The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by กรรณิกา อรรถชัยยะ, 2021-09-22 18:21:50

เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ฝ่ายวิชาการโรงเรียนบ้านฉลอง สพป.ภูเก็ต

คำนำ

กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ( ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐ ) เปนหลักสูตรที่คณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐานไดดำเนินการพฒั นาหลังจากการใชหลักสูตรการศึกษา เพอื่ ใหมีความเหมาะสม ชัดเจนย่ิงขึ้น ท้งั เปาหมาย
ของหลักสูตรในการพัฒนาคุณภาพผูเรียน และกระบวนการนำหลักสูตรไปสูการปฏิบัติ การกำหนดวิสัยทัศน
จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค มาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัดท่ีชัดเจน
โดยมอบหมายใหเขตพื้นที่และสถานศึกษาที่จัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน ใชหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ ( ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐ ) เปนกรอบและทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรและ
จดั การเรยี นการสอน

โรงเรียนบานฉลองจึงไดจดั ทำหลกั สตู รสถานศึกษาสาระการเรียนรคู ณิตศาสตร พุทธศักราช ๒๕๖๔ น้ีข้ึน
ประกอบดวย วิสัยทัศน เปาหมาย สมรรถนะผูเรียน โครงสรางหลักสูตร เกณฑการวัดและประเมินผล เพื่อใช
เปน แนวทางในการปฏบิ ตั แิ ละจัดการเรียนรู

ขอขอบคุณคณะครูและคณะผูที่เก่ียวของและมีสวนรวมในการจัดทำทุกฝาย คณะกรรมการสถานศึกษา
นกั เรยี น และผปู กครองนกั เรยี น ท่ที ำใหการจดั ทำหลักสตู รสถานศึกษาของโรงเรยี นบานฉลองสำเรจ็ ไดดวยดี

คณะผูจดั ทำ

สารบัญ หนา

คำนำ ๒
สารบญั ๒
บทนำ ๕
วสิ ัยทัศน /หลกั การ /จุดหมาย ๖
สมรรถนะผูเรยี น/คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค ๗
๓๒
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู ๖๐
๘๙
คณุ ภาพผูเรยี น
โครงสรา งเวลาเรยี น
มาตรฐาน ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรียนรู
คำอธิบายรายวิชาสาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร
การวดั และประเมินผล
คณะผจู ัดทำ

กลมุ สาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร

บทนำ

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตาม
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ( ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐ ) ฉบับนี้ จัดทำ
ข้ึนโดยคำนึงถึงการสงเสริมใหผูเรียนมีทักษะที่จำเปนสำหรับการเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ เปนสำคัญนั่นคือ การ
เตรียมผูเรียนใหมีทักษะดานการคิดวิเคราะห การคิดอยางมีวิจารณญาณ การแกปญหาการคิดสรางสรรค การใช
เทคโนโลยี การสื่อสารและการรวมมือ ซ่ึงจะสงผลใหผูเรียนรูเทาทันการเปล่ียนแปลงของระบบเศรษฐกิจ สังคม
วัฒนธรรม และสภาพแวดลอม สามารถแขงขนั และอยูรวมกับประชาคมโลกได ท้งั นี้การจดั การเรยี นรูคณติ ศาสตร
ทป่ี ระสบความสำเร็จนั้น จะตองเตรียมผเู รียนใหมีความพรอมที่จะเรียนรูส่ิงตาง ๆ พรอมที่จะประกอบอาชีพเมื่อ
จบการศกึ ษา หรอื สามารถศึกษาตอในระดับทสี่ ูงขึ้น ดังนัน้ สถานศึกษาควรจัดการเรียนรูใหเหมาะสมตามศักยภาพ
ของผเู รียน

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานฉลอง ไดจัดทำขึ้นโดยใชกรอบและแนวทางที่หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ไดวางไวโดยใหทองถ่ินไดมีสวนรวมในการกำหนดทิศทางการพัฒนา
หลักสูตรรวมกันเพื่อสนองเจตนารมณของหลักสูตรแกนกลางที่มุงเนนใหเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณภาพดานความรูและทักษะท่ีจำเปนสำหรับการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง
และแสวงหาความรเู พอ่ื พฒั นาตนเองอยา งตอ เน่ืองตลอดชวี ิต

ความสำคญั ของสาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร

คณิตศาสตรมีบทบาทสำคัญยง่ิ ตอการพัฒนาความคิดมนุษย ทำใหม นษุ ยมีความคิดสรา งสรรค คิดอยาง
มเี หตุผล เปนระบบ มีแบบแผน สามารถวเิ คราะหปญ หาหรอื สถานการณไ ดอยางถี่ถวนรอบคอบ ชวยใหคาดการณ
วางแผน ตัดสนิ ใจ แกปญหา และนำไปใชใ นชวี ิตประจำวันไดอยา งถกู ตองเหมาะสม นอกจากน้ีคณติ ศาสตรยงั เปน
เคร่อื งมือในการศกึ ษาทางดา นวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและศาสตรอน่ื ๆ คณิตศาสตรจ ึงมีประโยชนตอการดำเนิน
ชีวิต ชว ยพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตใหดีข้ึน และสามารถอยูรว มกบั ผูอ ืน่ ไดอ ยางมีความสุข

หลักสตู รสถานศึกษากลุมสาระการเรยี นรูค ณติ ศาสตร โรงเรียนบา นฉลอง ๑

วสิ ยั ทศั น

กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร โรงเรียนบานฉลอง (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๓) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เปนหลักสูตรที่มุงพัฒนา มุงฝกฝนใหผูเรียนมีความคิด
สรางสรรค คิดอยางมีเหตุผล เปนระบบ มีแบบแผน สามารถคิดวิเคราะหปญหา และสถานการณไดอยางถี่ถวน
รอบคอบ และเปนเครื่องมือในการศึกษาศาสตรอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวของเปนประโยชนในการดำรงชีวิต ทำใหเปนคนท่ี
สมบูรณ คิดเปน แกป ญหาเปน สามารถอยูกบั ผอู นื่ ไดอยางมคี วามสขุ

หลักการ

๑. ใหบรกิ ารการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานอยางเสมอภาค
๒. พัฒนาผเู รียนใหมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ มีคณุ ธรรม จริยธรรม มีการคิดแกปญหา
เปนขนั้ ตอน เปน ระบบ มคี วามเปน ไทย ตามแนวทางการปฏริ ูประบบการเรียนรทู ่เี นนผูเ รยี น
เปนสำคัญ โดยเนนพัฒนาผูเรียน ใหม ีความรูด านวิชาการ เทคโนโลยี การใชภ าษาในการส่ือสาร และมีสุขภาพ
อนามัยท่ีสมบูรณ มีทักษะชีวิตดำรงชีวิตอยางมีความสุขตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและมีความเปนมิตรกับ
สง่ิ แวดลอม
๓. พัฒนาผูเรียนในการใชทรัพยากร นวัตกรรม แหลงเรียนรูท้ังภายในและภายนอกโรงเรียนอยางเต็ม
ความสามารถ

จุดหมาย

๑. นักเรียนเปน ผูประพฤตดิ ี มีความรู สามารถใชทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร ทกั ษะชวี ิต
ในการแกปญหา และนำไปใชในชีวิตประจำวันไดอ ยางเหมาะสม ตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี ง

๒. นกั เรียนสามารถใชเทคโนโลยีในการเรียนรูไดอยา งมีประสิทธิภาพ และประสิทธผิ ล
๓. นักเรยี นสามารถใชทรพั ยากร นวัตกรรม แหลงเรียนรูท งั้ ภายในและภายนอกโรงเรยี น ในการเรียนรู
ไดอ ยางมปี ระสิทธิภาพ และประสทิ ธิผล

สมรรถนะสำคญั ของผเู รียน และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค

หลักสูตรสถานศึกษามงุ เนนพัฒนาผูเรยี นใหม คี ุณภาพตามมาตรฐานมีสมรรถนะสำคัญและคณุ ลักษณะอัน
พึงประสงค ดังน้ี

หลกั สตู รสถานศึกษากลุมสาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร โรงเรยี นบา นฉลอง ๒

สมรรถนะสำคญั ของผเู รยี น

สมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ คือ
๑. ความสามารถในการส่ือสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการใชภาษา
ถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารและ
ประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาตอรองเพ่ือขจัดและลดปญ หา
ความขัดแยงตาง ๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผลและความถูกตอง ตลอดจนการเลือกใช
วธิ กี ารส่ือสาร ทีม่ ีประสทิ ธภิ าพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบที่มตี อ ตนเองและสงั คม
๒. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิด อยาง
สรางสรรค การคิดอยางมวี จิ ารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพ่ือนำไปสูก ารสรางองคค วามรหู รือสารสนเทศเพ่ือ
การตัดสินใจเก่ียวกบั ตนเองและสังคมไดอ ยางเหมาะสม
๓. ความสามารถในการแกป ญหา เปน ความสามารถในการแกปญ หาและอปุ สรรคตาง ๆ ทีเ่ ผชิญไดอยา ง
ถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไขปญหา
และมกี ารตดั สนิ ใจที่มีประสทิ ธภิ าพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบที่เกิดขึ้นตอตนเอง สงั คมและสง่ิ แวดลอ ม
๔. ความสามารถในการใชท ักษะชวี ิต เปนความสามารถในการนำกระบวนการตาง ๆ ไปใชใ นการดำเนิน
ชีวิตประจำวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทำงาน และการอยูรวมกันในสังคมดวยการ
สรางเสริมความสัมพันธอันดรี ะหวางบคุ คล การจัดการปญหาและความขดั แยงตาง ๆ อยางเหมาะสม การปรับตัวให
ทนั กบั การเปลีย่ นแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ ม และการรจู ักหลกี เล่ยี งพฤติกรรมไมพึงประสงคที่สง ผลกระทบ
ตอ ตนเองและผูอนื่
๕. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยีดานตาง ๆ และมี
ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การสื่อสาร การทำงาน การ
แกป ญ หาอยางสรา งสรรค ถกู ตอ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม

คุณลกั ษณะของผเู รียนท่ีพงึ ประสงค
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบานฉลอง มงุ พฒั นาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค เพอ่ื ใหส ามารถอยู
รว มกบั ผอู ืน่ ในสังคมไดอยางมีความสขุ ในฐานะเปนพลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี
๑. รักชาติ ศาสน กษัตริย หมายถึง การปฏิบัติตนเปนคนดีในสังคม มีความรักชาติ ศาสนา
พระมหากษัตริย
๒. ซื่อสัตยสุจริต หมายถึง ปฏิบตั ติ นอยางตรงไปตรงมา ทงั้ กาย วาจา ใจ
๓. มีวินัย หมายถึง ปฏิบัติตามกฎเกณฑของโรงเรียน ครอบครัวชุมชน และกิจกรรมในหองเรียน เชน
สมุดงาน ชน้ิ งาน สะอาดเรียบรอ ยปฏิบัตติ นอยูในขอตกลงทีก่ ำหนดใหรวมกันทุกครง้ั
๔. ใฝเรียนรู หมายถึง ลักษณะของบุคคลที่มีความกระตือรือรนในการเรียน รูจักใชเวลาวางใหเปน
ประโยชน แสวงหาความรูจากแหลงเรยี นรทู ี่หลากหลาย และสามารถถา ยทอดเผยแพร องคความรใู หก บั ผูอื่น

หลกั สตู รสถานศึกษากลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร โรงเรยี นบา นฉลอง

๕. อยอู ยางพอเพียง หมายถงึ มคี วามเปนอยอู ยางพอเพยี ง รูจ กั การดำรงชวี ติ ใหม ีคณุ คา
๖. มงุ มนั่ ในการทำงาน หมายถึง มงุ ม่นั ทำงานอยางรอบคอบ จนประสบผลสำเรจ็
๗. รักความเปนไทย หมายถึง มีความตระหนักเห็นคุณคาของความเปนไทย และมีเจตคติที่ดี รักษา
เอกลกั ษณ ไทย และขนบธรรมเนียมประเพณี
๘. มจี ติ สาธารณะ หมายถงึ มคี วามสำนกึ และมุง ทำประโยชนและสรางสิ่งทีด่ ีงามในสังคม และอยูรว มกัน
ในสงั คมอยางมคี วามสุข

เรียนรอู ะไรในคณิตศาสตร

กลมุ สาระการเรยี นรูคณิตศาสตรจัดเปน ๓ สาระ ไดแ ก จำนวนและพีชคณิตการวัดและ เรขาคณิต และ
สถิตแิ ละความนา จะเปน

✧ จำนวนและพีชคณิต เรียนรเู กีย่ วกับ ระบบจำนวนจริง สมบตั ิเกย่ี วกบั จำนวนจริงอัตราสว น รอยละ
การประมาณคา การแกปญหาเกี่ยวกับจำนวน การใชจำนวนในชีวิตจริง แบบรูปความสัมพันธ ฟงกชัน เซต
ตรรกศาสตร นิพจน เอกนาม พหุนาม สมการ ระบบสมการ อสมการ กราฟ ดอกเบี้ย และมูลคา ของเงิน ลำดับ
และอนกุ รม และการนำความรเู กีย่ วกับจำนวนและพชี คณติ ไปใชใ นสถานการณตา งๆ

✧ การวดั และเรขาคณติ เรียนรูเ กยี่ วกบั ความยาว ระยะทาง นำ้ หนัก พนื้ ที่ ปริมาตรและความจุ เงิน
และเวลา หนวยวดั ระบบตางๆ การคาดคะเนเกี่ยวกับการวดั อัตราสว นตรโี กณมิติ รปู เรขาคณิต และสมบัติของรูป
เรขาคณิต การนึกภาพ แบบจำลองทางเรขาคณิต ทฤษฎีบททางเรขาคณิต การแปลงทางเรขาคณิตในเรื่องการ
เล่อื นขนาน การสะทอ น การหมุน และการนำความรูเกยี่ วกบั การวดั และเรขาคณติ ไปใชในสถานการณต า งๆ

✧ สถติ ิและความนา จะเปน เรยี นรูเกย่ี วกบั การต้งั คำถามทางสถติ ิ การเก็บรวบรวมขอ มูลการคำนวณ
คา สถิติ การนำเสนอและแปลผลสำหรบั ขอมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ หลกั การนับ เบอื้ งตนความนา เปน การ
ใชความรเู ก่ียวกับสถติ ิและความนาจะเปน ในการอธิบายเหตกุ ารณตา ง ๆ และชวยในการตดั สินใจ

✧แคลคูลัส ลิมิตและความตอเนื่องของฟงกชัน อนุพันธของฟงกชันพีชคณิต ปริพันธของฟงกชัน
พีชคณติ และนำความรเู กย่ี วกับแคลคลู ัสไปใชในสถานการณตางๆ

หลักสตู รสถานศกึ ษากลมุ สาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร โรงเรยี นบา นฉลอง ๔

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู
สาระท่ี ๑ จำนวนและพีชคณติ

มาตรฐาน ค ๑.๑ เขาใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวนการดำเนินการของ
จำนวน ผลที่เกดิ ข้นึ จากการดำเนินการ สมบตั ขิ องการดำเนนิ การ และนำไปใช

มาตรฐาน ค ๑.๒ เขาใจและวเิ คราะหแ บบรปู ความสมั พนั ธ ฟงกช ัน ลำดับและอนกุ รมและนำไปใช
มาตรฐาน ค ๑.๓ ใชนพิ จน สมการ และอสมการ อธบิ ายความสัมพันธหรอื ชว ยแกปญ หาท่กี ำหนดให

สาระที่ ๒ การวดั และเรขาคณติ
มาตรฐาน ค ๒.๑ เขา ใจพื้นฐานเกยี่ วกบั การวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสง่ิ ทีต่ องการวัดและนำไปใช
มาตรฐาน ค ๒.๒ เขาใจและวิเคราะหรูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธร ะหวางรูป

เรขาคณติ และทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนำไปใช

สาระท่ี ๓ สถิติและความนา จะเปน
มาตรฐาน ค ๓.๑ เขาใจกระบวนการทางสถิตแิ ละใชค วามรทู างสถิติในการแกปญ หา
มาตรฐาน ค ๓.๒ เขาใจหลักการนับเบื้องตน ความนา จะเปน และนำไปใช

สาระที่ ๔ แคลคูลัส
มาตรฐาน ค ๔.๑ เขาใจลิมิตและความตอเนื่องของฟงกชัน อนุพันธของฟงกชัน และปริพันธของ

ฟงกชัน และนำไปใช

ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร

ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตรเปน ความสามารถที่จะนำความรไู ปประยุกตใ ชใ นการเรียนรูสงิ่
ตา ง ๆ เพ่อื ใหไ ดม าซึง่ ความรู และประยกุ ตใชในชีวติ ประจำวนั ไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพทกั ษะและกระบวนการทาง
คณิตศาสตรใ นทีน่ ี้ เนนทีท่ ักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรท ี่จำเปนและตอ งการพัฒนาใหเกิดข้ึนกับผูเรยี น
ไดแกค วามสามารถตอไปน้ี
๑. การแกปญหา เปนความสามารถในการทำความเขาใจปญหา คิดวิเคราะห วางแผนแกปญหา และเลือกใช
วิธกี ารทีเ่ หมาะสม โดยคำนึงถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ พรอ มทั้งตรวจสอบความถูกตอ ง
๒. การส่ือสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร เปนความสามารถในการใชรูปภาษาและสัญลักษณทาง
คณิตศาสตรใ นการส่ือสาร ส่ือความหมาย สรปุ ผล และนำเสนอไดอยางถูกตอง ชัดเจน
๓. การเชื่อมโยง เปนความสามารถในการใชความรูทางคณิตศาสตรเปนเครื่องมือในการเรียนรูคณิตศาสตร
เน้ือหาตา ง ๆ หรือศาสตรอ่ืน ๆ และนำไปใชในชีวติ จริง

หลกั สูตรสถานศกึ ษากลุม สาระการเรียนรคู ณิตศาสตร โรงเรยี นบา นฉลอง ๕

๔. การใหเหตุผล เปนความสามารถในการใหเหตุผล รับฟงและใหเหตุผลสนับสนุน หรือโตแยงเพ่ือนำไปสูการ
สรุป โดยมขี อเท็จจรงิ ทางคณิตศาสตรรองรบั
๕. การคิดสรางสรรค เปนความสามารถในการขยายแนวคิดท่ีมีอยูเดิม หรือสรางแนวคิดใหม เพ่ือปรับปรุง
พฒั นาองคความรู

คณุ ภาพผเู รยี น

จบช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๓
✧ อาน เขียนตัวเลข ตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ มีความรูสึกเชิงจำนวน มี
ทักษะการบวก การลบ การคณู การหาร และนำไปใชใ นสถานการณต าง ๆ
✧ มีความรูสึกเชิงจำนวนเก่ียวกบั เศษสวนที่ไมเกิน ๑ มีทักษะการบวก การลบ เศษสว นที่ตัวสวนเทากัน
และนำไปใชในสถานการณต า ง ๆ
✧ คาดคะเนและวัดความยาว นำหนัก ปริมาตร ความจุ เลือกใชเคร่ืองมือและหนวยที่เหมาะสม บอก
เวลา บอกจำนวนเงนิ และนำไปใชใ นสถานการณตาง ๆ
✧ จำแนกและบอกลักษณะของรูปหลายเหลี่ยม วงกลม วงรี ทรงส่ีเหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม
ทรงกระบอก และกรวย เขียนรูปหลายเหล่ียม วงกลม และวงรีโดยใชแบบของรูป ระบุรูปเรขาคณิต ที่มีแกน
สมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร และนำไปใชใ นสถานการณตา ง ๆ
✧ อา นและเขยี นแผนภมู ริ ปู ภาพ ตารางทางเดยี วและนำไปใชใ นสถานการณต าง ๆ

จบชั้นประถมศึกษาปท ่ี ๖
✧ อาน เขียนตัวเลข ตัวหนังสือแสดงจำนวนนับ เศษสวน ทศนิยมไมเกิน ๓ ตำแหนง อัตราสวน และ
รอยละ มีความรูสึกเชงิ จำนวน มีทักษะการบวก การลบ การคณู การหาร ประมาณผลลัพธ และนำไปใชใน
สถานการณตาง ๆ
✧ อธิบายลักษณะและสมบัตขิ องรปู เรขาคณิต หาความยาวรอบรูปและพ้ืนที่ของรูปเรขาคณิต สรา งรูป
สามเหล่ียม รูปส่ีเหลี่ยม และวงกลม หาปริมาตรและความจุของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและนำไปใชใน
สถานการณตาง ๆ
✧ นำเสนอขอมลู ในรปู แผนภมู ิแทง ใชขอ มลู จากแผนภมู ิแทง แผนภมู ริ ูปวงกลม ตารางสองทาง และ
กราฟเสน ในการอธบิ ายเหตกุ ารณต า ง ๆ และตดั สนิ ใจ

หลักสตู รสถานศกึ ษากลุม สาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร โรงเรียนบา นฉลอง ๖

โครงสร้างรายวิชาคณิตศาสตร์
พื้นฐาน

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลุมสาระการเรียนรูคณติ ศาสตร โรงเรยี นบา นฉลอง ๗

โครงสรางรายวชิ าคณิตศาสตร
ระดับประถมศกึ ษา

ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๑ เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง

ลำดบั ชอ่ื หนวยการเรียนรู มาตรฐานการเรยี นร/ู ตวั ชว้ี ดั เวลา น้ำหนัก
ท่ี (ชั่วโมง) คะแนน
๑ จำนวนนบั 1 ถงึ 10 ค1.1 ป.1/1, ป.1/2, ๑๓

และ 0 ป.1/3 ๑๐

๒ การบวกจำนวนสองจำนวนทีม่ ผี ลบวก ค1.1 ป.1/4, ป.1/5 ๑๓

ไมเ่ กนิ 9

๓ การลบจำนวนสองจำนวนทม่ี ตี วั ตัง้ ค1.1 ป.1/4, ป.1/5 ๑๕ ๑๐

ไมเ่ กิน 9

๔ จำนวนนบั 11 ถงึ 20 ค1.1 ป.1/1, ป.1/2, ๘ ๕

ป.1/3

๕ การบวกจำนวนทมี่ ผี ลบวกไมเ่ กิน 20 ค1.1 ป.1/4, ป.1/5 ๑๒ ๑๐

๖ การลบจำนวนทมี่ ตี ัวต้งั ค1.1 ป.1/4, ป.1/5 ๑๕ ๕
ไมเ่ กิน 20
ค2.2 ป.1/1 ๔ ๕
๗ รปู เรขาคณติ ค1.2 ป.1/1 ๔ ๕
๘ แบบรูป 1๒ ๕
๙ การวัดความยาว ค2.1 ป.1/1 1๒ ๕
๑๐ การวดั น้ำหนกั ค2.1 ป.1/2 ๑๕ ๑๐
๑๑ จำนวนนับ 21 ถงึ 100 ค1.1 ป.1/1, ป.1/2,
ป.1/3 ๑๕ ๑๐
๑๒ การบวกจำนวนทม่ี ผี ลบวกไม่เกนิ 100 ค1.1 ป.1/4, ป.1/5

หลกั สูตรสถานศกึ ษากลุมสาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร โรงเรยี นบา นฉลอง ๘

โครงสรางรายวิชาคณิตศาสตร
ระดับประถมศึกษา

ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๑ เวลา ๑๖๐ ชวั่ โมง

ลำดบั ชือ่ หนว ยการเรยี นรู มาตรฐานการเรียนรู/ ตัวช้ีวัด เวลา นำ้ หนกั
ที่ ค1.1 ป.1/4, ป.1/5 (ชวั่ โมง) คะแนน
๑๓ การลบจำนวนที่มีตัวตง้ั
ค 3.1 ป.1/1 ๑๘ ๑๐
ไมเ่ กนิ 100 รวม
๔๕
๑๔ การนำเสนอขอ้ มูล ๑๖๐ ๑๐๐

หมายเหตุ อัตราสวนคะแนนระหวางเรียนกบั การสอบปลายภาค ๗๐/๓๐

หลักสูตรสถานศกึ ษากลุมสาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร โรงเรยี นบา นฉลอง ๙

โครงสรางรายวิชาคณิตศาสตร
ระดับประถมศกึ ษา

ชัน้ ประถมศึกษาปที่ ๒ เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง

ลำดับ ชือ่ หนว ยการเรียนรู มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด เวลา/ นำ้ หนัก
ที่ ช่ัวโมง คะแนน
๑ จำนวนนบั ไมเ่ กนิ 1,000 และ 0 ค1.1 ป.2/1, ป.2/2, ๑๓ 10
ป.2/3 ๑๕ 10
๒ การบวกจำนวนทีม่ ผี ลบวกไม่เกิน 1,000
ค1.1 ป.2/4, ป.2/8

๓ การลบจำนวนทม่ี ตี วั ตงั้ ค1.1 ป.2/4, ป.2/8 ๑๕ 10
ไม่เกนิ 1,000
มีการจดั การเรียนการสอน ๘ -
๔ แบบรปู ของจำนวน เพอ่ื เปน็ พน้ื ฐาน แตไ่ มว่ ดั ผล
๔ 5
๕ รปู เรขาคณติ ค2.2 ป.2/1 1๒ 5
๖ การวัดความยาว ค2.1 ป.2/2, ป.2/3

๗ เวลา ค2.1 ป.2/1 1๓ 10
๘ การคูณจำนวนไมเ่ กิน 1,000 และ 0 ค1.1 ป.2/5, ป.2/8 ๑๕ 10
๙ การหารจำนวนไมเ่ กิน 1,000 ๑๕ 10
ค1.1 ป.2/5, ป.2/6,
๑๐ การวดั น้ำหนัก ป.2/8 1๒ 5
๑๑ ปริมาตรและความจุ 1๒ 10
๑๒ การนำเสนอข้อมลู ค2.1 ป.2/4, ป.2/5 ๘5
๑๓ การบวก ลบ คูณ หารระคน ๑๘ 10
ค2.1 ป.2/6 ๑๖๐ ๑๐๐

ค3.1 ป.2/1
ค1.1 ป.2/7, ป.2/8

รวม

หมายเหตุ อตั ราสว นคะแนนระหวา งเรยี นกับการสอบปลายภาค ๗๐/๓๐

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลมุ สาระการเรียนรคู ณิตศาสตร โรงเรยี นบา นฉลอง ๑๐

โครงสรางรายวิชาคณติ ศาสตร
ระดับประถมศึกษา

ชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ ๓ เวลา ๑๖๐ ชว่ั โมง

ลำดบั ชื่อหนวยการเรียนรู มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั เวลา/ นำ้ หนกั
ท่ี ชว่ั โมง คะแนน
๑ จำนวนนบั ไม่เกนิ 100,000 ค1.1 ป.3/1, ป.3/2 1๑ 5
ค1.1 ป.3/5, ป.3/9 14 5
๒ การบวกจำนวนนบั ทม่ี ผี ลบวกไม่เกิน ค1.2 ป.3/1
ค1.1 ป.3/5, ป.3/9 17 10
100,000 ค1.2 ป.3/1
ค1.1 ป.3/6, ป.3/9 14 10
๓ การลบจำนวนทม่ี ีตัวตั้งไมเ่ กนิ 100,000 ค1.1 ป.3/7, ป.3/9 12 10
ค2.1 ป.3/3, ป.3/4, 95
๔ การคูณจำนวนไม่เกนิ 100,000
๕ การหาร ป.3/5, ป.3/6 35
๖ การวดั ความยาว ค2.2 ป.3/1 15 10
ค1.1 ป.3/3, ป.3/4,
๗ รูปเรขาคณติ สองมติ ิ 12 5
๘ เศษส่วนและการบวก การลบเศษสว่ น ป.3/10, ป.3/11
ค2.1 ป.3/7, ป.3/8, 10 5
๙ การวดั นำ้ หนัก
ป.3/9, ป.3/10 85
๑๐ ปริมาตรและความจุ ค2.1 ป.3/11, ป.3/12, 17 10

๑๑ การเก็บรวบรวมขอ้ มูลและการนำเสนอขอ้ มูล ป.3/14
๑๒ เวลา ค3.1 ป.3/1, ป.3/2
ค 2.1 ป.3/1

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลุม สาระการเรยี นรูคณิตศาสตร โรงเรียนบา นฉลอง ๑๑

โครงสรางรายวิชาคณิตศาสตร
ระดับประถมศกึ ษา

ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๓ เวลา ๑๖๐ ชวั่ โมง

ลำดับ ช่อื หนว ยการเรียนรู มาตรฐานการเรียนร/ู ตวั ช้วี ัด เวลา นำ้ หนกั
ที่ ค2.1 ป.3/1 (ช่ัวโมง) คะแนน
๑๓ เงนิ
12 5
๑๔ การบวก ลบ คูณ หารระคน ค1.1 ป.3/8, ป.3/9 6 10
๑๖๐ ๑๐๐
รวม

หมายเหตุ อัตราสว นคะแนนระหวา งเรียนกบั การสอบปลายภาค ๗๐/๓๐

หลกั สูตรสถานศึกษากลุมสาระการเรียนรคู ณิตศาสตร โรงเรยี นบา นฉลอง ๑๒

โครงสรางรายวิชาคณติ ศาสตร
ระดบั ประถมศกึ ษา

ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ ๔ เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง

ลำดบั ชือ่ หนวยการเรียนรู มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด เวลา/ น้ำหนัก
ที่ ค1.1 ป.4/1, ป.4/2 ช่วั โมง คะแนน
๑ จำนวนนบั ท่มี ากกวา่ 100,000 และ 0 10 10

๒ การบวกและการลบจำนวนนับท่ีมากกว่า ค1.1 ป.4/7, ป.4/8, 15 10

100,000 และ 0 ป.4/11, ป.4/12

๓ การคณู ค1.1 ป.4/7, ป.4/9, 15 10

ป.4/11, ป.4/12

๔ การหาร ค1.1 ป.4/7, ป.4/9, 14 10

ป.4/11, ป.4/12

๕ แบบรูปของจำนวน มีการจัดการเรยี นการสอน 6 -

เพอ่ื เปน็ พน้ื ฐาน แตไ่ ม่วดั ผล

๖ รูปเรขาคณติ ค2.1 ป.4/2 10 5

ค2.2 ป.4/1

๗ รปู ส่ีเหล่ียมมุมฉาก ค2.1 ป.4/3 10 5

ค2.2 ป.4/2

๘ เศษสว่ น ค1.1 ป4/3, ป. 4/4 10 5

๙ การบวกและการลบเศษส่วน ค1.1 ป.4/13, ป.4/14 15 10

๑๐ ทศนิยม ค1.1 ป.4/5, ป.4/6 10 5

๑๑ การบวกและการลบทศนยิ มไมเ่ กินสามตำแหน่ง ค1.1 ป.4/15, ป.4/16 15 10

๑๒ ขอ้ มูลและการนำเสนอขอ้ มลู ค3.1 ป.4/1 95

13 เวลา ค2.1 ป. 4/1 10 5

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลุมสาระการเรียนรูคณติ ศาสตร โรงเรียนบา นฉลอง ๑๓

โครงสรา งรายวิชาคณิตศาสตร
ระดบั ประถมศกึ ษา

ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๔ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง

ลำดับ ชอ่ื หนวยการเรียนรู มาตรฐานการเรยี นร/ู ตัวชี้วดั เวลา น้ำหนกั
ท่ี ค1.1 ป.4/10, ป.4/11 (ชั่วโมง) คะแนน
14 การบวก ลบ คณู หารระคน
11 10
ป.4/12 ๑๖๐ ๑๐๐

รวม

หมายเหตุ อตั ราสว นคะแนนระหวา งเรียนกบั การสอบปลายภาค ๗๐/๓๐

หลักสตู รสถานศึกษากลมุ สาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร โรงเรยี นบา นฉลอง ๑๔

โครงสรางรายวิชาคณติ ศาสตร
ระดับประถมศกึ ษา

ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ ๕ เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง

ลำดับ ชื่อหนว ยการเรียนรู มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด เวลา/ น้ำหนัก
ที่ ชัว่ โมง คะแนน
๑ เศษสว่ น และการบวก การลบเศษสว่ น ค1.1 ป.5/3, ป.5/5 15 10
ค1.1 ป.5/4, ป.5/5 20 15
๒ การคูณ การหาร และการบวก ลบ คูณ หาร
ระคนของเศษสว่ น ค1.1 ป.5/1, ป.5/8 15 10
ค1.1 ป.5/6, ป.5/7, 15 10
๓ ทศนยิ ม และการบวก การลบทศนิยม
ป.5/8 15 5
๔ การคูณและการหารทศนยิ ม ค2.1 ป.5/1, ป.5/2 12 5
ค2.2 ป.5/1 10 5
๕ การวดั ความยาวและ การวดั นำ้ หนัก ค2.2 ป.5/2, ป.5/3,
๖ เสน้ ขนาน 13 10
๗ รปู เรขาคณิตสองมิติและรปู เรขาคณติ ป.5/4
ค2.1 ป.5/4 15 10
สามมิติ
๘ ความยาวรอบรปู และพืน้ ทขี่ องรปู สี่เหล่ียม 20 15
10 5
๙ ปริมาตรและความจุ ค2.1 ป.5/3 ๑๖๐ ๑๐๐

๑๐ รอ้ ยละและเปอรเ์ ซน็ ต์ ค1.1 ป.5/2, ป.5/9

๑๑ การนำเสนอข้อมูล ค3.1 ป.5/1, ป.5/2

รวม

หมายเหตุ อตั ราสว นคะแนนระหวา งเรียนกับการสอบปลายภาค ๗๐/๓๐

หลกั สูตรสถานศึกษากลุมสาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร โรงเรียนบา นฉลอง ๑๕

โครงสรางรายวชิ าคณติ ศาสตร
ระดับประถมศกึ ษา

ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๖ เวลา ๑๖๐ ชัว่ โมง

ลำดับ ชื่อหนวยการเรยี นรู มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด เวลา/ นำ้ หนกั
ท่ี ค1.2 ป.6/1 ช่ัวโมง คะแนน
๑ แบบรปู ของจำนวนนบั การบวก การลบ การ
ค1.1 ป.6/4, ป.6/5, 4
คูณ การหารจำนวนนบั ป.6/6
23
๒ ตวั ประกอบของจำนวนนบั ค1.1 ป.6/1, ป.6/7,
ป.6/8 26
ตัวหารรว่ มมาก ตวั คูณร่วมนอ้ ย
11
๓ เศษส่วน การบวก การลบ การคูณ การหาร
16
เศษส่วน
17
๔ ทศนยิ ม การบวก การลบ การคูณ การหาร ค1.1 ป.6/9, ป.6/10 12
ทศนยิ ม 10
ค2.1 ป.6/2 26
๕ รูปสามเหลย่ี ม ค2.2 ป.6/1, ป.6/2
ค2.1 ป.6/2 15
๖ รูปหลายเหลย่ี ม ค2.1 ป.6/3
๗ วงกลม ค3.1 ป.6/1 ๑๖๐ ๑๐๐
๘ แผนภูมริ ูปวงกลม ค1.1 ป.6/2, ป.6/3,
๙ อัตราส่วน มาตราสว่ น ร้อยละ
ป.6/11, ป.6/12
๑๐ รูปเรขาคณติ สามมติ ิและปรมิ าตรของรปู ค2.1 ป.6/1
เรขาคณติ สามมติ ิ ค2.2 ป.6/3, ป.6/4
รวม

หมายเหตุ อัตราสว นคะแนนระหวางเรยี นกบั การสอบปลายภาค ๗๐/๓๐

หลักสูตรสถานศกึ ษากลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร โรงเรียนบา นฉลอง ๑๖

โครงสรา้ งรายวิชาเสรมิ ทักษะ
คณิตศาสตร์

หลกั สูตรสถานศกึ ษากลมุ สาระการเรียนรูคณติ ศาสตร โรงเรียนบา นฉลอง ๑๗

โครงสรางรายวชิ าเสริมทกั ษะคณิตศาสตร
ระดับประถมศกึ ษา

ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๑ เวลา ๘๐ ชวั่ โมง

ลำดับ ช่อื หนว ยการเรยี นรู ผลการเรียนรูท ่คี าดหวัง เวลา น้ำหนัก
ท่ี 1. สามารถเปรยี บเทยี บ (ช่ัวโมง) คะแนน
๑ จำนวนนบั 1 ถงึ 100 ๑๐๐
จำนวนนบั ไมเ กนิ ๑๐๐ ๔๐ ๑๐๐
๑๐๐
และ 0 และ ๐ ได

๒ .ส า ม า ร ถ เรี ย ง ล ำ ดั บ

จำน วน นั บไมเกิน ๑ ๐ ๐

และ ๐ ได

๓. สามารถระบุจำนวนท่ี

ห าย ไป ใน แ บ บ รูป ข อ ง

จำนวนทีเ่ พ่ิมขน้ึ หรอื ลดลงที

ละ ๑ และทลี ะ ๑๐ ได

๒ การบวกและการลบจำนวนสองจำนวน ๑.สามารถหาคาของตัวไม ๔๐

ทราบคาในประโยค

สัญลกั ษณแ สดงการบวก

และประโยคสญั ลักษณ

แสดงการลบของจำนวนนบั

ไมเกิน ๑๐๐ และ ๐ ได

๒ . สามารถแสดงวิธีห า

คำตอบของโจทยปญหาการ

บวกและโจทยปญหาการลบ

ของจำนวนนับไมเกิน ๑๐๐

และ ๐ ได

รวม ๘๐

หมายเหตุ อัตราสวนคะแนนระหวา งเรยี นกบั การสอบปลายภาค ๘๐/๒๐ ๑๘

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลมุ สาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร โรงเรยี นบา นฉลอง

โครงสรางรายวิชาเสรมิ ทักษะคณิตศาสตร
ระดับประถมศกึ ษา

ช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี ๒ เวลา ๘๐ ชั่วโมง

ลำดบั ชอ่ื หนวยการเรียนรู ผลการเรียนรทู ี่คาดหวัง เวลา/ น้ำหนกั
ที่ ชั่วโมง คะแนน
๑ จำนวนนบั ไมเ่ กนิ 1,000 และ 0 สามารถเปรยี บเทยี บจำนวนนบั
ไมเ กิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ได ๘ 10
๒ การบวกจำนวนทม่ี ผี ลบวกไมเ่ กิน 1,000และ 2.สามารถเรียงลำดับจำนวนนบั ๑๐ ๑๕
การลบจำนวนทมี่ ีตวั ตั้งไมเ่ กิน 1,000 ไมเกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ได 6 5
สามารถหาคาของตัวไมทราบคา ๖ 5
๓ การคูณ ในประโยคสัญลักษณแสดงการ 10 ๑๕
บวกและประโยคสัญ ลักษณ
๔ การหาร แสดงการลบของจำนวนนับไม
เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ได
๕ การบวกลบคณู หารระคน สามารถหาคาของตัวไมทราบ
คาในประโยคสัญลักษณแสดง
การคูณของจำนวน ๑ หลักกับ
จำนวนไมเกิน ๒ หลักได
สามารถหาคา ของตวั ไมทราบคา
ในประโยคสัญลกั ษณแ สดงการ
หารที่ตวั ต้ังไมเ กิน ๒ หลัก ตวั หาร
๑ หลกั โดยที่ผลหารมี ๑ หลกั ทั้ง
หารลงตวั และหารไมลงตวั ได
๑. สามารถหาผลลพั ธก ารบวก
ลบ คูณ หารระคน ของจำนวน
นบั ไมเกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ได
๒. สามารถแสดงวิธีหาคำตอบ

ของโจทยปญ หา ๒ ขัน้ ตอน ของ

หลกั สตู รสถานศึกษากลมุ สาระการเรยี นรูค ณติ ศาสตร โรงเรยี นบา นฉลอง ๑๙

โครงสรางรายวิชาเสริมทักษะคณิตศาสตรค ณิตศาสตร
ระดบั ประถมศึกษา

ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๒ เวลา ๘๐ ชวั่ โมง

ลำดับ ช่ือหนวยการเรียนรู ผลการเรยี นรูทีค่ าดหวงั เวลา/ น้ำหนัก
ที่ ชว่ั โมง คะแนน
จำนวนนับไมเกิน ๑,๐๐๐ และ
๐ ได
๖ เวลา สามารถแสดงวธิ ีหาคำตอบของ ๑๓ 15
๗ การวัด โจทยปญ หาเกยี่ วกับเวลาได
สามารถแสดงวิธหี าคำตอบของ ๑๐ 15
โจทยปญ หาการบวก การลบ
เกยี่ วกบั ความยาวท่ีมีหนวยเปน
เมตรและเซนติเมตรได
๗ โจทย์ปญั หาการชัง่ สามารถแสดงวธิ หี าคำตอบของ 10 15
โจทยปญหาการบวก การลบ
เกย่ี วกบั น้ำหนักที่มีหนวยเปน
กิโลกรัมและกรัม กโิ ลกรัมและ
ขีดได
๙ การตวง สามารถวดั และเปรียบเทียบ 7 5

ปรมิ าตรและความจุเปนลติ รได

รวม ๘๐ ๑๐๐

หมายเหตุ อัตราสว นคะแนนระหวางเรียนกับการสอบปลายภาค ๘๐/๒๐

หลักสตู รสถานศึกษากลุมสาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร โรงเรยี นบา นฉลอง ๒๐

โครงสรางรายวชิ าเสริมทกั ษะคณิตศาสตรค ณิตศาสตร
ระดบั ประถมศึกษา

ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๓ เวลา ๘๐ ชว่ั โมง

ลำดับ ชือ่ หนว ยการเรยี นรู ผลการเรยี นรทู ่คี าดหวัง เวลา/ น้ำหนัก
ที่ ชวั่ โมง คะแนน
๑ จำนวนนบั เกนิ 100,000 ๑. สามารถเปรียบเทียบจำนวน
นบั เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ ได 8 10
๒ การคูณ ๒. สามารถหาคาของตัวไม
๓ การหาร ทราบคาในประโยคสัญลักษณ 8 10
๔ การบวกลบคูณหารระคน แสดงการบวกและการลบของ 8 10
๕ เศษส่วน จำนวนนับเกนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ 16 ๒๐
๐ ได 12 10
สามารถหาคาของตวั ไมทราบคา
ในประโยคสญั ลักษณแสดงการ
คูณของจำนวน ๑ หลักกบั
จำนวนไมเกิน ๔ หลัก และ
จำนวน ๒ หลกั กับจำนวน ๒
หลักได
สามารถหาคาของตัวไมทราบคา
ในประโยคสัญลักษณแสดงการ
หารที่ ตั วต้ั งไม เกิ น ๔ ห ลั ก
ตวั หาร ๑ หลกั ได
สามารถหาผลลพั ธการบวก ลบ
คูณ หารระคน และแสดงวิธีการ
หาคำตอบของโจทยป ญ หา ๒
ขั้นตอน ของจำนวนนับไมเกนิ
๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ ได
๑ . ส า ม า ร ถ เป รี ย บ เที ย บ
เศษสว นทต่ี ัวเศษเทา กัน โดยที่

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลมุ สาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร โรงเรียนบา นฉลอง ๒๑

โครงสรางรายวิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร
ระดับประถมศกึ ษา

ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๓ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง

ลำดบั ชอื่ หนวยการเรียนรู ผลการเรยี นรทู ่ีคาดหวัง เวลา/ นำ้ หนกั
ท่ี ช่ัวโมง คะแนน
ตัวเศษนอยกวาหรือเทากับตัว
๖ เงินและเวลา สวนได 7 ๑๐
๗ โจทย์ปัญหาการวดั ความยาว ๒. สามารถหาผลบวกและแสดง 7 ๑๐
วิธีหาคำตอบของโจทยปญหา 7 10
๘ โจทย์ปญั หาการชัง่ การบวกของเศษสวนที่มีตัวสวน 7 ๑๐
๙ โจทยป์ ัญหาการตวง เทากนั และผลบวกไมเกนิ ๑ ได
๓. สามารถหาผลลบพรอมท้ัง
แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย
ปญ หาการลบของเสษสวนที่มีตัว
สว นเทา กนั ได

สามารถแสดงวิธีหาคำตอบของ
โจทยปญ หาเก่ยี วกบั เงนิ เวลา
และระยะเวลา ได
สามารถแสดงวิธีหาคำตอบของ
โจทยปญหาเกี่ยวกับความยาวท่ี
มี หน วยเป น เซน ติเมตรและ
มิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร
กโิ ลเมตรและเมตรได

สามารถแสดงวิธีหาคำตอบของ
โจทยปญหาเก่ียวกับน้ำหนักที่มี
หน วย เป น กิ โลก รัม กั บ ก รัม
เมตริกตันกบั กโิ ลกรัมได
สามารถแสดงวิธหี าคำตอบของ

หลักสูตรสถานศกึ ษากลุมสาระการเรียนรูค ณิตศาสตร โรงเรยี นบา นฉลอง ๒๒

โครงสรางรายวชิ าเสรมิ ทักษะคณิตศาสตร
ระดับประถมศึกษา

ชั้นประถมศกึ ษาปที่ ๓ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง

ลำดับ ชื่อหนวยการเรียนรู มาตรฐานการเรียนร/ู ตัวชว้ี ัด เวลา น้ำหนัก
ท่ี (ชวั่ โมง) คะแนน

โจทยปญหาเกีย่ วกบั ปรมิ าตร
และความจทุ มี่ ีหนว ยเปนลิต
และมลิ ลิเมตรได
รวม ๘๐ ๑๐๐

หมายเหตุ อัตราสว นคะแนนระหวางเรยี นกบั การสอบปลายภาค ๘๐/

หลักสูตรสถานศกึ ษากลุม สาระการเรียนรคู ณิตศาสตร โรงเรียนบา นฉลอง ๒๓

โครงสรางรายวิชาเสริมทกั ษะคณิตศาสตร
ระดบั ประถมศึกษา

ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๔ เวลา ๘๐ ชั่วโมง

ลำดบั ชื่อหนวยการเรียนรู ผลการเรยี นรทู ่คี าดหวัง เวลา/ นำ้ หนัก
ท่ี ชว่ั โมง คะแนน
๑ จำนวนนับที่มากกว่า 100,000 และ 0 สามารถเปรียบเทยี บและ
เรยี งลำดับจำนวนนับทีม่ ากกวา ๖ 10
๒ การคูณ ๑๐๐,๐๐๐ ได ๘ 10
สามารถหาคาของตัวไมทราบ
๓ การหาร คาในประโยคสัญลกั ษณแสดง ๑๐ 10
การคูณของจำนวนหลายหลัก
๒ จำนวน ทีม่ ีผลคูณไมเ กนิ ๖
หลัก ได
สามารถหาคาของตัวไมทราบ
คาในประโยคสัญลักษณแสดง
การหารท่ีตัวต้ังไมเกิน ๖ หลัก
ตวั หารไมเ กนิ ๒ หลกั ได

๔ เศษส่วน ๑ . ส าม าร ถ เป รี ย บ เที ย บ ๑๘ ๒๐
เรียงลำดับเศษสวนและจำนวน
คละ ท่ี ตั ว ส วน ตั วห น่ึ งเป น
พหคุ ูณของอกี ตวั หนง่ึ ได
๒. สามารถหาผลบวก ผลลบ
ของเศษสวนและจำนวนคละที่
ตัวสวนตัวหน่ึงเปนพหุคูณของ
อีกตวั หนึง่ ได
๓. สามารถแสดงวิธีหาคำตอบ
ของโจทยปญหาการบวกและ
การลบเศษสวนและจำนวนคละ

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลมุ สาระการเรยี นรูค ณติ ศาสตร โรงเรียนบา นฉลอง ๒๔

โครงสรางรายวิชาเสริมทกั ษะคณิตศาสตร
ระดับประถมศกึ ษา

ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี ๔ เวลา ๘๐ ชั่วโมง

ลำดับ ผลการเรียนรทู ่ีคาดหวงั เวลา นำ้ หนัก
ที่ ชื่อหนวยการเรียนรู (ชวั่ โมง) คะแนน
๕ ทศนิยม ที่ตัวสว นตวั หนึง่ เปน พหุคณู ของอีกตวั
หนึ่งได 10
๖ เวลา ๑. สามารถเปรียบเทยี บและเรียงลำดับ ๒๐ ๑๐๐
๗ สีเ่ หลยี่ มมุมฉาก ทศนยิ มไมเ กิน ๓ ตำแหนงจาก
สถานการณตางๆได
๒. สามารถหาผลบวก ผลลบของ

ทศนิยมไมเ กนิ ๓ ตำแหนงได

๓. สามารถแสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย

ปญหาการบวก การลบ ๒ ข้ันตอนของ

ทศนิยมไมเกิน ๓ ตำแหนง ได

สามารถแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย ๘

ปญ หาเกย่ี วกบั เวลาได

สามารถแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย ๑๒

ปญหาเก่ียวกับความยาวรอบรูปและ

พื้นทขี่ องรูปสเ่ี หลยี่ มมุมฉากได

รวม ๘๐

หมายเหตุ อัตราสวนคะแนนระหวางเรยี นกับการสอบปลายภาค ๘๐/๒๐

หลักสตู รสถานศึกษากลุม สาระการเรียนรูค ณิตศาสตร โรงเรียนบา นฉลอง ๒๕

โครงสรางรายวชิ าเสรมทกั ษะคณิตศาสตร
ระดับประถมศกึ ษา

ชัน้ ประถมศึกษาปที่ ๕ เวลา ๘๐ ชัว่ โมง

ลำดบั ช่ือหนว ยการเรยี นรู ผลการเรียนรทู ีค่ าดหวัง เวลา/ น้ำหนกั
ที่ ช่วั โมง คะแนน
๑ เศษส่วน ๑. สามารถหาผลบวก ผลลบ 20 ๒๕
ผลคูณ ผลหารของเศษสว นและ ๒๐ ๒๕
๒ ทศนยิ ม จำนวนคละได
๒. สามารถเขียนเศษสวนที่มีตัว
สวนเปนตัวประกอบของ ๑๐
หรือ ๑๐๐ หรือ ๑,๐๐๐ ในรูป
ทศนิยมได
๓. สามารถแสดงวิธีหาคำตอบ
ข อ ง โจ ท ย ป ญ ห า โ ด ย ใช 
บัญญัติไตรยางศได
๔. สามารถหาผลบวก ผลลบ
ผลคูณ ผลหารของเศษสวน
และจำนวนคละได
๕. สามารถแสดงวิธีหาคำตอบ
ของโจทยปญหาการบวก การ
ลบ การคูณ การหารเศษสวน ๒
ขัน้ ตอนได

๑ . ส าม าร ถ ห าผ ล คู ณ ขอ ง
ทศนิยมท่ีผลคูณเปนทศนิยมไม
เกนิ ๓ ตำแหนงได
๒. สามารถหาผลหารท่ีตัวตั้ง
เปนจำนวนนับหรือทศนิยมไม
เกิน ๓ ตำแหนง และตัวหาร

หลกั สูตรสถานศึกษากลุม สาระการเรียนรูคณิตศาสตร โรงเรียนบา นฉลอง ๒๖

โครงสรางรายวิชาเสริมทกั ษะคณิตศาสตร
ระดับประถมศกึ ษา

ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี ๕ เวลา ๘๐ ช่วั โมง

ลำดบั ช่ือหนว ยการเรยี นรู ผลการเรยี นรูท คี่ าดหวัง เวลา/ นำ้ หนัก
ที่ ชว่ั โมง คะแนน
และตั วหารเป น จำน วน นั บ
๓ ร้อยละ ผลหารเปนทศนิยมไมเกิน ๓ ๑๘ ๒๐
ตำแหนงได ๒๒ ๓๐
๔ รูปสีเ่ หลี่ยมและปรมิ าตรของรูปเรขาคณติ สาม ๓. สามารถแสดงวิธีหาคำตอบ
มิติ ของโจทยปญหาการบวก การ
ลบ การคูณ การหารทศนิยม ๒
ขน้ั ตอนได
๔. สามารถแสดงวิธีหาคำตอบ
ของโจทยปญหาเก่ียวกับความ
ยาว น้ำหนัก ท่ีมีการเปล่ียน
หนว ย และเขียนในรปู ทศนิยมได

สามารถแสดงวิธีหาคำตอบของ
โจทยปญหารอยละไมเกิน ๒
ข้นั ตอนได
๑. สามารถแสดงวิธีหาคำตอบ
ข อ ง โจ ท ย ป ญ ห า เก่ี ย ว กั บ
ปริมาตรของทรงส่ีเหล่ียมมุม
ฉากและความจุของภาชนะทรง
สี่เหลย่ี มมุมฉากได
๒. สามารถแสดงวิธีหาคำตอบ
ของโจทยปญหาเกี่ยวกับความ
ยาวรอบรปู ของรูปส่ีเหล่ียมและ
พ้ืนท่ีของรูปส่ีเหล่ียมดา นขนาน

หลกั สูตรสถานศึกษากลุมสาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร โรงเรยี นบา นฉลอง ๒๗

โครงสรางรายวิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร
ระดับประถมศกึ ษา

ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๕ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง

ลำดับ ชอ่ื หนวยการเรียนรู ผลการเรียนรูทีค่ าดหวัง เวลา/ นำ้ หนกั
ท่ี ชวั่ โมง คะแนน
และรปู สี่เหลย่ี มขนมเปย กปนู ได

๓. สามารถสรางรูปส่ีเหลี่ยม

ชนิดตาง ๆ เม่ือกำหนดความ

ยาวของดานและขนาดของมุม

หรือเม่ือกำหนดความยาวของ

เสน ทแยงมมุ ได

๔. สามารถบอกลักษณะของ

ปริซมึ ได

รวม ๘๐ ๑๐๐

หมายเหตุ อัตราสว นคะแนนระหวา งเรยี นกบั การสอบปลายภาค ๘๐/๒๐

หลักสตู รสถานศกึ ษากลุม สาระการเรยี นรูค ณิตศาสตร โรงเรยี นบา นฉลอง ๒๘

โครงสรางรายวิชาเสรมิ ทักษะคณิตศาสตร
ระดับประถมศึกษา

ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๖ เวลา ๘๐ ชัว่ โมง

ลำดับ ช่อื หนว ยการเรยี นรู ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวัง เวลา/ น้ำหนัก
ท่ี ชวั่ โมง คะแนน
๑ เศษส่วน ๑ .ส า ม า ร ถ เป รี ย บ เที ย บ ๑๐
เรียงลำดับเศษสวนและจำนวน ๑๐
๒ ทศนิยม คละได ๘ ๑๐
๓ อัตราส่วน ๒. สามารถหาผลลัพธของการ ๑๒ ๑๕
บวก ลบ คูณ หารระคนของ
เศษสว นและจำนวนคละได
๓. สามารถแสดงวิธีหาคำตอบ
ขอ งโจทย ป ญ ห าเศษ ส ว น แล ะ
จำนวนคละ ๒-๓ ขน้ั ตอนได

๑. สามารถหาผลหารของ
ทศนิยมท่ีตัวหารและผลหารเปน
ทศนิยมไมเ กนิ ๓ ตำแหนงได
๒. สามารถแสดงวิธีหาคำตอบ
ของโจทยปญหาการบวก การลบ
การคู ณ การหารทศนิ ยม ๓
ขั้นตอนได
๑. สามารถเขียนอัตราสวนแสดง
การเปรียบเที ยบปริมาณ ๒
ป ริ ม าณ จาก ข อ ค ว าม ห รื อ
สถานการณ โดยท่ีปริมาณแตละ
ปริมาณเปน จำนวนนบั ได
๒ . สาม ารถหาอั ตราส วนท่ี
เทา กบั อตั ราสวนทก่ี ำหนดให

หลักสูตรสถานศกึ ษากลุมสาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร โรงเรยี นบา นฉลอง ๒๙

โครงสรางรายวชิ าเสริมทักษะคณิตศาสตร
ระดับประถมศกึ ษา

ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๖ เวลา ๘๐ ชั่วโมง

ลำดับ ชอื่ หนวยการเรยี นรู ผลการเรยี นรทู ่คี าดหวัง เวลา/ นำ้ หนกั
ที่ ชว่ั โมง คะแนน
๓. สามารถแสดงแสดงวิธีหา ๑๐
๔ ร้อยละ ค ำ ต อ บ ข อ ง โจ ท ย ป ญ ห า ๒๐ ๑๕
๕ ห.ร.ม. , ค.ร.น. อตั ราสว นได ๒๕
๒๐
๖ รปู เรขาคณิต สาม ารถ แ สด ง แสดงวิธีหา ๒๕
คำตอบของโจทยปญหารอยละ
๒-๓ ขน้ั ตอนได
๑. สามารถหา ห.ร.ม. และ
ค.ร.น. ของจำนวนนับไมเกิน ๓
จำนวนได
๒. สามารถแสดงวิธีหาคำตอบ
ของโจทยปญหาโดยใชความรู
เก่ียวกบั ห.ร.ม. และ ค.ร.น.ได

๑. สามารถแสดงวิธีคิดและหา
คำตอบของปญหาเก่ียวกับแบบ
รปู ได
๒. สามารถแสดงวิธีหาคำตอบ
ของโจทยปญหาเกีย่ วกับปริมาตร
ของรูปเรขาคณิ ตสามมิ ติ ท่ี
ประกอบดวยทรงสีเ่ หล่ยี มมุมฉาก
ได
๓. สามารถแสดงวิธีหาคำตอบ
ของโจทยปญหาเก่ียวกับความ
ยาวรอบรูปและพ้ืนท่ีของรูป

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลุมสาระการเรียนรคู ณิตศาสตร โรงเรียนบา นฉลอง ๓๐

โครงสรางรายวิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร
ระดับประถมศกึ ษา

ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง

ลำดบั ชอ่ื หนว ยการเรียนรู ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวัง เวลา/ นำ้ หนกั
ท่ี ชว่ั โมง คะแนน
หลายเหลี่ยม และความยาวรอบ

รูปและพ้นื ที่ของวงกลมได

๔. สามารถจำแนกรูปสามเหลี่ยม

โดยพิจารณาจากสมบตั ิของรูปได

๕. สามารถสรางรูปสามเหลี่ยม

เมื่อกำหนดความยาวของดาน

และขนาดของมุมได

๖. สามารถบอกลักษณะของรูป

เรขาคณิ ตสามมิติชนิดตาง ๆ

ระบุ รูปเรขาคณิ ตสามมิ ติ ที่

ประกอบจากรูปคลี่ และระบุรูป

คล่ีของรปู เรขาคณิตสามมติ ิได

รวม ๘๐ ๑๐๐

หมายเหตุ อตั ราสว นคะแนนระหวา งเรยี นกับการสอบปลายภาค ๘๐/๒๐

หลกั สูตรสถานศึกษากลุมสาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร โรงเรียนบา นฉลอง ๓๑

ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง
กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลุมสาระการเรยี นรูคณิตศาสตร โรงเรยี นบา นฉลอง ๓๒

สรุปหลักสูตรฯ กลุมสาระการเรียนรูค ณติ ศาสตร

คณิตศาสตร์มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อความสำเร็จในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เนื่องจาก
คณิตศาสตร์ช่วยให้มนุษย์มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถ
วิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบและถ่ีถ้วน ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ
แก้ปัญหา ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และสามารถนำไปใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากน้ี
คณติ ศาสตร์ยังเป็นเครื่องมอื ในการศึกษาดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศาสตรอ์ นื่ ๆ อันเป็นรากฐานใน
การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของชาตใิ ห้มีคุณภาพและพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศให้ทดั เทียมกับนานาชาติ
การศึกษาคณิตศาสตร์จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพ่ือให้ทันสมัยและสอดคล้องกับสภาพ
เศรษฐกิจ สังคม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในยุค
โลกาภวิ ฒั น์

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 จัดทำขึ้นโดยคำนึงถึงการส่งเสริมให้
ผู้เรียนมีทักษะท่ีจำเป็นสำหรับ การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 เป็นสำคัญ นั่นคือ การเตรียมผู้เรียนให้มีทักษะ
ด้านการคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ การใช้เทคโนโลยี การ
ส่ือสารและการร่วมมือ ซ่ึงส่งผลให้ผู้เรียนรู้เท่าทันการเปล่ียนแปลงของระบบเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
และสภาพแวดล้อม สามารถแข่งขันและอยู่ร่วมกับประชาคมโลกได้ ท้ังนี้การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ท่ี
ประสบความสำเรจ็ นั้น จะต้องเตรียมผู้เรยี นให้มีความพร้อมทจ่ี ะเรียนรสู้ ิ่งต่าง ๆ พร้อมท่ีจะประกอบอาชีพ
เม่ือจบการศึกษา หรือสามารถศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น ดังนั้นสถานศึกษาควรจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสม
ตามศักยภาพของผเู้ รยี น

กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ได้จัดเป็น 3 สาระ ดังแผนภาพต่อไปน้ี

สาระที่ 2 การวดั และเรขาคณติ
มาตรฐาน ค 2.1 - ค 2.2

สาระที่ 1 จำนวนและพชี คณิต กลมุ สาระการเรยี นรู สาระที่ 3 สถติ ิและความนา จะเปน
มาตรฐาน ค 1.1 - ค 1.3 คณิตศาสตร มาตรฐาน ค 3.1 - ค 3.2

หลักสตู รสถานศกึ ษากลมุ สาระการเรยี นรูค ณติ ศาสตร โรงเรียนบา นฉลอง ๓๓

ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์

ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1

สาระท่ี 1 จำนวนและพีชคณิต

มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนนิ การของ
จำนวน ผลทเ่ี กดิ ขึ้นจากการดำเนนิ การ สมบตั ขิ องการดำเนินการ และนำไปใช้

ช้ัน ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

ป.1 1. บอกจำนวนของสิง่ ต่างๆ แสดงสิง่ จำนวนนับ 1 ถึง 100 และ 0
ต่างๆ ตามจำนวนท่ีกำหนด อ่านและ - การนับทีละ 1 และทีละ 10
เขยี นตวั เลขฮนิ ดูอารบกิ ตวั เลขไทย - การอา่ นและการเขยี นตัวเลขฮนิ ดอู ารบกิ ตัวเลขไทย
แสดงจำนวนนับไมเ่ กิน 100 และ 0 แสดงจำนวน
2. เปรียบเทียบจำนวนนับไม่เกิน 100 - การแสดงจำนวนนบั ไม่เกนิ 20 ในรูปความสัมพนั ธ์
และ 0 โดยใช้ เครือ่ งหมาย = ≠ > < ของจำนวนแบบส่วนยอ่ ย-ส่วนรวม (part-whole
3. เรยี งลำดบั จำนวนนบั ไม่เกนิ 100 relationship)
และ 0 ต้ังแต่ 3 ถงึ 5 จำนวน
- การบอกอนั ดับที่

- หลกั คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลกั และการเขียน

ตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย

- การเปรยี บเทยี บจำนวนและการใชเ้ ครื่องหมาย =

≠><

- การเรยี งลำดับจำนวน

4. หาค่าของตวั ไม่ทราบค่าในประโยค การบวก การลบ จำนวนนับ 1 ถงึ 100 และ 0
สญั ลักษณ์แสดงการบวกและประโยค - ความหมายของการบวก ความหมายของการลบ
สญั ลกั ษณแ์ สดงการลบของจำนวนนับ การหาผลบวก
ไมเ่ กนิ 100 และ 0

หลักสตู รสถานศึกษากลุม สาระการเรยี นรูคณิตศาสตร โรงเรียนบา นฉลอง ๓๔

ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.1 5. แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ปญั หา การหาผลลบ และความสมั พนั ธข์ องการบวกและการ
การบวกและโจทย์ปญั หาการลบของ ลบ

จำนวนนบั ไม่เกนิ 100 และ 0 - การแก้โจทย์ปญั หาการบวก โจทยป์ ญั หาการลบ

และการสร้างโจทย์ปัญหา พรอ้ มทงั้ หาคำตอบ

มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวเิ คราะห์แบบรปู ความสมั พนั ธ์ ฟงั กช์ นั ลำดบั และอนกุ รม และ
นำไปใช้

ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.1 1. ระบจุ ำนวนทห่ี ายไปในแบบรูปของ - แบบรูปของจำนวนท่ีเพม่ิ ข้นึ หรอื ลดลงทลี ะ 1 และ
จำนวนทเี่ พ่มิ ขึ้นหรอื ลดลงทีละ 1 และ ทีละ 10
ทลี ะ 10 และระบุรปู ที่หายไปในแบบรปู - แบบรูปซำ้ ของจำนวน รูปเรขาคณติ และรปู อนื่ ๆ
ซำ้ ของรูปเรขาคณิตและรูปอ่ืนๆ ท่ี

สมาชิกในแต่ละชดุ ที่ซ้ำมี 2 รปู

หลักสูตรสถานศึกษากลมุ สาระการเรยี นรูค ณิตศาสตร โรงเรยี นบา นฉลอง ๓๕

สาระที่ 2 การวดั และเรขาคณิต

มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพน้ื ฐานเกย่ี วกบั การวดั วัดและคาดคะเนขนาดของสิง่ ท่ีตอ้ งการวัด และ
นำไปใช้

ช้ัน ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ป.1 1.วดั และเปรยี บเทียบความยาวเป็น
ความยาว
เซนติเมตร เปน็ เมตร - การวัดความยาวโดยใชห้ นว่ ยที่ไมใ่ ชห่ น่วยมาตรฐาน
- การวดั ความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร
2. วัดและเปรยี บเทียบน้ำหนกั เปน็ - การเปรียบเทยี บความยาวเปน็ เซนติเมตร เปน็ เมตร
กโิ ลกรมั เปน็ ขีด - การแก้โจทยป์ ัญหาการบวก การลบเกี่ยวกับความ
ยาวท่ีมหี นว่ ยเป็นเซนติเมตร เปน็ เมตร
น้ำหนัก
- การวัดน้ำหนักโดยใชห้ น่วยท่ีไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
- การวดั น้ำหนักเปน็ กโิ ลกรัม เป็นขีด
- การเปรียบเทยี บน้ำหนกั เปน็ กโิ ลกรัม เป็นขีด
- การแก้โจทย์ปญั หาการบวก การลบเก่ยี วกบั
นำ้ หนักท่มี ีหนว่ ยเปน็ กโิ ลกรัม เป็นขีด

หลักสูตรสถานศกึ ษากลุมสาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร โรงเรยี นบา นฉลอง ๓๖

มาตรฐาน ค 2.2 เขา้ ใจและวิเคราะห์รปู เรขาคณติ สมบัติของรปู เรขาคณติ ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง
รปู เรขาคณติ และทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนำไปใช้

ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ป.1 1.จำแนกรูปสามเหล่ยี ม รปู สี่เหลยี่ ม รปู เรขาคณติ สองมติ ิ และรปู เรขาคณติ สามมิติ
วงกลม วงรี ทรงสเ่ี หล่ยี มมุมฉาก ทรง - ลกั ษณะของรูปสีเ่ หล่ยี มมุมฉาก ทรงกลม
กลม ทรงกระบอกและกรวย
ทรงกระบอก กรวย
- ลักษณะของรปู สามเหลีย่ ม รูปส่เี หลยี่ ม วงกลม และ

วงรี

สาระท่ี 3 สถติ ิและความนา่ จะเปน็
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใชค้ วามร้ทู างสถติ ใิ นการแก้ปญั หา

ชัน้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.1 1.ใชข้ ้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหา การนำเสนอขอ้ มูล
คำตอบของ
- การอา่ นแผนภูมริ ปู ภาพ
โจทย์ปัญหา เมอ่ื กำหนด รูป 1 รูป

แทน 1 หนว่ ย

หลกั สูตรสถานศึกษากลุม สาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร โรงเรียนบา นฉลอง ๓๗

ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์

ระดับชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 2

สาระท่ี 1 จำนวนและพีชคณิต

มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ
จำนวน ผลทเี่ กิดขึ้นจากการดำเนนิ การ สมบัติของการดำเนินการ และนำไปใช้

ชนั้ ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

ป.2 1. บอกจำนวนของสง่ิ ต่างๆ แสดงสิง่ ตา่ ง จำนวนนบั ไมเ่ กิน 1,000 และ 0
ๆ ตามจำนวนทีก่ ำหนด อา่ นและเขียน - การนบั ทีละ 2 ทีละ 5 ทีละ 10 และทลี ะ 100
ตวั เลข ฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย
- การอ่านและการเขียนตวั เลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย
ตัวหนังสือแสดงจำนวนนบั ไม่เกิน
และตวั หนงั สือแสดงจำนวน
1,000 และ 0
- จำนวนคู่ จำนวนค่ี
2. เปรยี บเทียบจำนวนนบั ไม่เกิน 1,000 - หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียน
และ 0 โดยใชเ้ คร่ืองหมาย = ≠ > < ตัวเลข แสดงจำนวนในรูปกระจาย
3. เรยี งลำดับจำนวนนบั ไม่เกิน1,000 - การเปรียบเทียบและการเรยี งลำดบั จำนวน
และ 0 ตง้ั แต่ 3 ถึง 5 จำนวนจาก

สถานการณ์ ตา่ งๆ

4. หาค่าของตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยค การบวก การลบ การคณู การหารจำนวนนบั ไม่
สัญลกั ษณ์แสดงการบวกและประโยค
เกนิ 1,000 และ 0
สัญลักษณ์แสดงการลบของจำนวนนับ - การบวกและการลบ
ไม่เกนิ 1,000 และ 0 - ความหมายของการคูณ ความหมายของการหาร
5. หาค่าของตัวไม่ทราบคา่ ในประโยค
การห าผล คูณ การห าผ ลห ารและเศษ แล ะ
สัญลักษณ์แสดงการคณู ของจำนวน ความสัมพนั ธข์ องการคณู และการหาร
1 หลัก กับจำนวนไมเ่ กิน 2 หลัก
6. หาค่าของตวั ไม่ทราบค่าในประโยค - การบวก ลบ คณู หารระคน
- การแก้โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหา
สัญลกั ษณแ์ สดงการหารท่ี พร้อมทง้ั หาคำตอบ

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลมุ สาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร โรงเรียนบา นฉลอง ๓๘

ชนั้ ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ตัวตั้งไมเ่ กิน 2 หลัก ตวั หาร 1 หลัก - แบบรูปของจำนวนท่เี พิ่มขึน้ หรือลดลงทีละ 1 และ

โดยทผ่ี ลหารมี 1 หลกั ทัง้ หารลงตัวและ ทลี ะ 10

หารไมล่ งตัว - แบบรูปซ้ำของจำนวน รูปเรขาคณิตและรูปอืน่ ๆ

7. หาผลลพั ธ์การบวก ลบ คูณ หาร

ระคนของจำนวนนบั ไมเ่ กนิ 1,000 และ

0

8. แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ปัญหา 2

ขั้นตอนของจำนวนนับไม่เกิน 1,000

และ 0

มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวเิ คราะห์แบบรูป ความสมั พนั ธ์ ฟงั ก์ชนั ลำดับและอนกุ รม และ
นำไปใช้

ช้นั ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ป.2 (มกี ารจัดการเรียน การสอนเพื่อเป็น
แบบรูป
พน้ื ฐาน แต่ไม่วัดผล) - แบบรูปของจำนวนทเี่ พม่ิ ข้นึ หรือลดลงทลี ะ 2 ทลี ะ
5 และทลี ะ 100
- แบบรูปซำ้

หลักสตู รสถานศกึ ษากลมุ สาระการเรียนรูคณติ ศาสตร โรงเรยี นบา นฉลอง ๓๙

สาระที่ 2 การวดั และเรขาคณติ

มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพ้ืนฐานเกย่ี วกบั การวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสิ่งท่ตี อ้ งการวดั และ
นำไปใช้

ชนั้ ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ป.2 1.แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา เวลา
เกี่ยวกับเวลาท่ีมีหน่วยเดี่ยวและเป็น - การบอกเวลาเป็นนาฬกิ าและนาที (ชว่ ง 5 นาท)ี
หนว่ ยเดียวกนั
- การบอกระยะเวลาเปน็ ชว่ั โมง เปน็ นาที

- การเปรยี บเทียบระยะเวลาเปน็ ช่ัวโมง เป็นนาที

- การอา่ นปฏิทิน

- การแกโ้ จทยป์ ัญหาเกีย่ วกับเวลา

2. วัดและเปรยี บเทยี บความยาวเปน็ ความยาว
เมตรและเซนตเิ มตร
- การวดั ความยาวเปน็ เมตรและเซนติเมตร
3. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา - การคาดคะเนความยาวเปน็ เมตร
การบวก การลบเกี่ยวกบั ความยาวทมี่ ี - การเปรยี บเทียบความยาวโดยใช้ความสัมพันธ์
หนว่ ยเป็นเมตรและเซนตเิ มตร
ระหวา่ งเมตรกับเซนตเิ มตร

- การแกโ้ จทยป์ ญั หาเกย่ี วกับความยาวที่มีหน่วยเปน็

เมตรและเซนติเมตร

4. วัดและเปรยี บเทยี บนำ้ หนักเปน็ น้ำหนกั

กิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขดี - การวัดนำ้ หนักเป็นกโิ ลกรัมและกรัม กิโลกรัมและ

5. แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ปญั หา ขดี
การบวก การลบเกีย่ วกบั นำ้ หนกั ที่มี - การคาดคะเนน้ำหนกั เปน็ กโิ ลกรัม
หนว่ ยเปน็ กโิ ลกรัมและกรัม กโิ ลกรัมและ - การเปรยี บเทยี บน้ำหนกั โดยใช้ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง
ขีด กิโลกรมั กบั กรัม กิโลกรมั กบั ขดี

- การแกโ้ จทย์ปญั หาเกยี่ วกับน้ำหนักท่ีมีหน่วยเปน็

กิโลกรมั และกรัม กิโลกรัมและขดี

หลักสูตรสถานศึกษากลมุ สาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร โรงเรียนบา นฉลอง ๔๐

ชั้น ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

6. วัดและเปรยี บเทยี บปริมาตรและ ปรมิ าตรและความจุ
ความจุ เป็นลติ ร - การวดั ปริมาตรและความจโุ ดยใช้หนว่ ยทไ่ี มใ่ ช่หน่วย
มาตรฐาน
- การวัดปรมิ าตรและความจุเป็นชอ้ นชา ช้อนโตะ๊
ถ้วยตวงลิตร
- การเปรียบเทยี บปรมิ าตรและความจุเป็นชอ้ นชา
ชอ้ นโตะ๊ ถ้วยตวง ลติ ร
- การแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกบั ปริมาตรและความจุที่มี
หน่วยเปน็ ชอ้ นชา ช้อนโตะ๊ ถว้ ยตวง ลติ ร

มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะหร์ ูปเรขาคณติ สมบัตขิ องรปู เรขาคณิต ความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง
รปู เรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำไปใช้

ช้นั ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง
ป.2 1.จำแนกและบอกลกั ษณะของรูป
รูปเรขาคณิตสองมติ ิ
หลายเหล่ียม และวงกลม - ลักษณะของรปู หลายเหลยี่ ม วงกลม และวงรี และ
การเขยี นรปู เรขาคณิตสองมิตโิ ดยใช้แบบของรปู

สาระท่ี 3 สถิติและความน่าจะเปน็

มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามรทู้ างสถติ ิในการแก้ปญั หา

ชั้น ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

ป.2 1.ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหา การนำเสนอข้อมูล
คำตอบของโจทยป์ ัญหา เมอื่ กำหนดรูป - การอา่ นแผนภูมิรูปภาพ
1 รปู แทน 2 หน่วย 5 หน่วย หรอื 10
หนว่ ย

หลกั สูตรสถานศึกษากลมุ สาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร โรงเรียนบา นฉลอง ๔๑

ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์

ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓

สาระท่ี 1 จำนวนและพชี คณติ

มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ
จำนวน ผลทเ่ี กิดข้ึนจากการดำเนนิ การ สมบตั ิของการดำเนินการ และนำไปใช้

ชั้น ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.3 1. อ่านและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก จำนวนนับไม่เกนิ 100,000 และ 0
ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงจำนวนนับ - การอ่าน การเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย

ไม่เกิน 100,000 และ 0 ตวั หนังสือแสดงจำนวน
2. เปรียบเทียบและเรียงลำดับ
จำนวนนับไม่เกนิ 100,000 จาก - หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลักและการเขียน
ตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย
สถานการณ์ต่าง ๆ
- การเปรียบเทียบและเรียงลำดับ

3. บอก อ่าน และเขียนเศษส่วนแสดง เศษสว่ น
ปริมาณส่ิงต่าง ๆ และเขียนแสดงสิ่งต่าง ๆ - เศษส่วนท่ีตวั เศษน้อยกวา่ หรอื เทา่ กบั ตวั ส่วน
- การเปรียบเทียบและเรียงลำดบั
ตามเศษสว่ นทกี่ ำหนด
4. เปรียบเทียบเศษส่วนที่ตวั เศษ การบวก การลบ การคณู การหารจำนวนนบั ทไ่ี ม่
เท่ากันโดยที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือ เกิน 100,000 และ 0
- การบวกและการลบ
เท่ากบั ตัวสว่ น - การคณู การหารยาวและการหารสน้ั
- การบวก ลบ คณู หารระคน
5. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยค - การแก้โจทย์ปญั หาและการสรา้ งโจทย์ปัญหา
สั ญ ลั กษณ์ แสดงการบ วกและป ระโยค
สัญลักษณ์แสดงการลบของจำนวนนับไม่

เกนิ 100,000 และ 0
6. หาคา่ ของตัวไม่ทราบค่าในประโยค
สัญลักษณ์ แสดงการคูณของจำนวน

หลักสตู รสถานศกึ ษากลุม สาระการเรยี นรูค ณติ ศาสตร โรงเรยี นบา นฉลอง ๔๒

ช้ัน ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรแู กนกลาง

1 หลกั กับจำนวนไม่เกิน 4 หลกั และ พร้อมทง้ั หาคำตอบ

จำนวน 2 หลักกับจำนวน 2 หลัก

7. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าใน

ประโยคสญั ลกั ษณ์แสดงการหารที่ตัว

ต้ังไม่เกิน 4 หลกั ตวั หาร 1 หลัก

8. หาผลลพั ธ์การบวก ลบ คณู หาร

ระคน ของจำนวนนับไม่เกิน 100,000

และ 0

9. แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์

ปัญหา 2 ขั้นตอน ของจำนวนนบั ไม่

เกิน 100,000 และ 0

10. หาผลบวกของเศษส่วนที่มีตัวส่วน การบวก การลบเศษสว่ น
เท่ากนั และผลบวกไม่เกิน 1 และ หาผลลบ - การบวกและการลบเศษส่วน
ของเศษส่วนที่มีตวั ส่วนเท่ากัน
การแกโ้ จทย์ปญั หาการบวกและโจทยป์ ัญหาการลบ
11. แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์
เศษสว่ น
ปญั หาการบวกเศษส่วนทมี่ ตี วั สว่ น

เทา่ กัน และผลบวกไม่เกิน 1 และโจทย์

ปญั หาการลบเศษสว่ นที่มตี ัวส่วน

เท่ากนั

มาตรฐาน ค 1.2 เขา้ ใจและวเิ คราะห์แบบรูป ความสัมพนั ธ์ ฟงั กช์ ัน ลำดับและอนกุ รม และ
นำไปใช้

ชนั้ ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.3 1. ระบุจำนวนทหี่ ายไปในแบบรูปของ แบบรปู
จำนวนทีเ่ พ่ิมขึ้นหรอื ลดลงทีละเทา่ ๆ กัน - แบบรปู ของจำนวนทเ่ี พม่ิ ข้นึ หรอื ลดลงทีละเท่า ๆ

กนั

หลักสตู รสถานศกึ ษากลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร โรงเรียนบา นฉลอง ๔๓

สาระท่ี 2 การวัดและเรขาคณิต

มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพ้นื ฐานเกี่ยวกับการวดั วดั และคาดคะเนขนาดของส่งิ ทีต่ ้องการวัด และ
นำไปใช้

ชน้ั ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.3 1. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา เงิน
เก่ยี วกับเงิน - การบอกจำนวนเงินและเขียนแสดงจำนวนเงิน แบบ
2. แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์
ปัญหาเก่ียวกบั เวลา และระยะทาง ใชจ้ ดุ
3. เลือกใช้เคร่ืองวดั ความยาวที่ - การเปรียบเทยี บจำนวนเงินและการแลกเงิน
- การอ่านและเขียนบันทึกรายรับ รายจา่ ย
เหมาะสม วดั และบอกความยาวของ - การแกโ้ จทย์ปญั หาเกี่ยวกับเงิน

สง่ิ ตา่ ง ๆ เปน็ เซนตเิ มตรและ เวลา
มิลลเิ มตร เป็นเมตรและเซนตเิ มตร - การบอกเวลาเป็นนาฬกิ าและนาที
4. คาดคะเนความยาวเปน็ เมตรและ - การเขียนบอกเวลาโดยใช้มหัพภาพ (.) หรือทวิภาค
เป็นเซนตเิ มตร
5. เปรยี บเทียบความยาวระหว่าง (:) และการอ่าน
เซนตเิ มตรกบั มลิ ลเิ มตร เมตรกบั - การบอกระยะเวลาเปน็ ช่วั โมงและนาที
เซนติเมตร กิโลเมตรกับเมตร จาก - การเปรียบเทียบระยะเวลาโดยใช้ความสัมพันธ์

ระหวา่ งชั่วโมงกบั นาที
- การอ่านและการเขียนบนั ทึกกจิ กรรมทร่ี ะบุเวลา
- การแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับเวลาและระยะเวลา

สถานการณ์ตา่ งๆ ความยาว
- การวดั ความยาวเปน็ เซนติเมตรและมิลลเิ มตร
6. แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์
ปัญหาเก่ียวกับ ความยาว ที่มหี น่วย เมตรและเซนตเิ มตร กโิ ลเมตรและเมตร
เป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตร - การเลอื กเครอื่ งวดั ความยาวท่ีเหมาะสม
และเซนตเิ มตร กิโลเมตรและเมตร

หลักสูตรสถานศกึ ษากลุมสาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร โรงเรยี นบา นฉลอง ๔๔

ชั้น ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง

- ก ารค าด ค ะเน ค วามยาวเป็ นเม ตรแ ละเป็ น
เซนติเมตร
- การเปรยี บเทียบความยาวโดยใช้ความสัมพนั ธ์
ระหวา่ งหนว่ ยความยาว
- การแกโ้ จทยป์ ัญหาเกย่ี วกบั ความยาว
7. เลอื กใช้เคร่อื งช่งั ที่เหมาะสม วัดและ
บอกน้ำหนกั เปน็ กิโลกรมั และขดี นำ้ หนัก
กิโลกรัมและกรัม - การเลือกเครื่องชัง่ ท่ีเหมาะสม
8. คาดคะเนนำ้ หนกั เปน็ กโิ ลกรัม - การคาดคะเนน้ำหนักเปน็ กิโลกรมั และเป็นขีด
- การเปรียบเทยี บนำ้ หนกั โดยใช้ความสมั พันธ์
ระหวา่ งกโิ ลกรัมกับกรมั เมตริกตันกับกิโลกรมั
และเป็นขีด - การแกโ้ จทย์ปัญหาเกยี่ วกบั นำ้ หนัก
9. เปรียบเทียบนำ้ หนักระหวา่ ง

กโิ ลกรัมกับกรมั เมตรกิ ตนั กับ

กิโลกรัม จากสถานการณ์ต่าง ๆ

10. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ ปริมาตรและความจุ
ปัญหาเกย่ี วกบั น้ำหนักที่มหี นว่ ยเป็น - การวัดปริมาตรและความจเุ ปน็ ลติ รและมลิ ลลิ ิตร
กโิ ลกรมั กบั กรัม เมตรกิ ตันกบั - การเลือกเคร่อื งตวงทีเ่ หมาะสม
กโิ ลกรัม - การคาดคะเนปรมิ าตรและความจุเป็นลิตร
11. เลือกใชเ้ ครอ่ื งตวงทเ่ี หมาะสม วดั - การเปรยี บเทียบปรมิ าตรและความจุโดยใช้
และเปรยี บเทียบปรมิ าตร ความจเุ ป็น
ลติ รและมลิ ลิลิตร ความสมั พันธร์ ะหวา่ งลติ รกับมิลลลิ ิตร ช้อนชา
12. คาดคะเนปรมิ าตรและความจุ ชอ้ นโต๊ะ ถ้วยตวงกบั มลิ ลิลิตร
- การแกโ้ จทยป์ ัญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจทุ ่ี
เป็นลติ ร แสดงวธิ หี าคำตอบของ

โจทย์ปัญหาเก่ยี วกับปริมาตรและ

ความจทุ ี่มีหน่วยเปน็ ลติ รและ

หลกั สูตรสถานศึกษากลุม สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร โรงเรยี นบา นฉลอง ๔๕

มิลลิลติ ร มีหนว่ ยเป็นลิตรและมลิ ลลิ ิตร

13. แสดงวิธหี าคำตอบของโจทยป์ ญั หา
เกี่ยวกบั ปริมาตรและความจทุ ีม่ หี นว่ ย
เป็นลิตรและมิลลิลิตร

มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวเิ คราะหร์ ปู เรขาคณิต สมบัติของรปู เรขาคณิต ความสัมพันธร์ ะหว่าง
รปู เรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำไปใช้

ช้นั ตัวช้ีวดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง
ป.3 1. ระบรุ ปู เรขาคณิตสองมติ ทิ มี่ แี กน
รูปเรขาคณิตสองมิติ
สมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร - รปู ท่ีมีแกนสมมาตร

สาระที่ 3 สถติ แิ ละความนา่ จะเป็น

มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิ และใช้ความรู้ทางสถติ ิในการแกป้ ญั หา

ชั้น ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.3 1. เขียนแผนภูมิรูปภาพ และใช้ข้อมูล การเก็บรวบรวมขอ้ มูลและการนำเสนอข้อมูล
จากแผนภูมิรูปภาพในการหาคำตอบ - การเกบ็ รวบรวมข้อมูลและจำแนกข้อมูล
ของโจทยป์ ญั หา - การอ่านและการเขยี นแผนภมู ิรูปภาพ
2. เขยี นตารางทางเดยี วจากข้อมูล - การอา่ นและการเขียนตารางทางเดียว (one -
ท่ีเปน็ จำนวนนับ และใชข้ ้อมูลจาก
way table)
ตารางทางเดยี วในการหาคำตอบ

ของโจทย์ปญั หา

หลักสูตรสถานศกึ ษากลมุ สาระการเรียนรคู ณิตศาสตร โรงเรยี นบา นฉลอง ๔๖

ตัวช้ีวัดและสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง กลุม่ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์

ระดับช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๔

สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต

มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ
จำนวน ผลทเี่ กดิ ข้นึ จากการดำเนนิ การ สมบตั ขิ องการดำเนินการ และนำไปใช้

ชั้น ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.4 1. อ่านและเขียนตัวเลขฮนิ ดูอารบกิ จำนวนนบั ท่ีมากกว่า 100,000 และ 0
ตัวเลขไทย และ ตวั หนงั สือแสดงจำนวน - การอ่าน การเขียนตัวเลขฮินดอู ารบกิ ตัวเลขไทย
นบั ท่ีมากกว่า 100,000
และตัวหนังสือแสดงจำนวน
2. เปรยี บเทียบและเรยี งลำดับจำนวน - หลัก คา่ ประจำหลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก
นับทม่ี ากกวา่ 100,000 จาก
และการเขียนตวั เลขแสดงจำนวนในรปู กระจาย
สถานการณ์ต่างๆ
- การเปรยี บเทยี บและเรียงลำดบั จำนวน

- คา่ ประมาณของจำนวนนบั และการใช้เครอ่ื งหมาย ≈

3. บอก อ่าน และเขยี นเศษส่วน จำนวน เศษส่วน
คละแสดงปรมิ าณสิ่งตา่ งๆ และแสดงสิ่ง - เศษส่วนแท้ เศษเกิน
ต่างๆ ตามเศษสว่ น จำนวนคละทก่ี ำหนด - จำนวนคละ
4. เปรยี บเทยี บ เรยี งลำดับเศษส่วนและ - ความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนคละและเศษเกนิ
จำนวนคละ ทีต่ ัวส่วนตวั หนงึ่ เป็น - เศษส่วนที่เท่ากนั เศษสว่ นอยา่ งตำ่ และเศษสว่ นที่
พหุคณู ของอีกตัวหน่งึ
เท่ากับจำนวนนบั

- การเปรียบเทียบ เรยี งลำดบั เศษสว่ นและจำนวนคละ

5. อ่านและเขยี นทศนิยมไมเ่ กิน 3 ทศนิยม

ตำแหน่งแสดงปริมาณของสง่ิ ตา่ งๆ และ - การอา่ นและการเขียนทศนิยมไมเ่ กนิ 3 ตำแหน่ง
แสดงสง่ิ ตา่ งๆ ตามทศนยิ มทก่ี ำหนด ตามปริมาณทก่ี ำหนด
6. เปรยี บเทยี บและเรยี งลำดับทศนิยมไม่ - หลัก ค่าประจำหลกั ค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลกั
เกิน 3 ตำแหน่งจากสถานการณต์ า่ งๆ ของทศนิยม และการเขียนตัวเลขแสดงทศนยิ มในรปู

หลกั สตู รสถานศึกษากลมุ สาระการเรยี นรูคณิตศาสตร โรงเรยี นบา นฉลอง ๔๗


Click to View FlipBook Version