The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ห้องเรียนคุณภาพตำบลคอหงส์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Jariya1646, 2024-04-23 01:20:37

ห้องเรียนคุณภาพตำบลคอหงส์

ห้องเรียนคุณภาพตำบลคอหงส์

คำนำ เอกสารห้องเรียนคุณภาพประจำตำบล พ.ศ.2567 ฉบับนี้ จัดทำขึ้นจากนโยบายกรมส่งเสริมการเรียนรู้ ที่ให้มีการคัดเลือกศกร.ตำบล ให้เป็น ห้องเรียนคุณภาพประจำตำบล เพื่อสร้าง ศกร.ตำบลต้นแบบ ในการพัฒนา ศกร.ตำบล ให้มีประสิทธิภาพเป็นประโยชน์ต่อการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชน โดยนำรูปแบบการบริหารจัดการด้านการพัฒนาครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและการ เรียนรู้ การจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ภายใน ศกร.ตำบล การเสริมสร้างและให้ความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย และการนำเทคโนโลยีดิจิทัล มา ประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ในการพัฒนาและขยายบทบาทการดำเนินงานของ ศกร.ตำบล ให้สามารถทำหน้าที่ เป็นกลไกในการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถของประชาชนกลุ่มเป้าหมายในระดับพื้นที่ได้อย่างทั่วถึง และมีประสิทธิภาพ ศูนย์การเรียนรู้ตำบลคอหงส์ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอหาดใหญ่ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสาร ห้องเรียนคุณภาพประจำตำบล พ.ศ.2567 ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจ และเป็นต้นแบบให้กับ ศกร.ตำบล อื่นต่อไป ศูนย์การเรียนรู้ตำบลคอหงส์


สารบัญ หน้า คำนำ สารบัญ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1 ตอนที่ 2 ข้อมูลการประเมิน 3 ด้านที่ 1 ครูมีสมรรถนะในการจัดการเรียนการสอน ที่มีคุณภาพในระดับต่างๆ (Good Teacher) 3 ด้านที่ 2 สภาพแวดล้อมทางกายภาพของ กศน.ตำบล ดึงดูดความสนใจและเอื้อต่อ การเรียนรู้ (Good Place Best-Check in) 65 ด้านที่ 3 กิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาขั้นพื้นฐาน หรือการศึกษาต่อเนื่อง หรือการศึกษาตามอัธยาศัย มีความทันสมัย มีประสิทธิภาพในการให้บริการ (Good Activities) 85 ด้านที่ 4 ภาคีเครือข่าย ร่วมจัด ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต ได้อย่างมีคุณภาพ (Good Partnership) 111 ด้านที่ 5 มีนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์สามารถนำไปใช้ได้จริง (Good Innovation) 131 คณะทำงาน


สภาพทั่วไปของ ศกร.ตำบลคอหงส์ ชื่อแหล่งเรียนรู้ : ศกร.ตำบลคอหงส์ ที่อยู่ : 64 ถ.กาญจนวนิช ซอย ๔ ต.คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ๙๐๑๑๐ เบอร์โทรศัพท์ : ๐๙๔ – ๓๒๐๑๖๔๖ E-mail ติดต่อ : [email protected] สังกัด : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอหาดใหญ่ สำนักงานส่งเสริมส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเรียนรู้ กระทรวงศึกษาธิการ ประวัติความเป็นมาของ ศกร.ตำบลคอหงส์ จัดตั้งขึ้นเมื่อปีพ.ศ.2553 ณ อาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งโดนชั้น2หมู่ที่ 6 (บ้านทุ่งโดน) ตำบลคอ หงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ปี2556 ย้ายสถานที่ตั้ง ณ อาคารเอนกประสงค์บ้านคลองหวะ (หลังเก่า) หมู่ ที่ 5 ตำบลคอหงส์ปี2557 ณ อาคารเอนกประสงค์บ้านคลองหวะ (อนุสรณ์กำนันวร) หมู่ที่5 ตำบลคอหงส์และ เดือนธันวาคม ๒๕๕๙ ย้ายสถานที่ตั้ง ณ โรงเรียนบ้านคลองเปล ถนนกาญจนวนิชย์ ซอย ๔ หมู่ที่ ๔ บ้านคลองเปล ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ศกร.ตำบล เป็นอาคารชั้นเดียว 1 ห้องพักครู ๑ ห้องเรียน มีสัดส่วนชัดเจนทั้งห้องทำงาน และห้องเรียน มี ป้ายชื่ออาคารที่มั่นคง มีครูอาสาสมัคร 1 คน คือ นางสาวกัญญา คงประมูล เบอร์โทร085-0802509 ครูกศน. ตำบล จำนวน ๓ คน คือ นางสาวจาริยา หมัดหมาน เบอร์โทร ๐๙๔ – ๓๒๐๑๖๔๖ นายสถิรภัทร ลิ่มเซ่ง เบอร์ โทร ๐๘๕ – ๐๘๑๕๖๙๔ นายชัชนันท์ ชีวทรรศน์ เบอร์โทร ๐๘๙ – ๙๐๙๕๙๖๕ สภาพชุมชน คอหงส์เป็นเทศบาลเมืองซึ่งมีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่ตำบลคอหงส์ในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา มี ลักษณะเป็นเมืองปริมณฑลที่รองรับการขยายตัวของเทศบาลนครหาดใหญ่ เพราะตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเทศบาล นครหาดใหญ่ เดิมมีฐานะเป็นเทศบาลตำบล แล้วจึงยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมืองใน พ.ศ. 2550 ปัจจุบันในเขต เทศบาลมีประชากร 45,962 คน สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบเชิงเขาคอหงส์ลาดลงไปสู่คลองอู่ตะเภา ดินเป็นดินลูกรัง ดินร่วนปนทราย และ ดินเหนียว ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ เทศบาลเมืองคอหงส์เป็นที่ตั้งของพระพุทธมงคลมหาราช ซึ่ง ประดิษฐานบนเขาคอหงส์และเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ลักษณะภูมิประเทศ ตำบลคอหงส์ มีขนาดพื้นที่ 34.57 ตารางกิโลเมตร หรือ 21,606.3 ไร่ พื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบเชิงเขา คอหงส์ลาดลงไปสู่คลอง อู่ตะเภา เป็นเส้นแนว ของเขตตำบลควนลังกับตำบลคอหงส์ สภาพดินส่วนใหญ่เป็นดิน ลูกรังและดินร่าวนปนทรายมีบางแห่งเป็นดินเหนียว ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป


ลักษณะภูมิอากาศ ตำบลคอหงส์ตั้งอยู่ในเขตอิทธิพลของลมมรสุมเมืองร้อนมีลมมรสุม พัดผ่านประจำทุกปี คือ ลมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือ เริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคมถึงกลางเดือนมกราคมและลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้เริ่มตั้งแต่ กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม จากอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าว ส่งผลให้มีฤดูกาลเพียง 2 ฤดู คือ ฤดู ร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนกรกฎาคม และฤดูฝนเริ่มตั้งแต่เดือนสิงหาคมถึงเดือนมกราคม อาณาเขต ทิศเหนือ ติดต่อกับ เทศบาลเมืองคลองแหและเทศบาลตำบลน้ำน้อย ทิศใต้ ติดต่อกับ เทศบาลเมืองบ้านพรุและเทศบาลตำบลบ้านไร่ ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อง๕การบริหารส่วนตำบลทุ่งใหญ่ และองค์การบริหารส่วนตำบลนาหม่อม ทิศตะวันตก ติดต่อกับ เทศบาลนครหาดใหญ่และเทศบาลเมืองควนลัง


1.1 ด้านวิชาการ 1.1.1 จำนวนในระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ (DMIS) 1.1.1.1 ข้อมูลสถานที่ตั้ง และลักษณะพื้นที่ตั้ง ศกร.ตำบลคอหงส์ ตั้งอยู่ ณ โรงเรียนบ้าน คลองเปล เลขที่ 64 ถ.กาญจนวนิช ซอย ๔ ต.คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ๙๐๑๑๐ ลักษณะอาคาร เป็นปูนชั้นเดียว ตั้งอยู่บนถนนสายหลัก ห่างจากโรงเรียนในระบบ 0.8 กิโลเมตร ตอนที่ 2 ข้อมูลการประเมิน ด้านที่ 1 ครูมีสมรรถนะในการจัดการเรียนการสอน ที่มีคุณภาพในระดับต่าง ๆ (Good Teacher)


1.1.1.๒ พิกัดตำแหน่ง ละติจูด 7.040738 ลองติจูด 100.498702 1.1.1.3 ข้อมูลบุคลากร ศกร.ตำบลคอหงส์


1.1.1.4 ชื่อและเบอร์ติดต่อ ของหัวหน้า ศกร.ตำบลคอหงส์ นางสาวจาริยา หมัดหมาน ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล เบอร์โทรศัพท์ติดต่อ ๐๙๔ – ๓๒๐๑๖๔๖ 1.1.1.5 ลิงค์ เว็บไซต์ กศน.ตำบลคอหงส์และ Fan page Facebook ศกร. ตำบลคอหงส์ เว็บไซต์ตำบล คลิก >>> http://sk.nfe.go.th/hatyai07/index.php


เว็บไซต์ตำบล คลิก >>> https://www.facebook.com/NFEtombonkhohong 1.1.1.6 ข้อมูลสาธารณูปโภค ไฟฟ้า น้ำประปา โทรศัพท์และอินเทอร์เน็ต (ระบบอินเตอร์เน็ต กระทรวงศึกษาธิการและ CAT ผู้รับผิดชอบ) มีสื่อ อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวกในการจัดการ เรียนรู้ 1.1.1.7 มีสื่อ อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้


1.1.1.8 จำนวนผู้ใช้สื่อ อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ เฉลี่ยต่อ เดือนต่อวัน 1.1.1.9 จำนวนผู้เข้ารับบริการที่ ศกร.ตำบล เฉลี่ยต่อเดือน จำนวนผู้ใช้สื่อ อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ เฉลี่ยต่อเดือนต่อวัน จำนวนผู้ใช้บริการ ใช้คอมพิวเตอร์และสื่ออินเตอร์เน็ตเฉลี่ย 150 คน/เดือน เฉลี่ย 5 คน/วัน ประจำเดือน จำนวนผู้เข้ารับบริการ รับบริการอินเตอร์เน็ต WIFI หมายเหตุ พฤษภาคม ๒๕๖6 150 150 มิถุนายน ๒๕๖6 180 150 กรกฎาคม ๒๕๖6 200 150 สิงหาคม ๒๕๖6 200 150 กันยายน ๒๕๖6 200 150 ตุลาคม 2566 150 150 พฤศจิกายน 2566 200 150 ธันวาคม ๒๕๖6 190 150 มกราคม 2567 180 150 กุมภาพันธ์ 2567 200 150 รวม 1850 1500 เฉลี่ยการเข้าใช้บริการ 6 คน / วัน ๕ คน / วัน


1.1.1.10 ข้อมูลบุคลากร ศกร.ตำบลคอหงส์ ที่ ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง หมายเหตุ 1 นางสาวจาริยา หมัดหมาน ครูกศน.ตำบล อยู่ประจำตำบล 2 นายสถิรภัทร ลิ่มเซ่ง ครูกศน.ตำบล อยู่ประจำตำบล 3 นายชัชนันท์ ชีวทรรศน์ ครูกศน.ตำบล อยู่ประจำตำบล 1.1.1.11 ข้อมูลคณะกรรมการ ศกร.ตำบลคอหงส์


1.1.1.12 มีการรายงานผลข้อมูลพื้นฐานครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน ศกร.ตำบลคอหงส์ มีการ รายงานผลข้อมูลพื้นฐานให้ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน โดยผ่านระบบ DMIS 1.1.2 ระดับความสำเร็จของการทำแผนปฏิบัติการ ศกร.ตำบลคอหงส์ 1.1.2.1 มีการรวบรวม ศึกษาข้อมูลพื้นฐานของพื้นที่ พร้อมทั้งวิเคราะห์ข้อมูล บริบท สภาพ ปัญหาและความต้องการจำเป็น ที่เกี่ยวข้อง เพื่อประกอบการจัดทำแผนปฏิบัติการให้เป็นปัจจุบันในการจัดทำ แผนปฏิบัติการ ศกร.ตำบลคอหงส์ได้มีการรวบรวมศึกษาข้อมูลความต้องการจากชุมชน โดยการร่วมเวที ประชาคมกับผู้นำชุมชน นโยบายและจุดเน้น สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดสงขลา นโยบายสกร.อำเภอ หาดใหญ่ แล้วนำมาวิเคราะห์ปัญหา เพื่อนำไปสู่การจัดทำแผนปฏิบัติการ ศกร.ตำบล คอหงส์ซึ่งมีความสอดคล้อง กับนโยบายและดำเนินการตามความต้องการของชุมชนโดยชุมชนมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์วางแผนในแต่ละ ขั้นตอนเพื่อนำไปสู่การเขียนโครงการและปฏิบัติ


1.1.2.2 มีโครงการที่สามารถแก้ปัญหาตามบริบทและความจำเป็น ศกร.ตำบลคอหงส์มีการ จัดโครงการเพื่อแก้ปัญหาให้กับบริบทของชุมชน ได้แก่ การจัดกิจกรรมวิชาชีพระยะสั้น หลักสูตร 6 ชั่วโมง และ ชั้นเรียนวิชาชีพ 32 ชั่วโมงขึ้นไปให้กับคนในชุมชน ศกร.ตำบลคอหงส์จึงได้นำมติที่ประชุมมาจัดทำแผนและจัดทำ โครงการขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของคนในชุมชน


1.1.2.3 จัดทำแผนปฏิบัติการที่สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นเสร็จตามกำหนดเวลา 1.1.2.4 มีการนำแผนไปสู่การปฏิบัติ และดำเนินการตามที่กำหนดโดยใช้กระบวนการมีส่วน ร่วม


1.1.2.5 รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ และจำทำแผนในระดับ DMIS 1.1.3 จำนวนผู้เรียนของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ครู กศน.ตำบลคอหงส์มีจำนวนผู้เรียนเป็นไปตามเกณฑ์ที่สำนักงาน ศกร.กำหนด กลุ่มเป้าหมาย ภาคเรียนละ 40 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ครูผู้สอน ระดับ ประถม ระดับ ม.ต้น ระดับ ม.ปลาย รวม อ.จาริยา หมัดหมาน - 25 51 76 อ.สถิรภัทร ลิ่มเซ่ง - 25 53 80 อ.ชัชนันท์ ชีวทรรศน์ - 30 39 69 รวมทั้งสิ้น 223


ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 1.1.4 จำนวนความสำเร็จของการดำเนินงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.1.4.1 มีการวิเคราะห์ศักยภาพของกลุ่มเป้าหมายและสำรวจความต้องการของผู้เรียน เพื่อ จัดวิธีการเรียนให้เหมาะสมกับนักศึกษา ศกร.ตำบลคอหงส์ได้ทำการวิเคราะห์ศักยภาพของกลุ่มเป้าหมายและ สำรวจความต้องการของผู้เรียนเพื่อร่วมจัดวิธีการเรียนให้เหมาะสม ดังนี้ ๑. สัมภาษณ์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ๒. แบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล ๓. สรุปผลการวิเคราะห์ผู้เรียน ๔. ออกแบบวางแผนการจัดเรียนรู้ให้กับผู้เรียน โดยแบ่งกลุ่มผู้เรียน ออกเป็น ๓ กลุ่ม ดังนี้ ๔.๑ กลุ่มเก่ง ๔.๒ กลุ่มปานกลาง ๔.๓ กลุ่มอ่อน ครูผู้สอน ระดับ ประถม ระดับ ม.ต้น ระดับ ม.ปลาย รวม อ.จาริยา หมัดหมาน - 28 45 73 อ.สถิรภัทร ลิ่มเซ่ง - 28 53 81 อ.ชัชนันท์ ชีวทรรศน์ - 34 36 70 รวมทั้งสิ้น 224


แบบสรุปผลการวิเคราะห์ผู้เรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 23 คน มัธยมศึกษาตอนปลาย 26 คน รวม 49 คน ครูผู้สอน นางสาวจาริยา หมัดหมาน ศกร.ตำบลคอหงส์อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ครูผู้สอน นายสถิรภัทร ลิ่มเซ่ง ศกร.ตำบลคอหงส์อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ครูผู้สอน นายชัชนันท์ ชีวทรรศน์ ศกร.ตำบลคอหงส์อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ด้านที่ รายการวิเคราะห์ผู้เรียน ดี ปานกลาง ปรับปรุง จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ หมายเหตุ 1 ความรู้ ความสามารถและ ประสบการณ์ (1) ความรู้พื้นฐาน (2) ความสามารถในการ แก้ปัญหา (3) ความสนใจและสมาธิในการ เรียนรู้ 25 22 24 51.02 44.48 48.97 23 26 22 46.94 53.06 44.48 1 1 3 2.04 2.04 6.12 2 ความพร้อมด้านสติปัญญา (1) ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (2) ความมีเหตุผล (3) ความสามารถในการเรียนรู้ 19 24 26 38.77 48.97 53.06 29 25 20 59.18 51.02 40.81 1 - 3 2.04 - 6.12 3 ความพร้อมด้านพฤติกรรม (1) การแสดงออก (2) การควบคุมอารมณ์ (3) ความมุ่งมั่น ขยันหมั่นเพียร 16 32 22 32.65 65.30 44.89 28 16 24 51.02 32.65 48.97 5 1 3 10.20 2.04 6.12 4 ความพร้อมด้านร่างกาย (1) ด้านสุขภาพร่างกายสมบูรณ์ (2) การเจริญเติบโตสมวัย (3) มีสุขภาพจิตที่ดี 42 44 38 85.71 89.79 77.55 7 5 11 14.28 10.20 22.44 - - - - - - 5 ความพร้อมด้านสังคม (1) การปรับตัวเข้ากับผู้อื่น (2) การช่วยเหลือ เสียสละ แบ่งปัน (3) การเคารพครู กติกา และ มีระเบียบ 24 28 30 48.97 51.02 61.22 25 19 15 51.02 38.77 30.61 - 2 4 - 4.08 8.16


สรุปผลการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล 1. ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ ระดับดี คิดเป็นร้อยละ 63.99 2. ความพร้อมด้านสติปัญญา ระดับดี คิดเป็นร้อยละ 46.93 3. ความพร้อมด้านพฤติกรรม ระดับดี คิดเป็นร้อยละ 46.93 4. ความพร้อมด้านร่างกาย ระดับดี คิดเป็นร้อยละ 84.35 5. ความพร้อมด้านสังคม ระดับดี คิดเป็นร้อยละ 53.73 6. ผลจากการสอบคะแนนกลางภาคหรือปลายภาคเรียนที่ผ่านมา จำนวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน 224 คน เกรดเฉลี่ย 2.00 ขึ้นไป จำนวน 131 คน คิดเป็นร้อยละ 58.48 1.1.4.2 มีการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายสัปดาห์/แผนการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ บันทึกการเรียนรู้และจัดทำข้อมูลการลงทะเบียนของผู้เรียน และ แจ้งให้ผู้เรียนรับทราบโดยทั่วกัน ศกร.ตำบลคอหงส์ได้มีการจัดทำแผนการเรียนรู้รายสัปดาห์ รายภาค ทุกภาคเรียน และสอดแทรกเนื้อหาเพิ่มเติม จากนโยบายที่ได้รับ


1.1.4.3 มีการจัดทำปฏิทินการพบกลุ่มทั้งภาคเรียน และ แจ้งให้ผู้เรียนรับทราบโดยทั่วกัน ศกร.ตำบลคอหงส์มีการจัดทำปฏิทินการพบกลุ่มทั้งภาคเรียนโดยทาง สกร.อำเภอ ตั้งแต่เริ่มจัดการเรียน การสอนและได้มีการแจ้งให้ผู้เรียนทราบทางไลน์กลุ่ม ศกร.ตำบล


1.1.4.4 ผู้เรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของผู้เรียนทั้งหมดที่รับผิดชอบในภาคเรียนนั้น เข้า ร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 20 ชั่วโมงขึ้นไป นักศึกษา ศกร.ตำบลคอหงส์เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ดังนี้ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โครงการ วันที่ สถานที่ เป้าหมาย รูปภาพ 1.โครงการศึกษาแหล่งเรียนรู้ วัฒนธรรมชุมชนสถาบันทักษิณคดี ศึกษา 21 มิ.ย.66 สถาบันทักษิณคดีศึกษา 15 คน 2.โครงการพัฒนาด้านวิชาการ พัฒนาทักษะชีวิต และส่งเสริม ค่านิยมหลัก 12 ประการ 25 มิ.ย.66 วิทยาลัยเทคนิค หาดใหญ่ 20 คน 3.โครงการพัฒนาความรู้ ความสามารถด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ 29 มิ.ย.66 ศกร.ตำบลน้ำน้อย 30 คน 4.โครงการเสริมสร้างคุณธรรม นักศึกษาเนื่องในวันเข้าพรรษา 27 ก.ค. วัดคลองเปล 20 คน 5.โครงการศึกษาแหล่งเรียนรู้ฟาร์ม ตัวอย่างคลองหอยโข่ง 11 ส.ค.66 ฟาร์มตัวอย่างคลองหอย โข่ง 25 คน 6.โครงการเสริมสร้างความรู้ อาชญากรรมบนโลกไซเบอร์และ กฎหมายที่เกี่ยวกับการใช้ เทคโนโลยี 13 ส.ค.66 หอประชุม วิทยาลัยเทคนิค หาดใหญ่ 25 คน


7.โครงการศึกษาแหล่งเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเมืองสงขลา 15 ส.ค.66 อำเภอสิงหนคร 25 คน 8.โครงการอบรมการปฐมพยาบาล เบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพ 20 ส.ค.66 หอประชุม วิทยาลัยเทคนิค หาดใหญ่ 25 คน 9.โครงการอบรมการดูแลสุขภาพ ด้วยกีฬาตามนโยบายสงขลา 26 ส.ค. หอประชุม วิทยาลัยเทคนิค หาดใหญ่ 25 คน 10.ค่ายพัฒนาวิชาการ 22 – 25 ส.ค.66 ห้องประชุมกศน. 8 คน


ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566


ภาพกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566


1.1.4.5 ผู้เรียนร้อยละ 100 ของผู้เรียนที่คาดว่าจะจบ ของ ศกร.ตำบลคอหสง์ที่รับผิดชอบใน ภาคเรียนนั้น เข้าทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (N-NET) และ E-Exam ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จำนวนนักศึกษาที่มีรายชื่อ ทดสอบN-NET๑/2566 (คน) จำนวนผู้เข้าทดสอบ เข้าทดสอบ (คน) คิดเป็น ร้อยละ ขาด สอบ คิดเป็น ร้อยละ 1. นางสาวจาริยา หมัดหมาน 10 10 100 - - 2. นายสถิรภัทร ลิ่มเซ่ง 9 8 88.89 1 11.11 3. นายชัชนันท์ ชีวทรรศน์ 7 7 100 - - รวม 26 25 96.15 1 3.85 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวนนักศึกษาที่มีรายชื่อ ทดสอบN-NET2/2566 (คน) จำนวนผู้เข้าทดสอบ เข้าทดสอบ (คน) คิดเป็น ร้อยละ ขาด สอบ คิดเป็น ร้อยละ 1. นางสาวจาริยา หมัดหมาน 22 20 90.91 2 9.09 2. นายสถิรภัทร ลิ่มเซ่ง 22 20 90.91 2 9.09 3. นายชัชนันท์ ชีวทรรศน์ 13 13 100 - - รวม 57 53 92.98 4 7.02


1.1.4.8 ศกร.ตำบลคอหสง์จัดทำบัญชีลงเวลาของผู้เรียน และบัญชีลงเวลาของครูผู้สอน ทุกครั้งที่มี การพบกลุ่ม ศกร.ตำบลคอหงส์ ได้ทำการลงบัญชีพบกลุ่มทุกครั้งที่มีการจัดการเรียนการสอน จำนวน ๑๘ ครั้ง บัญชีลงเวลาของผู้เรียน


บัญชีลงเวลาของครูผู้สอน 1.1.4.9 มีการจัดทำรายงานการประเมินคุณธรรม จริยธรรมของผู้เรียน โดย ศกร.ตำบลคอหงส์จัด กิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ดังนี้ ประจำภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 2566


ประจำภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566


1.1.4.10 มีการจัดทำบันทึกการตรวจรายงานกิจกรรม กพช.ของผู้เรียน โดยกำหนดจัดกิจกรรม กพช. ให้กับผู้เรียนภาคเรียนละ 50 ชั่วโมง ดังนี้ โดยการดำเนินการตามขั้นตอนการจัดกิจกรรม กพช. ดังนี้ ๑. ลงทะเบียนกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต กพช 1 ๒. แบบประเมินความรู้พื้นฐานกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต กพช 2 3. แบบเสนอโครงการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต กพช 3 4. บันทึกสรุปผลรายงานกิจกรรม กพชงผู้เรียน สรุปกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566


สรุปกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.)


สรุปกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566


สรุปกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566


1.1.4.12 มีการวิจัยชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างน้อย 1 เรื่องต่อภาคเรียน


1.1.4.14 ผู้เรียนร้อยละ 80 ของผู้เรียนทั้งหมดที่รับผิดชอบในภาคเรียนนั้น มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด


1.1.4.15 นำนักศึกษาเข้าร่วม ประกวดโครงงานนักศึกษา เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษา มีความสามารถใน การคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และเเลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่น เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และคิด เป็น โดยมีนักศึกษา ศกร.ตำบลคอหงส์เข้าร่วมกิจกรรมการประกวดโครงงานนักศึกษา


1.1.5 ร้อยละของผู้จบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑.1.6 ร้อยละของผู้เข้าสอบปลายภาค ที่ จำนวนผู้มีสิทธิ์เข้าสอบปลาย ภาค ๑/2566 (คน) จำนวนผู้เข้าทดสอบ เข้าสอบ (คน) คิดเป็นร้อยละ ขาดสอบ (คน) คิดเป็นร้อยละ 1 26 25 96.15 1 3.85 รวม 25 96.15 1 3.85 ที่ จำนวนผู้มีสิทธิ์เข้าสอบปลาย ภาค 2/2566 (คน) จำนวนผู้เข้าทดสอบ เข้าสอบ (คน) คิดเป็นร้อยละ ขาดสอบ (คน) คิดเป็นร้อยละ 1 58 54 93.10 4 6.9 รวม 54 77.67 4 6.9 ที่ จำนวนผู้มีสิทธิ์เข้าสอบปลาย ภาค ๑/2566 (คน) จำนวนผู้เข้าทดสอบ เข้าสอบ (คน) คิดเป็นร้อยละ ขาดสอบ (คน) คิดเป็นร้อยละ 1 223 186 83.40 39 17.34 รวม 186 83.40 39 17.34 ที่ จำนวนผู้มีสิทธิ์เข้าสอบปลาย ภาค 2/2566 (คน) จำนวนผู้เข้าทดสอบ เข้าสอบ (คน) คิดเป็นร้อยละ ขาดสอบ (คน) คิดเป็นร้อยละ 1 224 174 77.67 50 22.33 รวม 174 77.67 50 22.33


1.1.7 ร้อยละของจำนวนผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ในรายวิชาบังคับ 2.00 ขึ้นไป ที่ ภาคเรียนที่ 1/2566 จำนวนนักศึกษา จำนวนนศ.ที่ ลงทะเบียน เกรดเฉลี่ย 2.00 คิดเป็นร้อยละ 1 ม.ต้น 80 36 45.00 2 ม.ปลาย 143 69 48.25 รวม 223 105 47.08 ที่ ภาคเรียนที่ 2/2566 จำนวนนักศึกษา จำนวนนศ.ที่ ลงทะเบียน เกรดเฉลี่ย 2.00 คิดเป็นร้อยละ 1 ม.ต้น 89 51 57.30 2 ม.ปลาย 135 80 59.25 รวม 224 131 58.48


1.1.8 จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่องเมื่อเทียบกับเป้าหมาย การจัดการศึกษาต่อเนื่อง เป็นการจัดการเรียนรู้เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนทั่วไปทุกกลุ่มวัย และกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ได้รับการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความต้องการ ด้านการพัฒนาอาชีพมุ่งให้เกิดความรู้ ทักษะ สามารถประกอบกอบอาชีพเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ด้านพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อให้มีความรู้ เจตคติและทักษะที่จำเป็น สำหรับการดำรงชีวิตในสังคมปัจจุบันสามารถเผชิญกับสถานการณ์ต่างๆใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพด้าน พัฒนาสังคมและชุมชนเป็นการศึกษาที่บูรณาการความรู้และทักษะนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคมและ ชุมชนอย่างยั่งยืนและใช้ชุมชนเป็นฐานในการพัฒนาการเรียนรู้ และด้านหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นการ ส่งเสริมการดำเนินชีวิตอยู่อย่างพอเพียง โดยจัดหลักสูตรและระยะเวลาตามความเหมาะสมและความต้องการของ บุคคล ที่ โครงการ/กิจกรรม ค่าเป้าหมายตาม แผน (คน) ผลการดำเนินงาน (คน) ๑. การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ - ช่างตัดผมชายเบื้องต้น - การทำฝาชีจากเส้นพลาสติก - การทำฝาชีจากเส้นพลาสติก - การทำโดนัทจิ๋ว - การทำม็อกเทล - การเลี้ยงปลาดุก - การแปรรูปปลาดุก - การทำกาแฟสด - การทำผ้ามัดย้อม - การทำบรรจุภัณฑ์แบบสุญญากาศ - การทำเมี่ยงคำ - การทำพวงมาลัยเงิน - การทำยาหม่องน้ำ - การทำพวงหรีด ๑๒ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ 7 7 7 7 7 7 7 7 ๑๒ 8 8 8 8 8 8 9 8 8 7 8 8 7 รวม 103 115


1.1.9 ร้อยละของผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่นำความรู้ไปใช้เมื่อเทียบกับเป้าหมาย กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคม และชุมชน และกิจกรรมการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงหลังจากผู้เรียนจบ หลักสูตรมีการติดตามผู้เรียนทีนำความรู้ไปใช้จริงเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต ร้อยละของผู้จบหลักสูตรที่นำความรู้ไปใช้ลดรายจ่าย/เพิ่มรายได้/ต่อยอดอาชีพเดิม/เพิ่มมูลค่า/ประกอบอาชีพ เสริม/อื่นๆ 1.1.9.1 การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ ที่ โครงการ/กิจกรรม ค่า เป้าหมาย ตามแผน ผลการ ดำเนิน งาน ผลการดำเนินงาน ทำเป็น อาชีพ เสริม สร้าง อาชีพ ใหม่ ต่อยอด อาชีพ เดิม พัฒนา คุณภาพ ชีวิต ลดราย จ่าย รว ม การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ วิชาชีพระยะสั้น หลักสูตรไม่เกิน 30 ชั่วโมง และ หลักสูตร 31 ชั่วโมงขึ้นไป 1 ช่างตัดผมชายเบื้องต้น 12 12 - - - 6 6 12 2 การทำฝาชีจากเส้นพลาสติก 7 8 3 - - 3 2 8 3 การทำฝาชีจากเส้นพลาสติก 7 8 3 - - - 5 8 4 การทำโดนัทจิ๋ว 7 8 2 - - 3 3 8 5 การทำม็อกเทล 7 8 2 - - 3 3 8 6 การเลี้ยงปลาดุก 7 8 - - - 5 3 8 7 การแปรรูปปลาดุก 7 8 - - - 5 3 8 8 การทำกาแฟสด 7 9 - - - 4 5 9 9 การทำผ้ามัดย้อม 7 8 2 - - 3 3 8 10 การทำบรรจุภัณฑ์แบบ สุญญากาศ 7 8 - - - 5 3 8 11 การทำเมี่ยงคำ 7 7 - - - 4 3 7 12 การทำพวงมาลัยเงิน 7 8 - - - 6 2 8 ที่ โครงการ/กิจกรรม ค่าเป้าหมายตาม แผน (คน) ผลการดำเนินงาน (คน) 2. การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง - การทำปุ๋ยก้อน 1 1 รวม 1 1 รวมทั้งสิ้น 104 116


13 การทำยาหม่องน้ำ 7 8 - - - 4 4 8 14 การทำพวงหรีด 7 7 - - - 3 4 7 รวมกลุ่มเป้าหมาย 14 กิจกรรม 103 115 12 - - 53 49 11 5 คิดเป็นร้อยละ 100 1.1.9.4 การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร้อยละของผู้จบหลักสูตรที่นำความรู้ไป ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม ที่ กิจกรรม พัฒนาตนเอง รวม คิดเป็นร้อยละ 1 การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง เรื่อง การทำปุ๋ยก้อน 1 1 100 รวม 1 1 100 ภาพกิจกรรม


1.1.10 จำนวนผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย ที่ โครงการ/กิจกรรม ค่าเป้าหมายตาม แผน(คน) ผลการดำเนินงาน (คน) ๑. กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน -ใช้บริการ กศน.ตำบลคอหงส์ -ใช้บริการ Internet กศน.ตำบล 600 750 ๒. บ้านหนังสือชุมชน 450 480 ๓. ห้องสมุดเคลื่อนที่ชาวตลาด 75 90 ๔. อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน 3 3 ๕. กิจกรรมส่งเสริมการอ่านอื่นๆ - การประกวดโครงงาน - กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน - กิจกรรมวันลอยกระทง - กิจกรมรถโมบายเคลื่อนที่ - กิจกรรม “ศคส.ปันสุข สนุกกับการเรียนรู้” - กิจกรรมวันแรงงานสากล - กิจกรรมวันฉัตรมงคล - กิจกรรมวันมาฆบูชา - กิจกรรมวรรณกรรมชุมชน - กิจกรรมส่งเสริมการอ่านเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระ ชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดาฯ 300 370 ๖. รถมินิโมบาย 75 90


ภาพการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย


สมุดตรวจเยี่ยม/ สมุดนิเทศ


1.1.11 ความสำเร็จของการจัดโครงการ/กิจกรรมที่จัดในแหล่งเรียนรู้บ้านหนังสือชุมชน 1.1.11.1 มีโครงการ/กิจกรรมในแหล่งเรียนรู้ บ้านหนังสือชุมชนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ที่ สัมพันธ์กับแหล่งเรียนรู้แก่ประชาชน


Click to View FlipBook Version