The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ทักษะการเรียนรู้ 21001

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ทักษะการเรียนรู้ 21001

ทักษะการเรียนรู้ 21001

50

แบบทดสอบความขยันสูความสําเร็จ

ใหผ ูเรยี นทาํ แบบทดสอบเกี่ยวกับความขยันของตนเองโดยขีดเครื่องหมาย วามีลักษณะ เชนใด
โดยตอบใหตรงกับความคิดหรือความรูสึกของตนเองมากที่สุด ดังตอไปนี้
ขอ ขอความ ใช ไมใช บางครั้ง

(3) (2) (1)
ขาพเจาอยากเรียนหนังสือมากกวาทําอยางอื่น
ขาพเจาทําการบานทุกวิชาที่ครูใหโ ดยสม่ําเสมอ
ขาพเจา ต้งั เปาหมายชีวิตไวแลว และจะดําเนินการตามนน้ั
ขาพเจาชอบคนควาบทเรียนในเรื่องที่สนใจเปนพิเศษ
ขาพเจาชอบอธิบายบทเรียนยาก ๆ ใหเพื่อนฟงเสมอ
ขาพเจามักจะดูหนังสือโดยพยายามทําความเขาใจบทเรียนอยูเสมอ
ขาพเจา คดิ วาขาพเจาชอบเรยี นหนงั สือมากกวาบริการผูอ่ืน
ขาพเจาชอบมาโรงเรียนทุกวัน
ขาพเจา เห็นวา การนง่ั เรยี นในหอ งเรยี นเปนเรื่องท่นี า เบือ่ หนาย
ขาพเจามีความสุขทุกครั้งที่ใหบริการเพื่อนหรือครู
เมอ่ื ครูสง่ั ใหเ ขยี นรายงานสง ขาพเจามักจะสงทันตามกําหนดเวลา
เสมอ
ถาขาพเจา ไดร ับมอบหมายใหทํากิจกรรมอืน่ ๆ นอกบทเรยี นขาพเจา
จะมีความรสู ึกต่ืนเตนและสนใจ
เมื่อขาพเจาไดรับมอบหมายใหทํางานใด ๆ ขาพเจาจะทํางานนั้นได
สาํ เร็จ
ถามีใครมาขอความรวมมือจากขาพเจาในเรื่องที่ไมใชการเรยี น
ขาพเจามักจะใหความรวมมือ
เมื่อมีวันเวลาวาง ขาพเจาชอบทํางานอดิเรกมากกวานั่งทองหนังสือ

แหลงที่มา : http//203.146.122.12/gmidance/homeroom 2550/indexeq50.htm

51

การแปลผลคะแนน
31-45 คะแนน หมายถึง ผเู รียนเปน คนขยนั ในการเลา เรยี น มคี วามมานะพยายาม สนใจ ศึกษา

หาความรูใ นเรื่องบริการ หรือชวยเหลอื ผูอ น่ื ผูเรยี นคิดวาเปน สิ่งทน่ี าภมู ิใจฉะนั้นผเู รียนควรจะฝก ใหม ี
นิสัยรักการทํางาน แลวจะเปนคนที่นาคบมาก

16-30 คะแนน หมายถึง ผเู รียนเปนคนทําตามอารมณข องตนเอง ผูเรียนพอใจจะทาํ สิ่งใดกท็ าํ
ส่ิงน้นั ถา ไมช อบกไ็ มอ ยากทาํ ควรปรับปรุงตนเองใหมีนสิ ยั รักความขยนั แลวผรู ยี นจะประสบ
ผลสําเรจ็ ในทุกดาน

1-15 คะแนน หมายถงึ ผูเรียนเปน คนคอนขา งจะไมขยันในการเลา เรยี น แตมคี วามสขุ ในการ
ทํางานบริการผูอน่ื มีจิตใจโอบออมอารี เปนคนทีน่ ารักมาก ๆ สามารถดําเนินชีวิตอยางมีความสุข

52

2. ผเู รยี นวเิ คราะหต นเองเกี่ยวกบั หวั ขอ ตอไปนี้ ตามความคิดเห็นของตนเอง
1. ความเห็นของผูเรียนในเรื่องความหมายของความขยัน คือ

........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................

2. บุคคลที่ประสบความสําเร็จในชีวิตเพราะความขยันหมั่นเพียรที่ผูเรียนประทับใจมากที่สุด คือ
........................................................................................................................................................
ทงั้ น้เี พราะ.........................................................................................................................................
........................................................................................................................................................

3. ความขยันหมั่นเพียรมีคุณคาและประโยชนตอการศึกษาเลาเรียน คือ
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................

4. ความขยันหมั่นเพียรมีคุณคาและประโยชนตออาชีพการงาน คือ
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................

5. ความขยันหมั่นเพียรมีคุณคาและประโยชนตอสังคม และประเทศชาติ คือ
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................

6. ผลเสยี ท่เี กดิ จากความเกยี จคราน คือ
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................

53

กิจกรรมที่ 7 “การเรยี นรดู ว ยตนเองของฉนั ”
คาํ ชีแ้ จง
1. ใหผูเรียน เขียนคําถามที่เปนความคิดเห็นของตน จํานวน 2 ประเด็น

ประเดน็ แรกเกยี่ วกับ สิง่ ทคี่ ิดวา สําคัญสาํ หรบั ตนเอง
ประเด็นทสี่ อง เปนส่ิงสําคญั รอบตัว

2. ใหผ ูเรียนระบหุ วั ขอเรื่องที่ตองการศึกษา ตามความตองการและความสนใจของผูเรียน จาํ นวน
1 เร่ือง เพ่อื กาํ หนดแหลงการเรยี นรู

3. ใหผเู รียนกาํ หนดตารางการเรยี น ไดแ ก จัดเวลาใหเ หมาะสมกบั หวั ขอ ทเ่ี รียน
4. ใหผ ูเรยี นสรา งคําถามเกย่ี วกบั หัวขอ ที่สนใจเพื่อชีแ้ นวทางทจี่ ะศึกษาคนควาตอไป
5. ใหผ เู รียนวางแผนกําหนดกระบวนการเรยี นรู ไดแก การเลอื กแหลง การเรยี นรู วธิ กี ารนําเสนอ
ผลการเรียนรู การสรางเครอื่ งมอื ประเมินผลการเรียนรู
6. ใหผ เู รียนดาํ เนินการเรียนรูตามแผนทกี่ าํ หนด และจัดทาํ บันทึกประจําวันเพื่อแสดงผลการ
ปฏิบัติวาเปนไปตามเปาหมายที่มีการกําหนดตามแผนดวยตนเอง นอกจากนี้ ใหผเู รียนไปสัมภาษณผูรู

กจิ กรรมที่ 8 “ทางแหงความสําเร็จ”
วัตถปุ ระสงค เพอ่ื ใหผ ูเรยี นเกิดความรูความเขาใจ ตระหนกั ถงึ การมีลักษณะชวี ติ ทจี่ ะนําไปสู

ความสําเร็จและสามารถนําหลักธรรมไปใชในการพัฒนาตนเองใหประสบผลสําเร็จในชีวิตไดอยาง
ถูกตองเหมาะสม

54

แบบประเมนิ ตนเองหลงั เรยี น

แบบสอบถาม เร่อื ง ความพรอมในการเรียนรูดว ยตนเองของผูเรียน

ช่ือ........................................................นามสกุล................................................ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
คําช้ีแจง แบบสอบถามฉบับนี้ เปนแบบสอบถามที่วัดความชอบและเจตคติเกี่ยวกับการเรียนรูของทาน
ใหท า นอานขอความตา ง ๆ ตอ ไปนี้ ซึง่ มดี ว ยกัน 58 ขอ หลังจากนั้น โปรดทําเครื่องหมาย 

ลงในชองที่ตรงกับ ความเปนจริง ของตัวทานมากที่สุด
ระดับความคิดเห็น
มากที่สดุ หมายถึง ทา นรูสกึ วา ขอ ความนนั้ สว นใหญเปน เชน น้ีหรือมีนอยครั้งทีไ่ มใช

มาก หมายถึง ทา นรูสกึ วา ขอความเกินคร่ึงมักเปนเชนนี้
ปานกลาง หมายถึง ทา นรูส ึกวา ขอ ความจริงบางไมจริงบางคร่ึงตอ ครง่ึ

นอ ย หมายถึง ทา นรสู กึ วา ขอ ความเปน จริงบางไมบ อยนัก
นอ ยทีส่ ุด หมายถึง ทา นรูสึกวา ขอ ความไมจ รงิ ไมเ คยเปน เชน น้ี

ความคดิ เห็น

รายการคาํ ถาม มาก มาก ปาน นอ ย นอ ย

ทสี่ ุด กลาง ทส่ี ุด

1. ขา พเจาตองการเรยี นรูอ ยูเ สมอตราบชั่วชีวิต

2. ขาพเจา ทราบดีวา ขาพเจาตองการเรียนอะไร

3. เมื่อประสบกบั บางสงิ่ บางอยางทีไ่ มเ จาใจ ขา พเจาจะหลกี เลี่ยงไปจากสิ่งนั้น

4. ถา ขาพเจา ตอ งการเรยี นรสู ิง่ ใด ขาพเจา จะหาทางเรียนรใู หไ ด

5. ขาพเจา รักทจ่ี ะเรียนรอู ยเู สมอ

6. ขาพเจาตอ งการใชเวลาพอสมควรในการเร่ิมศึกษาเร่อื งใหม ๆ

7. ในชัน้ เรียนขา พเจา หวงั ทจ่ี ะใหผ ูสอนบอกผเู รยี นทง้ั หมดอยางชัดเจนวาตองทํา
อะไรบา งอยตู ลอดเวลา

8. ขาพเจา เช่ือวา การคดิ เสมอวา ตวั เราเปนใครและอยทู ี่ไหน และจะทาํ อะไร เปน
หลักสาํ คญั ของการศกึ ษาของทุกคน

9. ขาพเจาทาํ งานดวยตนเองไดไ มด ีนกั

10. ถา ตอ งการขอ มลู บางอยา งที่ยงั ไมม ี ขาพเจา ทราบดีวาจะไปหาไดท ไี่ หน

11. ขา พเจาสามารถเรียนรสู งิ่ ตา ง ๆ ดว ยตนเองไดดกี วา คนสว นมาก

12. แมข า พเจา จะมคี วามคดิ ท่ีดี แตด ูเหมอื นไมส ามารถนํามาใชป ฏบิ ตั ไิ ด

13. ขาพเจา ตอ งการมีสว นรว มในการตัดสนิ ใจวา ควรเรยี นอะไร และจะเรยี นอยา งไร

14. ขา พเจา ไมเ คยทอ ถอยตอการเรียนส่งิ ทยี่ าก ถา เปน เรอ่ื งทข่ี าพเจา สนใจ

55

15. ไมมีใครอน่ื นอกจากตัวขาพเจา ทจ่ี ะตอ งรบั ผดิ ชอบในสิ่งทีข่ าพเจาเลอื กเรยี น

16. ขา พเจา สามารถบอกไดวา ขา พเจาเรยี นสงิ่ ใดไดด หี รอื ไม ความคดิ เหน็

รายการคาํ ถาม มาก มาก ปาน นอย นอย
ท่ีสุด กลาง ทสี่ ดุ

17. ส่งิ ท่ขี า พเจาตองการเรียนรไู ดม ากมาย จนขา พเจา อยากใหแ ตล ะวนั มมี ากกวา
24 ช่วั โมง

18. ถาตดั สินใจทจ่ี ะเรยี นรอู ะไรกต็ าม ขาพเจา สามารถจะจดั เวลาทจ่ี ะเรียนรสู ิ่งนน้ั
ได ไมวา จะมภี ารกจิ มากมายเพยี งใดกต็ าม

19. ขาพเจามีปญ หาในการทําความเขาใจเร่อื งท่อี าน

20. ถาขา พเจา ไมเ รียนก็ไมใ ชความผดิ ของขาพเจา

21. ขา พเจาทราบดวี า เม่อื ไรที่ขา พเจาตอ งการจะเรียนรใู นเรือ่ งใดเร่ืองหนงี่ ให
มากขน้ึ

22. ขอมคี วามเขาใจพอทจี่ ะทําขอสอบใหไดค ะแนนสูง ๆ กพ็ อใจแลว ถงึ แมวา
ขาพเจา ยังไมเขาใจเร่อื งนนั้ อยา งถอ งแทก ็ตามที

23. ขา พเจาคิดวา หองสมุดเปน สถานที่ท่นี า เบ่ือ

24. ขาพเจา ชนื่ ชอบผทู ่ีเรียนรูสิง่ ใหม ๆ อยเู สมอ

25. ขา พเจาสามารถคิดคน วธิ ีการตาง ๆ ไดหลายแบบสาํ หรับการเรียนรูหัวขอ ใหม ๆ

26. ขาพเจาพยายามเช่ือมโยงสงิ่ ทก่ี าํ ลงั เรยี นกบั เปา หมายระยะยาว ทต่ี ้ังไว

27. ขาพเจา มีความสามารถเรียนรู ในเกอื บทกุ เรื่อง ทข่ี าพเจาตองการ จะรู

28. ขา พเจา สนกุ สนานในการคน หาคาํ ตอบสาํ หรบั คาํ ถามตา ง ๆ

29. ขา พเจา ไมช อบคาํ ถามทม่ี คี าํ ตอบถกู ตอ งมากกวา หนง่ึ คาํ ตอบ

30. ขาพเจา มคี วามอยากรอู ยากเหน็ เกยี่ วกบั ส่ิงตา ง ๆ มากมาย

31. ขา พเจา จะดใี จมาก หากการเรยี นรูของขาพเจา ไดส ิน้ สุดลง

32. ขา พเจา ไมไดส นใจการเรยี นรู เมอ่ื เปรียบเทยี บกับผอู ่นื

33. ขาพเจาไมมีปญ หา เกยี่ วกบั ทกั ษะเบอื้ งตน ในการศกึ ษาคน ควา ไดแ ก
ทกั ษะการฟง อา น เขยี น และจาํ

34. ขา พเจา ชอบทดลองสง่ิ ใหมๆ แมไ มแ นใ จ วา ผลนน้ั จะออกมา อยา งไร

35. ขา พเจา ไมช อบ เมื่อมีคนช้ีใหเ ห็นถึงขอผิดพลาด ในสงิ่ ทข่ี า พเจา กําลังทาํ อยู

36. ขา พเจา มคี วามสามารถในการคดิ คน หาวธิ แี ปลกๆ ท่ีจะทาํ ส่งิ ตา ง ๆ

37. ขา พเจา ชอบคดิ ถงึ อนาคต

38. ขาพเจา มคี วามพยายามคน หาคําตอบในสงิ่ ที่ตอ งการรไู ดดี เมอื่ เทียบกบั ผอู ่ืน

39. ขาพเจา เหน็ วา ปญ หาเปน ส่ิงทที่ า ทาย ไมใ ชส ัญญาณใหห ยุดทํา

40. ขา พเจา สามารถบงั คบั ตนเอง ใหก ระทาํ สิ่งท่ี คิดวา ควรกระทาํ

41. ขา พเจา ชอบวธิ กี ารของขา พเจา ในการสาํ รวจตรวจสอบปญ หาตา ง ๆ

56

42. ขาพเจา มกั เปนผูนํากลมุ ในการเรยี นรู

43. ขา พเจาสนุกท่ไี ดแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ กับผอู นื่

ความคดิ เหน็

รายการคาํ ถาม มาก มาก ปาน นอ ย นอ ย
ทส่ี ุด กลาง ท่สี ุด

44. ขา พเจาไมชอบสถานการณก ารเรียนรทู ท่ี าทาย

45. ขาพเจามคี วามปรารถนาอยางแรงกลา ท่ีจะเรียนรสู งิ่ ใหม ๆ

46. ย่ิงไดเรียนรมู าก ขา พเจากย็ งิ่ รสู ึก วา โลกน้ีนาตื่นเตน

47. การเรียนรูเ ปนเร่ืองสนุก

48. การยดึ การเรยี นรทู ใ่ี ชไ ดผ ลมาแลว ดกี วา การลองใชว ธิ ใี หม ๆ

49. ขา พเจา ตองการเรยี นรใู หมากย่งิ ขึ้น เพอื่ จะได เปน คนท่ีมคี วามเจริญกาวหนา

50. ขา พเจา เปน ผูรบั ผิดชอบเก่ยี วกับการเรยี นรขู องขาพเจา เอง ไมม ีใครมารบั ผิดชอบ
แทนได

51. การเรยี นรูถงึ วิธีการเรยี น เปน สิง่ ทส่ี ําคัญสาํ หรบั ขา พเจา

52. ขาพเจาไมม วี นั ทจ่ี ะแกเ กนิ ไป ในการเรยี นรูส ิ่งใหม ๆ

53. การเรยี นรอู ยูตลอดเวลา เปน สิ่งทีน่ า เบ่อื หนาย

54. การเรียนรูเปนเคร่ืองมือในการดาํ เนินชีวติ

55. ในแตละปข า พเจา ไดเ รยี นรสู ง่ิ ใหม ๆ หลายๆ อยา งดว ยตนเอง

56. การเรียนรไู มไดท ําใหช ีวติ ของขาพเจา แตกตา งไปจากเดมิ

57. ขา พเจาเปน ผูเรยี นทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ ทั้งในชั้นเรยี น และการเรียนรดู วยตนเอง

58 ขา พเจาเห็นดว ยกบั ความคดิ ทว่ี า “ผเู รียนคือ ผูนาํ ”

57

แบบประเมนิ ตนเองหลงั เรยี นเรยี น

บทสะทอนท่ีไดจากการเรียนรู

1. ส่งิ ทที่ านประทบั ใจในการเรียนรูรายวิชาการเรียนรูดว ยตนเองตนเอง
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

2. ปญ หา / อุปสรรค ที่พบในการเรยี นรูรายวิชาการเรยี นรูดวยตนเอง
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
3. ขอ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

58

แบบวัดระดบั การเรยี นดวยตนเองของผูเ รยี น

คําชแี้ จง แบบวัดนเ้ี ปนแบบวดั ระดบั การเรียนดวยตนเองของผูเรยี น มจี าํ นวน 7 ขอ
โปรดกาเครอ่ื งหมาย  ลงในชอ ง  ทต่ี รงกบั ความสามารถในการเรยี นดวยตนเองตามความเปนจริงของทาน
1. การวนิ จิ ฉยั ความตอ งการเน้ือหาในการเรียน 5. การดาํ เนินการเรียน
 นกั ศึกษาไดเรยี นเน้อื หา ตามคาํ อธบิ ายรายวชิ าเทานัน้  นกั ศึกษาดาํ เนนิ การเรียนตามแนวทางทค่ี รกู ําหนด
 ครู นาํ เสนอเน้ือหาอืน่ นอกเหนอื จากคาํ อธบิ าย  นกั ศกึ ษาดาํ เนนิ การเรยี น ตามแนวทางทคี่ รูนําเสนอ
รายวชิ า แลวใหนกั ศึกษาเลอื กเรยี นเพม่ิ เตมิ แลวใหนักศกึ ษาปรบั
 นกั ศกึ ษาไดเสนอเน้ือหาอนื่ เพื่อเรยี นเพมิ่ เตมิ  นกั ศกึ ษาดาํ เนนิ การเรยี น ตามแนวทางที่นกั ศึกษา
นอกเหนอื จากคาํ อธบิ ายรายวชิ าดว ย รว มกนั กาํ หนดกบั ครู
 นักศกึ ษาเปน ผกู าํ หนดเนอื้ หาในการเรียนเอง  นกั ศกึ ษาดาํ เนนิ การเรยี น ตามการกาํ หนดของตนเอง

2. การวนิ จิ ฉยั ความตอ งการวธิ ีการเรียน 6. การแสวงหาแหลง ทรพั ยากรการเรยี น
 ครูเปน ผูกําหนดวาจะจัดการเรียนการสอนวิธีใด  ครูเปน ผจู ัดหาแหลงทรพั ยากรการเรยี นใหน กั ศึกษา
 ครนู าํ เสนอวธิ กี ารเรียนการสอนแลว ใหนกั ศกึ ษาเลอื ก  ครูเปน ผจู ดั หาแหลงทรัพยากรการเรียน แลว ให
 นกั ศกึ ษารวมกับครูกําหนดวธิ ีการเรียนรู นกั ศกึ ษาเลอื ก
 นักศึกษาเปน ผูกาํ หนดวิธีการเรยี นรูเ อง  นกั ศึกษารวมกับครหู าแหลงทรพั ยากรการเรยี น
รว มกัน
3. การกาํ หนดจดุ มงุ หมายในการเรยี น  นักศกึ ษาเปน ผจู ัดหาแหลง ทรพั ยากรการเรียนเอง
 ครูเปน ผกู ําหนดจดุ มงุ หมายในการเรียน 7. การประเมนิ การเรยี น
 ครูนาํ เสนอจุดมงุ หมายในการเรียนแลวใหนกั ศกึ ษาเลอื ก  ครู เปน ผูป ระเมินการเรยี นของนกั ศึกษา
 นกั ศกึ ษารว มกับครูกําหนดจดุ มุงหมายในการเรียน  ครู เปนผปู ระเมนิ การเรยี นของนักศกึ ษาเปน สวน
 นักศกึ ษาเปน ผกู ําหนดจดุ มงุ หมายในการเรยี นเอง ใหญ และเปดโอกาสใหน ักศกึ ษาไดประเมนิ การเรียนของ
ตนเองดวย
4. การวางแผนการเรยี น  มกี ารประเมนิ การเรยี นโดยครู ตวั นกั ศกึ ษาเอง และ
 นักศกึ ษาไมไดเขยี นแผนการเรยี น เพื่อนนักศึกษา
 ครนู ําเสนอแผนการเรยี นแลวใหนกั ศกึ ษานาํ ไปปรบั แก  นักศึกษาเปน ผปู ระเมนิ การเรยี นของตนเอง
 นักศึกษารวมกับครวู างแผนการเรยี น กระบวนการเรียนรทู ่ีเปนการเรยี นรดู ว ยตนเอง
 นกั ศกึ ษาวางแผนการเรยี นเอง โดยการเขยี นสญั ญา มีความจาํ เปน ทจ่ี ะตองอาศัยทกั ษะและความรู
การเรียนท่ีระบจุ ดุ มงุ หมายการเรยี น วิธีการเรียน แหลง บางอยา ง ผูเ รยี นควรไดม ีการตรวจสอบพฤตกิ รรม
ทรัพยากรการเรียน วธิ ีการประเมนิ การเรียน และวนั ท่ีจะ ที่จําเปนสาํ หรบั ผเู รียนทจี่ ะเรียนรดู ว ยตนเอง
ทาํ งานเสร็จ

59

บทที่ 2
การใชแหลง เรยี นรู

สาระสําคญั

แหลง เรียนรมู ีความสาํ คญั ในการพัฒนาความรูข องมนษุ ยใหส มบูรณม ากยิง่ ข้นึ นอกเหนอื จาก
การเรียนในช้ันเรียน และเปน แหลง ทอ่ี ยูใหสงั คมชมุ ชนลอ มรอบตวั ผูเรยี น สามารถเขา ไปศึกษาคนควา
เพอ่ื การเรยี นรไู ดตลอดชวี ิต

ผลการเรยี นทคี่ าดหวงั

1. ผูเรียนมคี วามรู ความเขาใจ เห็นความสําคัญของแหลงเรียนรู และหองสมุดประชาชน
2. ผูเ รียนสามารถใชแ หลงเรยี นรู หองสมุดประชาชนได

ขอบขา ยเนอ้ื หา

เรื่องท่ี 1 ความหมาย และความสําคัญของแหลงเรียนรู
เร่ืองท่ี 2 หอ งสมดุ : แหลง เรียนรู
เร่ืองท่ี 3 แหลงเรียนรูสาํ คัญในชุมชน

60

เรือ่ งท่ี 1 ความหมาย และความสําคญั ของแหลงเรียนรู

ความรูในยุคปจจุบันมีการเกิดขึน้ ใหม และมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทั้งในประเทศ
และทั่วโลก ประกอบกับเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถเผยแพรสื่อสารถึงกันไดอยางรวดเร็ว ตอเนือ่ ง
และตลอดเวลา ทําใหมนุษยจําเปนตองเรียนรูก ับสิง่ ใหม ๆ ทีเ่ กิดขึน้ กับความเปลี่ยนแปลงอยางตอเนือ่ ง
เพื่อใหสามารถปรับตัวใหสอดคลองกลมกลืนกับสังคมทีไ่ มหยุดนิง่ และสามารถดํารงชีวิตไดอยางมี
ความสุข อยางไรก็ตามการเรียนรูใ นหองเรียนยอมไมทันเหตุการณ และเพียงพอ ตองมีการเรียนรูทุก
รูปแบบใหดําเนินไปพรอม ๆ กัน โดยเฉพาะการเรียนรูจ ากสิง่ แวดลอมในชุมชนที่มีสาระเนือ้ หาที่เปน
ขอมูลความรู หรือองคความรูเ ปนหลงใหความรู ประสบการณ สิ่งแปลกใหมทีเ่ อื้อตอการเรียนรู
ประสาทสัมผัสทั้ง ตา จมูก หู ลิน้ กาย และใจ จึงจะทําใหเรียนรูไดเทาทันความเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึ้น
แหลง สถานที่ บริเวณ หรือที่อยูท ี่มีองคค วามรูทีม่ นุษยสามารถเรยี นรูไดเรียกวา “แหลง เรยี นรู”

ความหมาย
แหลงเรยี นรู หมายถึง ถิ่น ที่อยู บริเวณ ศนู ยรวม บอเกิด แหง ที่มีสาระเน้ือหาที่เปนขอมูลความรู
หรือองคความรูทีป่ รากฏอยูรอบตัวของมนุษย เมือ่ ไดปฏิสัมพันธดวย ไมวาทางตา หู จมูก ลิน้ กาย
และใจ แลวทําใหเกิคดวามรู ความเขาใจ มีความเทาทันความเปลีย่ นแปลงไปของ สิง่ ตาง ๆ ชวยให
สามารถดํารงชีวิตอยูในโลกของการเปลี่ยนแปลงไดอยางเปนสุขตามสมควรแกอ ตั ภาพ
ความสําคัญ
แหลงเรียนรูมีบทบาทสําคัญอยางยิ่งในการชวยพัฒนาคุณภาพของมนุษยในยุคความรูที่เกิดขึ้น
ใหมๆ และเปลย่ี นแปลงอยา งรวดเรว็ ดงั ตอไปน้ี
1. เปน แหลงท่ีมสี าระเนือ้ หา ท่ีเปนขอมูลความรูใ หม นุษยเกิดโลกทัศนท ก่ี วา งไกล
2. เปนสอ่ื การเรยี นรสู มยั ใหมทเ่ี รียนรูไดเร็วและมากย่ิงขน้ึ
3. เปนแหลงชวยเสริมการเรียนรูของการศึกษาทุกประเภท
4. เปนแหลง การเรียนรตู ลอดชวี ิต ทบี่ คุ คลสามารถ เรียนรูไดดว ยตนเอง
5. เปนแหลงที่มนุษยไดรับประสบการณตรงจากการเขาไปหาความรูจากแหลงกําเนิด
6. เปนแหลงที่มนุษยสามารถเขาไปปฏิสัมพนั ธใ หเ กดิ ความรูเกยี่ วกบั วิทยาการใหม ๆ
7. เปนแหลง สงเสริมความสมั พนั ธอนั ดีระหวางคนในทองถิ่นกับผเู ขาศึกษา
8. เปนสิ่งทีช่ ว ยเปล่ียนทัศนคติ คา นิยมใหเ กิดการยอมรับส่งิ ใหม เกดิ จนิ ตนาการและ
ความคิดสรางสรรค
9. เปน การประหยดั เงินของผูเรยี นในการใชแหลงเรยี นรขู องชมุ ชนใหเ กดิ ประโยชนสูงสุด

ภาพจาก http://www.google.co.th/imglanding

61

กิจกรรม ใหผูเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับความหมายและความสาํ คัญของแหลง เรยี นรู
จากหนงั สอื เรยี นระดบั ประถมศึกษา

62

เรือ่ งที่ 2 หอ งสมุด : แหลง เรียนรู

หอ งสมดุ เปนแหลง เรียนรูที่สําคัญในชมุ ชน เพราะเปนแหลงจัดหา รวบรวมสรรพความรูตาง ๆ
ท่ีมีและเกิดขน้ึ ในโลกมาจัดระบบในการอํานวยความสะดวกใหผูรับบริการไดเขาถึงสารสนเทศที่ตนเอง
ตอ งการ และสนใจไดส ะดวกรวดเรว็ ตลอดจนจดั กิจกรรมสนบั สนนุ สง เสรมิ การอา น การศกึ ษา คน ควา
หาความรู เพ่ือใหเ กิดการใชบ รกิ ารใหมากทสี่ ุด

ความหมายของหองสมุดประชาชน
หองสมุดประชาชน หมายถึง สถานที่จัดหารวบรวมทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการอานการศึกษา
คนควาทุกชนิด มีการจัดระบบหมวดหมูตามหลักสากลเพื่อการบริการ และจัดบริการอยางกวางขวางแก
ประชาชนในชุมชน สังคม ในประเทศและตางประเทศ โดยไมจํากัดเพศ วัย ความรู เชื้อชาติ ศาสนา
รวมทั้งการจัดกิจกรรมสงเสริมการอาน โดยรัฐเปนผูสนับสนุนทางการเงิน และมีบุคลากรที่มีความรูทาง
บรรณารักษศาสตรเปน ผูดําเนนิ การ

หองสมุดเปนแหลงเรยี นรูสาํ คญั ในชุมชนท่ใี กลช ิดกบั ผูเ รียนมากทสี่ ดุ แทบทกุ อาํ เภอจะมี
หองสมุดประชาชน สังกัด กศน. ใหบ รกิ ารไดแ ก หองสมดุ ประชาชนจงั หวดั หองสมุดประชาชน “เฉลมิ
ราชกุมารี” และหองสมดุ ประชาชนอาํ เภอ นอกจากนี้ยังมีหองสมุดประเภทอื่นอีก ทั้งทร่ี ัฐเปน ผูสนับสนุน
และเอกชนดําเนินการเอง ซึ่งมีวัตถุประสงคในการจัดตั้งแตกตางกัน อาจจะบริการประชาชนทั่วไปหรือ
กลุมเปาหมายเฉพาะ ซึ่งผูใชบริการสามารถสอบถามไดเปนแหงๆไป เชน หองสมุดประชาชนของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น หองสมุดประชาชนของกรุงเทพมหานคร หองสมุดโรงเรียน เปนตน ใน
ทนี่ ้ีจะแนะนาํ หองสมุดตางๆ ดังนี้

1. หองสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี”
2. หอ งสมดุ โรงเรยี น
3. หองสมุดมหาวิทยาลัย
4. หอสมดุ แหง ชาติ
5. หองสมุดเฉพาะ

63

1.หอ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี”
ในวโรกาสมิง่ มงคลสมัยทีส่ มเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญ

พระชนมายุ 36 พรรษา เมือ่ ปพุทธศักราช 2534 กระทรวงศึกษาธิการไดรับพระราชทานพระราชานุญาต
ใหดําเนินโครงการจัดตัง้ หองสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” เพือ่ เฉลิมพระเกียรติและสนองแนว
พระราชดําริในการสงเสริมการศึกษาสําหรับประชาชน

หองสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อาํ เภอเมอื ง บทบาทหนา ท่ี
ราชบุรี 1. ศูนยขาวสารขอมูลของชุมชน
2. ศนู ยสงเสริมการเรียนรูข องชมุ ชน
ภาพจาก library4902.blogspot.com 3. ศูนยกลางจัดกิจกรรมของชุมชน
4. ศูนยกลางสนบั สนนุ เครือขา ยการเรยี นรใู นชุมชน

บริการของหอ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมาร”ี
ลักษณะเดนของหองสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” คือ หองสมุดทุกแหงจะไดรับ
พระราชทานหนังสือจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อนํามาใหบริการแก
ประชาชน รวมทัง้ พระองคจะเสด็จเปดหองสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” ทุกแหงดวยพระองคเอง

ภายในหองสมดุ ประกอบดว ย หอ งตา ง ๆ ดงั นี้
1. หอ งอา นหนงั สอื ทวั่ ไป
ภายในหองอานหนังสือทั่วไปจะเนนบรรยากาศที่เรียบงาย สะดวกสบาย แมการจัดหมวดหมู

หนังสือจะใชระบบมาตรฐานสากล แตจะมีคําแนะนํางาย ๆ เพื่ออํานวยความสะดวกแกผูใ ชบริการ ซึง่ มี

ความหลากหลายตางวัยตางระดับความรู
2. หองเดก็ และครอบครวั
หองสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” แตล ะแหง ไดจ ดั บรเิ วณเฉพาะสาํ หรบั เดก็ เยาวชน

และครอบครวั จดั กิจกรรมที่เด็กและครอบครัวสามารถมีสวนรวม และแสดงออก เชน การเลานิทาน การ

แสดงละครหุน การวาดภาพ การแขงขันอานเขียน

64

3. หอ งโสตทศั นศกึ ษา
หองโสตทัศนศึกษาเปนหองที่มุงพัฒนาใหเปนศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษาของอําเภอ
4. หอ งอเนกประสงค
หองสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมาร”ี มีบทบาทในการเปนศูนยสงเสริมการเรียนรูของประชาชน
ในการวางแผนเบื้องตน จึงกําหนดใหมีหองอเนกประสงคทีจ่ ะสามารถจัดกิจกรรมการศึกษาที่
หลากหลายทั้งในรูปของพิพิธภัณฑทองถิน่ นิทรรศการ การอภิปราย การพบกลุม ของนักศึกษา หรือการ
เรียนการสอน กลมุ สนใจ
5. หองเฉลมิ พระเกยี รติ
เปนหองจัดแสดงหนังสือพระราชนิพนธ รวมทั้งสิ่งของที่สมเด็จพระเทพฯ ทรงออกแบบ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทีม่ ีพระราชประสงคใหหองสมุดประชาชน “เฉลิม
ราชกุมารี” จัดรวบรวมขอมูลเกีย่ วกับ อําเภอ และจังหวัดทีต่ ัง้ ในรูปของสถิติ เอกสารสิง่ พิมพ บท
สัมภาษณ แผนที่ ตลอดจนภาพถาย ในปจจุบัน ศูนยขอมูลภายในหองสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี”
ยงั มีความแตกตางกนั ในความสมบูรณ และวิธีการนําเสนอ แตสว นใหญจะมขี อมูลในเร่อื งดังตอไปน้ี
1. ขอ มลู สภาพทัว่ ไป
2. ขอมูลทางสังคม
3. ขอมูลทางการเมืองการปกครอง
4. ขอมูลทางการศึกษา
5. ขอมูลทางศิลปวัฒนธรรม
6. ขอมูลทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
7. ขอมูลทางการเกษตร
8. ขอมูลทางอุตสาหกรรม
9. ขอมูลทางเศรษฐกิจ

หอ งสมุดประชาชน "เฉลมิ ราชกมุ าร"ี อาํ เภอสาม หองสมดุ ประชาชน "เฉลมิ ราชกมุ าร"ี อาํ เภอทา
พราน จ.นครปฐม ตูม จ.สุรินทร
ภาพจากhttp://202.143.148.85/libinfow3be/
2. หอ ภงาสพมจาดุ กโhรttงpเ:/ร/lยีibนrary1812.blogspot.com/

65

หอ งสมดุ โรงเรยี น หมายถงึ หองสมุดที่จัดตง้ั ขึ้นในโรงเรียน หรือสถานที่จัดการศึกษาตํ่ากวา
ระดับอุดมศึกษา มีวัตถุประสงคสําคัญเพื่อใหเปนศูนยกลางการเรียนของนักเรียน และการสอนของครู
หองสมุดโรงเรียน จะจัดหาวัสดุตามหลักสูตรเพือ่ ใหบริการแกนักเรียน และครู ความสําคัญอีกอยางหนึง่
คือ เปน การปลูกฝงนสิ ัยรักการอา นของนกั เรยี น

บทบาทและหนาที่ของหองสมุดโรงเรียนมี 3 ประการ ดังนี้
1. เปนศูนยกลางของการศึกษาคนควาของการเรียน
2. เปนศนู ยก ลางฝกวิจารณญาณในการอา น มีบรรณารกั ษทําหนาท่ีแนะนําการอาน
3. เปน ศูนยกลางอุปกรณก ารสอน นอกจากการสง เสรมิ การเรียนของนักเรยี น แลวยัง
สงเสริมการสอนของครูดวย

หอ งสมุดโรงเรียนสารวทิ ยา หองสมุดโรงเรยี นแมพระฟาตมิ า
ภาพจาก http://librarianmagazine.com ภาพจาก www.taradgame.com

3. หองสมุดมหาวทิ ยาลัย
หองสมุดวิทยาลัย และมหาวิทยาลัย เปนแหลงเรียนรูหลักในสถาบันอุดมศึกษา มีบทบาทหนาที่

สงเสริมการเรียนการสอนตามหลักสูตรที่เปดในวิทยาลัย หรือมหาวิทยาลัยนัน้ ๆ เปนสําคัญ โดยการจัด

รวบรวมหนังสือ และสือ่ ความรูอ ืน่ ๆ ในสาขาวิชาตามหลักสูตร สงเสริมชวยเหลือการคนควาวิจัยของ
อาจารยและนักศึกษา สงเสริมพัฒนาการทางวิชาการของอาจารย และนักศึกษา จัดทําบรรณานุกรม และ
ดรรชนีสําหรับการคนหาเรื่องราวที่ตองการ แนะนํานักศึกษาในการใชหนังสืออางอิง บัตรรายการ และ
คูมือสําหรับการคนเรือ่ ง เชน หองสมุดมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เปนหองสมุดมหาวิทยาลัยเปด
มีชื่อเรียกวา “สํานักบรรณสารสนเทศ” มีบริการทั้งในมหาวิทยาลัยสวนกลาง ระดับภาค และระดับ
จังหวัด ที่ประชาชนมีโอกาสเขาใชบริการได

นอกจากนี้ยังมีหองสมุดมหาวิทยาลัยตาง ๆ ที่ประชาชนสามารถเขาไปใชบริการได โดยเสีย
คาบริการตามอัตราทีห่ องสมุดแหงนัน้ เรียกเก็บ รวมทั้งกฎ กติกา ขอบังคับ ใหยึดถือตามประกาศของ
หอ งสมดุ แหง นน้ั

66

หอ งสมุดมหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม สาํ นักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
ภาพจาก www.oknation.net/blog/reading ภาพจาก www.rd1677.com/rd_pitsanulok

4. หอสมดุ แหง ชาติ
หอสมุดแหงชาติ ถือเปนหอ งสมดุ ทีใ่ หญท ี่สุด เปน แหลง เรยี นรทู สี่ าํ คัญทส่ี ดุ แหง หน่ึงใน

ประเทศ ที่ดําเนินการโดยรัฐบาล บทบาทหนาทีห่ ลัก ไดแก การรวบรวมหนังสือ สิง่ พิมพ และสือ่ ความรู
ทุกอยางที่ผลิตขึ้นในประเทศ และทุกอยางที่เกี่ยวกับประเทศไมวาจะจัดพิมพในประเทศใด ภาษาใด เปน
การอนุรักษสื่อความรูที่เปนทรัพยสินทางปญญาของชาติไมใหสูญไป และใหมีไวใชในอนาคต นอกจาก
รวบรวมสิง่ พิมพในประเทศแลว ยังมีหนาที่รวบรวมหนังสือทีม่ ีคุณคาซึ่งพิมพในประเทศอื่นไวเพื่อ
การศึกษา คนควา อางอิง ตลอดจนทําหนาที่เปนศูนยรวมบรรณานุกรมตาง ๆ และจัดทําบรรณานุกรม
แหงชาติออกเผยแพรใหทราบโดยทั่วกันวามีหนังสืออะไรบางทีผ่ ลิตขึน้ ในประเทศ หอสมุดแหงชาติจึง

เปนแหลงใหบริการความรูแกคนทัง้ ประเทศ ชวยเหลือการคนควา วิจัย ตอบคําถาม และใหคําแนะนํา
ปรกึ ษาเกีย่ วกบั หนงั สือ

บทบาทและหนา ท่ี
1. ดําเนินการจัดหา รวบรวม และสงวนรักษาทรัพยสินทางปญญา วิทยาการ ศิลปกรรม

และวัฒนธรรมของชาติในรูปของหนังสือตัวเขียน เอกสารโบราณ และจารึก หนังสือตัวพิมพ สื่อ
สง่ิ พมิ พ สื่อโสตทศั นวัสดุ และส่อื อเิ ล็กทรอนิกส ทีผ่ ลติ จากในประเทศ และตางประเทศ

2. ศึกษา วิเคราะห วิจัย ดําเนินงานดานเทคนิควิชาการบรรณารักษศาสตร สารนเิ ทศศาสตร
และเทคโนโลยีสารนิเทศตามหลักมาตรฐานสากล ตลอดจนใหการฝกอบรมแกบุคลากรของหนวยงาน
และสถาบันการศึกษา

3. ใหบริการการอาน ศึกษาคน ควา และวจิ ัยแกประชาชน เพ่อื ใหเปนแหลงเรียนรตู ลอด
ชีวิต และการศึกษาตามอัธยาศัย

4. เปนศูนยประสานงานระบบสารนิเทศทางวิชาการแหงชาติ
5. เปนศูนยขอมูลวารสารระหวางชาติแหงประเทศไทย และภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต

67

ศูนยกําหนดเลขมาตรฐานสากลประจําหนังสือและวารสาร ศูนยกําหนดรายละเอียดทางบรรณานุกรม
ของหนังสือทีจ่ ัดพิมพในประเทศ และเปนศูนยกลางแลกเปลีย่ น และยืมสิง่ พิมพในระดับชาติ และ
นานาชาติ

6. เปนคลังสิ่งพิมพของชาติ และศูนยรวบรวมสิ่งพิมพขององคกรสหประชาชาติ
7. ปฏิบตั งิ านรว มกนั หรอื สนบั สนุนการปฏิบตั งิ านของหนวยงานอ่นื ท่ีเกย่ี วของ หรอื ท่ี
ไดรับมอบหมาย
หอสมุดแหงชาติ นอกจากที่ตัง้ อยูท ี่ทาวาสุกรี กรุงเทพมหานครแลว ยังมีหอสมุดแหงชาติสาขา
อยูในภูมภิ าคตางๆ อกี 17 แหง

หอสมดุ แหง ชาติ(ทาวาสุกรี) หอสมดุ แหงชาติรชั มงั คลาภิเษก จนั ทบุรี
ภาพจาก www.trueplookpanya.com ภาพจาก thai-culture.net/chanthaburi/

บริการของหอสมุดแหงชาติ ทาวาสุกรี
นอกจากการใหบริการการอาน ศึกษาคนควา และวิจัยแกประชาชน เพื่อเปนแหลงเรียนรูต ลอด

ชีวิตและการศึกษาตามอัธยาศัยแลว ยังมบี ริการอน่ื ๆ ดังตัวอยาง
1. บริการอนิ เทอรเน็ต เพื่อศกึ ษาคน ควา และเปน แหลง เรยี นรูตลอดชีวิตของนกั เรียน

นักศึกษา ผศู กึ ษาคน ควา วจิ ัย และประชาชนทั่วไป โดยไมเสียคา ใชจ าย
2. บรกิ ารวทิ ยานิพนธ และรายงานการวจิ ยั ปจจุบนั สาํ นกั หอสมุดแหงชาติ ใหบ ริการ

วิทยานพิ นธตงั้ แตป พ.ศ. 2546 – ปปจจบุ นั
3. บรกิ ารโสตทศั นวัสดุ ใหบ รกิ ารเกย่ี วกบั แผนที่ CD, DVD สารคดี/ การต ูน

และภาพยนตรทั้งภาษาไทย และภาษาตางประเทศ แถบบันทึกเสียงธรรมะ และนิทานอิสป
4. บริการเลขมาตรฐานสากลประจําหนังสือ วารสาร
5. บริการขอมูลทางบรรณานุกรมของหนังสือ

68

5. หองสมุดเฉพาะ
หองสมุดเฉพาะ คือ หองสมุดซึ่งรวบรวมหนังสือในสาขาวิชาบางสาขาโดยเฉพาะ มักเปน

สวนหนึ่งของหนวยงานราชการ องคการ บริษัทเอกชน หรือธนาคาร ทําหนาที่จัดหาหนังสือ และ
ใหบริการความรู ขอมูล และขาวสารเฉพาะเรือ่ งทีเ่ กีย่ วของกับการดําเนินงานของหนวยงานนัน้ ๆ
หองสมุดเฉพาะจะเนนการรวบรวมรายงานการคนควา วิจัย วารสารทางวิชาการ เชน หองสมุด มารวย
ซ่ึงเปนหองสมุดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย จัดตัง้ ขึน้ เพือ่ เปนแหลงสารสนเทศดานตลาดเงิน
ตลาดทนุ และสาขาวิชาทเ่ี ก่ยี วขอ ง กอ นจะปรับปรุงรูปลักษณใหม และเปลี่ยนชื่อเปน “หองสมุดมารวย”
ในป พ.ศ. 2547 เพอื่ เปนเกียรตแิ ด ดร.มารวย ผดุงสิทธิ์ กรรมการผูจัดการตลาดหลักทรัพยฯ คนท่ี 5

หองสมุดมารวย หองสมดุ ธนาคารแหง ประเทศไทย
ภาพจาก http://www.thaigoodview.com ภาพจากhttp://www.bot.or.th

69

เรือ่ งที่ 3 แหลง เรยี นรสู าํ คญั ในชุมชน
นอกจากแหลงเรียนรูป ระเภทหองสมุดตามทีก่ ลาวมาแลว ยังมีแหลงเรียนรูท ี่สําคัญในชุมชนอีก

จํานวนมาก แตจะขอกลาวถงึ แหลงเรียนรูทผ่ี ูเรยี นควรทราบและศกึ ษาเพอื่ ประกอบการเรยี นรดู ังตอ ไปนี้
1. พิพธิ ภณั ฑ
2. ศาสนสถาน
3. อนิ เทอรเ นต็

1. พิพิธภัณฑ
พพิ ธิ ภณั ฑเ ปนแหลงเรียนรูที่รวบรวม รักษา คน ควา วิจยั และจัดแสดงหลักฐานวตั ถุสงิ่ ของ

ท่สี มั พนั ธกับมนุษยแ ละสงิ่ แวดลอม เปนบริการการศึกษาท่ีใหความรู และความเพลิดเพลินแกประชาชน
ท่ัวไป เนนการจัดกิจกรรมการศึกษาที่เอื้อใหประชาชนสามารถเรียนรูด วยตัวเองอยางอิสระเปนสําคัญ
พิพิธภณั ฑมหี ลากหลายรปู แบบ มีการจัดแบง ประเภทแตกตางกันไป ซึ่งกลาวโดยสรุปไดวาประเภทของ
พิพิธภัณฑสามารถแบงออกได 6 ประเภท ดังน้ี

ก. พิพธิ ภณั ฑสถานประเภทท่ัวไป (Encyclopedia Museum) เปนสถาบันที่รวมวิชาการ
ทุกสาขาเขาดวยกนั โดยจัดเปน แผนก ๆ

ข. พพิ ธิ ภณั ฑส ถานศลิ ปะ (Museum of Arts) เปนสถาบันที่จัดแสดงงานศิลปะทุกแขนง
เชน พพิ ิธภัณฑส ถานศลิ ปะการแสดง หอศิลป พิพิธภณั ฑศ ิลปะสมยั ใหม เปน ตน

ค. พพิ ธิ ภณั ฑส ถานวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี (Museum of Science and Technology)
เปนสถาบันที่จัดแสดงวิวัฒนาการทางวิทยาศาสตรดานตาง ๆ เชน เครือ่ งจักรกล โทรคมนาคม ยาน
อวกาศ และวิวฒั นาการเกย่ี วกบั เครือ่ งมอื การเกษตร เปน ตน

ง. พิพธิ ภัณฑส ถานธรรมชาตวิ ิทยา (Natural Science Museum) เปนสถาบนั ท่จี ดั แสดง
เรื่องราวของธรรมชาติเกี่ยวกับเรื่องของโลก ดิน หิน แร สัตว พืช รวมทัง้ สวนสัตว สวนพฤกษชาติ วน
อทุ ยาน และพิพิธภณั ฑส ตั วนํ้า และสตั วบ กดว ย

พิพธิ ภัณฑสตั วนํ้าราชมงคลศรีวชิ ัย จังหวัดตรงั พพิ ธิ ภัณฑส ถานแหง ชาตินาน
www.aquariumthailand.com www.travelthaimagazine.com

จ. พิพธิ ภัณฑส ถานประวตั ิศาสตร (Historical Museum) เปน สถาบนั ทจ่ี ดั แสดงหลกั ฐาน

70

ทางประวัติศาสตร แสดงถึงชีวิตความเปนอยู วัฒนธรรมและประเพณี พิพิธภัณฑประเภทนี้อาจแยก
เฉพาะเรื่องก็ได เชน พิพิธภัณฑทีร่ วบรวม และจัดแสดงหลักฐานทางประวัติศาสตร ซึง่ เกีย่ วกับการเมือง
การทหาร เศรษฐกิจ สังคม หรือการแสดงบานและเมืองประวัติศาสตร ทั้งนี้รวมถึงโบราณสถาน
อนุสาวรีย และสถานที่สําคัญทางวัฒนธรรม

ฉ. พพิ ิธภัณฑสถานชาตพิ ันธุวทิ ยา และประเพณพี ้ืนเมือง (Museum of Ethnology) และ
การจําแนกชาติพันธุ และอาจจัดเฉพาะเรือ่ งราวของทองถิน่ ใดทองถิน่ หนึง่ ซึง่ เรียกวาพิพิธภัณฑสถาน
พืน้ บาน และถาจัดแสดงกลางแจงโดยปลูกโรงเรือน จัดสภาพแวดลอมใหเหมือนสภาพจริง ก็เรียกวา
พิพิธภัณฑสถานกลางแจง (Open-air Museum)

พพิ ธิ ภัณฑพ ระมหากษตั ริย
ภาพจาก www.kingprajadhipokmuseum.org

ภาพจาก www.pamame.com

ภาพจาก www.bloggang.com

71

2. ศาสนสถาน
วดั โบสถ มัสยิด เปนศาสนสถานท่เี ปน รากฐานของวัฒนธรรมในดานตาง ๆ เปน

ศูนยกลางที่สําคัญในการทํากิจกรรมทางศาสนาของชุมชน และเปนแหลงเรียนรูที่มีคามากในทุกดาน เชน
การใหการอบรมตามคําสัง่ สอนของศาสนา การใหการศึกษาดานศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม
ประเพณี พิธีกรรมตาง ๆ นับวาเปนการใหการศึกษาทางออมแกประชาชน เชน วัดพระเชตุพนวิมลมัง
คลาราม เปน แหลง เรยี นรดู า นการนวดแผนโบราณเพอ่ื รกั ษาโรค ตํารายาสมุนไพร วัดพระศรีรัตนศาสดา
ราม เปน แหลงเรยี นรดู านจติ รกรรมฝาผนังเรอ่ื ง รามเกยี รติ์

วัดพระศรรี ัตนศาสดาราม (วัดพระแกว) มัสยิดกลางปต ตานี
ภาพจาก www.bhodhiyalaya.com ภาพจาก travel.sanook.com/gallery

โบสถ ภาพจาก www.oknation.net

กิจกรรม
1. ใหผ เู รยี นศึกษาคน ควา เร่อื งศาสนสถานเพ่มิ เตมิ จากอนิ เทอรเน็ต
2. ใหผ เู รยี นแตล ะคนไปสํารวจวัด โบสถ และมัสยดิ ท่อี ยูใ นชมุ ชน ตําบล เขยี นประวัติ

ความเปน มา ความสาํ คญั สิ่งทจี่ ะเรียนรไู ดจากวัด โบสถ และมัสยิด จัดทาํ เปนรายงานสงครู

72

3. อินเทอรเน็ต
อินเทอรเน็ต (Internet) คอื อะไร
อินเทอรเ นต็ เปน ระบบเครือขา ยท่เี ชอ่ื มโยงทวั่ โลกเขาดวยกัน เหมือนใยแมงมุม หรือ

world wide web (www.) จึงเปนแหลงขอมูลขนาดใหญทีม่ ีขอมูลทุก ๆ ดาน ทัง้ ภาพ เสียง
ภาพเคล่ือนไหว ใหผ ูส นใจเขาไปศึกษาคนควาไดสะดวก รวดเร็ว และงาย มีคอมพิวเตอรเปนเครือ่ งมือ ผู
ที่ใชเครือขายนี้สามารถสื่อสารถึงกันไดหลาย ๆ ทาง เชน อีเมล (E-mail) เว็บบอรด (Web board) แชทรูม
(Chat room) การสืบคนขอมูล และขาวสารตาง ๆ รวมทั้งคัดลอกแฟมขอมูล และโปรแกรมมาใชได

ความสําคญั ของอินเทอรเนต็
หลายประเทศทั่วโลกกําลังใหความสําคัญกับเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information
Technology) หรือเรียกโดยยอวา “ไอที (IT)” ซึง่ หมายถึงความรูใ นวิธีการประมวลผล จัดเก็บ รวบรวม
เรียกใช และนําเสนอขอมูล อินเทอรเน็ตเปนเครือ่ งมือสําคัญอยางหนึง่ ในการประยุกตใชไอที หากเรา
จําเปนตองอาศัยขอมูลขาวสารในการทํางานประจําวัน อินเทอรเน็ตจะเปนชองทางทีท่ ําใหเราเขาถึง
ขอมูลขาวสาร หรือเหตุการณความเปนไปตาง ๆ ทั่วโลกทีเ่ กิดขึ้นไดในเวลาอันรวดเร็ว ในปจจุบัน
สามารถสืบคนขอ มลู ไดงา ยกวาสอื่ อืน่ ๆ อนิ เทอรเ นต็ เปน แหลง รวบรวมขอ มลู แหลง ใหญท ส่ี ดุ ของโลก
ประวตั คิ วามเปนมาของอนิ เทอรเนต็
อนิ เทอรเน็ตถอื กาํ เนดิ ข้นึ ครงั้ แรก โดยองคก รทางทหารของสหรัฐอเมริกา ช่อื วา
ย.ู เอส.ดเี ฟนซ (U.s.Defence Department) เปน ผูค ิดคนระบบข้ึนมา สําหรับประเทศไทยการเชื่อมตอเขาสู
อินเทอรเน็ต มีจุดกําเนิดมาจากเครือขายคอมพิวเตอร ระหวางมหาวิทยาลัย หรือที่เรียกวา
“แคมปสเน็ตเวิรก” (Campus Network) เครือขายดังกลาวไดรับการสนับสนุนจาก “ศูนยเทคโนโลยี
อิเล็กทรอนิกส และคอมพิวเตอรแหงชาติ” (NECTEC) จนกระทั่งในเดือนสิงหาคม ป พ.ศ. 2535 ได
เช่ือมเขาสูอนิ เทอรเน็ตโดยสมบรู ณ ถา จะกลา วถึงพัฒนาการประเทศไทย ต้ังแต ป พ.ศ.2530 ไดเริม่
มีการติดตอกับอินเทอรเน็ตโดยใช E-mail โดยเริ่มท่ี “มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรวิทยาเขตหาดใหญ”
และสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชียเปนแหง แรก
อินเทอรเ น็ตเปนแหลง เรียนรูสาํ คัญในโลกปจจบุ นั
ท่จี ริงแลวอินเทอรเน็ตเปนทัง้ ชอ งทางการเรียนรสู แู หลงเรียนรูอื่นเองดวย เราสามารถใชชองทาง
นท้ี ําอะไรไดม ากมายโดยทเี่ รากค็ าดไมถ งึ เหตุผลสําคญั ท่ที ําใหอินเทอรเ น็ตเปน แหลง เรียนรูท่ีไดรับความ
นยิ มแพรห ลาย คอื
1. การสื่อสารบนอินเทอรเน็ตไมจํากัดระบบปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร
2. อินเทอรเน็ตไมมีขอจํากัดในเรื่องของระยะทาง
3. อนิ เทอรเนต็ ไมจาํ กดั รูปแบบของขอ มลู

73

ความสาํ คญั ของอินเทอรเนต็
1. ความสําคญั ของอินเทอรเน็ตกับงานดา นตา ง ๆ

1.1 ดานการศึกษา
1) สามารถใชแหลงคนควาหาขอมูลทางวิชาการ ขอมูลดานการบันเทิง ดาน
การแพทย และอนื่ ๆ ท่นี าสนใจ
2) ระบบเครือขายอินเทอรเน็ตจะทํานาที่เสมือนเปนหองสมุดขนาดใหญ
3) ผูใชสามารถใชอ ินเทอรเ น็ตติดตอกบั แหลงเรยี นรอู นื่ ๆ เพอื่ คน หาขอ มูลทกี่ าํ ลงั
ศกึ ษาอยไู ด ทั้งทข่ี อ มลู ท่เี ปน ขอ ความ เสียง ภาพเคล่ือนไหวตา งๆ เปนตน
1.2 ดานธุรกิจและการพาณชิ ย
1) ในการดําเนินงานธุรกิจ สามารถคนหาขอมูลตางๆ เพื่อชวยในการตัดสินใจทาง
ธุรกจิ
2) สามารถซื้อขายสินคาผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต
3) บริษัท หรือองคก รตาง ๆ ก็สามารถเปดใหบ ริการ และสนบั สนนุ ลูกคาของตนผาน
ระบบเครือขายอินเทอรเน็ตได เชน การใหคําแนะนํา สอบถามปญหาตาง ๆ ใหแกลูกคา แจกจาย ตัว
โปรแกรมทดลองใช (Shareware) หรอื โปรแกรมแจกฟรี (Freeware) เปนตน
1.3 ดานการบันเทิง
1) การพักผอนหยอ นใจ สนั ทนาการ เชน การคน หาวารสารตาง ๆ ผานระบบ
เครือขายอินเทอรเน็ต ทีเ่ รียกวา Magazine Online รวมทั้งหนังสือพิมพ และขาวสารอื่น ๆ โดยมี
ภาพประกอบที่จอคอมพิวเตอรเหมือนกับวารสารตามรานหนังสือทั่ว ๆ ไป
2) สามารถฟงวิทยุผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ตได
3) สามารถดึงขอมูล (Download) ภาพยนตรต วั อยาง ทั้งภาพยนตรใหม และเกา
2. ความสําคัญของการเรยี นรทู างอินเทอรเ น็ต
2.1 การจดั เกบ็ ขอมูลจากอนิ เทอรเนต็ ไดง าย และส่ือสารไดรวดเร็ว
2.2 ความครบถวนของขอมูลจากอินเทอรเน็ต
2.3 ความรวดเร็วของเครือขายอินเทอรเน็ต
3. การเรยี นรูผา นเครอื ขา ยอินเทอรเ นต็ มตี น ทนุ ประหยัด

กจิ กรรม

1. ใหผูเรยี นศกึ ษาคนควาเพมิ่ เตมิ เรื่อง อนิ เทอรเ น็ต
2. ใหผ ูเรยี นบอกถึงความแตกตางระหวางหองสมุด กับอินเทอรเนต็
3. ใหผเู รยี นบอกถึงความสําคัญของอินเทอรเน็ต วามีความสําคัญกับตัวผูเ รียนในดานใดบาง

และ สามารถนาํ ไปใชป ระโยชนสาํ หรับชุมชนของตนเองไดอยางไร

74

การสบื คน ขอมลู ทางอนิ เทอรเ นต็
ในการสืบคนหาขอมูลผานเครือขายอินเทอรเน็ต มีเครือ่ งมือทีช่ วยในการสืบคนทีส่ ะดวก
เรียกวา โปรแกรมคนหา (Search Engine) ซึ่งโปรแกรมคนหานี้สามารถใชไดหลายภาษา เชน ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ ภาษาจนี โปรแกรมคนหาทเี่ ปน ทีน่ ิยมท่ีสามารถใชภาษาไทย คอื เว็บไซตกูเกลิ (Google)
ขั้นตอนในการใชโ ปรแกรมคนหา
1. เปด โปรแกรมอนิ เทอรเ นต็ (Internet Explorer)
2. พมิ พช อ่ื เว็บไซต www.google.com ลงในชอ งแอด็ เดรส (Address) แลวกดปมุ Go
หรอื กดเอน็ เทอร (Enter) รอจนหนา ตางของเว็บไซตกูเกิล Google ขึน้
3. หนา ตางของเว็บไซตก ูเกิล google มีสวนประกอบดังภาพดานลาง

4. มีบริการที่สามารถเขาถึงไดสะดวกในการคนหา 6 รายการ คือ รูปภาพ กลุมขา ว บลอ็ ก
สารบัญ เว็บ Gmail และเพิ่มเติม

5. พิมพคําสาํ คัญ หรอื ส่ิงที่ตองการคน หาในชอ งคนหา แลวกดปุมคน หา โดย google
6. เมือ่ กดปมุ คน หาโดย Google ก็จะขนึ้ รายละเอียดของเวบ็ ไซตเกีย่ วของกบั คาํ สําคัญ
หรอื ส่ิงท่ตี องการคนหา
7. คลกิ ขอ ความที่ขดี เสนใตเพอ่ื ศกึ ษารายละเอียด จะมีการเช่ือมโยง (Link) ไปเว็บไซตที่
ตองการ

กจิ กรรม
ใหผูเรียนสืบคนขอมูลทางอินเทอรเน็ตเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมทองถิ่น ประจําภาคที่ เปน

ภูมิลําเนาของผูเ รียน สรุปเปนรายงานสงครู พรอมทัง้ เขียนแผนภูมิเสนทางการสืบคนขอมูล ดังกลาว
ดว ย

75

แบบทดสอบ เรื่อง การใชแหลง เรียนรู
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน

1. ขอ ใดเปน แหลง รวบรวมขอ มูลสารสนเทศ มากท่สี ดุ
1

1 ก. หองสมดุ
1

ข. อนิ เทอรเ น็ต

ค. สวนสาธารณะ

ง. อุทยานแหงชาติ

2. หอ งสมดุ ประเภทใดที่เกบ็ รวบรวมทรัพยากรสารสนเทศทม่ี ีเนอื้ หาเฉพาะวชิ า

1

ก. หองสมุดประชาชน”เฉลิมราชกุมารี”

ข. หอ งสมดุ โรงเรยี นสวนกหุ ลาบ

ค. หองสมุดมารวย

ง. หองสมุดอาํ เภอ

3. แหลงเรียนรู หมายถงึ ขอ ใด

1

ก. สถานที่ใหความรูตามอัธยาศัย

ข. แหลง คน ควา เพ่ือประโยชนใ นการพฒั นาตนเอง

ค. แหลงรวบรวมความรูและขอมูลเฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง

ง. แหลง ขอมลู และประสบการณทส่ี ง เสรมิ ใหผูเรยี นแสวงหาความรแู ละเรยี นรูดว ยตนเอง

4. ถานกั ศึกษาตองการรูเกีย่ วกับโลกและดวงดาวควรไปใชบริการแหลงเรยี นรใู ด

ก. ทองฟาจําลอง

ข. เมืองโบราณ

ค. พพิ ิธภัณฑ

ง. หองสมุด

5. หนังสอื ประเภทใดที่หา มยืมออกนอกหอ งสมุด

1

ก. เร่ืองแปล

1

ข. นวนยิ าย

ค. หนังสืออางองิ

ง. วรรณกรรมสาํ หรบั เด็ก

6. เหตุใดหอ งสมุดจงึ ตอ งกาํ หนดระเบียบและขอปฏิบตั ใิ นการเขาใชบ ริการ

1

76

ก. เพ่อื อาํ นวยความสะดวกตอผูใชบรกิ าร

ข. เพื่อสนองความตองการแกผูใชบริการทุกคน

ค. เพือ่ ใหก ารบริหารงานหองสมุดเปน ไปอยา งเรียบรอย

ง. เพ่ือใหเ กิดความเปน ธรรมและความเสมอภาคแกผ ใู ชบ ริการ

7. การจดั ทําคมู อื การใชห อ งสมุดเพ่ือใหขอมูลเก่ียวกับหอ งสมดุ เปนบรกิ ารประเภทใด

1

ก. บริการขาวสารขอมูล

ข. บริการสอนการใชหองสมุด

ค. บริการแนะนําการใชหองสมุด

ง. บริการตอบคําถามและชวยการคนควา

8. ความสาํ คญั ของหองสมุดขอใดท่ชี ว ยใหผ ใู ชบริการมจี ิตสาํ นกึ ที่ดีตอ สวนรวม

1

ก. ชว ยใหรูจกั แบง เวลาในการศึกษาหาความรู

ข. ชวยใหมีความรูเทาทันโลกยุคใหมตลอดเวลา

ค. ชว ยใหมนี ิสยั รักการคนควา หาความรดู ว ยตนเอง

ง. ชวยใหระวังรักษาทรัพยสิน สิ่งของของหองสมุด

9. หองสมดุ ประเภทใดใหบริการทกุ เพศ วัย และความรู
1

ก. หองสมุดเฉพาะ

ข. หองสมดุ โรงเรยี น

ค. หองสมุดประชาชน

ง. หองสมุดมหาวิทยาลัย

10. หองสมุดมารวยเปน หอ งสมุดประเภทใด
1

ก. หองสมุดเฉพาะ

ข. หอ งสมดุ โรงเรยี น

ค. หองสมุดประชาชน

ง. หองสมุดมหาวิทยาลัย

77

11. ขอใดเปนแหลงเรียนรูที่ที่สําคัญในการทํากิจกรรมทางศาสนาและสอนคนใหเปนคนดี
ก. วดั
ข. มัสยิด
ค. โบสถ
ง. ถูกทกุ ขอ

12. ขอ ใดเปน ประโยชนของอนิ เทอรเนต็
ก. สะดวก รวดเรว็
ข. สื่อสารไดหลายชองทาง
ค. มภี าพนิง่ และภาพเคลอื่ นไหว
ง. ถกู ทุกขอ

13. http://www.nfe.go.th คาํ วา th หมายถึงอะไร
2

ก. ตวั ยอ ประเทศ
ข. ตวั ยอ หนว ยงานตนสงั กดั
ค. ตวั ยอ ของประเภทองคก ร
ง. ตวั ยอ ของผูใหบริการอินเทอรเน็ต
14. กลมุ คํา ท่ีใชในการคนหาขอมลู เรยี กวา อะไร
ก. Password
ข. Keyword
ค. word
ง. Microsoft word
15. ลิงค (Link)ในอนิ เตอรเ นท็ หมายถงึ อะไร

ก. การขาดหายของขอมูลในเว็บเพจ
ข. การเชื่อมโยงของขอมูลในเว็บเพจ
ค. การคนหาขอมูลในเว็บเพจ
ง. ผดู แู ลและผูใชใ นเวบ็ เพจ

แนวคาํ ตอบ ขอ 1 ข ขอ 2 ค ขอ 3 ง ขอ 4 ก ขอ 5 ค ขอ 6 ง ขอ 7 ค ขอ 8 ง ขอ 9 ค ขอ 10 ก ขอ 11 ง ขอ 12 ง ขอ 13 ก ขอ 14 ข ขอ 15 ข

78

บทที่ 3
การจดั การความรู

สาระสําคญั
การจัดการความรูเ ปนเครือ่ งมือของการพัฒนาคุณภาพของงาน หรือสราง วัตกรรมใน

การทํางาน การจัดการความรูจ ึงเปนการจัดการกับความรูแ ละประสบการณที่มีอยูใ นตัวคน และ
ความรูเดนชัด นํามาแบงปนใหเกิดประโยชนตอตนเองและองคกรดวยการผสมผสาน
ความสามารถของคนเขาดวยกันอยางเหมาะสม มีเปาหมายเพื่อ การพัฒนางาน พัฒนาคน และ
พัฒนาองคก รใหเ ปน องคก รแหงการเรยี นรู

ผลการเรียนรูทคี่ าดหวงั
1. วเิ คราะหผ ลที่เกดิ ขนึ้ ของขอบขา ยความรู ตัดสินคุณคา กาํ หนดแนวทางพฒั นา
2. เหน็ ความสมั พนั ธข องกระบวนการจดั การความรู กบั การนาํ ไปใชใ นการ
พฒั นาชมุ ชนปฏิบตั ิการ
3. ปฏิบัตติ ามกระบวนการจัดการความรไู ดอ ยา งเปน ระบบ

หัวขอ บทเรยี น ความหมาย ความสาํ คญั หลกั การ
เร่ืองท่ี 1 กระบวนการจดั การความรู
เร่ืองที่ 2 การรวมกลมุ เพอ่ื ตอยอดความรู
การฝกทักษะและกระบวนการจัดการความรู

79

แบบทดสอบเรือ่ งการจดั การความรู

คําชแ้ี จง : จงกากบาท X เลอื กขอ ทท่ี านคดิ วา ถกู ตองท่ีสดุ

1. การจดั การความรเู รยี กสน้ั ๆ วา อะไร
ก. MK
ข. KM
ค. LO
ง. QA

2. เปา หมายของการจดั การความรคู อื อะไร
ก. พฒั นาคน
ข. พฒั นางาน
ค. พฒั นาองคก ร
ง. ถูกทุกขอ

3. ขอใดถูกตอ งมากท่ีสุด
ก. การจดั การความรู หากไมท าํ จะไมรู
ข. การจดั การความรคู อื การจดั การความรขู องผูเ ช่ยี วชาญ
ค. การจดั การความรถู อื เปน เปา หมายของการทาํ งาน
ง. การจดั การความรคู อื การจดั การความรทู ม่ี ใี นเอกสาร ตาํ รา มาจดั ใหเ ปน
ระบบ

4. ขน้ั สูงสุดของการเรียนรคู ืออะไร
ก. ปญ ญา
ข. สารสนเทศ
ค. ขอมูล
ง. ความรู

5. ชุมชนนกั ปฏบิ ตั ิ (Cop) คอื อะไร
ก. การจดั การความรู
ข. เปา หมายของการจดั การความรู
ค. วธิ กี ารหนึ่งของการจัดการความรู
ง. แนวปฏบิ ตั ขิ องการจดั การความรู

80

6. รูปแบบการจัดการความรูตามโมเดลปลาทู สว น “ทองปลา” หมายถงึ อะไร
ก. การกาํ หนดเปา หมาย
ข. การแลกเปลย่ี นเรียนรู
ค. การจดั เกบ็ เปน คลงั ความรู
ง. ความรูทช่ี ดั แจง

7. ผูที่ทําหนา ท่กี ระตนุ ใหเ กิดการแลกเปล่ยี นเรียนรคู อื ใคร
ก. คุณเออ้ื
ข. คณุ อํานวย
ค. คณุ กิจ
ง. คณุ ลขิ ติ

8. สารสนเทศเพ่ือเผยแพรค วามรใู นปจจุบนั มอี ะไรบา ง
ก. เอกสาร
ข. วซี ดี ี
ค. เว็บไซด
ง. ถกู ทกุ ขอ

9. การจัดการความรดู วยตนเองกับชมุ ชนแหงการเรียนรมู คี วามเกี่ยวของกัน
หรือไม อยางไร
ก. เกยี่ วขอ งกัน เพราะการจดั การความรใู นบคุ คลหลาย ๆ คน รวมกนั เปน
ชุมชน เรียกวาเปน ชมุ นมุ แหง การเรยี นรู
ข. เก่ียวของกนั เพราะการจดั การความรใู หก บั ตนเองกเ็ หมอื นกบั จดั การความรู
ใหช ุมชนดว ย
ค. ไมเ ก่ียวขอ งกัน เพราะจัดการความรดู วยตนเองเปนปจเจกบุคคล สว น
ชุมชนแหงการเรยี นรูเปนเรอื่ งของชมุ ชน
ง. ไมเ กี่ยวขอ งกัน เพราะชมุ ชนแหงการเรยี นรูเปนการเรยี นรูเฉพาะกลุม

10. ปจจยั ทที่ ําใหก ารจดั การความรกู ารรวมกลมุ ปฏบิ ตั กิ ารประสบผลสาํ เร็จคืออะไร
ก. พฤตกิ รรมของคนในกลมุ
ข. ผูน าํ กลมุ
ค. การนาํ ไปใช
ง. ถกู ทุกขอ

เฉลย 1) ข 2) ง 3) ก 4) ก 5) ค 6) ข 7) ข 8) ง 9) ก 10) ง

81

เรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญ หลักการ
กระบวนการจดั การความรู
การรวมกลุมเพ่ือตอ ยอดความรู
และการจัดทําสารสนเทศเผยแพรความรู

ความหมายของการจดั การความรู

การจดั การ (Management) หมายถงึ กระบวนการในการเขาถงึ ความรแู ละการ ถา ยทอด
ความรูทต่ี อ งดาํ เนนิ การรวมกันกบั ผูปฏิบัตงิ าน ซ่ึงอาจเริม่ ตน จากการบง ชค้ี วามรทู ี่ ตอ งการใช
การสรา งและแสวงหาความรู การประมวลเพ่ือกลน่ั กรองความรู การจดั การ ความรูใหเ ปน
ระบบ การสรา งชอ งทางเพอ่ื การสื่อสารกบั ผูเกยี่ วขอ ง การแลกเปลย่ี นความรู การจดั การ
สมยั ใหมใ ชก ระบวนการทางปญ ญาเปน สง่ิ สาํ คญั ในการคดิ ตดั สนิ ใจ และสงผล ใหเ กดิ การ
กระทํา การจัดการจึงเนนไปทก่ี ารปฏบิ ัติ

ความรู (Knowledge) หมายถงึ ความรูทีค่ วบคกู ับการปฏิบตั ิ ซงึ่ ในการปฏิบตั ิจําเปน ตอ ง
ใชความรทู ่ีหลากหลายสาขาวชิ ามาเช่ือมโยงบรู ณาการเพือ่ การคิดและตดั สินใจ และ ลงมือปฏบิ ตั ิ
จุดกําเนิดของความรคู ือสมองของคน เปนความรทู ฝี่ ง ลึกอยใู นสมอง ชแี้ จงออก มาเปน ถอ ยคํา
หรอื ตวั อักษรไดย าก ความรนู ัน้ เมอื่ นําไปใชจ ะไมห มดไป แตจ ะยงิ่ เกดิ ความรู เพม่ิ พนู มากขนึ้ อยู
ในสมองของผปู ฏิบตั ิ

ในยคุ แรก ๆ มองวา ความรู หรือทนุ ทางปญ ญา มาจากการจดั ระบบและการ
ตคี วามสารสนเทศ ซง่ึ สารสนเทศกม็ าจากการประมวลขอ มลู ขน้ั ของการเรียนรู เปรยี บดงั ป
ระมดิ ตามรูปแบบนี้

82
ความรแู บงไดเปน 2 ประเภท คอื

1. ความรเู ดน ชดั (Explicit Knowledge) เปนความรูท ่ีเปน เอกสาร ตาํ รา คมู อื
ปฏิบตั ิงาน สือ่ ตา ง ๆ กฎเกณฑ กตกิ า ขอตกลง ตารางการทาํ งาน บนั ทกึ จากการทาํ งาน
ความรูเ ดนชัดจงึ มชี ่อื เรยี กอกี อยางหน่งึ วา “ความรใู นกระดาษ”

2. ความรซู อ นเรน /ความรฝู ง ลกึ (Tacit Knowledge) เปนความรทู ี่แฝงอยูในตัว
คน พฒั นาเปนภมู ปิ ญญา ฝงอยใู นความคดิ ความเชอื่ คา นิยม ทค่ี นไดม าจากประสบ การณส งั่
สมมานาน หรือเปนพรสวรรคอันเปนความสามารถพเิ ศษเฉพาะตัวที่มมี าแตกําเนดิ หรอื เรยี ก
อกี อยา งหนง่ึ วา “ความรใู นคน” แลกเปลย่ี นความรกู นั ไดย าก ไมสามารถแลก เปลี่ยนมาเปน
ความรทู เ่ี ปด เผยไดทงั้ หมด ตอ งเกดิ จากการเรยี นรรู ว มกนั ผานการเปนชมุ ชน เชน การสงั เกต
การแลกเปล่ียนเรียนรูระหวางการทาํ งาน

หากเปรียบความรูเหมือนภูเขาน้ําแขง็ จะมีลกั ษณะดงั นี้

สว นของนา้ํ แขง็ ท่ีลอยพนนา้ํ เปรยี บเหมอื นความรูท ่ีเดน ชัด คอื ความรทู ี่อยูใน เอกสาร ตาํ รา
ซดี ี วีดโี อ หรอื สอ่ื อ่นื ๆ ทีจ่ บั ตองได ความรนู ีม้ เี พยี ง 20 เปอรเซ็นต

สว นของนํา้ แขง็ ท่จี มอยใู ตน า้ํ เปรียบเหมอื นความรูทย่ี งั ฝง ลกึ อยูในสมองคน มี ความรู
จากสิง่ ที่ตนเองไดป ฏบิ ตั ิ ไมส ามารถถายทอดออกมาเปนตัวหนังสอื ใหค นอน่ื ไดร ับรไู ด ความรูท่ี
ฝง ลกึ ในตัวคนนม้ี ีประมาณ 80 เปอรเซ็นต

83

ความรู 2 ยุค

ความรูยุคที่ 1 เนน ความรใู นกระดาษ เนนความรูของคนสวนนอย ความรูที่สราง ข้ึน
โดยนักวิชาการที่มีความชํานาญเชี่ยวชาญเฉพาะดาน เรามักเรียกคนเหลานั้นวา “ผูมีปญญา” ซ่ึง
เช่ือวา คนสวนใหญไมมีความรู ไมมีปญญา ไมสนใจที่จะใชความรูของคนเหลานั้น โลกทัศนใน
ยคุ ท่ี 1 เปน โลกทัศนทค่ี บั แคบ

ความรูยุคท่ี 2 เปนความรูในคน หรืออยูในความสัมพันธระหวางคน เปนการคน
พบ “ภูมิปญญา” ท่ีอยูในตัวคน ทุกคนมีความรูเพราะทุกคนทํางาน ทุกคนมีสัมพันธกับ
ผูอื่น จึงยอมมีความรูทีฝ่ งลึกในตัวคนทีเ่ กิดจากการทํางาน และการมีความสัมพันธกันนั้น
เรียกวา “ความรูอันเกิดจากประสบการณ” ซ่ึงความรูยุคท่ี 2 น้ี มีคุณประโยชน 2 ประการ
คือ ประการแรก ทําใหเราเคารพซึ่งกันและกันวาตางก็มีความรู ประการที่ 2 ทําใหหนวยงาน
หรือองคกรที่มีความเชื่อเชนนี้ สามารถใชศักยภาพแฝงของทุกคนในองคกรมาสรางผลงาน
สรา งนวตั กรรมใหก บั องคก ร ทําใหองคก รมีการพัฒนามากข้นึ

การจัดการความรู

การจดั การความรู (Knowledge Management) หมายถงึ การจดั การกบั ความรู และ
ประสบการณท ีม่ ีอยใู นตวั คน และความรูเดนชดั นาํ มาแบง ปน ใหเ กดิ ประโยชนต อตนเอง และ
องคก ร ดว ยการผสมผสานความสามารถของคนเขา ดว ยกนั อยา งเหมาะสม มเี ปา หมาย เพ่ือการ
พฒั นางาน พฒั นาคน และพัฒนาองคกรใหเปนองคก รแหง การเรยี นรู

ในปจ จบุ นั และในอนาคต โลกจะปรบั ตัวเขาสกู ารเปน สังคมแหง การเรยี นรู ซง่ึ ความ รู
กลายเปนปจ จัยสาํ คญั ในการพฒั นาคน ทาํ ใหค นจาํ เปนตอ งสามารถแสวงหาความรู พฒั นา และ
สรา งองคค วามรูอ ยา งตอ เนอื่ ง เพ่ือนําพาตนเองสูค วามสําเร็จ และนําพาประเทศชาติไป สกู าร
พัฒนา มคี วามเจรญิ กา วหนา และสามารถแขงขันกับตางประเทศได

คนทกุ คนมกี ารจดั การความรูในตนเอง แตย ังไมเปน ระบบ การจดั การความรเู กดิ
ขึ้นไดในครอบครวั ทม่ี กี ารเรียนรตู ามอัธยาศัย พอ แมส อนลกู ปยู า ตายาย ถายทอดความรู และ
ภูมปิ ญญาใหแกล กู หลานในครอบครวั ทํากันมาหลายชัว่ อายคุ น โดยใชว ิธธี รรมชาติ
เชน พดู คยุ สงั่ สอน จดจาํ ไมมีกระบวนการที่เปนระบบแตอยางใด วิธีการดงั กลา วถือเปน การ
จดั การความรรู ปู แบบหนง่ึ แตอ ยางไรก็ตาม โลกในยคุ ปจจบุ นั มีการเปลย่ี นแปลงอยาง รวดเร็ว
ในดา นตา ง ๆ การใชว ธิ กี ารจัดการความรูแ บบธรรมชาติ อาจกา วตามโลกไมท นั จงึ จาํ เปนตอ งมี

84

กระบวนการที่เปนระบบ เพ่อื ชวยใหอ งคกรสามารถทาํ ใหบคุ คลไดใ ชความรูต าม ท่ีตองการ
ไดทันเวลา ซง่ึ เปน กระบวนการพฒั นาคนใหม ศี กั ยภาพ โดยการสรางและใชค วามรู ในการ
ปฏิบตั ิงานใหเกิดผลสัมฤทธ์ดิ ีขึน้ กวาเดมิ การจัดการความรูหากไมป ฏิบตั ิจะไมเขา ใจ เรอิ งการ
จดั การความรู นัน่ คือ “ไมท ํา ไมร ู” การจดั การความรจู งึ เปน กจิ กรรมของนกั ปฏบิ ตั ิ
กระบวนการจดั การความรจู ึงมลี กั ษณะเปนวงจรเรยี นรทู ี่ตอเน่อื งสมํา่ เสมอ เปา หมายคอื การ
พฒั นางานและพัฒนาคน การจัดการความรทู ่ีแทจรงิ เปน การจัดการความรโู ดยกลมุ ผู ปฏิบตั ิงาน
เปน การดําเนนิ กิจกรรมรวมกันในกลุมผูท ํางาน เพ่ือชวยกันดงึ “ความรใู นคน” และควา ความรู
ภายนอกมาใชใ นการทาํ งาน ทําใหไ ดร บั ความรมู ากขนึ้ ซ่ึงถอื เปนการยก ระดับความรู และนาํ
ความรูทไี่ ดร ับการยกระดบั ไปใชในการทํางานเปนวงจรตอเนอื่ งไมจบสน้ิ การจดั การความรจู งึ
ตองรวมมือกันทาํ หลายคน ความคิดเห็นทแี่ ตกตางในแตละบคุ คล จะ กอ ใหเ กดิ การสรา งสรรค
ดว ยการใชก ระบวนการแลกเปลย่ี นเรยี นรู มปี ณธิ านมงุ ม่นั ท่จี ะทํางาน ใหป ระสบผลสําเร็จดขี ้ึน
กวา เดมิ เม่อื ดาํ เนนิ การจดั การความรแู ลว จะเกดิ นวตั กรรมในการ ทาํ งาน น่ันคือเกิดการตอ ยอด
ความรู และมีองคค วามรูเฉพาะเพ่อื ใชใ นการปฏิบตั งิ านของ ตนเอง การจดั การความรมู ใิ ชก าร
เอาความรทู มี่ อี ยใู นตําราหรอื จากผูเ ช่ยี วชาญมากองรวมกัน และจัดหมวดหมู เผยแพร แตเปน
การดงึ เอาความรเู ฉพาะสว นทใ่ี ชใ นงานมาจดั การใหเ กดิ ประโยชนกับตนเอง กลุม หรอื ชมุ ชน

การจัดการความรูเปนการเรียนรูจากการปฏิบัติ นําผลจากการปฏิบัติมาแลก เปลีย่ นเรียนรูก ัน
เสรมิ พลังของการแลกเปล่ียนเรยี นรูด วยการชื่นชม ทําใหเปนกระบวน การแหง ความสุข ความภูมิใจ
และการเคารพเห็นคุณคา ซงึ่ กันและกนั ทักษะเหลานี้ นําไปสูการสรางนิสัยคิดบวกทําบวก มองโลก
ในแงด ี และสรางวัฒนธรรมในองคกรที่ ผคู นสมั พันธกันดวยเรอื่ งราวดี ๆ ดวยการแบงปนความรู และ
แลกเปลี่ยนความรูจาก ประสบการณซ ่งึ กันและกัน โดยทกี่ จิ กรรมเหลาน้สี อดคลองแทรกอยใู นการ
ทํางาน ประจาํ ทุกเร่ือง ทกุ เวลา...

ศ.นพ.วิจารณ พานชิ

85

ความสําคัญของการจัดการความรู

หัวใจของการจัดการความรูค ือ การจัดการความรูท ีม่ ีอยูใ นตัวบุคคล โดยเฉพาะ บุคคลทีม่ ี
ประสบการณในการปฏิบัติงานจนงานประสบผลสําเร็จ กระบวนการแลกเปลีย่ น เรียนรูร ะหวางคน
กับคน หรือกลมุ กับกลมุ จะกอ ใหเ กิดการยกระดับความรทู ีส่ ง ผลตอ เปา หมายของการทํางาน นั่นคือ
เกิดการพัฒนาประสิทธิภาพของงาน คนเกิดการพัฒนา และ สงผลตอเนื่องไปถึงองคกร เปนองคกร
แหงการเรียนรู ผลทีเ่ กิดขึน้ กับการจัดการความรู จึง ถือวามีความสําคัญตอการพัฒนาบุคลากรใน
องคกร ซง่ึ ประโยชนท ีจ่ ะเกดิ ขนึ้ ตอ บคุ คล กลุม หรอื องคก ร มีอยางนอย 3 ประการ คอื

1. ผลสัมฤทธิข์ องงาน หากมีการจัดการความรูใ นตนเอง หรือในหนวยงาน องคกร จะเกิด
ผลสําเร็จทีร่ วดเร็วยิ่งขึน้ เนือ่ งจากความรูเ พือ่ ใชในการพัฒนางานนัน้ เปนความรูท ีไ่ ด จากผูท ีผ่ าน
การปฏิบัติโดยตรง จึงสามารถนํามาใชในการพัฒนางานไดทันที และเกิด นวัตกรรมใหมในการ
ทํางาน ท้งั ผลงานทีเ่ กดิ ข้นึ ใหม และวัฒนธรรมการทํางานรวมกันของ คนในองคกรทีม่ ีความเอือ้ อาทร
ตอ กนั

2. บุคลากร การจัดการความรูใ นตนเองจะสงผลใหคนในองคกรเกิดการพัฒนา ตนเอง
และสงผลรวมถึงองคกร กระบวนการเรียนรูจ ากการแลกเปลีย่ นความรูร วมกัน จะทําใหบุคลากรเกิด
ความมน่ั ใจในตนเอง เกิดความเปนชุมชนในหมูเพื่อนรวมงาน บุคลากร เปนบุคคลเรียนรูแ ละสงผลให
องคก รเปนองคกรแหง การเรยี นรอู กี ดวย

3. ยกระดับความรูข องบุคลากรและองคกร การแลกเปลีย่ นเรียนรู จะทําให บุคลากรมี
ความรูเ พิม่ ขึ้นจากเดิม เห็นแนวทางในการพัฒนางานทีช่ ัดเจนมากขึน้ และเมือ่ นําไปปฏิบัติจะทําให
บุคคลและองคกรมีองคความรูเ พือ่ ใชในการปฏิบัติงานในเรือ่ งทีส่ ามารถ นําไปปฏิบัติได มีองคความรู
ที่จําเปนตอการใชงาน และจดั ระบบใหอยใู นสภาพพรอมใช

การที่เรามีการจัดการความรูในตัวเอง จะพบวาความรูใ นตัวเราทีค่ ิดวาเรามี เยอะแลวนั้น จริง
ๆ แลวยังนอยมากเมือ่ เทียบกับบุคคลอืน่ และหากเรามีการแบงปน แลกเปลีย่ นความรูก ับบุคคลอืน่ จะ
พบวามีความรูบ างอยางเกิดขึน้ โดยทีเ่ ราคาดไมถึง และหากเราเห็นแนวทางมีความรูแ ลวไมนําไป
ปฏิบัติ ความรูนั้นก็จะไมมีคุณคาอะไร เลย หากนําความรูน ัน้ ไปแลกเปลีย่ น และนําไปสูก ารปฏิบัติที่
เปนวงจรตอ เน่ืองไมร จู บ จะเกิดความรูเพิ่มขึ้นอยางมาก หรอื ท่เี รยี กวา “ย่งิ ให ย่งิ ไดร ับ”

86

หลกั การของการจัดการความรู

การจัดการความรู ไมมีสูตรสําเร็จในวิธีการของการจัดการเพื่อใหบรรลุเปาหมาย
ในเร่อื งใดเรือ่ งหน่ึง แตข ึ้นอยกู ับปณิธานความมุงมั่นทจ่ี ะทํางานของตน หรือกิจกรรมของกลุมตน
ใหดีขึ้นกวาเดิม แลวใชวิธีการจัดการความรูเ ปนเครื่องมือหนึ่งในการพัฒนางานหรือ
สรา งนวตั กรรมในงาน มหี ลักการสาํ คญั 4 ประการ ดังนี้

1. ใหคนหลากหลายทัศนะ หลากหลายวิถีชีวิต ทํางานรวมกันอยางสรางสรรค การ
จัดการความรูทม่ี ีพลังตอ งทาํ โดยคนทม่ี พี นื้ ฐานแตกตางกัน มคี วามเชอื่ หรอื วธิ คี ิดแตกตางกัน (แต
มจี ดุ รวมพลัง คือ มเี ปา หมายอยูท่งี านดว ยกัน) ถากลุม ทีด่ ําเนินการจัดการความรูประกอบดวยคน
ท่ีคดิ เหมอื น ๆ กนั การจดั การความรจู ะไมม พี ลงั ในการจดั การความรู ความแตกตางหลากหลาย
มีคุณคามากกวา ความเหมือน

2. รวมกันพัฒนาวิธีการทํางานในรูปแบบใหม ๆ เพือ่ บรรลุประสิทธิภาพและ
ประสทิ ธผลทีก่ ําหนดไว ประสิทธผิ ลประกอบดวยองคป ระกอบ 4 ประการ คือ

2.1 การตอบสนองความตอ งการ ซ่ึงอาจเปนความตอ งการของตนเอง ผรู บั
บรกิ าร ความตองการของสังคม หรอื ความตอ งการที่กาํ หนดโดยผนู ํา
องคกร

2.2 นวตั กรรม ซึ่งอาจเปโ นนวตั กรรมดา นผลติ ภัณฑใ หม ๆ หรอื วิธกี ารใหม ๆ
กไ็ ด

2.3 ขีดความสามารถของบุคคล และขององคกร
2.4 ประสทิ ธภาพในการทาํ งาน
3. ทดลองและการเรียนรู เนือ่ งจากกิจกรรมการจัดการความรู เปนกิจกรรมที่
สรา งสรรค จึงตองทดลองทําเพียงนอย ๆ ซ่งึ ถา ลม เหลวกก็ อ ผลเสยี หายไมมากนกั ถาไดผล ไม
ดีก็ยกเลิกความคิดนัน้ ถาไดผลดีจึงขยายการทดลองคือปฏิบัติมากขึ้น จนในที่สุดขยาย เปนวิธี
ทาํ งานแบบใหม หรอื ท่เี รยี กวา ไดว ิธีการปฏิบตั ิทีส่ งผลเปนเลิศ (best practice) ใหม น่ันเอง
4. นําเขาความรูจากภายนอกอยางเหมาะสม โดยตองถือวาความรูจากภายนอก ยัง
เปนความรูที่ “ดิบ” อยู ตองเอามาทําให “สุก” ใหพรอมใชตามสภาพของเรา โดยการ เติม
ความรทู ่ีมีตามสภาพของเราลงไป จงึ จะเกดิ ความรูทเ่ี หมาะสมกับท่ีเราตอ งการใช
หลักการของการจัดการความรู จึงมุงเนนไปที่การจัดการทีม่ ีประสิทธิภาพ เพราะ การ
จัดการความรูเ ปนเครื่องมือระดมความรูในคน และความรูในกระดาษทั้งท่ีเปนความรู จาก
ภายนอก และความรูของกลมุ ผรู ว มงาน เอามาใชแ ละยกระดบั ความรูของบคุ คล ของ ผรู วมงาน

87

และขององคกร ทําใหงานมีคุณภาพสูงขึ้น คนเปนบุคคลเรียนรูแ ละองคกรเปน องคกร
แหงการเรียนรู การจัดการความรูจ ึงเปนทักษะสิบสวน เปนความรูเ ชิงทฤษฎีเพียง สวนเดียว
การจดั การความรูจงึ อยใู นลกั ษณะ “ไมท าํ -ไมรู”

88

กิ จ ก ร ร ม

กจิ กรรมท่ี 1 ใหอธบิ ายความหมายของ “การจดั การความร”ู มาพอสงั เขป

.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

กจิ กรรมท่ี 2 ใหอ ธบิ ายความสาํ คญั ของ “การจดั การความร”ู มาพอสงั เขป

.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

กจิ กรรมท่ี 3 ใหอธิบายหลักการของ “การจัดการความร”ู มาพอสงั เขป

.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

89

กระบวนการในการจดั การความรู

การจัดการความรูน ัน้ มีหลายรูปแบบ หรือทีเ่ รียกกันวา “โมเดล” มีหลากหลาย
โมเดล หัวใจของการจัดการความรูคือ การจัดการความรูที่อยูในตัวคน ในฐานะผูปฏิบัติ และ
เปนผูมีความรู การจัดการความรูที่ทําใหคนเคารพในศักดิศ์ รีของคนอื่น การจัดการ ความรู
นอกจากการจัดการความรูในตนเองเพือ่ ใหเกิดการพัฒนางานและพัฒนาตนเองแลว ยังมอง
รวมถึงการจัดการความรูในกลุมหรือองคกรดวยรูปแบบ การจัดการความรูจึงอยูบ น พ้ืนฐาน
ของความเชือ่ ที่วา ทุกคนมีความรู ปฏิบัติในระดับความชํานาญที่ตางกัน เคารพ ความรูท ี่อยูใ น
ตวั คน

ดร.ประพนธ ผาสุกยึด ไดคิดคนรูปแบบการจัดการความรูไว 2 แบบ คือ รูปแบบ
ปลาทูหรือทีเ่ รียกวา “โมเดลปลาทู” และรูปแบบปลาตะเพียน หรือที่เรียกวา “โมเดลปลา
ตะเพียน” แสดงใหเหน็ ถงึ รูปแบบการจัดการความรูในภาพรวมของการจัดการ ที่ครอบคลุม ทั้ง
ความรทู ช่ี ัดแจง และความรูท ฝ่ี ง ลกึ ดงั น้ี

โมเดลปลาทู
เพื่อใหการจัดการความรู หรือ KM เปนเรื่องที่เขาใจงาย จึงกําหนดใหการจัดการ
ความรูเปรียบเหมือนกับปลาทูตัวหนึง่ มีสิง่ ที่ตองดําเนินการจัดการความรูอยู 3 สวน โดย
กําหนดวา สวนหัว คือการกําหนดเปาหมายของการจัดการความรูที่ชัดเจน สวนตัวปลา คือ
การแลกเปลี่ยนความรูซึ่งกันและกัน และสวนหางปลา คือความรูท ีไ่ ดรับจากการแลกเปลีย่ น
เรยี นรู

รปู แบบการจัดการความรูตาม “โมเดลปลาทู”

90

สวนท่ี 1 “หัวปลา” หมายถึง “Knowledge Vision” หรือ KV คือเปาหมายของ
การจัดการความรู ผูใ ชตองรูวาจะจัดการความรูเ พือ่ บรรลุเปาหมายอะไร เกี่ยวของหรือสอด
คลองกับวิสัยทัศน พันธกิจและยุทธศาสตรขององคกรอยางไร เชน จัดการความรูเพ่ือเพ่ิม
ประสิทธิภาพของงาน จัดการความรูเ พื่อพัฒนาทักษะชีวิตดานยาเสพติด จัดการความรูเพือ่
พัฒนาทักษะชีวิตดานสิ่งแวดลอม จัดการความรูเ พื่อพัฒนาทักษะชีวิตดานชีวิตและทรัพยสิน
จดั การความรูเ พ่ือฟน ฟขู นบธรรมเนียมประเพณดี งั้ เดมิ ของคนในชุมชน เปนตน

สวนท่ี 2 “ตัวปลา” หมายถึง “Knowledge Sharing” หรือ KS เปนการแลก เปลีย่ น
เรียนรูหรือการแบงปนความรูท ีฝ่ งลึกในตัวคนผูปฏิบัติ เปนการแลกเปลี่ยนวิธีการ ทํางานที่
ประสบผลสําเร็จ ไมเนนท่ปี ญหา เครอ่ื งมือในการแลกเปลีย่ นเรียนรูมีหลากหลาย แบบ อาทิ
การเลาเรื่อง การสนทนาเชิงลึก การชื่นชมหรือการสนทนาในเชิงบวก เพือ่ นชวย เพือ่ น การ
ทบทวนการปฏิบัติงาน การถอดบทเรียน การถอดองคความรู

สวนท่ี 3 “หางปลา” หมายถึง “Knowledge Assets” หรือ KA เปนขุมความรู ท่ีได
จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู มีเครือ่ งมือในการจัดเก็บความรูท ี่มีชีวิตไมหยุดนิง่ คือ นอก จาก
จัดเก็บความรูแลวยังงายในการนําความรูออกมาใชจริง งายในการนําความรูออกมาตอ ยอด
และงายในการปรับขอมลู ไมใหลา สมัย สวนน้ีจงึ ไมใ ชส วนที่มีหนาที่เก็บขอมูลไวเฉย ๆ ไมใช
หองสมุดสําหรับเก็บสะสมขอมูลทีน่ ําไปใชจริงไดยาก ดังนัน้ เทคโนโลยีการสื่อสารและ
สารสนเทศ จงึ เปน เครอ่ื งมอื จดั เก็บความรอู นั ทรงพลังยิง่ ในกระบวนการจัดการความรู

ตวั อยา งการจดั การความรูเรอื่ ง “พฒั นากลมุ วสิ าหกจิ ชมุ ชน” ในรูปแบบปลาทู

91

โมเดลปลาตะเพยี น

จากโมเดล “ปลาทู” ตัวเดียวมาสูโ มเดล “ปลาตะเพียน” ที่เปนฝูง โดยเปรียบ แมปลา
“ปลาตัวใหญ” ไดกับวิสัยทัศน พันธกิจ ขององคกรใหญ ในขณะทีป่ ลาตัวเล็ก หลาย ๆ ตัว
เปรียบไดกับเปาหมายของการจัดการความรูที่ตองไปตอบสนองเปาหมายใหญ ขององคกร จึง
เปนปลาทัง้ ฝูงเหมือน “โมบายปลาตะเพียน” ของเลนเด็กไทยสมัยโบราณที่ ผูใหญสานเอาไว
แขวนเหนอื เปลเดก็ เปน ฝูงปลาทห่ี ันหนาไปในทิศทางเดยี วกนั และมีความ เพียรพยายามที่จะวาย
ไปในกระแสน้าํ ทเ่ี ปล่ียนแปลงอยตู ลอดเวลา

ปลาใหญ อาจเปรยี บเหมือนการพฒั นาอาชพี ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ใน
ชุมชน ซึ่งการพัฒนาอาชีพดังกลาว ตองมีการแกปญหาและพัฒนารวมกันไปทัง้ ระบบ เกิดกลุม
ตาง ๆ ขึ้นในชุมชน เพื่อการเรียนรูร วมกัน ทั้งการทําบัญชีครัวเรือน การทําเกษตรอินทรีย การ
ทาํ ปุยหมกั การเลย้ี งปลา การเลย้ี งกบ การแปรรูปผลิตภณั ฑเพือ่ ใช ในครอบครวั หรอื จาํ หนายเพ่ือ
เพิม่ รายได เปนตน เหลานีถ้ ือเปนปลาตัวเล็ก หากการแก ปญหาที่ปลาตัวเล็กประสบผลสําเร็จ
จะสงผลใหปลาตัวใหญหรือเปาหมายในระดับชุมชน ประสบผลสําเร็จดวยเชนกัน นัน่ คือปลา
วายไปขา งหนาอยา งพรอมเพรยี งกัน

ทีส่ ําคัญ ปลาแตละตัวไมจําเปนตองมีรูปรางและขนาดเหมือนกัน เพราะการจัดการ
ความรูข องแตล ะเรื่อง มีสภาพของความยากงายในการแกปญหาที่แตกตางกัน รูปแบบของ การ
จัดการความรูของแตละหนวยยอย จึงสามารถสรางสรรค ปรับใหเขากับแตละที่ไดอยาง
เหมาะสม ปลาบางตวั อาจมที อ งใหญ เพราะอาจมีสวนของการแลกเปลี่ยนเรียนรูมาก บางตัวอาจ

92

เปนปลาที่หางใหญเดนในเรือ่ งของการจัดระบบคลังความรูเ พื่อใชในการปฏิบัติมาก แตทุกตัว
ตองมีหวั และตาทมี่ องเหน็ เปาหมายที่จะไปอยางชัดเจน

การจัดการความรไู ดใหค วามสาํ คัญกับการเรยี นรทู เ่ี กดิ จากการปฏิบตั จิ รงิ เปน การ เรียนรูใน
ทุกขัน้ ตอนของการทํางาน เชน กอ นเรม่ิ งานจะตอ งมกี ารศกึ ษาทาํ ความเขา ใจในสง่ิ ที่กาํ ลังจะ
ทํา จะเปน การเรยี นรูด วยตนเองหรืออาศัยความชว ยเหลือจากเพอ่ื นรว มงาน มี การศกึ ษาวธิ กี าร
และเทคนิคตาง ๆ ที่ใชไดผ ล พรอมทั้งคนหาเหตุผลดวยวาเปนเพราะอะไร และจะสามารถนาํ
สิง่ ทีไ่ ดเ รยี นรนู ั้นมาใชง านท่ีกาํ ลงั จะทาํ นไี้ ดอยางไร ในระหวา งที่ทาํ งานอยู เชน กนั จะตอ งมกี าร
ทบทวนการทํางานอยูตลอดเวลา เรยี กไดว า เปนการเรียนรทู ีไ่ ดจ ากการ ทบทวนกจิ กรรมยอ ยใน
ทุก ๆ ข้ันตอน หมัน่ ตรวจสอบอยูเสมอวา จุดมงุ หมายของงานท่ที าํ อยู นคี้ ืออะไร กาํ ลงั เดินไป
ถูกทางหรือไมเ พราะเหตุใด ปญ หาคอื อะไร จะตองทาํ อะไรใหแตกตาง ไปจากเดิมหรือไม และ
นอกจากนน้ั เมือ่ เสร็จสิ้นการทาํ งานหรอื เมอ่ื จบโครงการ ก็จะตองมี การทบทวนสิ่งตาง ๆ ท่ี
ไดม าแลววา มอี ะไรบางทที่ าํ ไดดี มอี ะไรบา งทตี่ องปรบั ปรุงแกไ ขหรือ รับไวเปน บทเรียน ซง่ึ การ
เรียนรูตามรปู แบบปลาทูนี้ ถอื เปน หวั ใจสาํ คญั ของกระบวนการ เรียนรูทเี่ ปนวงจรอยสู ว นกลาง
ของรูปแบบการจัดการความรนู ่นั เอง

93

กระบวนการจัดการความรู

กระบวนการจัดการความรู เปนกระบวนการแบบหนึ่งที่จะชวยใหองคกรเขาถึง
ขั้นตอน ที่ทําใหเกิดการจัดการความรู หรือพัฒนาการของความรูที่จะเกิดขึ้นภายในองคกร มี
ข้นั ตอน 7 ขน้ั ตอน ดังนี้

1. การบงชี้ความรู เปนการพิจารณาวา เปาหมายการทํางานของเราคืออะไร และ
เพอ่ื ใหบรรลุเปาหมายเราจําตองรอู ะไร ขณะนี้เรามคี วามรูอ ะไร อยใู นรปู แบบใด อยกู บั ใคร

2. การสรางและแสวงหาความรู เปนการจัดบรรยากาศและวัฒนธรรมการทํางาน
ของคนในองคกรเพื่อเอื้อใหคนมีความกระตือรือรนในการแลกเปลีย่ นความรูซึง่ กันและกัน ซ่ึง
จะกอ ใหเ กดิ การสรา งความรใู หม เพ่อื นําไปใชในการพฒั นาอยตู ลอดเวลา

3. การจัดการความรูใหเปนระบบ เปนการจัดทําสารบัญและจัดเก็บความรูป ระเภท
ตา ง ๆ เพอ่ื ใหก ารเกบ็ รวบรวมและการคน หาความรู นํามาใชไดง ายและรวดเร็ว

4. การประมวลและกลัน่ กรองความรู เปนการประมวลความรูใหอยูใ นรูปเอกสาร
หรือรูปแบบอืน่ ๆ ที่มีมาตรฐาน ปรับปรุงเนื้อหาใหสมบูรณ ใชภาษาที่เขาใจงาย และใชได
งา ย

5. การเขาถึงความรู เปนการเผยแพรความรูเพื่อใหผูอ ืน่ ไดใชประโยชน เขาถึง
ความรูไ ดง า ยและสะดวก เชน ใชเทคโนโลยี เวบ็ บอรด หรอื บอรด ประชาสมั พนั ธ เปนตน

6. การแบงปนแลกเปลี่ยนความรู ทําไดหลายวิธีการ หากเปนความรูเดนชัด อาจ
จัดทําเปนเอกสาร ฐานความรูที่ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ หากเปนความรูท ีฝ่ งลึกทีอ่ ยูในตัวคน
อาจจัดทําเปนระบบแลกเปลี่ยนความรูเปนทีมขามสายงาน ชุมชนแหงการเรียนรู พี่เล้ียง สอน
งาน การสบั เปลย่ี นงาน การยมื ตัว เวทีแลกเปลีย่ นเรียนรู เปนตน

7. การเรียนรู การเรียนรูของบุคคลจะทําใหเกิดความรูใ หม ๆ ขึ้นมากมาย ซ่ึงจะ ไป
เพิม่ พูนองคความรูข ององคกรที่มีอยูแ ลวใหมากขึ้นเรือ่ ย ๆ ความรูเหลานี้จะถูกนําไปใช เพ่ือ
สรา งความรใู หม ๆ เปนวงจรทีไ่ มสน้ิ สดุ เรยี กวา เปน “วงจรแหงการเรียนรู”

94

ตวั อยา งของกระบวนการจัดการความรู
“วิสาหกจิ ชุมชน” บานทุงรวงทอง

1. การบง ช้ีความรู
หมูบ านทุง รวงทองเปนหมูบ านหนึ่งทีอ่ ยูใ นอําเภอจุน จังหวัดพะเยา จากการที่
หนวยงานตาง ๆ ไดไปสงเสริมใหเกิดกลุม ตาง ๆ ขึ้นในชุมชน และเห็นความสําคัญของการ
รวมตัวกันเพือ่ เกื้อกูลคนในชุมชนใหมีการพึ่งพาอาศัยซึง่ กันและกัน จึงมีเปาหมายจะพัฒนา
หมูบ านใหเปนวิสาหกิจชุมชน จึงตองมีการบงชีค้ วามรูที่จําเปนที่จะพัฒนาหมูบานใหเปน
วิสาหกิจชุมชน นั่นคือหาขอมูลชุมชนในประเทศไทยมีลักษณะเปนวิสาหกิจชุมชน และเม่ือ
ศึกษาขอมูลแลวทําใหรูวาความรูเรื่องวิสาหกิจชุมชนอยูทีไ่ หน นั่นคืออยูท ี่เจาหนาที่หนวยงาน
ราชการทม่ี าสง เสรมิ และอยูในชมุ ชนทีม่ กี ารทําวสิ าหกจิ ชุมชนแลว ประสบผลสําเรจ็

2. การสรางและแสวงหาความรู
จากการศึกษาขอมูลแลววา หมูบานที่ทําเรื่องวิสาหกิจชุมชนประสบผลสําเร็จอยู ที่
ไหน ไดประสานหนวยงานราชการ และจัดทําเวทีแลกเปลีย่ นเรียนรูเ พื่อเตรียมการในการ ไป
ศึกษาดูงาน เมื่อไปศึกษาดูงาน ไดแลกเปลีย่ นเรียนรู ทําใหไดรับความรูเ พิ่มมากขึ้น เขาใจ
รูปแบบกระบวนการของการทําวิสาหกิจชุมชน และแยกกันเรียนรูเ ฉพาะกลุม เพื่อนํา ความรูท่ี
ไดรับมาปรับใชในการทําวิสาหกิจชุมชนในหมูบานของตนเอง เมื่อกลับมาแลว มี การทําเวที
หลายคร้ัง ทั้งเวทีใหญที่คนทั้งหมูบานและหนวยงานหลายหนวยงานมาใหคํา ปรึกษา ชุมชน
รวมกันคิด วางแผน และตัดสินใจ รวมทัง้ มีเวทียอยเฉพาะกลุม จากการ แลกเปลี่ยนเรียนรู
ผา นเวทชี าวบา นหลายครง้ั ทาํ ใหช มุ ชนเกดิ การพฒั นาในหลายดา น เชน ความสมั พันธของคนใน
ชุมชน การมีสวนรวม ทั้งรวมคิด รวมวางแผน รวมดําเนินการ รวม ประเมินผล และรวมรับ
ผลประโยชนท เ่ี กดิ ขึน้ ในชมุ ชน

3. การจดั การความรใู หเ ปนระบบ
การทําหมูบ านใหเปนวิสาหกิจชุมชน เปนความรูใหมของคนในชุมชน ชาวบานได
เรียนรูไปพรอม ๆ กัน มีการแลกเปลีย่ นเรียนรูก ันเปนทางการและไมเปนทางการ โดยมีสวน
ราชการและองคกรเอกชนตาง ๆ รวมกันหนุนเสริมการทํางานอยางบูรณาการ และจากการ ถอด

95

บทเรียนหลายครง้ั ชาวบา นมคี วามรเู พ่ิมมากข้ึน และบันทึกความรอู ยางเปนระบบ น่ัน คือ มี
ความรูเ ฉพาะกลุม สว นใหญจ ะบนั ทกึ ในรปู เอกสาร และมกี ารทาํ วจิ ยั จากบคุ คล ภายนอก

4. การประมวลและกลน่ั กรองความรู
มีการจัดทําขอมูล ซึ่งมาจากการถอดบทเรียน และการจัดทําเปนเอกสารเผยแพร

เฉพาะกลุม เปนแหลงเรียนรูใ หกับนักศึกษา กศน. และนักเรียนในระบบโรงเรียน รวมทัง้ มี
นําขอ มลู มาวเิ คราะหเ พอ่ื จัดทําเปน หลกั สูตรทองถ่ินของ กศน.อาํ เภอจนุ ดว ย
5. การเขาถงึ ความรู
นอกจากการมีขอมูลในชุมชนแลว หนวยงานตาง ๆ โดยเฉพาะองคการบริหารสวน
ตําบล ไดจ ดั ทําขอมูลเพือ่ ใหคนเขา ถงึ ความรูไ ดงาย ไดน ําขอ มูลใสไ วใ นอนิ เตอรเ น็ต และ ในแต
ละตําบลจะมีอินเตอรเน็ตตําบลใหบริการ ทําใหคนภายนอกเขาถึงขอมูลไดงาย และมี การเขาถึง

ความรจู ากการแลกเปลย่ี นเรยี นรรู ว มกนั จากการมาศกึ ษาดงู านของคนภายนอก
6. การแบง ปน แลกเปล่ยี นความรู
ในการดาํ เนนิ งานกลมุ ชุมชน ไดมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูกันในหลายรูปแบบ ท้ัง การ

ไปศกึ ษาดงู าน การศกึ ษาเปน การสว นตวั การรวมกลุมในลักษณะชุมชนนักปฏิบัติ (CoP)
ที่แลกเปลีย่ นเรียนรูรวมกันทั้งเปนทางการและไมเปนทางการ ทําใหกลุม ไดรับความรู มากขึ้น
และบางกลุมเจอปญหาอุปสรรคโดยเฉพาะเรื่องการบริหารจัดการกลุม ทําใหกลุม ตองมา

ทบทวนรวมกันใหม สรางความเขาใจรวมกัน และเรียนรูเรือ่ งการบริหารจัดการจาก กลุมอ่ืน
เพิ่มเติม ทําใหก ลมุ สามารถดาํ รงอยไู ดโดยไมล มสลาย
7. การเรียนรู
กลุม ไดเรียนรูห ลายอยางจากการดําเนินการวิสาหกิจชุมชน การทีก่ ลุมมีการพัฒนา ขึ้น
นัน่ แสดงวากลุม มีความรูมากขึ้นจากการลงมือปฏิบัติและแลกเปลี่ยนเรียนรูร วมกัน การ พัฒนา
นอกจากความรูที่เพิ่มขึ้น ซึ่งเปนการยกระดับความรูของคนในชุมชนแลว ยังเปนการ พัฒนา

ความคิดของคนในชุมชนดวย ชุมชนมีความคิดทีเ่ ปลี่ยนไปจากเดิม มีการทํากิจกรรม เพื่อ
เรยี นรรู วมกันบอยข้ึน มคี วามคดิ ในการพึง่ พาตนเอง และเกิดกลุม ตาง ๆ ขึ้นในชุมชน โดยการ

มีสวนรวมของคนในชุมชน

96

กิ จ ก ร ร ม ท า ย บ ท

กจิ กรรมท่ี 1 รูปแบบของการจัดการความรมู ีอะไรบาง และมลี กั ษณะอยางไร

.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

กจิ กรรมท่ี 2 กระบวนการจดั การความรมู กี ข่ี น้ั ตอน อะไรบาง

.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

กจิ กรรมท่ี 3 ใหผูเรยี นยกตวั อยางกลุมหรือชุมชนที่มกี ารจดั การความรูประสบผลสําเรจ็ และ
อธบิ ายดว ยวา สาํ เรจ็ อยา งไร เพราะอะไร

.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

97

การรวมกลมุ เพ่อื การเรียนรู

บคุ คลและเครือ่ งมือทีเ่ ก่ียวขอ งกับการจัดการความรู

ในการจัดการความรูด วยวิธีการรวมกลุมปฏิบัติการเพื่อตอยอดความรู การแลก เปลีย่ น
เรียนรูเพือ่ ดึงความรูท ีฝ่ งลึกในตัวบุคคลออกมาแลวสกัดเปนขุมความรู หรือองคความ รูเพื่อใช
ในการปฏบิ ตั งิ านนน้ั จะตองมบี ุคคลท่ีสงเสริมใหเ กดิ การแลกเปล่ยี นเรยี นรู ใน บรรยากาศของ
การมีใจในการแบงปนความรู รวมทัง้ ผูที่ทําหนาทีก่ ระตุน ใหคนอยากทีจ่ ะแลก เปลี่ยนเรียนรูซ ึ่ง
กนั และกนั บุคคลท่ีสําคญั และเก่ียวขอ งกบั การจดั การความรู มีดังตอ ไปนี้

“คุณเอ้ือ” ชือ่ เต็มคือ “คุณเอือ้ ระบบ” เปนผูน ําระดับสูงขององคกร หนาที่สําคัญ คือ 1)
ทําใหการจัดการความรู เปนสวนหนึ่งของการปฏิบัติงานตามปกติขององคกร 2) เปดโอกาส
ใหทุกคนใหองคกรเปน “ผูน ํา” ในการพัฒนาวิธีการทํางานที่ตนรับผิดชอบ และ นํา
ประสบการณมาแลกเปลีย่ นเรียนรูก ับเพื่อนรวมงาน สรางวัฒนธรรมการเอื้ออาทรและ แบงปน
ความรู และ 3) หากุศโลบายทําใหความสําเร็จของการใชเครื่องมือการจัดการความ รูมีการ
นาํ ไปใชมากขนึ้

“คุณอํานวย” หรือผูอํานวยความสะดวกในการจัดการความรู เปนผูก ระตุน สงเสริม
ใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู และอํานวยความสะดวกตอการแลกเปลี่ยนเรียนรู นําคนมา
แลกเปลี่ยนประสบการณการทํางานรวมกัน ชวยใหคนเหลานัน้ สือ่ สารกันใหเกิดความเขาใจ
เหน็ ความสามารถของกนั และกนั เปน ผเู ช่อื มโยงคนหรอื หนวยงานเขามาหากัน โดยเฉพาะ อยาง
ยิ่งเชือ่ มระหวางคนที่มีความรูหรือประสบการณกับผูตองการเรียนรู และนําความรูน ัน้ ไปใช
ประโยชน คุณอํานวยตองมีทักษะทีส่ ําคัญคือ ทักษะการสือ่ สารกับคนที่แตกตางหลาก หลาย
รวมทง้ั ตอ งเหน็ คณุ คาของความแตกตา งหลากหลาย และรจู กั ประสานความแตกตา ง เหลา นน้ั ใหม ี
คุณคาในทางปฏิบัติ ผลกั ดนั ใหเ กดิ การพฒั นางาน และติดตามประเมินผลการ ดําเนินงาน คนหา
ความสาํ เรจ็ หรือการเปลยี่ นแปลงทตี่ องการ

“คุณกิจ” คือ เจาหนาที่ ผูปฏิบัติงาน คนทํางานทีร่ ับผิดชอบงานตามหนาทีข่ อง ตน
ในองคกร ถือเปนผูจัดการความรูตัวจริง เพราะเปนผูด ําเนินกิจกรรมการจัดการความรู มี
ประมาณรอยละ 90 ของทั้งหมด เปนผูรวมกันกําหนดเปาหมายการใชการจัดการความรู ของ
กลุม ตน เปนผูคนหาและแลกเปลี่ยนเรียนรภู ายในกลุม และดาํ เนนิ การเสาะหาและดูด ซับความรู
จากภายนอกเพอ่ื นาํ มาประยกุ ตใ ชใหบรรลุเปาหมายรว มทก่ี าํ หนดไว เปนผดู าํ เนนิ การจดบันทึก
และจัดเกบ็ ความรใู หห มุนเวียนตอยอดความรไู ป

98

“คุณลิขิต” คอื คนท่ที าํ หนาทจ่ี ดบันทกึ กจิ กรรมจัดการความรูตาง ๆ เพือ่ จัดทํา เปน
คลังความรูขององคก ร

ในการจัดการความรูที่อยูในคน โดยการแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน จากการเลาเรื่อง สู
กันฟง บุคคลทีส่ งเสริมสนับสนุนใหมีการรวมตัวกันเพื่อเลาเรื่องคือผูน ําสูงสุด หรือทีเ่ รียกวา
“คุณเอ้ือ” เมือ่ รวมตัวกันแลวแตละคนไดเลาเรื่องที่ประสบผลสําเร็จจากการปฏิบัติของตนเอง
ออกมาใหเพื่อนฟง คนทีเ่ ลาเรือ่ งแตละเรื่องนัน้ เรียกวา “คุณกิจ” และในระหวงที่เลาจะมี
การซักถามความรู เพื่อใหเห็นแนวทางของการปฏิบัติ เทคนิค เคล็ดลับในการทํางานให
ประสบผลสําเร็จ ผูท ี่ทําหนาทีเ่ รียกวา “คุณอํานวย” และในขณะที่เลาเรือ่ งจะมีผูคอยจด
บันทึก โดยเฉพาะเคล็ดลับ วิธีการทํางานใหประสบผลสําเร็จ นั่นคือ “คุณลิขิต” ซ่ึงก็
หมายถึงคนที่คอยจดบันทึกนั่นเอง เมือ่ ทุกคนเลาจบ ไดฟงเรือ่ งราววิธีการทํางานใหประสบ
ผลสาํ เรจ็ แลว ทกุ คนชว ยกนั สรปุ ความรทู ีไ่ ดจ ากการสรปุ น้ี เรยี กวา “แกน ความรู” นน้ั เอง

เคร่ืองมอื ท่เี ก่ยี วขอ งกบั การจัดการความรู

การจดั การความรู หวั ใจสาํ คัญคอื การจดั การความรูท่อี ยใู นตัวคน เครอื่ งมือท่ี เก่ยี วของ
กบั การจดั การความรูเพื่อการแลกเปลีย่ นเรียนรู จงึ มหี ลากหลายรูปแบบ ดงั น้ี

1. การประชุม (สัมมนา ปฏิบัติการ) ทัง้ ทีเ่ ปนทางการและไมเปนทางการ เปน การ
แลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน หนวยงานองคกรตาง ๆ มีการใชเครื่องมือการจัดการความรู ใน
รปู แบบนกี้ นั มาก โดยเฉพาะหนว ยงานราชการ

2. การไปศึกษาดูงาน น่ันคือแลกเปลีย่ นเรียนรูจ ากการไปศึกษาดูงาน มีการ
ซักถาม หรือจัดทําเวทีแสดงความคิดเห็นในระหวางไปศึกษาดูงาน ก็ถือเปนการแลกเปลี่ยน
ความรูร ว มกนั คือ ความรยู า ยจากคนไปสคู น

3. การเลาเรื่อง (storytelling) เปนการรวมกลุมกันของผูป กิบัติงานที่มีลักษณะ
คลายกัน ประมาณ 8-10 คน แลกเปลี่ยนเรียนรูโ ดยการเลาเรื่องสูกันฟง การเลาเรือ่ งผูฟง
จะตองนั่งฟงอยางมีสมาธิ หรือฟงอยางลึกซึง้ จะทําใหเขาใจในบริบทหรือสภาพความเปนไป
ของเร่อื งที่เลา เมอ่ื แตละคนเลาจบ จะมีการสกดั ความรูท่ีเปนเทคนิค วิธีการทีท่ ําใหงาน ประสบ
ผลสําเร็จออกมา งานที่ทําจนประสบผลสําเร็จเรียกวา best practice หรือการปฏิบัติ งานทีเ่ ลิศ

99

ซึ่งแตละคนอาจมีวิธีการที่แตกตางกัน ความรูท ีไ่ ดถือเปนการยกระดับความรูใ หกับ คนที่ยังไม
เคยปฏิบัติ และสามารถนําความรทู ไ่ี ดรับประยกุ ตใ ชเ พ่ือพฒั นางานของตนเองได

4. ชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice : CoPs) เปนการรวมตัวกันของ คนที่
สนใจเร่ืองเดียวกนั รวมตัวกันเพอ่ื แลกเปล่ยี นทั้งเปนทางการ ผา นการสอ่ื สารหลาย ๆ ชอง ทาง
อาจรวมตวั กนั ในลกั ษณะของการประชุม สัมมนา และแลกเปล่ยี นความรกู นั หรอื การ รวมตวั ใน
รูปแบบอืน่ เชน การตัง้ เปนชมรม หรือใชเทคโนโลยีในการแลกเปลี่ยนความรูกัน ในลักษณะ
ของเว็บบล็อก ซึ่งสามารถแลกเปลีย่ นเรียนรูก ันไดทุกที่ ทุกเวลา และประหยัดค ใชจายอีกดวย
การแลกเปลีย่ นเรยี นรูจะทาํ ใหเกดิ การพัฒนาความรู และตอยอดความรู

5. การสอนงาน หมายถึง การถายทอดความรูหรือบอกวิธีการทํางาน การชวย
เหลือใหคําแนะนํา ใหกําลังใจแกเพื่อนรวมงาน รวมทั้งการสรางบรรยากาศเพื่อถายทอดและ
แลกเปลย่ี นความรจู ากคนท่ีรมู าก ไปสคู นท่รี ูน อยในเรอ่ื งน้ัน ๆ

6. เพอ่ื นชวยเพอื่ น (Peer Assist) หมายถึง การเชิญทีมอืน่ มาแบงปนประสบ การณ
ดี ๆ ทีเ่ รียกวา best practice ใหเรา มาแนะนํา มาสอน มาบอกตอ หรือมาเลาให เราฟง เพื่อ
เราจะไดนําไปประยุกตใชในองคกรของเราได และเปรียบเทียบเปนระยะ เพื่อยก ระดับความรู
และพัฒนางานใหด ยี ง่ิ ข้นึ ตอ ไป

7. การทบทวนกอนการปฏิบัติงาน (Before Aciton Review : BAR) เปนการ
ทบทวนการทํางานกอนการปฏิบัติงาน เพือ่ ดูความพรอมกอนเริ่มการอบรม ใหความรู หรือ ทํา
กจิ กรรมอื่น ๆ โดยการเชิญคณะทํางานมาประชุมเพื่อตรวจสอบความพรอม แตละฝาย นําเสนอ
ถึงความพรอมของตนเองตามบทบาทหนาที่ทีไ่ ดรับ การทบทวนกอนการปฏิบัติงาน จึงเปนการ
ปองกนั ความผดิ พลาดทจี่ ะเกิดข้ึนกอนการทํางานน่นั เอง

8. การทบทวนขณะปฏิบัติงาน (During Action Review : DAR) เปนการทบทวน ใน
ระหวางที่ทํางาน หรือจัดอบรม โดยการสังเกตและนําผลจากการสังเกตมาปรึกษาหารือ และ
แกป ญ หาในขณะทาํ งานรว มกนั ทําใหลดปญ หา หรอื อปุ สรรคในระหวา งการทาํ งานได

9. การทบทวนหลังการปฏิบัติงาน (After Action Review : AAR) เปนการติดตาม
ผลหรือทบทวนการทํางานของผูเขารวมกิจกรรม หรือคณะทํางานหลังเลิกกิจกรรมแลว โดย
การนงั่ ทบทวนสง่ิ ทไ่ี ดป ฏบิ ตั ิไปรวมกนั ผา นการเขยี นและการพดู ดว ยการตอบคาํ ถามงา ย ๆ วา
คาดหวงั อะไรจากการทาํ กจิ กรรมน้ี ไดตามท่ีคาดหวังหรือไม ไดเพราะอะไร ไมไดเพราะ อะไร
และจะทําอยางไรตอไป


Click to View FlipBook Version