ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 101
กจิ กรรมแนะแนว
วัตถปุ ระสงค์
๑.เพือ่ ผ้เู รียนค้นพบความถนดั ความสามารถ ความสนใจของตนเอง รกั ละเหน็ คุณคา่ ในตนเองและผูอ้ ่ืน
๒.เพ่อื ใหผ้ ูเ้ รยี นแสวงหาความรู้จากข้อมูล ขา่ วสาร แหล่งเรียนรู้ ท้ังดา้ นการศกึ ษา อาชีพส่วนตัว สงั คม
๓.เพือ่ นาไปใชใ้ นการวางแผน เลอื กแนวทางการศึกษาอาชีพได้อยา่ งเหมาะสมสอดคล้องกับศักยภาพของ
ตนเอง
๔.เพอ่ื ให้ผู้เรยี นได้พัฒนาบุคลิกภาพ และรบั ตวั อยใู่ นสังคมได้อยา่ งมีความสขุ
๕.เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รียนมีความรู้ มีทักษะ มีความคดิ สรา้ งสรรค์ ในงานอาชีพและมีเจตคตทิ ด่ี ตี ่ออาชพี สจุ รติ
๖.เพอ่ื ให้ผ้เู รยี นมีค่านิยมท่ดี ีงามในการดาเนินชวี ิต สรา้ งเสริมวินัย คณุ ธรรมและจริยธรรมแก่นักเรยี น
๗.เพอื่ ให้ผู้เรยี นมีจติ สานึกในการรบั ผิดชอบต่อตนเอง ครอบครวั สงั คม และประเทศชาติ
แนวการจดั กิจกรรม โรงเรียนบ้านแก้งยาง ไดจ้ ดั กจิ กรรมแนะแนวเพื่อชว่ ยเหลือและพัฒนาผู้เรยี น ดงั น้ี
จดั กิจกรรมเพ่อื ใหค้ รไู ด้รู้จักและช่วยเหลือผู้เรียนมากข้ึน โดยใช้กระบวนการทางจิตวิทยา การจัดบริการสนเทศ
โดยให้มีเอกสารเพ่ือใช้ในการสารวจข้อมูลเก่ียวกับตัวผู้เรียน ด้วยการสังเกต สัมภาษณ์ การใช้แบบสอบถาม
การเขียนประวตั ิ การพบผ้ปู กครองก่อนและระหว่างเรียน การเยี่ยมบ้านนักเรียน การให้ความช่วยเหลือผู้เรียน
เร่ืองสุขภาพจิต เศรษฐกิจ การจัดทาระเบียนสะสม สมุดรายงานประจาตัวนักเรียน และบัตรสุขภาพ การจัด
กจิ กรรมพัฒนาวฒุ ิภาวะทางอารมณ์ โดยทาแบบทดสอบเพ่ือรู้จักและเข้าใจตนเอง มีทักษะในการตัดสินใจ การ
ปรับตัว การวางแผนเพื่อเลือกศึกษาต่อ เลือกอาชีพ การจัดบริการให้คาปรึกษาแก่ผู้เรียนรายบุคคล และราย
กลมุ่ ในดา้ นการศึกษา อาชพี และส่วนตัว โดยมีผใู้ ห้คาปรกึ ษาท่ีมีคุณวุฒิ และมีความเช่ียวชาญในเร่ืองการให้
คาปรึกษา ตลอดจนมีห้องให้คาปรึกษาท่ีเหมาะสม ช่วยเหลือผู้เรียนที่ประสบปัญหาด้านการเงิน โดยการให้
ทุนการศึกษาแกผ่ ้เู รียนและตดิ ตามเก็บข้อมลู ของนักเรยี นทีส่ าเร็จการศึกษา
กิจกรรมนักเรียน
๑. กจิ กรรมลกู เสือ
กจิ กรรมลูกเสือ - เนตรนารี
ผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑-๖ ทุกคน ได้ฝึกอบรมวิชาลูกเสือ - เนตรนารี เพื่อส่งเสริม
หลักการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ส่งเสริมความสามัคคี มีวินัย และ
บาเพญ็ ประโยชน์ต่อสังคม โดยดาเนนิ การจัดกิจกรรมตามขอ้ กาหนดของคณะกรรมการลกู เสอื แห่งชาติ
วัตถปุ ระสงค์
พระราชบัญญตั ลิ กู เสอื พ.ศ.๒๕๕๑ มาตรา ๘ ไดก้ าหนดวตั ถปุ ระสงค์ของการฝกึ อบรม
๑.เพ่ือพัฒนาลูกเสือท้ังทางกาย สติปัญญา จิตใจ และศีลธรรมให้เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ
และช่วยสร้างสรรคส์ ังคม
๒.เพ่ือให้เกิดความสามัคคี และความเจริญก้าวหน้า ท้ังนี้เพ่ือความสงบสุข และความมั่งคงของ
ประเทศชาตติ ามแนวทางดงั ตอ่ ไปนี้
-ใหม้ ีนิสัยในการสังเกต จดจา เชื่อฟัง และพึ่งตนเอง
-ใหม้ คี วามซ่ือสัตย์สุจริต มีระเบยี บวนิ ยั และเห็นอกเหน็ ใจผอู้ ื่น
-ให้ร้จู กั บาเพ็ญตนเพ่ือสาธารณประโยชน์
-ให้รู้จกั ทาการฝมี ือและฝึกฝนการทากิจกรรมต่างๆตามความเหมาะสม
-ให้รูจ้ กั รกั ษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วฒั นธรรม และความม่ังคงชองชาติ
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 102
แนวการจัดกจิ กรรม
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๑-๓
เปิดประชุมกอง ดาเนินการตามกระบานการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมให้ศึกษาวิเคราะห์ วางแผน
ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตามมาตรฐาน โดยเนน้ ระบบหมู่ สรุปผลการปฏบิ ัติกจิ กรรม ปดิ ประชมุ กอง โดยให้ผู้เรียนศึกษา
และฝกึ ปฏบิ ัติดงั น้ี
-เตรยี มลูกเสอื สารอง นิยายเร่ือเมาคลี ประวัติการเร่มิ กิจกรรมลูกเสือสารอง การทาความเคารพเปน็
หมู่ (แกรนด์ฮาวล)์ การทาความเคารพเปน็ รายบุคคล การจบั มอื ซา้ ย ระเบยี บแถวเบ้ืองตน้ คาปฏิญาณ กฎ
และคติพจนข์ องลกู เสือสารอง
-ลกู เสือสารองดาวดวงที่ ๑ , ๒ และ ๓ อนามัย ความสามารถเชิงทักษะ การสารวจ การคน้ หา
ธรรมชาติ ความปลอดภยั บริการ ธง และประเทศตา่ งๆ การฝมี อื กจิ กรรมกลางแจ้ง การบนั เทงิ การผกู
เงื่อน คาปฏญิ าณ และกฎของลกู เสือสารองโดยใชก้ ระบานการทางาน กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการ
กลุ่ม กระบวนการจัดการ กระบวนการคดิ ริเร่ิม สร้างสรรค์ กระบวนการฝึกปฏิบัติ ทางลูกเสือ กระบวนการ
ทางเทคโนโลยี และภมู ปิ ัญญาท้องถิ่นได้อย่างเหมาะสม
-เพือ่ ให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในกจิ กรรมลูกเสอื สามารถปฏิบัตติ ามคาปฏญิ าณ กฎ และคติพจนข์ อง
ลกู เสอื สารอง มนี ิสัยในการสังเกต จดจา เชื่อฟัง และพึง่ ตนเอง ซอ่ื สัตย์ สจุ รติ มรี ะเบยี บวนิ ัย และเห็นอก
เหน็ ใจผู้อื่น บาเพ็ญตนเพ่ือสาธารณประโยชน์ รูจ้ ักทาการฝีมอื พัฒนากาย จิตใจ และศีลธรรม ทง้ั น้ีโดยไม่
เกยี่ วขอ้ งกับลัทธทิ างการเมืองใดๆ สนใจและอนุรักษธ์ รรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม นาไปใช้ในชวี ติ ประจาวันได้อย่าง
มปี ระสิทธภิ าพ
กิจกรรมลกู เสือ - เนตรนารี ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔-๖
-เปดิ ประชุมกอง ดาเนนิ การตามกระบวนการของลกู เสือ และจดั กิจกรรมใหศ้ ึกษา วิเคราะห์ วางแผน
ปฏิบัติกจิ กรรมตามมาตรฐาน โดยเนน้ ระบบหมู่ สรุปการปฏิบัติกิจกรรม ปดิ ประชุมกอง โดยใหผ้ ู้เรยี นศึกษา
และปฏิบตั ิในเรื่อง
-ลูกเสอื ตรี ความรเู้ ก่ียวกบั ขบวนการลูกเสอื คาปฏิญาณและกฎของลูกเสือสามัญ กิจกรรมกลางแจง้
ระเบยี บแถว
-ลกู เสือโท การรูจ้ กั ดแู ลตนเอง การชว่ ยเหลือผอู้ ่ืน การเดนิ ทางไปยังสถานท่ีต่างๆ ทักษะทางวิชา
ลกู เสอื งานอดิเรกและเร่อื ท่ีน่าสนใจ คาปฏิญาณ และกฎของลูกเสือ ระเบียบแถว
-ลูกเสือเอก การพึ่งพาตนเอง การบรกิ าร การผจญภยั วิชาการของลกู เสอื ระเบียบแถว โดยใช้
กระบวนการทางาน กระบวนการแก้ปัญหา ระบวนการกล่มุ กระบวนการจดั การ กระบวนการคดิ รเิ ริ่ม
สร้างสรรค์ กระบวนการฝกึ ปฏิบตั ิทางลูกเสอื กระบวนการทางเทคโนโลยี และภมู ิปญั ญาท้องถิ่นได้อย่าง
เหมาะสม
-เพื่อให้มีความรคู้ วามเขา้ ใจในกิจกรรมลกู เสือ สามารถปฏบิ ัตติ ามคาปฏญิ าณ กฎ และคติพจนข์ อง
ลูกเสือสามญั มีนสิ ัยในการสังเกต จดจา เชื่อฟัง และพึง่ ตนเอง ซ่ือสตั ย์ สุจริต มีระเบยี บวินัย และเห็นอก
เห็นใจผอู้ น่ื บาเพญ็ ตนเพื่อสารธารณประโยชน์ รจู้ ักทาการฝมี อื พัฒนากาย จิตใจ และศีลธรรม ทงั้ นีโ้ ดยไม่
เกย่ี วข้องกับลทั ธิทางการเมืองใดๆ สนใจและอนรุ กั ษธ์ รรมชาติและสิง่ แวดล้อม และนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ได้
อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
หมายเหตุ ผ้เู รยี นไดป้ ฏบิ ัติกิจกรรม และผา่ นการทดสอบแลว้ จะไดร้ บั เคร่ืองหมายลกู เสอื ตรี ลูกเสอื
โท และลกู เสอื เอก
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 103
กิจกรรมชุมนมุ
วัตถปุ ระสงค์
๑.เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนได้ปฏิบตั กิ จิ กรรมตามความสนใจ ความถนัด และความต้องการของตน
๒.เพือ่ ใหผ้ ู้เรยี นได้พัฒนาความรู้ ความสามารถด้านการคิดวเิ คราะห์ สังเคราะห์ ให้เกิดประสบการณ์ท้งั
ทางวชิ าการและวิชาชีพตามศักยภาพ
๓.เพือ่ ส่งเสรมิ ให้ผูเ้ รยี นใช้เวลาให้เกดิ ประโยชน์ต่อตนเองและสว่ นรวม
๔.เพ่อื ใหผ้ เู้ รยี นทางานรว่ มกับผอู้ ่ืน ได้ตามวถิ ปี ระชาธิปไตย
แนวการจัดกิจกรรม
การจัดกิจกรรมตามความสนใจ (ชุมนุม) ผู้เรียนสามารถเลือกเข้าเป็นสมาชิกชมรม วางแผนการดาเนิน
กจิ กรรมรว่ มกนั โดยมชี มรมท่หี ลากหลาย เหมาะสมกับเพศ วัย และความสนใจของผู้เรียน ประกอบด้วยกิจกรรม
ด้านคุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมประชาธิปไตย ส่งเสริมการเรียนรู้ และค่าย
วชิ าการ การศึกษาดูงาน การฝกึ ปฏิบตั ิ การบรรยายพเิ ศษดงั ตัวอย่างพอสังเขปต่อไปน้ี
-กจิ กรรมพฒั นาวุฒภิ าวะทางอารมณ์ ศีลธรรมและจรยิ ธรรม จัดสอนจริยธรรมในหอ้ งเรียน จดั ใหม้ กี าร
ปฏิบตั ิกจิ กรรมเนื่องในวันสาคัญทั้งทางชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ โดยผูเ้ รียนมีสว่ นรว่ มในการจัดกิจกรรมทง้ั ใน
ด้านวัฒนธรรม ประเพณี กฬี า และศิลปะ
-กจิ กรรมพัฒนาทักษะชีวติ จัดกจิ กรรมแขง่ ขันกีฬาสีทุกช่วงชั้น โดยผ้เู รียนไดฝ้ กึ ทกั ษะการทางาน และ
การแก้ปัญหาทกุ ขน้ั ตอน
-กิจกรรมสง่ เสริมนสิ ยั รักการทางาน จดั กจิ กรรมวนั วชิ าการโดยผ้เู รยี นมีโอกาสปฏิบัตจิ ริง และฝึกทักษะ
การจัดการ
-กจิ กรรมเพ่ืออนรุ ักษส์ งิ่ แวดล้อมและวัฒนธรรม โดยจัดกิจกรรมสบื สานวฒั นธรรมไทย เช่น ประเพณี
ไหวค้ รู ประเพณีลอยกระทง
-กิจกรรมส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย จัดให้มีการเลือกคณะกรรมการนักเรียน โดยให้นา
กระบวนการประชาธปิ ไตยไปใช้ในการร่วมวางแผนดาเนนิ งานพฒั นาโรงเรียน
-กิจกรรมคนดีของสงั คม จัดให้มีการบรรยายให้ความรู้ เพื่อป้องกนั ปัญหาโรคติดต่อร้ายแรง ปัญหายา
เสพตดิ ปัญหาวัยร่นุ ใหค้ วามรเู้ พ่ือปลูกฝังใหเ้ ป็นสภุ าพบรุ ษุ สุภาพสตรี
-กิจกรรมสง่ เสรมิ การเรียนรู้ โดยจัดแหล่งเรียนรู้ ได้แก่ หอ้ งสมุด หอ้ งปฏิบัตกิ ารทางภาษา
หอ้ งปฏิบัตกิ ารทางวทิ ยาศาสตร์ หอ้ งเทคโนโลยสี ารสนเทศ
-กิจกรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพและอนามยั ใหบ้ ริการห้องพยาบาล มบี รกิ ารให้ความรแู้ กผ่ ูเ้ รยี น เพอื่ ป้องกนั โรค
ระบาดอย่างทันเหตุการณ์
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 104
กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์
วตั ถปุ ระสงค์
๑.เพื่อให้ผเู้ รียนบาเพญ็ ตนใหเ้ ป็นประโยชนต์ อ่ ครอบครวั โรงเรียน ชุมชน และประเทศชาติ
๒พ่ือใหผ้ ้เู รยี นออกแบบกจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารประโยชนอ์ ย่างสร้างสรรค์ตามความถนัดและความ
สนใจในลกั ษณะอาสาสมัคร
๓.เพื่อใหผ้ เู้ รียนพฒั นาศักยภาพในการจัดกจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชนไ์ ด้อยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ
เพ่ือให้ผเู้ รยี นปฏิบตั ิกิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชนจ์ นเกดิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรมตามคุณลกั ษณะอนั พงึ
ประสงค์
๔.เพอ่ื ให้ผู้เรียนมีจิตสาธารณะและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
แนวการจดั กิจกรรม
การจัดกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ทาประโยชน์ตาม
ความสามารถ ความถนัดและความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความ
เสียสละต่อสังคม มีจิตใจมุ่งทาประโยชน์ต่อครอบครัว ชุมชนและสังคมกิจกรรมสาคัญ ได้แก่ กิจกรรมบาเพ็ญ
ประโยชน์ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม กิจกรรมดารงรักษา สืบสาน ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม กิจกรรมพัฒนา
นวตั กรรมและเทคโนโลยี
เ ว ล า เ รี ย น ส า ห รั บ กิ จ ก ร ร ม เ พ่ื อ สั ง ค ม แ ล ะ ส า ธ า ร ณ ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ส่ ว น กิ จ ก ร ร ม เ พื่ อ สั ง ค ม แ ล ะ
สาธารณประโยชน์ จดั สรรเวลาใหผ้ ู้เรียนระดบั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑-๖ รวม ๖ ปี จานวน ๖๐ ช่ัวโมง(เฉล่ียปลี ะ ๑๐
ช่วั โมง)
การจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ในระดับประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ เป็นการจัดกิจกรรม
ภายในเวลาเรียน โดยให้ผู้เรียนรายงานแสดงกรเข้าร่วมกิจกรรมลงในสมุดบันทึก และมีผู้รับรองผลการเข้าร่วม
กจิ กรรมทุกครัง้
แนวทางการประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน
โรงเรยี นบา้ นแก้งยาง กาหนดแนวทางในการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี นดังนี้
๑. การประเมินกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียนรายกจิ กรรม มแี นวทางปฏิบัติดงั น้ี
๑.๑ การตรวจสอบเวลาเขา้ ร่วมกจิ กรรมของผเู้ รยี น ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียน
ตลอดปีการศึกษา
๑.๒ ประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน/ชิ้นงานของผู้เรียน
ผเู้ รยี นต้องได้รบั การประเมนิ ทุกผลการเรียนรู้ และผ่านทุกผลการเรียนรู้ โดยแต่ละผลการเรียนรู้ผ่านไม่น้อยกว่า
ร้อยละ ๕๐ หรือมคี ุณภาพในระดับ ๑ ขึ้นไป
๑.๓ ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน/ชิ้นงานของผู้เรียนตาม
เกณฑ์ ข้อ ๑.๑ และข้อ ๑.๒ ถือว่าผู้เรียนมีผลการเรียน “ผ” ผ่านการประเมินกิจกรรมและนาผลการ
ประเมินไปบันทึกในระเบยี นแสดงผลการเรยี น
๑.๔ ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การปฏิบัติกิจกรรมและผลงานไม่เป็นไปตาม
เกณฑ์ ข้อ ๑.๑ และข้อ ๑.๒ ถือว่าผู้เรียนมีผลการเรียน “มผ” โรงเรียนต้องจัดซ่อมเสริมให้ผู้เรียนทา
กิจกรรมในสว่ นที่ผเู้ รยี นไม่ได้เขา้ ร่วมหรือไม่ได้ทาจนครบถ้วน แล้วจึงเปล่ียนผลการเรียนจาก “มผ” เป็น “ผ”
และนาผลการประเมินไปบนั ทกึ ในระเบยี นแสดงผลการเรียน
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 105
๒. การประเมินกิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี นเพอื่ การตดั สิน มแี นวปฏบิ ัติดังนี้
๒.๑ กาหนดใหผ้ ู้รบั ผิดชอบในการรวบรวมขอ้ มลู เก่ียวกบั การร่วมกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี นของ
ผู้เรยี นทุกคนตลอดระดับการศึกษา
๒.๒ ผู้รบั ผดิ ชอบสรุปและตัดสนิ การรว่ มกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนของผ้เู รยี นเปน็ รายบุคคลตาม
เกณฑ์ทโี่ รงเรียนกาหนด ผเู้ รียนจะต้องผา่ นกิจกรรม ๓ กิจกรรมสาคัญดงั น้ี
๒.๒.๑ กจิ กรรมแนะแนว
๒.๒.๒ กิจกรรมนกั เรียน ได้แก่
๑. กจิ กรรมลูกเสอื เนตรนารี
๒. กจิ กรรมชุมนมุ
๒.๒.๓ กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์
๒.๓ การนาเสนอผลการประเมนิ ตอ่ คณะกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรแู้ ละกิจกรรมพฒั นา
ผเู้ รยี น
๒.๔ เสนอผ้บู รหิ ารโรงเรียนพิจารณาอนุมัตผิ ลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียนผา่ นเกณฑ์การ
จบแตล่ ะระดับการศกึ ษา
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 106
คาอธบิ ายรายวิชา
กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 107
คาอธิบายรายวิชากจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น กจิ กรรมแนะแนว
ช้ันประถมศึกษาปที ี ๑ - ๖ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง/ปี
คาอธิบายรายวชิ า
รจู้ กั และเขา้ ใจตนเอง รกั และเห็นคุณค่าในตนเองและผอู้ นื่ มวี ุฒภิ าวะทางอารมณ์ มีเจตคติท่ีดีต่อการมี
ชีวิตที่ดีมีคุณภาพ มีทักษะในการดาเนินชีวิต สามารถปรับตัวให้ดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข รู้จัก
ตนเองในทุกด้าน รู้ความถนัด ความสนใจ และบุคลิกภาพของตนเอง รู้และเข้าใจโลกของงานอาชีพอย่าง
หลากหลาย มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจรติ รู้ข้อมูลอาชีพ สามารถเลือกตนแนวทางในการประกอบอาชีพได้อย่าง
เหมาะสม มีการเตรียมตัวสู่อาชีพ สามารถวางแผนเพ่ือประกอบอาชีพตามท่ีตนเองมีความถนัดและสนใจ
มีคุณลักษณะพ้ืนฐานท่ีจาเป็นในการประกอบอาชีพและพัฒน างานให้ประสบความสาเร็จเพื่อสร้างฐานะทาง
เศรษฐกิจให้กับตนเอง ครอบครวั ชมุ ชนและประเทศชาติ
พฒั นาตนเองในดา้ นการเรยี นอย่างเต็มศักยภาพ รจู้ กั แสวงหาความรู้ใฝ่รใู้ ฝ่เรียนให้เป็นคนดีมีความรู้และ
ทักษะทางวิชาการ รู้จักแสวงหาและใช้ข้อมูลประกอบการวางแผนการเรียนหรือกา รศึกษาต่อได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ มีวิธีการเรียนรู้ มีทักษะการคิด แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ คิดเป็น ทาเป็น มีคุณธรรม
จริยธรรม เอื้ออาทรและสมานฉนั ท์ เพ่อื ดารงชวี ติ อยู่รวมกันอยา่ งสงบสุขตามวิถชี ีวติ เศรษฐกิจพอเพยี ง
เพือ่ ใหผ้ ้เู รียนเกิดการเรียนรู้ รจู้ ัก เข้าใจ รักและเหน็ คุณคา่ ในตนเองและผู้อ่นื เกดิ การเรียนรู้สามารถวาง
แผนการเรียนรู้ อาชีพ รวมทั้งการดาเนินชีวิตและมีทักษะทางสังคม เกิดการเรียนรู้สามารถปรับตัวได้อย่าง
เหมาะสม อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข พึ่งตนเองได้มีทักษะในการเลือกแนวทางการศึกษา การงานและ
อาชพี ชวี ติ และสังคม มีสุขภาพจติ ทดี่ แี ละจิตสานึกในการทาประโยชน์ต่อครอบครัว สังคมและประเทศชาติตาม
หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ผลการเรียนรู้
๑.เพื่อใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การเรียนรู้ รู้จัก เข้าใจ รัก และเห็นคณุ คา่ ในตนเองและผู้อ่นื
๒.เพ่ือให้ผเู้ รียนเกิดการเรยี นรู้ สามารถวางแผนการเรยี น การศกึ ษาต่อ อาชีพ รวมทงั้ การดาเนนิ ชีวติ
และมที ักษะทางสังคม
๓.เพื่อใหผ้ เู้ รยี นเกิดการเรียนรู้ สามารถปรับตัวได้อยา่ งเหมาะสม และอยู่ร่วมกบั ผู้อ่นื ได้อยา่ งเหมาะสม
๔.สามารถประยกุ ต์ใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้
รวม ๔ ผลการเรียนรู้
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 108
กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น คาอธิบายรายวชิ ากจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน
ช้ันประถมศึกษาปีที ๑ กจิ กรรมนักเรยี น (เตรียมลกู เสือสารองและลกู เสือสารองดาวดวงท่ี ๑)
เวลา ๓๐ ช่วั โมง/ปี
คาอธิบายรายวิชา
เปดิ ประชมุ กอง ดาเนินการตามกระบวนการของลกู เสือและจัดกิจกรรมโดยให้ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน
ปฏิบตั กิ จิ กรรมตามฐานการเรยี นรู้ โดยเนน้ ระบบหม่แู ละปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตามคาปฏิญาณและกฎของลูกเสือสารอง
เรียนรู้จากการคิดและปฏิบัติจริงใช้สัญลักษณ์สมาชิกลูกเสือสารองที่มีความเป็นเอกลักษณ์ร่วมกัน ศึกษา
ธรรมชาติในชุมชนด้วยความสนใจ ใฝ่รู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม ปิด
ประชุมกอง ในเร่อื งตอ่ ไปน้ี
เตรยี มลูกเสือสารอง นิยายเมาคลี ประวัติการเริ่มกิจการลูกเสือ การทาความเคารพหมู่ (แกรนด์ฮาวล์)
การทาความเคารพเป็นรายบุคคล การจับมือซ้าย ระเบียบแถว เบื้องต้น คาปฏิญาณ กฎและคติพจน์ของ
ลูกเสอื สารอง
ลูกเสือสารองดาวดวงท่ี ๑ อนามัย ความสามารถเชงิ ทักษะ การสารวจ การคน้ หาธรรมชาติ ความ
ปลอดภยั บริการ ธงและประเทศตา่ ง ๆ การฝมี ือ กจิ กรรมกลางแจ้ง การบนั เทิง การผูกเง่ือน คาปฏิญาณ
และกฎของลกู เสือสารอง
เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมลูกเสือสารองดาวดวงท่ี ๑ สามารถปฏิบัติตามคาปฏิญาณ
กฎ และคติพจน์ของลูกเสือสารอง มีนิสัยในการสังเกต จดจา เชื่อฟังและพึ่งตนเอง มีความซื่อสัตย์ สุจริต
มีระเบียบวินัย และเห็นอกเห็นใจผู้อื่น รู้จักบาเพ็ญตนเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ รู้จักทาการฝีมือและ
ฝึกฝนทากิจกรรมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม รักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรมและความม่ันคงของ
ชาติ และสามารถประยกุ ต์ใช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ผลการเรียนรู้
๑.มีนิสยั ในการสังเกต จดจา เชอ่ื ฟังและพ่ึงพาตนเองได้
๒.มีความซอ่ื สัตย์ สุจริต มรี ะเบียบวินัยและเหน็ อกเหน็ ใจผอู้ ่นื
๓.บาเพญ็ ตนเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์
๔.ทาการฝีมอื และฝึกฝนการทากิจกรรมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม
๕.รักษาและสง่ เสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรมประเพณี ภูมปิ ัญญาท้องถิ่นและ ความม่ันคง
๖.อนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและลดภาวะโลกรอ้ น
๗.สามารถประยกุ ต์ใชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้
รวม ๗ ผลการเรยี นรู้
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 109
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น คาอธิบายรายวิชากจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที ๒ กจิ กรรมนักเรียน (ลกู เสอื สารองดาวดวงที่ ๒)
เวลา ๓๐ ช่วั โมง/ปี
คาอธบิ ายรายวิชา
เปดิ ประชุมกอง ดาเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมให้ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน
ปฏิบัติกิจกรรมตามฐานการเรียนรู้ โดยเน้นระบบหมู่ และปฏิบัติตามคาปฏิญาณ คติพจน์และกฎของลูกเสือ
สารอง ศึกษาเรียนรู้จากการคิดและปฏิบัติจริงใช้สัญลักษณ์สมาชิกลูกเสือสารองท่ีมีความเป็นเอกลักษณ์ร่วมกัน
ศกึ ษาธรรมชาติในชุมชนดว้ ยความสนใจใฝร่ ู้ตามวถิ เี ศรษฐกิจพอเพียง สรุปผลและปฏิบัติกิจกรรม ปิดประชุมกอง
ในเรื่องตอ่ ไปนี้
ลูกเสือสารองดาวดวงที่ ๒ นิยายเมาคลี ประวัติการเริ่มกิจการลูกเสือ การทาความเคารพหมู่
(แกรนฮาวล)์ การทาความเคารพเป็นรายบุคคล การจับมือซ้าย ระเบียบแถว คาปฏิญาณ กฎ และคติพจน์ของ
ลูกเสือสารอง อนามัย ความสามารถเชิงทักษะ การสารวจ การค้นหาธรรมชาติการอนุรักษ์ทรัพยากรในชุมชน
ท้องถิ่น ความปลอดภัย บริการ การผูกเง่ือน ธง และประเทศต่าง ๆ การฝีมือท่ีใช้วัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น
กิจกรรมกลางแจ้ง การบันเทิงท่ีส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพจิตและอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น อนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติสง่ิ แวดล้อมลดภาวะโลกรอ้ น
เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมลูกเสือสารองดาวดวงที่ ๒ สามารถปฏิบัติตามคาปฏิญาณ กฎ
และคติพจน์ของลูกเสือสารอง มีนิสัยในการสังเกต จดจา เช่ือฟังและพึ่งตนเอง มีความซื่อสัตย์สุจริต
มีระเบียบวินัย และเห็นอกเห็นใจ รู้จักบาเพ็ญเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รู้จักทาการฝีมือและฝึกฝนทา
กิจกรรมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม รักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน อนุรักษ์
ทรพั ยากรธรรมชาตสิ ่งิ แวดล้อม ความม่ันคงของชาติ และสามารถประยกุ ต์ใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ผลการเรียนรู้
๑.มนี สิ ัยในการสังเกต จดจา เชอ่ื ฟังและพึง่ ตนเองได้
๒.มคี วามซ่ือสัตย์ สุจริต มรี ะเบยี บวินยั และเหน็ อกเหน็ ใจผอู้ น่ื
๓.บาเพญ็ ตนเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์
๔.ทาการฝีมอื และฝึกฝนทากิจกรรมตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม
๕.รักษาและส่งเสรมิ จารีตประเพณี วัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ และความมน่ั คงของชาติ
๖.อนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ลดภาวะโลกรอ้ น สามารถประยกุ ต์ใชห้ ลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งได้
รวม ๖ ผลการเรียนรู้
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 110
กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน คาอธบิ ายรายวิชากจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน
ช้นั ประถมศึกษาปที ี ๓ กิจกรรมนักเรียน (ลกู เสอื สารองดาวดวงที่ ๓)
เวลา ๓๐ ช่วั โมง/ปี
คาอธิบายรายวิชา
เปดิ ประชุมกอง ดาเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมให้ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน
ปฏิบัติกิจกรรมตามฐานการเรียนรู้ โดยเน้นระบบหมู่ และปฏิบัติตามคาปฏิญาณ คติพจน์และกฎของลูกเสือ
สารอง ศึกษาเรียนรู้จากการคิดและปฏิบัติจริงใช้สัญลักษณ์สมาชิกลูกเสือสารองที่มีความเป็นเอกลักษณ์ร่วมกัน
ศึกษาธรรมชาติในชมุ ชนดว้ ยความสนใจใฝ่ร้ตู ามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง สรุปผลและปฏิบัติกิจกรรม ปิดประชุมกอง
ในเรื่องต่อไปน้ี
ลูกเสือสารองดาวดวงท่ี ๓ นิยายเมาคลี ประวัติการเร่ิมกิจการลูกเสือ การทาความเคารพหมู่
(แกรนฮาวล)์ การทาความเคารพเป็นรายบุคคล การจับมือซ้าย ระเบียบแถว คาปฏิญาณ กฎ และคติพจน์ของ
ลูกเสือสารอง อนามัย ความสามารถเชิงทักษะ การสารวจ การค้นหาธรรมชาติการอนุรักษ์ทรัพยากรในชุมชน
ท้องถ่ิน ความปลอดภัย บริการ การผูกเง่ือน ธง และประเทศต่าง ๆ การฝีมือที่ใช้วัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น
กิจกรรมกลางแจ้ง การบันเทิงที่ส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพจิตและอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน อนุรักษ์
ทรพั ยากรธรรมชาตสิ ง่ิ แวดลอ้ มลดภาวะโลกร้อน
เพอ่ื ให้มีความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมลูกเสอื สารองดาวดวงท่ี ๓ สามารถปฏิบัติตามคาปฏิญาณ กฎและ
คติพจน์ของลูกเสือสารอง มีนิสัยในการสังเกต จดจา เชื่อฟังและพ่ึงตนเอง มีความซื่อสัตย์สุจริต มีระเบียบวินัย
และเห็นอกเห็นใจ รู้จักบาเพ็ญเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รู้จักทาการฝีมือและฝึกฝนทากิจกรรมต่าง ๆ
ตามความเหมาะสม รักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อม ความมน่ั คงของชาติ และสามารถประยกุ ตใ์ ชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ผลการเรยี นรู้
๑.มนี ิสัยในการสังเกต จดจา เช่อื ฟังและพ่งึ ตนเองได้
๒.มคี วามซอื่ สัตย์ สุจรติ มีระเบยี บวนิ ัย และเหน็ อกเห็นใจผอู้ ่ืน
๓.บาเพ็ญตนเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์
๔.ทาการฝมี ือและฝกึ ฝนทากิจกรรมตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม
๕.รกั ษาและส่งเสริมจารตี ประเพณี วฒั นธรรม ภมู ิปัญญาท้องถิ่นและความม่ันคงของชาติ
๖.อนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ ม ลดภาวะโลกรอ้ น
๗.สามารถประยกุ ต์ใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได้
รวม ๗ ผลการเรยี นรู้
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 111
กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน คาอธิบายรายวิชากจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน
ชนั้ ประถมศึกษาปีที ๔ กจิ กรรมนักเรียน (ลกู เสือสามัญ ลกู เสือตรี)
เวลา ๓๐ ชั่วโมง/ปี
คาอธบิ ายรายวชิ า
เปดิ ประชุมกอง ดาเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจดั กิจกรรมโดยให้ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน
ปฏิบัติกิจกรรมตามฐานการเรียนรู้ โดยเน้นระบบหมู่ และปฏิบัติกิจกรรมตามคาปฏิญาณ คติพจน์ และกฎของ
ลูกเสอื สามญั เรยี นรู้จากการคดิ และปฏบิ ัตจิ ริง ใชส้ ัญลักษณ์สมาชิกลูกเสือสามัญท่ีมีความเป็นเอกลักษณ์ร่วมกัน
ศึกษาธรรมชาติในชุมชนด้วยความสนใจ ใฝ่รู้และมีจิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม
ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ลดภาวะโลกร้อนและประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความรู้เกี่ยวกับ
กระบวนการลูกเสือ ประวัติของ Load Baden Powell พระราชประวัติสังเขปของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ
เกล้าเจ้าอยู่หวั วิวัฒนาการของกระบวนการ ลูกเสอื ไทยและลกู เสอื โลก การทาความเคารพ การแสดงรหัส การ
จบั มอื ซ้าย กิจกรรมกลางแจ้ง ระเบยี บแถวทา่ มอื เปลา่ ทา่ มอื ไม้พลวง การใช้สัญญามือและนกหวีด การต้ังแถว
และการเรียนแถว
เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมลูกเสือสามัญ สามารถปฏิบัติตามคาปฏิญาณ กฎ และคติพจน์
ของลกู เสอื สามญั มีนสิ ยั ในการสงั เกต จดจา เชื่อฟงั และพ่งึ ตนเอง มคี วามซอ่ื สัตย์ สจุ รติ มีระเบียบวินัย และ
เหน็ อกเห็นใจผู้อ่ืน บาเพญ็ ตนเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ ทาการฝีมือและฝึกฝนการทากิจกรรมต่าง ๆ ตาม
ความเหมาะสม ความถนัด และความสนใจ รักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรมและความม่ันคง
ประโยชน์และสามารถประยุกต์ใชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ผลการเรียนรู้
๑.มนี ิสัยในการสงั เกต จดจา เช่ือฟังและพง่ึ ตนเองได้
๒.มีความซอ่ื สัตย์ สจุ รติ มรี ะเบียบวินัย และเหน็ อกเห็นใจผอู้ น่ื
๓.บาเพญ็ ตนเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
๔.ทาการฝมี อื และฝกึ ฝนทากิจกรรมตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม
๕.รักษาและส่งเสรมิ จารตี ประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ และความม่ันคงของชาติ
๖.อนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดล้อม ลดภาวะโลกรอ้ น
๗.สามารถประยกุ ต์ใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได้
รวม ๗ ผลการเรยี นรู้
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 112
กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน คาอธบิ ายรายวชิ ากจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน
ชัน้ ประถมศึกษาปีที ๕ กิจกรรมนักเรียน ( กิจกรรมลูกเสือสามัญ ลกู เสือโท)
เวลา ๓๐ ช่วั โมง/ปี
คาอธบิ ายรายวชิ า
เปิดประชุมกองดาเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมโดยให้ศึกษา วิเคราะห์
วางแผน ปฏิบัติกิจกรรมตามฐานการเรียนรู้ โดยเน้นระบบหมู่ และปฏิบัติกิจกรรมตามคาปฏิญาณ คติพจน์
และกฎของลกู เสือสามญั เรยี นรู้จากคดิ และปฏิบัตจิ ริง ใชส้ ญั ลักษณ์สมาชกิ ลูกเสือสามัญที่มีความเป็นเอกลักษณ์
ร่วมกนั ศึกษาธรรมชาติในชุมชนดว้ ยความสนใจ ใฝ่รู้ มจี ติ สานกึ ในการอนรุ ักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ลดภาวะโลกร้อนและการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ทักษะในทางวิชา
ลูกเสือ การรู้จักดูแลตนเอง การช่วยเหลือผู้อื่น การเดินทางไปยังสถานท่ีต่าง ๆ ทางานอดิเรก และเร่ืองท่ี
สนใจ
เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมลูกเสือสามัญ สามารถปฏิบัติตามคาปฏิญาณ กฎ และคติพจน์
ของลูกเสือสามัญ มีนิสัยในการสังเกต จดจา เชื่อฟัง และพ่ึงตนเอง มีความซื่อสัตย์ สุจริต มีระเบียบวินัย
และเห็นอกเหน็ ใจผู้อื่น บาเพ็ญตนเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ ทาการฝีมือและฝึกฝนการทากิจกรรมต่าง ๆ
ตามความเหมาะสม ความถนัด และความสนใจ รักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรมและความมั่นคง
ประโยชน์และสามารถประยกุ ตใ์ ชห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ผลการเรยี นรู้
๑.มีนิสยั ในการสังเกต จดจา เช่อื ฟังและพง่ึ ตนเองได้
๒.มีความซือ่ สัตย์ สจุ รติ มีระเบียบวนิ ยั และเหน็ อกเห็นใจผูอ้ น่ื
๓.บาเพ็ญตนเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์
๔.ทาการฝีมอื และฝึกฝนทากิจกรรมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม
๕.รักษาและสง่ เสรมิ จารีตประเพณี วฒั นธรรม ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ และความมนั่ คงของชาติ
๖.อนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ ม ลดภาวะโลกรอ้ น
๗.สามารถประยกุ ต์ใชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งได้
รวม ๗ ผลการเรยี นรู้
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 113
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน คาอธบิ ายรายวชิ ากิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน
ช้ันประถมศึกษาปีที ๖ กจิ กรรมนักเรยี น ( กิจกรรมลูกเสือสามัญ ลกู เสือเอก)
เวลา ๓๐ ช่ัวโมง/ปี
คาอธิบายรายวิชา
เปดิ ประชมุ กองดาเนนิ การตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมโดยให้ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน
ปฏิบัติกิจกรรมตามฐานการเรียนรู้ โดยเน้นระบบหมู่ และปฏิบัติตามคาปฏิญาณ คติพจน์ และกฎของลูกเสือ
สามัญ วิชาการของลูกเสือ ระเบียบแถว การพึ่งตนเอง การผจญภัย การใช้สัญลักษณ์ สมาชิกลูกเสือสามัญ
ท่ี มีความเปน็ เอกลักษณ์ร่วมกนั เรียนรจู้ ากการคดิ และปฏิบัติจริง ศึกษาธรรมชาติ วัฒนธรรมประเพณี ภูมิปัญญา
ท้องถิ่นด้วยความสนใจ ใฝ่รู้ และประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการปฏิบัติกิจกรรมเพ่ือการ
อนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละลดภาวะโลกรอ้ น
เพ่ือใหม้ คี วามรู้ ความเข้าใจในกจิ กรรมลูกเสือสามัญ สามารถปฏิบตั ิตามคาปฏิญาณ กฎ และคติพจน์
ของลกู เสือสามัญ มีนสิ ัยในการสงั เกต จดจา เชือ่ ฟงั และพงึ่ ตนเอง มีความซื่อสตั ย์ สุจริต มีระเบียบวนิ ัย
และเห็นอกเห็นใจผอู้ ื่น บาเพ็ญตนเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ทาการฝมี อื และฝกึ ฝนการทากจิ กรรม
ต่าง ๆ ตามความเหมาะสม ความถนดั และความสนใจ รกั ษาและสง่ เสริมจารตี ประเพณี วัฒนธรรมและความ
มน่ั คง ประโยชน์และสามารถประยกุ ตใ์ ชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ผลการเรียนรู้
๑.มีนสิ ยั ในการสงั เกต จดจา เชอ่ื ฟังและพงึ่ ตนเองได้
๒.มีความซ่อื สตั ย์ สจุ รติ มีระเบยี บวนิ ยั และเห็นอกเหน็ ใจผู้อน่ื
๓.บาเพญ็ ตนเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
๔.ทาการฝีมอื และฝึกฝนทากิจกรรมตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม
๕.รักษาและส่งเสรมิ จารตี ประเพณี วัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ และความม่นั คงของชาติ
๖.อนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ ม ลดภาวะโลกร้อน
๗.สามารถประยุกต์ใชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได้
รวม ๗ ผลการเรยี นรู้
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 114
กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น คาอธิบายรายวชิ ากจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น
ช้ันประถมศึกษาปีที ๑ - ๖ กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์
เวลา ๑๐ ชว่ั โมง/ปี
คาอธิบายรายวิชา
ฝึกปฏิบัติกิจกรรมด้วยความสมัครใจผ่านกิจกรรมท่ีหลากหลาย ฝึกการทางานที่สอดคล้องกับชีวิตจริง
ตลอดจนสะท้อนความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ สารวจและใช้ข้อมูลประกอบการวางแผนอย่างเป็นระบบ
เน้นทักษะการคิดวิเคราะห์ และใช้ความคิดสร้างสรรค์ การบริการด้านต่าง ๆ ท่ีเป็นประโยชน์ต่อตนเองและ
ส่วนรวม เสริมสร้างความมีน้าใจ เอ้ืออาทร ความเป็นพลเมืองดีและความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัวและ
สังคม คิดออกแบบกิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ในลักษณะอาสาสมัคร จิตอาสา เพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อ
สังคมตามแนวทางวถิ ชี ีวิตเศรษฐกจิ พอเพยี ง
เพ่ือให้ผู้เรียนบาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อครอบครัว โรงเรียน ชุมชน สังคมและประเทศชาติ
สามารถออกแบบการจัดกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ตามความถนัดและความสนใจ
ในลักษณะอาสาสมัคร พัฒนาศักยภาพตนเองในการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์จนเกิดคุณธรรม จริยธรรม ตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์
มจี ติ สาธารณะและใชเ้ วลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์ และสามารถประยกุ ต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได้
ผลการเรยี นรู้
๑.บาเพญ็ ตนให้เปน็ ประโยชนต์ อ่ ครอบครวั โรงเรยี น ชมุ ชน สังคมและประเทศชาติ
๒.ออกแบบการจดั กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ ตามความถนัดและความ
สนใจในลกั ษณะอาสาสมคั ร
๓.สามารถพัฒนาศักยภาพในการจดั กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
๔.ปฏิบัตกิ ิจการเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชนจ์ นเกดิ คุณธรรม จรยิ ธรรมตามคุณลักษณะอนั พงึ
ประสงค์
๕.สามารถประยกุ ต์ใชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้
รวม ๕ ผลการเรียนรู้
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 115
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน คาอธบิ ายรายวิชากจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน
ช้นั ประถมศึกษาปีที ๑ - ๖ กจิ กรรมนกั เรียน (กจิ กรรมชมุ นมุ )
เวลา ๔๐ ชวั่ โมง/ปี
คาอธิบายรายวชิ า
ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตามความสนใจ ความถนัด และความต้องการ เพ่อื พฒั นาความรู้ ความสามารถด้านการ
คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ให้เกิดประสบการณ์ท้ังด้านวิชาการ และพื้นฐานอาชีพ ทักษะชีวิตและสังคมตาม
ศักยภาพอยา่ งรอบดา้ น เพื่อความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ มีความสามารถในการส่ือสาร มีทักษะการคิด แก้ปัญหา
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี พัฒนาทักษะในการทางานและการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข
รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ซอื่ สตั ย์สจุ รติ มีวินยั ใฝ่เรยี นรู้ อยูอ่ ยา่ งพอเพียง มุ่งมั่นในการทางานรักความเป็นไทย
มจี ิตสาธารณะ
เพ่ือให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ ความถนัด และความต้องการของตน ได้พัฒนาความรู้
ความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ให้เกิดประสบการณ์ทั้งทักษะทางวิชาการ ทักษะอาชีพ ทักษะ
ชีวิตและสังคมตามศักยภาพ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม คิดเป็น ทาได้ ทางานร่วมกับ
ผู้อ่ืนได้ตามวิถีประชาธิปไตย และประยุกตห์ ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงได้อยา่ งเหมาะสม
ผลการเรยี นรู้
๑.ปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ ความถนดั และความต้องการของตน
๒.มีความรู้ ความสามารถด้านการคดิ วิเคราะห์ สงั เคราะหใ์ หเ้ กิดประสบการณ์ ทั้งทางวิชาการและ
วิชาชีพตามศกั ยภาพ
๓.ใชเ้ วลาว่างใหเ้ กดประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม
๔.มุ่งม่นั ในการทางานและทางานรว่ มกบั ผู้อ่ืนไดต้ ามวิถปี ระชาธปิ ไตย
๕.ประยุกต์ใชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อยา่ งเหมาะสม
รวม ๕ ผลการเรียนรู้
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 116
คาอธิบายรายวชิ า
กิจกรรมชมุ นมุ
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 117
กจิ กรรมชมุ นมุ ภาษาไทย คาอธิบายรายวิชากิจกรรมชุมนุม
ระดบั ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑-๖
หลกั การและเหตผุ ล
ประเทศไทยมีภาษาไทยเป็นภาษาประจาชาติ อันเป็นเอกลักษณ์ที่สาคัญอย่างหนึ่งของชาติ สมควรจะ
ได้รับการทานุบารุงส่งเสริม และอนุรักษ์ไว้ให้ยั่งยืนตลอดไป ท้ังน้ีในยุคปัจจุบันวิชาการและเทคโนโลยีต่าง ๆ ได้
ก้าวหน้าไปอยา่ งรวดเร็วเกิดเทคนคิ ใหม่ ๆ ในการตดิ ต่อสอื่ สาร ทีม่ งุ่ เนน้ ความสะดวกรวดเร็ว ส่งผลให้ภาษาไทยซ่ึง
เป็นส่ือกลางสาคัญในการตดิ ต่อและผูกพนั ต่อการดารงชีวติ ประจาวันของคนไทยได้รับผลกระทบ ทั้งภาษาพูดและ
ภาษาเขียน ทาให้ภาษาไทยเกิดการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอย่างน่าวิตกเป็นอย่างยิ่ง สภาพการณ์เช่นน้ีหากไม่เร่ง
รีบหาทางแก้ไขและป้องกันเสียแต่เน่ินๆ การใช้ภาษาไทยของเราก็จะยิ่งเสื่อมลง จะส่งผลเสียหายต่อเอกลักษณ์
และคุณค่าของภาษาไทยเป็นทวีคูณ อ่านและเข้าใจความหมายของคา ประโยค ข้อความและจัดทาแบบฝึกเป็น
รปู เล่ม จัดทาพจนานกุ รมฉบบั จว๋ิ ศึกษา ค้นควา้ เกี่ยวกบั ขา่ ว บทความจากสงิ่ ตีพิมพ์ประเภทต่างๆ และประดิษฐ์
ที่คัน่ หนงั สอื ประเภทตา่ งๆ
เพ่ือให้สมาชิกมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ รู้จักค้นคว้า และแก้ปัญหาในการทางานอย่างมีระบบ เพ่ือให้
สมาชิกเป็นผู้มีระเบียบวินัยเพ่ือให้สมาชิกมีความเข้าใจและเล่ือมใสการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์เป็นประมุขเพ่ือให้สมาชิกมีความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติหน้าท่ีและสิทธิภายในขอบเขตของ
กฎหมายเพ่ือให้สมาชิกมีความสงบซาบซึ้งในคุณค่า ดารงไว้และส่งเสริมเอกลักษณ์วัฒนธรรมอันดีงามของชาติ
ไทยเพอื่ ใหส้ มาชิกเกดิ ความรกั และสามคั คีในหมู่คณะเพ่อื ให้สมาชกิ ได้รับการสง่ เสริมการพัฒนาทางร่างกาย จิตใจ
และร้จู ักใชเ้ วลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์เพ่ือให้สมาชิกรู้จักบาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม และสร้างเสริมความม่ันคงของ
ชาติเพ่ือให้สมาชิกมีคุณธรรมและจริยธรรม เพ่ือให้สมาชิกพัฒนาตนเองตามวัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา
สามารถนาความรูไ้ ปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์โดยใชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับ
ชวี ิตประจาวนั ไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม
ผลการเรยี นรู้
๑. ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตามความสนใจ ความถนดั และความต้องการของตน
๒. อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้ว ร้อยกรองได้อยา่ งถูกต้องตามอักขระวธิ ี
๓.เขยี น ไดถ้ ูกต้องตามหลกั ภาษาไทยใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อตนเองและสว่ นรวม
๔.นกั เรยี นมคี วามตระหนกั และเห็นคณุ คา่ ของภาษาไทย ในฐานะภาษาประจาชาติ
๕.นกั เรยี นสามารถเป็นตวั แทนเขา้ ร่วมแขง่ ขนั กิจกรรมทางคณิตศาสตร์
รวม ๕ ผลการเรยี นรู้
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 118
กจิ กรรมชุมนมุ คณิตศาสตร์ คาอธบิ ายรายวิชากจิ กรรมชุมนุม
ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑-๖
หลักการและเหตผุ ล
คณิตศาสตร์เปน็ วชิ าท่ีมีความเกี่ยวข้องกับสิ่งที่อยู่รอบตัวและชีวิตของเรา คณิตศาสตร์สามารถอธิบายสิ่ง
ต่างๆ นานาที่อยู่รอบตัวเราได้ ถึงแม้ว่าคนส่วนใหญ่จะมองคณิตศาสตร์นั้น ยาก ซับซ้อน น่าเวียนหัว
ทาให้เกิดความเครียด และความวิตกกังวลในการเรียน ชุมนุมน้ีจึงจัดขึ้นมาเพ่ือให้นักเรียนในชุมนุมได้มองเห็น
มุมมองอีกด้านหน่ึงของคณิตศาสตร์ โดยการรวบรวมด้านสนุกสนานของคณิตศาสตร์ ตลอดจนเกร็ดน่ารู้ต่างๆ
มากมาย รวมถงึ เกรด็ แปลกๆ เกย่ี วกับตัวเลขทอ่ี าจจะทาใหน้ กั เรียนเกิดหลงรักตัวเลขข้ึนมาก็ได้ และนาความรู้ไป
ใช้ให้เกิดประโยชน์โดยในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ในกับชีวิตประจาวันได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม
ผลการเรยี นร้ทู ่คี าดหวัง
๑.เพ่อื ใหน้ ักเรียนมองเหน็ ความสาคัญของคณติ ศาสตรใ์ นชีวิตประจาวนั
๒.เพือ่ ให้นักเรียนมีความรู้ความเขา้ ใจ มีความสุขและความสนกุ สนานในการเขา้ ร่วม กจิ กรรม ในวิชา
คณิตศาสตร์
๓.เพอื่ ให้นกั เรียนได้ปฏิบตั ิกจิ กรรมตามท่ีตนเองถนัดและสนใจ
๔.เพ่ือสง่ เสรมิ นกั เรียนให้มที ัศนคติทีด่ ตี ่อวชิ าคณติ ศาสตร์
๕.เพ่ือให้นักเรยี นสามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจาวนั ไดเ้ ป็น และไดใ้ ชเ้ วลาว่างให้เปน็ ประโยชน์
๖.นักเรยี นสามารถเป็นตวั แทนเขา้ รว่ มแข่งขนั กิจกรรมทางคณิตศาสตร์
รวมท้งั หมด ๖ ผลการเรียนรู้
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 119
กจิ กรรมชุมนมุ หุ่นยนต์ คาอธิบายรายวิชากจิ กรรมชุมนมุ
ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑-๖
หลกั การและเหตุผล
ในปัจจุบัน เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็วในหลากหลายสาขาวิชาโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
เทคโนโลยหี ุ่นยนต์ การพฒั นาด้านการสื่อสารและด้านข้อมูล ดังนั้นจึงจาเป็นอย่างยิ่งท่ีสถานศึกษาให้ความสาคัญ
ตอ่ การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยีเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ เกิดความตระหนักและเท่าทันเทคโนโลยีในปัจจุบันเพื่อ
สนับสนุนให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนในยุคศตวรรษท่ี 21 ได้แก่ เป็นนักคิดวิเคราะห์ เป็นนัก
ประดิษฐ์ นักแก้ปัญหา เป็นนักสร้างสรรค์ เป็นนักประสานความร่วมมือ รู้จักใช้ข้อมูลและข่าวสาร เป็นผู้เรียนรู้
ด้วยตนเอง เป็นนักสื่อสาร และตระหนักรับรู้สภาวการณ์ของโลกปัจจุบันและอนาคตกิจกรรมชุมนุมคอมพิวเตอร์
จึงเป็นกิจกรรมกลุ่มเสริมทักษะด้านวิชาการ ในกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยีเพ่ือพัฒนานักเรียนให้เต็ม
ศกั ยภาพ เพ่ือตอบสนองศักยภาพของนักเรยี นได้หลากหลายวิชาสามารถตอบสนองความต้องการของสังคมสร้าง
องค์ความรู้และเพิ่มพูนทักษะคอมพิวเตอร์ให้แก่นักเรียนเป็นผู้มีความรู้ความสามารถ มีประสบการณ์ตรงกับ
สภาพแวดล้อม และเทคโนโลยใี หมๆ่ และนามาปรับใช้ในชีวติ ประจาวันไดอ้ ย่างเหมาะสม
ผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวงั
๑.นักเรยี นเกดิ ทกั ษะในการใช้เทคโนโลยใี นชีวติ ประจาวนั และมคี วามรู้เรื่องเทคโนโลยีหุ่นยนต์
๒.นกั เรยี นมคี วามรูท้ างดา้ นคอมพิวเตอร์ นามาใชใ้ นงานต่างๆ
๓.นกั เรยี นพฒั นาความรู้ความสามารถด้านการคิด วิเคราะห์ สงั เคราะห์
๔.นักเรียนมคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยมท่ีพึงประสงค์
๕.นักเรยี นมีมนุษยสมั พันธ์ในการทากจิ กรรมรว่ มกนั กบั ผู้อ่ืน
๖.นกั เรยี นสามารถเป็นตัวแทนเขา้ ร่วมแขง่ ขันกจิ กรรมหุนยนต์
รวมทง้ั หมด ๖ ผลการเรยี นรู้
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 120
คาอธบิ ายรายวิชากจิ กรรมชุมนมุ
กิจกรรมชุมนุมเศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๑-๖
หลักการและเหตุผล
ฝกึ ทกั ษะนักเรยี นเรยี นรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใน 3 หลักการ คือ ความพอประมาณ ความมี
เหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี และ 2 เงื่อนไข คือ คุณธรรมและความรู้ โดยนักเรียนฝึกเรียนเกษตร
พอเพียง ได้แก่ การเพาะเห็ดนางฟ้า การเลี้ยงไก้พ้ืนเมือง การเล้ียงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ และการปลูกพืชผัก
สวนครวั เพ่อื สามารถนาความรู้ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั และสง่ เสรมิ อาชพี ในอนาคต
ผลการเรยี นร้ทู ค่ี าดหวัง
๑.เพ่ือฝึกทักษะการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ไดแ้ ก่ การเล้ียงปลา การปลกู พชื สมนุ ไพร และการปลกู
พชื ผักสวนครวั
๒.เพ่อื ฝึกนิสยั รกั การทางาน อยอู่ ยา่ งพอเพียง ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๓.เพ่ือส่งเสริมและปลกู ฝังวธิ กี ารคิดในการปฏิบัติตนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
รวมท้ังหมด ๓ ผลการเรยี นรู้
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 121
กิจกรรมชมุ นุมรักการอ่าน คาอธิบายรายวิชากจิ กรรมชุมนมุ
ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๑-๖
หลกั การและเหตุผล
อ่านและเข้าใจความหมายของคา ประโยค ข้อความและจัดทาแบบฝึกเป็นรูปเล่ม จัดทาพจนานุกรม
ฉบับจ๋ิว ศึกษา ค้นคว้าเก่ียวกับ ข่าว บทความจากส่ิงตีพิมพ์ประเภทต่างๆ และประดิษฐ์ที่ค่ันหนังสือประเภท
ต่างๆเพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจและเห็นคุณค่าเกี่ยวกับการจัดทาแบบฝึกเป็นรูปเล่ม จัดทาพจนานุกรมฉบับจิ๋ว
และประดิษฐ์ทคี่ นั่ หนงั สือประเภทตา่ งๆ สามารถนาไปใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้
เพ่ือให้สมาชิกมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ รู้จักค้นคว้า และแก้ปัญหาในการทางานอย่างมีระบบ เพื่อให้
สมาชิกเป็นผู้มีระเบียบวินัยเพ่ือให้สมาชิกมีความเข้าใจและเล่ือมใสการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์เป็นประมุขเพื่อให้สมาชิกมีความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติหน้าที่และสิทธิภายในขอบเขตของ
กฎหมายเพื่อให้สมาชิกมีความสงบซาบซึ้งในคุณค่า ดารงไว้และส่งเสริมเอกลักษณ์วัฒนธรรมอันดีงามของชาติ
ไทยเพ่ือให้สมาชิกเกิดความรกั และสามัคคีในหม่คู ณะเพ่ือให้สมาชิกไดร้ ับการสง่ เสรมิ การพัฒนาทางร่างกาย จิตใจ
และรจู้ ักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์เพื่อให้สมาชิกรู้จักบาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม และสร้างเสริมความมั่นคงของ
ชาติเพื่อให้สมาชิกมีคุณธรรมและจริยธรรม เพื่อให้สมาชิกพัฒนาตนเองตามวัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา
สามารถนาความรูไ้ ปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับ
ชวี ติ ประจาวันไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม
ผลการเรยี นรู้
๑.ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตามความสนใจ ความถนดั และความต้องการของตน
๒. มีความรู้ ความสามารถด้านการคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะหใ์ ห้เกิดประสบการณ์ ท้ังทางวิชาการและ
วิชาชีพตามศักยภาพ
๓.ใช้เวลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ ตนเองและสว่ นรวม
๔.ม่งุ มนั่ ในการทางานและทางานร่วมกบั ผู้อ่ืนได้ตามวถิ ปี ระชาธิปไตย
๕. ประยกุ ตใ์ ช้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างเหมาะสม
รวม ๕ ผลการเรียนรู้
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 122
การวัด
และประเมนิ ผล
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 123
เกณฑ์การจบการศกึ ษา
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านแก้งยาง พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนดเกณฑส์ าหรับการจบการศึกษา ดงั นี้
เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา
๑. ผ้เู รียนเรยี นรายวชิ าพืน้ ฐาน จานวน ๘๔๐ ชั่วโมง และรายวิชาเพิ่มเติมจานวน ๑๒๐ ชัว่ โมง และมี
ผลการประเมินรายวชิ าพืน้ ฐานผ่านทกุ รายวิชา
๒. ผ้เู รียนตอ้ งมผี ลการประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน ระดับ “ผ่าน” ขนึ้ ไป
๓. ผเู้ รยี นมผี ลการประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ระดับ “ผ่าน” ขึ้นไป
๔. ผู้เรียนต้องเขา้ รว่ มกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นและไดร้ ับการตดั สนิ ผลการเรียน “ผา่ น” ทกุ กจิ กรรม
การจัดการเรยี นรู้
การจัดการเรียนร้เู ป็นกระบวนการสาคัญในการนาหลกั สูตรสู่การปฏิบตั ิ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้
พน้ื ฐาน เป็นหลักสตู รทม่ี ีมาตรฐานการเรยี นรู้ สมรรถนะสาคัญและคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรยี น เป็น
เป้าหมายสาหรบั พฒั นาเด็กและเยาวชน
ในการพฒั นาผ้เู รียนใหม้ ีคุณสมบตั ิตามเป้าหมายหลักสตู ร ผู้สอนพยายามคัดสรร กระบวนการเรียนรู้
จดั การเรียนรู้โดยชว่ ยใหผ้ ูเ้ รียนเรียนรผู้ ่านสาระทก่ี าหนดไว้ในหลกั สตู ร ๘ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ รวมทง้ั ปลูกฝัง
เสรมิ สร้างคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ พัฒนาทักษะต่างๆ อันเป็นสมรรถนะสาคญั ให้ผ้เู รยี นบรรลตุ ามเปา้ หมาย
๑. หลักการจดั การเรยี นรู้
การจดั การเรียนร้เู พื่อใหผ้ เู้ รยี นมีความรคู้ วามสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญ และ
คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามทก่ี าหนดไวใ้ นหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน โดยยดึ หลักวา่ ผเู้ รยี นมี
ความสาคัญที่สดุ เช่ือวา่ ทกุ คนมคี วามสามารถเรยี นรแู้ ละพัฒนาตนเองได้ ยึดประโยชน์ทีเ่ กดิ กับผเู้ รยี น
กระบวนการจดั การเรียนรู้ต้องสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาตแิ ละเต็มตามศักยภาพ คานงึ ถึงความ
แตกต่างระหวา่ งบคุ คลและพัฒนาการทางสมองเนน้ ให้ความสาคญั ทั้งความรู้ และคณุ ธรรม
๒. กระบวนการเรยี นรู้
การจัดการเรยี นรู้ท่ีเนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ ผเู้ รียนจะต้องอาศัยกระบวนการเรยี นรู้ท่ีหลากหลาย เป็น
เคร่ืองมอื ที่จะนาพาตนเองไปส่เู ปา้ หมายของหลักสตู ร กระบวนการเรียนรู้ทจ่ี าเป็นสาหรับผู้เรยี น อาทิ
กระบวนการเรียนรู้แบบบรู ณาการ กระบวนการสรา้ งความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสงั คม กระบวนการ
เผชญิ สถานการณแ์ ละแก้ปญั หา กระบวนการเรยี นรจู้ ากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏบิ ตั ิ ลงมอื ทาจรงิ
กระบวนการจดั การ กระบวนการวิจัย กระบวนการเรยี นรู้การเรียนรู้ของตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสยั
กระบวนการเหลา่ นี้เป็นแนวทางในการจดั การเรียนรู้ทีผ่ ู้เรยี นควรได้รับการฝึกฝน พฒั นา เพราะจะสามารถชว่ ยให้
ผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้ไดด้ ี บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร ดงั นัน้ ผู้สอน จงึ จาเปน็ ตอ้ งศกึ ษาทาความเข้าใจใน
กระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ เพ่ือใหส้ ามารถเลอื กใช้ในการจดั กระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๓. การออกแบบการจดั การเรียนรู้
ผู้สอนต้องศกึ ษาหลักสตู รสถานศกึ ษาให้เขา้ ใจถึงมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชีว้ ดั สมรรถนะสาคัญของ
ผเู้ รยี น คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ และสาระการเรยี นรูท้ ่ีเหมาะสมกับผูเ้ รยี น แลว้ จงึ พิจารณาออกแบบการ
จัดการเรยี นรโู้ ดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหลง่ เรยี นรู้ การวดั และประเมินผล เพ่อื ให้ผูเ้ รียนได้
พัฒนาเต็มตามศักยภาพและบรรลุตามเปา้ หมายท่ีกาหนด
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 124
๔. บทบาทของผ้สู อนและผูเ้ รียน
การจัดการเรยี นรู้เพอ่ื ให้ผู้เรียนมคี ณุ ภาพตามเป้าหมายของหลักสูตร ทง้ั ผสู้ อนและผู้เรียนควรมีบทบาท
ดงั นี้
๔.๑ บทบาทของผ้สู อน
๑) ศกึ ษาวเิ คราะหผ์ ู้เรียนเป็นรายบุคคล แล้วนาข้อมลู มาใช้ในการวางแผนการจดั การเรยี นรู้ ที่
ตามความสามารถของผเู้ รยี น
๒) กาหนดเปา้ หมายทตี่ อ้ งการใหเ้ กิดขึน้ กบั ผู้เรียน ดา้ นความรูแ้ ละทักษะกระบวนการ ที่เป็น
ความคดิ รวบยอด หลกั การ และความสมั พนั ธ์ รวมทงั้ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
๓) ออกแบบการเรยี นรู้และจัดการเรียนรู้ท่ตี อบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและ
พัฒนาการทางสมอง เพ่ือนาผู้เรียนไปสเู่ ปา้ หมาย
๔) จดั บรรยากาศท่เี อื้อต่อการเรียนรู้ และดแู ลชว่ ยเหลือผ้เู รียนใหเ้ กดิ การเรยี นรู้
๕) จัดเตรียมและเลือกใชส้ อ่ื ให้เหมาะสมกบั กิจกรรม นาภูมิปญั ญาท้องถิ่น เทคโนโลยที ่ี
เหมาะสมมาประยุกต์ใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน
๖) ประเมนิ ความกา้ วหน้าของผเู้ รยี นด้วยวธิ ีการทหี่ ลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาติของวชิ า
และระดับพัฒนาการของผู้เรียน
๗) วิเคราะห์ผลการประเมินมาใชใ้ นการซ่อมเสริมและพฒั นาผูเ้ รียน รวมทัง้ ปรบั ปรงุ การจัดการ
เรียนการสอนของตนเอง
๔.๒ บทบาทของผูเ้ รียน
๑) กาหนดเป้าหมาย วางแผน และรบั ผดิ ชอบการเรียนรู้ของตนเอง
๒) เสาะแสวงหาความรู้ เขา้ ถึงแหล่งการเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ขอ้ ความรู้ ตัง้ คาถาม คดิ หา
คาตอบหรือหาแนวทางแกป้ ญั หาดว้ ยวธิ กี ารต่างๆ
๓) ลงมอื ปฏิบัตจิ รงิ สรุปสงิ่ ทไี่ ด้เรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง และนาความร้ไู ปประยุกตใ์ ชใ้ นสถานการณ์ตา่ งๆ
๔) มีปฏสิ มั พันธ์ ทางาน ทากิจกรรมร่วมกับกลุม่ และครู
๕) ประเมนิ และพฒั นากระบวนการเรยี นรขู้ องตนเองอย่างตอ่ เน่อื ง
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้เป็นเครื่องมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเข้าถึงความรู้
ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ สื่อการ เรียนรู้มี
หลากหลายประเภท ทง้ั สอ่ื ธรรมชาติ สื่อสิ่งพมิ พ์ สื่อเทคโนโลยี และเครือข่าย การเรียนรู้ต่างๆ ท่ีมีในท้องถิ่น การ
เลือกใช้สื่อควรเลือกให้มีความเหมาะสมกับระดับพัฒนาการ และลีลาการเรียนรู้ที่หลากหลายของผู้เรียน
การจัดหาสื่อการเรียนรู้ ผู้เรียนและผู้สอนสามารถจัดทาและพัฒนาขึ้นเอง หรือปรับปรุงเลือกใช้อย่างมีคุณภาพ
จากสื่อต่างๆ ที่มีอยู่รอบตัวเพ่ือนามาใช้ประกอบในการจัดการเรียนรู้ท่ีสามารถส่งเสริมและสื่อสารให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนรู้ โดยสถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ อย่างแท้จริง
สถานศกึ ษา เขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา หน่วยงานที่เก่ยี วข้องและผ้มู ีหนา้ ทจี่ ัดการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ควรดาเนนิ การดังน้ี
๑. จัดให้มีแหลง่ การเรียนรู้ ศูนย์สื่อการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรยี นรู้ และเครือขา่ ย
การเรียนรู้ที่มปี ระสทิ ธภิ าพท้ังในสถานศึกษาและในชุมชน เพอื่ การศึกษาค้นคว้าและการแลกเปลี่ยนประสบการณ์
การเรียนรู้ ระหวา่ งสถานศกึ ษา ทอ้ งถิน่ ชุมชน สงั คมโลก
๒. จัดทาและจดั หาสอ่ื การเรียนรสู้ าหรบั การศึกษาค้นควา้ ของผ้เู รียน เสรมิ ความร้ใู ห้ผู้สอน รวมทั้งจดั หา
สิง่ ทม่ี ีอยู่ในท้องถ่ินมาประยุกตใ์ ชเ้ ปน็ ส่อื การเรียนรู้
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 125
๓. เลือกและใช้สือ่ การเรยี นรู้ทมี่ ีคณุ ภาพ มีความเหมาะสม มคี วามหลากหลาย สอดคลอ้ ง กบั วธิ กี าร
เรียนรู้ ธรรมชาติของสาระการเรียนรู้ และความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลของผ้เู รยี น
๔. ประเมินคุณภาพของสือ่ การเรยี นร้ทู เี่ ลือกใช้อย่างเปน็ ระบบ
๕. ศกึ ษาคน้ ควา้ วิจยั เพ่ือพัฒนาสื่อการเรยี นรูใ้ หส้ อดคล้องกับกระบวนการเรียนรขู้ องผเู้ รยี น
๖. จดั ให้มกี ารกากับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเก่ยี วกบั สื่อและการใชส้ ่อื
การเรยี นร้เู ปน็ ระยะๆ และสม่าเสมอ
ในการจัดทา การเลือกใช้ และการประเมินคณุ ภาพสอ่ื การเรยี นรู้ทใ่ี ชใ้ นสถานศึกษา ควรคานึงถึงหลักการ
สาคัญของส่ือการเรียนรู้ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสูตร วัตถุประสงค์การเรียนรู้ การออกแบบกิจกรรมการ
เรยี นรู้ การจัดประสบการณใ์ หผ้ ู้เรียน เนื้อหามีความถูกต้องและทันสมัย ไม่กระทบความม่ันคงของชาติ ไม่ขัดต่อ
ศีลธรรม มีการใช้ภาษาท่ถี ูกต้อง รปู แบบการนาเสนอท่เี ขา้ ใจงา่ ย และน่าสนใจ
การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้
การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของผูเ้ รียนตอ้ งอยู่บนหลักการพ้ืนฐานสองประการ คือ การประเมินเพื่อ
พัฒนาผู้เรียนและเพ่ือตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้ประสบผลสาเร็จน้ั น
ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวช้ีวัดเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะ
สาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในทุก
ระดับไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศท่ี
แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสาเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ต่อการ
ส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนเกิด การพัฒนาและเรียนรอู้ ย่างเต็มตามศักยภาพ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น ๔ ระดับ ได้แก่ ระดับช้ันเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับ
เขตพน้ื ท่ีการศึกษา และระดับชาติ มีรายละเอยี ด ดังน้ี
๑. การประเมินระดับช้ันเรียน เป็นการวัดและประเมินผลท่ีอยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอน
ดาเนินการเป็นปกติและสม่าเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น การ
ซกั ถาม การสังเกต การตรวจการบา้ น การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟ้มสะสมงาน การ
ใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพ่ือน
ผู้ปกครองร่วมประเมิน ในกรณที ี่ไมผ่ ่านตัวชว้ี ัดใหม้ ีการสอนซ่อมเสรมิ
การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้ อัน
เป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีส่ิงท่ีจะต้องได้รับการพัฒนา
ปรบั ปรงุ และสง่ เสริมในดา้ นใด นอกจากน้ียังเป็นข้อมูลให้ผูส้ อนใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนของตนด้วย ท้ังนี้โดย
สอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวชี้วัด
๒. การประเมินระดับสถานศกึ ษา เปน็ การประเมินท่ีสถานศึกษาดาเนินการเพ่ือตัดสินผล การเรียนของ
ผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ และ
กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น นอกจากน้ีเพ่อื ใหไ้ ด้ข้อมูลเก่ียวกบั การจัดการศึกษา ของสถานศึกษา ว่าส่งผลต่อการเรียนรู้
ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนาผลการเรียนของผู้เรียนใน
สถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพ่ือ
การปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพ่ือการจัดทาแผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการจัด
การศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พ้นื ฐาน ผปู้ กครองและชมุ ชน
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 126
๓. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพ่ือใช้เป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดาเนินการโดยประเมินคุณภาพ
ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานท่ีจัดทาและดาเนินการโดยเขตพ้ืนที่การศึกษา หรือด้วยความร่วมมือ
กบั หน่วยงานตน้ สงั กดั ในการดาเนินการจัดสอบ นอกจากนยี้ งั ไดจ้ ากการตรวจสอบทบทวนข้อมูลจากการประเมิน
ระดบั สถานศกึ ษาในเขตพืน้ ที่การศึกษา
๔. การประเมินระดับชาติ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรู้ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียน ในช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๓
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ เข้ารับการประเมนิ ผลจากการประเมินใช้เป็นข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาใน
ระดับต่าง ๆ เพ่ือนาไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเป็นข้อมูลสนับสนุนการ
ตัดสินใจในระดับนโยบายของประเทศ
ข้อมูลการประเมินในระดับต่างๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวนพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาท่ีจะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ปรับปรุงแก้ไข
ส่งเสริมสนับสนุนเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพ้ืนฐานความแตกต่างระหว่างบุคคลท่ีจาแนกตาม
สภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนท่ัวไป กลุ่มผู้เรียนท่ีมีความสามารถพิเศษ กลุ่มผู้เรียนที่มี
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่า กลุม่ ผเู้ รยี นท่ีมปี ญั หาด้านวินัยและพฤติกรรม กลมุ่ ผู้เรียนที่ปฏิเสธโรงเรียน กลุ่มผู้เรียน
ท่ีมีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มพิการทางร่างกายและสติปัญญา เป็นต้น ข้อมูลจากการประเมินจึงเป็น
หัวใจของสถานศึกษาในการดาเนินการช่วยเหลือผู้เรียนได้ทันท่วงที ปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาและ
ประสบความสาเรจ็ ในการเรยี น
สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการ
เรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติท่ีเป็นข้อกาหนดของหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน เพื่อให้บคุ ลากรท่เี กยี่ วขอ้ งทุกฝา่ ยถือปฏิบตั ริ ่วมกัน
เกณฑก์ ารวัดและประเมินผลการเรยี น
๑. การตัดสิน การใหร้ ะดับและการรายงานผลการเรยี น
๑.๑ การตัดสินผลการเรยี น
ในการตดั สนิ ผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ การอ่าน คดิ วิเคราะหแ์ ละเขียน คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
และกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นน้ัน ผูส้ อนต้องคานึงถงึ การพฒั นาผูเ้ รียนแต่ละคนเปน็ หลัก และตอ้ งเก็บข้อมูลของ
ผเู้ รียนทุกด้านอย่างสม่าเสมอและต่อเนอื่ งในแต่ละภาคเรียน รวมทั้งสอนซ่อมเสรมิ ผ้เู รียนให้พฒั นาจนเต็มตาม
ศกั ยภาพ
ระดบั ประถมศึกษา
(๑) ผู้เรยี นตอ้ งมีเวลาเรียนไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรียนท้งั หมด
(๒) ผเู้ รยี นต้องได้รับการประเมนิ ทุกตวั ชีว้ ดั และผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศกึ ษากาหนด
(๓) ผ้เู รียนต้องได้รบั การตัดสินผลการเรยี นทุกรายวชิ า
(๔) ผู้เรียนต้องไดร้ บั การประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด ในการอ่าน
คิดวเิ คราะห์ และเขยี น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน
การพจิ ารณาเลือ่ นชน้ั ถ้าผู้เรียนมขี อ้ บกพร่องเพยี งเลก็ น้อย และสถานศึกษาพจิ ารณาเห็นว่าสามารถ
พัฒนาและสอนซ่อมเสรมิ ได้ ให้อยใู่ นดลุ พนิ จิ ของสถานศึกษาท่ีจะผอ่ นผนั ให้เลือ่ นชั้นได้ แต่หากผเู้ รยี นไมผ่ ่าน
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 127
รายวิชาจานวนมาก และมแี นวโน้มว่าจะเปน็ ปญั หาต่อการเรยี นในระดบั ช้ันท่ีสงู ขนึ้ สถานศึกษาอาจตงั้
คณะกรรมการพจิ ารณาให้เรียนซา้ ชน้ั ได้ ทง้ั น้ีให้คานงึ ถึงวฒุ ภิ าวะและความรู้ความสามารถของผเู้ รยี นเป็นสาคัญ
๑.๒ การให้ระดับผลการเรยี น
ระดับประถมศึกษา ในการตัดสนิ เพ่อื ให้ระดับผลการเรยี นรายวชิ า สถานศึกษาสามารถใหร้ ะดบั ผลการ
เรยี นหรือระดบั คุณภาพการปฏบิ ัติของผู้เรยี น เป็นระบบตัวเลข ระบบตัวอกั ษร ระบบร้อยละ และระบบท่ใี ชค้ า
สาคญั สะท้อนมาตรฐาน
การประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะหแ์ ละเขียน และคณุ ลักษณะอันพึงประสงคน์ ้ัน ใหร้ ะดบั ผล การประเมนิ เป็น ดี
เยีย่ ม ดี และผา่ น
การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น จะต้องพิจารณาท้งั เวลาการเข้ารว่ มกจิ กรรม การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมและ
ผลงานของผเู้ รียน ตามเกณฑ์ทีส่ ถานศึกษากาหนด และให้ผลการเขา้ ร่วมกิจกรรมเปน็ ผา่ น และไมผ่ า่ น
๑.๓ การรายงานผลการเรยี น
การรายงานผลการเรียนเปน็ การสอ่ื สารใหผ้ ูป้ กครองและผูเ้ รียนทราบความก้าวหนา้ ในการเรียนรขู้ อง
ผเู้ รียน ซึง่ สถานศึกษาต้องสรปุ ผลการประเมินและจัดทาเอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเป็นระยะๆ หรืออยา่ ง
น้อยภาคเรยี นละ ๑ คร้งั
การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็นระดบั คณุ ภาพการปฏิบตั ิของผู้เรียนทส่ี ะท้อนมาตรฐานการ
เรยี นรู้กล่มุ สาระการเรียนรู้
๒. เกณฑก์ ารจบการศกึ ษา
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน กาหนดเกณฑก์ ลางสาหรับการจบการศึกษาเป็น ๑ ระดับ คอื
ระดบั ประถมศึกษา
๒.๑ เกณฑก์ ารจบระดับประถมศกึ ษา
(๑) ผู้เรยี นเรียนรายวชิ าพื้นฐาน และรายวิชา/กจิ กรรมเพม่ิ เตมิ ตามโครงสร้างเวลาเรียนที่
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐานกาหนด
(๒) ผู้เรยี นต้องมีผลการประเมินรายวชิ าพน้ื ฐาน ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ตามท่สี ถานศกึ ษา
กาหนด
(๓) ผูเ้ รยี นมีผลการประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียนในระดับผา่ นเกณฑ์การประเมิน
ตามทีส่ ถานศึกษากาหนด
(๔) ผูเ้ รียนมีผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคใ์ นระดับผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามที่
สถานศึกษากาหนด
(๕) ผู้เรยี นเข้าร่วมกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี นและมผี ลการประเมนิ ผา่ นเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศกึ ษากาหนด
สาหรับการจบการศึกษาสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษาสาหรับผู้มี
ความสามารถพเิ ศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสาหรับผู้ด้อยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศัย ให้คณะกรรมการ
ของสถานศกึ ษา เขตพื้นท่กี ารศกึ ษา และผู้ท่ีเกี่ยวข้อง ดาเนินการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ตามหลักเกณฑ์ใน
แนวปฏบิ ัตกิ ารวดั และประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสาหรับกลุ่มเป้าหมาย
เฉพาะ
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 128
เอกสารหลกั ฐานการศึกษา
เอกสารหลักฐานการศึกษา เป็นเอกสารสาคัญท่บี ันทึกผลการเรยี น ข้อมูลและสารสนเทศทเ่ี กี่ยวข้องกบั
พัฒนาการของผู้เรยี นในด้านตา่ ง ๆ แบง่ ออกเป็น ๒ ประเภท ดงั น้ี
๑. เอกสารหลักฐานการศกึ ษาท่กี ระทรวงศึกษาธิการกาหนด
๑.๑ ระเบยี นแสดงผลการเรยี น เปน็ เอกสารแสดงผลการเรียนและรับรองผลการเรียนของผูเ้ รียน
ตามรายวิชา ผลการประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะหแ์ ละเขียน ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของ
สถานศกึ ษา และผลการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น สถานศึกษาจะต้องบนั ทึกข้อมลู และออกเอกสารนใ้ี ห้
ผู้เรียนเป็นรายบคุ คล เมื่อผ้เู รยี นจบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๖)
๑.๒ แบบรายงานผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา เป็นเอกสารอนุมตั ิการจบหลักสูตรโดยบันทกึ รายชื่อและ
ข้อมูลของผูจ้ บการศึกษาระดับประถมศึกษา (ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๖)
๒. เอกสารหลกั ฐานการศึกษาทสี่ ถานศึกษากาหนด
เป็นเอกสารท่สี ถานศึกษาจดั ทาขึ้นเพื่อบันทกึ พฒั นาการ ผลการเรยี นรู้ และข้อมลู สาคญั เกี่ยวกับผ้เู รียน เชน่
แบบรายงานประจาตัวนกั เรียน แบบบนั ทกึ ผลการเรยี นประจารายวชิ า ระเบียนสะสม ใบรบั รองผลการเรียน และ
เอกสารอนื่ ๆ ตามวัตถุประสงค์ของการนาเอกสารไปใช้
การเทยี บโอนผลการเรียน
สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรยี นของผู้เรียนในกรณีต่างๆได้แก่ การย้ายสถานศึกษา การเปล่ียน
รูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อ การศึกษาจากต่างประเทศ
และขอเขา้ ศกึ ษาตอ่ ในประเทศ นอกจากนี้ ยังสามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จากแหล่งการเรียนรู้
อื่นๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบนั ศาสนา สถาบนั การฝกึ อบรมอาชพี การจัดการศกึ ษาโดยครอบครัว
การเทยี บโอนผลการเรยี นควรดาเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรยี นแรก หรอื ต้นภาคเรยี นแรก ที่
สถานศึกษารบั ผูข้ อเทียบโอนเป็นผเู้ รียน ทงั้ น้ี ผเู้ รียนท่ีได้รับการเทียบโอนผลการเรยี นต้องศึกษาต่อเนื่องใน
สถานศึกษาทรี่ ับเทียบโอนอย่างน้อย ๑ ภาคเรยี น โดยสถานศึกษาทีร่ บั ผเู้ รียนจาก
การเทยี บโอนควรกาหนดรายวิชา/จานวนหนว่ ยกิตท่ีจะรับเทียบโอนตามความเหมาะสม
การพจิ ารณาการเทยี บโอน สามารถดาเนินการได้ ดังนี้
๑. พิจารณาจากหลกั ฐานการศกึ ษา และเอกสารอน่ื ๆ ทใี่ ห้ข้อมูลแสดงความรู้ ความสามารถของผู้เรยี น
๒. พจิ ารณาจากความรู้ ความสามารถของผูเ้ รยี นโดยการทดสอบด้วยวิธกี ารตา่ งๆ ท้ังภาคความรู้และ
ภาคปฏิบตั ิ
๓. พจิ ารณาจากความสามารถและการปฏิบตั ิในสภาพจรงิ
การเทียบโอนผลการเรียนให้เปน็ ไปตาม ประกาศ หรอื แนวปฏบิ ัติ ของกระทรวงศึกษาธิการ
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 129
การบริหารจัดการหลกั สูตร
ในระบบการศึกษาท่ีมีการกระจายอานาจให้ท้องถ่ินและสถานศึกษามีบทบาทในการพัฒนาหลักสูตรนั้น
หนว่ ยงานตา่ งๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ งในแต่ละระดับ ตัง้ แต่ระดับชาติ ระดบั ท้องถนิ่ จนถึงระดับสถานศึกษา มีบทบาทหน้าที่
และความรับผิดชอบในการพัฒนา สนับสนุน ส่งเสริม การใช้และพัฒนาหลักสูตรให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
เพื่อให้การดาเนินการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาและการจัดการเรีย นการสอนของสถานศึกษามีประสิทธิภาพ
สงู สดุ อนั จะส่งผลให้การพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี นบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ในระดบั ชาติ
ระดับทอ้ งถ่นิ ได้แก่ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา หน่วยงานต้นสังกัดอื่น ๆ เป็นหน่วยงานท่ีมีบทบาทใน
การขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา เป็นตัวกลางที่จะเช่ือมโยงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานท่ี
กาหนดในระดับชาติให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถ่ิน เพ่ือนาไปสู่การจัดทาหลักสูตรของ
สถานศึกษา ส่งเสริมการใช้และพัฒนาหลักสูตรในระดับสถานศึกษา ให้ประสบความสาเร็จ โดยมีภารกิจสาคัญ
คือ กาหนดเป้าหมายและจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ในระดับท้องถ่ินโดยพิจารณาให้สอดคล้องกับสิ่งท่ี
เป็นความต้องการในระดับชาติ พัฒนาสาระ การเรียนรู้ท้องถ่ิน ประเมินคุณภาพการศึกษาในระดับท้องถ่ิน
รวมทั้งเพิม่ พนู คณุ ภาพการใช้หลักสูตรด้วยการวิจัยและพัฒนา การพัฒนาบุคลากร สนับสนุน ส่งเสริม ติดตามผล
ประเมินผล วิเคราะห์ และรายงานผลคุณภาพของผเู้ รยี น
สถานศกึ ษามหี นา้ ทีส่ าคญั ในการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา การวางแผนและดาเนินการใช้หลักสูตร การเพ่ิมพูน
คุณภาพการใช้หลักสูตรด้วยการวิจัยและพัฒนา การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรจัดทาระเบียบการวัดและ
ประเมินผล ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาต้องพิจารณาให้สอดคล้อง กับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน และรายละเอียดท่ีเขตพื้นท่ีการศึกษา หรือหน่วยงาน สังกัดอื่นๆ ในระดับท้องถ่ินได้จัดทาเพ่ิ มเติม
รวมทั้ง สถานศึกษาสามารถเพิ่มเติมในส่วนท่ีเกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน และ
ความตอ้ งการของผูเ้ รยี น โดยทุกภาคสว่ นเข้ามามสี ่วนรว่ มในการพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 130
ภาคผนวก
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 131
คาส่งั โรงเรียนบา้ นแกง้ ยาง
ที่ 45 / 2563
เรื่อง แตง่ ต้งั ครปู ระจาช้ันระดับ กอ่ นประถมศึกษาและดับช้นั ประถมศึกษา ประจาปีการศกึ ษา 2563
……………………………………………………..
อาศยั อานาจตามมาตรา 37 วรรคสอง แห่งพระราชบญั ญัติระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2546 เพ่ือให้การบริหารของโรงเรียนบ้านนาประชุม สอดคล้องกับการเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติ
การศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไ้ ขเพม่ิ เติม (ฉบบั ท2่ี ) พ.ศ. 2545 ที่มุ่งหวังยกระดับการศึกษาของชาติให้
ได้มาตรฐานและจัดการศึกษาได้อย่างท่ัวถึง มีคุณภาพและเพื่อให้การบริหารและการดาเนินงานของโรงเรียน
เปน็ ไปอยา่ งคลอ่ งตัวมีประสิทธิภาพของโรงเรียน ประจาปีการศึกษา 2563 จึงขอแต่งตั้ง ครูผู้รับผิดชอบในหน้าท่ี
ประจาชน้ั เรยี นในโรงเรียนบ้านนาประชุม ดงั ต่อไปนี้
ระดับปฐมวัย ประกอบดว้ ย
1.1 นางดารารัตน์ ใจตรง ตาแหนง่ ครอู ตั ราจ้าง ครปู ระจาชน้ั อนบุ าล 2
1.2 นางดารารตั น์ ใจตรง ตาแหนง่ ครอู ตั ราจา้ ง ครูประจาชัน้ อนบุ าล 3
2. ระดบั ประถมศึกษา (ป.1 - ป.6) ประกอบดว้ ย
2.1 นางนนั ทิพร ศรที น ตาแหนง่ ครู ผชู้ ่วย ครปู ระจาชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1
2.2 นางฉวีวรรณ ไชยรถ ตาแหนง่ ครู คศ.3 ครปู ระจาช้นั ประถมศึกษาปีที่ 2
2.3 นางฉวีวรรณ ไชยรถ ตาแหนง่ ครู คศ.3 ครปู ระจาช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3
2.5 นางสาวประคอง สะทาสุ ตาแหน่ง ครู คศ.1 ครปู ระจาชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 5
2.6 นางสาวประคอง สะทาสุ ตาแหน่ง ครู คศ.1 ครปู ระจาชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ให้บคุ ลากรที่ไดร้ ับการแต่งตั้งตามคาสั่งน้ี ทุกคนปฏิบัติตามหนา้ ที่ ทไี่ ดร้ ับมอบหมายและให้จัดเตรยี มห้องเรยี น
และวิชาท่ตี นเองรบั ผิดชอบทั้งเอกสารประจาช้นั เรยี นและเอกสารรายวชิ าและเตรยี มการสอน / แผนสอนใหพ้ ร้อม
เพ่อื ให้มีประสิทธภิ าพ หากเกดิ ปัญหาใหร้ ายงานผบู้ ังคับบัญชาทราบทนั ที
ทง้ั น้ี ตงั้ แต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2563
สั่ง ณ วันท่ี 1 กรกฎาคม 2563
ลงชอื่
(นางสาวอริสรา ชดั เจน)
ผอู้ านวยการโรงเรยี นบ้านแก้งยาง
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 132
คาสง่ั สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาอบุ ลราชธานี เขต ๔
ที่ / ๒๕๖๓
เรือ่ ง แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสตู รและงานวิชาการสถานศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน
*********************************
เพอื่ ให้การบรหิ ารหลกั สูตรและงานวิชาการสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้อง
กบั พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ หมวด ๔ มาตรา ๒๗ ท่ีกาหนดให้สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานมี
หนา้ ท่ีจดั ทาสาระของหลกั สตู รเพื่อความเป็นไทย ความเป็นพลเมอื งทดี่ ีของชาติ การดารงชีวิต และการประกอบ
อาชีพ ตลอดจนเพื่อการศึกษาต่อ ในส่วนท่ีเกี่ยวกับสภาพของปัญหาในชุมชน และสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
คุณลักษณะ อันพึงประสงค์เพ่ือเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ และสอดคล้องกับ
ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ.
๒๕๔๔ อาศัยอานาจตามมาตรา ๓๗ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.
๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม จึงแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
โรงเรยี นบ้านแกง้ ยาง พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ ดงั น้ี
๑. นางสาวอริสรา ชดั เจน ผู้อานวยการโรงเรยี นบ้านแกง้ ยาง ประธาน
กรรมการ
หวั หนา้ การเรยี นรู้ปฐมวัย กรรมการ
๒. นางดารารัตน์ ใจตรง
หัวหนา้ กล่มุ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ
๓. นางฉวีวรรณ ไชยรถ
๔. นางสาวประคอง สะทาสุ หวั หนา้ กล่มุ สาระการเรียนร้กู ารงานอาชพี
๕. นางนนั ทิพร ศรีทน
๖. นางสาวประคอง สะทาสุ หวั หน้ากลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ กรรมการ
และหวั หนา้ กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา
หัวหน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรรมการ
และหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์
หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย กรรมการ
หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาองั กฤษ
หัวหน้าฝา่ ยวชิ าการ กรรมการและเลขานุการ
คณะกรรมการดาเนินการ มหี นา้ ที่และดาเนินการจดั การตามข้ันตอนทกี่ าหนด ดงั นี้
๑. วางแผนการดาเนินงานวิชาการ กาหนดสาระรายละเอียดของหลักสูตรระดับสถานศึกษาและแนว
ทางการจัดสัดส่วนสาระการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของสถานศึกษา ให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และสภาพเศรษฐกิจ สังคม ศิลปวฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ
๒. จัดทาคู่มือการบริหารหลักสูตร และงานวิชาการของสถานศึกษา นิเทศ กากับ ติดตาม ให้คาปรึกษา
เก่ียวกับการพฒั นาหลกั สตู ร การจัดกระบวนการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผลและการแนะแนวให้สอดคล้องและ
เป็นไปตามหลักสูตรการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 133
๓. ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรเก่ียวกับการพัฒนาหลักสูตร การจัดกระบวน การเรียนรู้ การวัด
และประเมินผลและการแนะแนวให้เปน็ ไปตามจุดหมายและแนวทางการดาเนนิ การของหลักสูตร
๔. ประสานความร่วมมือจากบุคคล หน่วยงาน องค์กรต่าง ๆ และชุมชน เพื่อให้การใช้หลักสูตรเป็นไป
อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและมีคณุ ภาพ
๕. ประชาสัมพันธ์หลักสูตรและการใช้หลักสูตรแก่นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้เก่ียวข้องและนา
ข้อมูลปอ้ นกลับจากฝา่ ยต่าง ๆ มาพจิ ารณาเพอ่ื ปรับปรงุ และพฒั นาหลักสตู รของสถานศึกษา
๖. ส่งเสริมสนับสนนุ การวิจยั เกย่ี วกับการพัฒนาหลกั สตู ร และกระบวนการเรียนรู้
๗. ตดิ ตามผลการเรยี นของนกั เรียนเป็นรายบุคคล ระดับช้ัน และช่วงชั้น ระดับวิชา กลุ่มวิชา ในแต่ละปี
การศึกษา เพื่อปรับปรุงแกไ้ ข และพฒั นาการดาเนนิ งานด้านตา่ ง ๆ ของสถานศกึ ษา
๘. ตรวจสอบทบทวน ประเมินมาตรฐาน การปฏิบัติงานของครู และการบริหารหลักสูตรระดับ
สถานศึกษาในรอบปีที่ผ่านมา แล้ว ใช้ผลการประเมิน เพ่ือวางแผนพัฒนาการปฏิบัติงานของครูและการบริหาร
หลกั สูตรปีการศึกษาตอ่ ไป
๙. รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านและผลการบริหารหลกั สูตรของสถานศึกษา โดยเน้นผลการพัฒนาคุณภาพ
นักเรียนต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน คณะกรรมการบริหารหลักสูตรระดับเหนือสถานศึกษา
สาธารณชน และผเู้ กยี่ วข้อง
๑๐. ให้ดาเนินการประชุมคณะกรรมการอย่างน้อยภาคเรยี นละ ๒ ครั้ง
ทั้งนใ้ี ห้ผไู้ ด้รับการแตง่ ต้งั ปฏบิ ตั ิหน้าท่ีท่ีได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุตามวัตถุประสงค์
ทตี่ ้ังไว้ ตัง้ แตบ่ ดั นเ้ี ปน็ ตน้ ไป
สง่ั ณ วนั ท่ี เดือน พ.ศ. ๒๕๖๓
(ลงชือ่ )
(นายเธียนไท คาล้าน)
ผอู้ านวยการสานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต ๔
ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 134