The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านแก้งยาง 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อริสรา ชัดเจน, 2020-07-07 00:06:14

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านแก้งยาง 2563

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านแก้งยาง 2563

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 51

ส ๑๖๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์๖ คาอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
เวลา ๔๐ ชั่วโมง

คาอธบิ ายรายวิชา
ศึกษาความหมายและความสาคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างง่าย ๆ และใช้วิธีก ารทาง

ประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราว หรือเหตุการณ์สาคัญตามลาดับข้ันตอนอย่างเป็นระบบ ได้แก่ การต้ัง
ประเด็นศึกษาเรื่องราวที่ตนสนใจ การสารวจแหล่งข้อมูลท่ีเกี่ยวข้อง การรวบรวมข้อมูลจากหลักฐานที่
หลากหลาย การวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของข้อมูล การตีความ การเรียบเรียงและนาเสนอความรู้ที่ค้นพบได้
อย่างน่าสนใจ โดยใช้ทักษะ การสารวจ การอ่าน การเปรียบเทียบ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การอธิบาย
การสรปุ ความ การเขียนเรียงความ การจัดทาโครงงานและการจดั นทิ รรศการ เพ่ือฝึกทักษะการสืบค้นเหตุการณ์
สาคัญด้วยวธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์

ศึกษาสภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมืองของประเทศเพ่ือนบ้านในปัจจุบันโดยสังเขป เชื่อมโยง และ
เปรียบเทยี บกับประเทศไทย ศึกษาความเปน็ มา และความสมั พันธข์ องกลุ่มอาเซียนโดยสังเขป โดยใช้ทักษะการ
อ่าน การสารวจ การเปรียบเทียบ การวิเคราะห์ เพื่อให้เข้าใ จพัฒนาการของประเทศเพ่ือนบ้านท่ีมี
ความสัมพันธ์กับประเทศไทย เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศ ยอมรับความแตกต่างทางวัฒนธรรม และ
อยู่รว่ มกนั ไดอ้ ย่างสันติสขุ

ศึกษาประวัติศาสตร์ความเป็นมาของชาติไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ ในเรื่องเก่ียวกับการสถาปนา
อาณาจักร ปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและการปกครอง พัฒนาการทางด้านต่าง ๆ
โดยสังเขป ผลงานของบุคคลสาคัญ ได้แก่ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สมเด็จพระบวร
ราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และภูมิปัญญาไทยที่สาคัญที่น่าภาคภูมิใจ
ควรค่าแกก่ ารอนุรักษ์ไว้ โดยใช้ทักษะการอ่าน การสืบค้นข้อมูล การเชื่อมโยง การวิเคราะห์ เพ่ือให้เกิดความ
รักและภาคภูมิใจในความเป็นชาติไทย ตระหนักถึงความพากเพียรพยายามของ บรรพบุรุษท่ีได้ปกป้อง และ
สรา้ งสรรคค์ วามเจรญิ ใหบ้ า้ นเมืองตกทอดเปน็ มรดกทางวฒั นธรรมสืบตอ่ ถึงปัจจบุ นั

มาตรฐานการเรยี นรู้/ระดับช้ัน/ตัวชวี้ ดั
ส ๔.๑ ป ๖/๑, ป ๖/๒
ส ๔.๒ ป ๖/๑, ป ๖/๒
ส ๔.๓ ป ๖/๑, ป ๖/๒, ป ๖/๓, ป ๖/๔
รวม ๓ มาตรฐาน ๘ ตวั ช้ีวดั

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 52

คาอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเติม
กล่มุ สาระการเรยี นรูส้ งั คมศกึ ษา

ศาสนาและวัฒนธรรม

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 53

ส ๑๑๒๐๑ การป้องกันการทุจริต ๑ คาอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเตมิ
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๑ กลุม่ สาระการเรยี นร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
เวลา ๔๐ ช่ัวโมง

คาอธิบายรายวชิ า
ศกึ ษาเกย่ี วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและความ

ไม่ทนต่อการทุจริต STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต รู้หน้าท่ีของพลเมืองและรับผิดชอบต่อสังคมในการ
ต่อต้านการทุจริต โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบัติจริง การทาโครงงาน
กระบวนการ เรียนรู้ 5 ขั้นตอน (5 STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทักษะการอ่านและการเขียน
เพือ่ ให้มี ความตระหนกั และเห็นความสาคญั ของการต่อต้านและการป้องกันการทุจริต

ผลการเรยี นรู้
1. มีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตน กับผลประโยชน์สว่ นรวม
2. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ รติ
3. มีความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกบั STRONG / จิตพอเพยี งต่อต้านการทุจรติ
4. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพลเมืองและมีความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม
5. สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตน กบั ผลประโยชน์ส่วนรวมได้
6. ปฏิบัตติ นเป็นผู้ละอายและไมท่ นต่อการทุจริตทุกรปู แบบ
7. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผ้ทู ่ี STRONG / จติ พอเพยี งต่อตา้ นการทุจรติ
8. ปฏบิ ตั ิตนตามหน้าที่พลเมืองและมีความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม
9. ตระหนักและเห็นความสาคัญของการต่อต้านและป้องกันการทจุ รติ
รวมทงั้ หมด 9 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 54

ส ๑๒๒๐๑ การป้องกันการทุจริต ๒ คาอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเตมิ
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๒ กลุม่ สาระการเรยี นร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
เวลา ๔๐ ช่ัวโมง

คาอธิบายรายวชิ า
ศกึ ษาเกย่ี วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและความ

ไม่ทนต่อการทุจริต STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต รู้หน้าท่ีของพลเมืองและรับผิดชอบต่อสังคมในการ
ต่อต้านการทุจริต โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบัติจริง การทาโครงงาน
กระบวนการ เรียนรู้ 5 ขั้นตอน (5 STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทักษะการอ่านและการเขียน
เพือ่ ให้มี ความตระหนกั และเห็นความสาคญั ของการต่อต้านและการป้องกันการทุจริต

ผลการเรยี นรู้
1. มีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตน กับผลประโยชน์สว่ นรวม
2. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ รติ
3. มีความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกบั STRONG / จิตพอเพยี งต่อต้านการทุจรติ
4. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพลเมืองและมีความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม
5. สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตน กบั ผลประโยชน์ส่วนรวมได้
6. ปฏิบัตติ นเป็นผู้ละอายและไมท่ นต่อการทุจริตทุกรปู แบบ
7. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผ้ทู ่ี STRONG / จติ พอเพยี งต่อตา้ นการทุจรติ
8. ปฏบิ ตั ิตนตามหน้าที่พลเมืองและมีความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม
9. ตระหนักและเห็นความสาคญั ของการต่อตา้ นและป้องกันการทจุ รติ
รวมทงั้ หมด 9 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 55

ส ๑๓๒๐๑ การป้องกันการทุจริต ๓ คาอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๓ กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
เวลา ๔๐ ชั่วโมง

คาอธิบายรายวชิ า
ศกึ ษาเกย่ี วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและความ

ไม่ทนต่อการทุจริต STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต รู้หน้าท่ีของพลเมืองและรับผิดชอบต่อสังคมในการ
ต่อต้านการทุจริต โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบัติจริง การทาโครงงาน
กระบวนการ เรียนรู้ 5 ขนั้ ตอน (5 STEPs) การอภปิ ราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทักษะการอ่านและการเขียน
เพือ่ ให้มี ความตระหนักและเห็นความสาคญั ของการต่อต้านและการปอ้ งกันการทุจรติ

ผลการเรยี นรู้
1. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตน กบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม
2. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจรติ
3. มีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั STRONG / จติ พอเพยี งต่อต้านการทจุ ริต
4. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั พลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม
5. สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตน กบั ผลประโยชน์ส่วนรวมได้
6. ปฏิบัตติ นเปน็ ผู้ละอายและไมท่ นต่อการทจุ ริตทุกรปู แบบ
7. ปฏบิ ตั ติ นเป็นผ้ทู ่ี STRONG / จิตพอเพยี งต่อตา้ นการทุจริต
8. ปฏบิ ตั ิตนตามหน้าที่พลเมืองและมีความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม
9. ตระหนักและเห็นความสาคญั ของการต่อตา้ นและป้องกันการทุจรติ
รวมทงั้ หมด 9 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 56

ส ๑๔๒๐๑ การป้องกันการทุจริต ๔ คาอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๔ กลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เวลา ๔๐ ช่วั โมง

คาอธิบายรายวชิ า
ศกึ ษาเกย่ี วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและความ

ไม่ทนต่อการทุจริต STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต รู้หน้าที่ของพลเมืองและรับผิดชอบต่อสังคมในการ
ต่อต้านการทุจริต โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบัติจริง การทาโครงงาน
กระบวนการ เรียนรู้ 5 ขนั้ ตอน (5 STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทักษะการอ่านและการเขียน
เพือ่ ให้มี ความตระหนักและเห็นความสาคญั ของการต่อต้านและการป้องกนั การทุจรติ

ผลการเรยี นรู้
1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตน กับผลประโยชนส์ ว่ นรวม
2. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริต
3. มีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั STRONG / จติ พอเพียงต่อตา้ นการทุจรติ
4. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพลเมืองและมีความรับผดิ ชอบต่อสังคม
5. สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตน กบั ผลประโยชน์ส่วนรวมได้
6. ปฏิบัตติ นเปน็ ผู้ละอายและไม่ทนต่อการทจุ รติ ทุกรูปแบบ
7. ปฏิบตั ติ นเป็นผ้ทู ่ี STRONG / จติ พอเพยี งต่อตา้ นการทุจรติ
8. ปฏบิ ตั ิตนตามหน้าที่พลเมืองและมคี วามรบั ผิดชอบต่อสังคม
9. ตระหนักและเห็นความสาคัญของการต่อตา้ นและป้องกันการทจุ ริต
รวมทัง้ หมด 9 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 57

ส ๑๕๒๐๑ การป้องกันการทุจรติ ๕ คาอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
เวลา ๔๐ ชวั่ โมง

คาอธิบายรายวชิ า
ศกึ ษาเกย่ี วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและความ

ไม่ทนต่อการทุจริต STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต รู้หน้าท่ีของพลเมืองและรับผิดชอบต่อสังคมในการ
ต่อต้านการทุจริต โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบัติจริง การทาโครงงาน
กระบวนการ เรียนรู้ 5 ขั้นตอน (5 STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทักษะการอ่านและการเขียน
เพือ่ ให้มี ความตระหนกั และเห็นความสาคญั ของการต่อต้านและการปอ้ งกันการทุจรติ

ผลการเรยี นรู้
1. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตน กบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม
2. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจรติ
3. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับ STRONG / จติ พอเพยี งต่อตา้ นการทจุ ริต
4. มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกบั พลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม
5. สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตน กบั ผลประโยชน์ส่วนรวมได้
6. ปฏบิ ัติตนเป็นผู้ละอายและไม่ทนต่อการทจุ ริตทุกรปู แบบ
7. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผ้ทู ่ี STRONG / จิตพอเพยี งต่อตา้ นการทุจริต
8. ปฏิบตั ิตนตามหน้าที่พลเมืองและมีความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม
9. ตระหนักและเห็นความสาคัญของการต่อต้านและป้องกันการทจุ ริต
รวมทงั้ หมด 9 ผลการเรียนรู้

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 58

ส ๑๖๒๐๑ การปอ้ งกันการทุจริต ๖ คาอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเติม
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๖ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เวลา ๔๐ ชวั่ โมง

คาอธิบายรายวิชา
ศกึ ษาเก่ยี วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและความ

ไม่ทนต่อการทุจริต STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต รู้หน้าท่ีของพลเมืองและรับผิดชอบต่อสังคมในการ
ต่อต้านการทุจริต โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบัติจริง การทาโครงงาน
กระบวนการ เรียนรู้ 5 ขั้นตอน (5 STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทักษะการอ่านและการเขียน
เพือ่ ให้มี ความตระหนักและเห็นความสาคัญของการต่อต้านและการป้องกันการทุจรติ

ผลการเรยี นรู้
1. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตน กับผลประโยชน์สว่ นรวม
2. มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริต
3. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับ STRONG / จติ พอเพยี งต่อตา้ นการทุจริต
4. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั พลเมืองและมีความรับผิดชอบตอ่ สังคม
5. สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตน กบั ผลประโยชนส์ ่วนรวมได้
6. ปฏิบัติตนเป็นผู้ละอายและไมท่ นต่อการทจุ ริตทุกรูปแบบ
7. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผ้ทู ่ี STRONG / จติ พอเพยี งต่อต้านการทุจรติ
8. ปฏบิ ตั ิตนตามหน้าที่พลเมืองและมีความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม
9. ตระหนักและเห็นความสาคัญของการต่อตา้ นและป้องกันการทจุ ริต
รวมทงั้ หมด 9 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 59

คาอธบิ ายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ุขศกึ ษา

และพลศกึ ษา

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 60

พ ๑๑๑๐๑ สุขศกึ ษาฯ ๑ คาอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
เวลา ๔๐ ช่วั โมง

คาอธบิ ายรายวชิ า
รเู้ ข้าใจธรรมชาตกิ ารเจริญเติบโต การพัฒนาการของมนุษย์ อธิบายหน้าที่ของอวัยวะภายนอกดูแลรักษา

เหน็ คณุ คา่ ความรกั ความผูกพัน ชื่นชอบภูมิใจในตนเอง ทั้งสมาชิกในครอบครัว รู้เข้าใจความแตกต่างระหว่างเพศ
หญิง-ชาย มีทักษะในการดาเนินชีวิต การเคลื่อนไหวทางกายสอดคล้องกับอุปกรณ์ประกอบกิจกรรม การเล่น
เกมกฬี า มีวินยั เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้าใจ จิตวิญญาณ เสริมสร้างสุขภาพ สมรรถภาพ มีความสามารถปฏิบัติ
ตามสุขบัญญัติ ปฏิบัติตนตามคาแนะนา การเจ็บป่วยของตนเอง หลีกเลี่ยงพฤติกรรมปัจจัยเส่ียง ต่อสุขภาพ
อบุ ัตเิ หตุ การใชย้ า สารเสพติด ความรุนแรง การพูด ท่าทาง ขอความช่วยเหลือ การเกิดเหตุร้าย ท่ีจะเกิดขึ้น ท้ัง
ทบี่ ้านทโ่ี รงเรยี น

มีความสามารถในการป้องกันดูแล รักษา การตัดสินใจ และการแก้ปัญหาง่ายๆ ของตนเอง และ
ครอบครัว มีความนิยมที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสานึก ต่อการดาเนินชีวิตตามธรรมชาติสอดคล้องกับ
ชวี ิตประจาวัน

รเู้ ข้าใจเห็นคุณค่าของการเลน่ เกมกจิ กรรมกฬี าพน้ื บา้ น นนั ทนาการ การท่องเทยี่ ว อาหารพื้นบ้าน ปฏิบัติ
ตนเก่ียวกับการเจ็บป่วยโรคในหมู่บ้านนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยุกตใ์ ชก้ ับชวี ติ ประจาวันไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด
พ ๑.๑ ป๑/๑ , ป๑/๒
พ ๒.๑ ป๑/๑ , ป๑/๒ , ป๑/๓
พ ๓.๑ ป๑/๑ , ป๑/๒
พ ๓.๒ ป๑/๑ , ป๑/๒
พ ๔.๑ ป๑/๑ , ป๑/๒ , ป๑/๓
พ ๕.๑ ป๑/๑ , ป๑/๒ , ป๑/๓
รวม ๖ มาตรฐาน ๑๕ ตัวชีว้ ัด

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 61

พ ๑๒๑๐๑ สุขศกึ ษาฯ ๒ คาอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๒ กลุ่มสาระการเรียนร้สู ขุ ศึกษาและพลศึกษา
เวลา ๔๐ ช่วั โมง

คาอธบิ ายรายวิชา
รเู้ ขา้ ใจธรรมชาติการเจริญเติบโต เห็นคุณค่าของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา มีทักษะในการดาเนินชีวิต

การเคลื่อนไหว การออกกาลังกาย การเล่มเกมกีฬาไทยสากล มีน้าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณ การสร้างสุขภาพ
สมรรถภาพ การป้องกันโรค หลีกเลี่ยงสารเสพติด การใช้ยา การเกิดอุบัติเหตุ ความรุนแรง มีความปลอดภัยใน
ชวี ติ ดูแลรกั ษาอวัยวะภายใน รหู้ นา้ ทีบ่ ทบาทของตนเอง สมาชกิ ในครอบครัว เพือ่ น เข้าใจความแตกต่างเพศหญิง
เพศชาย มีความภมู ิใจในเพศตนทงั้ หญิงชาย การเล่นเกม กีฬา การเคล่ือนไหวร่างกายอาศัยอุปกรณ์ได้ด้วยตนเอง
กลุ่มอย่างสนุกสนาน ตามกฎ กติกา มีวินัยในการเลือกอาหารท่ีมีประโยชน์ การมีสุขภาพดี การดูแลการเกิด
อุบตั ิเหตุ การเจ็บป่วย บาดเจบ็ การใช้ยา เลี่ยงสารเสพติด ความรุนแรง ปฏิบัติตนตามสัญลักษณ์ พฤติกรรมเสี่ยง
ได้อย่างปลอดภัย

รู้เข้าใจหน้าที่ การดูแล เสริมคุณค่าตนเอง สังคม ครอบครัว เพ่ือน การมีพฤติกรรมก่อให้เกิดความมี
สุขภาพกาย การอยู่ร่วมกัน การเสริมสร้างสุขภาพดี การดูแล เกิดการเจ็บป่วย อุบัติเหตุเบ้ืองต้น มีค่านิยมมี
คุณธรรม ในการดาเนนิ ชวี ติ สอดคล้องกบั ธรรมชาติ ชว่ ยใหม้ ีความปลอดภยั ในชีวิต

รู้เข้าใจเห็นคุณค่าของการเล่นเกมกิจกรรมกีฬาพ้ืนบ้าน นันทนาการ มีกฎระเบียบกติกา มีความรู้ ความ
เข้าใจการท่องเที่ยว อาหารพื้นบ้าน ปฏิบัติตนเกี่ยวกับการเจ็บป่วยโรคในหมู่บ้านรู้จักชื่อและอาการของโรค
นาไปใช้ในชวี ิตประจาวัน สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ
สามารถนาไปประยุกตใ์ ชก้ ับชีวติ ประจาวันได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
พ ๑.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓
พ ๒.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓, ป. ๒/๔
พ ๓.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒
พ ๓.๒ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒
พ ๔.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓, ป. ๒/๔, ป. ๒/๕
พ ๕.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓, ป. ๒/๔, ป. ๒/๕
รวม ๖ มาตรฐาน ๒๑ ตวั ชีว้ ดั

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 62

พ ๑๓๑๐๑ สขุ ศกึ ษาฯ ๓ คาอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน
ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓ กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา
เวลา ๔๐ ชัว่ โมง

คาอธบิ ายรายวชิ า
เข้าใจลักษณะการเจริญเติบโต ความแตกต่าง สัมพันธ์ ภาพในครอบครัว กลุ่มเพื่อน สร้างสัมพันธภาพ

หลีกเล่ียงพฤติกรรมนาไปส่า การล่วงละเมิดทางเพศ มีการควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกาย ทาอยู่กับที่ และ
รอบทิศทาง การใช้อุปกรณ์ในการออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬา ปฏิบัติตนอย่างสม่าเสมอ มีวินัย มีความถนัด
รู้จักจุดเด่นจุดด้อยของตนเอง รู้เข้าใจการละเล่นกีฬาพื้นเมือง อธิบายการป้องกันการแพร่กระจายของโรค การ
เลือกอาหารตามสัดส่วนรู้วิธีป้องกันโรค เข้าใจวิธีการแปรงฟันได้อย่างถูกวิธี มีความปลอดภัยในชีวิต ทั้งการขอ
ความชว่ ยเหลอื จากบุคคล เม่ือเกิดเหตรุ ้าย อบุ ัติเหตุ ทั้งการใช้ยา เว้นสารเสพติด ลดความรุนแรง ทั้งที่บ้านและที่
โรงเรียน

ปฏิบัติตนในการรู้เข้าใจอธิบาย การเปลี่ยนแปลงของมนุษย์ ความแตกต่างทั้งร่างกาย อารมณ์ให้
เหมาะสมกับวัย การตัดสินใจ แก้ปัญหาง่ายๆ จากใกล้ตัว บ้าน โรงเรียน มีเจตคติที่ดี มีคุณธรรม จิตสานึก ความ
รับผดิ ชอบต่อตนเอง และผอู้ ื่น

รู้เข้าใจวิธีการกิจกรรมการเล่นกีฬาพื้นบ้าน นันทนาการ การท่องเท่ียว อาหารพ้ืนบ้าน รู้วิธีรักษาการ
เจ็บป่วยของโรคในตาบล ปฏิบัติตามกฎระเบียบ กติกาของการเล่นเกมนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน สามารถนา
ความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับ
ชวี ติ ประจาวันได้อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
พ ๑.๑ ป. ๓/๑, ป.๓/๒, ป. ๓/๓
พ ๒.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒, ป. ๓/๓
พ ๓.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒
พ ๓.๒ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒
พ ๔.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒, ป. ๓/๓, ป. ๓/๔, ป. ๓/๕
พ ๕.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒, ป. ๓/๓
รวม ๖ มาตรฐาน ๑๘ ตัวชีว้ ัด

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 63

พ ๑๔๑๐๑ สุขศกึ ษาฯ ๔ คาอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน
ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๔ กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษา
เวลา ๘๐ ชว่ั โมง

คาอธบิ ายรายวชิ า
รู้เข้าใจหน้าท่ีของอวัยวะต่างๆ เห็นความสาคัญของการทางานของอวัยวะ สามารถป้องกันดูแลอวัยวะ

การเจริญเติบโต การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจอารมณ์ สังคม และสติปัญญา รู้วิธีการแก้ไขปัญหาและ
การป้องกันปัญหาท่ีเกิดข้ึน เข้าในบทบาทหน้าท่ีของตนเองต่อครอบครัว เห็นคุณค่าและความสาคัญของเพศชาย
เพศหญงิ สามารถควบคุมตนเองและขณะปฏิบัติการเคล่ือนไหว กิจกรรมทางกาย การกีฬา เล่มเกม มีส่วนร่วมใน
กจิ กรรมกีฬากบั ชมุ ชน ปฏบิ ตั ติ ามกฎกตกิ า รแู้ ละเขา้ ใจการมีสุขภาพท่ีดี การป้องกันโรค การเลือกบริโภคอาหาร
อารมณ์และความเครียด รู้จักการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ รู้และเข้าใจในเร่ืองการเสริมสร้างสมรรถภาพทาง
กายเพือ่ สขุ ภาพ การปอ้ งกนั หลีกเลย่ี งปัจจัยเสี่ยงที่เกิดจากอุบัติเหตุ สิ่งเสพติด การปฐมพยาบาล จัดหมวดหมู่
อวัยวะของร่างกายปฏิบัติกิจกรรมการเล่นเกม กีฬาพ้ืนบ้าน ฝึกทดสอบกิจกรรมยืดหยุ่นพ้ืนฐาน หลีกเลี่ยงปัจจัย
เสี่ยงตอ่ สขุ ภาพ อบุ ตั ิภัย

รู้ปฏิบัติตนการเล่นเกมกีฬาพ้ืนบ้านในระดับอาเภอ การทาอาหารพ้ืนบ้าน รู้วิธีรักษาและปฏิบัติตน การ
เจ็บปว่ ยตามคาแนะนา เลือกแหล่งบรกิ ารสุขภาพทเี่ หมาะสม มีความรู้ในการบริโภคอาหาร เลือกซ้ือ เลือกบริโภค
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้กบั ชวี ิตประจาวันได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ชว้ี ัด
พ ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
พ ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
พ ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒ ป.๔/๓, ป.๔/๔
พ ๓.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
พ ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
พ ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
รวม ๖ มาตรฐาน ๑๙ ตวั ช้ีวัด

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 64

พ ๑๕๑๐๑ สขุ ศกึ ษาฯ๕ คาอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศกึ ษาและพลศึกษา
เวลา ๘๐ ชวั่ โมง

คาอธบิ ายรายวชิ า
รู้เข้าใจในการทางานของอวัยวะต่างๆ สุขอนามัยทางเพศ การเปล่ียนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ

อารมณ์ สติปัญญา รู้และเข้าใจเห็นคุณค่าของชีวิตครอบครัว มีทักษะในการดาเนินชีวิต หลักการเคล่ือนไหว การ
ออกกาลังกาย เกมกีฬาไทยและกีฬาสากล รู้และเข้าใจกลวิธีการรุกและการป้องกันการส่งเสริมสุขภาพของตน
การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพและความปลอดภัยจากปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพต่างๆ ศึกษาค้นคว้าการทางานของ
ระบบอวัยวะสุขภาพทางเพศ การเปล่ยี นแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญา หลักของการเคล่ือนไหว
การกีฬา การมีสุขภาพดี การบริโภคอาหารเพ่ือสุขภาพ การปฏิบัติควบคุมจนเองในการเคล่ือนไหว การเข้าร่วม
กจิ กรรมทางกาย การเล่นเกม ออกกาลงั กาย การเการพกฎ กติกา ความมีน้าใจเป็นนักกีฬา การอภิปรายและการ
รายงานผลการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมวดั ประเมนิ ผลโดยการสงั เกตพฤติกรรมทดสอบความรู้ ทดสอบการเล่นกีฬา

เข้าใจกฎ กติกา กีฬาพื้นบ้านในระดับจังหวัดเห็นประโยชน์ของการเล่นเกม รู้อนุรักษ์การทาอาหาร
พืน้ บา้ นป้องกันการเจบ็ ปว่ ย เลอื กแหล่งบริการสุขภาพ เลือกกิจกรรมทัศนศึกษาการพักผ่อนเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการ
ปฏิบตั ติ นใหม้ ีความรู้ความเข้าใจนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวัน สามารถนาความรไู้ ปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนาไปประยุกต์ใชก้ บั ชวี ิตประจาวนั ได้อย่างถูกตอ้ งเหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด
พ ๑.๑ ป.๕/๑, ป. ๕/๒
พ ๒.๑ ป.๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓
พ ๓.๑ ป.๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓, ป. ๕/๔, ป. ๕/๕, ป. ๕/๖
พ ๓.๒ ป.๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓, ป. ๕/๔
พ ๔.๑ ป.๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓, ป. ๕/๔, ป. ๕/๕
พ ๕.๑ ป.๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓, ป. ๕/๔, ป. ๕/๕
รวม ๖ มาตรฐาน ๒๕ ตวั ชว้ี ดั

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 65

พ ๑๖๑๐๑ สุขศกึ ษาฯ ๖ คาอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษาและพลศึกษา
เวลา ๘๐ ชวั่ โมง

คาอธบิ ายรายวิชา
รเู้ ขา้ ใจในการทางานของอวัยวะต่างๆ ของรา่ งกาย สขุ อนามยั ทางเพศ การพัฒนาการ ของวัยแรกรุ่น การ

เปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญา และจิตวิญญาณในวัยแรกรุ่น ชีวิตครอบครัว หลักการ
เคลื่อนไหว การออกกาลังกาย เกมกีฬาไทย กีฬาสากล กลวิธีการรุก การป้องกัน และเสริมสร้างสุขภาพที่ดี
สมรรถภาพ การป้องกนั การเกิดโรค การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อเกิดอุบัติเหตุศึกษาค้นคว้าการทางานของระบบ
อวัยวะ การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญา จิตวิญญาณในวัยแรกรุ่นหลักของการ
เคล่ือนไหว ความมีสุขภาพดี ปฏิบัติการเคล่ือนไหว ความมีสุขภาพดี การปฏิบัติการเคล่ือนไหวอยู่กับท่ี เคล่ือนที่
การบังคับสิ่งของ การเข้าร่วมเล่นกิจกรรมทางกาย เกมกีฬา การเการพกฎกติกา ท่ายืดหยุ่นพื้นฐาน ปฏิบัติท่า
ทดสอบสมรรถภาพทางกาย อภิปรายรายงานผล การฝึกปฏิบัติกิจกรรมสังเกตพฤติการณ์และความสนใจในการ
ฝึก ปฏิบตั กิ ิจกรรม ทดสอบความรูค้ วามเข้าใจเก่ียวกับระบบการทางานของอวัยวะ การพัฒนาการของวัยรุ่น การ
เปล่ียนแปลงทางด้านรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คมวัยรุ่น ชีวิตครอบครัว สังเกตการเคลื่อนไหวการออกกาลังกาย
การเลน่ กฬี า

เข้าใจการเล่นเกมกีฬาพื้นบ้าน กฎกติการะดับจังหวัด รู้ประโยชน์ของการเล่น ปฏิบัติตนในการอนุรักษ์
อาหารพนื้ บา้ น วิธีการทา ปฏิบตั ิตนป้องกันการเจบ็ ป่วย การรกั ษา การแนะนา การป้องกันโรค เลือกแหล่งบริการ
สุขภาพในท้องถ่ินได้อย่างเหมาะสม เลือกปฏิบัติกิจกรรมในการบริโภคอาหาร สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์โดยใช้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจาวันได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั
พ ๑.๑ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒
พ ๒.๑ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒
พ ๓.๑ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒, ป. ๖/๓, ป.๖/๔, ป. ๖/๕
พ ๓.๒ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒, ป. ๖/๓, ป. ๖/๔, ป. ๖/๕, ป. ๖/๖
พ ๔.๑ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒, ป. ๖/๓, ป.๖/๔
พ ๕.๑ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒, ป. ๖/๓
รวม ๖ มาตรฐาน ๒๒ ตัวช้วี ดั

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 66

คาอธิบายรายวิชา
กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 67

คาอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน

ศ ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง

คาอธิบายรายวชิ า
อภิปราย บอก มที ักษะ สร้าง วาดภาพ ระบุ ท่อง เล่า เลียนแบบ แสดง เกี่ยวกับรูปร่าง ลักษณะ

และขนาดของส่ิงต่าง ๆ รอบตัวในธรรมชาติ และส่ิงท่ีมนุษย์สร้างขึ้น ความรู้สึกที่มีต่อธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
รอบตัว ส่ิงแวดล้อมในหมูบ่ ้าน มีพื้นฐานในการใช้วัสดุ อปุ กรณ์สรา้ งงานทัศนศลิ ปโ์ ดยการทดลองใช้สี ด้วยเทคนิค
งา่ ย ๆวาดภาพระบายสีภาพธรรมชาติตามความรู้สึกของตนเองงานทัศนศิลป์ในชีวิตประจาวัน ส่ิงต่าง ๆสามารถ
ก่อกาเนิดเสียง ที่แตกตา่ งกนั ลกั ษณะของเสยี งดัง-เบา และความช้า- เร็ว ของจังหวะ บทกลอน ร้องเพลงง่าย ๆ
มสี ว่ นรว่ มใน กิจกรรมดนตรอี ยา่ งสนกุ สนานความเกย่ี วขอ้ งของเพลงท่ใี ช้ในชีวติ ประจาวัน เพลงในท้องถ่ิน ส่ิงที่ช่ืน
ชอบในดนตรีท้องถิ่น เคร่ืองดนตรีจากพืชและสัตว์ในหมู่บ้าน การเคล่ือนไหว ท่าทางง่าย ๆ เพ่ือสื่อความหมาย
แทนคาพูด สงิ่ ที่ตนเองชอบ จากการดูหรอื ร่วมการแสดง เลน่ การละเล่นของเด็กไทย

รู้ เข้าใจ เห็นคณุ คา่ ชื่นชม เกีย่ วกับรูปร่าง ลกั ษณะ และขนาดของสง่ิ ต่าง ๆ รอบตัว ในธรรมชาติ และสิ่ง
ท่ีมนุษย์สร้างขนึ้ ความรสู้ ึกที่มีตอ่ ธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมรอบตัว ส่งิ แวดล้อมในหมู่บ้าน มีพ้ืนฐานในการใช้วัสดุ
อุปกรณ์สร้างงานทัศนศิลป์โดยการทดลองใช้สี ด้วยเทคนิคง่าย ๆวาดภาพระบายสีภาพธรรมชาติตามความรู้สึก
ของตนเองงานทัศนศิลป์ในชีวิตประจาวัน ส่ิงต่าง ๆสามารถก่อกาเนิดเสียง ที่แตกต่างกัน ลักษณะของเสียงดัง-
เบา และความชา้ -เรว็ ของจังหวะ บทกลอน ร้องเพลงง่าย ๆ มีส่วนร่วมใน กิจกรรมดนตรีอย่างสนุกสนานความ
เก่ียวข้องของเพลงท่ีใช้ในชีวิตประจาวัน เพลงในท้องถิ่นเคร่ืองดนตรีจากพืชและสัตว์ในหมู่บ้าน ส่ิงที่ช่ืนชอบใน
ดนตรีท้องถิ่น การเคล่ือนไหว ท่าทางง่าย ๆเพ่ือสื่อความหมาย แทนคาพูด สิ่งท่ีตนเองชอบ จากการดูหรือร่วม
การแสดง เลน่ การละเล่นของเด็กไทย รักและมุ่งม่ันในการทางาน สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดย
ใชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้กับชีวติ ประจาวนั ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ศ ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ศ ๑.๒ ป.๑/๑
ศ ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ศ ๒.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ศ ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ศ ๓.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒
รวม ๖ มาตรฐาน ๑๘ ตัวชว้ี ัด

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 68

คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

ศ ๑๒๑๐๑ ศลิ ปะ ๒ กล่มุ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๒ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง

คาอธบิ ายรายวชิ า
บรรยาย อภิปราย บอก มีทักษะ สร้าง วาดภาพ ระบุ ท่อง เล่า เลียนแบบ แสดง จาแนก เคาะ

ร้องเพลง เกี่ยวกับรูปร่าง รูปทรงที่พบใน ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ทัศนธาตุท่ีอยู่ในสิ่งแวดล้อมและงาน
ทศั นศลิ ป์ โดยเน้นเร่ืองเส้น สี รูปร่าง และรูปทรง ป้ันสัตว์ชนิดต่างๆที่มีในหมู่บ้าน งานทัศนศิลป์ต่าง ๆ โดยใช้
ทัศนธาตุที่เน้นเส้น รูปร่าง การใช้วัสดุ อุปกรณ์ สร้างงานทัศนศิลป์ ๓ มิติ ภาพปะติดโดยการตัดหรือฉีก
กระดาษ ภาพปะติดภาพสถานที่ท่องเที่ยวในตาบลปริกวาดภาพเพ่ือถ่ายทอดเร่ืองราวเกี่ยวกับครอบครัวของ
ตนเอง และเพ่ือนบ้าน รวมถึงเน้ือหาเรื่องราว เป็นรูปแบบงานโครงสร้างเคลื่อนไหว ความสาคัญของงาน
ทศั นศิลป์ ท่พี บเหน็ ในชวี ิตประจาวันงานทศั นศิลป์ประเภทต่าง ๆ ในท้องถิ่น โดยเน้นถึงวิธีการสร้างงานและวัสดุ
อุปกรณ์ ท่ีใช้ แหล่งกาเนิด ของเสียงที่ได้ยินคุณสมบัติของเสียง สูง- ต่า , ดัง-เบา, ยาว-ส้ัน ของดนตรี เคาะ
จังหวะหรือเคล่ือนไหวร่างกายให้สอดคล้องกับเนื้อหาของเพลงง่าย ๆ ที่เหมาะสมกับวัยความหมายและ
ความสาคัญของเพลงท่ีได้ยิน ความสัมพันธ์ของเสียงร้อง เสียงเครื่องดนตรีในเพลงท้องถ่ิน โดยใช้คาง่าย ๆ
เครอ่ื งดนตรีในบา้ นหนองคู ไดแ้ ก่ กลอง แคน ซงุ เข้าร่วมกิจกรรมทางดนตรีในท้องถิ่น เคลื่อนไหวขณะอยู่กับท่ี
และเคลื่อนท่ี ท่ีสะท้อนอารมณ์ ของตนเองอย่างอิสระเลียนแบบท่าทางสัตว์ในการรา สัตว์ที่มีในบ้านหนองคู
ท่าทาง เพ่ือส่ือความหมาย แทนคาพูด แสดงท่าทางประกอบจังหวะอย่างสร้างสรรค์ มีมารยาทในการชม
การแสดง เล่นการละเล่นพื้นบ้าน เชอ่ื มโยงสง่ิ ท่พี บเหน็ ในการละเล่นพ้ืนบ้านกับสิ่งท่ีพบเห็นในการดารงชีวิตของ
คนไทย ส่ิงท่ชี น่ื ชอบและภาคภมู ิใจ ในการละเล่นพ้ืนบ้าน

รู้ เข้าใจ เห็นคณุ ค่า ชื่นชม เก่ียวกับรูปร่าง รูปทรงที่พบใน ธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม ทัศนธาตุท่ีอยู่
ในส่ิงแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ โดยเน้นเรื่องเส้น สี รูปร่าง และรูปทรง ปั้นสัตว์ชนิดต่างๆที่มีในหมู่บ้าน งาน
ทัศนศิลป์ต่าง ๆ โดยใช้ทัศนธาตุท่ีเน้นเส้น รูปร่าง การใช้วัสดุ อุปกรณ์ สร้างงานทัศนศิลป์ ๓ มิติ ภาพปะติด
โดยการตัดหรือฉีกกระดาษ ภาพปะติดภาพสถานที่ท่องเที่ยวในหมู่บ้านหนองคู วาดภาพเพื่อถ่ายทอดเรื่องราว
เกี่ยวกับครอบครัวของตนเอง และเพื่อนบ้าน รวมถึงเนื้อหาเร่ืองราว เป็นรูปแบบงานโครงสร้างเคล่ือนไหว
ความสาคัญของงานทัศนศิลป์ ที่พบเห็นในชีวิตประจาวันงานทัศนศิลป์ประเภทต่าง ๆ ในท้องถ่ิน โดยเน้นถึง
วธิ ีการสรา้ งงานและวสั ดุอุปกรณ์ ทใี่ ช้ แหลง่ กาเนิด ของเสียงท่ีได้ยินคุณสมบัติของเสียง สูง- ต่า , ดัง-เบา, ยาว-
ส้ัน ของดนตรี เคาะจังหวะหรือเคลื่อนไหวร่างกายให้สอดคล้องกับเน้ือหาของเพลงง่าย ๆ ท่ีเหมาะสมกับวัย
ความหมายและความสาคญั ของเพลงที่ไดย้ ิน ความสมั พันธ์ของเสียงร้อง เสียงเคร่ืองดนตรีในเพลงท้องถ่ิน โดยใช้
คางา่ ย ๆ เคร่อื งดนตรีในหมบู่ ้านหนองคู ไดแ้ ก่ กลอง แคน ซงุ เข้าร่วมกิจกรรมทางดนตรีในท้องถิ่น เคล่ือนไหว
ขณะอยู่กับที่และเคล่ือนท่ี ท่ีสะท้อนอารมณ์ ของตนเองอย่างอิสระเลียนแบบท่าทางสัตว์ในการรา สัตว์ที่มีใน
หมู่บ้านหนองคู ท่าทาง เพ่ือส่ือความหมาย แทนคาพูด แสดงท่าทางประกอบจังหวะอย่างสร้างสรรค์ มีมารยาท
ในการชมการแสดง เล่นการละเล่นพื้นบ้าน เชื่อมโยงสิ่งท่ีพบเห็นในการละเล่นพื้นบ้านกับส่ิงที่พบเห็นในการ
ดารงชวี ิตของคนไทย สิ่งท่ีช่ืนชอบและภาคภูมิใจ ในการละเล่นพื้นบ้าน รักและมุ่งม่ันในการทางาน สามารถนา
ความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับ
ชีวติ ประจาวันได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 69

มาตรฐาน/ตัวชีว้ ดั
ศ ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ศ ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ศ ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕
ศ ๒.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ศ ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕
ศ ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
รวม ๖ มาตรฐาน ๒๕ ตวั ชี้วัด

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 70

คาอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

ศ ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ ๓ กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๓ เวลา ๔๐ ช่วั โมง

คาอธบิ ายรายวิชา
บรรยาย อภิปราย บอก มีทักษะ สร้าง วาดภาพ ระบุ ท่อง เล่า เลียนแบบ แสดง จาแนก

เปรยี บเทยี บ เคาะ ร้องเพลง เกี่ยวกบั รปู รา่ ง รูปทรง ในธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ วัสดุ อุปกรณ์
ที่ใชส้ ร้างผลงาน เม่อื ชมงานทศั นศิลป์ ทัศนธาตุของส่ิงตา่ ง ๆ ในธรรมชาติสิ่งแวดลอ้ ม และงานทัศนศิลป์ โดยเน้น
เรื่องเส้น สี รูปร่าง รูปทรง และพื้นผิว วาดภาพ ระบายสีสิ่งของรอบตัว การวาดภาพประเพณีวัฒนธรรมใน
หม่บู ้านและตาบลและวาดภาพเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงในครอบครัว การใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้างสรรค์ งานปั้น
ทอดความคิดความรู้สึกจากเหตุการณ์ชีวิตจริง โดยใช้เส้น รูปร่าง รูปทรง สี และพื้นผิวเหตุผลและวิธีการในการ
สร้างงานทัศนศิลป์ โดยเน้นถึงเทคนิคและวัสดุอุปกรณ์ สิ่งท่ีช่ืนชมและส่ิงที่ควรปรับปรุงในงานทัศนศิลป์ของ
ตนเอง ภาพตามทศั นธาตุ ทเ่ี นน้ ในงานทัศนศลิ ปน์ น้ั ๆ ลกั ษณะรูปร่าง รูปทรง ในงาน การออกแบบสิ่งต่าง ๆ ท่ี
มีในบ้านและโรงเรียน ท่ีมาของงานทัศนศิลป์ ในท้องถิ่นวัสดุอุปกรณ์และวิธีการสร้างงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น
รูปร่างลักษณะของเคร่ืองดนตรี ท่ีเห็นและได้ยินในชีวิตประจาวันเครื่องดนตรีในหมู่บ้านหนองคู ได้แก่ กลอง
แคน ซุง รูปภาพหรอื สญั ลกั ษณ์แทนเสยี งและจงั หวะเคาะ บทบาทหน้าท่ีของเพลงที่ได้ยิน ดนตรีง่าย ๆ อารมณ์
ของเพลงท่ีฟัง เสียงดนตรี เสียงขับร้องของตนเองและผู้อื่น ดนตรีไปใช้ในชีวิตประจาวันหรือโอกาส ต่าง ๆ ได้
อย่างเหมาะสม ลักษณะเด่นและ เอกลักษณ์ ของดนตรีในท้องถ่ิน ความสาคัญและประโยชน์ของดนตรีต่อการ
ดาเนินชีวิตของคนในท้องถิ่นการเคล่ือนไหวในรูปแบบต่าง ๆในสถานการณ์สั้น ๆ ท่าทางประกอบเพลง ตาม
รูปแบบนาฏศิลป์ บทบาทหน้าที่ของผู้แสดงและผู้ชม กิจกรรมการแสดงท่ีเหมาะสมกับวัย ประโยชน์ของการ
แสดงนาฏศิลป์ในชีวิตประจาวัน การแสดงนาฏศิลป์ท่ีเคยเห็นในท้องถ่ินสิ่งท่ีเป็นลักษณะเด่นและเอกลักษณ์ของ
การแสดงนาฏศลิ ป์ ความสาคญั ของการแสดงนาฏศลิ ป์

รู้ เข้าใจ เห็นคุณค่า ชื่นชม เก่ียวกับรูปร่าง รูปทรง ในธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ วัสดุ
อุปกรณ์ทใี่ ช้สร้างผลงาน เม่ือชมงานทัศนศิลป์ ทัศนธาตุของส่ิงต่าง ๆ ในธรรมชาติส่ิงแวดล้อม และงานทัศนศิลป์
โดยเน้นเร่ืองเส้น สี รูปร่าง รูปทรง และพื้นผิว วาดภาพ ระบายสีสิ่งของรอบตัว การวาดภาพประเพณีวัฒนธรรม
ในหม่บู า้ นและตาบลและวาดภาพเก่ียวกับเศรษฐกิจพอเพียงในครอบครัว การใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้างสรรค์ งานปั้น
ทอดความคิดความรู้สึกจากเหตุการณ์ชีวิตจริง โดยใช้เส้น รูปร่าง รูปทรง สี และพ้ืนผิวเหตุผลและวิธีการในการ
สร้างงานทัศนศิลป์ โดยเน้นถึงเทคนิคและวัสดุอุปกรณ์ สิ่งที่ชื่นชมและส่ิงที่ควรปรับปรุงในงานทัศนศิลป์ของ
ตนเอง ภาพตามทัศนธาตุ ที่เน้นในงานทัศนศิลป์นั้น ๆ ลักษณะรูปร่าง รูปทรง ในงานการออกแบบสิ่งต่าง ๆ ที่มี
ในบา้ นและโรงเรยี น ท่ีมาของงานทศั นศิลป์ ในท้องถิ่นวัสดุอุปกรณ์และวิธีการสร้างงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่นรูปร่าง
ลักษณะของเคร่ืองดนตรี ที่เห็นและได้ยินในชีวิตประจาวันเคร่ืองดนตรีในหมู่บ้านหนองคู ได้แก่ กลอง แคน ซุง
รปู ภาพหรือสญั ลักษณแ์ ทนเสียงและจังหวะเคาะ บทบาทหน้าที่ของเพลงท่ีได้ยิน ดนตรีง่าย ๆ อารมณ์ของเพลงที่
ฟัง เสียงดนตรี เสียงขบั รอ้ งของตนเองและผู้อ่ืน ดนตรีไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั หรอื โอกาสต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
ลักษณะเด่นและ เอกลักษณ์ ของดนตรีในท้องถิ่น ความสาคัญและประโยชน์ของดนตรีต่อการดาเนินชีวิตของคน
ในท้องถ่ินการเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆในสถานการณ์ส้ัน ๆ ท่าทางประกอบเพลง ตามรูปแบบนาฏศิลป์
บทบาทหน้าที่ของผู้แสดงและผู้ชม กิจกรรมการแสดงท่ีเหมาะสมกับวัย ประโยชน์ของการแสดงนาฏศิลป์ใน
ชวี ติ ประจาวนั การแสดงนาฏศิลปท์ ่เี คยเหน็ ในท้องถ่ินส่ิงทเี่ ป็นลักษณะเด่นและเอกลักษณ์ของการแสดงนาฏศิลป์
ความสาคญั ของการแสดงนาฏศลิ ป์รักและมุ่งม่ันในการทางาน สามารถนาความรู้ไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์โดยใช้หลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถนาไปประยุกต์ใชก้ ับชีวติ ประจาวนั ได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 71

มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด
ศ ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒,ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐
ศ ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒
ศ ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗
ศ ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒
ศ ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕
ศ ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
รวม ๖ มาตรฐาน ๒๙ ตัวช้ีวัด

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 72

คาอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน

ศ ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ ๔ กลุ่มสาระการเรยี นร้ศู ิลปะ
ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๔ เวลา ๘๐ ช่วั โมง

คาอธบิ ายรายวิชา
บรรยาย อภิปราย บอก มีทักษะ สร้าง วาดภาพ ระบุ ท่อง เล่า เลียนแบบ แสดง จาแนก เปรียบเทียบ

เคาะ รอ้ งเพลง เกย่ี วกับรูปลักษณะของรูปร่าง รูปทรงในธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ อิทธิพลของสี
วรรณะอุ่น และสีวรรณะเย็น ที่มีต่ออารมณ์ของมนุษย์ ทัศนธาตุ ของส่ิงต่างๆ ในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และงาน
ทัศนศิลป์โดยเน้นเรื่อง เส้น สี รูปร่าง รูปทรง พ้ืนผิว และพื้นท่ีว่าง มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุ อุปกรณ์
สร้างสรรค์งานพิมพ์ภาพและงานวาดภาพระบายสี ลักษณะของภาพโดยเน้นเร่ืองการจัดระยะ ความลึก น้าหนัก
และแสงเงาในภาพ วาดภาพระบายสี โดยใช้สีวรรณะอุ่นและสีวรรณะเย็น ถ่ายทอดความรู้สึกและจินตนาการ
ความคิดความรู้สึกทีถ่ ่ายทอดผา่ นงานทัศนศิลป์ของตนเองและบุคคลอ่ืน วรรณะสีเพื่อถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก
ในการสร้างงานทัศนศิลป์ งานทัศนศิลป์ใน เหตุการณ์ และงานเฉลิมฉลองของวัฒนธรรม ในท้องถ่ิน และแหล่ง
ท่องเท่ียวในอาเภอวารินชาราบ งานทัศนศิลป์ที่มาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ ประโยคเพลงอย่างง่าย ประเภทของ
เคร่ืองดนตรีท่ีใช้ในเพลงที่ฟัง ทิศทางการเคลื่อนท่ี ข้ึน – ลง ง่าย ๆ ของทานอง รูปแบบ จังหวะและความเร็ว
ของจังหวะในเพลงที่ฟัง โน้ตดนตรไี ทยและสากล ร้องเพลงโดยใช้ช่วงเสียงที่เหมาะสมกับตนเองใช้และเก็บเคร่ือง
ดนตรอี ยา่ งถกู ตอ้ งและปลอดภัยดนตรี สามารถใชใ้ นการสือ่ เรอ่ื งราว แหลง่ ทม่ี าและความสมั พันธ์ของวิถีชีวิตไทย
ท่ีสะท้อนในดนตรีและเพลงท้องถ่ิน เพลงกล่อมเด็กในอาเภอวารินชาราบ ความสาคัญในการอนุรักษ์ส่งเสริม
วัฒนธรรมทางดนตรี ทักษะพ้ืนฐานทางนาฏศิลป์และการละครที่ใช้ส่ือความหมายและอารมณ์ภาษาท่าและ
นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทาง การละครง่าย ๆ ในการถ่ายทอดเร่ืองราว เลียนแบบการเคล่ือนไหวของสัตว์ที่มีใน
อาเภอวารินชาราบตามรูปแบบของนาฏศิลป์ แสดง การเคลื่อนไหว ในจังหวะต่าง ๆ ตามความคิดของตน แสดง
นาฏศิลป์เป็นคู่ และหมู่ สิ่งที่ชอบในการแสดง โดยเน้นจุดสาคัญของเร่ืองและลักษณะเด่นของตัวละคร ประวัติ
ความเป็นมาของนาฏศิลป์ หรือชุดการแสดงอย่างง่าย ๆ การแสดงนาฏศิลป์กับการแสดงท่ีมาจากวัฒนธรรมอ่ืน
การแสดงของท้องถ่ิน ความสาคัญของการแสดงความเคารพในการเรียนและการแสดงนาฏศิลป์ เหตุผลที่ควร
รักษาและสืบทอดการแสดงนาฏศลิ ป์

รู้ เข้าใจ เห็นคุณค่า ชื่นชม เก่ียวกับรูปลักษณะของรูปร่าง รูปทรงในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และงาน
ทัศนศิลป์ อทิ ธิพลของสีวรรณะอนุ่ และสวี รรณะเย็น ท่มี ตี อ่ อารมณข์ องมนษุ ย์ ทศั นธาตุ ของส่ิงต่าง ๆ ในธรรมชาติ
สง่ิ แวดล้อม และงานทัศนศิลป์โดยเน้นเร่ือง เส้น สี รูปร่าง รูปทรง พ้ืนผิว และพ้ืนท่ีว่าง มีทักษะพ้ืนฐานในการใช้
วสั ดุ อุปกรณ์สรา้ งสรรค์งานพมิ พ์ภาพและงานวาดภาพระบายสี ลักษณะของภาพโดยเน้นเรื่องการจัดระยะ ความ
ลึก น้าหนักและแสงเงาในภาพ วาดภาพระบายสี โดยใช้สีวรรณะอุ่นและสีวรรณะเย็น ถ่ายทอดความรู้สึกและ
จินตนาการ ความคิดความรู้สึกท่ีถ่ายทอดผ่านงานทัศนศิลป์ของตนเองและบุคคลอ่ืน วรรณะสีเพื่อถ่ายทอด
อารมณ์ ความรู้สึกในการสร้างงานทัศนศิลป์ งานทัศนศิลป์ใน เหตุการณ์ และงานเฉลิมฉลองของวัฒนธรรม ใน
ท้องถนิ่ และแหลง่ ทอ่ งเท่ียวในอาเภอวารนิ ชาราบ งานทศั นศลิ ป์ท่ีมาจากวัฒนธรรมต่างๆ ประโยคเพลงอย่างง่าย
ประเภทของเครอ่ื งดนตรที ใี่ ชใ้ นเพลงท่ฟี ัง ทศิ ทางการเคลื่อนที่ ข้นึ – ลง ง่าย ๆ ของทานอง รูปแบบ จังหวะและ
ความเร็วของจังหวะในเพลงท่ีฟัง โน้ตดนตรีไทยและสากล ร้องเพลงโดยใช้ช่วงเสียงที่เหมาะสมกับตนเองใช้และ
เก็บเคร่อื งดนตรอี ย่างถกู ตอ้ งและปลอดภัยดนตรี สามารถใช้ในการส่ือเรื่องราว แหล่ง ที่มาและความสัมพันธ์ของ
วถิ ีชีวติ ไทย ท่สี ะทอ้ นในดนตรแี ละเพลงท้องถิ่น เพลงกล่อมเด็กในอาเภอวารินชาราบ ความสาคัญในการอนุรักษ์
ส่งเสริมวัฒนธรรมทางดนตรี ทักษะพื้นฐานทางนาฏศิลป์และการละครที่ใช้ส่ือความหมายและอารมณ์ภาษาท่า
และนาฏยศพั ทห์ รือศัพท์ทาง การละครง่าย ๆ ในการถ่ายทอดเร่ืองราว เลียนแบบการเคล่ือนไหวของสัตว์ท่ีมีใน

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 73

อาเภอวารินชาราบตามรูปแบบของนาฏศิลป์ แสดง การเคลื่อนไหว ในจังหวะต่าง ๆ ตามความคิดของตน
แสดงนาฏศิลป์เป็นคู่ และหมู่ สิ่งที่ชอบในการแสดง โดยเน้นจุดสาคัญของเร่ืองและลักษณะเด่นของตัวละคร
ประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ หรือชุดการแสดงอย่างง่ายๆ การแสดงนาฏศิลป์กับการแสดงที่มาจาก
วัฒนธรรมอ่ืน การแสดงของท้องถิ่น ความสาคัญของการแสดงความเคารพในการเรียนและการแสดงนาฏศิลป์
เหตุผลที่ควรรักษาและสืบทอดการแสดงนาฏศิลป์ รักและมุ่งม่ันในการทางาน สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิด
ประโยชนโ์ ดยใช้วิธีการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจาวันได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั
ศ ๑.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕ , ป.๔/๖ , ป.๔/๗ , ป.๔/๘ , ป.๔/๙
ศ ๑.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒
ศ ๒.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕ , ป.๔/๖ , ป.๔/๗
ศ ๒.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒
ศ ๓.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕
ศ ๓.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔
รวม ๖ มาตรฐาน ๒๙ ตวั ชีว้ ัด

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 74

คาอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน

ศ ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ
ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๕ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง

คาอธบิ ายรายวชิ า
บรรยาย อภิปราย บอก มีทักษะ สร้าง วาดภาพ ระบุ ท่อง เล่า เลียนแบบ แสดง จาแนก เปรียบเทียบ

เคาะ รอ้ งเพลง เกี่ยวกบั เกี่ยวกบั จังหวะ ตาแหนง่ ของ สง่ิ ตา่ ง ๆ ทป่ี รากฏในส่ิงแวดลอ้ ม และงานทัศนศิลป์ความ
แตกต่างระหวา่ งงานทศั นศลิ ป์ ทส่ี ร้างสรรคด์ ว้ ยวสั ดอุ ุปกรณแ์ ละวิธกี ารท่ตี ่างกนั เทคนคิ ของแสงเงา น้าหนัก และ
วรรณะสี การวาดภาพภูมิศาสตร์ของสถานที่ท่องเที่ยวและประเพณีวัฒนธรรมในอาเภอวารินชาราบและจังหวัด
อบุ ลราชธานี งานปน้ั จาก ดินน้ามันหรอื ดินเหนียวโดยเน้นการถา่ ยทอดจินตนาการ งานพิมพ์ภาพ โดยเน้นการจัด
วางตาแหน่งของสิง่ ตา่ ง ๆ ในภาพ ปญั หาในการจัดองค์ประกอบศิลป์ และการสื่อความหมายในงานทัศนศิลป์ของ
ตนเอง และบอกวธิ กี ารปรับปรุงงานใหด้ ขี ้นึ ประโยชน์และคุณค่าของงานทัศนศิลป์ท่ีมีผลต่อชีวิตของคน ในสังคม
เกยี่ วกับลักษณะรปู แบบของงานทัศนศิลปใ์ นแหล่งเรยี นรู้หรอื นทิ รรศการศลิ ปะ งานทศั นศลิ ปท์ ่ีสะท้อนวัฒนธรรม
และภูมิปัญญาในท้องถิ่น องค์ประกอบดนตรีในเพลงที่ใช้ในการสื่ออารมณ์ ลักษณะของเสียงขับร้องและเครื่อง
ดนตรีที่อยู่ในวงดนตรีประเภทต่าง ๆ โน้ตดนตรีไทยและสากล ๕ ระดับเสียง เคร่ืองดนตรีทาจังหวะและทานอง
เพลงไทยหรือเพลงสากล หรือเพลงไทยสากลท่ีเหมาะสมกับวัย ประโยคเพลงแบบถามตอบใช้ดนตรีร่วมกับ
กิจกรรมในการแสดงออกตามจินตนาการความสัมพนั ธ์ระหวา่ งดนตรีกับประเพณีในวัฒนธรรมต่าง ๆ คุณค่าของ
ดนตรีท่มี าจากวฒั นธรรมท่ีตา่ งกัน องคป์ ระกอบนาฏศิลป์ ทา่ ทางประกอบเพลงหรือเร่ืองราวตามความคิดของตน
แสดงนาฏศิลป์ โดยเน้นการใช้ภาษาท่าและนาฏยศัพท์ในการส่ือความหมายและการแสดงออกการรารองเง็ง
เลียนแบบการเคลื่อนไหวของธรรมชาติที่มีในจังหวัดอุบลราชธานี การเขียนเค้าโครงเร่ืองหรือบทละครสั้น ๆการ
แสดงนาฏศิลปช์ ุดต่าง ๆประโยชนท์ ่ีไดร้ บั จากการชมการแสดง การแสดงประเภทต่าง ๆ ของไทย ในแต่ละท้องถ่ิน
แสดงนาฏศลิ ป์ นาฏศลิ ป์พนื้ บา้ น ท่สี ะท้อนถงึ วัฒนธรรมและประเพณี

รู้ เข้าใจ เห็นคุณค่า ชื่นชม เก่ียวกับจังหวะ ตาแหน่งของ สิ่งต่าง ๆ ที่ปรากฏในส่ิงแวดล้อม และงาน
ทศั นศลิ ป์ ความแตกต่างระหว่างงานทศั นศิลป์ ทสี่ รา้ งสรรคด์ ว้ ยวสั ดุอปุ กรณ์และวิธีการทตี่ ่างกัน เทคนิคของแสง
เงา น้าหนกั และวรรณะสี การวาดภาพภูมิศาสตร์ของสถานที่ท่องเท่ียวและประเพณีวัฒนธรรมในอาเภอวารินชา
ราบและจังหวัดอุบลราชธานี งานปั้นจาก ดินน้ามันหรือดินเหนียวโดยเน้นการถ่ายทอดจินตนาการงานพิมพ์ภาพ
โดยเน้นการจัดวางตาแหน่งของสิ่งต่าง ๆ ในภาพ ปัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์ และการสื่อความหมายใน
งานทัศนศิลป์ของตนเอง และบอกวิธีการปรับปรุงงานให้ดีข้ึน ประโยชน์และคุณค่าของงานทัศนศิลป์ท่ีมีผลต่อ
ชีวิตของคนในสังคม เก่ียวกับลักษณะรูปแบบของงานทัศนศิลป์ในแหล่งเรียนรู้หรือนิทรรศการศิลปะ งาน
ทศั นศิลป์ทส่ี ะท้อนวฒั นธรรมและภมู ิปัญญาในทอ้ งถิน่ องคป์ ระกอบดนตรีในเพลงที่ใช้ในการสื่ออารมณ์ ลักษณะ
ของเสียงขับร้องและเครื่องดนตรีท่ีอยู่ในวงดนตรีประเภทต่าง ๆ โน้ตดนตรีไทยและสากล ๕ ระดับเสียง เครื่อง
ดนตรีทาจงั หวะและทานอง เพลงไทยหรือเพลงสากล หรือเพลงไทยสากลท่ีเหมาะสมกับวัย ประโยคเพลงแบบ
ถามตอบใช้ดนตรีร่วมกับกิจกรรมในการแสดงออกตามจินตนาการความสัมพันธ์ระหว่าง ดนตรีกับประเพณีใน
วัฒนธรรมต่าง ๆ คุณคา่ ของดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรมที่ต่างกัน องค์ประกอบนาฏศิลป์ ท่าทางประกอบเพลงหรือ
เรื่องราวตามความคิดของตน แสดงนาฏศิลป์ โดยเน้นการใช้ภาษาท่าและนาฏยศัพท์ในการสื่อความหมายและ
การแสดงออกการรา เลียนแบบการเคลื่อนไหวของธรรมชาติท่ีมีในจังหวัดอุบลราชธานี การเขียนเค้าโครงเรื่อง
หรอื บทละครสัน้ ๆ การแสดงนาฏศิลป์ชุดต่าง ๆ ประโยชน์ท่ีได้รับจากการชมการแสดง การแสดงประเภทต่าง ๆ
ของไทย ในแต่ละท้องถ่ิน แสดงนาฏศิลป์ นาฏศิลป์พ้ืนบ้าน ท่ีสะท้อนถึงวัฒนธรรมและประเพณีรักและมุ่งม่ันใน

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 75

การทางาน สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไป
ประยุกตใ์ ชก้ ับชีวิตประจาวนั ไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั
ศ ๑.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕ , ป.๕/๖ , ป.๕/๗
ศ ๑.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒
ศ ๒.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕ , ป.๕/๖ , ป.๕/๗
ศ ๒.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒
ศ ๓.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕ , ป.๕/๖
ศ ๓.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒
รวม ๖ มาตรฐาน ๒๖ ตวั ชว้ี ัด

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 76

คาอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

ศ ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ๖ กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะ
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๖ เวลา ๘๐ ชั่วโมง

คาอธบิ ายรายวชิ า
บรรยาย อภิปราย บอก มีทักษะ สร้าง อ่าน เขียน วาดภาพ ระบุ ท่อง เล่า เลียนแบบ แสดงจาแนก

เปรียบเทียบ เคาะ ร้องเพลง เก่ียวกับ สีคู่ตรงข้าม และอภิปรายเก่ียวกับการใช้ สีคู่ตรงข้าม ในการถ่ายทอด
ความคิดและอารมณ์ หลกั การจดั ขนาดสดั ส่วนความสมดุลในการสร้างงานทัศนศิลป์ งานทัศนศิลป์จากรูปแบบ ๒
มิติ เปน็ ๓ มิติ โดยใช้หลักการของแสงเงาและน้าหนักงานป้ันโดยใช้หลักการเพิ่มและลด ป้ันแผนผังของโรงเรียน
งานทัศนศิลป์ โดยใช้หลักการของรูปและพื้นที่ว่างใช้สีคู่ตรงข้ามหลักการจัดขนาดสัดส่วน และความสมดุล วาด
ภาพสถาปัตยกรรมที่มีในจังหวัดอุบลราชธานี ทัศนศิลป์เป็นแผนภาพ แผนผัง และภาพประกอบ เพ่ือถ่ายทอด
ความคิด หรือเร่ืองราวเก่ียวกับเหตุการณ์ต่าง ๆ บทบาทของงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนชีวิตและสังคม เก่ียวกับ
อทิ ธพิ ลของความเชอ่ื ความศรัทธาในศาสนาที่มีผลต่องานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น อิทธิพลทางวัฒนธรรมในท้องถิ่นที่
มีผลต่อการสร้างงานทศั นศลิ ป์ของบคุ คล เพลงทฟี่ งั โดยอาศัยองค์ประกอบดนตรี และศัพท์สังคีต ประเภทและ
บทบาทหน้าที่เคร่ืองดนตรีไทยและเครื่องดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ โน้ตไทย และโน้ตสากลทานองง่าย ๆ
ใช้เครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการร้องเพลงด้นสดที่มีจังหวะและทานองง่าย ๆ ความรู้สึกท่ีมีต่อดนตรี ทานอง
จังหวะ การประสานเสียง และคุณภาพเสียงของเพลงที่ฟัง เร่ืองราวของดนตรีไทยในประวัติศาสตร์ ดนตรีที่มา
จากยุคสมยั ทีต่ า่ งกัน อทิ ธิพลของวฒั นธรรมต่อดนตรใี นทอ้ งถ่นิ การเคลือ่ นไหวและการแสดงโดยเน้นการถ่ายทอด
ลีลาหรืออารมณ์ เครื่องแต่งกาย หรืออุปกรณ์ประกอบการ แสดงนาฏศิลป์และการละคร อย่างง่าย ๆ ความรู้สึก
ของตนเองท่ีมีต่องานนาฏศิลป์และการละครอย่างสร้างสรรค์ การแสดงความคิดเห็นในการชมการแสดง
ความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์และการละครกับส่ิงท่ีประสบในชีวิตประจาวันส่ิงท่ีมีความสาคัญต่อการแสดง
นาฏศลิ ป์และละคร ประโยชน์ทีไ่ ด้รบั จากการแสดงหรอื การชมการแสดงนาฏศลิ ป์และละคร

รู้ เขา้ ใจ เห็นคุณคา่ ช่ืนชม เกยี่ วกบั สคี ู่ตรงข้าม และอภิปรายเกยี่ วกับการใช้ สีคตู่ รงข้าม ในการถ่ายทอด
ความคดิ และอารมณ์ หลกั การจัดขนาดสดั ส่วนความสมดลุ ในการสร้างงานทัศนศลิ ป์ งานทัศนศิลป์จากรูปแบบ ๒
มิติ เป็น ๓ มิติ โดยใช้หลักการของแสงเงาและน้าหนักงานปั้นโดยใช้หลักการเพ่ิมและลด ปั้นแผนผังของโรงเรียน
งานทัศนศิลป์ โดยใช้หลักการของรูปและพื้นท่ีว่างใช้สีคู่ตรงข้ามหลักการจัดขนาดสัดส่วน และความสมดุล วาด
ภาพสถาปัตยกรรมที่มีในจังหวัดอุบลราชธานี ทัศนศิลป์เป็นแผนภาพ แผนผัง และภาพประกอบ เพ่ือถ่ายทอด
ความคิด หรือเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่าง ๆ บทบาทของงานทัศนศิลป์ท่ีสะท้อนชีวิตและสังคม เก่ียวกับ
อทิ ธพิ ลของความเชือ่ ความศรัทธาในศาสนาท่ีมีผลต่องานทัศนศิลป์ในท้องถ่ิน อิทธิพลทางวัฒนธรรมในท้องถ่ินท่ี
มผี ลตอ่ การสร้างงานทัศนศิลป์ของบคุ คล เพลงที่ฟงั โดยอาศัยองค์ประกอบดนตรี และศัพท์สังคีต ประเภทและ
บทบาทหน้าท่ีเคร่ืองดนตรีไทยและเคร่ืองดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ โน้ตไทย และโน้ตสากลทานองง่าย ๆ
ใช้เคร่ืองดนตรีบรรเลงประกอบการร้องเพลงด้นสดที่มีจังหวะและทานองง่าย ๆ ความรู้สึกท่ีมีต่อดนตรี ทานอง
จงั หวะ การประสานเสียง และคุณภาพเสียงของเพลงทีฟ่ ัง เร่อื งราวของดนตรไี ทยในประวัติศาสตร์ ดนตรีท่ีมาจาก
ยุคสมยั ทตี่ ่างกนั อทิ ธพิ ลของวฒั นธรรมตอ่ ดนตรีในทอ้ งถิน่ การเคลอ่ื นไหวและการแสดงโดยเน้นการถ่ายทอดลีลา
หรืออารมณ์ เคร่ืองแต่งกาย หรืออุปกรณ์ประกอบการ แสดงนาฏศิลป์และการละคร อย่างง่าย ๆ ความรู้สึกของ
ตนเองท่มี ตี ่องานนาฏศิลป์และการละครอย่างสร้างสรรค์ การแสดงความคิดเห็นในการชมการแสดงความสัมพันธ์
ระหวา่ งนาฏศลิ ปแ์ ละการละครกับส่งิ ที่ประสบในชวี ติ ประจาวันส่ิงท่ีมีความสาคัญต่อการแสดงนาฏศิลป์และละคร
ประโยชน์ท่ีได้รับจากการแสดงหรือการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร รักและมุ่งม่ันในการทางาน สามารถนา

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 77

คว ามรู้ไปใช้ให้เกิดประโ ยช น์โ ดยใช้หลั กปรัช ญาของเศรษฐ กิจพอเพี ยงแล ะส ามารถนาไปประยุกต์ใช้กับ
ชวี ิตประจาวนั ไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด
ศ ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗
ศ ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ศ ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ศ ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ศ ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ศ ๓.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒
รวม ๖ มาตรฐาน ๒๗ ตวั ชว้ี ัด

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 78

คาอธบิ ายรายวิชา
กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 79

คาอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน

ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชพี ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ เวลา ๒๐ ช่วั โมง

คาอธบิ ายรายวชิ า
บอก รู้ วธิ กี ารทางาน ใชว้ สั ดอุ ุปกรณ์ และเครื่องมอื ประโยชนข์ องอปุ กรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ ทางาน

เพ่ือช่วยเหลือตนเองอย่างกระตือรือร้นและการประหยัด , ออม การตรงต่อเวลา การผลิตเคร่ืองใช้จักสาน จาก
วัสดเุ หลือใช้เศรษฐกิจพอเพียงผ่านกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ สหกรณ์ การจัดการขยะ อาหารกลางวันข้อมูลสิ่งที่สนใจ
เป็นข้อมูลเกย่ี วกับบคุ คล สัตว์ ส่งิ ของ เรอื่ งราวในหมู่บา้ นหนองไผ่ หอ้ งสมดุ โรงเรยี นบา้ นฝาผนงั

เพ่ือใหร้ ู้ เขา้ ใจ การช่วยเหลือตนเองเปน็ การลงมือทางานท่ีมงุ่ เนน้ การฝกึ ทางานอย่างสม่าเสมอ การ
ทางานอย่างปลอดภัย ความกระตือรือรน้ และตรงเวลาเป็นลักษณะนสิ ัยในการทางาน ใฝ่รใู้ ฝเ่ รียน มุ่งม่ันในการ
ทางาน สามารถนาความรไู้ ปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์โดยใชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไป
ประยุกต์ใช้กับชวี ิตประจาวนั ไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั
ง ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๑, ป.๑/๓
รวม ๑ มาตรฐาน ๓ ตวั ชีว้ ัด

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 80

ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชพี ๒ คาอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๒ กลมุ่ สาระการเรียนร้กู ารงานอาชพี
เวลา ๒๐ ชวั่ โมง

คาอธบิ ายรายวิชา
บอก รู้ วิธีการหรือประโยชน์ของการทางาน สิ่งของเคร่ืองใช้ในชีวิตประจาวัน ใช้วัสดุอุปกรณ์ ชื่อและ

หน้าท่ีของอุปกรณ์และเคร่ืองมือให้เหมาะสมกับงาน อาชีพการทาสวนลองกองช่วยให้การประหยัด , ออม รู้จัก
แบ่งปนั ส่ิงของให้ผู้อ่นื และชว่ ยเหลอื งานบา้ น ข้อมลู และรวบรวมขอ้ มลู ที่สนใจจากแหล่งข้อมูลต่างๆที่เชื่อถือได้ ช่ือ
และหน้าที่ของอุปกรณ์พ้ืนฐานที่เป็นส่วนประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ เศรษฐกิจพอเพียงผ่านกิจกรรมต่างๆ
ไดแ้ ก่ เศรษฐกจิ พอเพียงผ่านกจิ กรรมต่าง ๆ สหกรณ์ การจดั การขยะ อาหารกลางวันโรงเรียน การผลิตการใช้วัสดุ
เหลอื ใช้

เพื่อให้ตระหนัก เห็นคุณค่า เพื่อช่วยเหลือตนเองและครอบครัว นาความรู้เก่ียวกับการใช้อุปกรณ์
เครือ่ งมอื ท่ถี ูกวิธไี ปประยกุ ตใ์ ช้ การสรา้ งของเล่นของใช้อยา่ งงา่ ย มคี วามคดิ สร้างสรรคอ์ ย่างน้อย ๑ ลักษณะ ของ
ใช้อย่างอย่างง่ายโดยกาหนดปัญหา นาความรู้เก่ียวกับการใช้อุปกรณ์ เคร่ืองมือที่ถูกวิธีไปประยุกต์ใช้ การสร้าง
ของเล่นของใช้อย่างง่ายมีความคิดสร้างสรรค์อย่างน้อย ๑ ลักษณะ ในการแก้ปัญหา สามารถนาความรู้ไปใช้ให้
เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจาวันได้อย่าง
ถูกตอ้ งเหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด
ง ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
รวม ๑ มาตรฐาน ๓ ตวั ช้ีวัด

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 81

คาอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน

ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชพี ๓ กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๓ เวลา ๒๐ ชว่ั โมง

คาอธิบายรายวิชา
บอก ค้นหาข้อมูล รวบรวมข้อมูล สร้าง ข้ันตอน เลือกใช้สิ่งของเครื่อง เครื่องมือวิธีการทางานและ

ประโยชน์การทางาน ใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือตรงกับงาน อาชีพการทาสวน ช่วยให้การประหยัด , ออม
โดยกาหนดปัญหาหรือความต้องการ อย่างมีข้ันตอน ทางานอย่างเป็นตามกระบวนการทางานด้วยความสะอาด
ความรอบคอบและอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม เศรษฐกิจพอเพียงผ่านกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ สหกรณ์ การจัดการขยะ
อาหารกลางวันโรงเรียน

เพื่อให้ รู้ เข้าใจ การทางาน เพื่อช่วยเหลือตนเองและครอบครัว ช่วยเหลืองานบ้านและประเมินผล
เลือกใช้ส่ิงของเครื่องใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ มีการจัดการสิ่งของเคร่ืองใช้ ด้วยการนากลับมาใช้ซ้า
การแบ่งปันส่ิงของให้ผู้อ่ืน สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ
สามารถนาไปประยุกตใ์ ช้กบั ชวี ิตประจาวันได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั
ง ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
รวม ๑ มาตรฐาน ๓ ตวั ช้ีวัด

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 82

คาอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน

ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ ๔ กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๔ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง

คาอธบิ ายรายวิชา
บอก อธิบาย ความหมาย ความสาคัญ ของอาชพี ขน้ั ตอนการทางาน ใช้ระบบ เหตุผลในการทางานให้

บรรลเุ ป้าหมาย ประโยชน์และโทษ ใชพ้ ลังงานทรัพยากรในการทางานอย่างประหยดั การ ออม เศรษฐกิจพอเพียง
ผ่านกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ สหกรณ์ การจัดการขยะ อาหารกลางวันโรงเรียน การทาอาชีพการปลูกพืชสวนครัว
เล้ียงสตั ว์

เพ่ือให้ รู้ เข้าใจ การช่วยเหลืองานในบ้าน การทางานบรรลุเป้าหมายท่ีวางไว้อย่างเป็นข้ันตอน
การแบ่งปันสิ่งของให้ สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ
สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้กับชีวิตประจาวนั ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั
ง ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ง ๒.๑ ป.๔/๑
รวม ๒ มาตรฐาน ๖ ตัวช้วี ัด

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 83

คาอธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน

ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชีพ ๕ กล่มุ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๕ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง

คาอธบิ ายรายวชิ า
บอก อธิบาย ความหมาย ความสาคัญ ของอาชีพ ข้ันตอนการทางาน ใช้ระบบเหตุผลในการทางานให้

บรรลุเปา้ หมาย ประโยชนแ์ ละโทษ ใช้พลังงานทรัพยากรในการทางานอย่างประหยัด การออม เศรษฐกิจพอเพียง
ผ่านกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ สหกรณ์ การจัดการขยะ อาหารกลางวันโรงเรียน การทาอาชีพการปลูกพืชสวนครัว
เล้ยี งสตั ว์

เพ่ือให้ รู้ เข้าใจ การช่วยเหลืองานในบ้าน การทางานบรรลุเป้าหมายท่ีวางไว้อย่างเป็นขั้นตอน การใช้
ระบบปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอร์ในการทางาน การแบ่งปันส่ิงของให้ สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้
วธิ ีการของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กบั ชีวติ ประจาวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด
ง ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ง ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒
รวม ๒ มาตรฐาน ๖ ตวั ชี้วัด

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 84

คาอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชีพ ๖ กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชพี
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ เวลา ๔๐ ช่วั โมง

คาอธบิ ายรายวชิ า
อธิบาย บอก อภิปราย รวบรวม นาเสนอ ข้อมูล แนวทางการทางานแต่ละข้ันตอน ส่วนประกอบของ

เทคโนโลยี สรา้ งสิ่งของเครอื่ งใช้อย่างเปน็ ขัน้ ตอน ตง้ั แต่กาหนดปัญหา หรือความตอ้ งการ และประเมินผล ทาให้
ผู้เรียนทางานอย่างเป็นกระบวนการและช่วยเหลืองานในบ้านการประหยัด การออม การแบ่งปันส่ิงของให้ผู้อื่น
การแปรรูปจากกลว้ ยการผลิตการใชเ้ คร่ืองจักสาน การผลิตการใชเ้ คร่ืองจักสานจากวัสดุเหลอื ใช้ อาชพี การทาสวน
การปลูกพืชสวนครัว เลี้ยงสัตว์ เศรษฐกิจพอเพียงผ่านกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ สหกรณ์ การจัดการขยะ อาหาร
กลางวันโรงเรยี น

เพื่อให้รู้ เข้าใจทักษะการจัดการทางาน และมีทักษะการทางานร่วมกันปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการ
ทางานกับสมาชิกในครอบครัวและผู้อื่นนาความรู้และทักษะการสร้าง ช้ินงาน ไปประยุกต์ในการสร้างสิ่งของ
เคร่ืองใช้และการแก้ปัญหาวางแผนในการเลือกอาชีพ สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้วิธีการของ
เศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยุกต์ใชก้ ับชีวิตประจาวนั ได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั
ง ๑.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓
ง ๒.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒
รวม ๒ มาตรฐาน ๕ ตวั ชีว้ ดั

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 85

คาอธบิ ายรายวชิ า
กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 86

อ ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ คาอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ
เวลา ๑๒๐ ชวั่ โมง

คาอธิบายรายวชิ า
ปฏบิ ตั ติ าม คาสงั่ งา่ ยๆ ท่ีฟงั ตัวอกั ษรและเสยี ง และสะกดคาง่าย ๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน ภาพตรง

ตามความหมายของคาและกลุ่มคาท่ีฟัง เรื่องใกล้ตัว คาส้ัน ๆ ง่าย ๆ ในการสื่อสารระหว่างบุคคลตามแบบท่ีฟัง
คาส่ังง่าย ๆ ตามแบบที่ฟัง ความต้องการง่ายๆของตนเองตามแบบที่ฟัง การขอและให้ข้อมูลง่ายๆ เกี่ยวกับ
ตนเองตามแบบท่ฟี งั ขอ้ มลู ง่ายๆ เกย่ี วกับตนเองและเร่ืองใกลต้ วั ตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ช่ือและคาศัพท์
เก่ียวกบั เทศกาลสาคัญของเจ้าของภาษา การเขา้ ร่วมกิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรมที่เหมาะสมกับวัย การระบุ
ตัวอักษรและเสียงอักษรของภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)และภาษาไทย คาศัพท์ท่ีเกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการ
เรียนร้อู ่นื การฟัง/พดู ในสถานการณง์ า่ ยๆทเี่ กิดข้ึนในหอ้ งเรียน การใช้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)เพ่ือรวบรวม
คาศัพทท์ ่เี ก่ยี วขอ้ งใกล้ตวั

โดยการปฏิบัติตาม ระบุ อ่านออกเสียง เลือกภาพ ตอบคาถาม พูดโต้ตอบ ใช้ บอก พูดขอ ให้ข้อมูล
ทาท่าประกอบ เข้าร่วม ฟัง/พูด เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน เกิด
สมรรถนะตามความตอ้ งการของหลกั สตู ร มคี ุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ข้ึนในตัวของผู้เรียน และสามารถอยู่ร่วมกับ
ผ้อู ่นื ในสังคมได้อย่างมีความสุข สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้กับชวี ติ ประจาวันได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ช้วี ัด
ต ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ต ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ต ๑.๓ ป.๑/๑
ต ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ต ๒.๒ ป.๑/๑
ต ๓.๑ ป.๑/๑
ต ๔.๑ ป.๑/๑
ต ๔.๒ ป.๑/๑
รวม ๘ มาตรฐาน ๑๖ ตวั ชว้ี ดั

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 87

อ ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๒ คาอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๒ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ
เวลา ๑๒๐ ชว่ั โมง

คาอธบิ ายรายวิชา
ปฏิบตั ิตามคาส่ังงา่ ยๆ และคาขอร้องงา่ ยๆ ทฟ่ี ัง ระบุตวั อกั ษรและเสยี ง อ่านออกเสียงคา สะกดคา และ

อ่านประโยคง่ายๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน เลือกภาพตรงตามความหมายของคาและกลุ่มคาที่ฟัง ตอบคาถาม
จากการฟังประโยค บทสนทนาหรือนิทานง่าย ๆ ที่มีภาพประกอบ พูดโต้ตอบด้วยคาสั้นๆ ง่าย ๆในการส่ือสาร
ระหว่างบคุ คลตามแบบท่ีฟัง ใช้คาส่ังและคาขอร้องง่าย ๆ ตามแบบท่ีฟัง บอกความต้องการง่ายๆของตนเองตาม
แบบทฟ่ี งั พดู ขอและใหข้ ้อมูลงา่ ยๆ เกี่ยวกบั ตนเองตามแบบท่ฟี งั พูดใหข้ ้อมลู เกย่ี วกบั ตนเองและเรื่องใกล้ตัว พูด
และทาท่าทางประกอบตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา บอกชื่อและคาศัพท์เกี่ยวกับเทศกาลสาคัญของเจ้าของ
ภาษา การเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมที่เหมาะสมกับวัย ระบุตัวอักษรและเสียงอักษรของ
ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)และภาษาไทย บอกคาศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ฟัง/พูดใน
สถานการณง์ ่ายๆที่เกิดขน้ึ ในห้องเรียน ใชภ้ าษาต่างประเทศ(ภาษาองั กฤษ)เพ่ือรวบรวมคาศพั ท์ท่ีเกี่ยวข้องใกลต้ ัว

โดยการระบุ อ่านออกเสียง เลือก ตอบคาถาม พูดโต้ตอบ ใช้ บอก ทาท่าทาง เข้าร่วม ฟัง เพ่ือให้
ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน เกิดสมรรถนะตามความต้องการของหลักสูตร
มีคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคข์ ึน้ ในตัวของผู้เรยี น และสามารถอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ ื่นในสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสุข สามารถ
นาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับ
ชีวิตประจาวันได้อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ต ๑.๑ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔
ต ๑.๒ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔
ต ๑.๓ ป.๒/๑ , ป.๒/๑
ต ๒.๑ ป.๒/๒ , ป.๒/๓
ต ๒.๒ ป.๒/๑
ต ๓.๑ ป.๒/๑
ต ๔.๑ ป.๒/๑
ต ๔.๒ ป.๒/๑
รวม ๘ มาตรฐาน ๑๖ ตัวชี้วัด

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 88

อ ๑๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๓ คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
เวลา ๑๒๐ ชวั่ โมง

คาอธบิ ายรายวชิ า
ปฏิบัติตามคาสั่งและคาขอร้องท่ีฟังหรืออ่าน คา สะกดคา อ่านกลุ่มคาประโยค และบทพูดเข้าจังหวะ

(chant)ง่าย ๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน ภาพหรือสัญลักษณ์ตรงตามความหมายของคากลุ่มคาและประโยคที่ฟัง
จากการฟังหรืออ่านประโยค บทสนทนา หรือนิทานง่ายๆ คาส้ันๆ ง่าย ๆในการสื่อสารระหว่างบุคคลตามแบบท่ี
ฟัง คาส่ังและคาขอร้องง่าย ๆ ตามแบบทฟี่ งั ความตอ้ งการงา่ ยๆของตนเองตามแบบที่ฟัง ขอและให้ข้อมูลง่ายๆ
เกี่ยวกับตนเองและเพ่ือนตามแบบทฟี่ ัง ความรู้สึกของตนเองเกย่ี วกบั สง่ิ ต่างๆ ใกล้ตัว หรือกิจกรรมต่างๆ ตามแบบ
ท่ีฟัง ให้ข้อมูลง่ายๆ เกี่ยวกับตนเองและเร่ืองใกล้ตัว คาตามประเภทของ บุคคล สัตว์ และส่ิงของตามท่ีฟังหรือ
อ่าน มารยาทสังคม/วฒั นธรรมของเจ้าของภาษา ชอ่ื และคาศพั ท์งา่ ยๆเกี่ยวกับเทศกาล/วันสาคัญ/งานฉลองและ
ชีวิตความเปน็ อยู่ของเจา้ ของภาษา กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมท่ีเหมาะสมกับวัย ความแตกต่างของเสียง
ตัว อักษร คา กลมุ่ คา และประโยคง่ายๆ ของภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)และภาษาไทย คาศัพท์ท่ีเกี่ยวข้อง
กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน สถานการณ์ง่ายๆที่เกิดข้ึนในห้องเรียน ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)เพ่ือ
รวบรวมคาศพั ท์ท่เี กยี่ วข้องใกล้ตัว

โดยการอ่านออกเสียง สะกดคา ฟัง พูด เลือก/ระบุ ตอบคาถาม พูดโต้ตอบ ใช้ บอก จัด
หมวดหมู่ ทาท่าประกอบ เข้าร่วมกจิ กรรม เพื่อให้มีความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนาความรู้ไปปฏิบัติให้
เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยกุ ต์ใชก้ บั ชวี ิตประจาวันได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวช้วี ดั
ต ๑.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔
ต ๑.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕
ต ๑.๓ ป.๓/๑ , ป.๓/๒
ต ๒.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ต ๒.๒ ป.๓/๑
ต ๓.๑ ป.๓/๑
ต ๔.๑ ป.๓/๑
ต ๔.๒ ป.๓/๑
รวม ๘ มาตรฐาน ๑๘ ตวั ช้ีวัด

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 89

อ ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔ คาอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
เวลา ๘๐ ชัว่ โมง

คาอธบิ ายรายวชิ า
ปฏิบตั ติ ามคาส่ัง คาขอร้อง และคาแนะนา (instructions)ง่าย ๆที่ฟังหรืออ่าน อ่านออกเสียงคา สะกด

คา อ่านกลุ่มคา ประโยค ข้อความง่ายๆ และบทพูดเข้าจังหวะ ถูกต้องตามหลักการอ่าน เลือก/ระบุภาพหรือ
สญั ลกั ษณ์ หรอื เคร่ืองหมายตรงตามความหมายของประโยคและข้อความส้ันๆท่ีฟังหรืออ่าน ตอบคาถามจากการ
ฟังหรืออ่านประโยค บทสนทนา หรือนิทานง่ายๆ พูด/เขียนโต้ตอบในการส่ือสารระหว่างบุคคล ใช้คาสั่ง คา
ขอร้อง และคาขออนุญาตง่าย ๆ พูด/เขียนแสดงความต้องการของตนเองตามและขอความช่วยเหลือใน
สถานการณ์ง่ายๆ พูด/เขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล เกี่ยวกับตนเองเพื่อน และครอบครัว พูดแสดงความรู้สึกของ
ตนเองเกีย่ วกบั เรือ่ งต่างๆ ใกล้ตัว หรือกิจกรรมต่างๆ ตามแบบที่ฟัง พูด/เขียนให้ข้อมูลง่ายๆ เกี่ยวกับตนเองและ
เรื่องใกล้ตัว พูด/วาดภาพแสดงความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆใกล้ตัวท่ีฟังหรืออ่าน พูดแสดงความคิดเห็นง่ายๆ
เกี่ยวกับตนเองและเร่ืองใกล้ตัว พูดและทาท่าประกอบอย่างสุภาพตามมารยาทสังคม/วัฒนธรรมของเจ้าของ
ภาษา ตอบคาถามเก่ียวกับเทศกาล/วันสาคัญ/งานฉลองและชีวิตความเป็นอยู่ง่ายๆของเจ้าของภาษา การเข้า
ร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมท่ีเหมาะสมกับวัย บอกความแตกต่างของเสียงตัว อักษร คา กลุ่มคา
ประโยค และข้อความ ของภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)และภาษาไทย บอกความเหมือน/ความแตกต่าง
ระหว่างเทศกาลและงานฉลองตามวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษากับของไทย ค้นคว้ารวบรวม คาศัพท์ท่ีเกี่ยวข้อง
กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน และนาเสนอด้วยการพูด/การเขียน ฟัง/พูดในสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้นในห้องเรียนและ
สถานศกึ ษา ใชภ้ าษาต่างประเทศ(ภาษาองั กฤษ)ในการสบื ค้นและรวบรวมข้อมลู ต่างๆ

โดยการฟงั พดู อา่ น เขยี น ระบุ อา่ นออกเสียง เลอื ก ตอบคาถาม พูดโต้ตอบ ใช้ บอก ทาท่าทาง เข้า
ร่วม เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน เกิดสมรรถนะตามความต้องการ
ของหลักสูตร มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ขึ้นในตัวของผู้เรียน และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมี
ความสุข สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไป
ประยุกตใ์ ชก้ ับชีวติ ประจาวนั ไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั
ต ๑.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป๔/๔
ต ๑.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป๔/๔ , ป๔/๕
ต ๑.๓ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ต ๒.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ต ๒.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒
ต ๓.๑ ป.๔/๑
ต ๔.๑ ป.๔/๑
ต ๔.๒ ป.๔/๑
รวม ๘ มาตรฐาน ๒๐ ตัวชว้ี ดั

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 90

อ ๑๕๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๕ คาอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๕ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ
เวลา ๘๐ ชัว่ โมง

คาอธบิ ายรายวชิ า
ปฏิบัติตามคาสั่ง คาขอร้อง และคาแนะนา ที่ฟังหรืออ่าน อ่านออกเสียง ประโยค ข้อความ และบท

กลอนส้ันๆ ถกู ต้องตามหลักการอ่าน ระบุ/วาดภาพสัญลักษณ์ หรือเคร่ืองหมายตรงตามความหมายของประโยค
และข้อความสั้นๆท่ีฟังหรืออ่าน บอกใจความสาคัญและตอบคาถามจากการฟังหรืออ่านบทสนทนา และนิทาน
ง่ายๆหรือเร่ืองสั้นๆ พูด/เขียนโต้ตอบในการส่ือสารระหว่างบุคคล ใช้คาสั่ง คาขอร้อง คาขออนุญาตและให้
คาแนะนางา่ ย ๆ พดู /เขียนแสดงความตอ้ งการของตนเองตาม ขอความชว่ ยเหลือ ตอบรบั และปฏิเสธการให้ความ
ช่วยเหลือในสถานการณ์ง่ายๆ พูด/เขียนเพ่ือขอและให้ข้อมูล เก่ียวกับตนเองเพื่อน ครอบครัว และเร่ืองใกล้ตัว
พดู แสดงความรู้สกึ ของตนเองเกีย่ วกับเรอื่ งต่างๆ ใกล้ตัว หรือกจิ กรรมต่างๆพร้อมท้ังให้เหตุผลสั้นๆประกอบ พูด/
เขียนให้ข้อมูลง่ายๆ เก่ียวกับตนเองและเร่ืองใกล้ตัว เขียนภาพ แผนผัง และแผนภูมิแสดงข้อมูลต่างๆตามที่ฟัง
หรืออ่าน พูดแสดงความคิดเห็น เก่ียวกับเรื่องต่างๆใกล้ตัว ใช้ถ้อยคา น้าเสียง และกิริยาท่าทางอย่างสุ ภาพตาม
มารยาทสังคม/วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ตอบคาถาม/บอกความสาคัญของเทศกาล/วันสาคัญ/งานฉลองและ
ชีวิตความเปน็ อยงู่ า่ ยๆของเจา้ ของภาษา การเขา้ ร่วมกจิ กรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ บอกความ
เหมือน/ความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ การใช้เคร่ืองหมายวรรคตอน และการลาดับคา
(order)ตามโครงสร้างของประโยคของภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)และภาษาไทย บอกความเหมือน/ความ
แตกต่างระหว่างเทศกาลและงานฉลองตามวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษากับของไทย ค้นคว้ารวบรวม คาศัพท์ท่ี
เก่ียวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และนาเสนอด้วยการพูด/การเขียน ฟัง พูด และอ่าน/เขียนในสถานการณ์
ต่างๆที่เกิดขึ้นในห้องเรียนและสถานศึกษา ใช้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)ในการสืบค้นและรวบรวมข้อมูล
ตา่ งๆ

โดยการฟงั พูด อ่าน เขยี น ระบุ อา่ นออกเสยี ง เลือก ตอบคาถาม พดู โต้ตอบ ใช้ บอก ทาท่าทาง เขา้
ร่วม เพอื่ ให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและนาไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวัน เกิดสมรรถนะตามความตอ้ งการของ
หลกั สูตร มีคุณลกั ษณะอันพึงประสงคข์ ึน้ ในตัวของผเู้ รียน และสามารถอยรู่ ่วมกับผูอ้ นื่ ในสงั คมได้อยา่ งมีความสุข
สามารถนาความรู้ไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์โดยใช้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถนาไปประยุกต์ใชก้ ับ
ชวี ิตประจาวนั ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด
ต ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ต ๑.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ต ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
ต ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
ต ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ต ๓.๑ ป.๕/๑
ต ๔.๑ ป.๕/๑
ต ๔.๒ ป.๕/๑
รวม ๘ มาตรฐาน ๒๐ ตัวชี้วดั

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 91

อ ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๖ คาอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
เวลา ๘๐ ชัว่ โมง

คาอธิบายรายวชิ า
ปฏิบัติตามคาสั่ง คาขอร้อง และคาแนะนา ที่ฟังและอ่าน อ่านออกเสียง ข้อความ นิทาน และบทกลอน

ส้นั ๆ ถูกตอ้ งตามหลกั การอ่าน เลือก/ระบุประโยค หรอื ข้อความสนั้ ๆ ตรงตามภาพ สัญลักษณ์ หรือเคร่ืองหมาย
ท่ีอ่าน บอกใจความสาคัญ และตอบคาถามจากการฟังหรืออ่าน บทสนทนา หรือนิทานง่ายๆและเรื่องเล่า พูด/
เขียนโต้ตอบในการส่ือสารระหว่างบุคคล ใช้คาส่ัง คาขอร้อง และคาขออนุญาตและให้คาแนะนา พูด/เขียน
แสดงความต้องการ ขอความชว่ ยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ง่ายๆ พูด/เขียน
เพ่ือขอและให้ข้อมูล เก่ียวกับตนเอง เพ่ือน ครอบครัว และเรื่องใกล้ตัว พูด/เขียนแสดงความรู้สึกของตนเอง
เกยี่ วกบั เรอ่ื งตา่ งๆ ใกล้ตัว หรอื กจิ กรรมต่างๆ พร้อมทัง้ ใหเ้ หตผุ ลส้ันๆประกอบ พูด/เขียนให้ข้อมูล เกี่ยวกับตนเอง
เพอ่ื น และสง่ิ แวดล้อมใกล้ตัว เขียนภาพ แผนผัง และแผนภูมิแสดงข้อมูลต่างๆตามที่ฟังหรืออ่าน พูดเขียนแสดง
ความคดิ เห็น เก่ียวกบั เร่ืองต่างๆ ใกล้ตัว ใช้ถ้อยคา น้าเสียง และกิริยาท่าทางอย่างสุภาพ เหมาะสมตามมารยาท
สังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ให้ข้อมูลเก่ียวกับเทศกาล/วันสาคัญ/งานฉลอง/ชีวิตความเป็นอยู่ของ
เจ้าของภาษา การเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ บอกความเหมือน/ความแตกต่าง
ระหว่างการออกเสยี งประโยคชนดิ ต่างๆ การใช้เครื่องหมายวรรคตอน และการลาดับคา ตามโครงสร้าง ประโยค
ของภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)และภาษาไทย เปรียบเทยี บความเหมือน/ความแตกต่างระหว่างเทศกาลงาน
ฉลอง และประเพณีของเจ้าของภาษากับของไทย ค้นคว้ารวบรวม คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
จากแหลง่ การเรยี นรู้ และนาเสนอด้วยการพูด/การเขียน ใช้ภาษาส่ือสารในสถานการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในห้องเรียน
และสถานศึกษา ใช้ภาษาตา่ งประเทศ(ภาษาองั กฤษ)ในการสืบค้นและรวบรวมข้อมลู ต่างๆ

โดยการฟัง พูด อ่าน เขียน ระบุ อ่านออกเสียง เลือก ตอบคาถาม พูดโต้ตอบ เข้าร่วม เปรียบเทียบ
ค้นควา้ ใช้ บอก เพอื่ ให้ผู้เรยี นมคี วามรูค้ วามเขา้ ใจและนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน เกิดสมรรถนะตามความ
ต้องการของหลักสูตร มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ขึ้นในตัวของผู้เรียน และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้
อย่างมีความสุข สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถ
นาไปประยุกตใ์ ช้กับชวี ิตประจาวนั ไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ัด
ต ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
ต ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕
ต ๑.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ต ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ต ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒
ต ๓.๑ ป.๖/๑
ต ๔.๑ ป.๖/๑
ต ๔.๒ ป.๖/๑
รวม ๘ มาตรฐาน ๒๐ ตัวช้ีวัด

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 92

คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเตมิ
กลุ่มสาระการเรยี นรตู้ ่างประเทศ

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 93

อ ๑๑๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพ่ิมเติม ๑ คาอธิบายรายวิชาเพ่ิมเตมิ
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ
เวลา ๘๐ ชั่วโมง

คาอธิบายรายวิชา
ศึกษา วิเคราะห์ตวั อักษร เสียงตัวอกั ษรและสระ การสะกดคา และประโยคหลกั การอา่ นออก เสียงคา

กลุ่มคา คาสัง่ และคาขอรอ้ งทใี่ ช้ในห้องเรียน บทสนทนา หรอื นทิ านทม่ี ภี าพประกอบ ประโยค คาถามและคา
ตอบ บทสนทนา ข้อมลู เกยี่ วกับตนเอง กิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรมของเจ้าของ ภาษา คา คาศพั ท์เกย่ี วกับ
เทศกาลสาคญั ของเจา้ ของภาษา ภาษาตา่ งประเทศและภาษาไทย คาศัพทท์ ่ี เกี่ยวขอ้ งกับกลุ่มสาระการเรยี นรูอ้ ่นื
การใชภ้ าษาในการฟัง/พูดในสถานการณง์ ่ายๆ ทีเ่ กิดขึน้ ใน ห้องเรียน การใชภ้ าษาต่างประเทศในการรวบรวม
คาศัพท์ทีเ่ ก่ียวขอ้ งใกลต้ วั จากสื่อตา่ งๆ โดยใชก้ ระบวนการทางภาษานามาปฏิบตั ิ ได้แก่ การฟงั การพดู โตต้ อบ
และทาท่าประกอบ การ อา่ นออกเสียง การระบุตวั อักษร

เพอ่ื ใหน้ กั เรียนมีความสามารถในการส่ือสาร การคดิ การใช้เทคโนโลยี มีวนิ ัย ใฝเ่ รยี นรู้ มุ่งมน่ั ใน การ
ทางาน มีเจคติทีด่ ีต่อวชิ าภาษาองั กฤษ

ผลการเรยี นรู้
1. นักเรยี นสามารถใชค้ าทักทาย คาอาลา และใช้ทา่ ทางประกอบได้อย่างถกู ต้อง
2. นักเรยี นสามารถเขียนและอา่ นออกเสียงคาศัพท์ท่ีกาหนดให้ได้
3. นักเรยี นเข้าใจและปฏิบัติตามคาส่งั ง่ายๆ
4. นักเรียนสามารถใหข้ ้อมูลเก่ยี วกับตนเอง และขอ้ มูลของผู้อนื่ ได้
5. นักเรยี นสามารถสะกดคาศพั ท์ไดถ้ ูกต้อง
6. นกั เรียนสามารถถาม-ตอบประโยคง่ายๆ
รวมท้งั หมด 6 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 94

อ ๑๒๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพ่ิมเติม ๒ คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๒ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ
เวลา ๘๐ ชั่วโมง

คาอธิบายรายวชิ า

ศกึ ษา วิเคราะห์ตัวอักษร เสียงตวั อกั ษรและสระ การสะกดคา และประโยคหลกั การอา่ นออก เสียงคา
กลุ่มคา คาสัง่ และคาขอรอ้ งทใี่ ช้ในหอ้ งเรยี น บทสนทนา หรอื นิทานทม่ี ีภาพประกอบ ประโยค คาถามและคา
ตอบ บทสนทนา ข้อมลู เก่ยี วกบั ตนเอง กจิ กรรมทางภาษาและวฒั นธรรมของเจ้าของ ภาษาคา คาศัพท์เกย่ี วกบั
เทศกาลสาคญั ของเจา้ ของภาษา ภาษาตา่ งประเทศและภาษาไทย คาศัพทท์ ี่ เกี่ยวข้องกับกลมุ่ สาระการเรยี นรูอ้ ่ืน
การใช้ภาษาในการฟัง/พดู ในสถานการณง์ ่ายๆ ทเ่ี กดิ ข้ึนใน ห้องเรยี น การใช้ภาษาต่างประเทศในการรวบรวม
คาศัพท์ที่เก่ียวข้องใกลต้ ัว จากสื่อต่างๆ โดยใช้กระบวนการทางภาษานามาปฏิบตั ิ ได้แก่ การฟงั การพดู โต้ตอบ
และทาท่าประกอบ การ อ่านออกเสียง การระบตุ วั อักษร

เพอื่ ให้นกั เรียนมีความสามารถในการสื่อสาร การคดิ การใชเ้ ทคโนโลยี มีวินัย ใฝเ่ รียนรู้ มุ่งมน่ั ใน การ
ทางาน มีเจคติท่ีดีต่อวชิ าภาษาอังกฤษ

ผลการเรยี นรู้
1. นักเรยี นสามารถใชค้ าทักทาย คาอาลา และใช้ทา่ ทางประกอบได้อยา่ งถกู ต้อง
2. นักเรยี นสามารถเขียนและอ่านออกเสยี งคาศัพท์ทก่ี าหนดใหไ้ ด้
3. นักเรยี นเข้าใจและปฏบิ ตั ิตามคาสั่งงา่ ยๆ
4. นักเรียนสามารถให้ข้อมลู เก่ียวกบั ตนเอง และข้อมลู ของผู้อืน่ ได้
5. นักเรยี นสามารถสะกดคาศพั ท์ได้ถูกต้อง
6. นกั เรียนสามารถถาม-ตอบประโยคงา่ ยๆ
รวมท้งั หมด 6 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 95

อ ๑๓๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพ่ิมเติม ๓ คาอธิบายรายวิชาเพ่ิมเตมิ
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๓ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ
เวลา ๘๐ ชั่วโมง

คาอธิบายรายวิชา
ศึกษา วิเคราะห์ตวั อักษร เสียงตัวอกั ษรและสระ การสะกดคา และประโยคหลกั การอา่ นออก เสียงคา

กลุ่มคา คาสัง่ และคาขอรอ้ งทใี่ ช้ในห้องเรียน บทสนทนา หรอื นทิ านทม่ี ภี าพประกอบ ประโยค คาถามและคา
ตอบ บทสนทนา ข้อมลู เกยี่ วกับตนเอง กิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรมของเจ้าของ ภาษา คา คาศพั ท์เกย่ี วกับ
เทศกาลสาคญั ของเจา้ ของภาษา ภาษาตา่ งประเทศและภาษาไทย คาศัพทท์ ่ี เกี่ยวขอ้ งกับกลุ่มสาระการเรยี นรูอ้ ่นื
การใชภ้ าษาในการฟัง/พูดในสถานการณง์ ่ายๆ ทีเ่ กิดขึน้ ใน ห้องเรียน การใชภ้ าษาต่างประเทศในการรวบรวม
คาศัพท์ทีเ่ ก่ียวขอ้ งใกลต้ วั จากสื่อตา่ งๆ โดยใชก้ ระบวนการทางภาษานามาปฏิบตั ิ ได้แก่ การฟงั การพดู โตต้ อบ
และทาท่าประกอบ การ อา่ นออกเสียง การระบุตวั อักษร

เพื่อใหน้ กั เรียนมีความสามารถในการส่ือสาร การคดิ การใช้เทคโนโลยี มีวนิ ัย ใฝเ่ รยี นรู้ ม่งุ มน่ั ใน การ
ทางาน มีเจคติทีด่ ีต่อวชิ าภาษาองั กฤษ

ผลการเรยี นรู้
1. นักเรยี นสามารถใชค้ าทักทาย คาอาลา และใช้ทา่ ทางประกอบได้อย่างถกู ต้อง
2. นักเรยี นสามารถเขียนและอา่ นออกเสียงคาศัพท์ท่ีกาหนดให้ได้
3. นักเรยี นเข้าใจและปฏิบัติตามคาส่งั ง่ายๆ
4. นักเรียนสามารถใหข้ ้อมูลเก่ยี วกับตนเอง และขอ้ มูลของผู้อนื่ ได้
5. นักเรยี นสามารถสะกดคาศพั ท์ไดถ้ ูกต้อง
6. นกั เรียนสามารถถาม-ตอบประโยคง่ายๆ
รวมท้งั หมด 6 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 96

อ ๑๔๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพิ่มเตมิ ๔ คาอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเตมิ
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๔ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ
เวลา ๘๐ ชัว่ โมง

คาอธบิ ายรายวิชา
ศึกษาวเิ คราะห์ ตวั อกั ษรและเสียงคา กลุ่มคา ประโยค คาถาม บทสนทนา หลักการอ่านคาสั่ง คาขอร้อง

และคาแนะนา นิทาน ภาพตรงตามความหมาย ความต้องการของตนเอง และความช่วยเหลือ ในสถานการณ์
ต่างๆข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพ่ือนและครอบครัว ข้อมูลเก่ียวกับตนเองและเร่ืองใกล้ตัว ความสัมพันธ์ของส่ิงต่างๆ
ใกล้ตัว ทา่ ทางประกอบอย่างสุภาพ ตามมารยาทสงั คม กจิ กรรมทางภาษา และวฒั นธรรมของเจ้าของภาษา ความ
แตกตา่ งของเสยี งตวั อกั ษร คา กลมุ่ คา ประโยค และข้อความ ของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย ความเหมือน/
ความแตกต่างระหวา่ งเทศกาลและงานฉลอง ตาม วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษากบั ของไทย และคาศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
กบั กลุม่ สาระการเรียนรู้อนื่ และการ สืบค้นข้อมลู รวบรวมข้อมูล ตลอดจนสถานการณ์ที่เกดิ ขน้ึ ในหอ้ งเรียน

โดยใชก้ ระบวนการทางภาษานามาปฏิบัติ ไดแ้ ก่ การฟงั การพูดโต้ตอบและทาท่าประกอบ การ อ่านออก
เสียง การเขยี น การเขา้ รว่ มกจิ กรรมทางภาษา

เพื่อให้นักเรียนมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต เทคโนโลยี มีวินัย
ใฝเ่ รียนรู้ ม่งุ ม่ันในการทางาน และมเี จคตทิ ี่ดตี อ่ วิชาภาษาอังกฤษ

ผลการเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถเขยี นและอ่านออกเสียงคาศัพท์ท่ีกาหนดให้ได้
2. นกั เรียนสามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกบั ตนเอง และขอ้ มลู ของผอู้ ืน่ ได้
3. นกั เรียนเขา้ ใจและปฏบิ ตั ติ ามคาสงั่ งา่ ยๆ
4. นกั เรียนสามารถสะกดคาศพั ทไ์ ดถ้ ูกต้อง
5. นักเรยี นสามารถถาม-ตอบประโยคงา่ ยๆได้
6. นกั เรยี นเขา้ ใจ คาสงั่ คาขอร้อง ภาษาท่าทาง และคาแนะนาในสถานศึกษา
7. นักเรียนเขา้ ใจบทสนทนาและบทความสน้ั ๆได้
8. นักเรียนสามารถใช้และเข้าใจไวยากรณภ์ าษาอังกฤษพ้นื ฐานได้
รวมท้งั หมด 8 ผลการเรียนรู้

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 97

อ ๑๕๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพ่ิมเตมิ ๕ คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเตมิ
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๕ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ
เวลา ๘๐ ชัว่ โมง

คาอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาวเิ คราะห์ ตัวอกั ษรและเสียงคา กลุ่มคา ประโยค คาถาม บทสนทนา หลักการอ่านคาส่ัง คาขอร้อง

และคาแนะนา นิทาน ภาพตรงตามความหมาย ความต้องการของตนเอง และความช่วยเหลือ ในสถานการณ์
ต่างๆข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพ่ือนและครอบครัว ข้อมูลเก่ียวกับตนเองและเร่ืองใกล้ตัว ความสัมพันธ์ของส่ิงต่างๆ
ใกล้ตัว ท่าทางประกอบอย่างสุภาพ ตามมารยาทสงั คม กจิ กรรมทางภาษา และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ความ
แตกตา่ งของเสยี งตัวอกั ษร คา กลมุ่ คา ประโยค และขอ้ ความ ของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย ความเหมือน/
ความแตกตา่ งระหว่างเทศกาลและงานฉลอง ตาม วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษากบั ของไทย และคาศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
กบั กลุม่ สาระการเรยี นรู้อืน่ และการ สืบค้นข้อมลู รวบรวมขอ้ มูล ตลอดจนสถานการณ์ที่เกดิ ขนึ้ ในหอ้ งเรียน

โดยใชก้ ระบวนการทางภาษานามาปฏบิ ัติ ไดแ้ ก่ การฟงั การพูดโต้ตอบและทาท่าประกอบ การ อ่านออก
เสียง การเขยี น การเขา้ รว่ มกจิ กรรมทางภาษา

เพ่ือให้นักเรียนมีความสามารถในการส่ือสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต เทคโนโลยี มีวินัย
ใฝเ่ รียนรู้ มุง่ ม่นั ในการทางาน และมเี จคตทิ ี่ดตี อ่ วิชาภาษาอังกฤษ

ผลการเรียนรู้
1. นกั เรียนสามารถเขยี นและอ่านออกเสียงคาศัพทท์ ่ีกาหนดให้ได้
2. นักเรยี นสามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกบั ตนเอง และข้อมลู ของผอู้ ืน่ ได้
3. นักเรยี นเขา้ ใจและปฏบิ ัตติ ามคาสั่งง่ายๆ
4. นักเรียนสามารถสะกดคาศพั ทไ์ ดถ้ กู ต้อง
5. นกั เรียนสามารถถาม-ตอบประโยคงา่ ยๆได้
6. นกั เรยี นเข้าใจ คาสงั่ คาขอร้อง ภาษาท่าทาง และคาแนะนาในสถานศึกษา
7. นักเรียนเข้าใจบทสนทนาและบทความสนั้ ๆได้
8. นกั เรยี นสามารถใช้และเข้าใจไวยากรณภ์ าษาอังกฤษพ้นื ฐานได้
รวมทัง้ หมด 8 ผลการเรียนรู้

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 98

อ ๑๖๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพ่ิมเตมิ ๖ คาอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเตมิ
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ
เวลา ๘๐ ชัว่ โมง

คาอธบิ ายรายวิชา
ศึกษาวเิ คราะห์ ตวั อกั ษรและเสียงคา กลุ่มคา ประโยค คาถาม บทสนทนา หลักการอ่านคาสั่ง คาขอร้อง

และคาแนะนา นิทาน ภาพตรงตามความหมาย ความต้องการของตนเอง และความช่วยเหลือ ในสถานการณ์
ต่างๆข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อนและครอบครัว ข้อมูลเก่ียวกับตนเองและเร่ืองใกล้ตัว ความสัมพันธ์ของส่ิงต่างๆ
ใกล้ตัว ทา่ ทางประกอบอยา่ งสภุ าพ ตามมารยาทสงั คม กจิ กรรมทางภาษา และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ความ
แตกตา่ งของเสยี งตวั อกั ษร คา กลมุ่ คา ประโยค และข้อความ ของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย ความเหมือน/
ความแตกตา่ งระหวา่ งเทศกาลและงานฉลอง ตาม วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษากบั ของไทย และคาศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
กบั กลุม่ สาระการเรียนรอู้ ื่น และการ สืบค้นข้อมลู รวบรวมข้อมูล ตลอดจนสถานการณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ ในหอ้ งเรียน

โดยใชก้ ระบวนการทางภาษานามาปฏิบัติ ไดแ้ ก่ การฟงั การพูดโต้ตอบและทาท่าประกอบ การ อ่านออก
เสียง การเขยี น การเขา้ รว่ มกจิ กรรมทางภาษา

เพ่ือให้นักเรียนมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต เทคโนโลยี มีวินัย
ใฝเ่ รียนรู้ มุ่งม่ันในการทางาน และมเี จคตทิ ี่ดตี อ่ วิชาภาษาอังกฤษ

ผลการเรียนรู้
1. นกั เรียนสามารถเขยี นและอ่านออกเสียงคาศัพท์ท่ีกาหนดให้ได้
2. นักเรียนสามารถใหข้ ้อมูลเกี่ยวกบั ตนเอง และขอ้ มลู ของผอู้ ืน่ ได้
3. นกั เรียนเขา้ ใจและปฏบิ ัตติ ามคาสงั่ งา่ ยๆ
4. นกั เรียนสามารถสะกดคาศพั ทไ์ ดถ้ ูกต้อง
5. นักเรยี นสามารถถาม-ตอบประโยคงา่ ยๆได้
6. นกั เรยี นเขา้ ใจ คาสัง่ คาขอร้อง ภาษาท่าทาง และคาแนะนาในสถานศึกษา
7. นักเรียนเขา้ ใจบทสนทนาและบทความสน้ั ๆได้
8. นักเรียนสามารถใชแ้ ละเข้าใจไวยากรณภ์ าษาอังกฤษพ้นื ฐานได้
รวมท้งั หมด 8 ผลการเรียนรู้

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 99

กจิ กรรม
พัฒนาผเู้ รียน

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 3 | 100

กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน

โรงเรียนบ้านแก้งยาง ได้จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยมุ่งให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง
ได้ฝึกปฏิบัติจริงและค้นพบความถนัดของตนเอง สามารถค้นคว้าหาความรู้เพ่ิมเติมตามความสนใจจากแหล่ง
เรียนรู้ที่หลากหลาย บาเพ็ญประโยชน์เพ่ือสังคม มีทักษะในการดาเนินงาน ส่งเสริมให้มีวุฒิภาวะทางอารมณ์
สังคม ศีลธรรม จริยธรรม ให้ผู้เรียนรู้จักและเข้าใจตนเอง สามารถวางแผนชีวิตและอาชีพได้อย่างเหมาะสม
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นกิจกรรมที่มุ่งให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาการเรียนรู้อย่างรอบด้านเพื่อ
ความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ท้ังร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มี
ระเบียบวินัย ปลูกฝังให้สร้างจิตสานึกของการทาประโยชน์เพ่ือสังคม สามรถจักการตนเองได้และอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน
อย่างมีความสุข โรงเรียนบา้ นแก้งยาง ได้จดั กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน โดยแบง่ ออกเปน็ ๓ ลักษณะ ดังนี้

๑. กจิ กรรมแนะแนว เปน็ กจิ กรรมทส่ี ง่ เสรมิ และพัฒนาผ้เู รียนใหร้ จู้ ักตนเอง รู้รักษ์ส่ิงแวดล้อม สามารถ
ตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กาหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตทั้งด้านการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตนได้อย่าง
เหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ทั้งยังเป็นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้คาปรึกษาแก่
ผู้ปกครองในการมีส่วนร่วมพัฒนาผู้เรียน โดยนักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมแนะแนว ๔๐ ช่ัวโมงต่อปี
การศึกษา

๒. กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมท่ีมุ่งพัฒนาระเบียบวินัย ความเป็นผู้นา ผู้ตามที่ดี ความรับผิดชอบ
การทางานรว่ มกัน รจู้ กั แก้ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปันเอ้ืออาทรและ
สมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน ให้ได้ปฏิบัติด้วยตนเอง
ในทุกข้ันตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติตามแผนประเมินและปรับปรุงการทางานเน้นการ
ทางานรวมกันเป็นกลุ่มตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียนแล ะบริบทของสถานศึกษาและ
ท้องถ่ิน กิจกรรมนักเรียน ประกอบด้วย กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี นักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วม กิจกรรม
ลูกเสือ เนตรนารี ๓๐ ช่ังโมงต่อปีการศึกษา กิจกรรมชุมนุม นักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรม ชมรม ๔๐
ชัง่ โมงต่อปีการศกึ ษา

๓. กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ เป็นกจิ กรรมที่สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นบาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์
ต่อสังคม ชุมชนและท้องถิ่นตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพ่ือแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม
ความเสยี สละการมีจิตสาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพฒั นาตา่ งๆ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม นักเรียนทุกคนต้อง
เข้าร่วมกจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ชัว่ โมงตอ่ ปีการศึกษา

โครงสรา้ งและอตั ราเวลาการจัดกิจกรรม

กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ระดับประถมศึกษา

ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖

๑. กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

๒. กิจกรรมนกั เรยี น

๒.๑ ลูกเสือ-เนตรนารี ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐

๒.๒ กิจกรรมชุมนมุ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

๓. กจิ กรรมเพือ่ สงั คม ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐

และสาธารณประโยชน์

เวลาเรยี นรวม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐


Click to View FlipBook Version