ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 1
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 2
สารบัญ
เรือ่ ง หน้า
ความนา ๓
วิสยั ทัศน์หลักสูตรสถานศึกษา ๔
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ๕
คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๖
โครงสรา้ งเวลาเรยี น ๗
คาอธบิ ายรายวชิ า ๑7
๑8
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๒5
กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ 32
กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๓9
กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 52
เพม่ิ เติม รายวชิ าการปอ้ งกนั การทจุ รติ ๕9
กลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา ๖6
กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ ๗8
กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี ๘8
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ 92
เพิม่ เติม อังกฤษเพ่ิมเตมิ ๙9
กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน 122
การวัดและประเมินผล ๑๓๐
ภาคผนวก
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 3
ความนา
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคาส่ังกระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐
ลงวันท่ี ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ คาส่ังสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ท่ี ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๕
มกราคม ๒๕๖๑ ให้เปล่ียนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และ
วิทยาศาสตร์ โดยมคี าสั่งให้โรงเรียนดาเนินการใช้หลักสูตรในปีการศึกษา ๒๕๖๑ โดยให้ใช้ในช้ันประถมศึกษาปีที่
๑ และ ๔ ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นมา คาส่ัง สพฐ. ที่ 921/2561 ลงวันท่ี 3 พฤษภาคม 2561
ยกเลิกมาตรฐานตัวช้ีวัดที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยีและสาระท่ี 3 เทคโนโลยีสานสนเทศและการส่ือสารใน
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 และเปลีย่ นชอ่ื กลมุ่ สาระ หนงั สอื สัง่ การสพฐ. ด่วนที่สดุ ทีศ่ ธ04008/ว918 ลงวันที่ 5 เมษายน 2562
ให้สานักงานเขตพื้นท่ีทุกแห่ง ดาเนินการขับเคล่ือนหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา โดยให้สถานศึกษานาไปปรับใช้ใน
ภาคเรยี นที่ 1/2562 และให้เปน็ หลกั สูตรแกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้
เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและมี
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เพ่ือให้สอดคล้องกับนโยบายและเป้าหมายของสานักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน
โรงเรียนบ้านแก้งยาง จึงได้ทาการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสน า และวัฒนธรรม
เพิ่มรายวชิ าต้านทุจรติ ศกึ ษา เป็นรายวิชาเพม่ิ เติม เพือ่ นาไปใชป้ ระโยชน์และเป็นกรอบในการวางแผนและพัฒนา
หลกั สูตรของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มีกระบวนการ
นาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ โดยมีการกาหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด โครงสร้างเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การวัดประเมินผลให้มีความ
สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้โรงเรียนสามารถกาหนดทิศทางในการจัดทาหลักสูตรการเรียน
การสอนในแต่ละระดับตามความพร้อมและจุดเน้น โดยมีกรอบแกนกลางเป็นแนวทางที่ชัดเจนเพ่ือตอบสนอง
นโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ มีความพร้อมในการก้าวสู่สังคมคุณภาพ มีความรู้อย่างแท้จริง และมีทักษะในศตวรรษที่
๒๑
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กาหนดไว้ในเอกสารน้ี ช่วยทาให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในทุกระดับ
เห็นผลคาดหวงั ท่ตี ้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนท่ีชัดเจนตลอดแนว ซ่ึงจะสามารถช่วยให้หน่วยงานท่ี
เกี่ยวข้องในระดับท้องถ่ินและสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่างม่ันใจ ทาให้การจัดทาหลักสูตรในระดับ
สถานศึกษามีคุณภาพและมีความเป็นเอกภาพย่ิงข้ึน อีกท้ังยังช่วยให้เกิดความชัดเจนเร่ืองการวัดและประเมินผล
การเรียนรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทียบโอนระหว่างสถานศึกษา ดังน้ันในการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดับตั้งแต่
ระดับชาติจนกระทั่งถึงสถานศึกษา จะต้องสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดที่กาหนดไว้ใน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน รวมทั้งเป็นกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และครอบคลุม
ผ้เู รยี นทุกกล่มุ เป้าหมายในระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน
การจัดหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจะประสบความสาเร็จตามเป้าหมายท่ีคาดหวังได้ ทุกฝ่าย
ทเี่ กี่ยวข้องทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทางานอย่างเป็นระบบ และ
ตอ่ เนื่อง ในการวางแผน ดาเนนิ การ ส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาเยาวชนของ
ชาติไปสคู่ ุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรทู้ กี่ าหนดไว้
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 4
วสิ ัยทัศน์หลักสูตรสถานศกึ ษา
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านแก้งยาง พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ เปน็ หลักสตู รทมี่ งุ่ พฒั นาผู้เรียนทุกคนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้สู่มาตรฐานสากล
และเป็นมนุษย์ท่ีมีความสมดุลท้ังร่างกาย ความรู้คู่คุณธรรม มีความเป็นผู้นาของสังคมมีจิตสานึกในความเป็น
พลเมืองไทยและเป็นพลโลกโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงยึดม่ันในการปกครองตามระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข มีความรู้และทักษะพ้ืนฐานสามารถใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี
รวมทั้งเจตคตทิ จ่ี าเป็นตอ่ การศกึ ษาในการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิตโดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบน
พื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรยี นรแู้ ละพัฒนาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ
เปา้ ประสงค์หลักสตู ร (Corporate objective)
๑.เพื่อให้ผู้เรียนทุกคนได้รับการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีการพัฒนา
เตม็ ตามศกั ยภาพ มีทกั ษะชีวิต มสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ดี นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนว
ทางการดาเนินชีวิต เป็นผู้นาที่ดีของสังคมและมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้และการส่ือสาร
อย่างหลากหลาย ผู้เรยี นมศี กั ยภาพเปน็ พลโลก (Worid Citizen)
๒.เพื่อให้สถานศึกษามีระบบการบริหารและจัดการศึกษาด้วยระบบคุณภาพ (Quality System
Management)
๓.เพ่อื รองรบั การกระจายอานาจอย่างท่ัวถงึ
๔.เพ่ือให้บุคลากรทุกคนมีทักษะวิชาชีพในการพัฒนาการเรียนการสอนและใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีที่
ทันสมัยยกระดับการจดั การเรียนการสอนเทยี บเคยี งมาตรฐานสากล (Worle Class standard)
๕.เพ่ือให้การใช้งบประมาณและทรัพยากรของทุกหน่วยงานเป็นไปตามเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และประสิทธผิ ลสงู สุด
วิสยั ทศั นโ์ รงเรียน
โรงเรียนบ้านแก้งยาง เป็นสถานศึกษาแห่งการเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นักเรียนมี
คุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน ต้านทุจริต มีจิตอาสา ครูเป็นครูมืออาชีพ ชุมชนมีส่วนร่วม จัดการศึกษาด้วยสื่อ
และเทคโนโลยี
พนั ธกิจ
โรงเรยี นบ้านแกง้ ยาง มีภารกจิ ทีจ่ ะต้องดาเนนิ การดงั นี้
1. พัฒนาแหล่งเรยี นร้ทู ้ังในและนอกสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งใหเ้ อ้อื ต่อการ
จดั การเรียนรู้ จดั กระบวนการบรหิ ารและการจัดการเรียนรเู้ ชิงระบบ
๒. พัฒนาหลักสตู รการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ระดับประถมศกึ ษาเพอื่ ใชเ้ ป็นเครื่องมือในการจัดการศึกษา
3. ส่งเสริมและพฒั นาบคุ ลากรให้มคี วามรตู้ ามมาตรฐานวิชาชพี สามารถจัดการเรียนรูท้ ่เี น้นผูเ้ รียนเปน็
สาคญั และมีทักษะในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
4. พฒั นาสือ่ นวัตกรรมและเทคโนโลยใี ห้ทันสมัยสง่ เสริมให้ผเู้ รยี นอา่ นได้ เขียนได้ คิดเป็น แก้ปัญหา
เฉพาะหนา้ ได้ สามารถดารงชีวติ ในสังคมได้อย่างมีความสุข
5. พฒั นาคุณธรรมจรยิ ธรรม มีจติ อาสา นาพาหลักสตู รตา้ นทุจริต และค่านิยมอันพึงประสงค์
6. ส่งเสรมิ ความสมั พันธก์ ับผู้ปกครองนกั เรยี นชุมชน วดั และองค์กรอ่นื
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 5
เปา้ ประสงค์
๑. นกั เรยี นไดร้ ับบริการทางการศกึ ษาอย่างทั่วถึงและมคี ุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน
๒. โรงเรยี นมีหลักสูตรสถานศกึ ษาทีม่ คี ุณภาพได้มาตรฐาน
๓. นักเรยี นมคี วามสามารถในการนาเทคโนโลยีไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวัน
๔. บคุ ลากรไดร้ ับการพัฒนาส่มู าตรฐานวชิ าชพี
๕. โรงเรยี นมภี มู ิทศั นส์ วยงามและแหล่งเรียนรูต้ ามแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งอยา่ งหลากหลาย
๖. โรงเรียนไดร้ บั ความร่วมมือจากชมุ ชนในการจดั การศึกษา
สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านแก้งยาง พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนด
ซ่ึงจะช่วยให้ผเู้ รียนเกดิ สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ดังน้ี
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
หลักสตู รสถานศึกษา มุ่งให้ผูเ้ รียนเกดิ สมรรถนะสาคญั ๕ ประการ ดงั นี้
๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลัก
เหตผุ ลและความถกู ต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบท่ีมีต่อตนเอง
และสังคม
๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ และการคดิ เป็นระบบ เพอ่ื นาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพ่ือ
การตดั สนิ ใจเกยี่ วกับตนเองและสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
๓. ความสามารถในการแกป้ ญั หา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
และมีกาตัดสนิ ใจท่ีมีประสทิ ธิภาพโดยคานงึ ถึงผลกระทบทเ่ี กดิ ขนึ้ ต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดาเนิน
ชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการ
สร้างเสริมความสัมพนั ธ์อนั ดีระหวา่ งบุคคล การจดั การปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้
ทันกับการเปล่ยี นแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการร้จู ักหลกี เลีย่ งพฤตกิ รรมไมพ่ ึงประสงค์ท่ีส่งผลกระทบ
ตอ่ ตนเองและผู้อน่ื
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมี
ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทางาน การ
แก้ปญั หาอย่างสรา้ งสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 6
คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านแก้งยาง พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นใน
สังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข ในฐานะพลเมอื งไทยและพลโลก ดงั นี้
๑.รักษช์ าติ ศาสน์ กษัตริย์
๒.ซื่อสตั ยส์ ุจรติ
๓.มีวนิ ัย
๔.ใฝ่เรยี นรู้
๕.อย่อู ยา่ งพอเพยี ง
๖.มุ่งม่นั ในการทางาน
๗.รกั ความเปน็ ไทย
๘.มจี ิตเป็นสาธารณะ
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 7
โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นแกง้ ยาง
พทุ ธศักราช 256๓
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน 2551
กลมุ่ สาระการเรยี นร้/ู กิจกรรม เวลาเรียน(ช่ัวโมง/ปี)
กลุม่ สาระการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์ ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
ประวตั ิศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
ศิลปะ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
การงานอาชพี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ภาษาตา่ งประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
รวมเวลาเรยี น (พน้ื ฐาน) ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
รายวิชาเพ่ิมเติม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐
การปอ้ งกนั การทุจรติ
ภาษาองั กฤษเพิม่ เตมิ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
รวมเวลาเรยี น (เพ่มิ เติม) ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
กิจกรรมแนะแนว ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
กิจกรรมนกั เรียน ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
- กิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี
- ชมุ นมุ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐
๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
รวมเวลาเรยี นทงั้ หมด
๑,๐๘๐ ชัว่ โมง/ปี
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 8
จานวนช่ัวโมงท่ีจัดให้นักเรียนระดับประถมศึกษา (ป.๑ - ป.๓) เรียนท้ังปี เท่ากับ ๑,๐๘๐ ช่ัวโมง
ระดับชั้นประถมศึกษา (ป.๔ - ป.๖) เท่ากับ ๑,๐๔๐ ชั่วโมง แผนการเรียนรู้/จุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนที่ต้องการ
เน้นเป็นพิเศษ คือกลุ่มสาระการเรียนรู้ทักษะภาษาไทย คณิตศาสตร์ เพื่อพัฒนาการ อ่านออก เขียนได้ ทักษะ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ท่ีดี มีประโยชน์ มีความสนใจใฝ่รู้ใฝ่เรียน
โดยจัด การเรยี นการสอนและวัดผลประเมินผลเป็นรายปี สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ น้ัน จากการ
ประเมินผลระดับโรงเรียน ระดับท้องถ่ิน และระดับชาติ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร คณะกรรมการ
สถานศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน มีมติร่วมกันให้จัดทาโครงการสอนเสริมประสบการณ์พิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพนักเรียน โดย
เปิดหลักสตู รตา้ นทุจริตศกึ ษา จานวน ๔๐ ชั่วโมง และภาษาองั กฤษเสรมิ ๘๐ ชวั่ โมง ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่
๑ - ๓ เปิดหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา จานวน ๔๐ ชั่วโมง และภาษาอังกฤษเสริม ๔๐ ชั่วโมง ในระดับช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ ในโครงสร้างของหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านแก้งยาง พุทธศักราช ๒๕๖๓
มีรายวชิ าและจานวนชว่ั โมงดงั น้ี
โครงการสอนเสรมิ ประสบการณพ์ ิเศษเพ่อื เพิ่มศักยภาพนักเรยี น จานวน ๑ ช่ัวโมง
ชั้น ป.๑-๓ จานวน ๓ ช่วั โมง / สัปดาห์ จานวน ๒ ชวั่ โมง
วชิ า การป้องกนั การทจุ รติ
วชิ า ภาษาองั กฤษเสรมิ
โครงการสอนเสริมประสบการณ์พิเศษเพื่อเพม่ิ ศกั ยภาพนักเรียน จานวน ๑ ชัว่ โมง
ชัน้ ป.๔-๖ จานวน ๒ ช่ัวโมง / สปั ดาห์ จานวน ๒ ชว่ั โมง
วชิ า การปอ้ งกนั การทุจรติ
วิชา ภาษาองั กฤษเสรมิ
โครงสรา้ งหลักสตู รช้นั ปี เป็นโครงสรา้ งทแี่ สดงรายละเอียดเวลาเรียนของรายวิชาพ้นื ฐาน รายวิชา /
กิจกรรมเพ่มิ เติมและกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนในแตล่ ะชนั้ ปี
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 9
โครงสร้างหลักสตู รชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑
โรงเรยี นบ้านแก้งยาง
รหสั กลุ่มสาระการเรียนร้/ู กจิ กรรม เวลาเรยี น
(ชม./ปี)
รายวิชาพ้ืนฐาน (๘๔๐)
ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๒๐๐
ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑ ๒๐๐
ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑ ๑๐๐
ส ๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๑
ส ๑๑๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๑ ๔๐
พ ๑๑๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๑ ๔๐
ศ ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ ๑ ๔๐
ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ๔๐
อ ๑๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑ ๒๐
รายวชิ าเพ่มิ เตมิ ๑๒๐
ส ๑๑๒๐๑ การป้องกนั การทุจริต ๑ (๑๒๐)
อ ๑๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพม่ิ เตมิ ๑ ๔๐
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน ๘๐
(๑๒๐)
แนะแนว ๔๐
ลูกเสอื เนตรนารี ๔๐
ชุมนมุ + กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ ๑ ๔๐
๑,๐๘๐
รวมเวลาเรยี น
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 10
โครงสร้างหลักสูตรชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
โรงเรียนบา้ นแกง้ ยาง
รหัส กลมุ่ สาระการเรยี นรู้/กจิ กรรม เวลาเรยี น
(ชม./ปี)
รายวชิ าพื้นฐาน (๘๔๐)
ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ ๒๐๐
ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒ ๒๐๐
ว ๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒ ๑๐๐
ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๒
ส ๑๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๒ ๔๐
พ ๑๒๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๒ ๔๐
ศ ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๒ ๔๐
ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชพี ๒ ๔๐
อ ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๒ ๒๐
รายวิชาเพิม่ เตมิ ๑๒๐
ส ๑๒๒๐๑ การป้องกันการทุจริต ๒ (๑๒๐)
อ ๑๒๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพ่ิมเติม ๒ ๔๐
กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๘๐
(๑๒๐)
แนะแนว ๔๐
ลกู เสอื เนตรนารี ๔๐
ชุมนมุ + กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๒ ๔๐
๑,๐๘๐
รวมเวลาเรยี น
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 11
โครงสร้างหลักสูตรชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
โรงเรียนบา้ นแก้งยาง
รหัส กลมุ่ สาระการเรยี นรู้/กจิ กรรม เวลาเรยี น
(ชม./ปี)
รายวชิ าพื้นฐาน (๘๔๐)
ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๒๐๐
ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ๒๐๐
ว ๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๓ ๑๐๐
ส ๑๓๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓
ส ๑๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๓ ๔๐
พ ๑๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๓ ๔๐
ศ ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ๓ ๔๐
ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชพี ๓ ๔๐
อ ๑๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๓ ๘๐
รายวิชาเพิม่ เตมิ ๑๒๐
ส ๑๓๒๐๑ การป้องกันการทุจริต ๓ (๑๒๐)
อ ๑๓๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพ่ิมเติม ๓ ๔๐
กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๘๐
(๑๒๐)
แนะแนว ๔๐
ลกู เสอื เนตรนารี ๔๐
ชุมนมุ + กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๓ ๔๐
๑,๐๘๐
รวมเวลาเรยี น
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 12
โครงสร้างหลักสูตรชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
โรงเรียนบา้ นแกง้ ยาง
รหัส กลมุ่ สาระการเรยี นรู/้ กิจกรรม เวลาเรยี น
(ชม./ป)ี
รายวชิ าพนื้ ฐาน (๘๔๐)
ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ ๑๖๐
ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๔ ๑๖๐
ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๔ ๑๒๐
ส ๑๔๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๔
ส ๑๔๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๔ ๘๐
พ ๑๔๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๔ ๔๐
ศ ๑๔๑๐๑ ศิลปะ ๔ ๘๐
ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชพี ๔ ๘๐
อ ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔ ๔๐
รายวชิ าเพ่มิ เตมิ ๘๐
ส ๑๔๒๐๑ การปอ้ งกันการทจุ รติ ๔ (๑๒๐)
อ ๑๔๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพิ่มเตมิ ๔ ๔๐
กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ๘๐
(๑๒๐)
แนะแนว ๔๐
ลูกเสอื เนตรนารี ๔๐
ชมุ นมุ + กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๔ ๔๐
๑,๐๘๐
รวมเวลาเรยี น
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 13
โครงสร้างหลักสูตรชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ เวลาเรยี น
โรงเรียนบา้ นแกง้ ยาง (ชม./ป)ี
(๘๔๐)
รหัส กลมุ่ สาระการเรยี นรู/้ กิจกรรม ๑๖๐
๑๖๐
รายวชิ าพนื้ ฐาน ๑๒๐
ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕
ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ๘๐
ว ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๕ ๔๐
ส ๑๕๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๕ ๘๐
ส ๑๕๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๕ ๘๐
พ ๑๕๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๕ ๔๐
ศ ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๕ ๘๐
ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชพี ๕ (๑๒๐)
อ ๑๕๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ ๔๐
รายวชิ าเพ่มิ เตมิ ๘๐
ส ๑๕๒๐๑ การปอ้ งกันการทจุ รติ ๕ (๑๒๐)
อ ๑๕๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพิ่มเตมิ ๕ ๔๐
กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ๔๐
๔๐
แนะแนว ๑,๐๘๐
ลูกเสอื เนตรนารี
ชุมนมุ + กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๕
รวมเวลาเรยี น
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 14
โครงสร้างหลักสูตรช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๖
โรงเรียนบ้านแกง้ ยาง
รหัส กลุม่ สาระการเรียนร/ู้ กจิ กรรม เวลาเรยี น
(ชม./ปี)
รายวชิ าพนื้ ฐาน (๘๔๐)
ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ ๑๖๐
ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๖ ๑๖๐
ว ๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ๖ ๑๒๐
ส ๑๖๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๖
ส ๑๖๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๖ ๘๐
พ ๑๖๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๖ ๔๐
ศ ๑๖๑๐๑ ศลิ ปะ ๖ ๘๐
ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชีพ ๖ ๘๐
อ ๑๖๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๖ ๔๐
รายวชิ าเพ่มิ เตมิ ๘๐
ส ๑๖๒๐๑ การป้องกนั การทจุ ริต ๖ (๑๒๐)
อ ๑๖๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพ่ิมเติม ๖ ๔๐
กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ๘๐
(๑๒๐)
แนะแนว ๔๐
ลกู เสือ เนตรนารี ๔๐
ชมุ นุม + กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๖ ๔๐
๑,๐๘๐
รวมเวลาเรยี น
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 15
ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ รายวชิ าของโรงเรียนบา้ นแก้งยาง
ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓
ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ รายวชิ าพน้ื ฐาน
ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ จานวน ๒๐๐ ชว่ั โมง
ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ จานวน ๒๐๐ ช่วั โมง
จานวน ๒๐๐ ชั่วโมง
จานวน ๑๖๐ ชั่วโมง
จานวน ๑๖๐ ช่วั โมง
จานวน ๑๖๐ ช่วั โมง
****************
ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
ค ๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒ รายวิชาพน้ื ฐาน
ค ๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๓ จานวน ๒๐๐ ชว่ั โมง
ค ๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๔ จานวน ๒๐๐ ชว่ั โมง
ค ๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๕ จานวน ๒๐๐ ชวั่ โมง
ค ๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๖ จานวน ๑๖๐ ช่วั โมง
- จานวน ๑๖๐ ช่ัวโมง
จานวน ๑๖๐ ชว่ั โมง
****************
กล่มุ สาระการเรยี นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวชิ าพื้นฐาน
ว ๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๑ จานวน ๑๐๐ ชว่ั โมง
ว ๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒ จานวน ๑๐๐ ชัว่ โมง
ว ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๓ จานวน ๑๐๐ ชว่ั โมง
ว ๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔ จานวน ๑๒๐ ช่วั โมง
ว ๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๕ จานวน ๑๒๐ ช่ัวโมง
ว ๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๖ จานวน ๑๒๐ ชัว่ โมง
***************
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 16
กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
รายวิชาพน้ื ฐาน
ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๑ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศกึ ษาฯ ๒ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๓๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๓ จานวน ๔๐ ช่วั โมง
ส ๑๔๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๔ จานวน ๘๐ ช่ัวโมง
ส ๑๕๑๐๑ สงั คมศกึ ษาฯ ๕ จานวน ๘๐ ช่วั โมง
ส ๑๖๑๐๑ สงั คมศกึ ษาฯ ๖ จานวน ๘๐ ชัว่ โมง
ส ๑๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๑ รายวชิ าเพมิ่ เติม จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๒๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๒ จานวน ๔๐ ชวั่ โมง
ส ๑๓๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๓ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๔๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔ จานวน ๔๐ ชัว่ โมง
ส ๑๕๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๕ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๖๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๖ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๑๒๐๑ การป้องกันการทุจรติ ๑ จานวน ๔๐ ช่วั โมง
ส ๑๒๒๐๑ การปอ้ งกนั การทุจรติ ๒ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๓๒๐๑ การปอ้ งกนั การทุจรติ ๓ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๔๒๐๑ การป้องกันการทุจรติ ๔ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๕๒๐๑ การปอ้ งกนั การทุจริต ๕ จานวน ๔๐ ช่ัวโมง
ส ๑๖๒๐๑ การป้องกันการทุจริต ๖ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
****************
พ ๑๑๑๐๑ สุขศกึ ษาฯ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
พ ๑๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษาฯ ๒ รายวิชาพ้ืนฐาน
พ ๑๓๑๐๑ สขุ ศกึ ษาฯ ๓ จานวน ๔๐ ช่วั โมง
พ ๑๔๑๐๑ สุขศกึ ษาฯ ๔ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
พ ๑๕๑๐๑ สขุ ศกึ ษาฯ ๕ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
พ ๑๖๑๐๑ สขุ ศกึ ษาฯ ๖ จานวน ๘๐ ช่ัวโมง
จานวน ๘๐ ชั่วโมง
จานวน ๘๐ ชว่ั โมง
****************
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 17
ศ ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ ๑ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ
ศ ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๒ รายวชิ าพ้นื ฐาน
ศ ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ ๓ จานวน ๔๐ ช่ัวโมง
ศ ๑๔๑๐๑ ศิลปะ ๔ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
ศ ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๕ จานวน ๔๐ ช่ัวโมง
ศ ๑๖๑๐๑ ศลิ ปะ ๖ จานวน ๘๐ ชั่วโมง
จานวน ๘๐ ชว่ั โมง
จานวน ๘๐ ชั่วโมง
ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ****************
ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชพี ๒ กล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี
ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชพี ๓
ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชพี ๔ รายวิชาพ้ืนฐาน
ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชีพ ๕ จานวน ๒๐ ชั่วโมง
ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชพี ๖ จานวน ๒๐ ชว่ั โมง
จานวน ๒๐ ช่ัวโมง
จานวน ๔๐ ชวั่ โมง
จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
จานวน ๔๐ ช่ัวโมง
****************
กลุม่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาต่างประเทศ(องั กฤษ)
รายวชิ าพ้นื ฐาน
อ ๑๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑ จานวน ๒๐๐ ชว่ั โมง
อ ๑๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๒ จานวน ๒๐๐ ชวั่ โมง
อ ๑๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๓ จานวน ๒๐๐ ชั่วโมง
อ ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔ จานวน ๑๖๐ ชว่ั โมง
อ ๑๕๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ จานวน ๑๖๐ ชั่วโมง
อ ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๖ จานวน ๑๖๐ ชว่ั โมง
รายวิชาเพมิ่ เตมิ
อ ๑๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพิ่มเตมิ ๑ จานวน ๘๐ ชวั่ โมง
อ ๑๒๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพิ่มเตมิ ๒ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง
อ ๑๓๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพิ่มเติม ๓ จานวน ๘๐ ชวั่ โมง
อ ๑๔๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพ่ิมเติม ๔ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง
อ ๑๕๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพ่ิมเตมิ ๕ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง
อ ๑๖๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ๖ จานวน ๘๐ ชวั่ โมง
****************
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 18
คาอธบิ ายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 19
คาอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน
ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ กลุม่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง
คาอธบิ ายรายวิชา
ฝึกอ่านออกเสียงคา คาคล้องจอง และข้อความสั้นๆ บอกความหมายของคาและข้อความ ตอบคาถาม
เล่าเรื่องย่อ คาดคะเนเหตุการณ์ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่าเสมอ นาเสนอเรื่องท่ีอ่าน บอก
ความหมายของเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์สาคัญท่ีมักพบเห็นในชีวิตประจาวัน มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัด
ลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนสื่อสารด้วยคาและประโยคง่ายๆ มีมารยาทในการเขียน ฝึกทักษะในการ
ฟัง ฟังคาแนะนา คาสงั่ งา่ ยๆและปฏิบตั ติ าม ตอบคาถาม เล่าเร่ือง พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องท่ี
ฟังและดู พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์ เน้นมารยาทในการฟัง การดูและการพูด ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะ
สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา เรียบเรียงคาเป็นประโยคง่ายๆ ต่อคา
คล้องจองง่ายๆ
บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสาหรับเด็ก ฝึกท่องจาบท
อาขยานตามทีก่ าหนดและบทรอ้ ยกรองตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการ
แสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคาถาม ตอบคาถาม
ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพ่ือให้เกิดความรู้
ความคิด ความเขา้ ใจ สอ่ื สารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลข
ไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไป
ประยุกต์ใชก้ บั ชวี ติ ประจาวนั ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องเหมาะสม
มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั
ท ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕, ป.๑/๖, ป.๑/๗, ป.๑/๘
ท ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ท ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ท ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ท ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
รวม ๕ มาตรฐาน ๒๒ ตัวช้ีวัด
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 20
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๒ เวลา ๒๐๐ ชวั่ โมง
คาอธิบายรายวิชา
ฝึกอ่านออกเสียงคา คาคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆ อธิบายความหมายของคาและ
ข้อความท่ีอ่าน ตั้งคาถาม ตอบคาถาม ระบุใจความสาคัญและรายละเอียด แสดงความคิดเห็นและคาดคะเน
เหตุการณ์ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและนาเสนอเรื่องท่ีอ่าน อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย
และปฏิบัติตามคาส่ังหรือข้อแนะนา มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนเร่ือง
สั้นๆ เกี่ยวกับประสบการณ์ เขียนเร่ืองส้ันๆ ตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียน ฝึกทักษะการฟัง ฟัง
คาแนะนา คาส่ังท่ีซับซ้อนและปฏิบัติตาม เล่าเร่ือง บอกสาระสาคัญของเรื่อง ต้ังคาถาม ตอบคาถาม พูด
แสดงความคิดเหน็ ความรูส้ กึ พดู สอื่ สารไดช้ ดั เจนตรงตามวตั ถุประสงค์ มมี ารยาทในการฟัง การดูและการพูด
ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา เรียบ
เรียงคาเปน็ ประโยคไดต้ รงตามเจตนาของการส่อื สาร
บอกลักษณะคาคล้องจอง เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ินได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ฝึกจับ
ใจความสาคัญจากเรื่อง ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมสาหรับเด็ก เพื่อนาไปใช้ใน
ชีวิตประจาวัน ร้องบทร้องเล่นสาหรบั เดก็ ในท้องถ่นิ ทอ่ งจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า
ตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การต้ัง
คาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟงั การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบ
ยอด เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ
อนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงและสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้กับชวี ติ ประจาวนั ได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม
มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั
ท ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ท ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ท ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕ ป.๒/๖, ป.๒/๗
ท ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕
ท ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
รวม ๕ มาตรฐาน ๒๗ ตวั ชี้วัด
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 21
คาอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๓ เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง
คาอธบิ ายรายวิชา
ฝึกอ่านออกเสียงคา ข้อความ เร่ืองส้ัน ๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ อธิบายความหมายของคาและ
ข้อความท่ีอ่าน ต้ังคาถาม ตอบคาถามเชิงเหตุผล ลาดับเหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุปความรู้ ข้อคิด
จากเร่อื งทีอ่ ่าน เพอ่ื นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและนาเสนอเร่ืองท่ี
อ่าน อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคาส่ังหรือข้อแนะนา อธิบายความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ
แผนท่ี และแผนภูมิ มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย เขียนบันทึก
ประจาวนั เขยี นเรื่องตามจินตนาการ มมี ารยาทในการเขียน ฝึกทกั ษะการฟัง การดแู ละการพูด เล่ารายละเอียด
บอกสาระสาคัญ ต้ังคาถาม ตอบคาถาม พูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตาม
วัตถุประสงค์ มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด ฝึกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคาและบอก
ความหมายของคา ระบุชนิดหน้าท่ีของคา ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา แต่งประโยคง่ายๆ แต่งคา
คล้องจองและคาขวญั เลอื กใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ินได้เหมาะสมกับกาลเทศะ
ระบขุ อ้ คดิ ทไ่ี ดจ้ ากการอา่ นวรรณกรรม เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน รู้จักเพลงพ้ืนบ้าน เพลงกล่อมเด็ก
เพ่ือปลูกฝังความช่ืนชมวัฒนธรรมท้องถ่ิน แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีท่ีอ่าน ท่องจาบทอาขยานตามที่
กาหนดและบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการ
แสวงหาความรู้ กระบวนการกลมุ่ กระบวนการคิดวเิ คราะห์ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึก
ปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น
กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียน
ภาษาไทย เหน็ คุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กบั ชีวติ ประจาวนั ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม
มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั
ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙
ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
รวม ๕ มาตรฐาน ๓๑ ตวั ช้วี ัด
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 22
คาอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน
ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง
คาอธบิ ายรายวชิ า
ฝกึ อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทรอ้ ยกรอง อธิบายความหมายของคา ประโยคและสานวนจากเรื่องท่ี
อ่าน อ่านเร่อื งส้ัน ๆ ตามเวลาที่กาหนดและตอบคาถามจากเร่ืองที่อ่าน แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องท่ี
อ่าน คาดคะเนเหตุการณ์จากเร่ืองที่อ่าน โดยระบุเหตุผลประกอบ สรุปความรู้และข้อคิดจากเร่ืองที่อ่าน เพื่อ
นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน เลือกอ่านหนังสือท่ีมีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและแสดงความคิดเห็น
เก่ียวกับเร่ืองที่อ่าน มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขียนสื่อสาร
โดยใช้คาได้ถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
เขียนย่อความจากเร่ืองสั้น ๆ เขียนจดหมายถึงเพื่อนและมารดา เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษา
ค้นคว้า เขยี นเรอ่ื งตามจนิ ตนาการ มีมารยาทในการเขยี น ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด จาแนกข้อเท็จจริง
และข้อคิดเห็นเร่ืองท่ีฟังและดู พูดสรุปจากการฟังและดู พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึกเกี่ยวกับ
เรื่องท่ีฟังและดู ต้ังคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องท่ีฟังและดู พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นท่ีศึกษา
คน้ ควา้ จากการฟงั การดแู ละการสนทนา มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด ฝึกเขียนตามหลักการเขียน เขียน
สะกดคาและบอกความหมายของคาในบริบทต่าง ๆ ระบุชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค ใช้พจนานุกรมค้นหา
ความหมายของคา แต่งประโยคได้ถกู ตอ้ งตามหลกั ภาษา แต่งบทรอ้ ยกรองและคาขวญั
บอกความหมายของสานวน เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ินได้ ระบุข้อคิดจากนิทาน
พื้นบ้านหรือนิทานคติธรรมอธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนาไปใช้ในชีวิตจริงร้องเพลงพ้ืนบ้านท่องจาบทอาขยาน
ตามทีก่ าหนดและบทร้อยกรองที่มีคณุ ค่าตามความสนใจ โดยใชก้ ระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการ
แสวงหาความรู้ กระบวนการกล่มุ กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
กระบวนการส่ือความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติอธิบาย บันทึก การตั้งคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะ
การฟัง การดูและการพูดพูดแสดงความคิดเห็นกระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด
ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทยและตัวเลขไทย
สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้วิธีการของเศ รษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับ
ชีวติ ประจาวนั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม
มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั
ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖
ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗
ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตวั ชี้วดั
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 23
คาอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๕ เวลา ๑๖๐ ชว่ั โมง
คาอธิบายรายวชิ า
ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคา ประโยคและข้อความที่เป็น
การบรรยายและการพรรณนา อธิบายความหมายโดยนัย แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น วิเคราะห์ แสดงความ
คดิ เห็น อ่านงานเขยี นเชิงอธบิ าย คาสงั่ ขอ้ แนะนา และปฏิบัตติ าม เลอื กอา่ นหนังสือท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ
มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขียนสื่อสาร เขียนแผนภาพโครง
เรื่อง แผนภาพความคิด เขียนย่อความ เขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ เขียนแสดงความรู้สึกและความ
คิดเหน็ กรอกแบบรายการตา่ ง ๆ เขียนเร่ืองตามจินตนาการ มมี ารยาทในการเขียน ฝกึ ทกั ษะการฟัง การดูและ
การพูด พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึก ต้ังคาถาม ตอบคาถาม วิเคราะห์ความ พูดรายงาน
มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด ระบุชนิดและหน้าท่ีของคาในประโยค จาแนกส่วนประกอบของประโยค
เปรยี บเทียบภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ิน ใชค้ าราชาศัพท์ บอกคาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย แต่งบท
รอ้ ยกรอง ใช้สานวนได้ถกู ต้อง สรปุ เรอ่ื งจากวรรณคดหี รือวรรณกรรมที่อ่าน ระบุความรู้ ขอ้ คิดจากการอ่าน
วรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถนาไปใช้ในชวี ิตจรงิ
อธบิ ายคุณคา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรม ท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่า
ตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการสื่อความ
กระบวนการแกป้ ัญหา การฝกึ ปฏบิ ตั ิ อธิบาย บันทึก การตั้งคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและ
การพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ
ส่ือสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนา
ความรู้ไปใช้ให้เกดิ ประโยชนโ์ ดยใช้วิธีการของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจาวันได้
อยา่ งถูกต้องเหมาะสม
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘
ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตวั ชี้วัด
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 24
คาอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน
ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ เวลา ๑๖๐ ชัว่ โมง
คาอธิบายรายวชิ า
ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคา ประโยคและข้อความที่เป็น
โวหาร อ่านเรื่องสน้ั ๆอย่างหลากหลาย แยกข้อเทจ็ จริงและข้อคดิ เห็นจากเรอ่ื งทอ่ี า่ น วเิ คราะห์และแสดงความ
คิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองที่อ่านเพ่ือนาไปใช้ในการดาเนินชีวิต อ่านงานเขียน เชิงอธิบาย คาส่ัง ข้อแนะนา และ
ปฏิบัตติ าม อธบิ ายความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนท่ี แผนภูมิและกราฟ เลือกอ่านหนังสือตาม
ความสนใจและอธิบายคุณค่าท่ีได้รับ มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่ง
บรรทัด เขียนส่อื สารโดยใชค้ าได้ถกู ตอ้ ง ชัดเจน และเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิด
เพ่ือใช้พัฒนางานเขียน เขยี นเรยี งความ เขยี นยอ่ ความจากเร่ืองอ่าน เขียนจดส่วนตัว กรอกแบบรายการต่าง ๆ
เขียนเรื่องตามจินตนาการและสร้างสรรค์ มีมารยาทในการเขียน ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดง
ความรู้ ความเข้าใจจุดประสงค์ของเรื่องท่ีฟังและดู ต้ังคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
วเิ คราะห์ความน่าเชอื่ ถือจากเรอื่ งทฟ่ี ังและดสู อื่ โฆษณาอย่างมเี หตุผล พดู รายงานเรอื่ งหรอื ประเด็นท่ีศึกษาค้นคว้า
จากการฟัง การดแู ละการสนทนา พูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผลและน่าเชื่อถือ มีมารยาทในการฟัง การดูและการ
พูด ฝึกวิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค ใช้คาได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล รวบรวมและบอก
ความหมายของคาภาษาต่างประเทศท่ีใช้ในภาษาไทย ระบุลักษณะของประโยค แต่งบทร้อยกรอง วิเคราะห์
เปรียบเทยี บสานวนท่ีเปน็ คาพังเพยและสภุ าษติ
ฝึกแสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน เล่านิทานพื้นบ้านท้องถ่ินตนเองและนิทาน
พน้ื บ้านของทอ้ งถน่ิ อนื่ อธิบายคณุ คา่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรมทีอ่ า่ นและนาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตจริง ท่องจา
บทอาขยานตามท่ีกาหนดและบทร้อย โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้
กระบวนการกลมุ่ กระบวนการคดิ วเิ คราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการส่ือ
ความ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการสังเกต กระบวนกรแยกข้อเท็จจริง กระบวนการค้นคว้า กระบวนการ
ใช้เทคโนโลยีในการส่ือสาร กระบวนการใช้ทักษะทางภาษา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคาถาม ตอบ
คาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดแู ละการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพื่อให้เกิด
ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทย
และตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้วิธีการของเศรษฐกิจพอเพียงและสามา รถนาไป
ประยกุ ต์ใช้กับชีวติ ประจาวนั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม
มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด
ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
รวม ๕ มาตรฐาน ๓๔ ตวั ชว้ี ัด
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 25
คาอธิบายรายวชิ า
กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 26
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑ เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง
คาอธิบายรายวชิ า
ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคานวณและฝึกแกป้ ัญหา จานวนนับ ๑ ถึง ๑๐๐ และ ๐ บอกและแสดงจานวนส่ิง
ตา่ ง ๆ ตามจานวนที่กาหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย การบอกอันดับท่ีหลัก ค่าของเลขโดดใน
แต่ละหลัก และเขียนแสดงจานวนในรูปกระจาย เปรียบเทียบจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ โดยใช้เครื่องหมาย
= ≠ > < เรียงลาดับจานวนตัง้ แต่ ๓ ถงึ ๕ จานวน และหาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการ
บวก การลบ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบ ของจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ความยาวและน้าหนัก
สร้างโจทยป์ ญั หาพร้อมทงั้ แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ ของจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ
๐ ระบจุ านวนที่หายไปในแบบรูปของจานวนท่ีเพิ่มข้ึนหรือลดลงทีละ๑ ทีละ ๑๐ รูปที่หายไปในแบบรูปซ้าของ
รปู เรขาคณิตและรูปอื่น ๆ ท่ีสมาชิกใน แต่ละชุดท่ีซ้ามี ๒ รูป วัดและเปรียบเทียบความยาวเป็นเซนติเมตร เป็น
เมตร น้าหนักเป็นกิโลกรัมเป็นขีด และใช้หน่วยท่ีไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน จาแนกรูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม วงกลม
วงรี ทรงส่ีเหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคาตอบของ
โจทย์ปญั หา เม่ือกาหนดรูป ๑ รูปแทน ๑ หนว่ ย
มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั
ค ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕
ค ๑.๒ ป.๑/๑
ค ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ค ๒.๒ ป.๑/๑
ค ๓.๑ ป.๑/๑
รวม ๓ มาตรฐาน ๑๐ ตวั ชี้วัด
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 27
คาอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน
ค ๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒ กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๒ เวลา ๒๐๐ ชว่ั โมง
คาอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคานวณและฝึกแก้ปัญหา จานวนนับ ๑ ถึง ๑,๐๐๐ และ ๐ บอกและแสดง
จานวนสิ่งต่าง ๆ ตามจานวนที่กาหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย การบอกอันดับท่ีหลัก ค่าของ
เลขโดดในแตล่ ะหลกั และเขยี นแสดงจานวนในรปู กระจาย เปรยี บเทียบจานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ โดยใช้
เคร่อื งหมาย = ≠ > < เรยี งลาดบั จานวนนบั ไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ตั้งแต่ ๓ ถึง ๕ จานวน และหาค่าของตัว
ไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวก การลบ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบของจานวนนับไม่
เกนิ ๑,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไมท่ ราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของจานวน ๑ หลักกับจานวนไม่
เกิน ๒ หลัก และประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารท่ีตัวต้ังไม่เกิน ๒ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก โดยที่ผลหารมี ๑ หลัก
ท้งั หารลงตัวและหารไม่ลงตัว หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของจานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดง
วธิ หี าคาตอบของโจทย์ปญั หา ๒ ขน้ั ตอนของจานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปัญหา
เก่ียวกับเวลาที่มีหน่วยเดี่ยวและเป็นหน่วยเดียว วัดและเปรียบเทียบความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร พร้อมท้ัง
แสดงวิธีการหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบความยาวที่มีหน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร วัดและ
เปรียบเทียบน้าหนักเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด พร้อมท้ังแสดงวิธีการหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการ
บวกการลบเกย่ี วกับนา้ หนักทม่ี ีหนว่ ยเป็นกิโลกรมั และกรัม กโิ ลกรมั และขดี วัดและเปรียบเทียบปริมาตรและความ
จุเปน็ ลิตร จาแนกและบอกลักษณะของรูปหลายเหลี่ยมและวงกลม ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคาตอบ
ของโจทยป์ ญั หา เม่อื กาหนดรูป ๑ รูปแทน ๒ หนว่ ย ๕ หน่วยหรอื ๑๐ หน่วย
มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั
ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖
ค ๒.๒ ป.๒/๑
ค ๓.๑ ป.๒/๑
รวม ๕ มาตรฐาน ๑๖ ตวั ชวี้ ดั
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 28
คาอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ค ๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๓ กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์
ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๓ เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง
คาอธิบายรายวชิ า
อ่านและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐
เปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ จากสถานการณ์ต่าง ๆ บอก อ่านและเขียน
เศษส่วนท่แี สดงปริมาณสง่ิ ตา่ ง ๆ และแสดงสิ่งต่าง ๆ ตามเศษส่วนที่กาหนด เปรียบเทียบเศษส่วนท่ีตัวเศษเท่ากัน
โดยท่ีตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตัวส่วน หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและการลบ
ของจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของจานวน
๑ หลักกับจานวนไม่เกิน ๔ หลักและจานวน ๒ หลักกับจานวน ๒ หลัก หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยค
สัญลักษณ์แสดงการหารที่ตัวต้ังไม่เกิน ๔ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก และหาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนและ
แสดงวิธกี ารหาคาตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ข้ันตอนของจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาผลบวกและแสดง
วิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวกของเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากันและผลบวกไม่เกิน ๑ และหาผลลบพร้อมท้ัง
แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการลบของเศษส่วนท่ีมีตัวส่วนเท่ากัน ระบุจานวนท่ีหายไปในแบบรูปของ
จานวนที่เพิ่มข้ึนหรือลดลงทีละเท่า ๆ กัน แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับเงิน เวลาและระยะเวลา
เลือกใชเ้ คร่ืองมือความยาวที่เหมาะสม วดั และบอกความยาวของสงิ่ ตา่ ง ๆ เป็นเซนตเิ มตรและมิลลิเมตร เมตรและ
เซนติเมตร คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็นเซนติเมตร เปรียบเทียบความยาวและแสดงวิธีหาคาตอบของ
โจทยป์ ัญหาเก่ียวกบั ระหว่างเซนตเิ มตรกบั มลิ ลิเมตร เมตรกับเซนตเิ มตร กิโลเมตรกับเมตร จากสถานการณ์ต่าง ๆ
เลือกใช้เคร่ืองช่ังท่ีเหมาะสม วัดและบอกน้าหนักเป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม คาดคะเนน้าหนักเป็น
กิโลกรัมและเป็นขีด เปรียบเทียบน้าหนักและแสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับน้าหนักท่ีมีหน่วยเป็น
กโิ ลกรมั กับกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม จากสถานการณ์ต่าง ๆ เลือกใช้เคร่ืองตวงที่เหมาะสม วัดและเปรียบเทียบ
ปริมาตร ความจุเป็นลิตรและมิลลิลิตร คาดคะเนและแสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับปริมาตรและ
ความจุเป็นลิตรและมิลลิเมตร ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติท่ีมีแกนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตร เขียนแผนภูมิ
รูปภาพและใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา เขียนตารางทางเดียวจากข้อมูลท่ีเป็น
จานวนนับและใช้ข้อมลู จากตารางทางเดยี วในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา
มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั
ค ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐ , ป.๓/๑๑
ค ๑.๒ ป.๓/๑
ค ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐, ป.๓/๑๑,
ป.๓/๑๒, ป.๓/๑๓
ค ๒.๒ ป.๓/๑
ค ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
รวม ๓ มาตรฐาน ๒๘ ตัวชว้ี ัด
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 29
คาอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ค ๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๔ กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๔ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง
คาอธบิ ายรายวิชา
ศึกษา ฝึกทักษะการอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวนนับที่
มากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ พร้อมทั้งเปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวนนับที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ จากสถานการณ์ต่าง
ๆ บอก อา่ นและเขียนเศษส่วน จานวนคละแสดงปริมาณสง่ิ ตา่ ง ๆ และแสดงสิ่งต่าง ๆ ตามเศษส่วน จานวนคละท่ี
กาหนด เปรยี บเทยี บ เรยี งลาดับเศษส่วนและจานวนคละทีต่ วั ส่วนตัวหนึ่งเปน็ พหคู ูณของอกี ตวั หน่งึ อ่านและเขียน
ทศนยิ มไม่เกนิ ๓ ตาแหนง่ แสดงปริมาณของส่ิงต่าง ๆ ตามทศนิยมท่ีกาหนด เปรียบเทียบและเรียงลาดับทศนิยม
ไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง และประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบการคูณ การหาร จากสถานการณ์ต่าง ๆ อย่าง
สมเหตุสมผล หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการบวก การลบของจานวนนับที่มากกว่า
๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ แสดงการคูณของจานวนหลายหลัก ๒ จานวน ที่มีผลคูณไม่เกิน ๖ หลัก และแสดงการหารที่
ตวั ตงั้ ไมเ่ กนิ ๖ หลกั ตวั หารไมเ่ กิน ๒ หลกั หาผลลัพธ์การบวก ลบ คณู หารระคนของจานวนนับ และ ๐ แสดงวิธี
หาคาตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอนของจานวนนับที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ สร้างโจทย์ปัญหา ๒ ข้ันตอน
ของจานวนนับ และ ๐ พร้อมทั้งหาคาตอบ หาคาตอบและแสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ
ของเศษส่วนและจานวนคละที่ตัวส่วนตัวหน่ึงเป็นพหูคูณของอีกตัวหนึ่ง หาผลบวก ผลลบของทศนิยมไม่เกิน ๓
ตาแหนง่ และแสดงวิธหี าคาตอบของโจทยป์ ญั หาการบวก การลบ ๒ ข้ันตอนของทศนิยมไม่เกนิ ๓ ตาแหน่ง แสดง
วิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับเวลา วัดและสร้างมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์
ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นท่ีของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก จาแนกชนิดของมุม บอกชื่อมุม ส่วนประกอบ
ของมุมและเขียนสัญลักษณ์แสดงมุม สร้างรูปส่ีเหล่ียมมุมฉากเม่ือกาหนดความยาวของด้าน และใช้ข้อมูลจาก
แผนภูมแิ ท่ง ตารางสองทางในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา
มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั
ค ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘, ป.๔/๙, ป.๔/๑๐, ป.๔/๑๑,
ป.๔/๑๒, ป.๔/๑๓, ป.๔/๑๔, ป.๔/๑๕, ป.๔/๑๖
ค ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ค ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
ค ๓.๑ ป.๔/๑
รวม ๓ มาตรฐาน ๒๒ ตวั ชี้วดั
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 30
คาอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน
ค ๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๕ กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๕ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง
คาอธิบายรายวชิ า
เขียนเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นตัวประกอบของ ๑๐ หรือ ๑๐๐ หรือ ๑,๐๐๐ ในรูปทศนิยม แสดงวิธีหา
คาตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ หาผลบวก ผลลบ ผลคูณ ผลหารของเศษส่วนและจานวนคละ
แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาการบวก การลบ การคณู การหารเศษสว่ น ๒ ขน้ั ตอน หาผลคูณของทศนิยม ที่
ผลคูณเป็นทศนยิ มไมเ่ กนิ ๓ ตาแหนง่ หาผลหารท่ีตวั ตั้งเปน็ จานวนนับหรอื ทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง และตัวหาร
เป็นจานวนนับ ผลหารเป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การ
คูณ การหารทศนิยม ๒ ข้ันตอน และแสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาร้อยละไม่เกิน ๒ ข้ันตอน แสดงวิธี
หาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว น้าหนัก ที่มีการเปลี่ยนหน่วยและเขียนในรูปทศนิยม แสดงวิธีหา
คาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับปริมาตรของทรงสี่เหล่ียมมุมฉากและความจุของภาชน ะทรงส่ีเหลี่ยมมุมฉาก
ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมและพื้นท่ีของรูปสี่เหล่ียมด้านขนานและรูปส่ีเหล่ียมขนมเปียกปูน สร้างเส้นตรง
หรือส่วนของเส้นตรงให้ขนานกับเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงที่กาหนดให้ จาแนกรูปส่ีเหล่ียมโดยพิจารณาจาก
สมบัติของรูป สร้างรูปส่ีเหล่ียมชนิดต่าง ๆ เม่ือกาหนดความยาวของด้านและขนาดของมุมหรือเม่ือกาหนดความ
ยาวของเสน้ ทแยงมมุ และบอกลกั ษณะของปริซมึ
ใชข้ อ้ มลู จากกราฟเส้นในการหาคาตอบของโจทย์ปญั หา และเขียนแผนภมู ิแทง่ จากขอ้ มูลทเี่ ปน็ จานวนนบั
มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด
ค ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ , ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ค ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒
รวม ๓ มาตรฐาน ๑๙ ตัวช้วี ดั
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 31
คาอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน
ค ๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๖ กลุม่ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๑๖๐ ชัว่ โมง
คาอธบิ ายรายวิชา
เปรียบเทียบ เรียงลาดับ เศษส่วนและจานวนคละจากสถานการณ์ต่าง ๆ เขียนอัตราส่วนแสดงการ
เปรียบเทียบปริมาณ ๒ ปริมาณจากข้อความหรือสถานการณ์ โดยท่ีปริมาณแต่ละปริมาณเป็นจานวนนับ หา
อัตราส่วนท่ีเท่ากับอัตราส่วนท่ีกาหนดให้ หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจานวนนับไม่เกิน ๓ จานวน แสดงวิธีหา
คาตอบของโจทยป์ ัญหาโดยใช้ความรู้เก่ียวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคนของ
เศษสว่ นและจานวนคละ แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเศษส่วนและจานวนคละ ๒ – ๓ ข้ันตอน หาผลหาร
ของทศนยิ มที่ตัวหารและผลหารเป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การ
ลบ การคูณ การหารทศนิยม ๓ ขั้นตอน แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาอัตราส่วน ปัญหาร้อยละ ๒ – ๓
ข้ันตอน แสดงวิธีคิดและหาคาตอบของปัญหาเก่ียวกับแบบรูป แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
ปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบด้วยทรงสี่เหล่ียมมุมฉาก และแสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพ้ืนท่ีของรูปหลายเหลี่ยม ความยาวรอบรูปและพ้ืนท่ีของวงกลม จาแนกรูป
สามเหล่ียมโดยพิจารณาจากสมบัติของรูป สร้างรูปสามเหล่ียมเม่ือกาหนดความยาวของด้านและขนาดของมุม
บอกลักษณะของรปู เรขาคณิตสามมติ ชิ นิดตา่ ง ๆ ระบรุ ูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบจากรูปคลี่และระบุรูปคล่ีของ
รปู เรขาคณติ สามมิตใิ ช้ขอ้ มูลจากแผนภูมริ ูปวงกลมในการหาคาตอบของโจทย์ปญั หา
มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด
ค ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙, ป.๖/๑๐, ป.๖/๑๑
ค ๑.๒ ป.๖/๑
ค ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ค ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
ค ๓.๑ ป.๖/๑
รวม ๓ มาตรฐาน ๒๐ ตัวชว้ี ดั
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 32
คาอธบิ ายรายวชิ า
กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 33
คาอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ว๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ เวลา ๑๐๐ ชวั่ โมง
คาอธบิ ายรายวิชา
ระบุชื่อพืชและสัตวท์ อี่ าศยั อยู่บริเวณต่างๆที่ได้จากการสารวจบอกสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมในบริเวณท่ี
พืชและสัตว์อาศัยอยู่ในบริเวณที่สารวจบรรยายลักษณะและบอกหน้าท่ีส่วนต่างๆของร่างกายมนุษย์ สัตว์และพืช
รวมท้งั บรรยายการทาหน้าที่ร่วมกันของส่วนต่างๆของร่างกายมนุษย์ในการทากิจกรรมต่างๆจากข้อมูลท่ีรวบรวม
ได้ ตระหนกั ถึงความสาคัญของส่วนต่างๆของรา่ งกายของตนเองและการดูแลส่วนต่างๆอย่างถูกต้องและปลอดภัย
อธิบายสมบัติที่สังเกตได้ของวัสดุท่ีทาจากวัสดุชนิดเดียวหรือหลายชนิดประกอบกันโดยใช้หลักฐานเชิงประจั กษ์
ระบุชนิดของวัสดุและจัดกลุ่มวัสดุตามสมบัติที่สังเกตได้ บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนท่ีของเสียง
จากหลักฐานเชิงประจักษ์ ระบุดาวที่ปรากฏบนท้องฟ้าในเวลากลางวันและกลางคืนจากข้อมูลที่รวบรวมได้
อธิบายสาเหตุท่ีมองไม่เห็นดวงดาวส่วนใหญ่ในเวลากลางวันจากหลักฐานเชิงประจักษ์ อธิบายลักษณะภายนอก
ของหนิ จากลักษณะเฉพาะตัวที่สงั เกตได้
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจ ตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การ
เปรียบเทียบข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ และการอภิปราย เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถ
ส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นาความรู้ไปใช้ ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม
คุณธรรม และค่านิยมทเี่ หมาะสม
ตระหนกั และเห็นคุณคา่ ของการนาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจาวัน ใช้อนิ เตอร์เน็ตเทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้อินเตอรเ์ นต็ เขา้ ใจสทิ ธแิ ละหน้าที่ของตนเอง ส่ือสารอย่าง
มีมารยาทและร้กู าลเทศะ ปกปอ้ งข้อมูลสว่ นตวั รกั การทางาน ทางานด้วยความกระตือรือรน้ และตรงเวลา
มีเจตคตทิ ่ีดีต่อการทางาน มีลกั ษณะนิสัยการทางานทเ่ี หมาะสม มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมทเ่ี หมาะสม
มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด
ว ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๒.๓ ป.๑/๑
ว ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๓.๒ ป.๑/๑
ว ๔.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
รวม ๔ มาตรฐาน ๑๕ ตวั ชวี้ ดั
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 34
อธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน
ว๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒ กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๒ เวลา ๑๐๐ ชัว่ โมง
คาอธบิ ายรายวชิ า
ระบวุ า่ พืชต้องการแสงและน้าเพ่ือการเจรญิ เติบโตโดยใช้ขอ้ มูลจากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ตระหนักถึงความ
จาเป็นที่พืชต้องการได้รับน้าและแสงเพื่อการเจริญเติบโตโดยดูแลพืชให้ได้รับสิ่งดังกล่าวอย่างเหมาะสม สร้าง
แบบจาลองท่ีบรรยายวัฏจักรชีวิตของพืชดอก เปรียบเทียบลักษณะส่ิงมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตจากข้อมูลที่รวบรวม
ได้ เปรียบเทยี บสมบัติการดูดซับน้าของวัสดุไปประยุกต์ใช้ในการทาวัสดุในชีวิตประจาวัน อธิบายสมบัติที่นาวัสดุ
มาผสมกันโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์การนามาทาเป็นวัสดุในการใช้งานการนากลับมาใช้ใหม่ตระหนักถึง
ประโยชน์ของการนาวัสดุท่ใี ช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ บรรยายแนวทางการเคล่ือนที่ของแสงจากแหล่งกาเนิดแสงและ
อธิบายการมองเห็นวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ตระหนักในการเห็นคุณค่าของความรู้ของการมองเห็นโดย
เสนอแนะแนวทางการปอ้ งกันอันตรายจากการมองเหน็ วตั ถุในที่มแี สงสวา่ งไมเ่ หมาะสม ระบุส่วนประกอบของดิน
และจาแนกชนดิ ของดินโดยใชล้ กั ษณะเนื้อดินและการจับตวั เป็นเกณฑ์ อธิบายการใช้ประโยชน์จากดินจากข้อมูลท่ี
รวบรวมได้
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจ ตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การ
เปรียบเทียบข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ และการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถ
ส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นาความรู้ไปใช้ ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม
คณุ ธรรม และคา่ นิยมที่เหมาะสม
ตระหนกั และเห็นคุณคา่ ของการนาความร้ไู ปใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ประจาวัน ใชอ้ นิ เตอรเ์ น็ตเทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างปลอดภยั ปฏบิ ัตติ ามข้อตกลงในการใชอ้ ินเตอร์เนต็ เข้าใจสทิ ธแิ ละหน้าท่ขี องตนเอง สือ่ สารอยา่ ง
มีมารยาทและรู้กาลเทศะ ปกปอ้ งข้อมลู สว่ นตวั รกั การทางาน ทางานดว้ ยความกระตือรือร้น และตรงเวลา
มีเจตคติท่ีดีตอ่ การทางาน มีลักษณะนสิ ัยการทางานทเี่ หมาะสม มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมทีเ่ หมาะสม
มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ว ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
ว ๑.๓ ป.๒/๑
ว ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ว ๒.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว ๔.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
รวม ๔ มาตรฐาน ๑๖ ตัวชวี้ ดั
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 35
คาอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน
ว๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๓ กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๓ เวลา ๑๐๐ ชวั่ โมง
คาอธบิ ายรายวิชา
ศึกษา วิเคราะห์ ส่ิงท่ีจาเป็นต่อการดารงชีวิต และการเจริญเติบโตของมนุษย์และสัตว์ ประโยชน์ของ
อาหาร น้า และอากาศ การดูแลตนเองและสัตว์ให้ได้รับสิ่งเหล่าน้ีอย่างเหมาะสม วัฏจักรชีวิตของสัตว์
สว่ นประกอบของวัตถุ และการเปลย่ี นแปลงของวสั ดเุ มือ่ ทาใหร้ ้อนขึน้ หรือทาให้เยน็ ลง แรงทีม่ ีต่อการเปล่ียนแปลง
การเคลือ่ นทีข่ องวตั ถุ แรงสัมผสั และแรงไมส่ ัมผัสท่มี ผี ลตอ่ การเคล่ือนท่ขี องวัตถุ การดึงดูดระหว่างแม่เหล็กกับวัตถุ
ข้ัวแม่เหลก็ การเปลี่ยนพลงั งาน การทางานของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า และแหล่งพลังงานในการผลิตไฟฟ้า ประโยชน์
และโทษของไฟฟ้า วิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัด และปลอดภัย เส้นทางการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ การเกิด
กลางวันกลางคืน และการกาหนดทิศ ความสาคัญของดวงอาทิตย์ต่อส่ิงมีชีวิต ส่วนประกอบของอากาศ
ความสาคัญของอากาศ และผลกระทบของมลพิษทางอากาศต่อส่ิงมีชีวิต การปฏิบัติตนในการลดการเกิดมลพิษ
ทางอากาศ การเกิดลม ประโยชน์และโทษของลม
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจ ตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การ
เปรียบเทียบข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ และการอภิปราย เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถ
สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นาความรู้ไปใช้ ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม
คุณธรรม และคา่ นยิ มทเ่ี หมาะสม
ตระหนักและเห็นคุณค่าของการนาความรูไ้ ปใช้ประโยชนใ์ นชวี ิตประจาวนั ใช้อินเตอรเ์ น็ตเทคโนโลยี
สารสนเทศอยา่ งปลอดภยั ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลงในการใชอ้ ินเตอร์เน็ต เขา้ ใจสทิ ธแิ ละหน้าที่ของตนเอง สอื่ สารอยา่ ง
มมี ารยาทและรู้กาลเทศะ ปกป้องข้อมลู สว่ นตัว รกั การทางาน ทางานดว้ ยความกระตือรอื รน้ และตรงเวลา
มีเจตคติท่ดี ีต่อการทางาน มีลักษณะนสิ ยั การทางานท่เี หมาะสม มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มทเ่ี หมาะสม
มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั
ว ๑.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔
ว ๒.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒
ว ๒.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔
ว ๒.๓ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ว ๓.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ว ๓.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔
ว ๔.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป๓/๕
รวม ๔ มาตรฐาน ๒๕ ตวั ช้วี ดั
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 36
คาอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน
ว๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔ กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๔ เวลา ๑๒๐ ช่ัวโมง
คาอธิบายรายวชิ า
บรรยาย จาแนก เปรียบเทียบ อภิปราย ระบุ อธิบาย สร้างแบบจาลอง ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการ
แกป้ ัญหา ออกแบบและเขียนโปรแกรม ใช้อินเตอร์เน็ต รวบรวม ประเมิน นาเสนอข้อมูล เกี่ยวกับหน้าท่ีของส่วน
ต่างๆของพืช ความแตกต่างของลักษณะของสิ่งมีชีวิต พืชดอกและพืชไม่มีดอก สัตว์มีกระดูกสันหลังและไม่มี
กระดกู สนั หลังเป็นเกณฑ์ สมบัตทิ างกายภาพด้านความแขง็ สภาพยืดหยนุ่ การนาความร้อน และการนาไฟฟ้าของ
วสั ดุ การนาสมบัติทางกายภาพของวัสดุไปใช้ในชีวิตประจาวัน สมบัติของสสารทั้ง 3 สถานะ ผลของแรงโน้มถ่วง
ของโลกที่มีต่อวัตถุ การใช้เครื่องช่ังสปริงวัดน้าหนักของวัตถุ มวลของวัตถุท่ีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่
ของวตั ถุ วัตถทุ ่ีเป็นตัวกลางโปรง่ ใส ตัวกลางโปร่งแสง และวัตถุทึบแสง จากลักษณะการมองเห็นสิ่งต่างๆผ่านวัตถุ
น้ันเป็นเกณฑ์ แบบรูปเส้นทางการข้ึนและตกของดวงจันทร์ แบบจาลองแสดงองค์ประกอบของระบบสุริยะ และ
คาบการโคจรของดาวเคราะหต์ ่างๆ
โดยใช้กระบวนทางวทิ ยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสบื ค้นขอ้ มูล บันทึก จัด
กลุ่มข้อมูล เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนาเสนอสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการ
ตดั สินใจ เหน็ คุณค่าของการนาความรไู้ ปใชใ้ นชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ี
เหมาะสม
ตระหนักและเห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน ใช้อินเตอร์เน็ตเทคโนโลยี
สารสนเทศอยา่ งปลอดภัย ปฏบิ ตั ิตามขอ้ ตกลงในการใช้อนิ เตอรเ์ นต็ เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตนเอง สื่อสารอย่าง
มีมารยาทและรู้กาลเทศะ ปกป้องข้อมูลส่วนตัว รักการทางาน ทางานด้วยความกระตือรือร้น และตรงเวลา
มเี จตคติที่ดตี อ่ การทางาน มลี กั ษณะนสิ ัยการทางานทเ่ี หมาะสม มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมที่เหมาะสม
มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั
ว ๑.๒ ป.๔/๑
ว ๑.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ว ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ว ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๒.๓ ป.๔/๑
ว ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป๔/๕
รวม ๔ มาตรฐาน รวมทง้ั หมด ๒๑ ตวั ชว้ี ัด
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 37
คาอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ว๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๕ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๕ เวลา ๑๒๐ ชว่ั โมง
คาอธบิ ายรายวิชา
บรรยาย อธบิ าย เขยี นและระบุ เปรียบเทียบ วิเคราะห์ ออกแบบการทดลอง ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการ
แกป้ ัญหา ออกแบบและเขียนโปรแกรม ใช้อินเตอร์เน็ต รวบรวม ประเมิน นาเสนอข้อมูล เกี่ยวกับโครงสร้างและ
ลักษณะของส่ิงมีชีวิตท่ีเหมาะสมกับการดารงชีวิตในแต่ละแหล่งที่อยู่ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับส่ิงไม่มีชีวิตเพ่ือประโยชน์ต่อการดารงชีวิต หน้าท่ีของสิ่งมีชีวิตท่ีเป็นผู้ผลิตและ
ผู้บริโภคในโซ่อาหาร คุณค่าของสิ่งแวดล้อมท่ีมีต่อการดารงชีวิตของส่ิงมีชีวิต ลักษณะทางพันธุกรรมท่ีมีการ
ถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูกของพืช สัตว์และมนุษย์ การเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร เมื่อทาให้สสารขึ้นหรือเย็นลง
การละลายของสารในน้า และการเปล่ียนแปลงของสารเม่ือเกิดการเปล่ียนแปลงทางเคมีโดยใช้หลักฐานเชิง
ประจักษ์ การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และท่ีผันกลับไม่ได้ การหาแรงลัพธ์ของแรงหลายแรงในแนวเดียวกันที่
กระทาต่อวัตถุ ในกรณีที่วัตถุอยู่น่ิง แผนภาพแสดงแรงที่กระทาต่อวัตถุ การใช้เครื่องชั่งสปริงการวัดแรงที่กระทา
ต่อวัตถุ ผลของแรงและแผนภาพแสดงแรงเสยี ดทานท่ีมีต่อการเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนที่ของวัตถุ และแรงที่อยู่ใน
แนวเดียวกันท่ีกระทาต่อวัตถุ การได้ยินเสียงผ่านตัวกลาง ลักษณะการเกิดเสียงสูง เสียงต่า เสียงดัง เสียงค่อย
ตลอดจนมลพษิ ทางเสยี งความแตกตา่ งของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ ตาแหน่งและเส้นทางการข้ึนและตกของกลุ่ม
ดาวฤกษ์บนท้องฟ้า โดยใช้แผนท่ีดาว การใช้ประโยชน์จากแหล่งน้า การหมุนเวียนของวัฏจักรน้า การใช้น้าอย่าง
ประหยดั กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้าค้างและน้าคา้ งแขง็ การเกดิ ฝน หิมะ และลกู เห็บ
โดยใชก้ ระบวนทางวทิ ยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสบื ค้นข้อมูล บันทึก จัด
กลุ่มข้อมูล เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนาเสนอส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการ
ตัดสินใจ เหน็ คณุ ค่าของการนาความรไู้ ปใชใ้ นชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่
เหมาะสม
ตระหนักและเห็นคุณค่าของการใช้อินเตอร์เน็ตในการติดต่อส่ือสารและทางานร่วมกัน ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างปลอดภยั มีมารยาท เข้าใจสทิ ธแิ ละหน้าที่ของตนเอง เคารพในสิทธิของผู้อ่ืน แจ้งผู้เก่ียวข้องเมื่อ
พบข้อมูลหรือบุคคลท่ีไม่เหมาะสม ทางานด้วยความกระตือรือร้น และตรงเวลา มีเจตคติที่ดีต่อการทางาน มี
ลักษณะนสิ ัยการทางานทเ่ี หมาะสม มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มทีเ่ หมาะสม
มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด
ว ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ว ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ว ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ว ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๒.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ว ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๔.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
รวม ๔ มาตรฐาน ๓๒ ตวั ช้วี ดั
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 38
คาอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน
ว๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๖ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๖ เวลา ๑๒๐ ชว่ั โมง
คาอธิบายรายวชิ า
บรรยาย จาแนก เปรียบเทียบ อภิปราย ระบุ อธิบาย สร้างแบบจาลอง ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการ
แก้ปัญหา ออกแบบและเขียนโปรแกรม ใช้อินเตอร์เน็ต รวบรวม ประเมิน นาเสนอข้อมูล เกี่ยวกับประโยชน์ของ
สารอาหารท่ีตนเองได้รับ ในสัดส่วนท่ีเหมาะสมกับเพศและวัย หน้าที่และการดูดซึมของอวัยวะในระบบย่อย
อาหารให้ทางานเป็นปกติ การแยกสารผสม โดยการหยิบออก การร่อน การใช้แม่เหล็กดึงดูด การรินออก การ
กรองและการตกตะกอนโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ รวมถึงการแยกสารในชีวิตประจาวัน การเกิดแรงไฟฟ้าซ่ึงเกิด
จากวัตถุผ่านการขัดถู หน้าท่ีของส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย แผนภาพการต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ผล
ของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน รวมถึงการใช้ประโยชน์ใน
ชีวิตประจาวัน การเกิดเงามืดเงามัว แผนภาพรังสีของแสงแสดงการเกิดเงามืดเงามัว การเกิดปรากฏการณ์
สุริยุปราคาและจันทรุปราคา พัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศ การนาเทคโนโลยีอวกาศมาใช้ประโยชน์ใน
ชีวติ ประจาวนั การเกดิ หินอัคนี หินตะกอนและหนิ แปร วัฏจักรหินจากแบบจาลอง การใช้ประโยชน์ของหินและแร่
ในชวี ติ ประจาวัน การคาดคะเนสภาพแวดล้อมในอดีตจากซากดึกดาบรรพ์ การเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุมที่มี
ผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ผลของมรสุมต่อการเกิดฤดูของประเทศไทย ผลกระทบจากน้าท่วม การกัดเซาะ
ของชายฝ่ัง ดนิ ถลม่ แผน่ ดนิ ไหว และสึนามิ การเฝ้าระวงั และปฏบิ ตั ติ นใหป้ ลอดภยั จากภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติ
ภัยท่ีอาจเกิดในท้องถ่ิน การเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก การปฏิบัติตนเพื่อลดกิจกรรมท่ีก่อให้เกิดแก็สเรือน
กระจก
โดยใช้กระบวนทางวทิ ยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสบื คน้ ขอ้ มูล บันทึก จัด
กลุ่มข้อมูล เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนาเสนอส่ือสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ
ตัดสินใจ เห็นคณุ ค่าของการนาความรไู้ ปใช้ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ี
เหมาะสม
ตระหนักและเห็นคุณค่าของการใช้อินเตอร์เน็ตในการติดต่อสื่อสารและทางานร่วมกัน ใช้ เทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างปลอดภัย มีมารยาท เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตนเอง เคารพในสิทธิของผู้อื่น แจ้งผู้เกี่ยวข้อง
เมื่อพบข้อมูลหรือบุคคลที่ไม่เหมาะสม ทางานด้วยความกระตือรือร้น และตรงเวลา มี เจตคติท่ีดีต่อการทางาน
มลี ักษณะนสิ ยั การทางานท่เี หมาะสม มีคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มท่เี หมาะสม
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ว ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕
ว ๒.๑ ป.๖/๑
ว ๒.๒ ป.๖/๑
ว ๒.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘
ว ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒
ว ๓.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ว ๔.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
รวม ๔ มาตรฐาน ๓๐ ตวั ชว้ี ดั
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 39
คาอธบิ ายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 40
ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนาฯ ๑ คาอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เวลา ๔๐ ช่ัวโมง
คาอธบิ ายรายวิชา
สังเกต ศกึ ษาค้นคว้า รวบรวมขอ้ มลู อภิปราย ความหมาย ความสาคัญ องค์ประกอบเบื้องต้นของศาสนา
ประโยชน์ ประวตั ิ ศาสดาของศาสนา สรปุ ใจความสาคัญของคัมภีร์ ความคิดหลักของศาสนา สรุปหลักจริยธรรม
การบาเพ็ญประโยชน์ วิธีปฏิบัติ การใช้ภาษาเกี่ยวกับศาสนพิธี พิธีกรรมในวันสาคัญ ฝึกปฏิบัติการบริหาร
จิต การเจริญปญั ญาเบ้อื งตน้ เปรียบเทียบ การทาความดี ปฏบิ ตั ิตนตามคาแนะนา รวบรวมข้นั ตอน ของศาสนพิธี
คุณลักษณะของการเป็นพลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตยมีความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ ความกล้าหาญ ความ
เสียสละ การเคารพสิทธิและหน้าที่ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น การแก้ปัญหาความขัดแย้งในครอบครัว กฎ
กติกา ความหมาย ความสาคัญของรัฐธรรมนูญ ประโยชน์ของรายรับ-รายจ่าย ต้นทุนผลประโยชน์ท่ีได้รับ
ทรัพยากรในท้องถ่ิน ระบบเศรษฐกิจพอเพียง อาชีพของครอบครัวและชุมชน การซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าและ
บริการ ในชีวิตประจาวัน ลักษณะทางกายภาพของบ้าน โรงเรียน และชุมชน องค์ประกอบของ แผนผัง การ
เขียนแผนท่ีเบ้ืองต้นอย่างง่าย ทรัพยากรธรรมชาติ การพ่ึงพาอาศัยซึ่งกันและกัน ผลเสียการทาลาย
ทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อมทางสังคม การสร้างสรรค์ สิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาติ
และทางสงั คม โดยใชก้ ระบวนการทางสังคม กระบวนการสบื คน้ กระบวนการกล่มุ และกระบวนการแก้ปญั หา
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม
มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่ือสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิต
สาธารณะ สามารถดาเนินชวี ิตอยา่ งสนั ติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์
โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กบั ชวี ติ ประจาวนั ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ส ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔
ส ๑.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓
ส ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ส ๒.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓
ส ๓.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓
ส ๓.๒ ป.๑/๑
ส ๕.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕
ส ๕.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓
รวม ๘ มาตรฐาน ๒๔ ตวั ชวี้ ดั
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 41
ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาฯ ๒ คาอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๒ กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
เวลา ๔๐ ชัว่ โมง
คาอธบิ ายรายวิชา
สังเกต ศึกษาค้นคว้า การรวบรวมข้อมูล อภิปราย ความหมาย ความสาคัญ องค์ประกอบเบ้ืองต้นของ
ศาสนา ประวัตศิ าสนา ศาสดาของศาสนา คัมภรี ์ และการใช้ภาษาของศาสนา รวบรวมหลักจริยธรรม การบาเพ็ญ
ประโยชน์ต่อครอบครัว โรงเรียน และชุมชน หลักปฏิบัติการอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุข ศาสนพิธี และพิธีกรรมในวัน
สาคัญของศาสนา การบริหารจิต การเจริญปัญญาเบ้ืองต้น การทาความดีของบุคคลในครอบครัว และโรงเรียน
การปฏิบตั ิตนตามคาแนะนาเก่ียวกับศลี ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ มทด่ี งี าม การเปน็ พลเมืองดี ในสังคมประชาธิปไตย
การยอมรับ การเคารพสิทธิ และหน้าที่ของตนเอง เป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว สิทธิของบุคคลท่ีพึงได้รับการ
คมุ้ ครอง การขดั เกลาของสังคม คา่ นยิ ม ความเชอื่ ประเพณี วัฒนธรรม และภูมิปัญญาของท้องถ่ิน ความสัมพันธ์
ของสมาชิกในครอบครัว บทบาทหน้าที่ของตนเอง การแก้ปัญหาความขัดแย้ง ข้อตกลง กฎ กติกา ระเบียบใน
โรงเรียน ความหมาย และความสาคัญของรัฐธรรมนูญ ประโยชน์ของรายรับ–รายจ่ายของครอบครัว ตัดสินใจ
เลือกอยา่ งเหมาะสม เศรษฐกิจพอเพยี ง อาชพี ของชุมชน การซ้ือขาย แลกเปล่ียนสินค้าและบริการ ประโยชน์ของ
ธนาคาร ภาษีท่ีเกี่ยวข้องในชีวิตประจาวันลักษณะทางกายภาพ องค์ประกอบของแผนผังแผนท่ี ตาแหน่ง ระยะ
ทศิ ทาง ทรัพยากรธรรมชาติรคู้ ณุ ค่าของธรรมชาติ การสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมทางสังคม การเปรียบเทียบประชากร
กับส่ิงแวดล้อม การฝึกสังเกตส่ิงต่างๆรอบตัว โดยใช้กระบวนการสังคม กระบวนการสืบค้น กระบวนการ
กล่มุ กระบวนการแก้ปัญหา
เพ่อื ให้เกดิ ความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบตั ใิ นการดาเนนิ ชวี ติ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มี
คุณลกั ษณะอนั พึงประสงคใ์ นดา้ นรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ มวี ินยั ใฝเ่ รยี นรู้ รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ
สามารถดาเนินชีวิตอยา่ งสันติสขุ ในสงั คมไทย และสงั คมโลก สามารถนาความร้ไู ปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนโ์ ดยใชห้ ลกั
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับชีวติ ประจาวนั ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ส ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗
ส ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ส ๒.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ส ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
ส ๕.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
รวม ๘ มาตรฐาน ๒๘ ตวั ชีว้ ดั
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 42
ส ๑๓๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาฯ ๓ คาอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๓ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
เวลา ๔๐ ช่วั โมง
คาอธิบายรายวชิ า
สังเกต ศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูล อภิปราย แสดงความคิดเห็น สรุปใจความสาคัญความหมาย
ความสาคัญ องค์ประกอบของศาสนา ประโยชน์ ประวัติศาสดาของศาสนา ภาษา ที่ใช้ในคัมภีร์ของศาสนาท่ีตน
นบั ถือ หลักจริยธรรมในการพัฒนาตน การบาเพ็ญประโยชน์ต่อครอบครัว โรงเรียน วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ ศาสนพิธี
พธิ กี รรมในวันสาคญั ของศาสนา การบริหารจิต การเจริญปญั ญา สติ สัมปชัญญะ ความราลึกได้ ความรู้ตัว ชื่นชม
การทาความดีของบุคคลในครอบครัว และโรงเรียน ศีลธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงาม การเป็นพลเมืองดีใน
สังคม ประชาธิปไตย การเคารพสิทธิและหน้าท่ีของ ตนเอง บทบาทสิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ สถานภาพ สิทธิของ
บคุ คลท่พี ึงไดร้ ับการคุ้มครอง การขัดเกลาของสังคม ค่านิยม ความเช่ือ ประเพณี การอนุรักษ์วัฒนธรรม และภูมิ
ปัญญา ของท้องถิ่น การสร้างความดี การแก้ปัญหาความขัดแย้ง กฎ กติกา ระเบียบในชุมชน ความสาคัญของ
กฎหมายรัฐธรรมนูญ รายรับ–รายจ่าย ผลประโยชน์ที่ผู้บริโภคได้รับการตัดสินใจเลือกอย่างเหมาะสม ระบบ
เศรษฐกิจพอเพียง อาชีพในชุมชนการแลกเปล่ียน สินค้าและบริการความสาคัญของธนาคาร ภาษีท่ีเก่ียวข้องใน
ชีวิตประจาวัน องค์ประกอบทางกายภาพ ลักษณะ ความเกี่ยวข้องแผนผัง แผนท่ี ตาแหน่ง ระยะทิศ ทาง
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ การพึ่งพาอาศัยกัน สิ่งแวดล้อมทางสังคม การอนุรักษ์ การใช้
พลังงาน การดูแลรักษาส่ิงแวดล้อม การรู้จักสังเกตสิ่งต่างๆรอบตัว โดยใช้กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิด
วิเคราะห์ กระบวนการกลมุ่ กระบวนการเผชิญสถานการณแ์ ละแก้ปญั หา
เพื่อใหเ้ กดิ ความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบตั ิในการดาเนนิ ชีวิต มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มคี ณุ ลักษณะ
อันพึงประสงค์ในด้านรกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่ือสตั ย์ มวี นิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ รกั ความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ สามารถ
ดาเนินชวี ิตอย่างสันตสิ ุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนาความรไู้ ปใช้ใหเ้ กิดประโยชนโ์ ดยใชห้ ลักปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้กบั ชวี ติ ประจาวนั ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด
ส ๑.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕ , ป.๓/๖ , ป.๓/๗
ส ๑.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ส ๒.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔
ส ๒.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ส ๓.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ส ๓.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ส ๕.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ส ๕.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕ , ป.๓/๖
รวม ๘ มาตรฐาน ๓๑ ตวั ชีว้ ดั
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 43
ส ๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาฯ ๔ คาอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๔ กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เวลา ๘๐ ชวั่ โมง
คาอธิบายรายวิชา
สังเกต ศึกษาค้นคว้า อภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็น รวบรวมข้อมูล สืบค้น ข้อมูลสรุปใจความ
สาคัญเกี่ยวกับความสาคัญทางศาสนา และศาสดาของศาสนาพุทธ คัมภีร์ทางศาสนาที่ตนนับถือ หลักธรรมของ
ศาสนา การบริหารจิตและเจริญปัญญา ชื่นชมการทาความดีของบุคลากรในสังคม แปลความหมายในคัมภีร์
ศาสนาทตี่ นนับถือ เสนอแนวทางการกระทาของตนเองและผอู้ ่นื ในฐานะพลเมืองดีของสังคม สิทธิเด็ก เพื่อป้องกัน
ตัวเองและสังคม เปรียบเทียบความแตกต่างของวัฒนธรรมในท้องถ่ินการยอมรับคุณค่าของกันและกัน การ
รวมกลุ่มท้ังภาครัฐและเอกชน ชื่นชมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข การ
รวมกลุ่มภาครัฐและเอกชนเพ่ือพัฒนาท้องถิ่น อานาจอธิปไตย ปฏิบัติตามกฎหมายในชีวิตประจาวัน วิเคราะห์
ผู้ผลิต ผบู้ รโิ ภค วิธีการของเศรษฐกจิ การหารายได้ การออม การลงทุน ผลผลิตทางด้านเศรษฐกิจ การตลาด การ
ธนาคาร สถาบันการเงินอ่ืน ๆ ภาษีที่เก่ียวข้องในชีวิตประจาวัน การพ่ึงพา การแข่งขันทางด้านเศรษฐกิจ
ปรากฏการณ์ต่าง ๆ แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ความแตกต่างของส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาติ โดยใช้
กระบวนการปฏบิ ตั ิ กระบวนการคดิ วิเคราะห์ กระบวนการกลุม่ กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแกป้ ญั หา
เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม
มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่ือสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิต
สาธารณะ สามารถดาเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์
โดยใชห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนาไปประยกุ ต์ใชก้ ับชีวติ ประจาวนั ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ส ๑.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕ , ป.๔/๖ , ป.๔/๗, ป.๔/๘
ส ๑.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ส ๒.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕
ส ๒.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ส ๓.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ส ๓.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒
ส ๕.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ส ๕.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
รวม ๘ มาตรฐาน ๓๐ ตวั ชว้ี ดั
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 44
ส ๑๕๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาฯ ๕ คาอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๕ กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เวลา ๘๐ ช่วั โมง
คาอธบิ ายรายวชิ า
สังเกต ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ อภิปราย สนทนาซักถาม แสดงความคิดเห็น รวบรวมข้อมูล สืบค้น
ข้อมูล สรุปใจความสาคัญเก่ียวกับเรื่องราวพ้ืนฐานเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ความสาคัญของศาสนา ศาสดา และ
คัมภรี ท์ างศาสนาที่ตนนับถือ หลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือ เพื่อเข้าใจในการพัฒนาตนและสังคม ความหมาย
การบริหารจิต และเจริญปัญญา ช่ืนชมการทาความดีของตนเองและบุคคลในสังคม และแนวปฏิบัติในการชื่น
ชม การทาความดีของบุคคลสาคัญกลุ่มเพื่อน ประโยชน์ของการบริหารจิตและเจริญปัญญาของศาสนาท่ีตนนับ
ถอื กระบวนการประชาธิปไตยในการทางานร่วมกันในครอบครัว โรงเรียน ชุมชน การปฏิบัติตน ตามสิทธิ หน้าที่
เสรีภาพในฐานะพลเมืองดีของประเทศ การดาเนินชีวิต ความแตกต่างของวัฒนธรรมในกลุ่มคนในภูมิภาค การ
ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขโครงสร้างการปกครองประเทศ ซึ่งมีทั้ง
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น เพื่อเช่ือมโยงความสัมพันธ์ระหว่าง คนกับการปกครองประเทศ
ความสาคัญในกฎหมายในชีวติ ประจาวัน หน้าทขี่ องผผู้ ลติ และผบู้ รโิ ภค ความหมายของระบบสินเชื่อ ผลดีผลเสีย
ต่อภาวะ การเงิน การเลือกของผู้บริโภค ผลกระทบต่อทรัพยากรที่มีอยู่ ระบบสหกรณ์ การบริหารทางด้าน
เศรษฐกจิ บทบาทการใชเ้ งินในท้องถน่ิ การบริการต่างๆ ของธนาคารและสถาบันการเงินในต่างประเทศ ผู้บริโภค
ผยู้ มื และนกั ธรุ กิจ การจดั หาแหลง่ รายไดข้ องรฐั ความเช่ยี วชาญ ชานาญด้านจานวนปริมาณสินค้ารวมทั้งที่ผลิต
การซื้อมาทางเศรษฐกิจ การใช้แผนที่ในท้องถิ่นต่างๆ ลักษณะความแตกต่าง ผลกระทบของสิ่งแวดล้อมทาง
สงั คม วัฒนธรรม วิถีชวี ิตในภูมิภาคต่าง ๆ ของไทยกับสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ผลกระทบจากการกระทาของ
มนุษย์ท่ีมีต่อส่ิงแวดล้อม การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และรักษาสมดุลในระบบนิเวศน์ โดยใช้กระบวนการ
ปฏบิ ัติ กระบวนการคดิ วิเคราะห์ กระบวนการกลุม่ กระบวนการเผชญิ สถานการณ์และแกป้ ัญหา
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม
มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่ือสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิต
สาธารณะ สามารถดาเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์
โดยใชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนาไปประยุกต์ใชก้ บั ชีวิตประจาวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั
ส ๑.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕ , ป.๕/๖ , ป.๕/๗
ส ๑.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓
ส ๒.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป. ๕/๔
ส ๒.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓
ส.๓.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓
ส ๓.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒
ส ๕.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓
ส ๕.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓
รวม ๘ มาตรฐาน ๒๘ ตวั ช้ีวัด
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 45
ส ๑๖๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาฯ๖ คาอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน
ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๖ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เวลา ๘๐ ช่วั โมง
คาอธบิ ายรายวชิ า
สงั เกต ศกึ ษาคน้ คว้า วิเคราะห์ อภปิ ราย สนทนา ซักถาม แสดงความคิดเห็น รวบรวมข้อมูลสืบค้น ข้อมูล
ความสาคัญหลักธรรมพระรัตนตรัย ไตรสิกขา หลักธรรมโอวาท ๓ การทาความดีของบุคคลในประเทศ การสวด
มนต์ แผ่เมตตาของศาสนาท่ีตนนับถือ สรุปใจความสาคัญเก่ียวกับพุทธประวัติต้ังแต่ปลงอายุสังขารจนถึง
สังเวชนยี สถาน ประวัติศาสดา ข้อคดิ จากประวัตสิ าวก ชาดก เรอ่ื งเลา่ ศาสนกิ ชนตวั อยา่ ง ศาสนพธิ ี สถานท่ีในศา
สนสถาน ศาสนิกชนที่ดี ประโยชน์ของการเข้าร่วมในศาสนพิธี พิธีกรรม กิจกรรมในวันสาคัญทางศาสนา การ
บริหารจติ และเจรญิ ปัญญาวันสาคัญทางศาสนา การกระทาท่ีแสดงถึงคุณลักษณะของการเป็นพลเมืองดีในสังคม
ประชาธิปไตย สิทธิเด็กที่พึงได้รับการคุ้มครองตามสิทธิมนุษยชน บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของตนเอง
บรรทัดฐานทางสังคมและวัฒนธรรม สัญลักษณ์ เอกลักษณ์ ค่านิยม ประเพณี วัฒนธรรมในท้องถ่ิน อานาจ
อธิปไตยและการมีส่วนร่วมในการปกครองระบอบประชาธิปไตย กฎหมายในชีวิตประจาวัน การเลือกใช้
ทรัพยากรท่ีมีผลกระทบ ต่อส่ิงแวดล้อม การเพ่ิมรายได้เงินออมจากการลงทุน สิทธิและการคุ้มครองผู้บริโภค
เศรษฐกิจพอเพยี ง ระบบสหกรณ์ การบริหาร ด้านการผลิต และการพ่ึงพาทางเศรษฐกิจ บทบาทการใช้เงินและ
การบริการด้านการเงินต่างประเทศ การจัดเก็บภาษี การกู้ยืมเงินจากต่างประเทศ แผนที่ชนิดต่างๆ การกระทาท่ี
ส่งผลดีและผลเสยี ต่อส่งิ แวดล้อมทางสังคม วฒั นธรรม รวมท้ังผลกระทบจากการที่มนุษย์เปล่ียนแปลงส่ิงแวดล้อม
ในด้านบวกและด้านลบ การกระทาท่มี ีส่วนชว่ ยแกป้ ญั หา และเสริมสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น โดยใช้กระบวนการ
ปฏบิ ตั ิ กระบวนการคิดวเิ คราะห์ กระบวนการกลมุ่ กระบวนการเผชิญสถานการณแ์ ละแกป้ ัญหา
เพื่อใหเ้ กดิ ความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏบิ ตั ิในการดาเนนิ ชีวิต มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มีคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่ือสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ สามาร ถ
ดาเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้กบั ชวี ิตประจาวนั ได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม
มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด
ส ๑.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๔ , ป.๖/๕ , ป.๖/๖ , ป.๖/๗ , ป.๖/๘ , ป.๖/๙
ส ๑.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๔
ส ๒.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๔ , ป.๖/๕
ส ๒.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓
ส ๓.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓
ส ๓.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒
ส ๕.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒
ส ๕.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓
รวม ๘ มาตรฐาน ๓๑ ตัวชวี้ ัด
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 46
ส ๑๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๑ คาอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เวลา ๔๐ ช่ัวโมง
คาอธิบายรายวชิ า
ศกึ ษาและใช้ปฏิทินในการบอกวนั เดอื น ปี ทใี่ ชใ้ นชวี ิตประจาวัน ซ่ึงมีท้ังระบบสุริยคติและจันทรคติ คาท่ี
แสดงช่วงเวลาเพื่อใชเ้ ลา่ เหตกุ ารณ์ปัจจุบัน วันนี้ เดือนนี้ ตอนเช้า ตอนกลางวัน ตอนเย็น ตอนค่า และเรียงลาดับ
เหตุการณ์ในชีวิตประจาวันตามวันเวลาที่เกิดขึ้น โดยใช้ทักษะการสังเกต การบอกเล่า การเชื่อมโยง เพื่อให้
สามารถใชเ้ วลาตามปฏิทินแสดงเหตกุ ารณ์ในปจั จุบนั และใชค้ าแสดงชว่ งเวลาเรยี งลาดบั เหตกุ ารณท์ ี่เกิดขน้ึ ได้
รู้วิธีสืบค้นประวัติความเป็นมาของตนเองและครอบครัวอย่างง่า ยๆโดยสอบถามผู้เก่ียวข้องและการบอกเล่า
เร่ืองราวที่สืบค้นได้ โดยใช้ทักษะการสอบถาม การรวบรวมข้อมูล การสรุปความ การเล่าเร่ือง เพ่ือฝึกทักษะ
พ้ืนฐานของวิธีการทางประวัติศาสตร์ในการสืบค้นเร่ืองราวจากแหล่งข้อมูล(เช่นบุคคล)และบอกเล่า ข้อเท็จจริงที่
ค้นพบไดอ้ ยา่ งนา่ สนใจ ศกึ ษาการเปล่ียนแปลงของสภาพแวดล้อมสิ่งของเคร่ืองใช้หรือการดาเนินชีวิตของตนเอง
ในสมัย ปัจจุบัน กับสมัยของพ่อแม่ ปู่ย่า ตายายท่ีเป็นรูปธรรมและใกล้ตัวผู้เรียน เตารีด (การรีดผ้าด้วยเตาถ่าน
กับเตาไฟฟ้า) หม้อหุงข้าว (การหุงข้าวที่เช็ดน้าด้วยฟืนหรือถ่านกับหม้อหุงข้าวไฟฟ้า) เกวียนกับรถยนต์ (การ
เดินทาง) ถนน บ้านเรือน การใช้ควายไถนากับรถไถนา รวมท้ังเหตุการณ์สาคัญของครอบครัวที่เกิดขึ้นในอดีตท่ีมี
ผลกระทบต่อตนเองในปัจจุบัน ( การย้ายบ้าน การย้ายโรงเรียน การเล่ือนชั้นเรียน การได้รับรางวัล การสูญเสีย
บคุ คลสาคัญของครอบครวั ) โดยใช้ทกั ษะการสงั เกต การใช้เหตุผล การเปรียบเทียบ การแยกแยะ การยกตัวอย่าง
และการบอกเล่า
เพื่อให้เข้าใจการเปล่ียนแปลงตามกาลเวลาและความสาคัญของอดีตที่มีต่อปัจจุบันและอนาคต สามารถ
ปรับตัวให้เข้ากับวิถีชีวิตปัจจุบันได้อย่างมีประสิทธิภาพศึกษาความหมายและความสาคั ญของสัญลักษณ์ของชาติ
ไทย ได้แก่ ธงชาติ เพลงชาติ เพลงสรรเสริญพระบารมี ภาษาไทย อักษรไทย มารยาทไทย อาหารไทย การแต่ง
กายแบบไทย วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีไทย และการปฏิบัติตนได้ถูกต้องตามกาลเทศะ รวมทั้งรู้จัก
สถานท่ีสาคัญซึ่งเป็นแหล่งวัฒนธรรมในชุมชน ศาสนสถาน ตลาด พิพิธภัณฑ์ และสิ่งที่เป็นความภาคภูมิใจใน
ท้องถิ่น ที่ใกล้ตัวผู้เรียนและเห็นเป็นรูปธรรม โดยใช้ทักษะการสังเกต การแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล การ
อธิบาย การปฏิบัติตนอย่างถูกต้อง เพื่อก่อให้เกิดความรักและความภาคภูมิใจในความเป็นไทย ท้องถ่ิน และ
ประเทศชาติ ภูมิใจในสถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ตระหนักและเห็นคุณค่าที่จะธารงรักษาและสืบ
ทอดต่อไป
มาตรฐานการเรยี นรู/้ ระดบั ช้ัน/ตัวช้ีวดั
ส ๔.๑ ป ๑/๑ , ป ๑/๒ , ป ๑/๓
ส ๔.๒ ป ๑/๑ , ป ๑/๒
ส ๔.๓ ป ๑/๑ , ป ๑/๒ , ป ๑/๓
รวม ๓ มาตรฐาน ๘ ตวั ช้ีวดั
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 47
ส ๑๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๒ คาอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๒ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เวลา ๔๐ ชัว่ โมง
คาอธบิ ายรายวิชา
รู้จกั วันเวลาตามระบบสรุ ยิ คติและจนั ทรคติที่ปรากฏในปฏทิ ินที่แสดงเหตุการณ์สาคัญในอดีตและปัจจุบัน
รวมทัง้ การใช้คาที่แสดงชว่ งเวลาในอดตี ปัจจบุ ัน และอนาคต วนั น้ี เม่ือวานน้ี พร่งุ น,ี้ เดือนน้ี เดือนก่อน เดือน
หน้า, ปีนี้ ปีก่อน ปีหน้า ในการอธิบายเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้น โดยใช้ทักษะการสังเกต การสอบถาม เช่ือมโยง
เรียงลาดับ การเล่าเร่อื ง การรวบรวมขอ้ มูล การอธิบาย เพ่อื ให้สามารถใช้วันเวลาเรียงลาดับเหตุการณ์สาคัญได้
ถูกต้อง ว่าเหตุการณ์ใดเกิดกอ่ น เหตกุ ารณใ์ ดเกดิ หลัง
รวู้ ิธีสืบค้นเหตุการณ์ท่เี กิดขนึ้ ในครอบครวั โดยใชห้ ลักฐานท่ีเก่ียวขอ้ ง ได้แก่ ภาพถ่าย สตู บิ ัตร ทะเบียน
บ้าน เคร่ืองมือเครือ่ งใช้ มาอธบิ ายเร่ืองราวตา่ ง ๆ และวธิ สี บื คน้ ข้อมูลในชมุ ชนอย่างงา่ ย ๆ ในเรื่องเก่ียวกับการ
เปล่ยี นแปลงในวถิ ชี ีวิตของคนในชมุ ชนในด้านต่างๆ จากอดตี ถงึ ปจั จุบนั ทางด้านการประกอบอาชีพ การแต่งกาย
การสอื่ สาร ขนบธรรมเนียมประเพณใี นชมุ ชน เขา้ ใจสาเหตแุ ละผลกระทบของการเปล่ียนแปลงทมี่ ีต่อวิถีชีวิตของ
คนในชุมชน สามารถเรียงลาดับเหตุการณ์ที่สืบค้นได้โดยใช้เส้นเวลา ฝึกทักษะการสอบถาม การสังเกต การ
วิเคราะห์ การอธิบายอย่างมีเหตุมีผล ทาผังความคิดและการจัดนิทรรศกา ร เพื่อให้เข้าใจวิธีการทาง
ประวัติศาสตร์ใน เรื่องเก่ียวกับการใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์สืบค้นเร่ืองราวในอดีต และเข้าใจการ
เปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นตามกาลเวลา อย่างต่อเน่ือง มีความเข้าใจชุมชนที่มีความแตกต่างและสามารถปรับตัวอยู่
ในชีวิตประจาวันได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
ศึกษา สืบค้นประวัติและผลงานของบุคคลที่ทาประโยชน์ต่อท้องถิ่นหรือประเทศชาติ ในด้านการ
สร้างสรรค์วัฒนธรรม /การสร้างความเจริญรุ่งเรืองและความมั่นคงโดยสังเขป รวมทั้งวัฒนธรรมไทย ประเพณี
ไทย และภูมิปัญญาไทยท่ีภาคภูมิใจและควรอนุรักษ์ไว้ การทาความเคารพแบบไทย ประเพณีไทย ศิลปะไทย
ดนตรีไทย โดยใช้ทักษะการสืบค้นการสังเกต การอ่าน การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ การใช้เหตุผล การ
อธบิ าย และการนาเสนอ เพอื่ ให้เห็นคุณค่าและแบบอย่างการกระทาความดีของบรรพบุรุษท่ีได้สร้างประโยชน์ให้
ทอ้ งถ่นิ และประเทศ เกิดความรัก และความภาคภูมิใจในความเป็นไทย วัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาไทย และธารง
ความเปน็ ไทย
มาตรฐานการเรยี นรู้/ระดบั ช้ัน/ตัวชี้วดั
ส ๔.๑ ป ๒/๑ , ป ๒/๒
ส ๔.๒ ป ๒/๑ , ป ๒/๒
ส ๔.๓ ป ๒/๑ , ป ๒/๒
รวม ๓ มาตรฐาน ๖ ตวั ชวี้ ัด
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 48
ส ๑๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๓ คาอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๓ กล่มุ สาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เวลา ๔๐ ชั่วโมง
คาอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาความหมายและที่มาของศักราชท่ีปรากฏในปฏิทิน ได้แก่ พุทธศักราช คริสต์ศักราช
(ถ้าเป็นชาวมุสลิม ให้ศึกษาฮิจเราะห์ศักราชด้วย) วิธีการเทียบคริสต์ศักราชกับพุทธศักราช และใช้ศักราชในการ
บันทึกเหตุการณ์สาคัญท่ีเก่ียวข้องกับตนเองและครอบครัว ปีเกิดของผู้เรียน เหตุการณ์สาคัญของตนเอง และ
ครอบครัว โดยใช้ทักษะการเปรียบเทียบ การคานวณ การเช่ือมโยง การอธิบาย เพื่อให้มีพื้นฐานในการศึกษา
เอกสารท่ีแสดงเหตุการณ์ตามกาลเวลา สามารถเรียง ลาดับเหตุการณ์ได้ถูกต้อง ว่าเหตุการณ์ใดเกิดก่อน
เหตุการณใ์ ดเกิดหลังอันเปน็ ทกั ษะทจี่ าเป็นในการศึกษาประวัตศิ าสตร์
รู้วิธีสืบค้นเหตุการณ์สาคัญของโรงเรียนและชุมชนโดยใช้หลักฐานและแหล่งข้อมูลท่ีเก่ียวข้อง รูปภาพ
แผนผังโรงเรียน แผนที่ชุมชน ห้องสมุดโรงเรียน แหล่งโบราณคดี – ประวัติศาสตร์ในท้องถ่ิน สามารถใช้เส้น
เวลา (Timeline) ลาดับเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นในโรงเรียนและชุมชน โดยใช้ทักษะการสารวจ การสังเกต การ
สอบถาม การอ่าน การฟัง การเล่าเร่ือง การสรุปความ เพื่อฝึกทักษะพ้ืนฐานของวิธีการทางประวัติศาสตร์ใน
การสบื คน้ เรือ่ งราวรอบตัวอยา่ งงา่ ย ๆ โดยการใช้หลักฐานและแหลง่ ข้อมูลท่เี กี่ยวขอ้ ง สามารถนาเสนอเร่ืองราวที่
ค้นพบไดต้ ามลาดับเวลา
ศึกษาปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการตั้งถ่ินฐานและพัฒนาการของชุมชน ปัจจัยท่ีทาให้เกิดวัฒนธรรมและ
ประเพณใี นชุมชน ซึ่งประกอบดว้ ย ปัจจัยทางภูมศิ าสตร์( ภูมิประเทศ ภูมอิ ากาศ ทรัพยากร) และปัจจัยทางสังคม
(ความเจริญทางเทคโนโลยี เช้ือชาติ ศาสนา ความเช่ือ การคมนาคม ความปลอดภัย ) ศึกษาและเปรียบเทียบ
ความเหมอื นและความแตกต่าง ของขนบธรรมเนยี มประเพณแี ละวัฒนธรรมของชุมชนตนเอง และชุมชนใกล้เคียง
ในเร่ืองความเช่ือและการนับถือศาสนา อาหาร ภาษาถ่ิน การแต่งกาย โดยใช้ทักษะการอ่าน การสอบถาม การ
สังเกต การสารวจ การฟัง การสรุปความ เพ่ือให้เกิดความเข้าใจและภูมิใจในชุมชนของตนเอง ยอมรับความ
แตกต่างทางวัฒนธรรม เข้าใจพัฒนาการของชุมชน สามารถดาเนินชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างสันติสุข ร่วม
อนรุ ักษส์ บื สานขนบธรรมเนยี มประเพณี และวฒั นธรรมไทย
ศึกษาพระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ โดยสังเขปของพระมหากษัตริย์ผู้สถาปนาอาณาจักรสุโขทัย
อยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ ตามลาดบั ได้แก่ พ่อขุนศรอี นิ ทราทิตย์ สมเดจ็ พระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจ้าอู่ทอง)
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ศึกษาพระราชประวัติและ
พระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าหัวอยู่ภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ
พระบรมราชินีนาถโดยสังเขป และศึกษาวีรกรรมของบรรพบุรุษไทยที่มีส่วนปกป้องประเทศชาติ ได้แก่ สมเด็จ
พระนเรศวรมหาราช ท้าวเทพกระษัตรี – ท้าวศรีสุนทร ชาวบ้านบางระจัน พระยาพิชัยดาบหัก ท้าวสุรนารี เป็น
ต้น โดยใช้ทักษะการอ่าน และสอบถาม การฟัง การสรุปความ การเขียน การเล่าเร่ือง เพื่อให้เข้าใจความเป็นมา
ของชาติไทย เกดิ ความรกั ความภูมิใจและเห็นแบบอยา่ งการเสยี สละเพอื่ ชาติ และธารงความเป็นไทย
มาตรฐานการเรียนร/ู้ ระดบั ช้ัน/ตัวชว้ี ดั
ส ๔.๑ ป ๓/๑, ป ๓/๒, ป ๓/๓
ส ๔.๒ ป ๓/๑, ป ๓/๒
ส ๔.๓ ป ๓/๑, ป ๓/๒, ป ๓/๓
รวม ๓ มาตรฐาน ๘ ตัวชี้วัด
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 49
ส ๑๔๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์๔ คาอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๔ กลุ่มสาระการเรียนรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เวลา ๔๐ ช่วั โมง
คาอธิบายรายวชิ า
ศึกษาความหมาย วิธีการนับ และการใช้ช่วงเวลาเป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ เกณฑ์การ
แบ่งยุคสมัยในทางประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติที่แบ่งเป็นสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์ รวมท้ัง
ช่วงสมัยในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทย สมัยก่อนสุโขทัย สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี และสมัย
รัตนโกสินทร์ ตัวอย่างการใช้ช่วงเวลาในเอกสารต่าง ๆ โดยใช้ทักษะการอ่าน การสารวจ การวิเคราะห์ การ
คานวณ เพอ่ื ใหใ้ ช้ช่วงเวลาในการบอกเล่าเรือ่ งราวไดถ้ กู ตอ้ ง และเข้าใจเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนตามช่วงเวลาท่ีปรากฏ
ในเอกสารทางประวตั ิศาสตร์
ศกึ ษาลักษณะสาคัญ และเกณฑก์ ารจาแนกหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ที่ใช้ในการศึกษาความเป็นมาของ
ท้องถิ่น อย่างง่าย ๆ ตวั อยา่ งของหลักฐานท่พี บในท้องถ่นิ ท้ัง หลกั ฐานช้ันตน้ กบั ชั้นรอง หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์
อักษร กับไม่เป็น ลายลักษณ์อักษร โดยใช้ทักษะการสารวจ การวิเคราะห์ การตรวจสอบข้อมูล การจาแนก
การตคี วาม เพอื่ ฝกึ ทกั ษะการสบื ค้นขอ้ มูลดว้ ยวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์
ใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาปัจจัย การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของมนุษยชาติใน
สมัยก่อนประวตั ศิ าสตร์ และสมัยประวัติศาสตร์ในดินแดนไทยโดยสังเขป การก่อตั้งอาณาจักรโบราณในดินแดน
ไทย ได้แก่ ทวารวดี ศรีวิชัย ตามพรลิงค์ เป็นต้น โดยใช้ทักษะการสารวจ การวิเคราะห์ การตีความ การสรุป
ความ เพ่ือใหเ้ ข้าใจพฒั นาการของมนุษยชาตทิ ม่ี ีการเปล่ยี นแปลงอย่างต่อเนอ่ื งจากอดตี จนถึงปัจจบุ นั
ศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์เปน็ มาของชาติไทยในสมัยสโุ ขทัยโดยสังเขป ในเร่อื งเก่ียวกับการสถาปนาอาณาจักร
พัฒนาการทางการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ ประวัติและผลงานของบุคคลสาคัญ ได้แก่ พ่อขุนศรีอินทรา
ทิตย์ พ่อขุนรามคาแหงมหาราช พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พระยาลิไทย) และภูมิปัญญาไทยในสมัยสุโขทัยที่น่า
ภาคภูมิใจ ซึ่งเป็นผลให้อุทยานประวัติศาสตร์ในสุโขทัยและศรีสัชนาลัยได้รับการยกย่องเป็นมรดกโลก โดยใช้
ทักษะการอ่าน การสารวจ การสืบค้น การวิเคราะห์การตีความ เพื่อเข้าใจความเป็นมาของชาติไทยในสมัย
สุโขทัย รวมท้ังวัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาไทย และบุคคลสาคัญในสมัยสุโขทัย เกิดความรักและความภูมิใจใน
ความเป็นไทย ตระหนักถึงความพากเพียรพยายามของบรรพบุรุษไทยที่ได้ปกป้อง และสร้างสรรค์ความเจริญให้
บา้ นเมือง ตกทอดเปน็ มรดกทางวฒั นธรรมสืบต่อถงึ ปจั จบุ นั
มาตรฐานการเรยี นรู้/ระดับช้ัน/ตัวช้วี ัด
ส ๔.๑ ป ๔/๑, ป ๔/๒, ป ๔/๓
ส ๔.๒ ป ๔/๑, ป ๔/๒
ส ๔.๓ ป ๔/๑, ป ๔/๒, ป ๔/๓
รวม ๓ มาตรฐาน ๘ ตัวช้วี ัด
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 50
ส ๑๕๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์๕ คาอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน
ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๕ กลุม่ สาระการเรียนร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
เวลา ๔๐ ช่ัวโมง
สืบคน้ ความเปน็ มาของท้องถิ่นโดยใช้หลักฐานหลากหลาย ด้วยการต้ังประเด็นคาถามทางประวัติศาสตร์
ท่ีเก่ียวข้องกับท้องถิ่น ความเป็นมาของช่ือหมู่บ้าน ช่ือตาบล ช่ือถนน ความเป็นมาของสถานที่สาคัญ ความ
เป็นมาของขนบธรรมเนียมประเพณีในท้องถ่ิน รู้จักแหล่งข้อมูลหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ที่อยู่ในท้องถ่ิน
สามารถรวบรวมข้อมูลจากหลักฐานท่ีเกี่ยวข้อง รู้จักวิเคราะห์ตรวจสอบข้อมูลอย่างง่ายๆ เข้าใจความแตกต่าง
ระหวา่ งความจริงกับข้อเท็จจริงท่ีปรากฏในข้อมูลจากหลักฐานต่าง ๆ แยกแยะความคิดเห็นกับข้อเท็จจริงท่ีอยู่ใน
ข้อมลู ได้ โดยใช้ทกั ษะการสังเกต การสอบถาม การสารวจ การเปรียบเทยี บ การวิเคราะห์ การเชื่อมโยง และ
การสงั เคราะห์อยา่ งงา่ ย ๆ เพือ่ ฝกึ ฝนทักษะวิธีการทางประวัติศาสตร์วิเคราะห์เหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนในท้องถิ่นอย่าง
เปน็ ระบบ สามารถใช้ข้อมูลข่าวสารได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
ศึกษาการเข้ามาและอิทธิพลของอารยธรรมอินเดีย และจีน ในดินแดนไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เฉยี งใต้โดยสงั เขป ไดแ้ ก่ การปกครอง การนบั ถือศาสนา ความเชื่อ วัฒนธรรม ประเพณี ภาษา อาหาร และ
การแต่งกาย ศึกษาอิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติ ทั้งตะวันตกและตะวันออกที่มีต่อสังคมไทยในปัจจุบัน
โดยสังเขป โดยใช้ทักษะการอ่าน การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การเปรียบเทียบ การวิเคราะห์ การเชื่อมโยง
เพ่ือให้เกิดความเข้าใจในวัฒนธรรมไทยในสังคมปัจจุบัน และวัฒนธรรมของประเทศเพ่ือนบ้านในภูมิภาคเอเชีย
ตะวนั ออกเฉียงใตท้ ่ีมที ้งั ความคลา้ ยคลึงและความแตกต่าง เพ่ือให้เกิดการยอมรับในความแตกต่างทางวัฒนธรรม
และอย่รู ่วมกันไดอ้ ย่างสนั ติสุข
ศึกษาพัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา และธนบุรี ในเร่ืองเกี่ยวกับการสถาปนาอาณาจักร ปัจจัยท่ี
ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและการปกครอง พัฒนาการทางการเมืองการปกครอง และเศรษฐกิจ
โดยสังเขป ประวัติและผลงานบุคคลสาคัญในสมัยอยุธยาและธนบุรี ได้แก่ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ สมเด็จ
พระบรมไตรโลกนาถ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ชาวบ้านบางระจัน สมเด็จพระ
เจ้าตากสินมหาราช และภูมิปัญญาไทยในสมัยอยุธยา และธนบุรี ที่น่าภาคภูมิใจ ควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้ ซ่ึง
เป็นผลให้พระนครศรีอยุธยาได้รับการยกย่องเป็นมรดกโลก ได้แก่ ทางด้าน ศิลปกรรม วรรณกรรม และการค้า
โดยใช้ทักษะการอ่าน การสืบค้นข้อมูล การเชื่อมโยง การวิเคราะห์ การอธิบาย การสรุปความ การเรียงความ
เพ่ือให้เกิดความรักและภาคภูมิใจในความเป็นชาติไทย ตระหนักและเห็นความสาคัญที่จะธารงรักษาความเป็น
ไทยสืบต่อไป
มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ระดับชั้น/ตวั ชี้วดั
ส ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
ส ๔.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ส ๔.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป ๕/๓, ป.๕/๔
รวม ๓ มาตรฐาน ๙ ตัวชี้วดั