The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการดำเนินงาน-OTOP

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เป้ ปัตตานี, 2019-11-19 04:08:54

คู่มือการดำเนินงาน-OTOP

คู่มือการดำเนินงาน-OTOP

สรปุ ผลการดา� เนนิ งานท่ีผา่ นมา
ตงั้ แต่ ป ี พ.ศ. 2549 – 2557 มีเยาวชนกลมุ่ เปา้ หมายท่ีผ่านการพัฒนาตามโครงการพฒั นาเยาวชน
เพ่ือการอนุรักษ์สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น ตามกระบวนการพัฒนาฝึกอบรมของกรมการพัฒนาชุมชนแล้ว
จา� นวน 8,838 คน และในป ี พ.ศ. 2558 จะมีเยาวชนท่ีเขา้ ร่วมโครงการอีก 1,112 คน จากการสา� รวจ พบว่า
เยาวชนผู้ผ่านการอบรมสามารถนา� ความรู้ที่ได้รับไปสร้างสรรค์เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เกิดเป็นนวัตกรรมใหม่
ของสินค้า OTOP บางส่วนน�าความรู้ไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ท่ีมีอยู่ในชุมชนให้มีความทันสมัยและตรงกับความ
ต้องการของผู้บรโิ ภคมากขึ้น เป็นการสรา้ งรายได้ใหก้ บั ตนเอง ครอบครัว อกี ท้ังยังสามารถถา่ ยทอดเรื่องราว
ของภมู ิปัญญาทีม่ ีอยูใ่ นชุมชนของตนเองใหก้ ับผทู้ ี่สนใจอีกด้วย รายละเอียด ดงั น ้ี
1. กิจกรรมพัฒนาศกั ยภาพเยาวชนเพือ่ การอนุรกั ษแ์ ละสบื สานภูมิปญั ญาท้องถนิ่ ดา� เนินการโดย
สถาบันฯ/ศนู ย์ศึกษาฯ ทง้ั 11 แห่ง เยาวชนเข้ารว่ มโครงการ มีการจดั ตงั้ เครือข่ายเยาวชน OTOP ระดบั เขต
เยาวชนไดเ้ รยี นรภู้ มู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ การบนั ทกึ ภมู ปิ ญั ญา
ท้องถ่ิน และสามารถบนั ทกึ ภูมิปญั ญาในทอ้ งถ่นิ ของ
ตนเองได้
2. กจิ กรรมเพม่ิ พนู ทกั ษะเยาวชนดา้ นการ
อนรุ กั ษแ์ ละสบื สานภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ เยาวชนไดเ้ รยี นร ู้
เกย่ี วกบั อาชพี ภมู ปิ ญั ญาทตี่ นเองสนใจ กบั ครภู มู ปิ ญั ญา
ในสาขาอาชีพน้ัน ๆ เกิดเป็นผลงานโดยความคิด
สรา้ งสรรคข์ องเยาวชน และเอกสารการบนั ทกึ ภมู ปิ ญั ญา
3. กจิ กรรมพฒั นาศกั ยภาพเยาวชน OTOP
ดา้ นการวางแผนธรุ กิจ ด�าเนินการโดย ส�านกั ส่งเสรมิ
ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ และวสิ าหกจิ ชมุ ชน เยาวชนเกดิ การ
เรยี นร ู้ และสามารถนา� ความรทู้ ไี่ ดร้ บั ไปปรบั ใชใ้ นการ
วางแผนธรุ กจิ ของตนเอง ครอบครวั ได ้
4. กิจกรรมจัดแสดงผลงานเยาวชนเพ่ือ
การอนรุ กั ษแ์ ละสบื สานภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ จากการนา�
เยาวชนเขา้ รว่ มกจิ กรรม พบวา่ เยาวชนเกดิ การเรยี นร้ ู
ภูมิปัญญาท้องถ่ินที่น�ามาใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ ์
OTOP ตระหนกั ถงึ คณุ คา่ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ มแี นวคดิ
ในการสืบสานภูมิปัญญาท้องถ่ิน เยาวชนที่เข้าร่วม
โครงการฯ สามารถน�าความรู้ท่ีได้รับจากการเข้าร่วมโครงการฯ มาใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์
การเพ่ิมช่องทางการจ�าหน่ายสินค้า มีการพัฒนาปรับปรุงสินค้าได้ตรงกับความต้องการของผู้บริโภคมากข้ึน
และบางกลมุ่ สามารถนา� วตั ถดุ บิ ทมี่ อี ยใู่ นชมุ ชนมาพฒั นาเปน็ ผลติ ภณั ฑใ์ หม ่ ๆ และจดทะเบยี นเปน็ ผปู้ ระกอบการ
OTOP ซ่งึ ถอื วา่ ผลการดา� เนินงานโครงการสามารถบรรลวุ ัตถปุ ระสงคข์ องโครงการทต่ี ั้งไว้

คมู่ อื การด�าเนินงานผผู้ ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจ�าปี 2558 43

6. การคดั สรรสดุ ยอดหนงึ่ ตา� บล หนงึ่ ผลติ ภณั ฑไ์ ทย ปี พ.ศ. 2559

หลกั การและเหตผุ ล
รฐั บาลไดม้ ีนโยบายด้านเศรษฐกจิ ในการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การโครงการ หนึง่ ตา� บล
หน่ึงผลติ ภัณฑ์ เพอ่ื ใหผ้ ู้ผลติ ผูป้ ระกอบการพฒั นาผลติ ภัณฑ์ OTOP ใหม้ ีมลู คา่ เพม่ิ สงู ขึ้น ด้วยการพฒั นา
คุณภาพมาตรฐาน และสรา้ งภาพลกั ษณข์ องผลิตภัณฑ ์ OTOP ใหเ้ ป็นที่ยอมรบั จากผ้บู ริโภค โดยรฐั บาล
พรอ้ มทจี่ ะสนบั สนนุ ใหช้ มุ ชนเขา้ ถงึ องคค์ วามรสู้ มยั ใหม ่ แหลง่ เงนิ ทนุ และพฒั นาขดี ความสามารถในการบรหิ าร
จดั การและการตลาด เพ่ือเชอ่ื มโยงสนิ คา้ จากชุมชนสู่ตลาดท้ังในประเทศและต่างประเทศ
กรมการพัฒนาชุมชนได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการอ�านวยการหนึ่งต�าบล หน่ึงผลิตภัณฑ ์
แห่งชาติ (กอ.นตผ) ให้รับผดิ ชอบดา� เนินการคดั สรรสดุ ยอดหนง่ึ ตา� บล หนง่ึ ผลิตภัณฑ์ไทย (OTOP Product
Champion) ต่อเนื่องจากการลงทะเบียนผผู้ ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP เป็นประจา� ทกุ 2 ป ี เพอ่ื เป็นการ
สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ผลิตภัณฑ ์ OTOP ได้มโี อกาสพัฒนาให้มคี ณุ ภาพมาตรฐาน เป็นท่ยี อมรับแก่บคุ คลท่วั ไป
จนสามารถใช้เป็นแหล่งสร้างรายได้และความเข้มแข็งให้กับชุมชน อีกทั้งเป็นการกระตุ้นให้เกิดกระบวนการ
มีส่วนร่วมของผู้ผลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP และชุมชนในการพัฒนาผลติ ภัณฑ ์
วัตถุประสงค์โครงการ
1. เพ่ือจัดระดบั ผลิตภัณฑ ์ (Product Level) ทีจ่ ะนา� ไปส่กู ารพัฒนาผลติ ภณั ฑ ์
(Product Development)
2. เพื่อจัดท�าระบบฐานข้อมูลผลิตภัณฑ์ (Proile) ท่ีจะใช้ในการท�างานเชิงบูรณาการ
ของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
3. เพื่อเสริมสร้างคุณค่าของผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ยอมรับแก่บุคคลท่ัวไป จนสามารถใช้เป็นแหล่ง
สร้างรายไดแ้ ละความเข้มแข็งใหก้ ับชุมชน
4. เพือ่ กระตนุ้ ให้เกิดกระบวนการมีส่วนรว่ มของผผู้ ลิต ผู้ประกอบการ OTOP และชมุ ชน
ในการพัฒนาผลติ ภัณฑ์
กรอบการคดั สรรสดุ ยอดหนงึ่ ตา� บล หนงึ่ ผลติ ภณั ฑ์ไทย
1. สามารถสง่ ออกได้ (Exportable) โดยมีความแกร่งของตราผลิตภัณฑ์ (Brand Equity)
2. ผลิตอย่างตอ่ เนอื่ งและคุณภาพคงเดมิ (Continuous & Consistent)
3. ความมีมาตรฐาน (Standardization) โดยมคี ณุ ภาพ (Quality) และสร้างความพึงพอใจแก่
ลกู ค้า (Satisfaction)
4. มปี ระวตั ิความเป็นมาของผลิตภัณฑ ์ (Story of Product)

44 ค่มู อื การดา� เนนิ งานผผู้ ลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจ�าปี 2558

คุณสมบตั ขิ องผู้ผลิต ผู้ประกอบการและผลติ ภัณฑท์ ี่สามารถสมัครเข้ารบั การคดั สรรฯ
1. เป็นผู้ผลติ ผู้ประกอบการ OTOP ที่มีชอ่ื อยใู่ นการสา� รวจและลงทะเบยี นเปน็ ผ้ผู ลติ ผู้ประกอบการ
OTOP ปี พ.ศ. 2557 ถึงป ี พ.ศ. 2558 ของจังหวดั หรอื กรุงเทพมหานคร
2. เปน็ ผลติ ภณั ฑ์ท่ไี ดแ้ จง้ ไวใ้ นการส�ารวจและลงทะเบยี นผ้ผู ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP ปี พ.ศ. 2557
ถงึ ปี พ.ศ. 2558
3. ผลติ ภณั ฑต์ ามขอ้ 2 ตอ้ งผา่ นการรบั รองมาตรฐานตามทก่ี ฎหมายกา� หนด เชน่ อย. และหากผลติ ภณั ฑ์
ใดไม่มขี ้อกา� หนดของกฎหมายระบไุ วต้ อ้ งผ่านการรับรองมาตรฐานอยา่ งใดอย่างหนึ่ง กอ่ นวันสมคั รเข้ารบั การ
คดั สรรฯ เชน่ มผช., มอก., ฮาลาล, คิว (Qmark), GAP, GMP, HACCP และมาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ์ เปน็ ตน้
ทั้งนี้ กรณีผลิตภัณฑ์เครื่องประดับอัญมณี หากไม่มีมาตรฐานใดรับรองให้สามารถส่งเข้ารับการคัดสรรฯ ได ้
ส�าหรับผลิตภณั ฑท์ ี่อย่ใู นระหวา่ งขอรับรองมาตรฐานผลติ ภัณฑใ์ ห้ถอื ปฏบิ ตั ิ ดังนี้
3.1 กรณีเปน็ ผลิตภัณฑ์ของผผู้ ลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม ่ สามารถใช้หนังสือรบั รองจาก
หนว่ ยงานที่ย่นื ขอรับรองมาตรฐานผลติ ภัณฑ์เปน็ หลักฐานแทนใบรบั รองมาตรฐานผลติ ภณั ฑ ์ ท้งั นใี้ นระหว่าง
กอ่ นประกาศผลการคดั สรรฯ หากไมไ่ ดร้ บั การรบั รองมาตรฐานผลติ ภณั ฑจ์ ะถอื วา่ ขาดคณุ สมบตั แิ ละไมป่ ระกาศ
ผลการจดั ระดบั ผลติ ภณั ฑ์
3.2 กรณเี ปน็ ผลติ ภณั ฑข์ องผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP รายเกา่ ซงึ่ ใบรบั รองมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์
หมดอาย ุ สามารถใช้ใบรับรองมาตรฐานผลติ ภณั ฑท์ ่หี มดอายสุ มคั รเขา้ รับการคดั สรรฯ ได้ ท้ังนี้ ในระหว่าง
ก่อนประกาศผลการคัดสรรฯ หากได้รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ใหม่ จะน�าผลคะแนนท่ีได้คูณด้วย 1
แตห่ ากยังไมไ่ ด้รบั การรบั รองมาตรฐานผลิตภณั ฑ์ใหม่ในหว้ งเวลาดงั กล่าว ผลคะแนนทีไ่ ดจ้ ะคณู ด้วย 0.75
3.3 กรณที ่ไี มอ่ ยูใ่ นคณุ สมบัตติ ามข้อ 3.1 และ 3.2 ให้ใชห้ นังสือรับรองการจดทะเบียนทรัพยส์ นิ
ทางปญั ญา เชน่ สทิ ธบิ ตั ร อนสุ ทิ ธบิ ตั ร และสง่ิ บง่ ชที้ างภมู ศิ าสตร ์ ทงั้ นใ้ี นระหวา่ งกอ่ นประกาศผลการคดั สรรฯ
หากไมไ่ ดร้ ับหนังสือรับรองการจดทะเบยี นทรพั ย์สินทางปัญญาจะถือวา่ ขาดคุณสมบตั แิ ละไมป่ ระกาศผลการ
จัดระดับผลติ ภณั ฑ์
จ�านวนผลิตภัณฑ์ทผี่ ผู้ ลติ ผ้ปู ระกอบการสามารถสง่ เข้าคัดสรรฯ
ผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการผลติ ภณั ฑ ์ OTOP สามารถสง่ ผลติ ภณั ฑท์ ไี่ ดแ้ จง้ ไวใ้ นการสา� รวจและลงทะเบยี น
ผผู้ ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP ป ี พ.ศ. 2557 ถึงป ี พ.ศ. 2558 ซง่ึ เปน็ ผลติ ภณั ฑ์หลักทผี่ ่านการรบั รองมาตรฐาน
ทก่ี า� หนดไว้ ตามข้อ 3 สง่ สมคั รเขา้ รบั การคดั สรรฯ ไดร้ ายละ 1 ผลติ ภณั ฑ ์ (กรณผี ลิตภัณฑ์เดยี่ ว) หรอื 1 ชดุ
(กรณชี ดุ ผลิตภัณฑ์)

คู่มือการดา� เนินงานผูผ้ ลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558 45

ประเภทผลติ ภณั ฑท์ ค่ี ดั สรรฯ

ผลติ ภณั ฑท์ ค่ี ดั สรรฯ แบง่ ออกเปน็ 5 กลมุ่ ประเภทผลติ ภณั ฑ ์
ตามนยิ ามความหมายท่รี ะบ ุ ตอ่ ไปน้ี

1. ประเภทอาหาร หมายถึง ผลผลติ ทางการเกษตรและ
อาหารแปรรปู ซง่ึ ไดร้ บั มาตรฐาน อย., GAP., GMP., HACCP.,
Qmark, มผช., มอก., มาตรฐานเกษตรอินทรีย์, ฮาลาล, และ
มีบรรจภุ ณั ฑ์ เพอื่ การจ�าหนา่ ยทั่วไป แบง่ เปน็ 3 กลมุ่ ดังน้ี
1.1 ผลติ ผลทางการเกษตรทีใ่ ช้บรโิ ภคสด จ�าพวก พชื
ผัก ผลไม้ เชน่ มะม่วง สบั ปะรด สม้ เขยี วหวาน มงั คุด ส้มโอ
กลว้ ย เปน็ ตน้ กรณพี นั ธไ์ุ ม ้ เชน่ กง่ิ พนั ธม์ุ ะมว่ ง กงิ่ พนั ธม์ุ ะปราง
ไม้ประดบั ฯลฯ ไมถ่ ือวา่ เปน็ ผลติ ภัณฑ์ทีล่ งทะเบยี นได้
1.2 ผลิตผลทางการเกษตรที่เป็นวัตถุดิบและผ่าน
กระบวนการแปรรูปเบ้อื งต้น เช่น นา�้ ผึง้ ข้าวสาร ขา้ วกลอ้ ง
ข้าวฮาง เป็นต้น เน้ือสัตว์แปรรูป เช่น เน้ือโคขุน เน้ือนก
กระจอกเทศแชแ่ ขง็ หมแู ดดเดยี ว หมยู อ แหนม ไสอ้ วั่ ไสก้ รอก
ปลาอบรมควัน หอยจ้อ เป็นต้น อาหารประมงแปรรูป
เช่น ไส้กรอกปลา ปลาช่อนแดดเดียว ปลาสลิดแดดเดียว
ส้มปลาตัว น�้าบดู ู กะป ิ กุ้งแหง้ น�า้ ปลา ปลารา้ เป็นต้น กรณี
สตั ว์ที่มชี ีวติ เช่น ไกช่ น ปลากดั ไม่ถอื ว่าเปน็ ผลติ ภณั ฑท์ ลี่ ง
ทะเบียนได ้ เพราะไม่ผ่านกระบวนการแปรรปู เบอื้ งตน้
1.3 อาหารแปรรูปกึ่งส�าเร็จรูป/ส�าเร็จรูป เช่น ขนม
เค้ก เฉาก๊วย ขนมโมจิ เต้าส้อ กระยาสารท กล้วยฉาบ กลว้ ย
อบ มะขามปรงุ รส ทุเรยี นทอด กาละแม กะหรีป่ บ๊ั ขนมทอง
มว้ น ขา้ วเกรยี บ ขา้ วแตน๋ นา้� พรกิ เผาและนา�้ พรกิ ตา่ ง ๆ แจว่ บอง
น้�าจ้มิ สุก ี้ น้�าปลาหวาน ผกั กาดดอง พริกไทย แคบหมู ไขเ่ คม็
กุนเชียง หมทู บุ หมแู ผน่ เปน็ ตน้

2. ประเภทเครอ่ื งดมื่ หมายถงึ ผลติ ภณั ฑป์ ระเภทเครอ่ื งดม่ื
ทม่ี แี อลกอฮอล ์ ไดแ้ ก ่ สรุ าแช ่ สรุ ากลน่ั สาโท อ ุ ไวน ์ เหลา้ ขาว
35 - 40 ดีกร ี เปน็ ตน้ และเครอื่ งดม่ื ทีไ่ ม่มแี อลกอฮอล ์ ไดแ้ ก่
ผลิตภัณฑ์เคร่อื งดม่ื ประเภทพร้อมด่ืม ผลติ ภณั ฑ์ประเภทชง
ละลาย และผลติ ภณั ฑป์ ระเภทชง เชน่ น�า้ ผลไม้ น�้าสมนุ ไพร
เคร่ืองดื่มรังนก กาแฟคั่ว กาแฟปรุงส�าเร็จ ขิงผงส�าเร็จรูป
มะตมู ผง ชาใบหม่อน ชาจีน ชาสมนุ ไพร ชาชกั น�า้ เฉากว๊ ย
น�า้ เต้าหู้ นมสด นมขา้ วกลอ้ ง เปน็ ตน้

46 คมู่ ือการดา� เนนิ งานผู้ผลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจ�าป ี 2558

3. ประเภทผ้า เคร่ืองแต่งกาย หมายถึง ผ้าทอ
และผา้ ถกั จากเสน้ ใยธรรมชาตหิ รอื เสน้ ใยสงั เคราะห์ รวม
ท้ังเส้ือผ้า/เคร่ืองนุ่งห่ม และเครื่องแต่งกายท่ีใช้ประดับ
ตกแต่งประกอบการแต่งกาย ท้ังน้ีเพื่อประโยชน์ในการ
ใชส้ อยและเพ่ือความสวยงาม
3.1 ผา้ หมายถงึ ผลติ ภณั ฑผ์ า้ ผนื ทท่ี า� จากเสน้ ใย
เส้นด้าย นา� มาทอถักเปน็ ผืนมีลวดลายเกดิ จากโครงสร้าง
การทอหรอื ตกแตง่ สา� เรจ็ บนผนื ผา้ ทา� ดว้ ยมอื หรอื เครอื่ งจกั ร
รวมถึงผลิตภัณฑ์เส้ือผ้าและเครื่องนุ่งห่มซึ่งเป็นเส้นใย
ธรรมชาติและเส้นใยสงเคราะห์ ส่ิงทอ และผลิตภัณฑ์ที่
ทา� จากผา้ เปน็ หลกั และมวี สั ดอุ น่ื ๆ เปน็ องคป์ ระกอบ เชน่
ผา้ ไหม ผ้าฝ้าย ผ้าโสร่ง ผา้ ขาวม้า ผ้าคลมุ ไหล่ ผา้ บาตกิ
ผา้ ถุง ผ้าปกั ชาวเขา ผา้ คลมุ ผม หมวกกะปเิ ยาะ ผา้ พันคอ
เสอื้ ผ้าสา� เรจ็ รูปบุรษุ - สตรี เปน็ ต้น
3.2 เครื่องแต่งกาย หมายถึง ผลิตภัณฑ์ท่ีใช้
ประดับตกแต่งประกอบการแต่งกายท่ีท�าจากวัสดุทุก
ประเภทเพื่อประโยชนใ์ นการใช้สอย เชน่ รองเทา้ เขม็ ขัด
กระเป๋าถือ เป็นต้น และเพ่ือความสวยงาม เช่น สร้อย
แหวน ตา่ งหู เขม็ กลัด ก�าไล นาฬกิ าขอ้ มือ เนคไท หมวก
แฟช่ัน เปน็ ตน้

4. ประเภทของใช้/ของตกแต่ง/ของที่ระลึก
หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่มีไว้ใช้หรือตกแต่งประดับในบ้าน
สถานทต่ี า่ ง ๆ เชน่ เครอ่ื งใชใ้ นบา้ น เครอื่ งครวั เครอ่ื งเรอื น
ทม่ี ีวัตถุประสงคเ์ พอ่ื การใชส้ อย หรือประดบั ตกแตง่ หรอื
ให้เป็นของขวัญ เพื่อให้ผู้รับน�าไปใช้สอยในบ้าน ตกแต่ง
บ้าน รวมทั้งส่ิงประดิษฐ์ที่สะท้อนถึงวิถีชีวิต ภูมิปัญญา
และวัฒนธรรมท้องถิ่น และสินค้าน้ันต้องไม่ผลิตโดยใช้
เครื่องจักรเป็นหลักและใช้แรงคนเป็นส่วนเสริมหรือไม่ใช้
แรงงานคน โดยประเภทของใช/้ ของตกแตง่ /ของทีร่ ะลึก
แบง่ ออกเปน็ 7 กล่มุ ดงั นี้
4.1 ไม้ หมายถึง ของใช้/ของตกแต่ง/ของท่ี
ระลึก ที่มีวัสดุท่ีท�าจากไม้เป็นหลัก เช่น ไม้แกะสลัก
เฟอรน์ เิ จอร ์ กลอ่ งไม ้ นาฬกิ าไมต้ ง้ั โตะ๊ โคมไฟกะลามะพรา้ ว
ของเลน่ เดก็ เครอื่ งดนตร ี ตพู้ ระธรรม เรอื จา� ลอง แจกนั ไม ้
กรงนก ไม้แขวนเสื้อ เปน็ ตน้

คู่มือการดา� เนินงานผูผ้ ลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558 47

4.2 จกั สาน ถกั สาน หมายถงึ ของใช/้ ของตกแตง่ /
ของทรี่ ะลกึ ทมี่ วี สั ดทุ เี่ ปน็ เสน้ ใยธรรมชาต ิ หรอื วสั ดสุ งั เคราะห์
ใด ๆ เชน่ พลาสตกิ นา� มาจกั สาน หรอื ถกั สานถกั ทอเปน็ รปู รา่ ง
เช่น ตะกร้า กระจูดสาน เส่ือกก ท่ีรองจานท�าจากเสื่อกก
ทใี่ สข่ องทา� จากพลาสตกิ สาน กระจาด กระบงุ กระดง้ กระตบิ ขา้ ว
เชอื กมดั เปลยวน โคมไฟผกั ตบชวา ไมก้ วาด กระเชา้ เถาวลั ย์
พรมเช็ดเทา้ ฝาชี หมวกสานไมไ้ ผ ่ เป็นต้น
4.3 ดอกไม้ประดิษฐ์/วัสดุจากเส้นใยธรรมชาต ิ
หมายถึง ดอกไม้ ต้นไม้ กล้วยไม้ ผลไม้ที่ไม่ใช่ส่ิงมีชีวิตตาม
ธรรมชาติแต่ท�าจากวัสดตุ า่ ง ๆ เพอ่ื เลยี นแบบธรรมชาตหิ รอื
และผลิตภัณฑ์ประเภทของใช้/ของตกแต่ง/ของท่ีระลึก ที่มี
วัสดุท่ีท�าจากกระดาษสาเป็นหลัก เช่น ถุงกระดาษ กล่อง
กระดาษสา ตน้ ไม้ประดษิ ฐ์ ผลไม้ประดษิ ฐ ์ เปน็ ต้น
4.4 โลหะ หมายถึง ผลิตภัณฑ์ประเภทของใช้/
ของตกแตง่ /ของทร่ี ะลกึ ทท่ี า� จากโลหะตา่ ง ๆ เชน่ เงนิ ทองเหลอื ง
ดบี กุ สเตนเลส ทอง สงั กะส ี เปน็ ตน้ เปน็ สว่ นประกอบหลัก
เช่น ช้อนสอ้ ม มดี ผลิตภณั ฑ์ภาชนะทใี่ ช้โลหะ ภาชนะที่ท�า
จากสเตนเลสทบุ ทองเหลอื งทบุ พวิ เตอร์ บรอนซ ์ แกะสลกั ท่ี
ใชต้ กแต่งสถานทีต่ ่าง ๆ เปน็ ตน้
4.5 เซรามคิ /เครอ่ื งปน้ั ดนิ เผา หมายถงึ ผลติ ภณั ฑ์
ท่ีมีการน�าวัสดุประเภทดินสินแร่ไปขึ้นรูปและน�าไปเผาด้วย
ความรอ้ นสงู เพอื่ เปน็ ภาชนะ ของใช ้ ของตกแตง่ ของทรี่ ะลกึ
เช่น เบญจรงค ์ ถว้ ยชาม ภาชนะกระเบ้อื ง เซรามคิ โอง่ อา่ ง
กระถางต่าง ๆ เป็นต้น
4.6 เคหะสง่ิ ทอ หมายถงึ ของใช/้ ของตกแตง่ /ของ
ที่ระลึก ท่ีมีวัสดุท�าจากผ้ามีการตัดเย็บ เช่น ชุดเคร่ืองนอน
พรมเช็ดเทา้ ผ้าปโู ตะ๊ ถงุ มือถกั ส�าหรบั ทา� การเกษตร เป็นต้น
4.7 อื่น ๆ ของใช้/ของตกแต่ง/ของท่ีระลึก หรือ
ผลิตภัณฑอ์ ่นื ๆ ทใี่ ช้วัสดุอนื่ ใดนอกเหนอื จากขอ้ 4.1 – 4.6
เชน่ ท�าจากพลาสตกิ เรซิ่น แก้ว เทียน รปู วาด เปเปอร์มาเช่
กระจก ซเี มนต ์ ต้นไม้มงคล ตุ๊กตาจากดินไทย ผลไม้เผาดูด
กล่ิน พระพทุ ธรปู เป็นตน้

48 คูม่ ือการด�าเนนิ งานผ้ผู ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าป ี 2558

5. ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร หมายถึง
ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรหรือมีสมุนไพรเป็นส่วนประกอบ
อาจใช้ประโยชน ์ และอาจสง่ ผลต่อสขุ ภาพ ได้แก ่ ยาจาก
สมุนไพร เคร่ืองสา� อางสมุนไพร วตั ถุอนั ตรายท่ใี ช้ในบา้ น
เรอื น เชน่ นา�้ ยาลา้ งจานสมนุ ไพร สมนุ ไพรไลย่ งุ หรอื กา� จดั
แมลง และรวมถึงผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรที่ใช้ทางการ
เกษตร เช่น นา�้ หมักชวี ภาพ น้า� ส้มควันไม้ เปน็ ตน้ โดย
ประเภทสมนุ ไพรท่ีไมใ่ ช่อาหาร แบ่งเป็น 3 กลมุ่
5.1 ยาจากสมุนไพร
5.2 เครอ่ื งสา� อางสมุนไพร
5.3 วตั ถุอันตรายท่ใี ช้ในบ้านเรือน
ในกรณีที่มีปัญหาการจัดประเภทผลิตภัณฑ์ให้
พจิ ารณาจดั โดยคา� นงึ ถงึ วตั ถปุ ระสงคห์ รอื ประโยชนใ์ นการ
ใชส้ อย และใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพนิ จิ ของคณะอนกุ รรมการ นตผ.
จังหวดั

การจัดระดบั ผลติ ภณั ฑ์

การคดั สรรสดุ ยอดหน่ึงต�าบล หนึง่ ผลติ ภัณฑ์ไทย ป ี พ.ศ. 2559 ผลการด�าเนนิ การคดั สรรฯ จัดระดบั
ผลิตภณั ฑ ์ มีระดับเดียว คอื ระดับประเทศเท่านั้น โดยใชห้ ลักเกณฑเ์ ฉพาะแตล่ ะประเภทผลติ ภัณฑ ์ (Speciic
Criteria) ซงึ่ ประกอบดว้ ย หลกั เกณฑ์ในการพิจารณา 3 ดา้ น คือ หลักเกณฑ์ดา้ นผลติ ภณั ฑแ์ ละความเขม้ แขง็
ของชุมชน หลักเกณฑ์ด้านการตลาดและความเป็นมาของผลิตภัณฑ์ และหลักเกณฑ์ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ ์
ซงึ่ จะน�ามากา� หนดกรอบในการจดั ระดับผลิตภัณฑ ์ (Product Level) ออกเป็น 5 ระดับ ดงั น้ี

ระดับ 5 ดาว เป็นสินคา้ ที่มคี ุณภาพมาตรฐานหรือมีศกั ยภาพในการส่งออก
ระดบั 4 ดาว เป็นสินคา้ ทม่ี ศี กั ยภาพเปน็ ท่ียอมรับระดบั ประเทศ และสามารถพัฒนาสู่สากล
ระดบั 3 ดาว เปน็ สินค้าทมี่ คี ณุ ภาพระดบั กลางท่ีสามารถพัฒนาส่รู ะดบั 4 ดาวได้
ระดับ 2 ดาว เปน็ สินคา้ ทส่ี ามารถพัฒนาสู่ระดบั 3 ดาว มกี ารประเมินศกั ยภาพเปน็ ระยะ
ระดับ 1 ดาว เป็นสินคา้ ทีไ่ มส่ ามารถพัฒนาสู่ระดบั 2 ดาวได้ เนอ่ื งจากมีจดุ อ่อนมากและพฒั นายาก

หลกั เกณฑ์การคดั สรรสดุ ยอดหนง่ึ ตา� บล หนึง่ ผลติ ภณั ฑ์

การคัดสรรสุดยอดหนึ่งต�าบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ปี พ.ศ. 2559 ได้ก�าหนดให้มีการพิจารณาในการให้
คา่ คะแนนผลิตภัณฑ์ทีส่ ่งเขา้ รบั การคัดสรรฯ ในระดบั ประเทศ โดยมคี ณะกรรมการดา� เนินการคัดสรรสดุ ยอด
หน่ึงต�าบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ปี พ.ศ. 2559 ระดับประเทศ ตามกลุ่มประเภทผลิตภัณฑ์ เป็นผู้พิจารณาให้ค่า
คะแนนผลติ ภณั ฑ ์ มีองคป์ ระกอบและเกณฑก์ ารคดั สรรฯ ตามกลมุ่ ประเภทผลติ ภัณฑ์ ดังน้ี

คู่มอื การดา� เนินงานผ้ผู ลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจ�าปี 2558 49

องคป์ ระกอบเกณฑ์การคดั สรรฯ ประกอบด้วย 3 ส่วน ไดแ้ ก่
สว่ น ก. ด้านผลติ ภณั ฑ์และความเข้มแข็งของชุมชน (30 คะแนน)

³ ดา้ นการผลิต (12 คะแนน)
³ ดา้ นการพฒั นาผลิตภัณฑ์ (9 คะแนน)
³ ดา้ นความเข้มแข็งของชมุ ชน (9 คะแนน)
ส่วน ข. ดา้ นการตลาดและความเปน็ มาของผลิตภณั ฑ์ (25 คะแนน)
³ ดา้ นการตลาด (11 คะแนน)
³ ด้านความเปน็ มาของผลิตภณั ฑ ์ (14 คะแนน)
ส่วน ค. ดา้ นคุณภาพผลติ ภัณฑ์ (45 คะแนน)
³ การตรวจสอบ/วิเคราะห์คณุ ภาพตามประเภทผลิตภัณฑ ์ (40 คะแนน)
³ โอกาสทางการตลาดสูส่ ากล (5 คะแนน)

7. โครงการสง่ เสริมกระบวนการเครือข่ายองค์ความรู้
(Knowledge – Based OTOP : KBO) สเู่ ศรษฐกิจสรา้ งสรรค์

กรมการพฒั นาชมุ ชน ไดร้ บั มอบหมายจากคณะกรรมการอา� นวยการหนง่ึ ตา� บล หนง่ึ ผลติ ภณั ฑ ์ (กอ.นตผ.)
ใหร้ ับผิดชอบดา� เนนิ งานโครงการเครอื ขา่ ยองค์ความร ู้ (Knowledge - Based OTOP : KBO) จงั หวัด ตั้งแต่
ป ี พ.ศ. 2549 โดยเร่ิมดา� เนินการในจุดน�าร่อง 4 ภาค ๆ ละ 1 จงั หวดั คือ จงั หวัดเชียงใหม ่ อดุ รธาน ี ราชบรุ ี
และสงขลา เพื่อศกึ ษาหารปู แบบการด�าเนินงานของเครอื ขา่ ยองคค์ วามรู้ KBO จงั หวัด ในการพฒั นาขดี ความ
สามารถแก่ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP และด�าเนินการในทั่วประเทศในปี พ.ศ. 2550 ภายใต้แนวคิดการ
เชื่อมโยงสถาบันการศึกษาในท้องถ่ินกับชุมชนด้วยการจัดต้ังเครือข่ายเป็นศูนย์พี่เล้ียง/ฝึกวิชาชีพ OTOP
ออกแบบหลักสูตรให้สอดรับกับภูมิปัญญาในแต่ละท้องถ่ิน โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือส่งเสริมให้เครือข่ายองค์
ความร ู้ KBO จงั หวดั เป็นศนู ยก์ ลางในการให้ความชว่ ยเหลอื และการสนบั สนนุ ใหผ้ ผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP
พัฒนาขีดความสามารถในการประกอบการ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน
เป็นที่ต้องการของตลาดและสามารถจ�าหน่ายได้ทั้งในและต่างประเทศ โดยมีเป้าหมายให้ชุมชนสามารถพึ่ง
ตนเองไดอ้ ยา่ งยงั่ ยืน
องค์ประกอบคณะกรรมการเครือข่ายองคค์ วามรู้ KBO จังหวดั
1. ผูว้ า่ ราชการจงั หวัดหรอื รองผู้ว่าราชการจงั หวัดท่ีไดร้ บั มอบหมาย ประธานกรรมการ
2. ส่วนราชการที่เกี่ยวขอ้ งกับการพัฒนาผู้ผลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP กรรมการ
3. องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ กรรมการ
4. สถาบันการศึกษาในพื้นท่ ี กรรมการ
5. ภาคเอกชนทีเ่ กี่ยวข้องกับการพัฒนาผผู้ ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP กรรมการ

50 ค่มู อื การดา� เนินงานผผู้ ลิต ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจา� ปี 2558

6. เครอื ข่าย OTOP จงั หวดั กรรมการ
7. ปราชญช์ าวบ้าน กรรมการ
8. ส�านกั งานพัฒนาชุมชนจังหวัด กรรมการและเลขานกุ าร
รูปแบบการพฒั นาผลติ ภัณฑ์ของผู้ผลติ ผู้ประกอบการ OTOP โดยเครือขา่ ยองค์ความรู้ KBO จังหวัด
รปู แบบการพฒั นาผลิตภณั ฑข์ องผผู้ ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP โดยเครอื ข่ายองค์ความร ู้ KBO จังหวดั
ประกอบดว้ ย
1. การพัฒนาคุณภาพผลิตภณั ฑ์
2. การพฒั นาบรรจุภัณฑใ์ หเ้ หมาะสมกับผลิตภัณฑ์
3. การพฒั นารปู แบบของผลิตภณั ฑใ์ หเ้ หมาะสมกบั กลมุ่ เปา้ หมาย
4. การสร้างมลู คา่ เพมิ่ ให้กับผลิตภัณฑ ์ เช่น การเพิม่ เรื่องราวผลิตภัณฑ์
5. การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ โดยการน�าภูมิปัญญาท้องถ่ินมาประยุกต์ร่วมกับเทคโนโลยี
สมยั ใหม ่ มาใชใ้ นกระบวนการผลติ
6. การพฒั นาลักษณะของผลิตภณั ฑ ์ เชน่ สี กลนิ่ รสชาติ เนอื้ สมั ผสั เป็นต้น

แนวทาง/ขน้ั ตอน/วิธกี าร
1. แต่งตัง้ คณะกรรมการเครือข่ายองคค์ วามร ู้ KBO จงั หวัด ก�าหนดโครงสรา้ งและบทบาท
หน้าทีก่ ารด�าเนินงาน
2. จัดท�าบันทึกข้อตกลง (MOU) ร่วมกันระหว่างคณะกรรมการเครือข่ายองค์ความรู้ KBO
จังหวดั
3. จดั ต้งั ศูนยป์ ฏิบัตกิ ารเครอื ขา่ ยองคค์ วามรู้ KBO จังหวัด เพื่อเป็นสถานทีพ่ บปะพูดคุยของ
เครือข่ายองค์ความรู้ KBO จังหวัด จัดเก็บข้อมูลองค์ความรู้ และเป็นสถานท่ีแลกเปล่ียนเรียนรู้ให้แก่ผู้ผลิต
ผู้ประกอบการ OTOP

คู่มือการด�าเนนิ งานผู้ผลติ ผูป้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558 51

4. จดั ท�าฐานขอ้ มูลผู้ผลติ ผู้ประกอบการ OTOP จังหวดั
5. จัดทา� ฐานข้อมลู ผเู้ ชี่ยวชาญ ปราชญ์ชาวบา้ น
6. สา� รวจความตอ้ งการการพัฒนาขีดความสามารถของผผู้ ลิต ผู้ประกอบการ OTOP
7. จัดท�าแผนปฏบิ ตั ิการพฒั นาขีดความสามารถของผู้ผลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP
8. คดั เลอื กผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP เขา้ รว่ มโครงการ
9. จดั ทา� หลกั สตู รพฒั นาขดี ความสามารถตามความตอ้ งการของผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP
10. พัฒนาขีดความสามารถของผูผ้ ลิต ผ้ปู ระกอบการ OTOP ตามแผนปฏบิ ัติการ และ KBO
จงั หวัดพจิ ารณารับรองการพัฒนาผลิตภณั ฑข์ องกลุ่มเปา้ หมาย
11. เผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธผ์ ลการดา� เนนิ งาน และรว่ มประกวด KBO จงั หวดั ดเี ดน่ ระดบั ประเทศ

52 คูม่ ือการดา� เนนิ งานผ้ผู ลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจา� ปี 2558

ผลการด�าเนนิ งาน
จากการดา� เนนิ งานเครอื ขา่ ยองคค์ วามร ู้ KBO จงั หวดั ทดี่ า� เนนิ การในทว่ั ประเทศ ตง้ั แต ่ ป ี พ.ศ. 2549
ด�าเนนิ การในจุดนา� รอ่ ง 4 ภาค ๆ ละ 1 จังหวดั คอื จงั หวดั เชียงใหม่ อุดรธานี ราชบรุ แี ละสงขลา เพอ่ื ศกึ ษา
หารูปแบบการด�าเนินงานของเครือข่ายองค์ความรู้ KBO จังหวัดในการพัฒนาขีดความสามารถแก่ผู้ผลิต
ผปู้ ระกอบการ OTOP ใหเ้ ปน็ ไปตามแนวคดิ และวตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ นา� มาขยายผลการดา� เนนิ การพฒั นาเครอื ขา่ ย
องค์ความรู้ KBO จังหวัด ส่พู น้ื ท่ที ้งั 75 จงั หวดั และในปี พ.ศ. 2550 - 2557 เครือข่ายองคค์ วามร้ ู KBO จังหวดั
ด�าเนินการพัฒนาขีดความสามารถในการเป็นผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP และผลิตภัณฑ์ได้รับการพัฒนา
สร้างมูลค่าเพ่ิม การพัฒนาทักษะการผลิต การออกแบบผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ สร้างตราสินค้า เร่ืองราว
ผลติ ภณั ฑ ์ เปน็ ตน้ รวมถงึ การพฒั นาศกั ยภาพการเปน็ ผปู้ ระกอบการทดี่ แี กก่ ลมุ่ ผผู้ ลติ ชมุ ชน ในดา้ นการบรหิ าร
จัดการต้นทุน การจัดท�าบัญชี การเตรียมความพร้อมในการผลิตและการส่ือสารเพื่อการส่งออกต่างประเทศ
การจดั Display การหาตลาด เปน็ ตน้ ซงึ่ ไดร้ บั เลอื กเปน็ ตวั ชวี้ ดั คา� รบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการประจา� ปงี บประมาณ
2552 – 2557 โดยมกี ลุ่มผผู้ ลิตชมุ ชน OTOP ได้รับการเรียนรู ้ และผลิตภณั ฑไ์ ดร้ ับการพัฒนา จากเครือข่าย
องค์ความรู ้ KBO จังหวดั ไปแลว้ จ�านวน 41,319 กลุม่
ในปี พ.ศ. 2557 ด�าเนนิ โครงการสง่ เสรมิ กระบวนการเครอื ขา่ ยองค์ความร ู้ (Knowledge – Based
OTOP : KBO) สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค ์ งบประมาณ 69,342,400 บาท ท้ังน ี้ ได้จัดสรรกลุ่มเป้าหมายและ
โอนงบประมาณใหจ้ ังหวดั ดา� เนินกจิ กรรม จา� นวน 4,000 กลุ่ม งบประมาณ 62,322,800 บาท ซี่งกลุม่ ผ่าน
การรับรองการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มผู้ผลิตชุมชนโดยเครือข่ายองค์ความรู้ KBO จังหวัด
จ�านวน 3,859 กลุ่ม และด�าเนินกิจกรรมการประกวดและเผยแพร่ผลการด�าเนินงานเครือข่ายองค์ความร ู้
(Knowledge - Based OTOP : KBO) จังหวัด จังหวดั ทไี่ ด้รบั รางวลั คอื รางวลั ชนะเลิศ จงั หวดั สมทุ รปราการ
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 จงั หวัดเพชรบรุ ี รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 จงั หวัดชลบุร ี และรางวัลชมเชย 7
รางวลั คือ จังหวดั มุกดาหาร เชียงใหม่ ลา� พนู พะเยา อุทยั ธาน ี ประจวบครี ขี ันธ ์ และสงขลา
ในปี พ.ศ. 2558 ดา� เนินโครงการส่งเสรมิ กระบวนการเครือขา่ ยองค์ความรู้ (Knowledge - Based
OTOP : KBO) สเู่ ศรษฐกจิ สรา้ งสรรค ์ ภายใตง้ บประมาณ 79,490,000 บาท ก�าหนดกลุ่มเป้าหมาย 2,280
กลุม่ และให้จังหวัดพัฒนาผลติ ภัณฑ์ของกลุ่มผู้ผลิตชุมชนโดยเครือข่ายองค์ความร ู้ KBO จงั หวดั โดยการคดั
เลอื กผลติ ภณั ฑเ์ ดน่ จา� นวน 3 ผลติ ภณั ฑ ์ มาพฒั นา รวมทง้ั สนิ้ 228 ผลติ ภณั ฑ ์ และคดั เลอื กจา� นวน 1 ผลติ ภณั ฑ์
เขา้ รว่ มกจิ กรรมการประกวดและเผยแพรผ่ ลการดา� เนนิ งาน จะดา� เนนิ การรว่ มกบั การจดั งาน OTOP ศลิ ปาชพี
ประทปี ไทย OTOP กา้ วไกลด้วยพระบารมี

คู่มอื การดา� เนินงานผู้ผลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558 53

ในป ี พ.ศ. 2559 คาดว่าจะด�าเนนิ โครงการสง่ เสริมกระบวนการเครอื ขา่ ยองคค์ วามรู้ (Knowledge
– Based OTOP : KBO) สู่ตลาดอาเซียน จา� นวน 380 ผลติ ภณั ฑ ์ โดยการพัฒนาผลติ ภณั ฑ์เพ่ือใหจ้ า� หน่ายได้
ในตลาดประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น (AEC)

เอกชน เอกชน
เอกชน
เอกชน
จังหวดั
ประสาน

การด�าเนนิ งาน
เอกชน

บนั ทกึ สรา้ งความรู้
ข้อตกลง ตามแผน

แลกเปล่ียน จัดต้ังศนู ยป์ ฎบิ ตั ิการ ฐานข้อมูล
ความรู้ เครือขา่ ย องคค์ วามรู้

การปฏิบัติงานภายใต้กรอบการท�างานของเครือข่าย
- การจัดทา� ฐานข้อมลู
- ส�ารวจความตอ้ งการและจดั ท�าระเบียบความเช่ียวชาญ
- คัดเลอื กล่มุ ผูผ้ ลติ ฯ เข้ารว่ มโครงการ
- จัดท�าหลกั สูตรรองรับ
- พัฒนาศักยภาพ
- เผยแพรป่ ระชาสัมพันธ์
- สรุปผล/ถอดบทเรยี น

54 ค่มู อื การดา� เนนิ งานผผู้ ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจา� ป ี 2558

8. การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ OTOP ตามการจดั กลมุ่ Quadrant ( A B C D )

โครงการหน่ึงต�าบล หน่ึงผลิตภัณฑ์ (One Tambon One Prouduct) หรือโอทอป (OTOP) มี
รฐั บาลได้ใหก้ ารสง่ เสริมมาอยา่ งตอ่ เนือ่ งนับต้ังแต่ป ี พ.ศ. 2544 - จนถึงปจั จบุ นั รวม 13 ปี มีวตั ถปุ ระสงค์การ
ด�าเนินงานโครงการเพื่อสร้างอาชีพ กระจายได้สู่ชุมชนและแก้ไขปัญหาความยากจน ซ่ึงเป็นการเสริมสร้าง
ความเข้มแข็งของเศรษฐกิจในระดับฐานรากของประเทศ อย่างไรก็ตาม ความมุ่งเน้นให้ความส�าคัญในการ
ดา� เนินงานของโครงการ OTOP ทั้งในเร่อื งรปู แบบการบรหิ ารจดั การโครงการ งบประมาณด�าเนนิ งาน กลไก
การขบั เคลอื่ นตา่ ง ๆ ไดถ้ กู ปรบั เปลยี่ นใหม้ คี วามเหมาะสมตอ่ สถานการณใ์ นชว่ งเวลานนั้ ๆ ซงึ่ การพฒั นา OTOP
ทผ่ี า่ นมา ตงั้ แต ่ ป ี พ.ศ. 2544 ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาเนน้ การผลติ โดยใชผ้ ลติ ภณั ฑเ์ ปน็ ศนู ยก์ ลาง อกี ทง้ั มาตรการ
สง่ เสรมิ ของภาครฐั เปน็ ไปในรปู แบบเดยี วกนั มไิ ดม้ แี นวทางการสง่ เสรมิ เปน็ การเฉพาะแตล่ ะประเภทผลติ ภณั ฑ์
ซ่งึ มีศกั ยภาพแตกต่างกัน
ผลการพฒั นาทผี่ า่ นมายงั คงมปี ญั หา คอื สนิ คา้ OTOP ขาดการพฒั นาผลติ ภณั ฑใ์ หท้ นั สมยั สง่ ผลให้
สนิ ค้าขาดความนา่ สนใจ ผลติ โดยไม่คา� นงึ ถงึ ความต้องการของตลาด สินค้าจา� นวนมากขาดเอกลักษณ์ อกี ทัง้
ผู้ประกอบการหนึ่งต�าบล หน่ึงผลิตภัณฑ์ มีข้อจ�ากัดด้านทักษะและความรู้ ด้านการบริหารจัดการ ด้านการ
ผลติ สนิ คา้ ใหไ้ ดม้ าตรฐาน ขาดการนา� เทคโนโลยกี ารผลติ ทเ่ี หมาะสมมาใช ้ ขาดความสามารถในการเขา้ ถงึ แหลง่
เงินทุน อีกทั้งยังมีข้อจ�ากัดในการรับรู้และปรับตัวเพ่ือรองรับการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการ
ประกอบธรุ กจิ ข้อจา� กัดดา้ นการออกแบบผลิตภัณฑแ์ ละบรรจุภัณฑใ์ ห้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด
ไมส่ ามารถขยายตลาดใหโ้ ตขนึ้ เนื่องจากขาดการรวมกลมุ่ ทเ่ี ขม้ แข็ง คณุ ภาพไมค่ งท่ ี โดยเฉพาะกรณีทีม่ ีคา� สัง่
ซือ้ จา� นวนมาก เป็นต้น ซึ่งจะเหน็ ได้จากยอดจ�าหน่ายสินค้า OTOP เติบโตในอัตราทลี่ ดลง จ�านวนผู้ประกอบ
การท่ีเข้ารับการคัดสรรสุดยอดหนึ่งต�าบล หนึง่ ผลติ ภัณฑ์ไทยลดลง เชน่ ปี 2549 เขา้ คัดสรรฯ 13,970 ราย
และปี 2553 เปน็ 10,982 ราย
ดงั นั้น การพฒั นาสินคา้ OTOP และผู้ประกอบการหนึ่งต�าบล หนงึ่ ผลิตภณั ฑ ์ ใหค้ วามสามารถใน
การปรบั ตวั ทันตอ่ การเปล่ยี นแปลงรวมถงึ มคี วามสามารถประคับประคองธรุ กิจให้อยรู่ อดและด�าเนินธรุ กจิ ได้
อยา่ งตอ่ เนอื่ งทา่ งกลางการแขง่ ขน้ั ทท่ี วคี วามรนุ แรงมากขนึ้ นน้ั จงึ เปน็ ภารกจิ สา� คญั ทค่ี รอบคลมุ งานหลากหลาย
ด้าน และความเก่ียวข้องกับหน่วยงานจ�านวนมาก ท้ังน้ี นโยบายการด�าเนินงานส่งเสริมโครงการ OTOP
ในอนาคตต่อไปนนั้ จา� เป็นตอ้ งขับเคลือ่ นโดยการด�าเนินงานของหนว่ ยงานต่าง ๆ อย่างเป็นกระบวนการและ
บรู ณาการการทา� งานรว่ มกนั ในทกุ ภาคสว่ น การสง่ เสรมิ และพฒั นาคา� นงึ ถงึ ประเภทผลติ ภณั ฑท์ มี่ คี วามหลากหลาย
และศกั ยภาพความสามารถการแข่งขั้นท่ีแตกต่างกนั เปน็ สา� คญั โดยมีการก�าหนดแนวทางกลยุทธก์ ารพัฒนาที่
มคี วามชดั เจนเฉพาะกล่มุ (Segmentation)

คมู่ อื การด�าเนนิ งานผูผ้ ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจา� ป ี 2558 55

สา� หรับแนวทางการพฒั นา OTOP จะให้ความส�าคัญใน 3 ด้าน ดงั น้ี
1. ขับเคล่ือนการพัฒนา โดยเปล่ยี นกระบวนทัศน์ในการพฒั นาจาก “ผลิตภณั ฑ”์ เป็นศูนยก์ ลาง
สู่การมุง่ เน้นท ่ี “เครือขา่ ย (Community Cluster)” เป็นศูนย์กลาง เพอื่ เพมิ่ ขีดความสามารถ
ในการแข่งขนั ในระยะยาว
2. ขยายตลาด เชือ่ มโยงการท่องเทยี่ ว รวมทั้งการขยายโอกาสสู่ตลาดอาเซียนและสากล
3. เสริมสร้างคณุ ค่าตราสนิ ค้า OTOP (Branding Thailand) โดยการเสริมสรา้ งภาพลกั ษณส์ นิ คา้
OTOP ทีส่ ะทอ้ นถึงความมีนวั ตกรรม ความทันสมยั และทรงคณุ ค่าทางวัฒนธรรม

การจัดกลุ่ม OTOP Segmentation

กลยทุ ธก์ ารส่งเสรมิ และแนวทางการพฒั นาเฉพาะกล่มุ (Segmentation) โดยก�าหนดแนวทางการ
พัฒนาทีม่ ีความชดั เจนเฉพาะกลุม่ (Segmentation) จา� แนกได้ 4 กลมุ่ ประกอบดว้ ย
- กลมุ่ A ดาวเด่นสู่สากล : สนิ ค้ามคี ณุ ภาพราคาสงู และผลติ ได้ปริมาณมาก
- กลุ่ม B อนรุ ักษ์สร้างคุณคา่ ในกลุม่ ลกู ค้าเฉพาะ : สนิ ค้ามคี ุณภาพราคาสงู และผลิตในปริมาณน้อย
เพ่ือตอบสนองลกู คา้ เฉพาะราย
- กลมุ่ C พฒั นาเขา้ สูต่ ลาดการแขง่ ขัน : สนิ ค้ามีคุณภาพ/ราคาต�่าและผลติ ได้ปริมาณมาก
- กลมุ่ D ปรับตัวเข้าส่หู ่วงโซ่อปุ ทานการผลิต : สินคา้ มคี ณุ ภาพ/ราคาต�า่ และผลิตได้ปรมิ าณนอ้ ย

รายละเอียดการส่งเสริมและแนวทางการพฒั นาเฉพาะกล่มุ (Segmentation) ดงั นี้

กลุม่ A ดาวเดน่ สู่สากล : สนิ คา้ มีคุณภาพ/ราคาสงู และผลิตได้ปรมิ าณมาก
“ม่งุ เน้นการเพิ่มโอกาสเข้าถึงตลาดเป้าหมาย”

MARKET - สง่ เสริมการทา� วจิ ยั ตลาดและพฤติกรรมผู้บริโภคในตลาดเป้าหมาย
เพม่ิ ชอ่ งทาง เพอ่ื การก�าหนดยุทธศาสตรก์ ารแข่งขันธุรกจิ
การจ�าหน่าย - ผลักดันการเชอื่ มโยงเครือข่ายทางการตลาด ผ่านสมาคมการคา้ ทั้งในและ
และโอกาส ต่างประเทศ และเพมิ่ ชอ่ งทางการตลาดส่งออกผา่ นห้างคา้ ปลกี สมัยใหม ่ อาท ิ
ทางการตลาด หา้ งสรรพสินคา้ , Modem Trades, seven-eleven ซง่ึ มีสาขาในตา่ งประเทศ

- สนบั สนนุ ใหม้ โี อกาสในการขยายตลาดสสู่ ากล ในกลมุ่ ประเทศอาเซยี น ในประเทศ
คคู่ ้าใหม ่ เช่น รัสเซยี แอฟริกา ตะวันออกกลาง โดยการเข้ารว่ มงานแสดงสนิ ค้า
นานาชาต ิ การเจรจาจบั คู่ธุรกิจ Road show OTOP จัดกิจกรรมร่วมกบั รา้ น
อาหารไทยในตา่ งประเทศ/ส�านักงานไทยในตา่ งประเทศ ฯลฯ

- พัฒนาชอ่ งทางการตาดท่ีเขา้ ถงึ ลกู คา้ เปา้ หมาย อาทิ TV Shop Channels
Catalog Mail order เปน็ ต้น

56 คูม่ อื การดา� เนนิ งานผผู้ ลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจ�าป ี 2558

กลมุ่ A ดาวเดน่ ส่สู ากล : สนิ ค้ามีคุณภาพ/ราคาสงู และผลติ ได้ปริมาณมาก
“มุ่งเนน้ การเพิ่มโอกาสเข้าถึงตลาดเป้าหมาย”

PEOPLE : - จดั ให้มีศูนยจ์ �าหนา่ ยสนิ ค้า OTOP ในตา่ งประเทศ (Mini Thailand Plaza)
เสรมิ สรา้ ง เพอ่ื เปน็ แหลง่ จา� หนา่ ยสนิ คา้ ในตา่ งประเทศ และจดั แสดงสนิ คา้ OTOP เพอ่ื รบั คา�
องคค์ วามรู้ สง่ั ซ้อื
- เสรมิ สร้างความรกู้ ารด�าเนนิ ธุรกิจระหวา่ งประเทศ อาทิ ภาษีและกฎระเบียบ
ธุรกรรมระหวา่ งประเทศ พฤกิ รรมผบู้ รโิ ภค แนวโนม้ สนิ ค้าในอนาคต
สถานการณ์การแขง่ ขนั ของค่แู ขง่ ฯลฯ
- พัฒนาระบบการบริหารจัการธรุ กิจให้เป็นสากล อาทิ การบริหารจดั การ
การควบคมุ คณุ ภาพ การส่งมอบทตี่ รงเวลา ฯลฯ

Community - ส่งเสรมิ การรวมกลมุ่ เครือข่าย การเชื่อมโยงเครือขา่ ย เพือ่ เพมิ่ ขดี ความสามารถ
Clustrer : ในการรบั รองคา� สง่ั ซอื้ ปรมิ าณมาก ซ่ึงมรี ปู แบบการรวมกล่มุ เครอื ข่ายหลากหลาย
เสริมสร้าง อาทิ เครือขา่ ยชุมชนเพอ่ื การผลิตสินค้า 1 ชนิด เครอื ขา่ ยชมุ ชนเพือ่ การผลติ สนิ คา้
ความเขม้ แข็ง หลายชนิด เครอื ขา่ ยชุมขนเพือ่ การผลิตแบบห่วงโซ่อปุ ทาน เครอื ข่ายวัตถุดบิ
ของเครอื ข่าย เครือข่ายการตลาดและสมาคมต่าง ๆ ทมี่ ีศกั ยภาพในการสนบั สนนุ ดา้ นการตลาด
PRODUCT : ให้แกก่ ลมุ่ เครอื ขา่ ย เปน็ ตน้
ยกระดบั - เสริมสร้างความเขม้ แข็งของเครอื ขา่ ย โดยผลกั ดันใหม้ ีการจดั ท�ายทุ ธศาสตร์
ผลิตภัณฑ์ และแนวทางการด�าเนินงานของเครอื ขา่ ย พัฒนาผู้น�าหรือผ้ปู ระสานงานเครอื ข่าย
สสู่ ากล ให้มคี วามรแู้ ละเปน็ ทย่ี อมรบั ของกลุม่ เครอื ข่าย เสริมสร้างองคค์ วามรู้ดา้ นการ
บริหารจัดการและการประสานประโยชนข์ องเครอื ข่าย สนบั สนุนให้เครอื ข่าย
มกี ิจกรรมร่วมกนั
- พฒั นาผลติ ภณั ฑท์ ี่มเี อกลักษณ์เฉพาะ (Uniqueness) เพ่ือสร้างความแตกต่าง
สรา้ งมูลค่าเพมิ่ (Value added) ให้สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของตลาด
(ทง้ั ในดา้ นการออกแบบผลิตภัณฑแ์ ละบรรจุภัณฑ์) และสรา้ งภาพลักษณ์
ตราสนิ คา้ ให้เปน็ ทร่ี จู้ ักและได้รับการยอมรบั (Individual Brand)
- พัฒนาผลิตภัณฑ์สู่มาตรฐานทีส่ ากลยอมรับ เพื่อสรา้ งความเชอื่ ถือและเพม่ิ โอกาส
ให้สามารถสง่ ออกไปยงั ประเทศคูค่ ้าหลัก

ค่มู อื การด�าเนินงานผูผ้ ลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจา� ปี 2558 57

กลมุ่ A ดาวเด่นสู่สากล : สนิ ค้ามีคุณภาพ/ราคาสูงและผลิตได้ปรมิ าณมาก
“มงุ่ เน้นการเพิม่ โอกาสเข้าถึงตลาดเปา้ หมาย”

PROCESS : - สง่ เสรมิ การจดทะเบยี นทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา (IP) เพอ่ื ประโยชนใ์ นการบรหิ ารจดั การ
เพิม่ ประสิทธภิ าพ ทรพั ยส์ ินทางปญั ญาและการปกปอ้ งการละเมิดสิทธ์ิ
กระบวนการผลติ - สง่ เสรมิ การทา� วจิ ยั (R&D) เพอื่ พฒั นาวตั ถดุ บิ คณุ ภาพผลติ ภณั ฑแ์ ละกระบวนการ
ผลิต เพ่ือให้แข่งขนั ไดใ้ นระดบั สากล

- ส่งเสรมิ การนา� เทคโนโลยีและนวัตกรรม(S&T + Innovation) ท่ีเหมาะสมมาใช้
ในการบรหิ ารจัดการกระบวนการผลติ และค�านึงถงึ การรักษาสง่ิ แวดล้อม
เพ่อื เพม่ิ ประสิทธภิ าพและเป็นไปตามข้อกา� หนดของประเทศคู่คา้ ทม่ี แี นวโนม้
ให้ความสา� คญั ตอ่ เร่อื งสิง่ แวดล้อมมากขึ้น
- ส่งเสริมการเข้าสตู่ ลาดเงิน ตลาดทุน เชน่ ตลาดหลกั ทรัพย ์ MAI / EXIM BANK
เพอ่ื เพ่ิมโอกาสในการพฒั นาการผลติ และการแขง่ ขันทางการตลาดส่งออก

กลุ่ม B : อนุรกั ษส์ ร้างคณุ คา่ ในกลมุ่ ลกู คา้ เฉพาะ (คุณภาพ/ราคาสูง) + ปริมาณนอ้ ย
“มงุ่ เนน้ การสร้างคุณคา่ มูลคา่ เพ่ิมในตลาดเฉพาะ”

PRODUCT : - ตอกย�า้ คุณคา่ ของสินค้าดว้ ยเรอ่ื งราวของผลติ ภณั ฑ์ภูมปิ ัญญา เพม่ื เพมิ่ มลู คา่
ยกระดับคณุ ค่า ของสนิ ค้าและสรา้ งความคุ้มค่าในการรอคอย (Limited Edition) และสรา้ ง
ผลติ ภัณฑ์ ตราสินคา้ ให้เปน็ ทีร่ จู้ กั แกก่ ลุ่มลกู คา้ เปา้ หมาย
- พัฒนาผลติ ภณั ฑใ์ หไ้ ด้รับมาตรฐาน เพ่ือสร้างความเชอ่ื ถอื ใหแ้ ก่ลกู ค้า

PEOPLE : - เสริมสร้างระบบถ่ายทอดองค์ความรูแ้ ละภูมปิ ัญญาท้องถิ่นสคู่ นรุ่นตอ่ ไป
เสรมิ สรา้ งองคค์ วามรู้ เพื่อการสบื ทอดให้คงอยตู่ ่อไป

- พัฒนาระบบการจัดการค�าส่ังซอ้ื ตามลา� ดับ (Queuing System)

- เสรมิ สรา้ งความรกู้ ารดา� เนนิ ธรุ กจิ อาท ิ ภาษแี ละกฎระเบยี บ ระบบการทา� ธรุ กรรม
ทางธุรกิจทเ่ี ชือ่ ถอื ได ้ การควบคุมคณุ ภาพ การสง่ มอบทตี่ รงตามสญั ญา ฯลฯ

- สนบั สนนุ การพัฒนาทกั ษะฝมี ือร่วมกับศูนย์ศลิ ปาชพี ฯ

MARKET : - จัดงานและเข้ารว่ มงานนทิ รรศการแสดงเร่อื งราว ความเปน็ มาของสนิ ค้า
เพิ่มชอ่ งทาง (Story Product) น�าเสนอภูมิปัญญาวัฒนธรรม (Wisdom) ความเชอื่ ในสงั คม
การจ�าหน่าย องคค์ วามร ู้ จดั แสดงผลงานความสา� เรจ็ และผลงานเดน่ เพอื่ ใหล้ กู คา้ กลมุ่ เปา้ หมาย
และโอกาส เฉพาะรบั รใู้ นคุณคา่ ของสินคา้ ทงั้ ในความมคี ณุ คา่ ทางจติ ใจและความคมุ้ ค่า
ทางการตลาด ด้านราคา

58 คู่มือการดา� เนินงานผผู้ ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ป ี 2558

กลุ่ม B : อนรุ กั ษ์สรา้ งคณุ ค่าในกลุ่มลูกค้าเฉพาะ (คุณภาพ/ราคาสงู ) + ปริมาณนอ้ ย
“ม่งุ เน้นการสร้างคณุ ค่ามลู คา่ เพิม่ ในตลาดเฉพาะ”

- ส่งเสรมิ การนา� เทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้เพื่อการตลาดและจ�าหนา่ ยสินค้า
เชน่ จ�าหน่ายทางสื่อออนไลน์

- กิจกรรมทางการตลาดท่เี ข้าถึงกลมุ่ เป้าหมายเฉพาะ อาทิ งานประมูลสินคา้
งานนทิ รรศการและจา� หน่ายสินคา้ ในตา่ งประเทศ Road show ร่วมกับ
สถานทูตไทยในต่างประเทศ ซ่ึงเป็นงานแสดงสินคา้ เฉพาะกลมุ่ สินค้า
อนรุ กั ษ ์ (กลุ่ม B)

PROES : - ส่งเสริมการท�าวจิ ัยและพัฒนา (R&D) รวมถึงการศกึ ษาเชิงวชิ าการ เพอ่ื เปน็
เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพ ขอ้ มูลสนับสนุนองคค์ วามรู้และภมู ิปัญญา
กระบวนการผลิต - สง่ เสรมิ การจดทะเบียนทรัพย์สินทางปญั ญา (IP) เพอ่ื ปกป้องการละเมิดสทิ ธิ์
รวมถึงสง่ เสริมการขน้ึ ทะเบยี นสงิ่ บง่ ชที้ างภูมศิ าสตร ์ (GI) เพอ่ื ประโยชน์ทาง
การตลาด

กลุม่ C : พัฒนาเขา้ ส่ตู ลาดการแขง่ ขนั (คุณภาพ/ราคาต�า่ ) + (ปรมิ าณมาก)
“มุ่งเน้นการเพ่ิมผลติ ภาพและประสิทธภิ าพสูก่ ารแข่งขนั ”

PROCES : - พฒั นากระบวนการผลิตอย่างเปน็ ระบบและเพ่ิมประสทิ ธภิ าพ ลดต้นทุน
เพิ่มประสิทธิภาพ ลดความสูญเสยี จากการผลิต โดยคา� นงึ ถึงชมุ ชนและสิง่ แวดลอ้ ม
กระบวนการผลิต - เชอ่ื มโยงเทคโนโลย/ี งานวิจยั ท้องถิน่ เพ่ือแสวงหาเทคโนโลยีในระดับทเ่ี หมาะสม
มาใชใ้ นการผลิต รวมท้ัง ส่งเสริมการผลติ โดยใช้เทคโนโลยแี ละนวัตกรรม
(S&T + Innovation) ที่คา� นงึ ถงึ การรักษาสง่ิ แวดลอ้ ม

- สง่ เสริมการท�าวิจัยและพฒั นา (R&D) เพื่อปรบั ปรงุ คุณภาพและกระบวนการผลติ

PRODUCT : - เสรมิ สร้างอตั ลักษณแ์ ละความแตกตา่ งของสินคา้ (Uniqueness) ดว้ ยเร่ืองราว
ยกระดบั มาตรฐาน ภูมปิ ัญญา เพิอื่ สร้างมลู คา่ เพ่มิ (Value added) สร้างคุณค่าและสรา้ งความสนใจ
และสรา้ งมูลคา่ เพ่ิม ในตัวสินค้า
แกผ่ ลติ ภัณฑ์ - ปรบั ปรงุ และพฒั นาผลิตภัณฑ์ใหม ่ (Product development) ท้งั ในด้าน
การออกแบบผลติ ภัณฑ์และบรรจภุ ณั ฑ/์ ส่งเสรมิ และเช่อื มโยงนกั ออกแบบ
ผลิตภณั ฑ์ใหเ้ ขา้ มาช่วยเหลอื ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ ์ เพอื่ ใหผ้ ลติ ภณั ฑ์
มคี วามหลากหลายและสอดคลอ้ งกับกลมุ่ ลกู ค้าเป้าหมาย

คมู่ อื การดา� เนนิ งานผผู้ ลิต ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม ่ ประจา� ป ี 2558 59

กลมุ่ C : พฒั นาเข้าสู่ตลาดการแข่งขนั (คณุ ภาพ/ราคาตา่� ) + (ปริมาณมาก)
“มงุ่ เนน้ การเพ่ิมผลติ ภาพและประสทิ ธิภาพสู่การแข่งขัน”

- สง่ เสรมิ การพฒั นาคณุ ภาพผลิตภณั ฑ์ ผลักดนั ใหเ้ ขา้ สกู่ ระบวนการรบั รอง
มาตรฐาน ตลอดจนการรักษาไว้ซงึ่ คุณภาพตามมาตรฐาน

PEOPLE : - สง่ เสริมให้มตี ราสนิ คา้ เป็นของตนเอง (Individual Brand) เพอ่ื ใหเ้ ป็นท่ีรูจ้ ัก
เสรมิ สร้าง ของลกู ค้า รวมถึงส่งเสริมการใช้ตราสนิ ค้าระดับทอ้ งถิ่นหรอื จังหวดั
องค์ความรู้ (Common Brand) เพอื่ สร้างความเชื่อม่ันในคณุ ภาพมาตรฐานของสนิ คา้
แกล่ ูกคา้
- พัฒนาทกั ษะฝมี อื แรงงาน/สมาชิกกลุม่ ใหส้ ามารถผลติ ได้ตามมาตรฐาน
ท่กี �าหนด และไดค้ ณุ ภาพสม่�าเสมอ
- สง่ เสริมความร้ดู า้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ (IT) และสนบั สนนุ การนา� IT มาใช้
ในการบริหารจดั การธรุ กจิ

- เสรมิ สรา้ งความร้แู ละพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการธุรกิจ ใหม้ ีประสิทธิภาพ
เพือ่ รองรับความเสีย่ งทางธรุ กจิ

MARKET : - เสรมิ สร้างความรู้ในการดา� เนินธุรกิจ อาท ิ ความรูก้ ารบรหิ ารธรุ กิจสมัยใหม่
เพิม่ ช่องทาง การตงั้ ราคา ภาษีและกฎระเบยี บ ธรุ กรรมทางธรุ กจิ พฤติกรรมผูบ้ ริโภค
การจา� หน่ายและ แนวโน้มสินคา้ ในอนาคต สถานการณ์การแข่งขันของคู่แข่งขนั ฯลฯ
โอกาสทางตลาด - เช่อื มโยงสินคา้ OTOP กบั อตุ สาหกรรมท่องเท่ียวและอุตสาหกรรมภาพยนต์
อาทิ สมาคมการทอ่ งเท่ยี วการโรงแรม ธุรกิจน�าเทย่ี ว โรงแรม สถานทที่ อ่ งเที่ยว
รายการวิทยโุ ทรทศั น์ ฯลฯ โดยเช่ือมโยงท้งั ในระดบั ภายในทอ้ งถ่ินและระหว่าง
ส่วนกลางกบั ท้องถ่ิน

- เชอ่ื มโยงสนิ คา้ OTOP กับแหลง่ จ�าหน่ายสินค้าในทอ้ งถิ่น ทัง้ แหลง่ เดมิ
โดยพฒั นาศนู ยจ์ �าหนา่ ยสนิ ค้าประจ�าจังหวดั /ท้องถ่ิน ใหม้ ีการบริหารจดั การ
อย่างมอื อาชีพ พฒั นาหมูบ่ า้ น OTOP เพอ่ื การท่องเที่ยว และพฒั นาแหลง่
จ�าหนา่ ยใหม่ ซงึ่ เป็นสถานทศ่ี ูนย์รวมการเดนิ ทางหรือมนี กั ท่องเทย่ี วจา� นวนมาก
อาทิ สถานีขนส่ง สถานีรถไฟ สนามบนิ ศูนยบ์ ริการขอ้ มลู นักท่องเทีย่ ว ฯลฯ

- สง่ เสรมิ การเพ่มิ ชอ่ งทางการตลาดทีเ่ ข้าถงึ ลกู ค้าเป้าหมาย อาท ิ อนิ เทอร์เน็ต
สือ่ ออนไลน์ โทรทศั น์ วทิ ยแุ ละสอ่ื ประชาสมั พันธต์ ่าง ๆ ฯลฯ

- ส่งเสรมิ ให้มกี ิจกรรมภายในทอ้ งถิ่นหรอื กิจกรรมเชอ่ื มโยงกบั การท่องเที่ยว
อาท ิ การฟ้ืนฟปู ระเพณวี ัฒนธรรมของทอ้ งถ่ิน หรือการรเิ ร่มิ กจิ กรรม/
งานเทศกาลใหมท่ สี่ อดคลอ้ งกบั วิถีชีวติ ธรรมเนียมประเพณขี องทอ้ งถนิ่ ฯลฯ
เพอื่ ดึงดดู นักท่องเทีย่ ว เขา้ มาจบั จ่ายใชส้ อยและซื้อสินคา้ OTOP ในพืน้ ท่ี
เพิ่มมากขน้ึ

60 คู่มอื การด�าเนินงานผู้ผลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าป ี 2558

กลมุ่ C : พัฒนาเข้าสู่ตลาดการแขง่ ขนั (คณุ ภาพ/ราคาตา�่ ) + (ปริมาณมาก)
“มงุ่ เน้นการเพ่มิ ผลิตภาพและประสิทธภิ าพสกู่ ารแขง่ ขนั ”

- สง่ เสรมิ การเขา้ รว่ มงานแสดงและจา� หนา่ ยสนิ คา้ ในระดบั ทอ้ งถน่ิ ระดบั กลมุ่ จงั หวดั
ระดับประเทศ รวมถงึ การเจรจาจับคธู่ รุ กิจ

- สง่ เสรมิ การเพมิ่ ชอ่ งทางการจา� หนา่ ยผา่ นหา้ งคา้ ปลกี สมยั ใหม ่ อาท ิ หา้ งสรรพสนิ คา้
Modern Trades, seven-eleven ซงึ่ มีสาขากระจายท่ัวประเทศ

- เชื่อมโยงบรกิ ารของภาครัฐเพ่ือขยายช่องทางการจ�าหน่าย อาทิ สถานที ่
เวบ็ ไซต์ ชอ่ งทางการส่อื สารตา่ ง ๆ ของรัฐ บริการรับส่ังและขนส่งสินคา้ ของ
บริษัทไปรษณยี ไ์ ทย

Community - สง่ เสรมิ การทา� วจิ ยั ตลาดและพฤตกิ รรมผบู้ รโิ ภคในตลาดเปา้ หมาย เพอื่ การพฒั นา
Cluster : สนิ ค้า
เสริมสรา้ ง - สง่ เสรมิ การรวมกล่มุ เครอื ข่ายและการเชอื่ มโยงเครอื ขา่ ย ในรูปแบบเครือขา่ ย
ความเขม้ แขง็ ต่าง ๆ เพ่ือเพ่มิ ขีดความสามารถในการรองรบั คา� ส่ังซือ้ ปริมาณมาก อาท ิ
ของเครือข่าย เครือขา่ ยชมุ ชนเพื่อการผลติ สินค้า 1 ชนดิ เครอื ขา่ ยชมุ ชนเพือ่ การผลติ สินค้า
หลายชนิด เครอื ขา่ ยชมุ ชนเพอ่ื การผลิตแบบห่วงโซ่อุปทาน เครือข่ายวตั ถดุ บิ
เครอื ขา่ ยการตลาด และสมาคมต่างๆ ท่ีมศี ักยภาพในการสนบั สนุนด้านการตลาด
ใหแ้ กก่ ลมุ่ เครอื ขา่ ย เปน็ ตน้

- เสริมสร้างความเขม้ แขง็ ของเครอื ขา่ ย โดยผลักดันให้มกี ารจัดท�ายุทธศาสตร์
และแนวทางการด�าเนินงานของเครือข่าย พัฒนาผ้นู �าหรือผ้ปู ระสานงาน
เครอื ขา่ ยให้มคี วามร ู้ และเปน็ ทีย่ อมรับของกลุ่มเครอื ข่าย เสริมสรา้ งองค์ความรู้
ดา้ นการบรหิ ารจดั การและการประสานประโยชนข์ องเครือข่าย สนับสนุนให้
เครอื ขา่ ยมีกจิ กรรมร่วมกัน

คู่มอื การดา� เนินงานผผู้ ลิต ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558 61

กลุ่ม D : ปรบั ตวั เขา้ สหู่ ว่ งโซอ่ ุปทานการผลิต (คุณภาพ/ราคาตา�่ ) + (ปริมาณนอ้ ย)
“มุ่งเนน้ การรบั ชว่ งการผลิตโดยคา� นึงถึงทักษะฝมื อื เดมิ และเพม่ิ ทางเลอื กการมีอาชพี เสรมิ ”

Community - มงุ่ เน้นการรบั ช่วงการผลิต เพ่ือเป็นสว่ นหน่ึงของห่วงโซ่อุปทาน โดยส่งเสริม

Cluster : การเข้ารว่ มเปน็ กล่มุ เครือข่ายและการเชื่อมโยงเครือข่าย ในรูปแบบเครอื ขา่ ย
เสริมสรา้ ง ต่าง ๆ อาทิ เครือขา่ ยชุมชนเพ่อื การผลิตสนิ คา้ 1 ชนิด เครือข่ายชุมชน
ความเข้มแขง็ เพอื่ การผลติ สินคา้ หลายชนดิ เครอื ข่ายชุมชนเพื่อการผลติ แบบห่วงโซ่อปุ ทาน
ของเครือข่าย เป็นตน้ ทั้งนี้ เพื่อการมีรายไดจ้ าการรบั จา้ งผลิตหรือการผลิตเพอื่ แลกเปลีย่ น
สินคา้ ในชุมชน

PEOPLE : - เสริมสรา้ งทกั ษะฝีมอื แรงงานและเพ่ิมทางเลอื กดว้ ยการสง่ เสริมอาชีพเสริม
เสรมิ สรา้ งองคค์ วามรู้ - ส่งเสรมิ ใหม้ ีระบบพเี่ ลย้ี ง เพอ่ื วนิ ิจฉยั /วเิ คราะหศ์ กั ยภาพการด�าเนนิ ธรุ กจิ
และใหค้ า� ปรกึ ษาแนะน�า ให้การพัฒนาและเสรมิ สร้างความรู้การดา� เนินธรุ กิจ
ตามศกั ยภาพ

PRODUCT : - ส่งเสริมและพฒั นาคณุ ภาพผลติ ภณั ฑใ์ หเ้ ขา้ ส่กู ระบวนการรับรองมาตรฐาน
ยกระดบั มาตรฐาน และรักษาคณุ ภาพให้ไดต้ ามมาตรฐาน
ผลติ ภัณฑ์

PROCES : - พัฒนากระบวนการผลิตอยา่ งเป็นระบบและเพมิ่ ประสทิ ธิภาพ ลดต้นทนุ
เพิม่ ประสทิ ธิภาพ ลดความสญู เสียจากการผลิต โดยค�านึงถงึ ชุมชนและสิ่งแวดลอ้ ม
กระบวนการผลติ

MARKET : - ส่งเสริมใหม้ ีการจบั คู่ระหว่างผรู้ บั จ้างผลติ และผ้จู า� หนา่ ยสนิ คา้
เพ่มิ ชอ่ งทาง
การจ�าหน่ายและ - สง่ เสริมการเข้ารว่ มงานแสดงและจา� หนา่ ยสนิ ค้าในระดับท้องถ่ิน

โอกาสทางตลาด

62 ค่มู ือการดา� เนนิ งานผูผ้ ลติ ผูป้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558

สว่ นที่ 3

สาระน่ารู้ส�าหรับผผู้ ลิต ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม่

— 9 หลักการตลาดเบอ้ื งตน้ ทผี่ ูผ้ ลติ ผูป้ ระกอบการ OTOP ต้องรู้
— วธิ ีการตง้ั ราคาและการกระตุน้ ยอดขาย
— เทคนคิ การขาย
— การขอมาตรฐานผลิตภณั ฑ์

1. การขออนุญาตผลติ ภัณฑ์อาหาร (ขอเครื่องหมาย อย.)
2. การปฏิบตั ิทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices : GAP)
3. GMP : มาตรฐานการปฏิบตั ิในการผลิตทีด่ ี ( Good Manufacturing Practice)
4. มาตรฐานสินคา้ เกษตรและอาหาร “ Q MARK ”
5. HACCP : มาตรฐานการผลติ ท่ีมีมาตรการปอ้ งกันอนั ตราย ที่ผบู้ รโิ ภคอาจได้รับ

จากการบรโิ ภคอาหาร
6. มาตรฐานผลติ ภณั ฑช์ ุมชน (มผช.)
7. มาตรฐานผลิตภัณฑอ์ ตุ สาหกรรม (มอก.)
8. กระบวนการขอรับรองฮาลาลและขอใช้เคร่อื งหมายรบั รองฮาลาล
9. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ผา้ ไหมไทย (ตราสัญลักษณ์นกยูงพระราชทาน)

คมู่ ือการด�าเนินงานผู้ผลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558 63

64 ค่มู ือการดา� เนนิ งานผู้ผลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558

3สว่ นท่ี

สาระน่ารู้ส�าหรับผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่

9 หลกั การตลาดเบอ้ื งตน้ ทผี่ ผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP ตอ้ งรู้

1. วงจรชวี ติ ผลิตภัณฑ์

การศึกษาวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ หรือ product
life cycle แสดงใหเ้ หน็ วา่ ผลติ ภณั ฑแ์ ละตลาดมวี วิ ฒั นาการ
อยตู่ ลอดเวลา ในขณะทผ่ี ลติ ภณั ฑท์ หี่ นงึ่ เคลอ่ื นไปตามวงจร
ความสามารถในการทา� กา� ไรของผลิตภณั ฑน์ ้นั ก็จะเปลี่ยน
ไปดว้ ย

ดงั นนั้ บรษิ ทั จงึ จา� เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งบรหิ ารกลมุ่ ผลติ ภณั ฑ์
เพื่อให้สอดคล้องกับวงจรชีวิตช่วงต่าง ๆ ของผลิตภัณฑ์
ผลติ ภณั ฑท์ ปี่ ระสบความสา� เรจ็ จะตอ้ งทา� เงนิ ใหค้ มุ้ กบั ตน้ ทนุ
ในการพัฒนาผลติ ภณั ฑ์น้นั ๆ และยังตอ้ งเพยี งพอตอ่ การ
พัฒนาผลิตภัณฑ์ตัวใหม่ ซ่ึงจะออกมาทดแทนผลิตภัณฑ์
เก่านนั้ ด้วย

ความทา้ ทายอยทู่ วี่ า่ จะทา� อยา่ งไร? จงึ จะรกั ษาสว่ นแบง่ ตลาดใหไ้ ดม้ ากทส่ี ดุ โดยใชต้ น้ ทนุ นอ้ ยทสี่ ดุ ภายใต้
วงจรชีวติ ท่ผี ันแปรไปของผลติ ภณั ฑ์ทแี่ ตกต่างกัน ทุกผลิตภณั ฑม์ วี งจรชวี ิตของตวั เอง วงจรชวี ิตดงั กล่าวอาจ
แบ่งได้เป็น 4 ชว่ งคือ

1. ชว่ งแนะน�าผลิตภณั ฑ์ เปน็ ช่วงท่ผี ลิตภัณฑ์ได้รบั การแนะนา� สตู่ ลาด
2. ช่วงเติบโตอย่างรวดเร็ว เป็นช่วงท่ีมีผลิตภัณฑ์ออกมาในตลาดมาก ทั้งจากบริษัทและจากคู่แข่ง
3. ช่วงอิ่มตัว เป็นช่วงท่ีปริมาณผลิตภัณฑ์ในตลาดเริ่มอิ่มตัว การพัฒนาและการปรุงแต่งผลิตภัณฑ์

เร่ิมถงึ ทางตัน และเกิดขึ้นน้อยครงั้ ลง
4. ชว่ งถดถอย เปน็ ชว่ งทป่ี รมิ าณของผลติ ภณั ฑใ์ นตลาดลดลง ซง่ึ อาจเปน็ เพราะมผี ลติ ภณั ฑท์ ใ่ี หม่ และ
ทันสมัยกว่าออกมาแย่งลูกค้า หรือมีสินค้าทดแทนที่ท�าให้ลูกค้าไม่สนใจใช้ผลิตภัณฑ์นั้นอีกต่อไป
เป็นที่ชัดเจนวา่ วงจรชีวิตของผลติ ภณั ฑ์เป็นสงิ่ ท่จี ะตอ้ งนา� มาพจิ ารณาในการวางกลยทุ ธ์และแผนการ
ตลาดของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ แนวคิดด้ังเดิมมีอยู่ว่า ผลิตภัณฑ์ทุกประเภทมีวงจรชีวิตท่ีจา� กัด ซึ่งหมายความว่า
ในทสี่ ดุ ผลติ ภณั ฑต์ วั นน้ั จะตอ้ งถกู แทนทแ่ี ละหายไปจากตลาด แตย่ งั มแี นวคดิ อกี แนวคดิ หนง่ึ ซงึ่ เชอ่ื วา่ ผลติ ภณั ฑ์
ทสี่ ามารถจะอยยู่ ง่ั ยนื และไมห่ ายไป แตจ่ ะกลายตวั ไปเปน็ ผลติ ภณั ฑร์ ปู แบบอนื่ ทที่ นั สมยั มากขน้ึ เชน่ ววิ ฒั นาการ
ของเคร่อื งพิมพ์ดีดมาเป็นเครือ่ งคอมพิวเตอร์
จดุ ส�าคญั อยู่ทว่ี า่ ตอ้ งสามารถคิดทีจ่ ะพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ เพ่อื ที่จะยดื อายวุ งจรของผลติ ภณั ฑแ์ ละตลาด
ไว้ให้นานท่สี ุด

คมู่ อื การดา� เนนิ งานผผู้ ลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558 65

2. แผนภมู ิการเติบโต

จะทา� ใหเ้ ราสามารถแยกแยะสินค้าหลาย ๆ ชนดิ
ของบรษิ ทั โดยเปรยี บเทยี บกบั อตั ราการเตบิ โตของตลาด
และสว่ นแบง่ ทางการตลาดของสนิ คา้ แตล่ ะชนดิ สนิ ค้าท่ี
มสี ว่ นแบง่ ทางการตลาดสงู ในตลาดทมี่ อี ตั ราการเตบิ โตชา้
จะทา� รายไดจ้ ากการผลติ ได้มาก ในทางกลบั กนั การผลิต
สินค้าท่ีเรามีส่วนแบ่งทางการตลาดน้อย ควรที่จะได้รับ
การพจิ ารณาอย่างรอบคอบว่า ควรจะผลิตตอ่ ไปหรอื ไม่

สา� หรบั บรษิ ทั ทมี่ สี นิ คา้ หลากหลาย การนา� แผนภมู ิ
การเตบิ โต-สว่ นแบง่ การตลาดไปใช้ จะชว่ ยใหบ้ รษิ ทั สามารถ
ประเมิน และพิจารณาการถ่วงดุลสินค้าแต่ละชนิดของ
บรษิ ทั เพอ่ื ดวู า่ สนิ คา้ ตวั ใดควรจะเนน้ ในการพฒั นา ลงทนุ
เพ่ิมเติม หรือสินค้าตัวใดควรจะตัดจากสายการผลิต เพ่ือท่ีจะก�าหนดกลยุทธ์ในกลุ่มสินค้าที่เรามีอยู่ เราต้อง
ทราบวา่ ตลาดทเี่ ราท�าธุรกิจอยหู่ รอื ตลาดที่เราต้องการทา� ธรุ กิจมีความนา่ สนใจเพียงไร
มคี วามเป็นไปได้น้อยมากทเี่ ราจะโชคดเี จอตลาดท่เี พยี บพรอ้ ม มีค่แู ข่งนอ้ ย มีอัตราการเตบิ โตสงู และ
ผลกา� ไรตอบแทนสงู พรอ้ ม ๆ กนั อยา่ งไรกต็ าม เราจะเนน้ ตลาดทน่ี า่ สนใจ ทสี่ ามารถใชท้ รพั ยากรทเ่ี รามอี ยแู่ ละ
ความพยายามให้คุ้มค่าที่สุด
การแบ่งเขตการตลาดไม่ใช่ส่ิงท่ีง่าย เพราะข้ึนอยู่กับขอบเขตการพิจารณาหลายอย่าง อย่างไรก็ตาม
ตามหลกั การแลว้ เราตอ้ งการทจ่ี ะเปน็ ผนู้ า� ในตลาดสนิ คา้ ของเราเสมอ โดยทต่ี ลาดควรจะมขี นาดใหญพ่ อ มกี าร
เตบิ โตสงู และมอี ตั ราผลตอบแทนทดี่ ี เพราะถา้ ตลาดมกี ารแขง่ ขนั สงู การตง้ั ราคาเพอื่ ใหม้ ผี ลตอบแทนทเี่ หมาะสม
ก็อาจจะเปน็ สิง่ ทย่ี าก แผนภูมกิ ารเตบิ โต-ส่วนแบ่งการตลาด เปน็ หลกั ความคดิ ทแี่ บ่งสินค้าในกลุ่มสินคา้ ออก
เป็น 4 ประเภทคอื
1. ดวงดาว (Star) ตัวกลุ่มสินค้าที่มีการเติบโตสูงกว่าอัตราเฉล่ียของตลาด เป็นกลุ่มที่ต้องเน้นการ
รกั ษาอัตราการเตบิ โตทส่ี งู และขยายตลาดในเวลาเดียวกัน
2. ววั นม (Cash Cow) กลมุ่ ทม่ี กี ารขยายตวั การตลาดตา�่ แตม่ สี ดั สว่ นของการครองตลาดสงู เปน็ สนิ คา้
ทา� เงนิ เปน็ กลุ่มท่ีมีศกั ยภาพในการครองตลาด ต้องรักษาฐานตลาดใหม้ น่ั
3. เดก็ มปี ญั หา (Problem children) เปน็ กลมุ่ ทม่ี ปี ญั หาใหข้ บคดิ คอื มกี ารขยายตวั สงู แตย่ งั มสี ดั สว่ น
การตลาดน้อย เป็นกลมุ่ ทีม่ ศี ักยภาพในการครองตลาด
4. สนุ ขั (Dogs) กลมุ่ สนิ คา้ ทอี่ ยใู่ นชว่ งถดถอยหรอื เปน็ สนิ คา้ ทไี่ มต่ ดิ ตลาด สดั สว่ นตลาดนอ้ ยขยายตวั ตา�่
ต้องลดการลงทุนหรอื หาผถู้ ือลงทุนใหม่ รวมทั้งปรับยุทธศาสตร์
หลักการจัดแบ่งสินค้านี้ขึ้นอยู่กับ อัตราการเติบโตของตลาดและส่วนแบ่งการตลาดของสินค้าน้ัน ๆ
แผนภูมิการเติบโต-ส่วนแบ่งการตลาด จะท�าให้เราสามารถวิเคราะห์ได้ว่า สินค้าชนิดใดที่ท�าเงินให้แก่บริษัท
และสนิ ค้าชนิดใดทคี่ วรจะเลกิ ผลิต

66 คู่มอื การดา� เนินงานผผู้ ลติ ผูป้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558

3. แรงกระทบทั้ง 5

สภาวะแวดล้อมในการด�าเนินธุรกิจ ถือเป็น
ส่งิ ส�าคัญทต่ี อ้ งนา� มาพิจารณาในการวางแผนกลยทุ ธ์
ของบริษัท การวางแผนกลยุทธ์จะไม่ประสบความ
สา� เรจ็ หากปราศจากการวิเคราะห์ สภาวะแวดลอ้ ม
ความรุนแรงของการแข่งขัน และอุตสาหกรรมหรือ
ตลาดเปา้ หมาย การวเิ คราะหแ์ รงกระทบทง้ั 5 จะชว่ ย
ใหเ้ ขา้ ใจถงึ โครงสรา้ ง แนวโนม้ หลกั และแรงกระทา� ตา่ ง ๆ
ท่ีจะมีผลกระทบต่อความสามารถในการท�าก�าไรใน
อตุ สาหกรรมหรอื ตลาดเปา้ หมาย ชว่ ยใหท้ ราบถงึ จดุ แขง็
และจุดอ่อนท่ีเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมและคู่แข่ง
เหน็ ภาพแนวโนม้ และภยั คกุ คามในอตุ สาหกรรม และ
ทราบว่าอุตสาหกรรมก�าลังจะโตข้ึนหรือถดถอยลง
แรงกระทบท้ัง 5 ที่กล่าวถึงคือ 1. ผู้ขายวัตถุดิบ
2. ผูซ้ ือ้ สินคา้ 3. ผู้แขง่ ขนั รายใหม่ 4. สินค้าทดแทน
และ 5. การแข่งขันระหว่างคู่แข่งในอุตสาหกรรม
เดยี วกนั โดยปกตถิ า้ แรงกระทบทง้ั 5 มคี า่ ตา่� แสดงวา่
อตุ สาหกรรมนน้ั นา่ สนใจลงทนุ ในทางกลบั กนั ถา้ แรง
ทง้ั 5 มคี า่ สงู แสดงวา่ อตุ สาหกรรมนน้ั มกี ารแขง่ ขนั สงู
มคี วามเสี่ยงสูงไม่นา่ ลงทุน

4. ผลิตภณั ฑ์ เพ่ือให้เกิดความแน่ใจว่า ลูกค้าจะซ้ือสินค้า
จากบริษทั แทนทจี่ ะซอ้ื จากคูแ่ ขง่ จะตอ้ งท�าใหส้ ินคา้
ส่วนผสมทางการตลาด-ผลิตภัณฑ์ หมายถึง มีความแตกต่างจากคู่แข่ง และดีกว่าคู่แข่ง โดยการ
แนวคดิ ทวี่ า่ จะผลติ สนิ คา้ ใหต้ รงกบั ความตอ้ งการของ ประชาสมั พนั ธถ์ งึ ลกั ษณะเดน่ ทชี่ ดั เจนของสนิ คา้ เพอื่
ตลาด กลุ่มเป้าหมายหรือผู้บริโภคได้อย่างไร? ให้ลกู ค้าเกิดความม่นั ใจตอ่ สนิ ค้าของบรษิ ทั และเกดิ
การยอมรับถึงความแตกต่างของสินค้าเม่ือเทียบกับ
การตลาดไม่ได้หมายถึง การขายสินค้าท่ผี ลิต ของค่แู ขง่
แต่หมายถงึ การทราบวา่ จะผลติ สินคา้ อะไร? ให้ตรง
กบั ความตอ้ งการของลูกค้า ความตอ้ งการของลูกค้า ประโยชนข์ องสนิ คา้ ทแี่ ตกตา่ งนี้ ควรจะสามารถ
มีการเปล่ียนแปลงตามกาลเวลา บริษัทควรมีการ สอ่ื สารได้ และควรจะตอบสนองตอ่ ประสาทสมั ผสั ทงั้
ปรบั ปรงุ คณุ ภาพสนิ คา้ หรอื ขยายชนดิ ของสนิ คา้ หรอื 5 ของลูกคา้ คือ การมองเหน็ การได้ยิน กลิน่ รสชาติ
ผลิตภัณฑ์เพ่ิมข้ึน เพ่ือเป็นการป้องกันไม่ให้บริษัทคู่ และสามารถจบั ตอ้ งได้ หรอื สามารถอธบิ ายและจดจา�
แขง่ เข้าทา� ในตลาดส่วนนี้ได้ ดว้ ยวธิ ีการปรับปรงุ หรือ ไดง้ า่ ย ซง่ึ ปจั จยั ดงั กลา่ วจะตอ้ งสามารถกอ่ ใหเ้ กดิ รายได้
ขยายสินค้าชนิดนี้ จะท�าให้ลูกค้าเกิดความต้องการ และปอ้ งกนั การเลยี นแบบจากคแู่ ขง่ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดดี ว้ ย
และเกดิ การซอื้ ซ้�า และมคี วามจงรกั ภักดใี นย่ีหอ้ ของ
สินคา้ นนั้ ๆ

คมู่ ือการด�าเนนิ งานผูผ้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558 67

5. กลยุทธร์ าคา

การก�าหนดราคาขายท่ีถูกต้องส�าหรับสินค้าเป็น
สิ่งท่ีส�าคัญ ที่มีผลกระทบโดยตรงต่อรายได้และผลก�าไร
ของบรษิ ทั ผลก�าไรคอื ผลต่างระหว่างตน้ ทนุ ในการผลิต
สนิ ค้า (ซงึ่ ได้รวมคา่ ใชจ้ ่ายทเี่ ก่ียวข้องไวท้ ั้งหมด) กับราคา
ขายของสินค้า (ราคาขายของสินค้า-ต้นทุนการผลิต)

หลายบรษิ ทั ใชต้ น้ ทนุ กลยทุ ธท์ างราคาในแบบตน้ ทนุ
บวก (ต้นทุน + กา� ไรที่ตอ้ งการ) แตอ่ ยา่ งไรก็ตาม การใช้
ระบบการคดิ เช่นน้ีจะเกิดความผิดพลาดได้

เนอ่ื งจากในความเปน็ จรงิ แลว้ ราคามคี วามเคลอ่ื นไหว
เปลย่ี นแปลงมากกวา่ ทจี่ ะหยดุ นง่ิ อยกู่ บั ที่ การเปลย่ี นแปลง
ของราคาสินค้าจะก่อใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงในยอดขายแทบจะทุกคร้ังไป

บอ่ ยครงั้ ราคาสนิ คา้ แพงขนึ้ มกั เปน็ สาเหตใุ หค้ วามตอ้ งการซอื้ สนิ คา้ ลดนอ้ ยลง ในขณะทรี่ าคาสนิ คา้ ลด
ลงสามารถช่วยให้ยอดขายเพ่ิมสูงข้ึนได้ การตอบสนองลักษณะน้ีจะช่วยให้สามารถน�ากฎการเคล่ือนไหวของ
ราคามาเป็นประโยชน์ และจะช่วยอธิบายว่า จะน�าความรู้ท่ีเก่ียวข้องกับกลยุทธ์ส่วนผสมทางการตลาดด้าน
ราคามาช่วยในการสรา้ งผลก�าไรสูงสุดจากการขายได้อย่างไร?

6. ชอ่ งทางการจ�าหน่าย

ในเรือ่ งของชอ่ งทางการจา� หน่าย ยงั เปน็ ส่วนประกอบทสี่ �าคญั อย่างหนง่ึ ในส่วนผสมทางการตลาด ยงั
มคี วามเกย่ี วพนั กบั เรอื่ งยอดขายและการกระจายสนิ คา้ ออกสตู่ ลาด การเลอื กสถานทหี่ รอื ชอ่ งทางการจา� หนา่ ย
ทเี่ หมาะสม เปน็ หนงึ่ ในหลกั การแขง่ ขนั ทจี่ ะทา� ใหบ้ รษิ ทั
สามารถเอาชนะคู่แข่งท่ีไม่สามารถบริหารช่องทางการ
จา� หน่ายท่ดี ไี ด้

ในการที่จะท�าความเข้าใจในเร่ืองของการเลือก
ช่องทางจา� หนา่ ย แบ่งเป็น 3 หวั ขอ้ หลักทเี่ กี่ยวขอ้ งคือ

1) การขายและชอ่ งทางการตลาด ทุกบริษทั จะ
ตอ้ งมแี ผนการจา� หนา่ ยซง่ึ ระบถุ งึ ยอดหรอื เปา้ ของสนิ คา้
ที่จะถกู จ�าหนา่ ยออกไปในแต่ละชอ่ งทางการจ�าหนา่ ย

2) การกระจายสินคา้ เป็นกระบวนการในการ
นา� สนิ ค้าออกสตู่ ลาดไปสูผ่ บู้ ริโภค และยงั รวมการไหลของขอ้ มลู ทจ่ี �าเปน็ ในการบริหารได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
และประสิทธิผล

3) การบริการลกู ค้าคอื ทุก ๆ ด้านของความสมั พนั ธ์ทบ่ี รษิ ทั มีตอ่ ลกู ค้า รวมไปถึงความสม่�าเสมอของ
ชว่ งเวลาในการสง่ สนิ คา้ การสอื่ สารอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และการมสี นิ คา้ สง่ มอบไดอ้ ยา่ งตรงเวลาและสมา�่ เสมอ

68 ค่มู อื การด�าเนินงานผู้ผลติ ผูป้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558

7. การสง่ เสรมิ การขายและบรรจภุ ัณฑ์

การส่งเสรมิ ทางการขายคือ การตดิ ต่อส่ือสารระหว่างบริษทั กับลูกค้า หรอื กลุม่ เปา้ หมายท่อี าจจะเปน็
ลกู คา้ ในอนาคต ถงึ ความตอ้ งการในสนิ คา้ และบรกิ ารอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ ดว้ ยการสอื่ สารทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ
นเี่ อง จะท�าใหภ้ าพลักษณข์ องสินค้า ตราสินคา้ หรอื แมแ้ ต่ตัวบริษัทมีภาพลกั ษณท์ ่ีดใี นสายตาของลูกค้า และ
นา� ไปสกู่ ารเพ่ิมยอดขายและการพัฒนาศักยภาพทางการแข่งขนั ใหแ้ กส่ ินค้า

ความคดิ รเิ รมิ่ ในดา้ นสนิ คา้ ราคา และสถานทจี่ ดั จา� หนา่ ย ซงึ่ เปน็ สว่ นประกอบอน่ื ในสว่ นผสมทางการ
ตลาดนอกเหนอื จากการสง่ เสรมิ ทางการตลาด กจ็ า� เปน็ จะตอ้ งสง่ เสรมิ ซงึ่ กนั และกนั เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั จดุ หมาย
เชิงกลยทุ ธ์ของบริษัท

ชอ่ งทางการสง่ เสรมิ การขาย มี 3 ชอ่ งทางคอื การโฆษณา การประชาสมั พนั ธ์ และการสง่ เสรมิ ในการขาย

8. การวิเคราะห์งบกระแสเงินสด

กระแสเงนิ สดมคี วามสา� คญั ตอ่ ธรุ กจิ เปน็ อย่างยิ่ง หลายคนคงสงสัยวา่ เพราะเหตุใดธรุ กิจมีก�าไรแตไ่ ม่มี
สภาพคลอ่ งเลย เปน็ เพราะกา� ไรเปน็ เพยี งตวั เลขทางบญั ชี แตใ่ นความเปน็ จรงิ บรษิ ทั ตอ้ งใชเ้ งนิ สดในการชา� ระ
คา่ สนิ คา้ แมก้ ระทงั่ เงนิ เดือนพนักงาน

การวิเคราะห์งบกระแสเงินสด ท�าใหท้ ราบถึงการ
ไดม้ าและใช้ไปของเงนิ สด และยงั ชว่ ยอธิบายให้เห็นภาพ
ทชี่ ดั เจนเกย่ี วกบั ธรุ กจิ โดยจะมกี ารนา� ปจั จยั ทม่ี ผี ลกระทบ
ต่อกระแสเงินสด อาทิเช่น คา่ ใชจ้ ่ายทไ่ี มไ่ ด้จ่ายออกไปใน
รูปของเงินสดจริง ค่าเสื่อมราคา และการเปลี่ยนแปลง
ในเงนิ ทนุ หมนุ เวยี นของบรษิ ทั เขา้ มาพจิ ารณา ปจั จยั สา� คญั
ที่ใช้วัดความเข้มแข็งทางการเงิน ได้แก่ ยอดขาย ความ
สามารถในการท�าก�าไร และกระแสเงินสด ซึ่งตัวกระแส
เงินสดน้ีจะส่งผลทันทีต่อกิจการ เมื่อกิจการเร่ิมมีปัญหา
ทางการเงิน ในฐานะเจ้าของกจิ การ หากพบว่าเร่มิ มกี าร
ฝืดเคืองของกระแสเงนิ สด อาจเปน็ สญั ญาณเตอื นวา่ ธุรกิจ
กา� ลงั มีปัญหา

9. การลดต้นทนุ

การลดต้นทุนยังคงเป็นส่ิงส�าคัญของทุกองค์กร นักธุรกิจจ�านวนมากมักกล่าวว่า “ความส�าเร็จใน
การดา� เนนิ ธรุ กจิ คอื การทา� ใหต้ น้ ทนุ ลดลงอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง” นน่ั เปน็ เพราะวา่ การเพมิ่ รายไดด้ ว้ ยการเพมิ่ ยอดขาย
เปน็ เรือ่ งยาก ตอ้ งใช้เวลานาน และเป็นส่ิงทเ่ี ราไมส่ ามารถจะควบคมุ ได้ ในขณะท่กี ารลดต้นทุนอาจชว่ ยท�าให้
องค์กรที่ไม่มีผลก�าไรกลับมามีก�าไรอีกคร้ัง ถึงแม้ว่ารายได้จะคงเดิมก็ตาม ซ่ึงสามารถท�าได้โดยการน�าเอา
ทรัพยากรที่มีอยู่แล้วในองค์กรมาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และการลดต้นทุนก็เป็นรากฐานท่ีส�าคัญของ
ทุกธุรกจิ

คมู่ อื การด�าเนินงานผู้ผลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558 69

วธิ กี ารตง้ั ราคาและกระตนุ้ ยอดขาย

“Price” คือองคป์ ระกอบหน่งึ ท่มี คี วามส�าคญั มากสา� หรบั Marketing mix หรอื การตลาดท่เี รารู้จัก
กันในนามวา่ 4P ซึ่งประกอบไปดว้ ย Product, Price, Place และ Promotion โดยเราจะเห็นไดว้ า่ Price
หรอื ราคานน้ั เป็นเพียงองค์ประกอบเดยี วใน 4P ทีก่ อ่ ให้เกิดรายได้ ให้กบั ธุรกจิ ของเรา ในขณะท่ีองคป์ ระกอบ
อน่ื ๆ มีผลตอ่ ตน้ ทุนเพียงเทา่ น้นั

และนอกจากนีก้ ารตงั้ ราคาสนิ ค้ายงั ถูกใชเ้ พอ่ื เป็นการบง่ บอกคุณภาพ และคณุ ค่าของสนิ คา้ ไปในตวั ได้
อกี ด้วย บอ่ ยครง้ั ท่เี ราเหน็ สินคา้ ทีม่ ีราคาสูง เรากม็ กั ทจ่ี ะรับร้ไู ดด้ ้วยตนเองไปก่อนวา่ สนิ คา้ แบรนด์นน้ี า่ จะมี
คณุ ภาพทดี่ กี วา่ สินค้าท่ีมีราคาถูกกว่าจนไม่กล้าใช้ ทา� ให้ส่ิงส�าคัญก็คอื เราจะรไู้ ดอ้ ย่างไรว่าสนิ ค้าของเราน้ัน
เหมาะสมกบั ราคาทต่ี งั้ ไวแ้ ลว้ จรงิ ๆ ทฤษฎกี ารตง้ั ราคาสนิ คา้ จงึ ถอื เปน็ อกี หนง่ึ ตวั ชว่ ยทนี่ า่ สนใจทจ่ี ะทา� ใหส้ นิ คา้
และราคาสอดคลอ้ งกนั ตามเปา้ หมายทต่ี ง้ั ไว้ และยงั เปน็ การเชญิ ชวนใหล้ กู คา้ เขา้ มาสนใจเลอื กซอ้ื อกี ดว้ ย
เข้าใจหลักการในการตง้ั ราคาเบอ้ื งต้น

หลักการง่าย ๆ ที่ควรนกึ ถึงอยู่เสมอเมอ่ื ตัง้ ราคาน้นั กค็ อื เม่อื น�า ผลกา� ไรทง้ั หมด – ตน้ ทนุ ทั้งหมด =
จดุ ค้มุ ทุน ซึง่ จดุ คุ้มทนุ ทวี่ า่ นกี้ ็คอื ตัวเลขที่ต่�าทีส่ ดุ ทีเ่ ราสามารถไปตัง้ ราคาขายไดโ้ ดยทีไ่ มข่ าดทนุ ซ่ึงถ้าเราย่งิ
อยากได้ผลก�าไรตอ่ สนิ คา้ หนง่ึ ชิน้ มากขึน้ เท่าไรกต็ ้องเพิ่มราคาขายใหม้ ากกว่าจุดคุ้มทุน เทา่ น้นั

แตท่ กุ อยา่ งไมง่ า่ ยอยา่ งนนั้ เมอื่ การตง้ั ราคามปี จั จยั อน่ื ๆ อกี หลายอยา่ งประกอบอยมู่ ากมาย โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งกับสินค้าใหม่ ที่บางครั้งเป็นเรื่องยากที่จะเข้าสู่ตลาดด้วยราคาที่สูงต้ังแต่ต้น เพราะผู้คนจะไม่กล้า
ทดลองเสย่ี งกบั ราคาทส่ี งู เกนิ ไปกวา่ สนิ คา้ ชนดิ เดยี วกนั ทพี่ วกเขาเคยใช้ ทา� ใหเ้ ราอาจตอ้ งเรมิ่ ตงั้ ตน้ ทรี่ าคาไมส่ งู
มากนกั หรอื ใหโ้ อกาสลกู คา้ ได้ทดลองใชผ้ ลติ ภัณฑ์ดูกอ่ น จนกระท่ังพวกเขาเร่มิ เกิดความจงรักภกั ดีกบั แบรนด์
และแบรนด์เปน็ ที่รู้จักมากขนึ้ แลว้ กค็ ่อยเพม่ิ มลู คา่ ของสินคา้ และราคาตามเข้าไปในภายหลัง

70 คูม่ อื การด�าเนินงานผผู้ ลิต ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558

ความส�าคัญของการวิเคราะหก์ ารต้ังราคา
อย่างทไี่ ดก้ ล่าวเอาไว้ในยอ่ หนา้ แรกว่านอกจากราคาสนิ ค้าน้ันจะเปน็ ตวั กา� หนดผลก�าไรแลว้ ราคาของ

สินคา้ นน้ั ยงั เป็นตวั ช่วยก�าหนดความรูส้ กึ รับรู้ของผู้บริโภคที่มีตอ่ สนิ ค้าไดด้ ้วยเช่นกนั เพราะหลายคร้งั ที่เรา
ตั้งราคาที่สูงเกินไปลูกคา้ กไ็ ม่ซอ้ื และบางทีทเี่ ราเลือกทจ่ี ะตั้งราคาถูกลงมามากผคู้ นกย็ งั ไมก่ ล้าซ้อื อีกเชน่ กัน
ทา� ใหก้ ารวเิ คราะหถ์ งึ ตวั เลขราคาทเ่ี หมาะสมในการตงั้ ราคานน้ั จงึ ถอื เปน็ อกี สง่ิ หนง่ึ ทมี่ คี วามสา� คญั มาก ๆ ไมแ่ พ้
กลยุทธ์การตลาด อืน่ ๆ เลย

ซึ่งในบางครั้งการวิเคราะห์ราคาอาจยังได้ผลราคาท่ีถูกจนยังไม่ตรงกับเป้าที่ต้ังไว้ก็อาจจะต้องค้นหา
วธิ ีเพิ่มมูลค่าตา่ ง ๆ ใหก้ ับตัวแบรนด์หรือตวั สนิ ค้า เพอื่ จูงใจให้ผูค้ นยอมจ่ายสินค้าที่พวกเขาคดิ ว่าดีในราคาที่
สูงขึน้ โดยวธิ ีท่ีช่วยเพิม่ มลู ค่าทม่ี กั ถกู ใชใ้ นการวเิ คราะห์ราคาส่วนมากก็คือ การใชห้ ลกั ทางจิตวทิ ยาในการตง้ั
ราคา

อย่างเชน่ การลงท้ายราคาดว้ ยเลข 9 หรือติดปา้ ยวา่ Sale ขนาดใหญท่ ้งั ๆ ท่สี นิ คา้ ลดราคาลงกว่าเดมิ
มาเพยี งไมม่ าก รวมไปถงึ การเพมิ่ มลู คา่ ของสนิ คา้ โดยการเพมิ่ มลู คา่ และออปชนั่ เสรมิ เขา้ ไป อยา่ งเชน่ สายการบนิ
Low - Cost ทอี่ าจมีคา่ โดยสารท่ถี ูก แต่กเ็ พม่ิ มูลค่า เขา้ ไปจากการคา่ บริการของกระเปา๋ ประกนั ชวี ติ ต่าง ๆ
ใหม้ ีราคาสูงข้ึน หรอื อยา่ งสินคา้ บางประเภทก็จะมีการขายเปน็ แพคคอู่ ยา่ งมดี โกนกพ็ ่วงใบมีด และเพมิ่ ราคา
เข้าไปดว้ ย จนทา� ให้สนิ ค้าจากท่ีมรี าคาถูกกลบั เพ่มิ มูลค่าของตัวมันเองขน้ึ มาไดใ้ นทันที

ค่มู ือการด�าเนนิ งานผ้ผู ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558 71

องค์ประกอบท่คี วรคา� นึงถึงในการตง้ั ราคา

1) จดุ ค้มุ ทนุ และเป้าหมายการท�าก�าไร
หวั ขอ้ นคี้ อื สงิ่ แรกทต่ี อ้ งคา� นงึ ถงึ ตลอดเวลาในกระบวนการตง้ั ราคาเพอื่ ใหธ้ รุ กจิ สามารถอยรู่ อดได้

ในอนาคต เพราะหลายครง้ั ทผ่ี ปู้ ระกอบการมองขา้ มเปา้ หมายนไ้ี ป ทา� ใหแ้ ทนทจ่ี ะพยายามปรบั ราคาและสรา้ ง
มลู คา่ ของสินคา้ ใหม้ ากข้นึ เพ่อื ทา� กา� ไรให้ถึงเป้าหมาย แต่กลับไปมุง่ เน้นตัดราคาสนิ ค้าแขง่ กับรายอ่ืน ๆ แทน
โดยท่ีลืมคิดไปว่าจะต้องท�าก�าไรถึงจะอยู่รอดได้ ดังนั้นการท่ีจะตั้งราคานั้น เราจึงควรท่ีจะนั่งค�านวณต้นทุน
ทั้งหมดออกมาให้เรยี บร้อยทัง้ คา่ แรงงาน คา่ ขนส่ง วัตถุดิบ คา่ โฆษณาและอ่นื ๆ ทุกอยา่ ง กอ่ นที่จะกา� หนดว่า
เราอยากไดก้ �าไรเท่าไร แลว้ คอ่ ยมาก�าหนดราคาใหต้ รงตามเป้านั้น ๆ

2) ความตอ้ งการของตลาด
การกา� หนดราคานน้ั มกั เปน็ ไปตามกลไกของตลาดท่วี ่าถ้าสนิ ค้านนั้ มีความต้องการของผบู้ รโิ ภค

สงู กย็ อ่ มกา� หนดราคาสงู ไดต้ าม ในทางกลบั กนั ถา้ หากสนิ คา้ นน้ั ไมค่ อ่ ยเปน็ ทต่ี อ้ งการของผบู้ รโิ ภคมากนกั อา� นาจ
ในการกา� หนดราคาของเรากจ็ ะลดลงตามไปดว้ ย ดงั นน้ั ราคาของสนิ คา้ อาจตอ้ งมคี วามยดื หยนุ่ และปรบั ตวั ขน้ึ ลง
ได้ตามตลาดอยู่เสมอ โดยในบางครั้งเมื่อเราไม่สามารถปรับลดราคาลงมาได้เพราะกลัวเสียแบรนด์ ก็อาจใช้
การจัดโปรโมชัน่ ลดราคาสนิ ค้า หรอื แจกของแถมมากขน้ึ ทดแทนจนกวา่ สินค้านนั้ จะเป็นทต่ี อ้ งการของตลาด
อกี ครงั้ กไ็ ด้

3) คู่แขง่
การวิเคราะห์การตง้ั ราคาจากตน้ ทนุ และความตอ้ งการของตลาดนนั้ อาจไมเ่ พยี งพอเสมอไป เพราะ

นอกจาก 2 ปัจจัยข้างต้นแล้วเรายงั ตอ้ งค�านึงถงึ ราคาสนิ ค้าของคแู่ ข่งเพิ่มเขา้ ไปด้วย เนือ่ งจากราคาสินค้าของ
คู่แข่งเหล่านี้น้ันมีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าค่อนข้างมาก ลองคิดดูว่า หากมีสินค้าท่ีมีคุณภาพและท�า
จากวตั ถุดบิ ทม่ี ีความใกล้เคียงกนั แตท่ ว่ามเี จ้าหนึ่งราคาถูกกว่าอย่างเหน็ ได้ชดั ผู้คนก็มกั จะเลือกสนิ คา้ ชน้ิ ทถ่ี กู
กวา่ เพราะ คณุ ภาพตา่ งกนั ไมม่ าก แตท่ ง้ั นไี้ มไ่ ดห้ มายความวา่ วธิ แี กป้ ญั หาจะเปน็ การตดั ราคาตนเองลงมาเสมอ
ไป เพราะสงิ่ สา� คญั ในหวั ขอ้ นก้ี ค็ อื การศกึ ษาคแู่ ขง่ แลว้ คอ่ ยนา� มาวเิ คราะหว์ า่ จะเดนิ หนา้ ตงั้ ราคาตอ่ ไปทางไหน
จะเลือกทา� ใหส้ ินคา้ ดมู มี ลู ค่าเพ่มิ ขน้ึ เพ่ือตั้งราคาสงู ขึ้น หรอื หาวิธลี ดตน้ ทนุ เพอ่ื ลดราคามาแข่ง

72 คมู่ อื การด�าเนนิ งานผู้ผลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558

เทคนคิ การขาย

ปัจจุบันธรุ กจิ การคา้ ขายเกิดขึน้ มากมาย แข่งขนั ท้งั ในโลกออนไลนแ์ ละเปิดหนา้ ร้านทม่ี ีผซู้ อ้ื -ผู้ขาย
เหน็ หน้ากนั ทั้งนี้เพราะการค้าขายถอื เป็นอาชีพอิสระทีผ่ ขู้ ายสามารถก�าหนดตัวเองได้วา่ จะขายวันไหน ตอน
ไหน ขายอะไร ท่ีสา� คญั คือเป็นนายตัวเอง คแู่ ขง่ เร่ิมมากข้นึ เรอ่ื ย ๆ แตส่ ุดทา้ ยเราต้องให้เหนือคแู่ ขง่ ใหไ้ ดโ้ ดย
การอดั ประกาศ เช่น โพส dealish pantipmarket be2hand bigshopping โปรแกรม โพสเว็บ Classiied
โฆษณาท�าให้สินค้าหรือบรกิ ารของเราให้ผทู้ ี่สนใจเหน็ มากขนึ้ จงึ ตอบโจทยแ์ ตก่ ารขายก็ใช่ว่าจะประสบความ
ส�าเรจ็ ทกุ ราย บางรายก็ต้องขาดทนุ ย่อยยบั ในขณะท่บี างรายก็รายได้ดกี วา่ งานประจ�าหลายเทา่ นอกจากจะ
เก่ียวกับตัวสินค้า กลุ่มลูกค้าแล้ว ตัวช่วยส�าคัญที่จะช่วยให้การขายประสบความส�าเร็จคือ ผู้ขายจะต้องมี
“เทคนิคการขาย” น่ันเอง

เทคนิคการขาย คือ กลวิธีท่ีผู้ขายโน้มน้าวใจให้ผู้ซ้ือด้วยวิธีการต่าง ๆ ทั้งในด้านการสื่อสาร
การโฆษณา เชน่ ลงประกาศฟรเี ปน็ ชอ่ งทางเพ่มิ ยอดขาย เป็นต้น สว่ นใหญ่จะอาศยั หลักทางจิตวทิ ยา โดยมี
จุดมุ่งหมายคือให้ผู้ซ้ือ ซอ้ื สนิ ค้าของตน และปิดการขายได้เร็ว ดีและตรงตามที่ต้องการ เทคนคิ การขายดี ๆ ที่
จะชว่ ยใหก้ ารขายมีประสิทธภิ าพมากข้นึ ดงั นี้

1. เทคนคิ ทีต่ อ้ งใสใ่ จก่อนการซอ้ื ขาย
แมจ้ ะยงั ไมม่ กี ารขายเกดิ ขนึ้ แตใ่ นชว่ งขนั้ ตอนกอ่ นขายเกดิ ขนึ้ กส็ า� คญั อยา่ งมาก เพราะถา้ มกี ารเรมิ่ ตน้

ท่ดี ี สิ่งทต่ี ามมาก็จะดี สรา้ งความประทับใจในการซื้อขายได้ ซงึ่ ในหวั ข้อเทคนคิ นี้ มดี ังนี้
1.1 หาชอ่ งทางการขายทเ่ี หมาะสม
ชอ่ งทางการขาย คอื ลทู่ างหรอื หนทางทเ่ี ราจะกระจายสนิ คา้ ไปสผู่ บู้ รโิ ภค ดงั นน้ั กอ่ นขายสนิ คา้

ทุกครั้ง ต้องถามตัวเองก่อนว่าเราขายอะไร ผู้บริโภคเป็นใคร และส�าคัญท่ีสุด คือ จะมีช่องทางการขายยังไง
บ้าง การเลือกช่องทางการขายทถี่ กู จะช่วยใหเ้ ราไดล้ กู คา้ ทต่ี รงกลุ่มเป้าหมายมากขน้ึ

1.2 จดั เตรยี มโปรโมชัน่ กระตนุ้ การซ้อื
เคยสงสัยมั้ยว่าท�าไมเวลามีป้ายเซลล์ทีไร คนมักวิ่งเข้าหาทุกที เพราะน่ีเป็นโปรโมชั่นซ่ึงเป็น

หนงึ่ ในแผนการตลาดนนั่ เอง โปรโมชนั่ คอื ขอ้ เสนอพเิ ศษสา� หรบั การซอื้ ขาย โดยหลงั จากทไี่ ดช้ อ่ งทางการขาย
แล้ว ให้เริ่มจัดเตรียมโปรโมชั่นทันที การจัดเตรียมโปรโมชั่นแทบจะท�าได้ทุกเทศกาลหากเราสามารถน�ามา
ประยุกต์ได้ เชน่ ฉลองเปดิ รา้ นใหม่ วันปใี หม่ วันวาเลนไทน์ ฉลองรา้ นครบ 1 ปี เป็นตน้

โปรโมชน่ั เปน็ สง่ิ ทก่ี ระตนุ้ ใหล้ กู คา้ เขา้ มาดสู นิ คา้ มากขน้ึ และมโี อกาสทจ่ี ะซอ้ื มากขน้ึ ดว้ ย สา� หรบั
โปรโมช่นั ทน่ี ยิ มนา� มาเป็นเทคนคิ การขาย มที ้งั โปรซ้ือ 1 แถม 1 โปรลดราคา โปรราคาพิเศษในช่วงวันพิเศษ
โปรสมาชกิ โปรสะสมแตม้ เปน็ ตน้ วธิ ใี นการตง้ั โปรโมชนั่ จงึ ขน้ึ อยกู่ บั สนิ คา้ ราคาและผลกา� ไรของสนิ คา้ นนั้ ๆ
เพ่ือใหเ้ กดิ ประโยชน์ท้ังกับผ้ซู ือ้ และผู้ขาย

1.3 สรา้ งความนา่ เชอ่ื ถือให้รา้ นค้า
วิธกี ารสร้างความน่าเช่อื ถอื ให้ร้านคา้ สามารถท�าไดโ้ ดยการโฆษณา การรีวิวของผู้ซอ้ื เพ่อื ให้

คนอนื่ รู้จกั ร้านเรา (ในแงด่ )ี มากข้ึน โดยท่ัวไปการสรา้ งความน่าเชอ่ื ถือจะหนักไปทีก่ ารขายสนิ ค้าที่มีคุณภาพ
แมค่ า้ มจี รรยาบรรณ ความรวดเร็วในการบริการ สงิ่ เหล่านีถ้ ้าลูกค้าไดร้ ับความพงึ พอใจกน็ ิยมน�าไปบอกตอ่ กัน

คูม่ อื การด�าเนนิ งานผผู้ ลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558 73

2. เทคนิคการขายระหวา่ งทา� การซอ้ื ขาย
เทคนิคในการขายสามารถน�ามาใช้ในช่วงทมี่ กี ารขายได้ตลอดเวลา ขึ้นอย่กู บั ทกั ษะและการน�า

มาใช้ ซ่ึงการขายไมว่ า่ จะเปน็ ทางออนไลนห์ รอื หนา้ รา้ น ก็มีเทคนคิ ท่ีไม่ตา่ งกัน ดงั น้ี
2.1 ให้ข้อมลู แนะน�าในสิง่ ทด่ี ี
หลายครัง้ ทลี่ ูกคา้ มีความสนใจในสนิ ค้า แต่ไมม่ ีความรูใ้ นเร่ืองนั้น หรอื อยากสอบถามเพม่ิ

เตมิ เกยี่ วกบั สนิ คา้ ชนดิ นนั้ เทคนคิ สว่ นนไี้ มใ่ ชเ่ รอ่ื งยาก แคท่ า� หนา้ ทแี่ มค่ า้ ทด่ี ี ใหข้ อ้ มลู ทถี่ กู ตอ้ งและตอบคา� ถาม
ด้วยความเต็มใจ และอย่าเลือกปฏิบัติไม่ว่าลูกค้าคนนั้นจะซ้ือหรือไม่ก็ตาม การบริการที่ดีจะน�ามาซึ่งความ
ประทับใจให้กบั ลูกค้า และในวนั ขา้ งหนา้ เขาอาจจะกลบั มารา้ นเราใหมอ่ กี ครง้ั ก็ได้

2.2 น�าเสนอสินคา้ /สาธิต/ให้สมั ผัส
เทคนคิ การขายขอ้ นอี้ าจจะเหมาะสา� หรบั การขายทมี่ หี นา้ รา้ นของจรงิ ใหล้ กู คา้ เขา้ มาดสู นิ คา้ ได้

จติ วทิ ยาการซอ้ื ของผซู้ อ้ื สว่ นใหญจ่ ะตดั สนิ ใจซอ้ื /ไมซ่ อ้ื ตอ่ เมอื่ ไดเ้ หน็ สนิ คา้ ของจรงิ มกี ารหยบิ จบั สมั ผสั หรอื
ชิม เพ่อื ใหท้ ราบว่าตรงกับสิ่งทต่ี ัวเองตอ้ งการหรอื ไม่ เทคนิคนจ้ี ึงสา� คัญมาก ๆ

2.3 การรบั มือการต่อรอง
การขายของกับการต่อราคาสินค้า เป็นส่ิงคู่กันย่ิงกว่าปาท่องโก๋ โดยเฉพาะแม่บ้านและ

ผู้หญิงเกือบทุกคนจะมีทกั ษะการต่อรองขั้นสูง ดังนัน้ หน่งึ ในเทคนิคการขายทคี่ วรมีอีกข้อ คือ การรับมอื การ
ต่อรองของลกู คา้

2.4 การปิดการขาย
เทคนิคการขายในเรื่องของการปิดการขาย ก็คือ ท�ายังไงก็ได้ให้ลูกค้าซื้อสินค้าให้ไวท่ีสุด

ในกรณีทซ่ี ้ือขายในอินเทอรเ์ น็ตเราคงท�าอะไรมากไม่ได้ เพราะลกู ค้าจะเป็นผตู้ ัดสนิ ใจทั้งหมด
ส�าหรบั ตัวอย่างเทคนิคการปดิ การขาย มีดังนี้
1. บอกใหล้ ูกค้าเกดิ ความรสู้ ึกเสยี ดายสนิ คา้ นนั้
2. การให้คา� ชม ค�าชมและคา� ยอเปน็ ส่งิ ทล่ี ูกคา้ อยากไดย้ ินมากทส่ี ุด
3. ของแถม/สว่ นลด
4. จะรับกช่ี ้ินดีคะ เปน็ คา� ถามเชงิ มดั มือชกเลก็ ๆ แต่กช็ ่วยให้ปิดการขายได้
3. เทคนคิ การขายหลงั การซื้อขาย
การขายท่ีดี เม่อื ซ้ือขายเรียบร้อยแล้วควรใหค้ วามดแู ล และให้ค�าปรึกษากันตอ่ ไปได้ เพ่ือให้เกดิ

ความประทับใจสูงสุด สา� หรบั เทคนิคการขายหลังการซ้ือขายมดี งั นี้
3.1 บรกิ ารหลังการขาย เพ่ือแสดงความรับผดิ ชอบในตัวสินคา้ ให้ผ้ซู อ้ื ได้รบั สิ่งท่ีดีทสี่ ดุ
3.2 จา� ลกู ค้า/รักษาลกู ค้าไว้
3.3 แถมของเลก็ ๆ นอ้ ยๆ ทา� ให้ผซู้ ้อื รู้สกึ ถงึ ความคุ้มค่าในการซื้อ
สรปุ แลว้ เทคนคิ การขาย เปน็ สงิ่ ทผี่ ขู้ ายควรปฏบิ ตั อิ ยเู่ สมอเพอ่ื ใหก้ ารขายของตวั เองมปี ระสทิ ธภิ าพ

และเพมิ่ ยอดขายได้ โดยรวมนนั้ หลกั ใหญ่ทส่ี ดุ คอื การทา� ใหผ้ ซู้ อื้ รู้สกึ ถงึ ความคุม้ คา่ ในการซื้อ จงึ เปน็ ท่มี าของ
โปรโมชัน่ ลด แลก แจก แถม ต่าง ๆ อกี ประการหนง่ึ คือ การสรา้ งความประทับใจใหก้ ับลูกคา้ ทง้ั ระหวา่ ง
การซื้อขาย จากการให้บริการและค�าแนะน�าสินคา้ รวมไปถึงการซ้อื ขาย ดว้ ยการใหบ้ ริการหลงั การขายในรูป
แบบตา่ ง ๆ

74 คมู่ ือการด�าเนินงานผูผ้ ลติ ผูป้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558

การขอมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์

1. การขออนุญาตผลิตภัณฑอ์ าหาร (ขอเครือ่ งหมาย อย.)

1.1 ความส�าคัญของ อย.
ตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2552 ไดก้ �าหนดไว้ว่าหา้ มมิให้ผู้ใดตงั้ โรงงานผลิตอาหาร หรอื นา�

เข้าอาหารเพ่ือจ�าหน่าย เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาต และตามระเบียบส�านักงานคณะกรรมการอาหาร
และยา วา่ ดว้ ยการดา� เนนิ การเกย่ี วกับเลขสารบบบนอาหารไดก้ า� หนดให้ผู้ประกอบธรุ กิจเกย่ี วกับอาหารต้อง
แสดงเลขสารบบบนอาหารส�าหรับอาหาร 3 กลุ่ม คือ อาหารควบคุมเฉพาะ อาหารก�าหนดคุณภาพหรือ
มาตรฐาน และอาหารทตี่ อ้ งมฉี ลาก ดงั นน้ั กลมุ่ ผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการดา้ นอาหาร ทนี่ า� วตั ถดุ บิ ทไี่ ดจ้ ากการเกษตร
และการเลยี้ งสตั วม์ าแปรรูปเปน็ ผลติ ภัณฑ์สา� เร็จรูปเพ่อื จา� หน่าย เช่น เคร่อื งดื่มทา� จากผลไมท้ อ้ งถน่ิ เครอื่ งดื่ม
จากสมุนไพร กะปิ นา้� ปลา ขนมหวาน อาหารขบเคย้ี ว เปน็ ตน้ ซง่ึ ผลิตภณั ฑเ์ หลา่ นีจ้ ะต้องสะอาด ปลอดภัย
และมีคุณภาพหรือมาตรฐานที่กฎหมายก�าหนด ผู้ผลิตต้องขออนุญาตให้ถูกต้องตามกฎหมายก่อนท่ีจะผลิต
เพอ่ื จา� หน่ายตอ่ ไป

1.2 สญั ลักษณข์ องเครอื่ งหมาย อย.

1.3 การแบง่ กลมุ่ ผลิตภัณฑอ์ าหาร
อาหารแบง่ ตามลกั ษณะการขออนญุ าตผลิต ออกเป็น 2 กล่มุ คอื
1.3.1 กลุ่มอาหารทไ่ี มต่ อ้ งมเี ครื่องหมาย อย.
อาหารกลมุ่ น้ี สว่ นใหญเ่ ปน็ อาหารทไ่ี มแ่ ปรรปู หรอื ถา้ แปรรปู กจ็ ะใชก้ ระบวนการผลติ งา่ ย ๆ

ในชุมชน ผบู้ รโิ ภคจะต้องนา� มาปรุงหรือผา่ นความร้อนกอ่ นบรโิ ภค อาหารกลุม่ นี้ผผู้ ลิตที่มสี ถานท่ผี ลิตไม่
เขา้ ขา่ ยโรงงาน (ใช้อปุ กรณห์ รือเครอ่ื งจกั รต่า� กว่า 5 แรงม้า หรือคนงานน้อยกว่า 7คน) สามารถผลติ จา� หน่าย
ได้โดยไม่ตอ้ งมาขออนุญาตจากสา� นกั งานคณะกรรมการอาหารและยาหรือสา� นกั งานสาธารณสุขจังหวัด แต่
ตอ้ งแสดงฉลากอาหารที่ถกู ตอ้ งไวด้ ้วย

คมู่ อื การดา� เนินงานผ้ผู ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558 75

1.3.2 กลุ่มอาหารท่ีต้องมเี ครือ่ งหมาย อย.
อาหารกล่มุ น้ีเป็นอาหารทีม่ ีการแปรรูปเปน็ อาหารกึง่ ส�าเรจ็ รูปหรอื อาหารส�าเร็จรูปแลว้

ซึ่งอาจกอ่ ให้เกดิ ความเสยี่ งต่อผบู้ รโิ ภคในระดบั ต่�า ปานกลางหรือสูง แลว้ แต่กรณี ได้แก่ อาหารท่ีตอ้ งมฉี ลาก
อาหารก�าหนดคุณภาพหรอื มาตรฐาน หรืออาหารควบคมุ เฉพาะ ดงั น้นั จงึ จ�าเปน็ ต้องขออนุญาตสถานที่ผลิต
อาหารและขอขน้ึ ทะเบยี นตา� รับอาหาร หรอื จดทะเบียนอาหาร หรือแจง้ รายละเอียดของอาหารแตล่ ะชนดิ
แล้วแตก่ รณี ได้ที่ส�านกั งานคณะกรรมการอาหารและยา หรอื สา� นกั งานสาธารณสุขจงั หวัด

1.4 หลกั เกณฑ์การขอเครอื่ งหมาย อย.
1.4.1 กลมุ่ อาหารทีไ่ ม่ต้องมีเครื่องหมาย อย.
อาหารกลมุ่ นี้ ผผู้ ลติ ไมต่ อ้ งขออนญุ าตผลติ ภณั ฑ์ แตต่ อ้ งแสดงฉลากตามทก่ี ฎหมายกา� หนด

นอกจากน้หี ากสถานท่ผี ลติ เข้าข่ายโรงงานกต็ ้องขออนญุ าตตง้ั โรงงานดว้ ย ดงั น้ี

กลมุ่ และชนดิ ของอาหาร เอกสารทใี่ ชใ้ นการขออนญุ าต

— ผลติ ภัณฑจ์ ากพชื 1. กรณีสถานที่ผลิตเข้าข่ายโรงงาน จะต้องย่ืนขอต้ังโรงงานผลิต
ข้าวกลอ้ ง ธัญพืชต่าง ๆ งา เมล็ดถ่ัวแหง้ อาหาร พรอ้ มหลักฐานตามทไ่ี ด้ก�าหนดไว้ เพื่อขอรบั ใบอนญุ าตผลติ
พรกิ แห้ง ข้าวเกรยี บ (ไม่ทอด) อาหาร ถ้าไมเ่ ข้าขา่ ยโรงงานไม่ตอ้ งย่นื ขอ
ธัญพืชชนดิ บด/ผง พรกิ ปน่
— ผลิตภัณฑ์จากสตั ว์ 2. ตวั ผลติ ภณั ฑไ์ มต่ อ้ งขอ อย. แตต่ อ้ งแสดงฉลาก ซง่ึ ขอ้ ความในฉลาก
ปลาแหง้ ก้งุ แห้ง รงั นกแห้ง ไข่เคม็ ดิบ กะปิ ต้องแสดงชื่ออาหาร น�้าหนักสุทธิ (ของแข็ง/ผง) หรือปริมาตรสุทธิ
ปลาร้าผง/ดิบ ปลาส้ม น้�าบดู ู นา้� ผงึ้ (ท่ีผลติ จาก (ของเหลว) เป็นระบบเมตรกิ (เชน่ กรมั กโิ ลกรมั ลกู บาศก์เซน็ ตเิ มตร)
สถานที่ผลติ ไม่เป็นโรงงาน) (หรือ ซม.3 หรือ ลบ.ซม) ลติ ร มลิ ลลิ ติ ร (หรือ มล.) ชอื่ และทต่ี ง้ั ของ
— อ่นื ๆ สถานทผ่ี ลติ โดยมคี า� วา่ “ผลติ โดย” นา� หนา้ และวนั เดอื นปที ผ่ี ลติ หรอื
เกลือบรโิ ภค (เกลอื ป่น) หมดอายุ หรือควรบริโภคก่อนตามเงื่อนไขท่ีก�าหนดไว้ในประกาศ
กระทรวงสาธารณสขุ (ฉบับท่ี 194) พ.ศ. 2543 เร่อื งฉลากอาหาร

3. กรณีเกลอื บริโภคไมต่ ้องขอ อย. แตต่ อ้ งผลิตใหไ้ ด้มาตรฐานตาม
ที่กา� หนดไว้ ในประกาศกระทรวงสาธารณสขุ และต้องแสดงฉลาก

76 คู่มอื การดา� เนินงานผู้ผลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558

1.4.2 กล่มุ อาหารทต่ี ้องมีเครือ่ งหมาย อย.
1) กลมุ่ อาหารทตี่ อ้ งมเี ครอ่ื งหมาย อย. แตไ่ มต่ อ้ งสง่ ตวั อยา่ งอาหารตรวจวเิ คราะห์ อาหาร

กล่มุ น้ี ไดแ้ ก่ อาหารทีต่ ้องมฉี ลากทร่ี ฐั มนตรมี ไิ ด้ก�าหนดใหส้ ่งมอบฉลาก ผู้ผลิตจะตอ้ งขออนุญาตสถานทผี่ ลิต
อาหารและผลติ ภณั ฑต์ อ่ สา� นกั งานคณะกรรมการอาหารและยาหรอื สา� นกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั โดยใชเ้ อกสาร
และหลักฐานในการยน่ื ขออนุญาตดังน้ี

กล่มุ และชนิดของอาหาร เอกสารทใี่ ชใ้ นการขออนุญาต

— เคร่อื งปรุงรสและน้�าจมิ้ เชน่ เตา้ เจ้ยี ว นา�้ สลัด — กรณีสถานท่ีผลิตเข้าข่ายโรงงาน จะต้องย่ืนขอต้ังโรงงานผลิต
ซอสนา้� มนั หอย นา�้ จมิ้ สกุ ้ี นา�้ จมิ้ ไก่ นา�้ จมิ้ ปลาหมกึ อาหาร พรอ้ มหลกั ฐานตามทไ่ี ดก้ า� หนดไว้ กรณที ไี่ ดร้ บั ใบอนญุ าตผลติ
น�า้ เกลือปรุงอาหาร อาหารแล้วให้ยน่ื สา� เนาใบอนญุ าตผลติ อาหาร จ�านวน 1 ฉบบั หรอื
— น้า� พรกิ ที่สา� เรจ็ รูปท่รี ับประทานได้ทันที เชน่ — กรณีสถานทผี่ ลติ ไมเ่ ขา้ ขา่ ยโรงงาน ต้องยน่ื ค�าขอรบั เลขสถานที่
น�า้ พรกิ เผา น�า้ พรกิ นรก น้า� พริกสวรรค์ ผลติ อาหาร จ�านวน 2 ฉบบั พร้อมหลกั ฐานทกี่ า� หนดไว้ กรณที ไ่ี ด้รบั
น�้าพรกิ ปลาย่าง ปลาร้าทรงเครอ่ื ง/แจ่วบอง เลขสถานทผ่ี ลติ อาหารแลว้ ใหย้ นื่ สา� เนาคา� ขอรบั เลขสถานทผ่ี ลติ อาหาร
— ผลิตภัณฑ์จากผลไม้ จา� นวน 1 ฉบับ
เช่น กลว้ ยตาก, กลว้ ย/สาเก/ขนุน/ทุเรียนทอด/ — การรับเลขสารบบอาหาร (หรือเลข อย.) ของอาหารแต่ละชนดิ
อบกรอบ กลว้ ย/ สบั ปะรด/ทเุ รยี น/มะขาม/ขนนุ จะตอ้ งยนื่ แจง้ รายละเอียดของอาหารภายหลังการยน่ื ขออนญุ าต
กวน มะม่วง/มะขาม/ฝรั่ง/มะกอก/มะยมดอง/ ตั้งโรงงานผลิตอาหารหรือย่ืนค�าขอรับเลขสถานที่ผลิตอาหารโดยยื่น
มะม่วง/มะกรูด/มะขาม/บอระเพ็ดแช่อิ่ม ชมพู่/ ใบจดทะเบียนอาหาร/แจง้ รายละเอยี ดอาหาร จ�านวน 2 ฉบบั โดย
มะยม/ฝร่ัง/มะเฟื่อง/มะม่วงหยี ลูกหยี/มะขาม ให้เขียนเครื่องหมาย “3” เลือกใน 0 ขอแจ้งรายละเอียดอาหาร”
คลุกน�้าตาล ส้มแผ่น/ส้มล้ิม มะพร้าว/มะขาม/ และเลอื กว่าเป็นอาหารทีผ่ ลิตในกรอบขอ้ ความวา่ “0 ผลิต” พรอ้ ม
มะนาวดองแกว้ ลงชอ่ื ให้คา� รบั รองทา้ ย
— ผลติ ภณั ฑ์จากสตั ว์ เชน่
ไสก้ รอก แหนม หมูยอ ลูกช้นิ กุนเชยี ง
เนือ้ สวรรค์ ปลาแผน่ หมแู ผน่ หมหู ยอง
หมูทบุ ปลากรอบปรงุ รส ปลาหมกึ อบกรอบ
ไขเ่ ค็มต้มสกุ
— ขนมและอาหารขบเคย้ี ว เชน่ ทองหยิบ
ทองหยอด ทองมว้ น ขนมหมอ้ แกง ขนมปงั ปอนด์
บิสกิต คกุ กี้ ขา้ วเกรียบทอด เมยี่ งคา� ถวั่ ทอด
ฯลฯ
— ลูกอมและทอฟฟี่ เช่น ลูกอมรสนม
ลกู อมรสมะขาม ทอฟฟร่ี สนม
ทอฟฟี่รสมะพร้าว
— ผลิตภัณฑ์ในกลมุ่ ที่ 1 ท่ีมวี ัตถกุ ันช้นื หรือสาร
ดดู ออกซิเจนในภาชนะบรรจุ

คมู่ ือการด�าเนนิ งานผู้ผลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558 77

2) กลุ่มอาหารท่ีต้องมีเคร่ืองหมาย อย. และรายงานผลการตรวจวิเคราะห์อาหารไว้ให้
ตรวจสอบ อาหารกลุ่มน้ีได้แก่ อาหารก�าหนดคุณภาพหรือมาตรฐานที่รัฐมนตรีมิได้ก�าหนดให้ส่งมอบฉลาก
แตก่ ฎหมายกา� หนดในเรอื่ งคณุ ภาพหรอื มาตรฐานของอาหารแตล่ ะประเภทไวใ้ หย้ น่ื ขออนญุ าตผลติ ตอ่ สา� นกั งาน
คณะกรรมการอาหารและยา (อย.) หรือส�านักงานสาธารณสุขจงั หวดั (สสจ.) โดยใชเ้ อกสารและหลกั ฐานใน
การย่ืนขออนญุ าต ดงั น้ี

กล่มุ และชนิดของอาหาร เอกสารทใี่ ช้ในการขออนญุ าต

— อาหารก�าหนดคณุ ภาพหรอื มาตรฐาน — กรณีสถานท่ีผลิตเข้าข่ายโรงงาน ต้องย่ืนค�าขอต้ังโรงงานผลิต
— น�้าส้มสายชู อาหาร จ�านวน 1 ฉบับ พรอ้ มหลกั ฐานทก่ี �าหนดไว้ กรณที ่ีไดร้ บั ใบ
— น้า� มนั สา� หรบั ปรุงอาหาร เช่น อนุญาตผลิตอาหารแล้วให้ย่ืนส�าเนาใบอนุญาตผลิตอาหาร จ�านวน
น้�ามนั หมู น้า� มันงา นา้� มันมะพร้าว 1 ฉบับ หรือ
น�า้ มนั ปาลม์ — กรณีสถานท่ผี ลติ ไมเ่ ข้าข่ายโรงงาน ต้องยนื่ ค�าขอรบั เลขสถานที่
— น�้าแร่ ตามธรรมชาติ ผลติ อาหาร จ�านวน 2 ฉบบั พร้อมหลักฐานทกี่ า� หนดไว้ กรณที ี่ได้
— ไข่เยย่ี วมา้ รบั เลขสถานที่ผลติ อาหารแล้ว ใหย้ ่ืนส�าเนาค�าขอรบั เลขสถานที่ผลติ
— กาแฟ ชนิดค่วั เมลด็ /ผงสา� เร็จรูป/ปรุงส�าเรจ็ อาหาร จ�านวน 1 ฉบับ และ
— ชา ชนิดชาใบ/ผงสา� เรจ็ รปู /ปรงุ ส�าเรจ็ — การรบั เลขสารบบอาหาร (หรอื เลข อย.) ของอาหารแต่ละชนดิ
— นา้� พรกิ แกง เช่น น�้าพริกแกงส้ม น้�าพรกิ แกง จะตอ้ งยน่ื จดทะเบยี นอาหารภายหลงั การยนื่ ขออนญุ าตตง้ั โรงงานผลติ
เผ็ด อาหาร หรอื ยนื่ คา� ขอรบั เลขสถานทผ่ี ลติ อาหาร โดยยนื่ ใบจดทะเบยี น
น้า� พรกิ แกงเขียวหวาน อาหาร/แจง้ รายละเอยี ดอาหาร จา� นวน 2 ฉบบั โดยใหเ้ ขยี นเครอ่ื งหมาย
— เครื่องปรงุ รส เช่น ซอสมะเขือเทศ ซอสพริก “4” เลอื กใน 0 ขอจดทะเบียนอาหาร และเลือกวา่ เปน็ อาหารที่
นา้� ปลา ผลิตภัณฑป์ รุงรสทีไ่ ด้จาการยอ่ ยโปรตนี ผลิตในกรอบข้อความวา่ 0 ผลติ พร้อมลงช่อื ให้ค�ารบั รอง
ของถัว่ เหลือง (ได้แก่ ซอี ิว้ หรอื ซอสถั่วเหลือง
ซอสปรุงรส)
— แยม เยลลี่ และมารม์ าเลด

78 คมู่ อื การด�าเนินงานผผู้ ลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558

3) กลุม่ อาหารที่ต้องมเี ครื่องหมาย อย. และต้องสง่ ตวั อยา่ งอาหารตรวจวิเคราะห์
อาหารกลุ่มนี้ได้แก่ อาหารควบคุมเฉพาะกฎหมายจะก�าหนดคุณภาพมาตรฐานเอาไว้

ผู้ผลิตจะต้องส่งตัวอย่างวิเคราะห์ตามที่กฎหมายก�าหนด และน�าผลวิเคราะห์มาประกอบการยื่นขออนุญาต
ผลติ ตอ่ สา� นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) หรอื สา� นกั งานสาธารณสุขจงั หวดั (สสจ.) โดยใชเ้ อกสาร
และหลักฐานในการย่ืนขออนญุ าต ดงั นี้

กลุ่มและชนดิ ของอาหาร เอกสารที่ใช้ในการขออนญุ าต

— อาหารควบคุมเฉพาะ — กรณีสถานท่ีผลิตเขา้ ขา่ ยโรงงาน ต้องยืน่ ดงั น้ี
เครอื่ งดม่ื ชนดิ นา�้ และผง ทท่ี า� จากพชื /ผกั /ผลไม/้ 1. คา� ขอตั้งโรงงานผลติ อาหาร จา� นวน 1 ฉบบั หากได้รบั
สมนุ ไพร/ธัญพชื /ถว่ั เมล็ดแหง้ น�้าตาลสด อนญุ าตแลว้ ใหย้ นื่ สา� เนาใบอนญุ าตผลติ อาหาร จา� นวน 1 ฉบบั
เคร่ืองด่มื รังนก กาแฟถัว่ เหลอื ง พรอ้ มหลักฐานท่ีกา� หนด
— อาหารในภาชนะบรรจทุ ีป่ ิดสนทิ 2. ค�าขอข้นึ ทะเบยี นตา� รบั อาหาร จา� นวน 2 ฉบับ
เชน่ อาหารกระปอ๋ ง อาหารบรรจขุ วดแกว้ ท่ีฝา 3. รายงานผลการตรวจวิเคราะห์ (ฉบับจรงิ พรอ้ มส�าเนา
มยี างรองดา้ นใน อาหารทบี่ รรจกุ ล่อง/ซอง/ อายไุ มเ่ กนิ 1 ปี) จา� นวน 2 ชดุ
ถุงอลมู ิเนยี มฟอยล์ที่ปดิ ผนึก 4. ฉลากอาหาร จา� นวน 5 ชุด
— นมและผลิตภณั ฑ์นม — กรณีสถานทผี่ ลติ ไมเ่ ข้าขา่ ยโรงงาน ตอ้ งย่ืนดังน้ี
เช่น นมโค นมปรุงแต่ง นมเปร้ียว ไอศกรมี 1. คา� ขอรับเลขสถานทีผ่ ลติ อาหาร จา� นวน 2 ฉบบั พรอ้ มหลักฐาน
เนยแขง็ เนย ทกี่ า� หนด กรณที ไี่ ดร้ บั เลขสถานทผ่ี ลติ อาหารแลว้ ใหย้ น่ื สา� เนา
— น�้าดืม่ /นา�้ บริโภคในภาชนะบรรจุท่ปี ดิ สนทิ คา� ขอรับเลขสถานท่ีผลิตอาหารจา� นวน 1 ฉบับ
— นา�้ แข็งชนิดซอง/ก้อน 2. คา� ขออนุญาตใหฉ้ ลากอาหาร จา� นวน 2 ฉบับ
3. รายงานผลการตรวจวิเคราะห์ (ฉบบั จรงิ พรอ้ มสา� เนา
อายุไม่เกนิ 1 ป)ี
4. ฉลากอาหาร 5 ชุด

คูม่ ือการดา� เนินงานผผู้ ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558 79

2. การปฎิบตั ิทางการเกษตรทีด่ ี (Good Agricultural Pratices : GAP)

ประเทศไทยเป็นผ้ผู ลิต ผูส้ ง่ ออกสนิ ค้าเกษตรและอาหารทสี่ �าคัญ แตท่ ผี่ ่านมาผลผลติ สินคา้ เกษตรและ
อาหารยังไมป่ ลอดภัยตอ่ ผ้บู รโิ ภคเท่าทคี่ วร เนื่องจากมีสารเคมตี กคา้ ง มีศตั รูพืชและจลุ ินทรยี ์ปนเปอ้ื น ทา� ให้
คณุ ภาพและความปลอดภยั ของผลผลติ ไมเ่ ปน็ ไปตามมาตรฐานสากลและมาตรฐานของประเทศผนู้ า� เขา้ ดงั นน้ั
ควรสง่ เสรมิ ใหเ้ กษตรกรผลติ สนิ คา้ เกษตรปลอดภยั ตามระบบการจดั การคณุ ภาพ หลกั ปฎบิ ตั ทิ างการเกษตรทดี่ ี
(Good Agicultual Pratices : GAP) ซึ่งเป็นระบบท่ีป้องกนั หรือลดความเสี่ยงของอันตรายทีเ่ กดิ ขึน้ ในสนิ คา้
เกษตรและอาหาร

2.1 การปฏบิ ตั ทิ างการเกษตรทีด่ ี (Good Agicultural Pratices : GAP)
การปฏบิ ัติทางการเกษตรทด่ี ี (Good Agicultural Pratices : GAP) หมายถึง แนวทางในการท�า

การเกษตร เพื่อให้ผลผลิตที่มีคุณภาพดี และปลอดภัยตามมาตรฐานที่ก�าหนด โดยขบวนการผลิตจะต้อง
ปลอดภยั ตอ่ เกษตรกรและผบู้ รโิ ภค ปราศจากการปนเปอ้ื นของสารเคมไี มท่ า� ใหเ้ กดิ ผลพษิ ตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มมกี ารใช้
ทรพั ยากรใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ ไดผ้ ลผลติ สงู คมุ้ คา่ การลงทนุ การผลติ การผลติ ตามมาตรฐาน GAP กอ่ ใหเ้ กดิ
ความย่ังยืนทางการเกษตร สิง่ แวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม

มาตรฐาน GAP เปน็ มาตรฐานทคี่ รอบคลมุ การผลติ สนิ คา้ เกษตรอยา่ งครบวงจร ตงั้ แต่ ปจั จยั การผลติ
การเกบ็ เกย่ี ว การจดั การหลงั การเกบ็ เกย่ี ว การบรรจหุ บี หอ่ และการขนสง่ การผลติ สา� หรบั การผลติ สนิ คา้ เกษตร
3 ประเภท ได้แก่

1. พชื ผล เชน่ ผัก ผลไม้ ชา กาแฟ ฝา้ ย ฯลฯ
2. ปศุสัตว์ เช่น ววั ควาย แกะ หมู ไก่ ฯลฯ
3. สัตว์น�้า เช่น ปลาน้�าจืดประเภทล�าตัวยาวมีเกล็ด ดังเช่น ปลาแซลมอน และปลาเทร้าท์ กุ้ง

ปลาสังกะวาด ปลานิล ฯลฯ

80 คู่มือการดา� เนนิ งานผู้ผลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558

2.2 การปฏบิ ตั ทิ างการเกษตรท่ีดสี า� หรบั พชื (GAP พืช)
การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีส�าหรับพืช มาตรฐานที่ระบุรายละเอียดข้อก�าหนดด้านการจัดการ

กระบวนการผลิตท่ีจ�าเป็นส�าหรับการปฏิบัติท่ีดีทางการผลิตพืชทุกชนิด โดยค�านึงถึงส่ิงแวดล้อม สุขภาพ
ความปลอดภยั และสวสั ดภิ าพของผปู้ ฎบิ ตั งิ าน เพอื่ ใหไ้ ดผ้ ลผลติ ทมี่ คี ณุ ภาพ ปลอดภยั ปลอดจากศตั รพู ชื เหมาะสม
กบั การบรโิ ภคและมีคณุ ภาพเป็นทีพ่ ึงพอใจของผู้บริโภค

1. แหลง่ น้า�
- แหล่งน้า� ต้องสะอาด ไมม่ กี ารปนเป้อื นของวตั ถหุ รอื สง่ิ ทเ่ี ปน็ อันตราย

2. พืน้ ท่ีปลูก
- ต้องไมม่ วี ตั ถุหรอื ส่งิ ที่เป็นอันตรายทจ่ี ะท�าใหเ้ กดิ การตกคา้ งหรอื ปนเปอื้ น

คู่มอื การด�าเนนิ งานผผู้ ลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558 81

3. การใช้วัตถอุ นั ตรายทางการเกษตร
- ใช้ตามค�าแนะนา� หรอื อา้ งอิงของกรมวิชาการเกษตร หรือตามฉลากทข่ี ึ้นทะเบยี น
อย่างถูกต้องกับกรมวชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- ใชส้ ารเคมที ี่ประเทศคคู่ ้าอนุญาตใช้
- ห้ามใช้วตั ถอุ นั ตรายที่ระบใุ นทะเบียนวตั ถุอันตรายท่ที างราชการหา้ มใช้

4. การจดั การกระบวนการผลิตเพ่อื ให้ได้ผลผลติ คุณภาพ
- ปฎบิ ตั แิ ละจัดการผลติ ตามแผนควบคมุ การผลติ

5. การผลิตใหป้ ลอดจากศัตรพู ืช
- สา� รวจ ป้องกัน และกา� จดั ศัตรูพชื อยา่ งถูกตอ้ ง
- ผลติ ผลทีเ่ ก็บเก่ียวตอ้ งไมม่ ีศตั รูพชื ตดิ อยู่ ถา้ พบตอ้ งคัดแยกไวต้ า่ งหาก

82 ค่มู อื การดา� เนนิ งานผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558

6. การเก็บเกี่ยวและการปฎิบตั ิหลงั การเกบ็ เก่ียว
- เก็บเกย่ี วผลติ ในระยะเวลาทเ่ี หมาะสมตามแผนควบคุมการผลิต
- อุปกรณ์ ภาชนะบรรจุที่ใช้ รวมถงึ วิธีการเกบ็ เก่ียว ต้องสะอาด ไมก่ อ่ ใหเ้ กิดอนั ตราย
ตอ่ สขุ ภาพของผลติ ผล และไม่ปนเปือ้ นสง่ิ อันตรายที่มีผลตอ่ การบริโภค
- คัดแยกผลิตผลท่ไี มม่ คี ุณภาพไว้ตา่ งหาก

7. การเก็บรักษาและการขนยา้ ยผลิตผลภายในแปลงเพาะปลูก
- สถานท่ีเก็บรักษาตอ้ งสะอาด อากาศถา่ ยเทได้ดี สามารถป้องกันการปนเปอ้ื นของวัตถุ
แปลกปลอม วตั ถอุ นั ตราย และสัตว์พาหะน�าโรค
- อุปกรณ์และพาหนะในการขนย้ายตอ้ งสะอาด ปราศจากการปนเปื้อนสิ่งอันตรายทม่ี ผี ล
ตอ่ ความปลอดภยั ในการบรโิ ภค
- ต้องขนย้ายผลติ ผลอยา่ งระมัดระวงั

คูม่ อื การดา� เนินงานผผู้ ลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558 83

8. สขุ ลักษณะสว่ นบคุ คล
- ผ้ปู ฎิบตั งิ านต้องมีความรูท้ เี่ หมาะสม หรือผ่านกระบวนการอบรมการปฎบิ ัตทิ ถ่ี กู ตอ้ ง และ
ถูกสขุ ลักษณะ
- มกี ารดแู ลสขุ ลักษณะส่วนบุคคล เพ่อื ปอ้ งกนั ไมใ่ หผ้ ลผลติ เกดิ การปนเป้อื นจากผู้ทส่ี ัมผัส
กับผลิตผลโดยตรง โดยเฉพาะในชน้ั การเกบ็ เกย่ี วและหลังการเก็บเกี่ยวสา� หรับพืชที่ใช้
บริโภคสด

9. การบันทึกข้อมูล
- บนั ทกึ ข้อมูลเกย่ี วกับปจั จัยการผลิต การใช้วตั ถอุ ันตรายทางการเกษตร ข้อมูลการขยาย
ผลผลิตรวมถงึ การปฎิบัตใิ นทุกข้นั ตอน
- ต้องมีการบันทกึ ขอ้ มูลการสา� รวจและการปอ้ งกนั การก�าจัดศตั รพู ชื
- ต้องมกี ารบันทกึ ข้อมูลผรู้ ับซ้ือผลิตผล หรอื แหล่งท่ีน�าผลติ ผลในแตล่ ะรนุ่ ไปจ�าหนา่ ย

2.3 การปฎบิ ตั ทิ างการเกษตรทด่ี สี �าหรบั ฟาร์มปศสุ ตั ว์
การปฎบิ ตั ทิ างการเกษตรทดี่ สี า� หรบั ฟารม์ ปศสุ ตั ว์ เปน็ มาตรฐานรบั รองคณุ ภาพสนิ คา้ เกษตรและ

อาหารตามกระบวนการผลิตทางการเกษตรท่ีดีและเหมาะสม เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพดี ถูกสุขลักษณะ
และปลอดภัยต่อผู้บริโภค โดยการก�ากับดูแลให้มีความปลอดภัยตลอดห่วงโซ่อาหาร เริ่มตั้งแต่ระดับฟาร์ม
เลี้ยงสตั ว์ อาหารสัตว์ โรงงานผลิตอาหารสัตว์ จนถึงโรงงานแปรรปู เนื้อสตั ว์ เพือ่ ยกระดับการจัดการฟารม์
เลย้ี งสัตวใ์ หไ้ ด้มาตรฐานคุ้มครองผู้บริโภค และเพอื่ ประโยชน์ในทางการคา้

1. องคป์ ระกอบของฟารม์
1.1 ทา� เลท่ตี ั้งของฟาร์ม
- สถานท่ีตง้ั ควรอยหู่ า่ งไกลจาก
1) แหลง่ ชุมชนเมอื ง
2) ผู้เลีย้ งสัตวร์ ายอน่ื
3) แหล่งน้า� สาธารณะ
4) แหลง่ ปนเป้อื นของสง่ิ อันตรายทางกายภาพ เคมี และชีวภาพ
5) โรงฆา่ สตั วแ์ ละตลาดนัดคา้ สัตว์
- นา้� ไมท่ ว่ มขงั มกี ารคมนาคมสะดวก

84 ค่มู ือการด�าเนินงานผู้ผลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558

1.2 ลกั ษณะของฟาร์ม
- มีเนอื้ ท่เี หมาะสมกบั ขนาดของฟาร์ม
- มีการจัดวางผังฟาร์มท่ีดี มีพนื้ ท่ีส�าหรบั เล้ยี งสตั ว์ โรงเก็บอาหาร พ้นื ทท่ี �าลายซากสตั ว์
พนื้ ทบ่ี า� บดั นา�้ เสยี และสง่ิ ปฎกิ ลู พน้ื ทสี่ า� หรบั อาคารสา� นกั งานและบา้ นพกั แยกเปน็ สดั สว่ น
- มรี ว้ั ลอ้ มรอบฟารม์
- มจี า� นวนโรงเรอื นและขนาดทเ่ี พยี งพอกบั จา� นวนสตั ว์
- มแี หลง่ นา้� สะอาดเพยี งพอ

1.3 ลกั ษณะของโรงเรอื น
- โรงเรอื นตอ้ งมโี ครงสรา้ งทีแ่ ขง็ แรง มหี ลงั คากนั แดด กนั ฝน กนั ลมแรงได้
- ภายในโรงเรอื นมอี ากาศถา่ ยเทได้สะดวก และมีอุณหภมู ทิ เ่ี หมาะสม
- ภายในโรงเรอื นตอ้ งมแี สงสวา่ งเพียงพอ
- ภายในโรงเรือนจะตอ้ งมคี วามเขม้ ของก๊าซ ฝุน่ อยใู่ นสภาพทเี่ หมาะสม
- พืน้ โรงเรอื นท�าดว้ ยวสั ดุทเี่ หมาะสม แหง้ สะอาด เพือ่ ปอ้ งกันการลน่ื ของสัตว์
- โรงเรือนและอปุ กรณท์ ี่ใช้ภายในโรงเรือนตอ้ งปลอดภยั ไม่เป็นอนั ตรายตอ่ ตวั สตั ว์
และผูเ้ ล้ยี ง
- มีอ่างจมุ่ น�้ายาฆา่ เช้อื ก่อนเขา้ - ออก โรงเรอื น
- โรงเรือนจะต้องมีทางระบายน�า้ ที่สะดวก

คู่มอื การดา� เนินงานผผู้ ลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558 85

2. การจัดการฟาร์ม
2.1 การจัดการโรงเรือนและอปุ กรณ์

- มีโรงเรือนพอเพยี งตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการใช้งาน
- สถานที่เก็บอาหารแยกเป็นสัดส่วน อากาศถา่ ยเทไดด้ ี ไม่อบั ชื้น มกี ารจัดการไม่ให้สัตว์

พาหะน�าโรคเข้าไปได้
- มสี ถานที่เก็บเครอ่ื งมืออุปกรณ์เปน็ สดั ส่วน สะดวกในการปฏิบัตงิ าน มีเคร่อื งมอื และ

อปุ กรณเ์ พยี งพอ
- อุปกรณใ์ หน้ า้� และอาหารต้องแหง้ สะอาด และมจี า� นวนเพียงพอ
- มกี ารจดั การโรงเรอื น และบริเวณโดยรอบใหส้ ะอาด ไม่ใหเ้ ปน็ แหลง่ สะสม หรือ

เพาะเชือ้ โรค แมลง และสตั ว์ที่เป็นพาหะนา� โรค
- โรงเรือนมกี ารซอ่ มบ�ารงุ ใหใ้ ช้ประโยชนไ์ ดด้ ี มีความปลอดภัยตอ่ สตั ว์และผปู้ ฎิบัติงาน

2.2 การจดั การฝูง
- คดั เลือกและจัดฝงู สัตว์ตามขนาด อายุ และเพศ
- มกี ารคดั เลอื กจัดหาพนั ธุส์ ัตว์เพอ่ื ทดแทน
- คดั สัตวท์ ่ีมีลกั ษณะไมด่ ี พิการ หรอื ไมส่ มบรู ณ์ออกจากฝงู

2.3 การจัดการอาหารสัตว์
- อาหารหยาบและอาหารขน้ ตอ้ งมคี ุณภาพดี มีคุณค่าทางอาหาร และเพียงพอ
กับความต้องการ
- อาหารสา� เรจ็ รปู ตอ้ งมาจากแหลง่ ทไี่ ดร้ บั อนญุ าตตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการควบคมุ คณุ ภาพ
อาหารสัตว์
- ในกรณผี สมอาหารเอง วตั ถดุ บิ ทใี่ ช้ เช่น รา� ละเอยี ด ปลายขา้ ว กากถัว่ เหลอื ง หรอื
สว่ นเติมในอาหาร ต้องมีคุณภาพตามทกี่ า� หนดไวใ้ นกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง

86 คมู่ อื การด�าเนนิ งานผู้ผลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558

- ตรวจสอบคุณภาพอาหารทีใ่ ชอ้ ยา่ งสมา่� เสมอ
- ถุง กระสอบท่ใี สอ่ าหารตอ้ งใช้อย่างสม่�าเสมอ
- เก็บอาหารสตั วไ์ วใ้ นโรงเรอื นที่สะอาด มกี ารระบายอากาศได้ดี ปราศจากนก หนู

แมลงและสตั วอ์ ่นื ๆ ท่ีอาจท�าใหอ้ าหารเสียหายหรือเสอ่ื มคณุ ภาพ
- รถขนส่งอาหาร และบรเิ วณท่ีขนส่งอาหารจะตอ้ งแหง้ และสะอาด
2.4 การบนั ทกึ ข้อมลู
- การบนั ทกึ ข้อมูลและทะเบียนประวัติ หมายเลขประจา� ตวั สัตว์
- ในกรณีฟาร์มพอ่ แม่พันธ์ุ ให้บนั ทกึ ขอ้ มูลการเจรญิ เติบโต
- บันทกึ ขอ้ มลู การใช้อาหาร เชน่ การรบั จ่ายอาหาร การให้อาหาร การซ้ืออาหารสัตว์
- บันทึกข้อมลู การรักษาโรค และดูแลสขุ ภาพ เช่น การรบั จา่ ยการใชเ้ วชภณั ฑแ์ ละ

สารเคมี การใชว้ ัคซนี การถา่ ยพยาธิ การรักษาโรค การดแู ลสขุ ภาพ
- บนั ทกึ ขอ้ มูลบัญชีฟารม์ เปน็ การท�าบัญชตี ัวสัตวภ์ ายในฟารม์

คู่มือการดา� เนนิ งานผู้ผลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558 87

2.5 คู่มอื การจัดการฟาร์ม
- ค่มู อื แสดงรายละเอียด การจัดการฟาร์ม แนวทางการปฎิบัติ การเลย้ี ง การจดั การ
อาหาร การดแู ลสุขภาพ การป้องกนั และรกั ษาโรค

2.6 การจัดการบุคลากร
- บคุ ลากรภายในฟาร์มจะต้องมกี ารฝึกอบรมเร่ืองการจดั การฟารม์ การปฎิบตั ิ การเลยี้ ง
การจดั การอาหาร การสขุ าภิบาลฟาร์ม
- มีสัตว์แพทย์ผู้ควบคุมฟาร์ม ท�าหน้าที่ในการดูแลด้านการป้องกันโรค รักษาโรค และ
การใช้ยา
- มจี �านวนแรงงานเพียงพอ
- บคุ ลากรภายในฟารม์ ตอ้ งไดร้ บั การตรวจสขุ ภาพเปน็ ประจา� ทกุ ปี อยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 ครง้ั
เพ่ือป้องกนั โรคทีส่ ามารถตดิ ตอ่ จากคนสสู่ ตั ว์ เชน่ วณั โรค
- มกี ารพฒั นาบคุ ลากร โดยการฝกึ อบรมใหค้ วามรเู้ กย่ี วกบั ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยี
ใหม่ ๆ ในการปฎบิ ตั งิ านฟาร์มอยา่ งตอ่ เน่ือง

2.7 การควบคมุ สัตว์ท่ีเปน็ พาหะนา� โรค
- ตอ้ งมรี ะบบปอ้ งกันและก�าจัดสัตวพ์ าหะน�าโรค เช่น สุนขั แมว นก หนู แมลงสาบ และ
แมลงวัน อยา่ งตอ่ เนอ่ื งและเหมาะสม

3. การจัดการด้านสขุ ภาพสัตว์
3.1 การป้องกันและควบคมุ โรค
- มรี ะบบป้องกันเชือ้ โรคเขา้ ส่ฟู ารม์ โดยเฉพาะยานพาหนะและบคุ คล
- มีการจัดการสุขลักษณะที่ดีภายในฟาร์ม เพ่ือไม่ให้เป็นแหล่งสะสมเชื้อโรค โดยฉีด
พ่นยาฆา่ เชื้อโรค สารป้องกันก�าจดั แมลง ทา� ความสะอาดโรงเรอื น อุปกรณ์ และบริเวณ
โดยรอบตามระยะเวลาท่ีเหมาะสม
- สร้างภมู ิคมุ้ กันโรคตามโปรแกรมท่ีกา� หนด รวมท้ังการก�าจดั พยาธิ
- การจัดการสัตว์ปว่ ย มกี ารแยกสตั วป์ ่วยเพอื่ รักษา
- ไม่ใชส้ ารตอ้ งห้ามหรือสารเรง่ การเจริญเตบิ โต
- กรณเี กิดโรคระบาด ใหป้ ฎิบตั ติ ามกฎหมายว่าดว้ ยการควบคุมโรคระบาดสตั ว์
พ.ศ. 2499 และทแ่ี กไ้ ขเพมิ่ เติม
- ตรวจโรคทอี่ าจตดิ ตอ่ จากสัตวส์ คู่ น อยา่ งน้อยปีละ 1 คร้ัง

88 คมู่ ือการด�าเนนิ งานผูผ้ ลิต ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558

3.2 การป้องกันและรักษาโรค
- อยู่ในความดูแลของสัตว์แพทย์ หรือผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย
- การใช้ยา ปฎบิ ตั ติ ามมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์อตุ สาหกรรม 7001 - 2540 และระเบยี บท่ี
เกยี่ วขอ้ ง

4. การจดั การดา้ นสวสั ดิภาพสตั ว์
- ผเู้ ล้ยี งตอ้ งตรวจสอบสัตว์อยา่ งน้อยวันละ 1 ครง้ั เพ่ือให้มน่ั ใจวา่ สตั ว์มีสุขภาพดี
- ภายในโรงเรอื นต้องสะอาดถกู สุขอนามัย
- จัดการพน้ื ท่ีให้เหมาะสมกับจา� นวนสตั ว์
- ดูแลสัตวใ์ ห้ได้รบั อาหารอย่างทว่ั ถงึ
- สัตวท์ ่ีไดร้ บั บาดเจ็บ ป่วย หรือพิการ ควรได้รับการรักษาอย่างเร่งดว่ น หากพจิ ารณา
แลว้ เหน็ ว่าไมส่ มควรรกั ษา ให้ท�าลายทนั ทีเพ่อื ไมใ่ หท้ กุ ขท์ รมาน

คูม่ อื การด�าเนินงานผู้ผลติ ผูป้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558 89

5. การจัดการระบายน�้า
- มีการจดั การระบายนา้� ท่ีดี
- น้�าที่ใชภ้ ายในฟาร์มต้องสะอาด ถูกสุขลักษณะ ไมเ่ ปน็ อันตรายตอ่ สตั ว์
- นา้� มีคุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐานนา�้ ใช้

6. การจัดการด้านสง่ิ แวดล้อม
- การจัดการของเสีย สง่ิ ปฎกิ ูล มลู สตั ว์ นา�้ ทงิ้ และขยะตา่ ง ๆ ต้องผ่านการจดั การ
ที่เหมาะสม ไมก่ ่อให้เกดิ กล่นิ ทไ่ี ม่พึงประสงค์ หรอื ก่อความรา� คาญต่อผ้อู ย่อู าศยั
ข้างเคยี ง และไมก่ ่อใหเ้ กิดมลภาวะ เป็นพษิ ตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม

2.4 การปฎบิ ัติทางการเกษตรทด่ี ีส�าหรับฟาร์มเล้ยี งสัตวน์ �้า
มาตรฐานการปฎบิ ตั ิทางการเกษตรทด่ี ีสา� หรับฟาร์มเลี้ยงสตั วน์ �้า เปน็ สว่ นหนง่ึ ของมาตรฐานและ

หลักเกณฑ์สา� หรับกระบวนการผลิต ผลผลติ และผลิตภณั ฑป์ ระมง โดยจะต้องควบคมุ มาตรฐานสินคา้ เกษตร
และอาหาร มีการจัดการสุขอนามัยของฟาร์มที่ดี เพ่ือให้กระบวนการผลิตของผู้ประกอบการประมง เป็นไป
ตามมาตรฐาน และหลกั เกณฑ์ที่กา� หนด สง่ ผลใหผ้ ลิตผลจากการเพาะเลีย้ งมีคณุ ภาพดี และมคี วามปลอดภัย
ต่อผูบ้ รโิ ภค

1. สถานที่
1.1 บ่อเลี้ยง
- มกี ารขน้ึ ทะเบียนฟาร์มอยา่ งถกู ต้อง
- ใกล้แหลง่ น�า้ สะอาด ห่างจากแหลง่ กา� เนดิ มลพิษ และมรี ะบบการถ่ายเทน�้าทดี่ ี
- การคมนาคมสะดวก มสี าธารณปู โภคข้นั พ้นื ฐาน
1.2 กระชงั
- มีการขนึ้ ทะเบยี นฟาร์มอยา่ งถูกตอ้ ง
- การคมนาคมสะดวก มสี าธารณูปโภคขนั้ พ้นื ฐาน
- อยใู่ นบรเิ วณทีไ่ ด้รบั อนญุ าต
- ไม่ปดิ ก้นั การไหลของน�้า
- ควรอยู่ในแหลง่ ท่มี ีคุณภาพน�้าทเ่ี หมาะสมตอ่ การเลย้ี งสัตวน์ �้า หา่ งจากแหล่งกา� เนดิ
มลพษิ

90 คู่มอื การดา� เนินงานผู้ผลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558

2. การจดั การทว่ั ไป
2.1 บอ่ เลีย้ ง
- ปฎบิ ตั ติ ามคมู่ อื การเลย้ี งสตั วน์ า้� ของกรมประมงหรอื วธิ กี ารอน่ื ทถ่ี กู ตอ้ งตามหลกั วชิ าการ
- มีแผนที่แสดงแหล่งทตี่ ั้งและแผนผงั ฟารม์ เลีย้ ง
- น�้าทงิ้ จากบ่อเลีย้ งตอ้ งมีค่าไมเ่ กนิ คา่ มาตรฐานนา้� ทง้ิ จากการเพาะเลย้ี งสัตวน์ �า้ ของ
กรมประมง
- การเลย้ี งตอ้ งด�าเนินการอย่างถูกสขุ ลกั ษณะ

2.2 กระชงั
- ปฎิบัตติ ามคมู่ ือการเลีย้ งสัตว์น�า้ ในกระชังของกรมประมง หรือวธิ ีการอื่นทถี่ ูกตอ้ ง
ตามหลักวิชาการ
- มีแผนที่แสดงแหลง่ ทต่ี งั้ และแผนผงั การวางกระชงั
- การเลย้ี งตอ้ งด�าเนินการอยา่ งถูกสขุ ลกั ษณะ
- จ�านวนกระชังต้องไม่เกินศกั ยภาพการรองรับของแหล่งน�า้

คู่มอื การดา� เนินงานผู้ผลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558 91

3. ปัจจยั การผลิต
- ต้องใช้ปัจจัยการผลิต เช่น อาหาร อาหารเสริม วิตามิน ฯลฯ ที่ขึ้นทะเบียนกับทาง
ราชการ (ในกรณที ี่ก�าหนดให้ปจั จยั การผลติ นน้ั ต้องขึน้ ทะเบียน) และไม่หมดอายุ
- ปัจจัยการผลติ ตอ้ งไมป่ นเปือ้ นยาและสารเคมตี อ้ งหา้ มในการเพาะเล้ียงสัตวน์ ้�า
ตามประกาศทางราชการ
- การผลติ อาหารส�าหรบั สตั วน์ ้า� ตอ้ งมกี ระบวนการทถี่ กู สขุ ลกั ษณะ ปลอดภัยตอ่ สตั วน์ า้�
และผูบ้ รโิ ภค
- มกี ารจัดเก็บปจั จัยการผลิตอยา่ งถกู สุขลักษณะ

4. การจัดการดูแลสุขภาพสตั ว์น�า้
4.1 บอ่ เลย้ี ง

- มีการเตรยี มบอ่ และอปุ กรณอ์ ยา่ งถูกวิธีเพื่อปอ้ งกันโรคที่จะเกดิ กบั สัตว์น้�า
- เม่ือสัตว์น�้ามีอาการผดิ ปกติไมค่ วรใชย้ าและสารเคมที ันที ควรพิจารณาด้านการจดั การ

เช่น การเปลย่ี นถา่ ยน้�า เพ่มิ อากาศ ก่อนใช้ยาและสารเคมี
- ในกรณที ่ีสตั ว์นา้� ป่วย จา� เปน็ ตอ้ งใชย้ าและสารเคมี ใหใ้ ชย้ าและสารเคมที ี่ข้ึนทะเบียน

ถูกตอ้ ง และปฎบิ ตั ติ ามฉลากอยา่ งเคร่งครดั
- ไม่ใชย้ าและสารเคมตี ้องห้ามตามประกาศทางราชการ
- เมื่อสัตว์น�้าป่วยหรือมีการระบาดของโรค ต้องแจ้งเจ้าหน้าท่ีท่ีรับผิดชอบ โดยจัดการ

ซากและน�า้ ทงิ้ ท่เี หมาะสม
4.2 กระชัง

- มกี ารเตรยี มและวางกระชงั อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสมเพอ่ื ปอ้ งกนั สงิ่ แวดลอ้ มและโรคระบาด
- มีการเฝ้าระวังและดูแลสุขภาพสัตว์น�้าที่เล้ียงอย่างสม�่าเสมอ เมื่อสัตว์น้�ามีอาการ

ผดิ ปกตใิ ห้รับดา� เนนิ การแก้ไข
- ในกรณีท่ีสัตว์น้�าป่วย จา� เป็นต้องใช้ยาและสารเคมี ให้ใช้ยาและสารเคมีท่ีข้ึนทะเบียน

ถูกตอ้ งและปฎบิ ติตามฉลากอยา่ งเคร่งครดั
- ทา� ความสะอาดกระชงั อุปกรณ์เป็นระยะ ๆ ตลอดการเล้ียง
- เมอ่ื สตั วน์ า�้ ปว่ ยหรอื มกี ารระบาดของโรคตอ้ งแจง้ เจา้ หนา้ ทที่ รี่ บั ผดิ ชอบ โดยจดั การซาก

และน�้าทิ้งทีเ่ หมาะสม
- ไม่ใชย้ าและสารเคมตี อ้ งหา้ มตามประกาศทางราชการ

92 คมู่ ือการด�าเนนิ งานผผู้ ลิต ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558


Click to View FlipBook Version