The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการดำเนินงาน-OTOP

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เป้ ปัตตานี, 2019-11-19 04:08:54

คู่มือการดำเนินงาน-OTOP

คู่มือการดำเนินงาน-OTOP

5. สุขลักษณะฟารม์
5.1 บ่อเลย้ี ง
- มีการจัดการระบบนา�้ ทิง้ ที่เหมาะสม น้�าทง้ิ จากบา้ นเรือนต้องแยกจากระบบการเลีย้ ง
- หอ้ งสขุ าแยกเปน็ สดั สว่ น หา่ งจากบอ่ เลยี้ ง และมรี ะบบจดั การของเสยี อยา่ งถกู สขุ ลกั ษณะ
- จดั อปุ กรณ์ เครอื่ งมอื รวมทง้ั ปจั จยั การผลติ ตา่ ง ๆ ในบรเิ วณฟารม์ ใหเ้ ปน็ ระเบยี บ สะอาด
ถูกสุขลักษณะ
- มีระบบการจัดเก็บขยะท่ีดี เช่น ถังขยะ มีฝาปิดที่มิดชิด เพ่ือป้องกันแมลงวัน หนู
แมลงสาบ และการคุ้ยเขีย่ ของสัตว์เล้ียง

5.2 กระชัง
- มหี อ้ งสุขาทถ่ี กู สขุ ลักษณะ
- ไมท่ ง้ิ ขยะหรอื สงิ่ ปฎกิ ลู ในบรเิ วณกระชงั เลย้ี งสตั วน์ า้� ควรนา� ไปทง้ิ /ทา� ลายอยา่ งถกู ตอ้ ง
- ท�าความสะอาดกระชัง อุปกรณ์เครื่องมือ และเครื่องใช้ต่าง ๆ ให้สะอาด จัดให้เป็น
ระเบยี บอยเู่ สมอ

6. การเกบ็ เกยี่ วและการขนส่ง
- วางแผนเก็บเกย่ี วผลผลติ ถูกตอ้ งตามความตอ้ งการของตลาด และมีหนงั สือกา� กับ
การจ�าหน่ายสัตวน์ ้�าและลูกพนั ธส์ุ ตั วน์ า�้
- มกี ารจดั การและดแู ลรกั ษาสตั วน์ า�้ อยา่ งถกู สขุ ลกั ษณะระหวา่ งการเกบ็ เกยี่ วและการขนสง่
เพอ่ื ใหไ้ ด้ผลผลิตท่ีมีคุณภาพและปลอดภัยตอ่ ผู้บรโิ ภค

7. การเก็บขอ้ มลู
- มบี นั ทึก การจัดการเล้ยี ง การใหอ้ าหาร การตรวจสุขภาพ การใชย้ า และสารเคมี
อย่างสม่�าเสมอ และบนั ทกึ ขอ้ มลู ให้เปน็ ปัจจุบนั

ค่มู ือการดา� เนนิ งานผู้ผลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558 93

3. GMP : มาตรฐานการปฏบิ ัตใิ นการผลติ ท่ดี ี (Good Manufacturing Practice)

3.1 ความสา� คญั ของเครอ่ื งหมายมาตรฐาน GMP
GMP เปน็ ระบบคณุ ภาพ (Quality System) หรือระบบประกนั คณุ ภาพ (Quality assuracnce

system) ในอุตสาหกรรมอาหาร เป็นการด�าเนินการเพ่ือให้สถานท่ีผลิตมีมาตรฐาน โดยค�านึงถึงทุกขั้นตอน
ของการผลิต รวมท้ังปัจจัยต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ซ่ึงจะต้องถูกควบคุมตรวจสอบอย่างเป็นระบบต่อเน่ือง และ
สม่�าเสมอ เพอ่ื ให้ผลิตภัณฑ์ขั้นสดุ ทา้ ย มคี ุณภาพและปลอดภัยมากยงิ่ ขึ้น ระบบน้เี ป็นระบบที่เน้นการป้องกัน
มากกวา่ การแกไ้ ขปญั หาในระดบั สากล ปจั จบุ นั มคี วามสา� คญั และมกี ารดา� เนนิ การมากขน้ึ ในประเทศไทย โดย
เฉพาะอุตสาหกรรมขนาดใหญ่และอุตสาหกรรมส่งออก เน่ืองจากกระแสความต้องการ การบริโภคอาหาร
ภายในประเทศและกระแสการคา้ โลก ที่มกี ารแข่งขันในเร่ืองคณุ ภาพมาตรฐานและความปลอดภยั ของอาหาร
มากย่ิงข้ึน ซ่ึงระบบนี้เป็นระบบประกันคุณภาพที่มีการปฎิบัติและพิสูจน์แล้วจากกลุ่มนักวิชาการด้านอาหาร
ท่ัวโลกแล้วว่า สามารถท�าให้อาหารเกิดความปลอดภัย เป็นท่ีเชื่อถือยอมรบั จากผู้บรโิ ภค

GMP มี 2 ประเภท คอื
1. GMP สุขลักษณะท่ัวไป หรือ General GMP ซึ่งเป็นหลักเกณฑ์ท่ีน�าไปใช้ปฎิบัติส�าหรับ

อาหารทุกประเภท
2. GMP เฉพาะผลิตภัณฑ์ หรือ Speciic GMP ซง่ึ เปน็ ข้อก�าหนดที่เพ่ิมเติมจาก GMP ท่วั ไป

เพือ่ มงุ่ เน้นในเรือ่ งความเสย่ี งและความปลอดภัยของแต่ละผลิตภณั ฑ์อาหารเฉพาะมากยง่ิ ขึ้น
3.2 สัญลักษณข์ องเครอื่ งหมายมาตรฐาน GMP

GMP GMP
Thai FDA

3.3 หลกั เกณฑ์การขอเคร่ืองหมายมาตรฐาน GMP
3.3.1 คณุ สมบตั ิของผู้ยนื่ คา� ขอ
1) ผยู้ ่ืนค�าขอตามมาตรฐานสากล ตอ้ งมคี ณุ สบตั ิ ดงั นี้
(1) เป็นผู้ได้รับอนุญาตผลิตอาหาร จากส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือ

ส�านกั งานสาธารณสขุ จงั หวัด กระทรวงสาธารณสขุ และไม่อยู่ในระหว่างการพักใชก้ ารอนญุ าต
(2) เปน็ ผปู้ ระกอบกจิ การทีข่ อรบั การรบั รอง
(3) ไม่เป็นผู้ถูกเพิกถอนการรับรอง จากส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยา เว้น

แตพ่ ้นระยะเวลา 3 เดอื น นบั จากวันทเี่ พิกถอนการรบั รองมาแลว้

94 คมู่ ือการดา� เนนิ งานผู้ผลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558

2) ผยู้ ืน่ ค�าขอตามกฎหมาย ตอ้ งมีคุณสมบตั ิ ดังน้ี
(1) เป็นผู้ได้รับอนุญาตผลิตอาหาร จากส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยา

กระทรวงสาธารณสขุ และไม่อยู่ในระหวา่ งการพักใช้การอนุญาต
(2) เปน็ ผ้ปู ระกอบกจิ การที่ขอรบั การรับรอง
(3) ไมเ่ ปน็ ผ้ถู กู เพิกถอนการรบั รอง จากสา� นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา เวน้

แตผ่ ยู้ ืน่ ค�าขอได้มีหนงั สือแจง้ ยืนยันวา่ ได้มกี ารแกไ้ ขปรับปรุงตามหลกั เกณฑแ์ ล้ว
3.3.2 การรับรอง
1) สา� นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา ด�าเนินการใหก้ ารรบั รอง GMP ตามขอบขา่ ย

ที่ส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยาประกาศ และ/หรอื สถานขอบขา่ ยทไี่ ดก้ ารรบั รองระบบงาน
2) กอ่ นการตรวจประเมนิ เพอ่ื การรบั รอง ผยู้ น่ื คา� ขอตามมาตรฐานสากล ตอ้ งมกี ารนา� GMP

ไปปฎบิ ัติแล้ว รวมท้ังมกี ารดา� เนนิ กิจกรรมในทุกขอ้ กา� หนดของมาตรฐานสากล เป็นเวลาไมน่ ้อยกวา่ 6 เดอื น
3.4 หน่วยงานท่ใี หก้ ารรบั รองการจดทะเบยี นเพ่อื ตรวจประเมนิ GMP กฎหมาย
1. สถาบนั อาหาร
โทรศพั ท์ 0-2886-8088 ตอ่ 216 Website http://www.ni.or.th/
2. สมาคมผ้ผู ลติ อาหารสา� เร็จรูป
โทรศพั ท์ 0-2261-2684-6 โทรสาร 0-2261-2966-7
Website http://www.thaifood.org/
3. สถาบนั เพ่มิ ผลผลติ แหง่ ชาติ
โทรศพั ท์ 0-2619-5500 ต่อ 703 Website http://www.ftpi.or.th/
4. สา� นกั รบั รองระบบคณุ ภาพ (สรร.) สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ประเทศไทย
โทรศพั ท์ 0-2579-1121-30 ตอ่ 4201, 0-2579-4240 (สายตรง)
โทรสาร 0-2579-9541 Website http://www.tistr.or.th/
5. บรษิ ทั บีวีควิ ไอ (ประเทศไทย) จา� กัด
โทรศัพท์ 0-2670-4839, 0-2670-4800 ต่อ 839 โทรสาร 0-2670-0511
Website http://www.sea.bureauveritas.com/
3.5 ขนั้ ตอนการขอการรบั รองเครื่องหมายมาตรฐาน GMP
กรณขี อรบั การรับรอง GMP ตามมาตรฐานสากล : ให้ยื่นคา� ขอตอ่ ศูนย์บรกิ ารผลิตภัณฑ์สุขภาพ

เบ็ดเสร็จพร้อมหลักฐานและเอกสารต่าง ๆ ท่ีเป็นปัจจุบันซ่ึงรวมถึงเอกสาร GMP ของผู้ย่ืนค�าขอ ตามแบบ
คา� ขอรบั การรับรองระบบ GMP ดา้ นอาหารทสี่ �านกั งานคณะกรรมการอาหารและยาก�าหนด

กรณขี อรับรอง GMP ตามกฎหมาย : ให้ผู้ผลติ อาหารแจง้ ความประสงค์ขอรับการตรวจประเมิน
ต่อกองควบคุมอาหาร ส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยา โดยยื่นหนังสือขอรับการรับรอง GMP พร้อม
แนบหลักฐานและเอกสารต่าง ๆ ทีเ่ ป็นปัจจบุ ัน

คู่มือการด�าเนินงานผ้ผู ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558 95

4. มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร “ Q MARK ”

4.1 ความสา� คัญของเครื่องหมายมาตรฐาน “ Q MARK ”
การใชเ้ ครอื่ งหมายรบั รองมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและอาหารของหนว่ ยงานในกระทรวงเกษตรและ

สหกรณ์ ให้เป็นเคร่อื งหมายเดยี วกัน คือ เครอื่ งหมาย “ Q ” เพื่อลดความซ�้าซอ้ นในการใชเ้ ครื่องหมายของ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

4.2 สัญลกั ษณข์ องเครื่องหมายมาตรฐาน GMP
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไดม้ กี ารกา� หนดเครอ่ื งหมายรบั รองมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและอาหาร

หรือ “Q” เพือ่ เปน็ สัญลักษณใ์ นการรับรองสินค้า มี 5 สี คือ สีเขียว สีนา้� เงนิ สแี ดง สีด�า และสีทอง

AC xx-xx-xxxxx-xxxxxxxx-xxx กษ xx-xx-xxxxx-xxxxxxxx-xxx
รหัสท่ี 1 หนว่ ยรบั รอง
รหัสท่ี 2 ประเภทการรับรอง
รหัสที่ 3 มาตรฐานที่ให้การรับรอง
รหสั ท่ี 4 ผ้ปู ระกอบการ/ฟาร์ม
รหสั ที่ 5 ช่ือ/ชนดิ /ประเภทสินค้า
4.3 หลักเกณฑ์การขอเคร่อื งหมายมาตรฐาน

4.3.1 หลักเกณฑก์ ารใชเ้ ครอ่ื งหมายรับรอง “Q” บนสินค้าเกษตรและอาหาร
1) การผลติ ในระดบั ฟารม์ ตอ้ งสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการปฎบิ ตั ทิ างการเกษตรทด่ี ี (Good

Agicultrual Practices; GAP) ส�าหรับการผลิตสินค้าเกษตรน้ัน และได้รับการตรวจสอบรับรองโดยหน่วย
รับรองที่มีอา� นาจหน้าทีท่ ี่เกีย่ วข้อง

2) การผลิตในระดับโรงงาน รวมทง้ั โรงคดั บรรจผุ ักผลไม้ โรงฆา่ สตั ว์ (ถา้ ม)ี ต้องสอดคล้อง
กบั มาตรฐานการปฎบิ ตั ใิ นการผลติ ทดี่ ี (Good Manufacturing Pracrices; GMP) หรอื มาตรฐานการวเิ คราะห์
อันตรายและจุดควบคุมวิกฤต (Hazard Analysis and Critical Control Points; HACCP) และได้รบั การ
ตรวจสอบรับรองโดยหนว่ ยรับรองที่มีอา� นาจหนา้ ท่เี กี่ยวข้อง

96 คู่มือการดา� เนนิ งานผ้ผู ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558

3) ผขู้ ออนญุ าตใชเ้ คร่ืองหมาย ตอ้ งมรี ะบบการเรียกคนื หรอื ติดตามสินคา้ ได้ กรณที ่ีพบว่า
มีปัญหา โดยใชห้ ลกั การของการตดิ ตามผลติ ภัณฑ์ (product tracing / traceability)

4) สนิ คา้ จะตอ้ งถกู ตรวจสอบคณุ ภาพทจ่ี า� เปน็ และตรวจวเิ คราะหส์ ารพษิ ตกคา้ ง สารปนเปอ้ื น
หรือสิง่ อนั ตรายอืน่ ๆ ท่เี กย่ี วขอ้ ง ใหส้ อดคล้องกบั มาตรฐาน ตามแผนการตรวจท่ีหนว่ ยรบั รองก�าหนด

5) มาตรฐานทใ่ี ช้เป็นเกณฑ์ในการตรวจตาม 1 - 4 ใช้มาตรฐานสนิ ค้าเกษตรและอาหาร
แหง่ ชาตทิ ป่ี ระกาศโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เชน่ เน้ือสัตว์สด ผกั สด ผลไมส้ ด นา�้ ผง้ึ ฯลฯ

4.3.2 หลกั เกณฑก์ ารใชเ้ ครอ่ื งหมายรบั รอง “Q Premium” (สที อง) บนสนิ คา้ เกษตรและอาหาร
1) สนิ คา้ และกระบวนการผลติ ทง้ั หมด ตอ้ งไดต้ ามเกณฑข์ องการใชเ้ ครอื่ งหมายรบั รอง “Q”
2) สินค้านนั้ ผ่านการคดั แยกระดับช้ันคุณภาพ (Grading) และหรอื ผา่ นกระบวนการผลิต

บรรจุ ดแู ล ขนส่งเป็นพเิ ศษ ท�าใหส้ นิ ค้ามคี ณุ ภาพอยใู่ นระดับพเิ ศษ โดยการอ้างองิ มาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและ
อาหารแหง่ ชาติ (มกอช. 9005-2548) เรือ่ ง หลักเกณฑก์ ารใชเ้ ครือ่ งหมายรับรอง “Q” และ “Q Premium”
กับสินค้าเกษตร

3) ผู้ขออนุญาตใช้เคร่ืองหมาย ต้องมีระบบการจัดการสินค้าเพ่ือให้ม่ันใจว่าสินค้าท่ีวาง
จา� หนา่ ยยังคงคณุ ภาพตามมาตรฐานและหลกั เกณฑ์ดังกล่าวข้างต้น รวมถงึ การระบุวนั ทผ่ี ลติ บรรจุ หรือวันที่
ควรบริโภคกอ่ น (Best befor) บนสินคา้

4) หน่วยรับรองจะก�าหนดรายละเอียดหลักเกณฑ์การอนุญาตใช้เครื่องหมายรับรอง
“Q Premium” โดยยดึ หลกั การประเมนิ ความสามารถของผปู้ ระกอบการทย่ี น่ื ขออนญุ าตใชเ้ ครอ่ื งหมายรบั รอง
โดยยดึ หลกั การประเมนิ ความสามารถของผปู้ ระกอบการทยี่ น่ื ขออนญุ าตใชเ้ ครอ่ื งหมายรบั รอง “Q Premium”
ในการผลติ การคดั แยกชนั้ คณุ ภาพ การบรรจุ หรอื การควบคมุ ดแู ล ทที่ า� ใหม้ น่ั ใจในความสามารถของผปู้ ระกอบการ
ทั้งนี้รวมถึงการตรวจติดตาม การน�าเคร่ืองหมายไปใช้ของผู้ประกอบการให้เกิดความมั่นใจและความเชื่อถือ
โดยผ้บู รโิ ภค

4.4 หน่วยงานที่ให้การรับรองมาตรฐาน
กรมวิชาการเกษตร กรมประมง กรมปศุสตั ว์ กรมพัฒนาท่ีดิน องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร และ

ส�านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแหง่ ชาติ

คู่มอื การด�าเนนิ งานผู้ผลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558 97

4.5 ขั้นตอนการขอเครือ่ งหมายมาตรฐาน “Q” แผนภูมิขน้ั ตอนการด�าเนนิ การขอรบั เครอ่ื งหมาย
รบั รองมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรและอาหาร “Q”

ขอรับ/ดาวนโ์ หลด รายละเอยี ด
แบบคา� ขอฯ จากหนว่ ยรบั รอง
กรอกแบบคา� ขอฯ และเตรยี มเอกสาร
ย่นื แบบค�าขอและเอกสารประกอบการพจิ ารณา
เพ่อื การตรวจสอบสง่ ไปหน่วยรบั รอง
เจา้ หน้าทีต่ รวจสอบเอกสารที่เก่ียวข้องและ
ตรวจสอบอน่ื ๆ เพื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์
การประเมิน/การทดสอบผลติ ภัณฑ์
การพิจารณาอนญุ าติหรอื ปฎิเสธ

หมายเหตุ
การขอรับเครอ่ื งหมายรับรองมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและอาหาร “Q” สา� หรบั การรบั รองสนิ คา้ เกษตร

และอาหาร และการรบั รองระบบการผลติ สามารถดูรายละเอียดของผลติ ภณั ฑ์ที่เกย่ี วข้องกบั หนว่ ยรบั รองใด
โดยผ่าน Website www.acfs.go.th

98 คู่มือการดา� เนินงานผู้ผลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558

4.6 สถานที่ติดต่อขอการรบั รอง
4.6.1 ผู้ประสงค์ขอการรับรองสินค้าเกษตรและอาหารสามารถขอทราบข้อมูลด้านหลักเกณฑ์

เงอ่ื นไข หรอื ขา่ วสารอนื่ ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การใหก้ ารรบั รองไดโ้ ดยตรงกบั หนว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบดแู ล การใหก้ าร
รบั รองระบบการผลิตหรือสินค้า ตามรายละเอียด ดังตอ่ ไปน้ี

หนว่ ยรับรอง (AB) เบอรโ์ ทรศพั ท์ WEB SITE
www.doa.go.th
กรมวชิ าการเกษตร 0 2579 6134
www.isheries.go.th
กรมประมง www.thaiqualityshrimp.com

- รับรองระบบการผลติ สัตว์น�้าจดื 0 2579 8203 www.dld.go.th

- รบั รองระบบการผลิตสัตว์น้�าชายฝง่ั 0 2561 4679 www.ldd.go.th
www.mof.or.th
- รบั รองผลิตภณั ฑ์ 0 2558 0150-5

กรมปศสุ ัตว์ 02653 4932
สา� นักพฒั นาระบบและรบั รองมาตรฐานสนิ ค้าปศสุ ตั ว์ 0 2653 4440
- สว่ นรบั รองด้านการปศุสตั ว์ 0 2653 4483
- ฝ่ายทะเบยี นอาหารสตั ว์
- โครงการเน้ือสัตวอ์ นามยั

กรมพัฒนาท่ดี ิน 0 2579 0111 ต่อ 3120

องค์การตลาดเพอื่ เกษตรกร 0 2279 2080 ตอ่ 306

4.6.2 หน่วยงาน/องค์กรท่ีประสงค์จะขอรับการรับรองการยอมรับความสามารถในฐานะหน่วย
รับรอง (CB) ตดิ ต่อขอทราบรายละเอียดไดท้ ่ี

หน่วยรับรองระบบงาน (AB) เบอร์โทรศัพท์ WEB SITE
ส�านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและ
อาหารแห่งชาติ 0 2579 8384-5 www.acts.go.th

คู่มือการด�าเนินงานผ้ผู ลติ ผูป้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558 99

5.HACCP:มาตรฐานการผลติ ทม่ี มี าตรการปอ้ งกนั อนั ตรายทผี่ บู้ รโิ ภคอาจไดร้ บั จากการบรโิ ภคอาหาร

5.1 ความส�าคัญของเคร่อื งหมายมาตรฐาน HACCP
HACCP หรือ Hazard Analysis and Critical Control Point คอื ระบบการจัดการคุณภาพดา้ น

ความปลอดภยั ซง่ึ ใชใ้ นการควบคมุ กระบวนการผลติ ใหไ้ ดอ้ าหารทปี่ ราศจากอนั ตรายจากเชอ้ื จลุ นิ ทรยี ์ สารเคมี
และส่งิ แปลกปลอมตา่ ง ๆ อาทิ เศษแกว้ โลหะ เปน็ ต้น ปจั จบุ ัน HACCP ถอื เปน็ มาตรฐานสากลทใ่ี ชส้ รา้ งความ
ม่นั ใจในอุตสาหกรรมอาหารทง้ั โดยผู้ผลิตและผบู้ รโิ ภคและไดร้ ับการยอมรับอย่างแพร่หลาย

มาตรฐาน HACCP เป็นมาตรฐานระบบการจัดการด้านความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์อาหารท่ี
ครอบคลมุ ตง้ั แตว่ ตั ถดุ บิ เครอื่ งปรงุ การผลติ การเกบ็ รกั ษา การสง่ มอบ และการใชผ้ ลติ ภณั ฑ์ มงุ เนน้ ให้ องคก์ ร
มกี ารกา� หนดมาตรการควบคมุ ดแู ลกระบวนการผลติ เพอ่ื ปอ้ งกนั มใิ หเ้ กดิ ปญั หาทมี่ ผี ลกระทบตอ่ ความปลอดภยั
ของผลติ ภัณฑ์

5.2 สญั ลักษณ์ของเคร่ืองหมายมาตรฐาน

ใบรบั รองระบบการจัดการคุณภาพ
มาตรฐาน ISO 9001 จาก SGS

5.3 หลักเกณฑก์ ารขอเครอ่ื งหมายมาตรฐาน HACCP
ในการพิจารณาระบบ มีขนั้ ตอนหลกั ที่โรงงานจะตอ้ งจัดท�าดังต่อไปนี้
ขนั้ ตอนท่ี 1 ศกึ ษามาตรฐาน ระบบการวเิ คราะหอ์ นั ตรายและจุดวกิ ฤตท่ตี ้องควบคมุ ในการผลติ

อาหาร และค�าแนะน�าในการไปใชข้ อง Codex ตาม มอก. 700-2540 Amex to CAC/RCP-1 (1996) Rev.3
(1997) หรอื ประกาศส�านกั งานคณะกรรมการอาหารและยา หรือมาตรฐานระบบ HACCP ของประเทศค่คู ้า

ขนั้ ตอนท่ี 2 ประชมุ ฝา่ ยบรหิ าร เพอื่ การสนบั สนนุ ในการจดั ทา� ระบบ HACCP จดั ตงั้ ทมี งานจดั ทา�
ระบบ HACCP และควบคมุ ดูแลให้เปน็ ไปตามแผนทไ่ี ดก้ า� หนดไว้

ข้ันตอนที่ 3 เลอื กผลิตภณั ฑท์ จ่ี ะน�ามาจดั ทา� ระบบ HACCP จดั ทา� รายละเอยี ดและวธิ กี ารปฎบิ ตั ิ
ตามหลักระบบ HACCP ตรวจพิสจู นแ์ ผน HACCP ที่จัดทา� ขึ้นกอ่ นนา� ไปปฎิบัติ และลงมือปฎิบตั ติ ามแผนที่
ไดก้ �าหนดและตรวจพสิ จู นแ์ ล้ว

100 คู่มือการด�าเนินงานผผู้ ลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558

ขัน้ ตอนท่ี 4 ทา� การทวนสอบระบบ เพอ่ื ตรวจสอบว่าระบบเป็นไปตามแผน และข้อกา� หนดตาม
มาตรฐานโดยไมม่ กี ารปฏบิ ัติ และคงรักษาระบบอย่างเหมาะสม แกไ้ ข ขอ้ บกพร่องทม่ี าจากการตรวจตดิ ตาม
ภายใน และปรบั ปรุงระบบใหม้ ปี ระสิทธภิ าพยิ่งขึน้

ข้นั ตอนท่ี 5 ติดต่อหน่วยงานทใี่ ห้การรบั รอง และยืน่ ค�าขอ
5.4 หน่วยงานท่ีให้การรับรอง

ส�านกั งานมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม และสา� นักงานคณะกรรมการอาหารและยา รว่ มกัน
เป็นหน่วยงานท่ีท�าหน้าที่ให้การรับรอง โดยผู้ประกอบการที่สนใจจะขอรับการรับรองสามารถยื่นค�าขอได้ที่
ส�านกั งานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ถนนพระราม 6 เขตราชเทวี กรงุ เทพฯ 10400 โทรศพั ท์
0-2202-3437-44 โทรสาร 0-2248-7981 หรือ ส�านกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ถนนติวานนท์
อ.เมอื ง จ.นนทบุรี โทรศัพท์ 0-2590-7000 โทรสาร 0-2591-8460

คา่ ใช้จา่ ยในการขอรบั การรบั รองระบบ
1. คา่ ธรรมเนียมย่ืนแบบค�าขอ 1,000 บาท
2. นา� เจา้ หน้าท่ตี รวจโรงงาน วันละ 5,000 บาท
3. ค่าธรรมเนียมใบรับรองระบบ 5,000 บาท

ระยะเวลา
- ระยะเวลาจดั ท�าระบบประมาณ 1 เดอื น
- จะรบั เร่ืองพจิ ารณาเม่ือเอกสารครบถกู ต้อง
- ผสู้ นใจจดั ทา� ระบบตอ้ งขอคา� แนะนา� จากเจา้ หนา้ ทกี่ อ่ นเพอื่ ไปจดั ทา� ระบบทโ่ี รงงานไวก้ อ่ น

ทจ่ี ะน�าเจา้ หนา้ ทีไ่ ปตรวจที่โรงงาน

คู่มอื การด�าเนนิ งานผผู้ ลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558 101

5.5 ขนั้ ตอนในการขอรับการรับรอง HACCP

ย่นื คา� ขอ

ผยู้ ่นื คา� ขอ ไมค่ รบถ้วน ตรวจสอบเบื้องตน้
ปรับปรงุ แก้ไขเอกสาร รายงาน และทบทวนเอกสาร
ตรวจประเมิน ณ
ผยู้ ่ืนคา� ขอ ไมผ่ า่ น สถานท่ีประกอบการ
ปรับปรุงแก้ไข รายงาน

ตรวจประเมิน ณ
สถานทป่ี ระกอบการ

จัดท�าใบรับรอง
จัดท�าบญั ชีรายชื่อ
ตรวจติดตามผล

(ปีละครง้ั )
ตรวจประเมินใหม่ท้งั ระบบ

(เมื่อครบ 3 ป)ี

102 คู่มอื การดา� เนินงานผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558

6. มาตรฐานผลติ ภัณฑ์ชุมชน (มผช.)

สา� นักงานมาตรฐานผลติ ภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือท่ีเรยี กย่อ ๆ วา่ สมอ. ได้มีโครงการจดั ท�ามาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์ชุมชน เพ่ือรองรับการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนหรือระดับพื้นบ้านที่ยังไม่ได้รับการพัฒนา
เทา่ ทคี่ วร ซง่ึ วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการทสี่ า� คญั คอื สง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพของผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนใหไ้ ดร้ บั การ
รับรองและแสดงเคร่ืองหมายการรับรอง เพ่ือส่งเสริมด้านการตลาดของผลิตภัณฑ์ ให้เป็นท่ียอมรับอย่าง
แพร่หลายและสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภคในการเลือกซ้ือผลิตภัณฑ์ชุมชนท้ังในประเทศและต่างประเทศ
เนน้ ใหม้ ีการพฒั นาแบบยงั่ ยืน อีกท้งั สนับสนนุ นโยบายส�าคัญของรฐั บาล โครงการหน่ึงต�าบล หน่งึ ผลติ ภณั ฑ์
ในการแกไ้ ขปญั หาความยากจนของชมุ ชน โดยมงุ่ ใหค้ วามสา� คญั ของการนา� ภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ น และทรพั ยากร
ท่ีมีอยู่ในท้องถิ่น มาพัฒนาและสร้างมูลค่าของผลิตภัณฑ์ให้สูงข้ึน มีคุณภาพ มีจุดเด่น มีเอกลักษณ์
มีการพฒั นาท้องถิ่น สร้างชุมชนให้เข้มแขง็ พงึ่ ตนเองได้ สร้างงาน สรา้ งรายได้

6.1 การรับรองคุณภาพผลติ ภัณฑช์ มุ ชน
การรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน หมายถึง การให้การรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนของ

ผู้ผลิตในชุมชน ท่ีเกิดการรวมกลุม่ กนั ประกอบกจิ กรรมใดกจิ กรรมหนงึ่ ทัง้ ทจี่ ดทะเบียนอย่างเป็นทางการหรือ
ที่ไม่มีการจดทะเบียนเป็นการรวมกลุ่มเองโดยธรรมชาติ หรือชุมชนในโครงการหน่ึงต�าบล หน่ึงผลิตภัณฑ์
ท่ีผ่านการคัดเลือกจากจังหวัด และ/หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ส�านักงาน
มาตรฐานผลติ ภณั ฑ์อุตสาหกรรมได้ประกาศกา� หนดไวแ้ ล้ว

6.2 ผยู้ ื่นคา� ขอ
ผู้ยืน่ ค�าขอ หมายถงึ ผผู้ ลิตท่ีอยูใ่ นชุมชนและ/หรอื จากโครงการหน่งึ ตา� บลหนง่ึ ผลิตภัณฑ์ ท่ีผ่าน

การคดั เลอื กจากคณะกรรมการอ�านวยการ หนึง่ ต�าบล หนง่ึ ผลิตภณั ฑ์ แห่งชาติ (กอ.นตผ.)
6.3 ผูไ้ ดร้ ับการรบั รอง
ผู้ได้รับการรับรอง หมายถึง ผู้ยื่นค�าขอที่ผ่านการตรวจประเมินแล้ว และได้รับการรับรองจาก

คณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
6.4 คณุ สมบตั ิของผยู้ น่ื ค�าขอ
ผยู้ นื่ ค�าขอตอ้ งมีคณุ สมบัติในข้อหน่งึ ขอ้ ใด ดงั ตอ่ ไปน้ี
6.4.1 เปน็ ผผู้ ลติ ในชมุ ชนของโครงการหนง่ึ ตา� บล หนงึ่ ผลติ ภณั ฑ์ ไดร้ บั การคดั เลอื กจากคณะกรรมการ

อ�านวยการหนง่ึ ต�าบล หนงึ่ ผลติ ภัณฑ์แห่งชาติ (กอ.นตผ.)
6.4.2 เป็นกลุ่มหรอื สมาชกิ ของกลุ่มเกษตรกร กลุม่ สหกรณ์ หรือกลุ่มอน่ื ๆ ตามกฏหมายวสิ าหกิจ

ชุมชน เช่น กล่มุ อาชพี กลุ่มอาชพี กา้ วหน้า กลมุ่ ธรรมชาติ เปน็ ต้น

คูม่ ือการด�าเนนิ งานผผู้ ลิต ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558 103

6.5 การรบั รอง
6.5.1 การรบั รองคณุ ภาพผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน ประกอบด้วยการด�าเนินการดังนี้
1) ตรวจสอบสถานทผ่ี ลติ และเกบ็ ตวั อยา่ งจากสถานทผี่ ลติ สง่ ตรวจสอบ เพอื่ พจิ ารณาออก

ใบรบั รอง
2) ตรวจตดิ ตามผลคณุ ภาพผลติ ภัณฑ์ชุมชนทไ่ี ดร้ บั การรบั รอง โดยส่มุ ซอื้ ตวั อย่างท่ีไดร้ บั

การรับรองจากสถานท่จี า� หนา่ ย เพื่อตรวจสอบ
6.5.2 การขอการรบั รอง ใหย้ น่ื คา� ขอตอ่ สา� นกั งานมาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม หรอื สา� นกั งาน

อตุ สาหกรรมจังหวดั หรอื จังหวัด พร้อมหลกั ฐานและเอกสารตา่ ง ๆ ตามแบบทสี่ า� นักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์
อุตสาหกรรมกา� หนด

6.5.3 เมอ่ื ไดร้ บั คา� ขอตามขอ้ 6.5.2 แลว้ สา� นกั งานมาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรมจะนดั หมาย
การตรวจสอบสถานท่ผี ลติ เก็บตวั อย่างสง่ ทดสอบ หรือทดสอบ ณ สถานท่ผี ลิต

6.5.4 ประเมินผลการตรวจสอบว่าเป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ไดก้ า� หนดไว้หรือไม่
6.5.5 ใบรบั รองผลติ ภัณฑ์ มีอายุ 3 ปี นบั ตัง้ แตว่ นั ทรี่ ะบใุ นใบรับรอง
6.5.6 การขอต่ออายุใบรับรองหรอื การออกใบรบั รองฉบับใหมเ่ มื่อใบรบั รองฉบับเกา่ สน้ิ อายุ ให้
ด�าเนินการตามข้อ 6.5.2 ถึง 6.5.4
6.6 เงอ่ื นไขและการตรวจตดิ ตาม
6.6.1 ผู้ได้รับการรับรอง ต้องรักษาไว้ซึ่งคุณภาพตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ท่ีก�าหนดไว้
ตลอดระยะเวลาทไี่ ดร้ บั การรบั รอง
6.6.2 การประเมนิ ผลการตรวจสอบตวั อยา่ งทส่ี มุ่ ซอื้ เพอื่ ตรวจตดิ ตามผลตอ้ งเปน็ ไปตามมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์ชุมชนท่กี า� หนด
6.6.3 การตรวจติดตามผลท�าอยา่ งนอ้ ยปีละ 1 คร้งั
6.7 การยกเลิกการรับรอง
สา� นักงานมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์อุตสาหกรรม จะยกเลกิ ใบรับรอง กรณีใดกรณีหนง่ึ ดังตอ่ ไปนี้
6.7.1 ผลติ ภัณฑ์ทตี่ รวจตดิ ตามผลไม่เปน็ ไปตามมาตรฐานผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน 2 ครั้งตดิ ตอ่ กนั
6.7.2 ผ้ไู ดร้ ับการรบั รองขอยกเลิกใบรบั รอง
6.7.3 มกี ารประกาศแก้ไขหรอื ยกเลิกมาตรฐานผลติ ภัณฑ์ชุมชนที่ได้กา� หนดไว้
6.7.4 เม่ือใบรบั รองครบอายุ 3 ปี นับจากวันทไ่ี ดร้ ับการรบั รอง
6.7.5 กรณมี กี ารกระทา� อนั เปน็ การฝา่ ฝนื หรอื ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามหลกั เกณฑแ์ ละเงอื่ นไขตา่ ง ๆ ทกี่ า� หนด
เชน่ การอวดอา้ งเกนิ ความเปน็ จรงิ โฆษณาการไดร้ บั การรบั รองครอบคลมุ รวมถงึ ผลติ ภณั ฑท์ ไี่ มไ่ ดร้ บั การรบั รอง

104 คู่มอื การดา� เนินงานผู้ผลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558

6.8 อืน่ ๆ
6.8.1 ในกรณที ย่ี กเลกิ ใบรบั รอง ผไู้ ดร้ บั การรบั รองตอ้ งยตุ กิ ารใชส้ ง่ิ พมิ พ์ สอื่ โฆษณา ทมี่ กี ารอา้ งองิ

ถึงการไดร้ บั การรับรองทั้งหมด
6.8.2 สา� นกั งานมาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม ไมร่ บั ผดิ ชอบในการกระทา� ใด ๆ ของผไู้ ดร้ บั การ

รับรองท่ไี ด้กระทา� ไปโดยไมส่ ุจริตหรอื ไมป่ ฏบิ ัติตามหรือฝ่าฝืนหลักเกณฑ์และเงอ่ื นไขทกี่ า� หนด
6.9 ขอ้ แนะนา� ส�าหรบั ผรู้ บั ใบรับรองให้แสดงเครื่องหมายมาตรฐานผลติ ภัณฑช์ ุมชน
6.9.1 คา่ ใช้จา่ ย ผรู้ ับใบรบั รองไม่ต้องช�าระคา่ ใชจ้ ่าย ดงั น้ี
9.1.1 คา่ ใชจ้ ่ายในการตรวจสอบผลิตภณั ฑช์ ุมชน (ตัวอยา่ ง)
9.1.2 ค่าตวั อย่างผลติ ภณั ฑ์ชุมชนทเ่ี กบ็ จากสถานท่ีจา� หน่าย
9.1.3 คา่ นา� สง่ ตวั อยา่ ง
6.9.2 การแสดงเคร่ืองหมายมาตรฐานผลติ ภัณฑ์ชุมชน
1) ผู้รับใบรับรองต้องแสดงเคร่ืองหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนกับผลิตภัณฑ์ชุมชนท่ี

เป็นไปตามมาตรฐานเทา่ นน้ั
2) การแสดงเครอื่ งหมายมาตรฐานผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน การท�าเครอ่ื งหมายและฉลาก
2.1) การแสดงเคร่ืองหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธี
การทีก่ �าหนด
2.2) การทา� เครอื่ งหมายและฉลากตอ้ งมขี อ้ ความครบถว้ นตามทกี่ า� หนดไวใ้ นมาตรฐาน
ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนและไดร้ ับความเหน็ ชอบจาก สมอ.
2.3) ระยะเวลาในการแสดงเครอื่ งหมายมาตรฐานผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนใหเ้ ปน็ ไปตามเงอ่ื นไข
ท่กี �าหนด

6.9.3 การตรวจสถานท่ผี ลิตและเกบ็ ตัวอยา่ งเพือ่ ตรวจสอบของ สมอ.
1) ในการควบคมุ การใชเ้ ครอื่ งหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน สมอ. จะได้ส่งพนักงาน

เจา้ หนา้ ทมี่ าตรวจสถานทผี่ ลติ เปน็ ครง้ั คราวและเกบ็ ตวั อยา่ งจากสถานทผี่ ลติ หรอื จากแหลง่ จา� หนา่ ยไปตรวจสอบ
2) การมาตรวจสถานทผ่ี ลติ เพอ่ื ดกู ารทา� และการใชเ้ ครอื่ งหมายมาตรฐานผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน

สมอ. จะไม่แจง้ ใหผ้ ู้รับใบรบั รองทราบลว่ งหน้า ยกเว้นบางกรณี
3) พนกั งานเจา้ หนา้ ทท่ี ม่ี าตรวจสถานทผ่ี ลติ ตอ้ งแสดงบตั รประจา� ตวั ตอ่ เจา้ หนา้ ทข่ี องสถานท่ี

ผลิตทกุ ครงั้
4) ในการตรวจสถานท่ีผลิตและเกบ็ ตัวอย่าง พนักงานเจา้ หนา้ ทจี่ ะดา� เนินการดงั น้ี
4.1) การตรวจสถานทีผ่ ลิต
4.1.1) ตรวจกรรมวธิ ีการทา� การใช้เคร่ืองหมายมาตรฐานผลติ ภัณฑ์ชุมชนของ
สถานทผ่ี ลิต
4.1.2) พนกั งานเจา้ หน้าทีจ่ ะแจง้ ผลการตรวจสอบตัวอย่างทีเ่ กบ็ ไปตรวจสอบใน
ครั้งก่อน (ถา้ มี)

ค่มู ือการด�าเนินงานผูผ้ ลิต ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558 105

4.2) การเก็บตวั อยา่ ง
4.2.1) พนักงานเจา้ หน้าที่จะเก็บตวั อยา่ งตามวธิ ีการและจา� นวนตามท่กี �าหนดใน
มาตรฐานผลติ ภัณฑช์ มุ ชน แตอ่ าจเก็บตวั อยา่ งเพมิ่ ขึน้ ในกรณีดังต่อไปน้ี
(1) ใชเ้ ป็นตวั อยา่ งอา้ งอิง
(2) เพอื่ แบง่ สง่ หนว่ ยตรวจสอบมากกวา่ 1 หนว่ ยขนึ้ ไป (กรณที หี่ นว่ ย
ตรวจสอบเดยี วไมส่ ามารถตรวจสอบไดค้ รบทกุ รายการตามทม่ี าตรฐาน
ผลติ ภัณฑ์ชมุ ชนกา� หนด)
4.2.2) พนักงานเจ้าหน้าที่จะออกใบรับ-น�าส่งตัวอย่างของ สมอ. ให้สถานท่ีผลิต

ทกุ ครง้ั ทม่ี กี ารเกบ็ ตวั อยา่ งและจะใหเ้ จา้ หนา้ ทขี่ องสถานทผี่ ลติ ลงนามจา่ ยตวั อยา่ งในใบรบั -นา� สง่ ตวั อยา่ งดว้ ย
ในบางกรณีการน�าส่งตัวอย่างพนักงานเจ้าหน้าที่อาจขอให้ผู้รับใบรับรองน�าส่งตัวอย่างให้ สมอ. หรือหน่วย
ตรวจสอบก็ได้

6.9.4 การตรวจสอบผลิตภัณฑ์ สมอ. จะส่งตวั อย่างทเี่ กบ็ จากแหลง่ ตา่ ง ๆ ให้หน่วยตรวจสอบ
เพ่ือตรวจสอบและแจ้งผลการตรวจสอบใหผ้ ไู้ ดร้ บั การรับรองทราบภายหลงั

6.9.5 การเลกิ ประกอบกจิ การ ผู้รับใบรับรองต้องแจง้ เป็นหนังสือให้ สมอ. ทราบภายในสามสิบวัน
นบั แต่วนั เลกิ กิจการ

106 คมู่ อื การดา� เนินงานผผู้ ลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558

6.10 ขนั้ ตอนการดา� เนนิ งานในการให้การรบั รอง

คูม่ อื การดา� เนินงานผู้ผลิต ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558 107

7. มาตรฐานผลติ ภัณฑอ์ ุตสาหกรรม (มอก.)

มอก. เปน็ คา� ยอ่ มาจาก “มาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม” หมายถงึ ขอ้ กา� หนดเกยี่ วกบั ผลติ ภณั ฑ์
อตุ สาหกรรม ท่กี า� หนดขน้ึ เพือ่ เป็นแนวทางแก่ผูผ้ ลิตในการผลติ สินคา้ ใหม้ คี ณุ ภาพในระดับท่ีเหมาะสมกบั การ
ใช้งานและมคี วามปลอดภัยต่อผูบ้ ริโภคมากที่สดุ เชน่ เกณฑท์ างเทคนคิ คุณสมบตั ิทีส่ �าคัญ ประสิทธิภาพของ
การน�าไปใชง้ าน คุณภาพของวตั ถทุ ่ีนา� มาผลติ และวิธกี ารทดสอบ เปน็ ตน้

7.1. สัญลักษณ์ของเคร่ืองหมาย มอก.
ปัจจุบันส�านกั งานมาตรฐานอตุ สาหกรรม กา� หนดเคร่ืองหมายมาตรฐานไว้ 2 ประเภท คือ
7.1.1 เครื่องหมายมาตรฐานทัว่ ไป ใช้ส�าหรบั ผลิตภณั ฑอ์ ุปโภคบริโภค ซึ่งผผู้ ลิตสามารถ

ยน่ื ขอการรบั รองด้วยความสมัครใจ เพือ่ พัฒนาคุณภาพผลติ ภณั ฑใ์ ห้เปน็ ไปตามเกณฑก์ า� หนดมาตรฐาน

เคร่ืองหมายมาตรฐานทวั่ ไป

7.1.2 เครอ่ื งหมายมาตรฐานบงั คบั เปน็ เครอื่ งหมายผลติ ภณั ฑท์ ก่ี ฎหมายกา� หนดใหผ้ ผู้ ลติ
ต้องทา� ตามมาตรฐาน และต้องแสดงเคร่อื งหมายผลิตภัณฑท์ ้งั นีเ้ พื่อความปลอดภยั ตอ่ ผูบ้ ริโภค

เครอ่ื งหมายมาตรฐานบังคับ

108 ค่มู อื การด�าเนนิ งานผผู้ ลติ ผูป้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558

7.2 หลักเกณฑก์ ารขอเคร่อื งหมาย มอก.
ปจั จบุ ันสนิ ค้าท่ีก�าหนดเป็นมาตรฐาน มอก. มีอยูก่ วา่ 2,000 เร่ือง ครอบคลมุ สนิ ค้าทีใ่ ช้ใน

ชวี ิตประจ�าวนั หลายๆ ประเภท ได้แก่ ประเภทอาหารเครื่องดม่ื สงิ่ ทอ ของใช้ เช่น เครอื่ งใช้ไฟฟ้า ยานพาหนะ
วสั ดกุ ่อสรา้ ง เป็นต้น ที่มกี ารผลิตในโรงงานอตุ สาหกรรม โดยแบง่ เปน็

7.2.1 ผลิตภัณฑ์ที่ต้องขอเครื่องหมายมาตรฐานท่ัวไป ได้แก่ อุปกรณ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้า วัสดุ
ก่อสรา้ ง สบูถ่ ตู วั ผลไมก้ ระปอ๋ ง ผกั กระป๋อง น�้าผลไม้ สรุ า ฯลฯ

7.2.2 ผลิตภัณฑ์ท่ีต้องขอเครื่องหมายมาตรฐานบังคับ ได้แก่ อุปกรณ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้า วัสดุ
กอ่ สรา้ ง สับปะรดกระปอ๋ ง ยาจุดกนั ยุง ฯลฯ

7.3 สถานท่ตี ิดตอ่ ขอเครื่องหมาย มอก.
ผู้สนใจสามารถติดต่อขอรับเคร่ืองหมายรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

ได้ที่ ส�านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท์ 0-2202-3428, 0-2202-3431

7.4 การขอเครือ่ งหมาย มอก.

ขน้ั ตอนการขอเคร่ืองหมายรับรองมาตรฐาน มอก.

ขัน้ ตอน ระยะเวลา

รบั คา� ขอ/ตรวจสอบคา� ขอลงทะเบยี น/ 1 วนั ท�าการ
จัดทา� แฟ้มคา� ขอ

ตรวจประเมนิ ระบบควบคมุ คุณภาพ/ 30 วันท�าการ
เกบ็ ตวั อย่าง/ทา� รายงานการตรวจประเมิน

ทดสอบตวั อยา่ งผลติ ภัณฑ์ ไม่นับวัน

รับและประเมนิ ผลทดสอบ/ 5 วันทา� การ
สรุปรายงาน/แจ้งผลการพจิ ารณา

จดั ทา� ใบอนุญาต 7 วันทา� การ

รวม 43 วนั ท�าการ

คู่มือการด�าเนินงานผู้ผลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558 109

8. กระบวนการขอรบั รองฮาลาล และขอใชเ้ ครอ่ื งหมายรบั รองฮาลาล

8.1 ความส�าคญั ของ “อาหารฮาลาล”
ปัจจุบันอาหารฮาลาล (Halal Food) เป็นเร่ืองท่ีได้รับความสนใจอย่างมากจากสังคมไทย มิใช่

เพยี งแตช่ าวไทยมสุ ลมิ ทจี่ า� เปน็ ตอ้ งบรโิ ภคอาหารฮาลาลเทา่ นน้ั แตผ่ ปู้ ระกอบการซง่ึ ตอ้ งการผลติ อาหารฮาลาล
จ�าหน่ายแก่ผู้บริโภคมุสลิมในประเทศ และผลิตเพ่ือการส่งออกในตลาดโลกมุสลิมก็จ�าเป็นต้องให้ความสนใจ
อย่างจริงจัง และด�าเนินกระบวนการผลิตอาหารฮาลาลให้ถูกต้องตามบัญญัติศาสนาอิสลาม และระเบียบ
คณะกรรมการกลางอิสลามแหง่ ประเทศไทยว่าด้วยการรับรองฮาลาล พ.ศ. 2544 และฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2545
โดยผา่ นการตรวจสอบ และรบั รองจากคณะกรรมการกลางอสิ ลามแหง่ ประเทศไทยหรอื คณะกรรมการอสิ ลาม
ประจ�าจังหวัดแล้วแต่กรณี และหากผู้ขอรับรองฮาลาล ประสงค์จะใช้ “เครื่องหมายรับรองฮาลาล” จะต้อง
รับอนุญาตให้ใช้เคร่ืองหมายดังกล่าว จากคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทยก่อน ประกอบกับ
ประเทศไทยเปน็ แหลง่ ผลติ อาหารทส่ี า� คญั ของโลก ตลาดมสุ ลมิ มปี ระชากรผบู้ รโิ ภคเปน็ จา� นวนมาก อาหารฮาลาล
จึงเปน็ ชอ่ งทางการตลาด (Market Channel) ท่ีสา� คญั

8.2 สญั ลกั ษณ์ของเคร่อื งหมาย ฮาลาล

8.3 หลกั เกณฑ์การขอเคร่ืองหมาย ฮาลาล
ผลิตภัณฑ์ฮาลาล ได้แก่ ผลิตภัณฑ์อาหาร เคร่ืองดื่ม และหรือเนื้อสัตว์ฮาลาลที่น�าเข้าจาก

ตา่ งประเทศ ซงึ่ อาหารที่ถกู ตอ้ งตามกฎฮาลาล จะใช้ส�าหรับอาหารท่ไี ดพ้ จิ ารณาแลว้ ว่าถกู ตอ้ งตามกฎ ภายใต้
บทบญั ญตั ศิ าสนาอิสลามจะถือวา่ แหล่งอาหารทง้ั หมดถูกตอ้ งตามกฎ ยกเว้นแหล่งอาหารต่อไปนี้

1. อาหารท่ีได้จากสัตว์
(1) หมูและหมปู ่า
(2) สุนขั งู และลงิ
(3) สตั ว์ที่กินเนอื้ เป็นอาหารที่มเี ข้ยี วและกรงเลบ็ เชน่ สิงโต เสือ หมี และสตั ว์อน่ื ท่ีคลา้ ยกัน
(4) นกกินเหย่อื ท่มี กี รงเลบ็ เช่น นกอนิ ทรี นกแรง้ และนกท่ีคล้ายกันอ่นื ๆ
(5) สตั วท์ า� ลาย เช่น หนู ตะขาบ แมลงปอ่ ง และสัตว์ทค่ี ล้ายกันอน่ื ๆ
(6) สัตวท์ ีห่ า้ มฆ่าในศาสนาอิสลาม เชน่ มด ผง้ึ และนกหัวขวาน
(7) สตั วน์ า่ รงั เกยี จโดยทวั่ ไป เชน่ เหบ็ หมดั ไร เหา แมลงวนั หนอน และสตั วท์ ค่ี ลา้ ยกนั อน่ื ๆ
(8) สตั วค์ รง่ึ บกครงึ่ นา�้ เชน่ กบ จระเข้ และสตั วท์ คี่ ลา้ ยกนั อนื่ ๆ
(9) ลอ่ และลาทเี่ ปน็ สตั วเ์ ลย้ี ง

110 คมู่ อื การด�าเนนิ งานผูผ้ ลิต ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558

ผลติ แลว้ (10) สตั วน์ า�้ มพี ษิ และเปน็ อนั ตรายทกุ ชนดิ
(11) สตั วอ์ น่ื ๆ ทไี่ มไ่ ดฆ้ า่ ถกู ตอ้ งตามกฎศาสนาอสิ ลาม
(12) เลอื ด (โลหติ )
2. อาหารทไ่ี ดจ้ ากพชื
พชื ทม่ี พี ษิ และเปน็ อนั ตราย ยกเวน้ เมอ่ื สารพษิ และอนั ตรายไดถ้ กู กา� จดั ออกระหวา่ งกระบวนการ
3. เครอื่ งดม่ื
(1) เครอ่ื งดมื่ ทมี่ แี อลกอฮอล์
(2) เครอื่ งดมื่ ทกุ ชนดิ ทม่ี พี ษิ และอนั ตราย
4. วตั ถเุ จอื ปนอาหาร
วตั ถเุ จอื ปนอาหารมที มี่ าจากทง้ั 3 แหลง่ ขา้ งตน้ ตามขอ้ 1 2 และ 3

8.4 ขนั้ ตอนและวธิ ีการขอรับรองฮาลาลและขอใชเ้ คร่อื งหมายรับรองฮาลาล
การขอรับรองฮาลาลและขอใชเ้ ครอ่ื งหมายรับรองฮาลาล จัดให้มสี า� หรบั
1. ผลิตภัณฑ์อปุ โภค บรโิ ภค
2. การเชอื ดสตั ว์
3. การบริการอาหาร และ เครื่องดื่ม
4. ผลิตภัณฑฮ์ าลาล เน้อื สัตวฮ์ าลาล น�าเขา้ จากตา่ งประเทศ

ก่อนที่ผู้ประกอบการจะท�าการย่ืนขอรับรองฮาลาลนน้ัน ให้ตรวจสอบดูว่า สถานที่ประกอบการที่
ตั้งอยู่นั้น มีคณะกรรมการอิสลามประจ�าจังหวัด อยู่หรือไม่ ถ้ามี ให้ติดต่อเพื่อขอรับรองฮาลาลจาก
คณะกรรมการอสิ ลามประจา� จงั หวัด หากสถานประกอบการ ไมไ่ ด้อยูใ่ น จงั หวัดทม่ี คี ณะกรรมการ อสิ ลาม
ประจ�าจังหวัด ให้ติดต่อ ฝ่ายกิจการฮาลาล ส�านักงานคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
ที่อยู่: 28/2 หมู่ 12 ถนนมิตรไมตรี เขตหนองจอก กทม. 10530 โทรศัพท์ 0-2989-7360-3
โทรสาร 0-2988-6580 จากนน้ั จงึ ดา� เนนิ การ ขน้ั ตอนและวธิ กี ารเพอื่ การตรวจพจิ ารณาของฝา่ ยกจิ การฮาลาล
ดงั นี้

ขน้ั ตอนที่ 1 : ขั้นเตรยี มการ มีวธิ ีการดงั นี้
1. ผปู้ ระกอบการศกึ ษาระเบียบกฎเกณฑ์หรอื ขอค�าแนะน�าการผลิตอาหารฮาลาล
2. ผู้ประกอบการด�าเนนิ การผลติ อาหาร
3. ผูป้ ระกอบการเตรียมเอกสารตามทฝี่ ่ายกจิ การฮาลาลตอ้ งการ
4. ผปู้ ระกอบการเตรียมตวั อยา่ งผลิตภณั ฑ์

คมู่ ือการดา� เนินงานผผู้ ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558 111

ขน้ั ตอนที่ 2 : ขน้ั ยื่นคา� ขอและพิจารณาคา� ขอ มีวิธีการดงั นี้
1. ผปู้ ระกอบการย่ืนคา� ขอต่อประธานกรรมการกลางอสิ ลามแห่งประเทศไทย หรอื ประธาน

คณะกรรมการกลางอสิ ลาม ประจา� จังหวัดตามแบบค�าขอ
2. ผู้ประกอบการยื่นเอกสารประกอบค�าขอ (ถ้ามี) ดงั น้ี
2.1 ส�าเนาจดทะเบยี นนิติบคุ คล
2.2 สา� เนาใบอนญุ าตต้ังโรงงานแบบ รง. 2 หรอื รง. 4
2.3 ส�าเนาใบอนุญาตผลิตอาหารแบบ อ.2
2.4 สา� เนาคา� ขอและใบสา� คญั การขอขนึ้ ทะเบยี นตา� รบั อาหารแบบ อ. 17 และ อ. 18 หรอื

แบบใบแจง้ รายละเอยี ดของอาหารสา� เรจ็ รปู ท่ีพรอ้ มบรโิ ภคทันที
2.5 สา� เนาหนงั สอื สา� คญั แสดงการจดทะเบยี นเครอื่ งหมายการคา้ จากกรมทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา
2.6 ส�าเนาใบสา� คัญการใช้ฉลากอาหาร แบบ ฉ. 1 พร้อมตวั อย่าง
2.7 สา� เนาเอกสารสรุปผลการวิเคราะหจ์ ากสา� นกั งานอาหารและยา
2.8 หนงั สอื รบั รองรายละเอยี ด กรรมวธิ กี ารผลติ ขน้ั ตอนการผลติ วตั ถดุ บิ ทใ่ี ชเ้ ปน็ สว่ นผสม

ในการผลติ และจดุ ประสงคท์ ใ่ี ชส้ ารปรุงแตง่ ตา่ ง ๆ รับรองโดยผู้รบั ใบอนญุ าตผลติ
2.9 บัญชีรายช่ือผลิตภัณฑท์ ่ขี อใหร้ บั รองฮาลาล
2.10 แผนที่แสดงทตี่ ัง้ โรงงาน สถานท่ผี ลิตพอสงั เขป
2.11 ผลิตภณั ฑ์ตัวอย่างเพอ่ื ประกอบการพิจารณาเบือ้ งตน้

3. เจ้าหน้าทีต่ รวจความถูกต้องของเอกสารท่ปี ระกอบคา� ขอแล้วน�าเสนอฝ่ายกจิ การฮาลาล
4. วเิ คราะห์ตัวอยา่ งผลิตภณั ฑ์
5. นัดหมายการตรวจสอบหลงั จากท่ีผู้ประกอบการชา� ระคา่ ธรรมเนยี มการตรวจสอบรบั รอง
ฮาลาล ตามระเบียบฯ แลว้
ข้ันตอนที่ 3 : ขัน้ การตรวจโรงงาน/สถานประกอบการ
1. คณะผู้ตรวจสอบ ไปตรวจโรงงาน/สถานประกอบการ ตามที่นัดหมาย
2. ประชมุ ชแี้ จงรว่ มกนั ระหวา่ งคณะผตู้ รวจสอบของฝา่ ยกจิ การฮาลาล กบั ฝา่ ยสถานประกอบการ
กอ่ นดา� เนนิ การตรวจสอบ
3. ฝา่ ยสถานประกอบการนา� คณะผตู้ รวจสอบพจิ ารณากระบวนการผลติ วตั ถดุ บิ สถานทผ่ี ลติ
การบรรจุ การเก็บรกั ษา สถานท่จี า� หนา่ ย ฯลฯ ตามที่บรรยายสรุป
4. คณะผตู้ รวจสอบใหค้ า� แนะนา� แกผ่ ยู้ น่ื คา� ขอ เมอื่ เหน็ วา่ ผปู้ ระกอบการดา� เนนิ การไมถ่ กู ตอ้ ง
หรอื มีข้อบกพร่องเพ่ือจะไดด้ �าเนินการใหถ้ กู ตอ้ งต่อไป
5. คณะผูต้ รวจสอบรายงานผลให้คณะกรรมการฝา่ ยกจิ การฮาลาลพิจารณา

112 คมู่ ือการด�าเนินงานผ้ผู ลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558

ขัน้ ตอนที่ 4 : ขน้ั พิจารณาผลการตรวจสอบและใหห้ นงั สือรบั รอง
1. คณะกรรมการฝา่ ยกจิ การฮาลาลรายงานผลการพจิ ารณาใหค้ ณะกรรมการกลางอสิ ลามแหง่

ประเทศไทยหรือ คณะกรรมการอสิ ลามประจา� จงั หวัดพิจารณาอนญุ าต
2. เรียงเอกสารหรอื ผลวิเคราะห์ทางวทิ ยาศาสตร์เพมิ่ เติมในกรณที ่ีจา� เปน็
3. คณะกรรมการฝ่ายกิจการฮาลาลแจ้งผลพิจารณาของคณะกรรมการกลางอิสลามแห่ง

ประเทศไทย หรอื คณะกรรมการอสิ ลามประจา� จังหวัดให้ผู้ขอรบั รองฮาลาลทราบ
4. ในกรณที ค่ี ณะกรรมการฯ ใหก้ ารรบั รองเมอ่ื ผขู้ อรบั รองฮาลาลทา� สญั ญายอมรบั ปฏบิ ตั ติ าม

เง่ือนไขการรับรอง และการช�าระค่าธรรมเนียมแล้ว คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย หรือ
คณะกรรมการอสิ ลามประจา� จงั หวดั จงึ ออกหนงั สอื รบั รองฮาลาล ใหแ้ กผ่ ขู้ อ โดยมอี ายกุ ารรบั รองไมเ่ กนิ หนงึ่ ปี

5. ผู้ขอซึ่งได้หนังสือรับรองฮาลาลแล้ว และมีความประสงค์ขอใช้เคร่ืองหมายรับรองฮาลาล
คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย จะออกหนังสือส�าคัญ ให้ใช้เคร่ืองหมายรับรองฮาลาลแก่ผู้ขอ
เม่อื ผู้ขอชา� ระคา่ ธรรมเนยี มแล้ว

ขนั้ ตอนที่ 5 : ขน้ั ตอนการติดตามและประเมินผล
1. ด�าเนินการติดตามและก�ากับดูแลสถานประกอบการซ่ึงได้รับรองฮาลาล และหรือให้ใช้

เคร่อื งหมายรับรองฮาลาล ใหป้ ฏิบัตติ ามสัญญาและระเบยี บอย่างเคร่งครดั โดยใช้กลไกการตรวจสอบดังนี้
1.1 ใหม้ ี “สารวัตรอาหารฮาลาล” เพื่อตรวจสอบสินคา้ อาหารฮาลาลในตลาด
1.2 ศกึ ษาวเิ คราะหข์ อ้ มลู จากรายงาน การปฏบิ ตั งิ านของ “ทป่ี รกึ ษาสถานประกอบการ”

2. ฝา่ ยกจิ การฮาลาลตรวจสอบผลติ ภณั ฑ์ กระบวนการผลติ สถานประกอบการและการใหบ้ รกิ าร
ทไี่ ดร้ บั อนญุ าตแลว้ โดยไม่มกี ารนัดหมายล่วงหนา้ เปน็ ระยะตามความเหมาะสม

3. ฝา่ ยกจิ การฮาลาลรายงานผลการตรวจสอบใหค้ ณะกรรมการกลางอสิ ลามแหง่ ประเทศไทย
หรือคณะกรรมการอิสลามประจา� จงั หวดั ทราบหรือพิจารณา

คูม่ ือการดา� เนนิ งานผผู้ ลิต ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558 113

9. มาตรฐานผลิตภัณฑผ์ า้ ไหมไทย (ตราสัญลกั ษณน์ กยูงพระราชทาน)

9.1 ความส�าคญั ของตราสญั ลกั ษณพ์ ระราชทาน
สบื เนอ่ื งมาจากปจั จบุ นั มผี นู้ า� เขา้ เสน้ ไหมและเสน้ ใยสงั เคราะหอ์ น่ื จากตา่ งประเทศ ทงั้ ถกู กฎหมาย

และผิดกฎหมาย เส้นไหมจึงมีทั้งท่ีได้คุณภาพและด้อยคุณภาพ เม่ือน�ามาผลิตผ้าไหม จึงท�าให้ผ้าไหมไทย
ดอ้ ยคณุ ภาพลง แตผ่ ผู้ ลติ ยงั คงใชต้ ราสญั ลกั ษณค์ า� วา่ “ผา้ ไหมไทย” หรอื “Thai SilK” เพอ่ื การคา้ ทา� ใหผ้ ซู้ อื้
ท้ังในประเทศและตา่ งประเทศไม่มนั่ ใจในคุณภาพของผา้ ไหมไทยอกี ต่อไป

สมเด็จพระนางเจา้ สริ ิกติ ์ิ พระบรมราชนิ นี าถ ทรงห่วงใยและตระหนักถึงปัญหานี้ จึงไดท้ รงพระ
กรุณาโปรดเกลา้ ฯ พระทานสญั ลักษณน์ กยูงไทยให้เป็นเคร่ืองหมายรับรองคุณภาพผลิตภัณฑผ์ า้ ไหมไทย เพ่ือ
ให้มีการใช้เครื่องหมายรับรองอย่างกว้างขวางท้ังในและต่างประเทศ เป็นการแก้ปัญหาในด้านมาตรฐานของ
ผลิตภณั ฑ์ผ้าไหมไทยและการแอบอา้ งน�าคา� ว่า “ไหมไทย (Thai Silk)” ไปใช้เพอ่ื การคา้ อกี ทั้งเป็นการสร้าง
ความเชอ่ื ม่ันแก่ผูบ้ รโิ ภคเพื่อใหเ้ กดิ ความม่ันใจในคณุ ภาพ

9.2 สญั ลกั ษณข์ องเครอ่ื งมาตรฐาน

1. Royal Thai Silk : นกยูงสีทอง 2. Classic Thai Silk : นกยูงสเี งิน

3. Thai Silk : นกยงู สนี ้า� เงนิ 4. Thai Silk Blend : นกยูงสีเขยี ว

114 คู่มอื การดา� เนนิ งานผ้ผู ลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558

9.3 หลกั เกณฑก์ ารขอเครื่องหมายมาตรฐาน
สถาบนั หมอ่ นไหมแหง่ ชาติเฉลิมพระเกียรตสิ มเดจ็ พระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ ให้การ

รบั รองผา้ ไหมไทยของผ้ผู ลติ ผ้าไหมท้งั เกษตรกรรายยอ่ ยและผปู้ ระกอบการรายใหญ่
เรอ่ื งหมายรบั รองตรานกยงู พระราชทานทรี่ บั รองคณุ ภาพผลติ ภณั ฑไ์ หมไทย ทงั้ 4 ชนดิ ทพ่ี ระราชทาน

ใหผ้ ู้ผลิต จะเน้นคณุ สมบตั ขิ องวัตถดุ บิ และกรรมวธิ ีการผลติ เป็นหลกั ดังนี้
9.3.1 Royal Thai Silk : นกยูงสที อง เป็นผ้าไหมที่ผลิตโดยใช้เส้นไหมและวัตถุดิบตลอดจน

กระบวนการผลติ ท่เี ปน็ การอนรุ ักษ์ภมู ิปญั ญาพน้ื บา้ นดัง้ เดิมของไทยอย่างแท้จรงิ
- ใชเ้ ส้นไหมพันธไ์ุ ทยพน้ื บา้ นเป็นทงั้ เส้นพงุ่ และเสน้ ยืน
- เสน้ ไหมต้องสาวด้วยมอื ผ่านพวงสาวลงภาชนะ
- ทอดว้ ยกี่ทอมือแบบพนื้ บ้านชนิดพุ่งกระสวยดว้ ยมอื
- ย้อมดว้ ยสธี รรมชาติ หรือสเี คมีทไี่ ม่ท�าลายสงิ่ แวดลอ้ ม
- ต้องผลติ ในประเทศไทยเท่านน้ั

9.3.2 Classic Thai Silk : นกยงู สเี งนิ เป็นผ้าไหมท่ผี ลิตขึน้ โดยยงั คงอนรุ กั ษภ์ ูมปิ ัญญาพืน้ บ้าน
ผสมผสานกบั การประยกุ ต์ใช้เครอื่ งมือและกระบวนการผลติ ในบางข้นั ตอน

- ใช้เสน้ ไหมพันธุ์ไทยพนื้ บา้ นหรอื พนั ธุไ์ ทยปรบั ปรุงเป็นเสน้ พงุ่ และ/หรือเสน้ ยืน
- เส้นไหมต้องสาวดว้ ยมือ
- ทอดว้ ยก่ีทอมือ
- ย้อมดว้ ยสีธรรมชาติ หรือสเี คมีทไี่ ม่ท�าลายสิ่งแวดลอ้ ม
- ตอ้ งผลติ ในประเทศไทยเทา่ น้ัน
9.3.3 Thai SilK : นกยูงสนี า้� เงิน เป็นผ้าไหมชนดิ ท่ผี ลติ ดว้ ยภมู ิปัญญาของไทยแบบประยกุ ต์ ใช้
เทคโนโลยกี ารผลติ เข้ากบั สมัยนิยมและเชงิ ธุรกิจ ซ่ึงผา้ ไหมดงั กล่าวมคี ณุ สมบัติ
- ใชเ้ ส้นไหมแทเ้ ป็นทงั้ เส้นพุ่งและเส้นยืน
- ทอด้วยกแ่ี บบใดก็ได้
- ยอ้ มด้วยสีธรรมชาติ หรอื สีเคมกี ็ได้
- ต้องผลิตในประเทศไทยเท่านั้น
9.3.4 Thail Silk Blend : นกยูงสีเขยี ว เป็นผา้ ไหมท่ผี ลติ ดว้ ยกระบวนการผลติ และเทคโนโลยี
สมยั ใหม่ ทผ่ี สมผสานกบั ภมู ิปัญญาไทยไดล้ วดลายและสีสัน ท่มี กี ารผสมผสานระหวา่ งเส้นใยไหมแท้กบั เส้นใย
อ่นื ทม่ี าจากธรรมชาติ หรือเสน้ ใยสงั เคราะห์รปู แบบตา่ ง ๆ ตามวตั ถปุ ระสงค์การใช้งานหรือตามความต้องการ
ของผู้บรโิ ภค
- ใชเ้ สน้ ไหมแท้เป็นส่วนประกอบหลกั มเี ส้นใยอนื่ เปน็ ส่วนประกอบรอง
- ตอ้ งระบุส่วนประกอบของเสน้ ใยอื่นให้ชัดเจน
- ทอดว้ ยกี่แบบใดก็ได้
- ยอ้ มดว้ ยสธี รรมชาติ หรือสเี คมีก็ได้
- ต้องผลิตในประเทศไทยเท่านนั้

คู่มอื การด�าเนินงานผผู้ ลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558 115

ท้ังน้ีตราสัญลักษณ์ท้ัง 4 ชนิด จะปรากฎอยู่บนผืนผ้าอันงดงามที่มีกระบวนการผลิตท่ี
แตกตา่ งกนั ทง้ั ชนิดของไหม การสาวไหม การทอ การย้อมและกระบวนการผลติ ตามขอ้ บงั คบั ในการขอใช้
เครอ่ื งหมายรบั รองผลติ ภณั ฑไ์ หมไทยของสถาบนั หมอ่ นไหมแหง่ ชาตเิ ฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ
พระบรมราชนิ ีนาถ สา� นกั งานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

9.4 หน่วยงานท่ใี หก้ ารรับรองมาตรฐาน
1) สถาบันหมอ่ นไหมแหง่ ชาตเิ ฉลิมพระเกียรตฯิ
2) ส�านักงานหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ ภาค 5 แห่ง ซ่ึงต้ังอยู่ในจังหวัดกาญจนบุรี แพร่

อุดรธานี นครราชสีมา และจังหวดั ชุมพร
3) ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ ทกุ แห่งทัว่ ประเทศ

9.5 ข้นั ตอนการขอเครือ่ งหมายมาตรฐาน
การขอเครอ่ื งหมายมาตรฐานตรานกยงู พระราชทานมอี ตั ราคา่ ธรรมเนยี มการออกใบรบั รองแสดง

เครื่องหมายรบั รอง ดังนี้
ก. ส�าหรับค�าขอทผี่ ลิตผ้าไหมแตล่ ะชนิดไม่เกิน 1,000 เมตร ในเวลา 3 ปี คดิ อตั ราใบรบั รองละ

500 บาท
ข. สา� หรับคา� ขอที่ผลติ ผ้าไหมแตล่ ะชนดิ เกนิ กว่า 1,000 เมตรข้นึ ไป แตไ่ มเ่ กิน 5,000 เมตร ใน

เวลา 3 ปี คิดอตั ราใบรับรองละ 1,000 บาท
ค. สา� หรบั คา� ขอทผ่ี ลติ ผา้ ไหมแตล่ ะชนดิ เกนิ กวา่ 5,000 เมตรขน้ึ ไป ในเวลา 3 ปี คดิ อตั ราใบรบั รอง

ละ 2,000 บาท
ง. คา่ ธรรมเนยี มดวงตราสญั ลกั ษณน์ กยงู ดวงตาละ 5 บาท สา� หรบั ตดิ บนรมิ ผนื ผา้ ทกุ ระยะ 1 เมตร

116 คมู่ อื การดา� เนนิ งานผู้ผลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558

ขน้ั ตอนด�าเนนิ การขอเครอื่ งหมายมาตรฐาน

กรอกแบบฟอรม์ ยื่นค�าขอ พรอ้ มเอกสารหลกั ฐาน
จนท.ออกใบรบั รองค�าขอไวเ้ ป็นหลกั ฐาน

จนท.ตรวจสอบสถานที่ผลติ และน�าตวั อย่างผา้ /
ภาพถ่ายและหลักฐานเอกสารส่งส่วนกลาง
สถาบันหมอ่ นไหมส่วนกลางตรวจสอบ
โดยผู้ทรงคณุ วฒุ ิ
ออกใบรบั รอง (มีอายุ 3 ป)ี
ติดดวงตา นกยูงพระราชทานรมิ ผืนผ้า
ทุกระยะ 1 เมตร

หมายเหตุ 1. ศนู ย์จะดา� เนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลา 30 วันทา� การตัง้ แตว่ ันรบั คา� ขอ
2. ใบรับรองแสดงเครื่องหมายรับรองตรานกยงู พระราชทานมอี ายกุ ารใช้งาน 3 ปี

คูม่ อื การดา� เนนิ งานผู้ผลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558 117

สถานท่ีตดิ ตอ่ ของตราสญั ลกั ษณน์ กยูงพระราชทาน
ผู้ผลติ ผา้ ไหมไทยและผ้บู ริโภคท่สี นใจ สามารถสอบถามรายละเอียดได้ที่
1) สถาบันหมอ่ นไหมแหง่ ชาตเิ ฉลิมพระเกยี รติฯ
โทร. 0-2579-5595 หรอื 0-2579-3118
2) สา� นักงานหม่อนไหมเฉลมิ พระเกยี รติฯ ภาค 5 แหง่ ซึง่ ตงั้ อยใู่ น
- จังหวัดกาญจนบุรี โทร. 0-3455-2158
- จังหวดั แพร่ โทร. 0-5461-3477
- จงั หวดั อดุ รธานี โทร. 0-4224-1984
- จังหวัดนครราชสมี า โทร. 0-4421-4101
- จังหวดั ชมุ พร โทร. 0-7761-1080
3) ส�านกั งานหมอ่ นไหมเฉลมิ พระเกียรตฯิ ทกุ แห่ง ทั่วประเทศ ได้แก่
- จงั หวัดเชยี งใหม่ โทร. 0-5324-8076
- จังหวดั นา่ น โทร. 0-5479-8085
- จงั หวัดแพร่ โทร. 0-5461-3477
- จังหวัดตาก โทร. 0-5559-3015
- จังหวัดกาญจนบรุ ี โทร. 0-3455-2158
- จังหวัดชุมพร โทร. 0-7761-1080
- จังหวัดนราธวิ าส โทร. 08-1547-2374
- จงั หวัดอุดรธานี โทร. 0-4224-1984
- จงั หวัดหนองคาย โทร. 0-4271-1808
- จงั หวัดเลย โทร. 0-4281-2601
- จงั หวัดสกลนคร โทร. 0-4281-2601
- จงั หวัดมุกดาหาร โทร. 0-4361-1171
- จงั หวัดร้อยเอด็ โทร. 0-4356-9007
- จังหวัดขอนแกน่ โทร. 0-4325-5028
- จงั หวัดนครราชสมี า โทร. 0-4421-4102-3
- จังหวัดชยั ภมู ิ โทร. 0-4481-2525
- จังหวดั สุรนิ ทร์ โทร. 0-4451-1393
- จังหวดั บุรรี มั ย์ โทร. 0-4468-9008
- จงั หวดั ศรีสะเกษ โทร. 0-4561-3857
- จังหวดั อบุ ลราชธานี โทร. 0-4540-5308
- จังหวัดสระบรุ ี โทร. 0-3623-7266

118 คู่มอื การดา� เนนิ งานผผู้ ลิต ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558

สว่ นที่ 4

กรอบหลักสูตรการเพ่มิ ประสิทธภิ าพ
ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่

— การด�าเนนิ งานโครงการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพผู้ผลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่
— กรอบแนวทางหลกั สตู รโครงการเพิม่ ประสทิ ธภิ าพผ้ผู ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่

คมู่ อื การดา� เนนิ งานผู้ผลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558 119

120 ค่มู ือการดา� เนนิ งานผู้ผลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558

4สว่ นที่

กรอบหลักสตู รการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพ
ผูผ้ ลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม่

การดา� เนนิ งานโครงการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่
ปี พ.ศ. 2558

1. วัตถปุ ระสงค์
1. เพื่อให้ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ มีความรู้ ความเข้าใจในยุทธศาสตร์ OTOP ระบบ
สนบั สนุน OTOP ระเบยี บ กฎหมาย โครงการสร้างการดา� เนนิ งาน ฯลฯ
2. เพอ่ื ใหผ้ ผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ มศี กั ยภาพในการพฒั นา OTOP ดา้ นการผลติ การตลาด
การออกแบบ มาตรฐานการผลติ การบรหิ ารจัดการกลมุ่ /กิจกรรม และการคดิ คน้ นวตั กรรม ฯลฯ
2. กลุม่ เปา้ หมาย
ผูผ้ ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ 76 จงั หวดั ๆ ละ 30 คน รวมจา� นวน 2,280 คน
3. วิธีการ/ขั้นตอนการด�าเนนิ งาน
1. จงั หวดั คัดเลอื กกลุม่ เปา้ หมายทเ่ี ข้าร่วมโครงการ
2. จังหวัด จัดท�าโครงการฯ โดยประสานวิทยากรจากหน่วยงานราชการ หน่วยงานภาคีต่าง ๆ เช่น
ส�านักงานอุตสาหกรรมจังหวัด สถาบันการศึกษา เพ่ือก�าหนดแนวคิดในการบริหารจัดการกลุ่ม/กิจการและ
แนวคิดในการพัฒนาผลติ ภัณฑ์
3. จัดประชมุ เชิงปฎบิ ตั ิการฯ เพอื่ ให้ความรเู้ กยี่ วกับการบริหารจัดการกลุ่ม/กิจการ และแนวคิดในการ
พฒั นาผลติ ภัณฑ์
4. งบประมาณ จ�านวน 6,840,000 บาท จังหวัดละ 1 รุ่น ๆ ละ 90,000 บาท
5. หนว่ ยดา� เนินการ สา� นักงานพัฒนาชมุ ชนจังหวัด
6. พ้นื ทดี่ า� เนินการ ดา� เนินการในระดบั จงั หวดั ณ สถานที่เอกชน
7. ระยะเวลา ไตรมาส 2 (ก.พ. 58) รุ่นละ 3 วนั
8. ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ ับ
ผู้ผลติ ผูป้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ จ�านวน 2,280 คน มีความรู้ ความเข้าใจในยุทธศาสตร์ OTOP
ระบบสนับสนุน OTOP ระเบียบ กฎหมาย โครงสร้างการดา� เนินงาน และมีศักยภาพในการพัฒนา OTOP
ด้านการผลิต การตลาด การออกแบบ มาตรฐานการผลิต การบริหารจัดการกลุ่ม/กิจการ และการคิดค้น
นวัตกรรม ฯลฯ
9. ตวั ชี้วดั กจิ กรรม แผนการพฒั นาบรหิ ารจดั การกลุ่ม/กิจการ

คูม่ อื การดา� เนนิ งานผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558 121

กรอบแนวทางหลกั สูตร
โครงการเพ่ิมประสทิ ธภิ าพ ผผู้ ลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่

ขอบขา่ ยวชิ า ขอบเขต ระยะ
1. ปฐมนเิ ทศ - รายละเอยี ดโครงการ เวลา วตั ถปุ ระสงค์
- เป้าหมาย/วัตถุประสงค์โครงการ (ชม.)
1 เพอ่ื ใหท้ ราบรายละเอยี ดโครงการ

วัตถุประสงค์ เป้าหมายและ
หลักสตู ร

2. ความรู้ ความเข้าใจ - หลักการพืน้ ฐาน OTOP 4 เพื่อสร้างความรู้ ความเขา้ ใจใน
โครงการหนง่ึ ตา� บล หนงึ่ ผลติ ภณั ฑ์ - ยทุ ธศาสตร์ OTOP ระดบั ประเทศ โครงการหนงึ่ ตา� บล หนงึ่ ผลติ ภณั ฑ์
- ยทุ ธศาสตร์ OTOP กรมการพัฒนาชุมชน ในหลกั การยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์
- กระบวนการขบั เคลื่อน OTOP อดีตถงึ ปัจจบุ นั และกระบวนการขบั เคลอื่ น OTOP

3. องค์ความรใู้ นกรอบ - การลงทะเบียนผผู้ ลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP 6 เพือ่ ใหท้ ราบขั้นตอนและวิธกี าร
การด�าเนินงานส่งเสริมภูมิปัญญา - ศูนย์บรกิ ารส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก เขา้ สกู่ ารเปน็ ผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ
ท้องถนิ่ และวิสาหกิจชมุ ชน - การดา� เนนิ งานเครอื ข่าย OTOP ทกุ ระดบั OTOP ตลอดจนขอบข่ายของ
- โครงการพัฒนาหมู่บา้ น OTOP เพ่ือการท่องเที่ยว OTOP ทอี่ ยภู่ ายใตก้ ารดา� เนนิ งาน
- โครงการพฒั นาเยาวชนเพ่ือการอนรุ กั ษ์ ของกรมการพัฒนาชุมชน และ
และสืบสานภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ ส�านักสง่ เสริมภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน
- การคัดสรรสุดยอดหนึง่ ต�าบล หนงึ่ ผลิตภัณฑ์ไทย และวสิ าหกจิ ชุมชน
- การพัฒนาเครอื ข่ายองคค์ วามรู้ (KBO)
- การพัฒนา OTOP ตามการจัดกลุ่ม
ทางการตลาด (Quadrant A:B:C:D)

4. องคค์ วามร้ทู เี่ กยี่ วข้องกบั ธรุ กจิ - องค์ความรทู้ างการบริหารจดั การ 5 เพ่ือให้ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ
OTOP 1) การรวมกลมุ่ OTOP รายใหม่ ได้เรยี นรู้ และ
2) การส่งเสรมิ กจิ กรรม มอี งคค์ วามรทู้ จ่ี า� เปน็ ในการดา� เนนิ
- องค์ความรูท้ างการตลาด ธรุ กจิ OTOP ใหม้ ขี ดี ความสามารถ
- การออกแบบผลติ ภัณฑแ์ ละการพฒั นาผลิตภัณฑ์ ในการบริหารจัดการที่เพ่ิมขึ้น
- มาตรฐานผลิตภณั ฑ์ เช่น อย. มผช./GMP/มอก./ และมกี ิจการทีม่ ัน่ คงยงั่ ยนื
ฮาลาล/ตราสญั ลักษณน์ กยงู พระราชทาน ฯลฯ
- องคค์ วามรู้ด้านการผลิต
1) เทคโนโลยีการผลติ
2) การเลอื กใชว้ ัตถดุ บิ
3) นวตั กรรม

122 คมู่ อื การด�าเนินงานผูผ้ ลิต ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558

ขอบขา่ ยวิชา ขอบเขต ระยะ
เวลา วัตถปุ ระสงค์
5. แนวทางการบริหารจัดการ - ระเบียบ/แนวทาง/กฎเกณฑ์ (ชม.)
OTOP ภายในจังหวัด - ระบบเครอื ข่าย 1 เพ่ือให้ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ
- ระบบ cluster
- อ่ืน ๆ OTOP รายใหม่ มคี วามเขา้ ใจใน
ระบบการบรหิ ารจดั การ OTOP
6. การมอบหมายภารกจิ - การมอบหมายภารกจิ ใหก้ ับผผู้ ลติ ภายในจังหวัด สร้างเครือข่าย
และอนื่ ๆ ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม่ และระบบพเ่ี ลย้ี งใหเ้ กดิ ขน้ึ อยา่ ง
- อน่ื ๆ ตามความเหมาะสม เขม้ แข็ง
1 เพ่ือสร้างและก�าหนดเป้าหมาย
ทางธรุ กิจ OTOP สา� หรบั ผูผ้ ลติ
ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่
ใหเ้ กดิ แรงบนั ดาลใจสคู่ วามสา� เรจ็

หมายเหตุ :
กรอบแนวทางหลกั สตู ร เป็นเป้าหมายการเรียนรู้ สา� หรับกล่มุ เปา้ หมายตามโครงการเพ่ิมประสทิ ธิภาพ

ผผู้ ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ จงั หวดั สามารถปรับเปล่ียนขอบขา่ ยวชิ าและระยะเวลาไดต้ ามความ
เหมาะสม

คู่มือการด�าเนนิ งานผู้ผลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558 123

บรรณานุกรม

กรมการพฒั นาชุมชน สา� นกั ส่งเสรมิ ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ และวสิ าหกจิ ชุมชน. 2553 ค่มู อื การขอเครื่องหมาย
รบั รองมาตรฐานผลิตภณั ฑข์ องชุมชน. กรุงเทพมหานคร.

กรมการพฒั นาชุมชน สา� นักส่งเสรมิ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่นและวิสาหกจิ ชุมชน. 2556 แนวทางการดา� เนนิ งาน
เครอื ขา่ ย OTOP ปี 2556. กรุงเทพมหานคร.

กรมการพัฒนาชมุ ชน ส�านกั ส่งเสริมภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ และวสิ าหกิจชมุ ชน. 2555 แนวทางและหลักเกณฑ์
การคัดสรรการคัดสรรสุดยอดหน่ีงต�าบล หน่ึงผลิตภัณฑไ์ ทย ปี พ.ศ.2555. กรงุ เทพมหานคร.

กรมการพัฒนาชุมชน สา� นกั ส่งเสริมภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นและวสิ าหกิจชมุ ชน. 2557 สรุปผลการด�าเนนิ งาน
เครือขา่ ย OTOP ประเภทผลติ ภณั ฑ์ ปี 2557. กรุงเทพมหานคร.

กรมการพัฒนาชุมชน. 2553 สรุปผลการด�าเนินงานเครอื ข่ายองคค์ วามรู้ (Knowledge – Based
OTOP : KBO) จงั หวดั ดีเด่น ปี 2533. กรุงเทพมหานคร.

กรมการพฒั นาชุมชน สา� นักสง่ เสรมิ ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่นและวิสาหกิจชมุ ชน. 2557 หลกั สูตรการเพมิ่
ประสิทธภิ าพ กรรมการเครือข่าย OTOP ประเภทผลิตภณั ฑ.์ กรงุ เทพมหานคร.

http://www.eofice.alro.go.th/
http://www.incquity.com
http://www.posttoday.com/
http://www.sp.sut.ac.th/

124 คู่มือการด�าเนินงานผู้ผลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558

ค่มู อื การดา� เนนิ งานผู้ผลติ ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ ประจา� ปี 2558

คณะท่ปี รกึ ษา อธบิ ดีกรมการพัฒนาชมุ ชน
นายขวัญชัย วงศ์นติ กิ ร รองอธิบดกี รมการพัฒนาชุมชน
นางสายพริ ณุ นอ้ ยศิริ ผู้อ�านวยการสา� นักส่งเสรมิ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นและวสิ าหกิจชุมชน
นายทวปี บุตรโพธิ์

คณะท�างาน ผู้อา� นวยการกลมุ่ งานส่งเสริมผู้ประกอบการและวิสาหกิจชมุ ชน
นายนพรัตน์ ธา� รงทรัพย์ นกั วชิ าการพฒั นาชุมชนชา� นาญการ
นางสาวจริ ารัตน์ ถึงสขุ นกั วชิ าการพฒั นาชมุ ชนชา� นาญการ
นางกมลวัลภ์ ตันปิยะกุล นกั วิชาการพฒั นาชุมชนช�านาญการ
นางพัชรินทร์ สมหอม นักวิชาการพัฒนาชุมชนช�านาญการ
นางสาวยคุ ลพร เขยี วมว่ ง นกั วิชาการพัฒนาชุมชนช�านาญการ
นางปวรี ์ณรชั ต์ ผ่องคณะ นักวิชาการพัฒนาชมุ ชนปฏบิ ตั ิการ
นางสาวพชั รยี า เพช็ รพราว

เรยี บเรยี ง/รูปเลม่ ผอู้ า� นวยการกลุ่มงานส่งเสรมิ ผปู้ ระกอบการและวสิ าหกจิ ชุมชน
นายนพรตั น์ ธา� รงทรัพย์ นกั วชิ าการพฒั นาชุมชนช�านาญการ
นางกมลวัลภ์ ตนั ปิยะกลุ

จดั พมิ พ์และเผยแพรโ่ ดย
สา� นักส่งเสรมิ ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ และวิสาหกจิ ชุมชน
กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
โทร 0-2141-6091 โทรสาร 0-2143-8911

พิมพท์ ี่ บริษัท บที เี อส เพรส จา� กัด

คู่มอื การด�าเนนิ งานผผู้ ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ ประจ�าปี 2558 125


Click to View FlipBook Version