ลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP เพื่อใช้ประโยชน์ในการด�าเนินงาน
โครงการหนงึ่ ตา� บล หนึง่ ผลติ ภัณฑ์ (OTOP)
4.3 กรมการพัฒนาชมุ ชนประกาศรับรองขอ้ มูลการลงทะเบียนผผู้ ลิต ผ้ปู ระกอบการ OTOP เปน็
รายไตรมาส (ไตรมาสท ี่ 1 – 4) และเผยแพรข่ ้อมูลผู้ผลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP เพ่ือให้หน่วยงานและผู้สนใจ
ใชป้ ระโยชนข์ องข้อมูลต่อไป
ผลการลงทะเบยี นผู้ผลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP

1. ผลการลงทะเบยี นผู้ผลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP ปี 2547 จ�านวนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP
ทล่ี งทะเบยี น ป ี 2547 จา� นวนรวมทง้ั สนิ้ 35,179 ราย จา� แนกเปน็ 1) กลมุ่ ผผู้ ลติ ชมุ ชน จา� นวน 24,767 ราย
2) ผู้ประกอบการ SMEs จา� นวน 10,412 ราย โดยในปี 2547 ไดก้ า� หนดรวมผ้ปู ระกอบการรายเดียวเป็น
ประเภทเดยี วกับผู้ประกอบการ SMEs

คูม่ อื การดา� เนนิ งานผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจา� ป ี 2558 21

2. ผลการลงทะเบยี นผูผ้ ลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP ปี 2549
2.1 จ�านวนผผู้ ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP ทีล่ งทะเบยี น ป ี 2549

ประเภท จา� นวนผ้ปู ระกอบการท่ีขนึ้ ทะเบยี นผู้ผลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP ปี 2549 (ราย)

รายเดมิ ผลติ ภัณฑเ์ ดมิ รายเดมิ ผลติ ภัณฑ์ใหม่ รายใหม่ รวม

กลมุ่ ผูผ้ ลิตชุมชน 10,326 6,389 8,689 25,404

ผู้ผลิตชุมชนทเ่ี ป็นเจา้ ของ 3,350 2,144 4,699 10,193
รายเดียว

ผู้ผลิตที่เป็นวิสาหกิจขนาด 1,217 623 403 2,243
กลางและขนาดยอ่ ม (SMEs)

รวมท้งั สิน้ 14,893 9,156 13,791 37,840

2.2 จ�านวนผลิตภณั ฑท์ ีล่ งทะเบยี นผู้ผลติ ผู้ประกอบการ OTOP ปี 2549

จ�านวนผลิตภณั ฑท์ ่ขี นึ้ ทะเบยี นผผู้ ลิต ผ้ปู ระกอบการ OTOP ปี 2549 (ผลิตภัณฑ์)

ประเภทผปู้ ระกอบการ อาหาร เครอื่ งดื่ม ผา้ เครอ่ื ง ของใชฯ้ สมนุ ไพรฯ รวม
แตง่ กาย
กลุม่ ผ้ผู ลิตชมุ ชน
ผ้ผู ลติ ชมุ ชนทเ่ี ปน็ เจา้ ของ 12,536 1,891 14,687 17,668 4,093 50,875
รายเดยี ว
ผู้ผลิตที่เป็นวิสาหกิจขนาด 6,058 1,088 3,506 8,292 2,120 21,064
กลางและขนาดยอ่ ม (SMEs)
1,157 764 752 1,791 473 4,937
รวมทัง้ ส้ิน
19,750 3,743 18,945 27,751 6,686 76,876

22 คู่มอื การดา� เนินงานผู้ผลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าป ี 2558

3. ผลการลงทะเบยี นผู้ผลติ ผู้ประกอบการ OTOP ปี 2551
3.1 จา� นวนผผู้ ลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP ท่ลี งทะเบียน ป ี 2551

ประเภทผู้ประกอบการ จ�านวนผปู้ ระกอบการท่ขี ้นึ ทะเบยี นผู้ผลติ ผู้ประกอบการ OTOP ปี 2551 (ราย)

กลุ่มผผู้ ลติ ชมุ ชน รายเดิมผลติ ภัณฑ์เดมิ รายเดมิ ผลติ ภณั ฑใ์ หม่ รวม
ผผู้ ลติ ชมุ ชนทเี่ ปน็ เจา้ ของราย
เดียว 13,838 7,731 21,569
ผู้ผลิตที่เป็นวิสาหกิจขนาด
กลางและขนาดยอ่ ม (SMEs) 4,616 4,858 9,474

รวมท้งั สิ้น 558 197 755
19,012 12,786 31,798

3.2 จา� นวนผลติ ภัณฑ์ทลี่ งทะเบียนผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP ปี 2551

ประเภทผ้ปู ระกอบการ จา� นวนผลิตภัณฑ์ทข่ี น้ึ ทะเบียนผผู้ ลติ ผู้ประกอบการ OTOP ปี พ.ศ. 2551
(ผลิตภัณฑ)์
กลุม่ ผูผ้ ลติ ชมุ ชน
ผูผ้ ลติ ชุมชนทีเ่ ป็นเจ้าของ อาหาร เครื่องดมื่ ผา้ เครื่องแตง่ กาย ของใชฯ้ สมนุ ไพรฯ รวม
รายเดยี ว
ผู้ผลิตท่ีเป็นวิสาหกิจขนาด 11,445 1,315 12,812 17,087 3,899 46,588
กลางและขนาดยอ่ ม (SMEs)
6,238 791 3,221 7,428 2,691 20,369
รวมทัง้ สิน้
850 338 168 530 374 2,260
18,533 2,444 16,231 25,045 6,964 69,217

คมู่ อื การดา� เนนิ งานผู้ผลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจ�าปี 2558 23

4. ผลการลงทะเบยี นผ้ผู ลติ ผู้ประกอบการ OTOP ปี 2553
4.1 จา� นวนผูผ้ ลติ ผูป้ ระกอบการ OTOP ท่ลี งทะเบยี น ปี 2553

ประเภทผปู้ ระกอบการ จ�านวนผปู้ ระกอบการทข่ี ึ้นทะเบยี นผผู้ ลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP ปี 2553 (ราย)

กล่มุ ผผู้ ลติ ชุมชน รายเดมิ รายใหม่ รวม
ผู้ผลิตชมุ ชนทีเ่ ป็นเจ้าของ
รายเดยี ว 16,362 5,837 22,199
ผู้ผลิตที่เป็นวิสาหกิจขนาด
กลางและขนาดยอ่ ม (SMEs) 6,151 4,152 10,303

รวมท้งั สิ้น 574 152 726
23,087 10,141 33,228

4.2 จา� นวนผลติ ภัณฑท์ ่ีลงทะเบียนผูผ้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP ปี 2553

ขอ้ มลู การลงทะเบียนผผู้ ลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP ประจ�าปี 2553

จ�าแนกข้อมูลตามประเภทผลิตภัณฑ์
หนว่ ยนับ : ผลติ ภณั ฑ์

ท่ี ประเภทผลติ ภัณฑ์ ปี 2553

1 อาหาร 20,330

2 เครอื่ งดมื่ 3,073

3 ผา้ เคร่อื งแต่งกาย 21,386

4 ของใช/้ ของตกแต่ง/ของท่รี ะลกึ 31,334

5 สมุนไพรท่ไี มใ่ ช่อาหาร 9,050

รวมทงั้ สิ้น 85,173

24 ค่มู อื การดา� เนนิ งานผ้ผู ลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจา� ป ี 2558

5. ผลการลงทะเบยี นผ้ผู ลิต ผู้ประกอบการ OTOP ปี 2555

5.1 จ�านวนผผู้ ลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP ทล่ี งทะเบียน ป ี 2555

ขอ้ มูลการลงทะเบยี นผู้ผลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP ปี 2555
จา� แนกข้อมูลตามประเภทผู้ผลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รายเดมิ และรายใหม่

หน่วยนับ : กล่มุ /ราย

ปี 2555

ท่ี ประเภทผู้ผลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP ปี 2553 รวม รายเดมิ รายใหม่ เพ่มิ ข้นึ /ลดลง
(-)

1 กลมุ่ ผผู้ ลติ ชมุ ชน 22,199 24,327 34,714 9,613 2,128

2 ผผู้ ลิตชมุ ชนทเ่ี ป็นเจา้ ของรายเดียว 10,303 11,204 5,268 5 ,936 901
-165
3 ผผู้ ลติ ทเ่ี ป็นวิสาหกิจขนาดกลางและ 726 561 398 163 2,864
ขนาดยอ่ ม (SMEs)

ผผู้ ลิต ผู้ประกอบการ OTOP รวม 33,228 36,092 20,380 15,712

5.2 จ�านวนผลิตภณั ฑ์และผ้ผู ลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP ท่ลี งทะเบยี น ปี 2555

ที่ ประเภท จ�านวน อาหาร เครือ่ งดืม่ ผ้าฯ ของใชฯ้ สมนุ ไพรฯ รวม
1 กล่มุ ผ้ผู ลติ ชุมชน (ราย) (ผลิตภณั ฑ)์ (ผลติ ภณั ฑ)์ (ผลติ ภัณฑ์) (ผลิตภัณฑ)์ (ผลติ ภัณฑ)์ (ผลติ ภณั ฑ)์
24,327
11,267 1,378 12,363 17,922 4,149 47,079

2 ผู้ผลิตชุมชนที่เป็น 11,204 6,409 833 4,709 7,640 3,264 22,855
เจา้ ของรายเดียว

3 ผผู้ ลติ ทเ่ี ปน็ วสิ าหกจิ 561 724 254 124 251 452 1,805
ขนาดกลางและขนาด 7,865 71,739
ย่อม (SMEs)
รวม 36,092 18,400 2,465 17,196 25,813

ค่มู อื การด�าเนินงานผ้ผู ลิต ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจ�าป ี 2558 25

5.3 จ�านวนผลิตภณั ฑท์ ลี่ งทะเบยี น ปี 2555 แบง่ กลุม่ ตามประเภทและกลุ่มผลติ ภณั ฑ ์ 4 กลุ่ม

ท่ี กลุ่มผลิตภณั ฑ์ อาหาร เคร่ืองดื่ม ผ้าฯ ของใช้ฯ สมุนไพรฯ รวม
1 กลมุ่ ดาวเดน่ สสู่ ากล 1,568 372 1,315 1,447 985 5,687

2 กลมุ่ อนรุ ักษ ์ สร้างคณุ ค่า 1,196 155 5,889 7,147 781 15,168

3 กลุ่มพัฒนาสกู่ ารแขง่ ขัน 7,581 1,137 5,087 6,630 3,054 23,489

4 กลุม่ ปรบั ตวั สูก่ ารพัฒนา 8,055 801 4,905 10,589 3,045 27,395

รวมทัง้ สนิ้ 18,400 2,465 17,196 25,813 7,865 71,739

6. ผลการลงทะเบียนผผู้ ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP ปี 2557 – 2558 ไตรมาสท่ี 1
(เดอื นพฤศจิกายน – ธันวาคม 2557)
6.1 จ�านวนผู้ผลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP ที่ลงทะเบียน ปี 2557 -2558 ไตรมาสท่ ี 1
(เดอื นพฤศจิกายน – ธันวาคม 2557)

ขอ้ มลู การลงทะเบียนผผู้ ลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP ปี 2557-2558 ไตรมาสที่ 1
จา� แนกขอ้ มลู ตามประเภทผู้ผลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายเดิมและรายใหม่

หนว่ ยนบั : กลมุ่ /ราย

ปี 2557-2558

ที่ ประเภทผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP ปี 2555 รวม รายเดิม รายใหม่ เพม่ิ ขึ้น/ลด
ลง (-)

1 กลุ่มผู้ผลิตชมุ ชน 4,327 20,121 13,346 6,775 -4,206

2 ผูผ้ ลติ ชมุ ชนทเี่ ป็นเจา้ ของรายเดยี ว 1,204 10,768 5,404 5,364 -436

3 ผ้ผู ลิตที่เปน็ วสิ าหกิจขนาดกลาง 561 457 335 122 -104
และขนาดยอ่ ม (SMEs) 36,092 31,346 19,085 12,261 -4,746
ผู้ผลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP รวม

26 คมู่ อื การด�าเนนิ งานผ้ผู ลิต ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ป ี 2558

6.2 จ�านวนผลติ ภณั ฑท์ ีล่ งทะเบียน OTOP

ขอ้ มูลการลงทะเบยี นผผู้ ลิต ผ้ปู ระกอบการ OTOP ประจา� ปี 2557-2558 ไตรมาสท่ี 1
จ�าแนกข้อมูลตามประเภทผลิตภณั ฑ์

หน่วยนับ : ผลิตภัณฑ์

ที่ ประเภทผลติ ภณั ฑ์ ปี 2555 ปี 2557-2558 ลดลง

1 อาหาร 18,400 19,153 +753
2 เครอื่ งดื่ม 2,465 2,499 +34
3 ผ้า เครื่องแตง่ กาย 17,196 15,204 -1,992
4 ของใช้/ของตกแตง่ /ของทร่ี ะลกึ 25,813 20,171 -5,642
5 สมุนไพรท่ไี ม่ใช่อาหาร 7,865 7,737 -128
71,739 64,764 -6,975
รวมทั้งส้ิน

6.3 จา� นวนผลติ ภัณฑ์และผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP
ทลี่ งทะเบยี น ป ี 2557 – 2558 ไตรมาสท ี่ 1

ท่ี ประเภท จ�านวน อาหาร เคร่ืองด่ืม ผ้าฯ ของใช้ฯ สมนุ ไพรฯ รวม
1 กลมุ่ ผู้ผลติ ชุมชน (ราย) (ผลติ ภณั ฑ)์ (ผลติ ภณั ฑ์) (ผลติ ภณั ฑ์) (ผลติ ภณั ฑ์) (ผลติ ภัณฑ)์ (ผลิตภณั ฑ์)

20,121 11,068 1,334 10,054 13,779 4,213 40,448

2 ผู้ผลิตชุมชนท่ีเป็นเจ้าของ 10,768 7,467 946 5,025 6,205 3,088 22,731
รายเดยี ว

3 ผู้ผลิตท่ีเป็นวิสาหกิจขนาด 457 618 219 125 187 436 1,585
กลางและขนาดยอ่ ม (SMEs)

รวม 31,346 19,153 2,499 15,204 20,171 7,737 64,764

6.4 จ�านวนผลติ ภัณฑ์ท่ลี งทะเบยี น ปี 2557 – 2558 ไตรมาสที ่ 1
แบ่งกลมุ่ ตามประเภท 5 ผลิตภัณฑ์และกลุม่ ผลติ ภณั ฑ์ 4 กลุ่ม (A B C D)

ท่ี กล่มุ ผลติ ภณั ฑ์ อาหาร เคร่ืองดม่ื ผ้าฯ ของใช้ฯ สมนุ ไพรฯ รวม
1 กลุ่มดาวเด่นสู่สากล 2,108 472 1,017 1,025 1,228 5,850
36 2,689 2,210 171 5,339
2 กลุ่มอนรุ กั ษ์ สรา้ งคุณค่า 233 663 2,546 3,617 1,890 13,478
1,328 8,952 13,319 4,448 40,097
3 กลุ่มพฒั นาสู่การแข่งขนั 4,762
2,499 15,204 20,171 7,737 64,764
4 กลุ่มปรบั ตัวสู่การพฒั นา 12,050

รวมทัง้ สิน้ 19,153

คมู่ อื การดา� เนินงานผผู้ ลิต ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจา� ปี 2558 27

2. ศูนย์บรกิ ารส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก

รัฐบาลมีนโยบายในการพัฒนาโครงการท่ีเกิดจากศักยภาพของชุมชน และก่อให้เกิดรายได้อย่าง
ยง่ั ยนื โดยการเชือ่ มโยงการใชท้ รพั ยากรของรัฐ ทอ้ งถ่ิน และจงั หวัดเพอื่ เพิม่ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การ
ของสมาชกิ กลมุ่ อาชพี กลมุ่ ผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP กลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต กองทุนโครงการแก้ไข
ปญั หาความยากจน (กข.คจ.) ประจ�าหม่บู า้ น กองทนุ หมูบ่ า้ น และประชาชนในหมบู่ ้าน เพื่อใหแ้ ต่ละชุมชน
สามารถใช้ทรัพยากรและภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการพัฒนาอาชีพ โดยรัฐบาลให้การสนับสนุน
องคค์ วามรกู้ ารเขา้ ถงึ แหลง่ ทุน และพัฒนาขีดความสามารถการบรหิ ารจัดการในการประกอบอาชีพ
กรมการพัฒนาชุมชน ได้ก�าหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนให้เข้มแข็ง โดยมี
เป้าประสงค์ คือ ประชาชนในหมบู่ ้านมคี วามมนั่ คงทางเศรษฐกิจ โดยใชก้ ลยทุ ธ์ทส่ี า� คัญ คือ บูรณาการส่งเสริม
เศรษฐกิจชุมชนด้วยหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ดังน้ัน เพื่อเป็นการขับเคลื่อนกลยุทธ์ให้ตอบสนองต่อ
นโยบาย จึงสนบั สนนุ การจดั ต้งั ศนู ย์บรกิ ารส่งเสริมเศรษฐกจิ ชมุ ชนครบวงจร ขึ้น ในป ี พ.ศ. 2552 และในป ี
พ.ศ. 2555 กรมการพฒั นาชุมชน ไดเ้ ปลยี่ นช่อื ศนู ยเ์ พ่ือใหส้ อดคลอ้ งกบั แผนยทุ ธศาสตรก์ รมการพฒั นาชมุ ชน
พ.ศ. 2555-2559 ที่มีเป้าหมายสูงสุดภายใต้วิสัยทัศน์ “ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากม่ันคง” จากศูนย์
บริการส่งเสรมิ เศรษฐกิจชมุ ชนครบวงจร เปน็ “ศนู ย์บรกิ ารส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก”
ความหมาย
ศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก การใหบ้ ริการของศูนย์ฯ หมายถงึ การให้
หมายถึง ศูนย์กลางการให้บริการทางวิชาการและ บรกิ ารตามภารกจิ ของศนู ย์ฯ อย่างใดอย่างหนึง่ หรอื
พฒั นาขดี ความสามารถดา้ นการพฒั นาเศรษฐกจิ ของ หลายอย่าง หรือทุกภารกิจแก่บุคคล/กลุ่มเป้าหมาย
ชมุ ชน โดยเปน็ ชอ่ งทางในการเชอื่ มโยงการใชท้ รพั ยากร ทขี่ อรบั บรกิ ารของศนู ยฯ์ ตามความตอ้ งการของผรู้ บั
จากแหล่งทุน แหล่งผลิต แหล่งตลาด แหล่งความรู้ บรกิ ารน้นั ๆ ท้งั ในเชงิ รับ คอื ใหบ้ ริการ ณ ทีต่ ัง้ ของ
ท้งั ภาครัฐ และภาคเอกชน และเปน็ กลไกขบั เคลื่อน ศนู ยฯ์ และเชงิ รุก คือ ให้บรกิ ารเคล่ือนท่ี ตามความ
ให้มีการเพ่ิมประสิทธิภาพ การบริหารจัดการแหล่ง ต้องการของชุมชนและตามสถานการณ์เรง่ ดว่ น โดย
ทุน กลุม่ อาชีพ กลุ่มผผู้ ลติ /ผู้ประกอบการหนึง่ ตา� บล การบรหิ ารจดั การและใหบ้ รกิ ารในรปู คณะกรรมการ
หนงึ่ ผลิตภัณฑ ์ ส�าหรบั การสร้างงานสรา้ งอาชีพ และ ประกอบดว้ ย ผูแ้ ทนเครอื ขา่ ย OTOP แกนนา� ชมุ ชน
สรา้ งรายไดแ้ กช่ มุ ชน เพอ่ื สง่ ผลตอ่ ประชาชนในหมบู่ า้ น ผู้เชี่ยวชาญปราชญช์ าวบา้ น ผ้ทู รงคุณวุฒ ิ เจ้าหนา้ ท่ี
ใหม้ คี วามมนั่ คงทางเศรษฐกจิ ฐานราก ดว้ ยการสนบั สนนุ พฒั นาชุมชนและภาคหี น่วยงานภาครฐั
และส่งเสริมเช่ือมโยงการพัฒนาชุมชน ระหว่างภาคี
การพัฒนาในระดบั อา� เภอ

28 คู่มือการดา� เนินงานผู้ผลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจา� ปี 2558

วัตถปุ ระสงค์
1. เพื่อสนับสนนุ ใหช้ มุ ชนเขา้ ถงึ องค์ความรสู้ มัยใหมแ่ ละแหล่งเงินทุน
2. เพอ่ื พัฒนาขีดความสามารถในการประกอบอาชีพเพอื่ ก่อใหเ้ กดิ รายได้

ประโยชน์ของศนู ย์บริการสง่ เสริมเศรษฐกิจฐานราก
1. ประชาชน กลุ่ม องค์กร ในพน้ื ทีม่ แี หล่งในการขอรบั ค�าปรกึ ษา แนะน�า และศกึ ษาค้นคว้า องคค์ วามรู้
ด้านเศรษฐกจิ สามารถน�าไปใชพ้ ัฒนาอาชพี และรายไดใ้ หด้ ขี นึ้
2. เป็นแหลง่ รวบรวมขอ้ มลู ด้านเศรษฐกิจในระดับฐานรากทา� ให้ประชาชน กลุ่มองค์กร ทมี่ าขอรับบรกิ าร
มขี อ้ มลู เพยี งพอเพอื่ ใชป้ ระกอบการตดั สนิ ใจ ประกอบอาชีพท�าให้ลดความเส่ียงในด้านต่างๆ เช่น วัตถุดิบ
การตลาด ทนุ ด�าเนนิ การ เป็นตน้
3. เป็นสถานที่ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านภูมิปัญญา ฝีมือ ทักษะ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ในระดับ
ฐานราก อันเป็นการกระตุ้นให้ประชาชน กลุ่มองค์กร เกิดการพัฒนาและเรียนรู้ให้เท่าทัน ภาวะการณ์ด้าน
เศรษฐกจิ ตลอดเวลา
4. เปน็ เวทใี ห้ผนู้ �าชมุ ชน มโี อกาสในการพัฒนาศกั ยภาพของตนเอง ในการพัฒนาเศรษฐกจิ ฐานราก
5. เปน็ ศนู ยก์ ลางในการสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ กระบวนการเรยี นร ู้ และการทา� งานรว่ มกนั เกดิ การพฒั นาการทา� งาน
ในรปู แบบเครอื ขา่ ยชมุ ชน กบั ภาคีการพัฒนาภาครฐั และภาคเอกชน

กลุ่มเปา้ หมายทไ่ี ดร้ บั ประโยชนจ์ ากศูนยบ์ ริการสง่ เสริมเศรษฐกิจฐานราก

1. กลุ่มอาชพี ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน 4. กองทนุ กขคจ./กองทนุ หมบู่ ้าน
2. กลมุ่ ผู้ผลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP 5. กลุ่ม/องคก์ ร/เครือขา่ ยอื่น ๆ ในชุมชน
3. กลมุ่ ออมทรัพยเ์ พือ่ การผลิต 6. ประชาชนในหมบู่ า้ น/ต�าบล ฯลฯ

ภารกิจของศูนยบ์ ริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก

1. การศกึ ษา ศนู ยบ์ รกิ ารสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ฐานราก 2. การใหบ้ รกิ าร เปน็ ภารกจิ หลกั ของศนู ยบ์ รกิ าร
จะต้องมีหน้าที่ในการศึกษาให้รู้เท่าทันสถานการณ์ สง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ฐานราก ประกอบดว้ ย การใหบ้ รกิ าร
ดา้ นเศรษฐกจิ วเิ คราะหป์ ญั หา ความตอ้ งการของผรู้ บั ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ ข้อมูล
บริการ จุดอ่อน จุดแขง็ ของศูนยฯ์ ของลกู คา้ รวมทงั้ การลงทะเบียน OTOP และการคัดสรรสุดยอด
ศึกษาต�าแหน่งทางเศรษฐกิจ เอกลักษณ์ อัตลักษณ ์ หน่ึงต�าบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ข้อมูลการจ้างงาน
เพอ่ื ก�าหนดเปน็ จดุ ขายของอ�าเภอ ข้อมูลราคาผลผลิต ข้อมูลการผลิต การตลาด
แหล่งทุน ตลอดจนให้บริการองค์ความรู้ใหม่ ๆ
การให้ค�าปรึกษาแนะน�าด้านต่าง ๆ เช่น การตรวจ
สุขภาพกองทุน การแนะน�าการท�าบัญชี งบดุล
กลุ่มออมทรพั ย์เพ่อื การผลติ กข.คจ. เปน็ ต้น

คู่มือการด�าเนนิ งานผผู้ ลิต ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจา� ปี 2558 29

3. สนบั สนนุ สอื่ วสั ด ุ อปุ กรณค์ วามรดู้ า้ นเศรษฐกจิ 6. การแลกเปลี่ยนเรียนร้ ู โดยการจดั เวทสี ัมมนา
การสนบั สนุนวทิ ยากรหรอื ผู้เช่ยี วชาญ ด้านการผลิต ในเร่ืองเกี่ยวกับเศรษฐกิจฐานรากท่ีประชาชนหรือ
การตลาด การออม การสร้างรายได ้ ประกอบอาชพี ผรู้ บั บรกิ ารใหค้ วามสนใจ หรอื เปน็ เรอื่ งเกยี่ วปากทอ้ ง
เปน็ ตน้ ความเป็นอยู่ของประชาชน อาจใช้วิธีออกบริการ
4. สนบั สนนุ สถานทใ่ี นการพบปะเจรจาธรุ กจิ หรอื เคล่ือนท่ีลักษณะเป็นการจัด Event หรือการอบรม
แลกเปลี่ยนเรียนรู ้ ของผู้เกยี่ วข้องด้านเศรษฐกจิ ให้ความรู้ หรือการน�าคนที่ประสบความส�าเร็จมา
5. ส่งเสริมการประกอบอาชีพ การสร้างรายได้ ถ่ายทอดความรู้เป็นตัวอย่างแก่ประชาชน หรือผู้รับ
เพิ่มข้ึนของประชาชน การค้า การลงทุน การออม บรกิ ารของศนู ยฯ์
สง่ เสรมิ ใหก้ องทนุ ชมุ ชน เชน่ กลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลติ 7. การประสานงาน ในกรณที ศ่ี นู ยบ์ รกิ ารสง่ เสรมิ
กองทุน กข.คจ. กองทุนหมู่บ้าน เป็นหลักในการให้ เศรษฐกิจฐานรากไม่สามารถให้บริการได้ อาจเนือ่ ง
การสนบั สนนุ แหลง่ เงนิ ทนุ แกผ่ มู้ ารบั บรกิ าร กอ่ ใหเ้ กดิ มาจากสาเหตไุ มม่ คี วามรคู้ วามเชยี่ วชาญในดา้ นทผี่ รู้ บั
การลงทุนในการประกอบอาชพี บรกิ ารตอ้ งการ ศนู ยต์ อ้ งสง่ ตอ่ หรอื ชชี้ อ่ งไปยงั หนว่ ย
งานทมี่ ภี ารกจิ เฉพาะดา้ นนนั้ ๆ เชน่ การขอมาตรฐาน
อย. ส่งไปยังสาธารณสุข หรือการขอสินเชื่อส่งไปยัง
ธนาคารเพอื่ การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร เปน็ ตน้

ภาพแสดง ภารกิจศนู ยบ์ รกิ ารส่งเสริมเศรษฐกจิ ฐานราก

30 ค่มู อื การด�าเนนิ งานผผู้ ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ป ี 2558

รูปแบบการให้บริการของศนู ยบ์ รกิ ารส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก

1. ใหบ้ รกิ าร ณ ทต่ี งั้ ของศูนย์ ตามภารกิจอยา่ งใดอยา่ งหน่งึ หรอื หลายอยา่ ง แก่บุคคลหรอื กลุ่มบคุ คล
ท่ีมาขอรับบริการ ตามความต้องการ โดยผแู้ ทนเครอื ขา่ ย OTOP เครือข่ายองค์ความรู้ (Knowledge Based
OTOP : KBO) เจา้ หนา้ ที่พฒั นาชมุ ชน และผูท้ คี่ ณะกรรมการบริหารศนู ย์มอบหมาย
2. ใหบ้ ริการโดยจัดกจิ กรรมเคล่ือนที่ตามความต้องการของชุมชน หรือตามสถานการณ์เรง่ ดว่ น อาทิ
การฝกึ อบรมอาชพี ระยะสัน้ ตามเมนอู าชีพทางเลือก
การใหค้ า� ปรกึ ษาแนะนา� การสร้างงาน สรา้ งอาชพี
สรา้ งรายได้แกช่ มุ ชน โดยคณะกรรมการบรหิ ารศนู ยฯ์
ผูแ้ ทนเครอื ขา่ ย OTOP เครอื ขา่ ยองคค์ วามรู้ KBO
เครอื ข่ายอื่น เจ้าหนา้ ท่ีพฒั นาชมุ ชน และ
ผู้ท่ีคณะกรรมการบริหารศูนยฯ์ มอบหมาย
3. บริการผ่านสื่อ เช่น วิทย ุ ทวี ี
website ฯลฯ

บทบาทของหนว่ ยงานภาครฐั และเอกชนในการสนบั สนนุ ศนู ยบ์ รกิ ารสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ฐานราก

ศนู ย์บริการสง่ เสริมเศรษฐกจิ ฐานราก ควรมหี น่วยงานภาคภี าครัฐและเอกชนเข้ามามสี ว่ นรว่ มใน
การด�าเนนิ งาน เน่ืองจากแต่ละหน่วยงานมีความเชย่ี วชาญเฉพาะดา้ น ซ่งึ บุคลากรของหนว่ ยงานเหลา่ น้จี ะมา
ชว่ ยเสรมิ การดา� เนนิ งานของศนู ยฯ์ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ และเปน็ ชอ่ งทางใหเ้ กดิ การบรู ณาการงบประมาณ
และข้อมูล ซ่ึงหน่วยงานภาคีภาครัฐและเอกชนท่ีควรเข้ามามีส่วนร่วมในการด�าเนินงานศูนย์บริการส่งเสริม
เศรษฐกิจฐานราก ได้แก่ เกษตร ปศุสัตว์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประมง พาณิชย ์
อตุ สาหกรรม สาธารณสขุ เกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ หอการคา้ สภาอตุ สาหกรรม
ส่อื มวลชน NGO/ภาคเอกชน สถาบนั การเงิน เปน็ ตน้ ซง่ึ ศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากควรก�าหนด
บทบาทหน่วยงานภาคภี าครัฐ และเอกชน เชน่
- เป็นคณะกรรมการศนู ย์บรกิ ารสง่ เสรมิ เศรษฐกิจฐานราก
- เปน็ ทป่ี รึกษาศูนย์บริการสง่ เสริมเศรษฐกิจฐานราก
- เปน็ วทิ ยากร
- เปน็ ผ้ปู ระสานงาน
- เปน็ ผ้มู าใชบ้ รกิ าร

คู่มือการด�าเนินงานผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558 31

บทบาทหลกั ศูนย์บริการสง่ เสรมิ เศรษฐกิจฐานราก

1. ค้นหาความต้องการของผู้รับบรกิ ารในด้านภมู ปิ ัญญา ฝมี อื ทกั ษะ วสั ดุ อุปกรณ์ หรือความคดิ
สรา้ งสรรคท์ ี่มีอยูใ่ นท้องถิน่ เพอ่ื นา� มาสนบั สนุนสง่ เสริมหรอื ตอ่ ยอดให้เกิดประโยชน์ในการประกอบอาชพี
2. สนบั สนนุ องคค์ วามรูใ้ นดา้ นต่าง ๆ เพือ่ ให้ผรู้ บั บรกิ ารสามารถน�าไปใชป้ ระโยชน์ด้านเศรษฐกจิ
เชน่ องค์ความรูด้ ้านการผลิต การตลาด การบรหิ ารจดั การ แหลง่ ทนุ เปน็ ตน้
3. สนบั สนุนช่องทางการตลาด เมือ่ มีการผลติ สนิ ค้าศนู ยบ์ ริการสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ฐานราก ต้องหา
ชอ่ งทางการตลาด หรอื แนะนา� ชอ่ งทางการจา� หนา่ ย เพอ่ื ขายสนิ คา้ ไดม้ กี า� ไร ทา� ใหล้ ดความเสย่ี งในการประกอบ
อาชพี
เมื่อขายสินค้าได้มีก�าไรจะส่งผลให้มีการออม เงินทุนในการลงทุนเพิ่มขึ้นจนมีการขยายกิจการ
ส่งผลให้เศรษฐกิจชุมชนเขม้ แขง็ ในท่สี ดุ

บทบาทหลักศูนยบ์ รกิ ารสง่ เสริมเศรษฐกิจฐานราก (ศูนย์บรกิ ารส่งเสริมเศรษฐกจิ ชุมชนครบวงจร)

- ดา้ นภมู ิปญั ญา - ดา้ นการผลติ การตลาด การเขา้ ถงึ แหลง่ ทนุ
- ด้านฝมี อื - ด้านระบบฐานขอ้ มลู ที่เกย่ี วข้อง
- ดา้ นทักษะ - ดา้ นระบบสารสนเทศและการให้บริการ
- ด้านวัสดุ อุปกรณ์ - ดา้ นระบบกานใหบ้ ริการสมาชกิ
- ด้านความคิดสรา้ งสรรค์ - ฯลฯ

- มีการออม ผู้รบั บริการมที กั ษะและ
- ต้นทุนเพิม่ ข้นึ ขีดความสามารถในการประกอบอาชพี
- มกี ารขยายกิจการ
- ผลติ สนิ คา้ ขายไดม้ ีก�าไร
ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกจิ ฐานรากมีความมั่นคง - ลดความเสยี่ งจากการประกอบอาชีพ
- สินค้ามีคุณภาพมาตรฐาน

ภาพแสดง บทบาทหลกั ศนู ย์บริการส่งเสรมิ เศรษฐกิจฐานราก

32 คมู่ อื การดา� เนินงานผูผ้ ลิต ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจา� ป ี 2558

สรปุ การด�าเนนิ งานตามแนวทางการดา� เนินงานศูนย์บริการสง่ เสริมเศรษฐกิจฐานราก กอ่ ให้เกดิ

การเชอื่ มโยงการใชท้ รพั ยากรจากแหลง่ ทนุ แหลง่ ผลติ แหลง่ ตลาด แหลง่ ความร ู้ ทง้ั จากภาครฐั และภาคเอกชน
ในการพฒั นาขดี ความสามารถในการประกอบอาชพี ซง่ึ จะกอ่ ใหเ้ กิดรายได้แกช่ มุ ชน และสง่ ผลไปส่ปู ระชาชน
ในหมบู่ า้ นมคี วามมน่ั คงทางเศรษฐกจิ เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั แผนยทุ ธศาสตรก์ รมการพฒั นาชมุ ชน พ.ศ. 2555 - 2559
ซง่ึ มีเป้าหมายสงู สุดภายใต้วิสยั ทศั น ์ “ชมุ ชนเขม้ แข็ง เศรษฐกิจฐานรากมน่ั คง”

3. การดา� เนนิ งานเครอื ขา่ ย OTOP

กรมการพฒั นาชมุ ชน มีภารกิจในการส่งเสริมและพฒั นาเศรษฐกจิ ชมุ ชนฐานรากใหม้ ีความมน่ั คง
โดยส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นร้ ู การพฒั นาอาชพี การพฒั นาผลติ ภณั ฑท์ ีเ่ กดิ จากภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น และการมี
สว่ นรว่ มของประชาชนในการสร้างงานสร้างรายได้ใหแ้ ก่ชมุ ชน เช่อื มโยงไปส่กู ารด�าเนินงานโครงการ OTOP
ซงึ่ ในฐานะทก่ี รมการพฒั นาชมุ ชนไดร้ บั มอบหมายใหร้ บั ผดิ ชอบดา� เนนิ การสง่ เสรมิ การดา� เนนิ งาน OTOP ตงั้ แต่
ปี พ.ศ. 2544 จนถึงปัจจุบัน โดยอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ในคณะ
กรรมการอา� นวยการ หนง่ึ ตา� บล หนงึ่ ผลติ ภณั ฑ ์ แหง่ ชาต ิ (กอ.นตผ) รวมทง้ั เปน็ อนกุ รรมการบรหิ าร อนกุ รรมการ
สง่ เสรมิ การผลติ อนกุ รรมการสง่ เสรมิ การตลาด อนกุ รรมการมาตรฐานและพฒั นาคณุ ภาพผลติ ภณั ฑ ์ อนกุ รรมการ/
เลขานกุ ารคณะกรรมการ นตผ. ระดบั ภมู ภิ าค และพฒั นาการจงั หวดั เปน็ อนกุ รรมการ/เลขานกุ าร นตผ.จงั หวดั
และพัฒนาการอ�าเภอ เป็นอนุกรรมการ/เลขานุการ นตผ.อ�าเภอ ตามระเบียบส�านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย
คณะกรรมการอ�านวยการ หน่งึ ต�าบล หน่งึ ผลิตภัณฑ ์ แห่งชาติ (กอ.นตผ) พ.ศ. 2544 และ พ.ศ. 2545

การด�าเนินงานเครือข่าย OTOP

เครือข่าย OTOP เกิดจากการรวมตวั ระหวา่ งผู้ผลิต ผู้ประกอบการสนิ ค้าหนง่ึ ตา� บล หน่งึ ผลิตภณั ฑ์
หรือ สินค้า OTOP โดยมีวัตถปุ ระสงค์หลกั ทสี่ �าคญั คอื การพฒั นาและเพ่ิมศกั ยภาพของผู้ผลติ ผปู้ ระกอบการ
สินค้า OTOP ด้วยการสร้างโอกาสให้ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ได้มีเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ในการพัฒนา
การผลติ และการประกอบการ การพฒั นาผลติ ภณั ฑใ์ หม้ คี ณุ ภาพและมาตรฐานทส่ี ามารถแขง่ ขนั ไดใ้ นเชงิ พาณชิ ย์
นอกจากนนั้ การเกดิ ขน้ึ ของเครอื ขา่ ยยงั เปน็ ชอ่ งทางหรอื โอกาสทจี่ ะชว่ ยสง่ เสรมิ ใหค้ นในชมุ ชนทอ้ งถนิ่ ได้มีการ
สืบทอดภมู ิปญั ญาท้องถิน่ จากรนุ่ สูร่ นุ่ อันเปน็ การอนุรกั ษอ์ งค์ความร้ทู ่ไี ดร้ ับการส่งั สมใหด้ า� รงอยู่และสามารถ
น�าไปใชป้ ระโยชน์ เพอื่ เพ่มิ มลู ค่าผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชนทอ้ งถิ่นไดอ้ กี ทางหนง่ึ
การส่งเสริมสินค้า OTOP ที่เกิดจากภูมิปัญญาท้องถ่ินให้มีการพัฒนาด้านการผลิต การตลาด
การบรหิ ารจดั การ อย่างเป็นระบบและยัง่ ยืน มศี กั ยภาพในการแข่งขันในตลาดทงั้ ภายในและตา่ งประเทศ คือ
การสรา้ งโอกาสใหผ้ ผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP ไดแ้ ลกเปลยี่ นเรยี นร ู้ จดั แสดงผลงานทเ่ี กดิ จากภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ
และการไดร้ บั ค�าแนะนา� จากภาครฐั ภาคเอกชน ในการดา� เนินงานโครงการหนงึ่ ตา� บล หนึ่งผลติ ภัณฑ์ ซง่ึ กลไก
การขับเคลือ่ นการด�าเนนิ งานโครงการฯ ที่สง่ ผลใหโ้ ครงการหน่งึ ตา� บล หนึ่งผลติ ภณั ฑ ์ ได้รับการพฒั นาอย่าง
ต่อเน่ือง คือ การจดั ตัง้ เครือขา่ ย OTOP ในระดับต�าบล อา� เภอ จงั หวัด และระดับประเทศ

คมู่ ือการด�าเนินงานผู้ผลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ป ี 2558 33

ท�าไมต้องสร้างเครือขา่ ย OTOP ขนั้ ตอนการดา� เนินงาน
1. เพ่ือให้เกิดพลังในการพัฒนาการผลิต + 1. รวบรวมขอ้ มลู กลุม่ ผผู้ ลิต ผู้ประกอบการ
การพฒั นาคณุ ภาพ มาตรฐาน ผลติ ภณั ฑ ์ และการพฒั นา OTOP ในระดับพนื้ ที่การจัดต้ัง
ในเชิงปริมาณการผลติ 2. เสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจเกยี่ วกบั ความสา� คญั
2. เพ่ือมีเครือข่ายในการเพ่ิมประสิทธิภาพ ประโยชน์และความจ�าเปน็ ในการจัดตัง้ เครือขา่ ย OTOP
การผลิต + การส่งเสริมตลาดท้ังภายใน และภายนอก ในระดับตา่ ง ๆ (ระดับ อ�าเภอ จังหวดั )
ประเทศ 3. กา� หนดโครงสรา้ ง บทบาทหนา้ ท ่ี ขอบเขต
3. เพอ่ื เพมิ่ ศกั ยภาพในการแขง่ ขนั ใหก้ บั OTOP ความรับผิดชอบของเครือข่าย ตลอดจนความสัมพันธ์
โดยการเปลีย่ นค่แู ขง่ ใหเ้ ปน็ คคู่ า้ เช่ือมโยงซงึ่ กนั และกัน
4. เพ่ือเป็นฐานรากทางเศรษฐกิจของชุมชน 4. คัดเลือกคณะกรรมการเครือข่ายฯ ตาม
และสร้างให้เกิดการหมุนเวียนรายได้ภายในชุมชนอย่าง จา� นวนทเ่ี หมาะสมเพอ่ื ทา� หนา้ ทบี่ รหิ ารจดั การและประสาน
ยง่ั ยืน การด�าเนนิ งาน
5. กา� หนดแนวทางและเปา้ หมายการดา� เนนิ งาน
บทบาทเครือขา่ ยกบั การพฒั นา OTOP ของเครือข่ายเพื่อเป็นเคร่ืองมือในการด�าเนินงานของ
— เครอื ขา่ ยทกุ ระดบั ตอ้ งมรี ะเบยี บขอ้ บงั คบั เครือข่าย
เครอื ขา่ ยฯ รองรบั การดา� เนนิ งาน เพอ่ื เปน็ การสรา้ งระบบ 6. ประกาศรายชื่อและจัดท�าทะเบียนคณะ
และการกา� หนดกลไกทม่ี ีประสิทธภิ าพ กรรมการเครือขา่ ยจัดสง่ จังหวดั และกรมฯ ตามลา� ดบั

— เครือข่ายทุกระดับต้องก�าหนดเป้าหมาย
บทบาทการดา� เนนิ งานทช่ี ดั เจน จดั แบง่ งานภารกจิ หนา้ ท่ี บทบาทหนา้ ทข่ี องเครอื ข่าย OTOP
ตามศกั ยภาพและความถนดั กรมการพัฒนาชุมชนได้ก�าหนดบทบาทของ
— เครอื ขา่ ยทกุ ระดบั ตอ้ งมงุ่ ความเปน็ สว่ นรวม เครือข่าย OTOP ไว้ดงั นี้
มากกว่า ส่วนตัว 1. สง่ เสรมิ การแลกเปลย่ี นเรยี นรรู้ ะหวา่ งคณะ
— เครอื ขา่ ยทกุ ระดบั ตอ้ งสรา้ งการมสี ว่ นรว่ ม กรรมการเครอื ขา่ ย สมาชกิ เครอื ขา่ ย และกลมุ่ /ผปู้ ระกอบ
ระหวา่ งกรรมการ กบั สมาชกิ เครือข่าย การสนิ คา้ OTOP
— เครอื ขา่ ยทกุ ระดบั ตอ้ งมกี ารตดิ ตอ่ สอ่ื สาร 2. พฒั นาผลิตภณั ฑ์
และประสานงานทเ่ี ปน็ ระบบ ใช้ระบบเทคโนโลยีให้เกิด 3. สง่ เสรมิ กจิ กรรมดา้ นการตลาด
ประสทิ ธิภาพ 4. เสริมสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มที่เป็น
— เครอื ขา่ ยทกุ ระดบั ตอ้ งยดึ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม สมาชกิ
เปน็ หลกั ชยั ในการด�าเนินงาน 5. สรา้ งพลังต่อรอง
— เครอื ขา่ ยทกุ ระดบั ตอ้ งสรา้ งพลงั เครอื ขา่ ย
เรอ่ื ง เทคโนโลยี ทนุ ความรู ้ ตลาดและการตอ่ รอง เพือ่
เพ่มิ ขีดความสามารถในการแข่งขันใหก้ ับ OTOP

34 คมู่ อื การดา� เนินงานผูผ้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจา� ป ี 2558

กรอบภารกิจเครือข่ายแตล่ ะระดับ

กรอบภารกิจ “เครือขา่ ย OTOP ระดบั ประเทศ”
1. สนบั สนุนการบรหิ ารนโยบายยทุ ธศาสตร ์ OTOP
2. สนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการระดบั เครือข่ายในทุกระดบั
3. เสริมสร้างความเข้มแข็ง OTOP ในทกุ มติ ิ
4. ส่งเสริมการบริหารจัดการธรุ กจิ OTOP
5. เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพ ความสามัคค ี และความเปน็ เอกภาพของเครอื ขา่ ยในทกุ ระดับ
6. บริหารจัดการระบบ Cluster OTOP ให้เกิดประสิทธิภาพ และประสทิ ธผิ ล
7. จัดระบบขอ้ มลู และกลไกในการพฒั นา OTOP ใหส้ ามารถใช้ประโยชนใ์ นการสนับสนุนการพฒั นา OTOP
8. สง่ เสริมและสนบั สนุนให ้ OTOP สร้างคุณประโยชน ์ แก่สมาชกิ และใหม้ ีบทบาทในการเป็นกลมุ่ อาชีพ

กรอบภารกจิ “เครอื ขา่ ย OTOP ระดบั จังหวัด”
1. สง่ เสรมิ การพัฒนาผลติ ภัณฑ ์ OTOP ในระดับจังหวดั ให้มคี ุณภาพ มาตรฐานและการพัฒนานวัตกรรม
2. สง่ เสริมการตลาด OTOP และธรุ กิจ OTOP ภายในจงั หวัด
3. สง่ เสรมิ การจัดต้งั ศนู ยจ์ �าหน่ายและกระจายสนิ คา้ OTOP ประจา� จงั หวัด
4. บริหารจัดการระบบ Cluster OTOP ให้เกดิ ประสิทธภิ าพ และประสิทธผิ ล
5. ส่งเสรมิ ศกั ยภาพ ความสามคั คี และความเปน็ เอกภาพของเครือขา่ ยในทกุ ระดบั
6. จัดระบบข้อมลู และกลไกในการพฒั นา OTOP ภายในจังหวัด
7. จดั ระบบขอ้ มลู และกลไกพัฒนา OTOP ใหส้ ามารถใชป้ ระโยชน์ในการสนบั สนนุ การพฒั นา OTOP

กรอบภารกิจ “เครือขา่ ย OTOP ระดบั อา� เภอ”
1. ส่งเสริมการพฒั นาผลิตภณั ฑ์ OTOP ในระดับอ�าเภอ ใหม้ ีคณุ ภาพ มาตรฐานและการพัฒนานวัตกรรม
2. ส่งเสรมิ การตลาด OTOP และธรุ กิจ OTOP ภายในจังหวัด
3. เสริมสร้างความเขม้ แขง็ ระบบ Cluster OTOP ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล
4. เสรมิ สร้างศักยภาพความสามัคค ี และความเป็นเอกภาพของเครอื ขา่ ย OTOP ระดับอา� เภอ
5. ส่งเสรมิ และสนับสนุนให้เกิดผ้ผู ลิต ผู้ประกอบการ OTOP ใหมเ่ ขา้ สูร่ ะบบ

คูม่ ือการดา� เนินงานผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจ�าป ี 2558 35

กรมการพัฒนาชมุ ชนกับการส่งเสรมิ การดา� เนินงานเครอื ขา่ ย OTOP

1. ส่งเสรมิ ใหม้ รี ะเบยี บการด�าเนินงานคณะกรรมการเครือขา่ ย OTOP
2. ก�าหนดรปู แบบ แนวทาง และวิธกี ารด�าเนินงาน ในป ี 2558
3. สนบั สนุนงบประมาณ ให้เครือขา่ ยบรหิ ารจัดการกิจกรรม อยา่ งเปน็ รปู ธรรม
4. สรา้ งกลไกการสนับสนนุ เครอื ขา่ ย และวางระบบการติดตามอยา่ งต่อเนื่อง
5. สง่ เสริมบทบาท และการมสี ่วนรว่ มของเครอื ข่าย ในกระบวนการดา� เนินงาน OTOP
ของกรมการพฒั นาชมุ ชน และภาค ี OTOP
6. สนบั สนุนการพัฒนาองค์ความร ู้ และนวตั กรรมเพื่อให้เครอื ข่าย น�าไปใช้ให้เกิดประโยชน์ใน
ระบบพเ่ี ล้ยี ง
7. สรา้ งภาคแี ละความรว่ มมอื ทเ่ี ปน็ ประโยชนแ์ ละเออ้ื อา� นวยตอ่ การดา� เนนิ งานเครอื ขา่ ยในทกุ มติ ิ
(ทุน/การผลิต/การตลาด/องค์ความรู ้ ฯลฯ)

4. โครงการพฒั นาหมู่บ้าน OTOP เพ่อื การท่องเท่ียว

ความเป็นมา

กรมการพฒั นาชมุ ชน ด�าเนนิ งานโครงการ
หมู่บ้าน OTOP เพ่อื การท่องเที่ยว (OTOP village
champion : OVC) ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2549 วตั ถปุ ระสงค์
เพ่ือเช่ือมโยงสินค้า OTOP ที่เป็นเอกลักษณ์ ของ
ท้องถิน่ ศิลปวัฒนธรรม วิถชี วี ติ แหลง่ ทอ่ งเที่ยวและ
บรกิ าร รวมทง้ั กระบวนการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน เพอ่ื
สร้างความเข้มแข็งของชมุ ชนอย่างยัง่ ยนื ซงึ่ ไดจ้ ดั ให้
มีการประกวดหมู่บ้าน OVC และด�าเนินการพัฒนา
ตอ่ ยอดหมบู่ า้ น OTOP เพอ่ื การทอ่ งเทย่ี ว เพอ่ื สง่ เสรมิ
ให้หมู่บ้านดังกล่าวสามารถรองรับนักท่องเที่ยวท่ีเข้า
มาเยย่ี มชม และใชจ้ า่ ยในหมบู่ า้ น ไดร้ บั ประสบการณ์
ทอ่ี บอนุ่ ประทับใจ และอยากกลบั มาเทย่ี วซา้� อกี ดว้ ย
วิธีเช่ือมโยงสินค้า OTOP ให้สอดคล้องกับท้องถิ่น
ศิลปวัฒนธรรม วิถีชีวิต แหล่งท่องเท่ียวและบริการ
โดยยึดกระบวนการ การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
ในหมู่บ้าน เพื่อสร้างความเข้มแข็งของชุมชนอย่าง
ยง่ั ยนื และกอ่ ใหเ้ กดิ รายไดใ้ หก้ บั ประชาชนอยา่ งทว่ั ถงึ

36 คมู่ อื การดา� เนินงานผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558

แนวทาง/ข้ันตอน/วิธีการ

ในปี พ.ศ. 2549 กรมการพฒั นาชุมชนไดจ้ ดั ให้มกี ารประกวดหมบู่ ้าน OVC โดยมีวัตถุประสงคเ์ พื่อ
เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ของชมุ ชน โดยใชก้ ระบวนการพฒั นาผลติ ภณั ฑ ์ OTOP ควบคกู่ ารพฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว
หรือภูมิทัศน์ของชุมชน เพื่อส่งเสริมการคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ของชุมชน และเพ่ือส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนในการพฒั นาชุมชน โดยใชห้ ลักเกณฑ์การประกวด 4 P คอื

P : People ดา้ นชมุ ชน (คนในชมุ ชนมีสว่ นรว่ มในการพัฒนาหมบู่ า้ น OTOP อยา่ งเข้มแขง็ )
P : Product ด้านพัฒนาผลิต (มีผลติ ภณั ฑ ์ OTOP ทโี่ ดดเด่น)
P : Place ดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว (มศี กั ยภาพพฒั นาเป็นแหลง่ ทอ่ งเที่ยว)
P : Preserve ดา้ นอนรุ กั ษ ์ (สามารถรักษาอัตลกั ษณ์ท้องถิ่น)

ขนั้ ตอนการดา� เนินงาน ดังนี้

1. แตง่ ตั้งคณะกรรมการ OVC
กอ.นตผ แตง่ ตง้ั คณะอา� นวยการประกวดหมบู่ า้ นหนงึ่ ตา� บล หนง่ึ ผลติ ภณั ฑ ์ ป ี พ.ศ. 2549 ประกอบดว้ ย
คณะกรรมการอา� นวยการ และคณะอนกุ รรมการพจิ ารณากา� หนดแนวทางและหลกั เกณฑก์ ารประกวดหมบู่ า้ น
หนึ่งต�าบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ซ่ึงคณะอ�านวยการประกวดหมู่บ้านฯ จะแต่งต้ังคณะกรรมการประกวดหมู่บ้าน
หนงึ่ ต�าบล หนง่ึ ผลิตภณั ฑ ์ มอี งค์ประกอบคือ คณะท่ปี รกึ ษา คณะกรรมการประกวดหมบู่ า้ นฯ ระดับประเทศ
และคณะกรรมการประกวดหมบู่ า้ นฯ ระดบั ภาค (4 คณะจาก 4 ภาค) เพอ่ื ประสาน กา� กบั ตดิ ตาม และดา� เนนิ การ
ให้การประกวดทุกระดับเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ส�าหรับการคัดเลือกในระดับอ�าเภอและจังหวัด ให้คณะ
อนุกรรมการหนง่ึ ต�าบล หนงึ่ ผลิตภัณฑ์ระดับจงั หวัดและอ�าเภอ เปน็ ผดู้ า� เนนิ การคัดเลอื ก

2. ประชาสัมพันธ์
ดา� เนินการประชาสัมพนั ธก์ ารประกวดหมบู่ ้าน OVC ทกุ ระดับ เพอื่ สร้างความรู้ความเข้าใจ และให้เกิด
ความตนื่ ตัว และรว่ มสมคั รเขา้ ประกวดหม่บู ้าน OVC

3. จดั ท�าหลักเกณฑแ์ ละแนวทางการด�าเนนิ งาน
คณะอนกุ รรมการพจิ ารณาก�าหนดแนวทางและหลักเกณฑก์ ารประกวดหมู่บา้ น OVC ด�าเนินการศกึ ษา
ข้อมูล และประชุมเพ่ือพิจารณาหาแนวทางและหลักเกณฑ์การประกวดหมู่บ้านฯ เพื่อให้คณะกรรมการใน
ระดบั ต่าง ๆ ได้ใช้เปน็ แนวทางในการด�าเนนิ งานประกวดหมู่บา้ น OVC ทกุ ระดับ

4. จดั ทา� เอกสาร/ค่มู อื หลกั เกณฑแ์ ละแนวทางการดา� เนินงาน
คณะอา� นวยการประกวดหมบู่ ้านหน่งึ ต�าบล หนงึ่ ผลิตภณั ฑ์ จัดท�าเอกสารแนวทางการด�าเนนิ งานตาม
โครงการฯ ส่งใหก้ บั ผเู้ ก่ยี วขอ้ ง เพอ่ื ใชเ้ ป็นแนวทางในการด�าเนินงานประกวดหม่บู ้าน OVC ทุกระดับ

5. จดั ประชมุ ช้ีแจงทา� ความเข้าใจแกผ่ ้เู ก่ียวข้องทกุ ระดบั
คณะอา� นวยการประกวดหมูบ่ า้ นหน่ึงตา� บล หนงึ่ ผลิตภณั ฑ ์ จัดประชมุ ผู้เกีย่ วขอ้ งทุกระดบั เพอ่ื ชแี้ จง
ทา� ความเข้าใจในการด�าเนนิ การประกวดหมู่บ้าน OVC

คมู่ อื การดา� เนินงานผผู้ ลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558 37

6. อ�าเภอ/จังหวัด คัดเลือกหมบู่ า้ น และส่งเข้าประกวดระดบั ภาค
อ�าเภอ โดย อนฯุ นตผ.อา� เภอ ประชาสัมพันธ ์ และจดั เวทปี ระชาคมเพ่ือชีแ้ จง ทา� ความเขา้ ใจ พร้อมรับ
สมคั รหมบู่ า้ นทจี่ ะรว่ มสง่ เขา้ ประกวดหมบู่ า้ น OVC โดยอา� เภอตรวจสอบคณุ สมบตั ิ ความเปน็ ไปไดแ้ ละรวบรวม
ใบสมัคร หลักฐาน ส่งให้ระดบั จังหวดั โดยอนุฯ นตผ.จงั หวดั ด�าเนนิ การคัดเลือกหมบู่ า้ นสง่ เข้าประกวดระดบั
ภาค ไม่เกนิ จงั หวดั ละ 5 หมู่บ้าน

7. ดา� เนนิ การประกวดหมบู่ ้าน OVC ระดับภาค
คณะกรรมการประกวดหมบู่ ้าน OVC ระดบั ภาค ดา� เนินการประกวดเพอื่ ให้เหลือ 120 หมูบ่ า้ น และ
ส่งตอ่ เขา้ ประกวดในระดับประเทศ

8. ด�าเนนิ การประกวดหม่บู ้าน OVC ระดับประเทศ
คณะกรรมการประกวดหมบู่ า้ น OVC ระดบั ประเทศ ดา� เนนิ การประกวดจากหมบู่ า้ น ทเ่ี ขา้ รอบในระดบั
ภาค จาก 120 หมู่บ้าน โดยใหเ้ หลอื หมู่บ้านท่ชี นะการประกวด จา� นวน 80 หมูบ่ ้าน

9. การจดั กจิ กรรมและพิธีมอบรางวลั หมูบ่ า้ นทีช่ นะการประกวดในระดับภาคและระดับประเทศ
10. ผู้น�าหมูบ่ ้านทช่ี นะการประกวดระดบั ประเทศ ศกึ ษาดูงานตา่ งประเทศ
11. พัฒนาหมู่บา้ น OTOP เพ่อื การทอ่ งเทย่ี ว
ในป ี พ.ศ. 2550 – 2557 กรมการพฒั นาชมุ ชนได้ดา� เนินงานโครงการพัฒนาหมูบ่ ้าน OTOP เพอื่ การ
ท่องเท่ียว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้หมู่บ้าน OTOP เพ่ือการท่องเที่ยวมีการพัฒนา มีการค้นหาเอกลักษณ์
เฉพาะของท้องถิ่นทั้งในด้านสินค้า วัฒนธรรมประเพณี
และกิจกรรมของท้องถิ่นให้มีความพร้อมในการรองรับ
นกั ทอ่ งเทย่ี ว และเพอื่ เพม่ิ รายไดข้ องประชาชนในหมบู่ า้ น
จากการบริการด้านการท่องเที่ยว และการจ�าหน่าย
ผลิตภัณฑ์ OTOP โดยการพัฒนาศักยภาพผู้น�าชุมชน
เพอี่ การพฒั นาหมบู่ า้ นทอ่ งเทย่ี ว ดา้ นการปรบั ปรงุ ภมู ทิ ศั น์
ด้านการบริหารจัดการอาหารและท่ีพักนักท่องเท่ียว
ดา้ นการพฒั นาผลติ ภณั ฑ ์ OTOP และบรรจภุ ณั ฑ ์ ออกแบบ
และปรบั ปรุงภูมทิ ัศน ์ ศนู ย์แสดงและจ�าหนา่ ยผลติ ภัณฑ ์
OTOP รวมถึงการจัดกิจกรรมเปิดตัวหมู่บ้าน และ
ประชาสมั พันธ์หมูบ่ า้ นผา่ นสื่อตา่ ง ๆ ผลการด�าเนินงานที่
ผ่านมา หมบู่ ้าน OTOP เพอื่ การท่องเที่ยวเปน็ ทีร่ จู้ กั อย่าง
กว้างขวาง มีนักท่องเที่ยวเข้าไปเยี่ยมชมเพ่ิมข้ึน ส่งผลให้
คนในชุมชนมีรายได้เพ่ิมขึ้น ส�าหรับในปี พ.ศ. 2550 - 2557
กรมการพัฒนาชุมชนได้ดา� เนินการพฒั นาหมบู่ า้ น OTOP
เพ่อื การทอ่ งเท่ยี วไปแล้ว จา� นวน 60 หม่บู า้ น และใน ป ี
พ.ศ. 2558 มกี ารดา� เนนิ การพัฒนาหม่บู า้ น OTOP เพ่ือ
การท่องเที่ยวเพิ่มอกี จา� นวน 10 หมบู่ า้ น

38 คูม่ อื การด�าเนินงานผู้ผลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจา� ป ี 2558

5. การพฒั นาเยาวชนเพ่อื การอนุรกั ษแ์ ละสืบสานภมู ปิ ัญญาทอ้ งถนิ่

ความเปน็ มา

ปี พ.ศ. 2544 รัฐบาลมีนโยบายจดั ทา� โครงการหนึ่งต�าบล หนึ่งผลติ ภณั ฑ์ขนึ้ เพอ่ื สรา้ งความเข้มแข็ง
แก่ชมุ ชนให้สามารถยกระดับความเป็นอยูข่ องคนในชุมชนให้ดีขึ้น ดว้ ยการจดั การทรพั ยากรที่มอี ยู่ในทอ้ งถิน่
ให้กลายเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ มีจุดเด่น เป็นเอกลักษณ์ของตนเองสอดคล้องกับวัฒนธรรมในแต่ละท้องถ่ิน
ตลอดจนเปน็ การเสรมิ สรา้ งคณุ คา่ และเพม่ิ มลู คา่ ใหแ้ กผ่ ลติ ภณั ฑ ์ และยงั สง่ ผลตอ่ การดา� รงรกั ษาภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่
ดั้งเดิมให้คงอยู่ในชุมชน เกิดความภาคภูมิใจ และหวงแหนภูมิปัญญาความเป็นชุมชนของตนเองไว้ สืบทอด
องคค์ วามรภู้ มู ิปญั ญาแกอ่ นุชนรนุ่ หลัง
ป ี พ.ศ. 2549 – ปัจจบุ นั กรมการพฒั นาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย ไดต้ ระหนักถงึ การอนุรกั ษ์และ
สบื สานภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ในคงอยใู่ นชมุ ชน และเกดิ การพฒั นาตอ่ ยอดองคค์ วามรขู้ องชมุ ชนสบื ไป จงึ ไดด้ า� เนนิ
โครงการพฒั นาเยาวชนเพือ่ การอนรุ ักษ์สืบสานภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ เพือ่
ส่งเสริมให้เยาวชนในท้องถิ่นท่ีเป็นทายาทของผู้ประกอบการ OTOP
หรอื เยาวชนทม่ี คี วามสมคั รใจ ไดม้ คี วามตระหนกั เหน็ คณุ คา่ และเรยี นร ู้
ถงึ เรอ่ื งราว ภูมปิ ัญญาในทอ้ งถิน่ ของตนเอง ไดเ้ ขา้ มามีส่วนร่วม และ
เป็นส่วนหนึ่งในการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยได้รับ
การถ่ายทอดประสบการณ์จากปราชญ์ชาวบ้านในชุมชนในการใช้
ทรัพยากรหรือภูมิปัญญาที่มีอยู่ในพื้นท่ีพัฒนาเป็นสินค้าที่มีอัตลักษณ์
ของชมุ ชน น�ามาพัฒนาผลติ ภัณฑ ์ OTOP เสรมิ สร้างรายไดแ้ กช่ ุมชน
และเป็นการสร้างเยาวชนสูก่ ารเป็นผผู้ ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP ร่นุ ใหม่ทีม่ ีคณุ ภาพต่อไปในอนาคต

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพื่อสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของเยาวชนของเยาวชนในการการอนุรกั ษ์สืบสานภูมิปัญญาท้องถนิ่
2. เพ่อื พฒั นาองคค์ วามร้ขู องเยาวชนด้านการผลติ สินค้า OTOP
3. การส่งเสรมิ เยาวชนสกู่ ารเป็นผปู้ ระกอบการร่นุ ใหม่

กลุ่มเป้าหมาย

เยาวชนในพ้ืนท่จี ังหวัด คือ เยาวชนทเ่ี ป็นทายาท OTOP เยาวชนในระบบการศึกษา และเยาวชน
นอกระบบการศึกษาทส่ี นใจและสมัครใจรว่ มสืบทอดภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ อายรุ ะหวา่ ง 15 – 25 ป ี
ขั้นตอนการดา� เนนิ งาน
การด�าเนินโครงการพัฒนาเยาวชนเพื่อการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นและพัฒนาอาชีพ
เป็นกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น ผ่านกระบวนการเรียนรู้โดยการถ่ายทอด
ประสบการณ์จากชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน สู่เยาวชนท่ีเป็นทายาท OTOP หรือเยาวชนท่ีมีความสนใจ และ

คมู่ อื การดา� เนนิ งานผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าป ี 2558 39

เป็นการพัฒนาอาชีพสร้างรายได้จากการผลิตสินค้า OTOP ให้กับเยาวชน กลุ่มเป้าหมาย คือเยาวชนที่เป็น
ทายาท OTOP หรือเยาวชนที่มคี วามสนใจ อายรุ ะหว่าง 15 – 25 ป ี และเจ้าหนา้ ทพี่ ัฒนาชุมชนที่จะคอยเป็น
พี่เลยี้ งให้กับเยาวชนตลอดทงั้ โครงการฯ การดา� เนินงานตามโครงการฯ ประกอบด้วย 4 ขน้ั ตอน ดังน้ี
ข้นั ตอนท่ี 1 การกา� หนดแนวทาง
กรมการพฒั นาชุมชน กา� หนดแนวทางและรายละเอียดการดา� เนนิ งานตามโครงการ พร้อมจัดสง่
แนวทางแกห่ น่วยด�าเนนิ งาน ซ่ึงประกอบดว้ ยศนู ย์ศกึ ษาและพฒั นาชุมชน และสา� นักงานพัฒนาชมุ ชนจังหวัด
ขั้นตอนท่ี 2 รบั สมคั รเยาวชน
จังหวัดประกาศรับสมัคร และคัดเลือกเยาวชนผู้มีคุณสมบัติเข้าร่วมโครงการตามจ�านวนที่กรมฯ
ก�าหนด
ขั้นตอนที่ 3 การด�าเนนิ งานประกอบดว้ ย 4 กจิ กรรม ดังน้ี

3.1 กจิ กรรมพฒั นาศกั ยภาพเยาวชนดา้ นการอนรุ กั ษแ์ ละสบื สานภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ดา� เนนิ การ
11 รนุ่ ๆ ละ 5 วนั โดยมีศนู ย์ศึกษาและพฒั นาชมุ ชน 11 แหง่ เป็นหน่วยด�าเนินการ
1) ศนู ยศ์ กึ ษาและพฒั นาชมุ ชนประสานการด�าเนินงานกับหน่วยงาน หรอื ภาคีการพฒั นาท่ี
เก่ยี วข้อง
2) จัดค่ายเยาวชน OTOP ตามแนวทางหรอื หลกั สูตรทกี่ รมฯ กา� หนด หรือปรบั หลกั สูตรให้
สอดคล้องกบั สถานการณ์ของแต่ละพืน้ ท่ ี แต่ทัง้ น้ีตอ้ งคงวตั ถุประสงค์ของโครงการเปน็ ไปตามขนาด ปริมาณ
งานท่กี า� หนด
3) กิจกรรมทดี่ �าเนนิ การ
- เยาวชนจะได้ทราบความเป็นมาของ OTOP ได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติผลิตภัณฑ ์
OTOP ท้งั 5 ประเภท
- เยาวชนได้เรยี นรู้วธิ กี ารบันทกึ ภูมิปัญญา ตลอดจนสามารถบันทกึ ภูมปิ ญั ญาได้
- เยาวชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับการเพ่ิมมูลค่าผลิตภัณฑ์ รวมถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่
ในชมุ ชนดว้ ย

40 ค่มู อื การดา� เนินงานผผู้ ลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจา� ปี 2558

3.2 กิจกรรมเพิ่มพูนทักษะเยาวชนด้านการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น ด�าเนินการ
76 รุ่น ๆ ละ 7 วัน โดยมีสา� นักงานพัฒนาชมุ ชนจงั หวัดเป็นหนว่ ยด�าเนินการ
1) จงั หวดั คดั เลอื กเยาวชนทผ่ี า่ นการอบรมตามกจิ กรรมพฒั นาศกั ยภาพเยาวชนเพอื่ การอนรุ กั ษ์
และสบื สานภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ จงั หวดั ละ 4 คน เขา้ ร่วมกจิ กรรมฯ
2) จงั หวดั ประสานครภู มู ิปญั ญา ปราชญ์ชาวบา้ น หรือผูเ้ ช่ียวชาญ เปน็ วิทยากรให้ความร้แู ก่
เยาวชนตามสาขาท่ีเยาวชนสนใจ พร้อมจัดเตรียมสถานที่
ส�าหรบั การฝึกอบรมให้มีความเหมาะสม และปลอดภยั
3) กจิ กรรมที่ดา� เนนิ การ
- เยาวชนได้มาเรียนรู้การท�าผลิตภัณฑ์
ที่เป็นภูมิปัญญาจากครูภูมิปัญญา โดยเยาวชนจะได้เรียนรู้
ต้ังแต่ประวตั ิความเป็นมาของการผลติ ผลิตภัณฑ ์ การเร่ิมหา
วตั ถดุ บิ ข้นั ตอนการผลิตชอ่ งทางการจา� หนา่ ยสนิ คา้ และรวม
ถงึ เทคนคิ วธิ กี ารผลติ สนิ คา้ ทเี่ ปน็ เอกลกั ษณเ์ ฉพาะถน่ิ
- เยาวชนได้น�าความรู้เร่ืองการบันทึกภูมิปัญญามาใช้เป็นส่วนหนึ่งในการอนุรักษ์และ
สบื สานภูมิปญั ญาท้องถิน่ ของตนเอง

3.3 กิจกรรมพัฒนาศกั ยภาพเยาวชน OTOP ด้านการวางแผนธุรกจิ ดา� เนนิ การจ�านวน 5 วนั
โดยมีส�านกั นกั ส่งเสริมภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ และวิสาหกิจชมุ ชนเป็นหน่วยด�าเนินการ
1) จงั หวดั คดั เลอื กเยาวชนทผี่ า่ นการอบรมตามโครงการพฒั นาเยาวชนเพอ่ื การอนรุ กั ษภ์ มู ปิ ญั ญา
ท้องถนิ่ ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2549 – ปัจจบุ ันเขา้ รว่ มกจิ กรรมฯ
2) กรมฯ จดั ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารใหค้ วามรแู้ กผ่ เู้ ขา้
อบรม
3) กิจกรรมท่ดี า� เนินการ ดงั นี้
- การให้ความรู้ในการเตรียมความพร้อมสู่การ
เปน็ ผปู้ ระกอบการรนุ่ ใหม ่ การเขยี นโครงการทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ ทนุ
ชมุ ชนเพ่ือการพฒั นาธรุ กิจ OTOP
- การวางแผนธรุ กิจเบอื้ งตน้
- การศึกษาดงู านกลมุ่ ผู้ผลิตผู้ประกอบการ OTOP
ท่ีประสบความส�าเร็จ และไดร้ บั รางวัลจากการประกวดแผนธรุ กิจดีเด่น
- การพัฒนาชอ่ งทางการจ�าหนา่ ยสนิ คา้ OTOP
การนา� เสนอแผนธรุ กิจ ฝึกการจัดบทู การนา� เสนอผลิตภัณฑ์

คู่มอื การด�าเนินงานผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจ�าปี 2558 41

ขนั้ ตอนท่ี 4 การเผยแพร่ผลงาน
กรมฯ ดา� เนนิ การเผยแพรผ่ ลงานเยาวชนทเี่ ขา้ รว่ มโครงการผา่ นกจิ กรรมจดั แสดงผลงานเยาวชนเพอ่ื
การอนรุ กั ษแ์ ละสืบสานภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ เปน็ การน�าเยาวชนท่ผี ่านการอบรมรมตามโครงการพฒั นาเยาวชน
ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2549 – 2557 เข้าร่วมสาธิตผลิตภัณฑ์ในงานจัดแสดงและจ�าหน่ายสินค้า เช่น งาน OTOP
City งาน OTOP midyear งานศิลปาชพี ประทปี ไทย งาน OTOP ภมู ิภาค เปน็ ต้น

42 คู่มือการด�าเนนิ งานผผู้ ลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558


Click to View FlipBook Version