The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ทักษะการเรียนรู้ 21001

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ทักษะการเรียนรู้ 21001

ทักษะการเรียนรู้ 21001

200

การวเิ คราะห 5 ศกั ยภาพของพื้นท่ี ในกลมุ อาชพี ใหมด านความคดิ สรา งสรรค

ท่ี ศกั ยภาพ รายละเอยี ดท่ีควรพิจารณาในประเด็น

1 การวเิ คราะหท รพั ยากรธรรมชาตใิ นแต ขอมูลของทรัพยากรธรรมชาติ ที่พอเพียง และสะดวกในการเขาถึง

ละพื้นที่

2 การวเิ คราะหพนื้ ทีต่ ามลกั ษณะภมู ิอากาศ - อุณห ภมู ิ ความชื้น ความกดอากาศ ลม และปรมิ าณนํ้า ฝน รวมไป
2 2 2 2 2

ถงึ ปจ จัยที่เกย่ี วของอ่ืนในทางอุตุนยิ มวิทยา
2

ท่ีต้ังตามแนวละติจูด ความใกลไกลจากทะเล

33

- มีขอมูลของภูมิอากาศ

3 การวเิ คราะหภูมปิ ระเทศ และทาํ เลท่ีตงั้ มขี อมูลภมู ิประเทศ และทําเลท่ตี ้งั ตา ง ๆ

ของแตละพนื้ ท่ี

4 การวิเคราะหศ ิลป วัฒนธรรม ประเพณี มีขอมลู เกย่ี วกับวัฒนธรรม ประเพณี ทผ่ี สมผสานของหลายพืน้ ที่

และวถิ ชี วี ติ ของแตละพน้ื ท่ี

5 การวเิ คราะหทรัพยากรมนษุ ยใ นแตล ะ มีแรงงานที่มีทักษะฝมือ ความรู ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

พืน้ ที่ การสงเสริมโอกาสทางการศึกษาอยางตอเนื่อง

201

5. กลุมอาชพี ใหมด า นบรหิ ารจดั การและการบรกิ าร
กลมุ ทองเที่ยว ไดแก การอบรมมัคคุเทศก พนักงานบรกิ ารอาหารและเครอ่ื งดม่ื

พนักงานผสมเครื่องดื่ม การทําอาหารวางนานาชาติ การฝกอบรมภาษา และธรุ กิจโฮมสเตย
กลุมสุขภาพ ไดแ ก การนวดแผนไทย นวดลกู ประคบ สปาการดูแลเดก็ และผสู ูงอายุ
กลมุ การซอมแซม และบํารุงรักษา การซอมเครื่องปรับอากาศรถยนต การซอ ม

เคร่ืองยนตด ีเซล การซอ มเคร่ืองยนตเ บนซนิ การซอมเครื่องยนตเ ล็กเพอ่ื การเกษตรการซอมจักร
อุตสาหกรรม

คมนาคมและการขนสง จาํ นวน 1 หลักสตู ร
วชิ าชีพดา น Logistics หรือการขนสงสินคาทางอากาศและทางเรือ
การกอ สราง
กลุมชา งตา ง ๆ เชน การปูกระเบ้อื ง ชางไมกอสราง ชางสีอาคาร
กลมุ การผลติ วัสดกุ อ สรา ง เชน การทําบล็อคคอนกรีต การผลิตซีเมนต

ตัวอยา งอาชพี การพฒั นากลมุ อาชพี ทอผาพน้ื เมือง

ใ3 นปจจุบัน3นี้ ผาพื้นเมืองของไทยในภาคตางๆ กําลังไดรับการอนุรักษฟน ฟู และพัฒนา รวมท้ัง
ไดรับการสงเสริมใหนํามาใชสอยในชีวิตประจําวันกันอยางกวางขวางมาก ดังนั้น จึงเกิดมีการผลิตผา
พืน้ เมืองในลักษณะอุตสาหกรรมโรงงาน โดยมีบริษัทจางชางทอ ทําหนาทีท่ อผาดวยมือตามลวดลายที่
กําหนดให โรงงานหรือบริษัทจัดเสนไหมหรือเสนดายทีย่ อมสีเสร็จแลวมาใหทอ เพือ่ เปนการควบคุม
คุณภาพ บางแหงจะมีคนกลางรับซื้อผาจากชางทออิสระซึง่ เปนผูปน ดาย ยอมสี และทอตามลวดลายที่
ตองการเองที่บาน แตคนกลางเปนผูก ําหนดราคาตามคุณภาพและลวดลายของผาที่ตลาดตองการในบาง
จังหวัดมีกลุมแมบานชางทอผาทีร่ วมตัวกันทอผาเปนอาชีพเสริม และนําออกขายในลักษณะสหกรณ
เชน กลุมทอผาของศิลปาชีพอยางไรก็ตามในสภาพที่ไดกลาวมาแลวขางตนนั้นเปนการทอเพื่อขายเปน
หลัก การทอผาพืน้ บานพืน้ เมืองหลายแหงยังทอลวดลายสัญลักษณดัง้ เดิม โดยเฉพาะในชุมชนทีม่ ีเชื้อ
สายชาติพันธุบ างกลุม ทีก่ ระจายตัวกันอยูใ นภาคตางๆ ของประเทศไทย ศิลปะการทอผาของกลุม ชน
เหลานีจ้ ึงนบั วาเปนเอกลกั ษณเ ฉพาะกลุมอยูจ นถึงทุกวนั นี้ หากจะแบงผาพื้นเมืองของกลุมชนเหลานี้ตาม
ภาคตางๆ เพือ่ ใหเห็นภาพชัดเจนขึ้นในภูมิภาคตางๆ และมีการปรับปรุงพัฒนาสีสัน คุณภาพ และ

0

ลวดลาย ใหเขากับรสนิยมของตลาด ดังน้ัน ผูเรียนจึงควรมีความรู ความสามารถ ทักษะและเจตคติ
เกี่ยวกับการวิเคราะหสภาพกลุม อาชีพ/ธุรกิจของกลุม อาชีพทอผาพื้นเมือง และวิเคราะหสถานภาพของ
กลมุ อาชีพ/ธุรกิจ

202

การวเิ คราะห 5 ศักยภาพของพน้ื ท่ี ในกลุมอาชีพใหมดานบริหารจัดการและการบริการ

ท่ี ศักยภาพ รายละเอียดที่ควรพิจารณาในประเด็น

1 การวเิ คราะหท รพั ยากรธรรมชาตใิ นแต มีทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถนํามาเปนวัตถุดิบ

ละพ้นื ที่

2 การวิเคราะหพ ้นื ท่ีตามลกั ษณะภมู ิอากาศ มีภูมิอากาศที่เหมาะสม

3 การวเิ คราะหภูมปิ ระเทศ และทาํ เลท่ตี ้งั - เปนศูนยกลางหัตถอุตสาหกรรม

ของแตล ะพน้ื ท่ี - มถี นนท่ีเอื้อตอการบรกิ ารดานการคา การลงทุน และการ

ทองเที่ยวเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบาน สามารถติดตอคาขายกับ

ประเทศเพ่ือนบา น มพี ้นื ท่ีชายแดนติดกับประเทศเพื่อนบาน มี

อาณาเขตตดิ ตอ กบั ประเทศเพ่อื นบาน การคาชายแดน

4 การวิเคราะหศ ลิ ป วัฒนธรรม ประเพณี มีแหลงอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ ทุนทางสังคมและวัฒนธรรม

และวถิ ีชวี ิตของแตล ะพืน้ ที่

5 การวเิ คราะหท รพั ยากรมนุษยในแตล ะ มีภมู ปิ ญญา และฝมอื แรงงาน

พืน้ ที่

กิจกรรม

1. ใหผเู รียนรวมกลุมและวิเคราะหศักยภาพหลักของพ้ืนในการพฒั นาอาชพี วาในพน้ื ทีม่ ี

ศกั ยภาพดา นใดบาง

2. ใหผูเรียนยกตัวอยา งอธบิ ายและหาเหตุเก่ยี วกบั ศักยภาพภายในและศักยภาพภายนอกที่

เกี่ยวของกับกับการประกอบอาชีพ

203

บรรณานกุ รม

ชัยยศ อิ่มสุวรรณ. “คิดเปนคอื คดิ พอเพียง”. วารสาร กศน., มีนาคม 2550, หนา 9 – 11.
ชุมพล หนูสง และคณะ 2544. ปรัชญาคิดเปน (หนังสือรวบรวมคําบรรยายและบทสัมภาษณ ดร.โกวทิ

วรพิพัฒน ในโอกาสตาง ๆ) กรุงเทพฯ : โรงพมิ พอ กั ษรไทย
ทองอยู แกวไทรฮะ. “คดิ เปน : เพือ่ นเรียนรสู อู นาคต”. วารสาร กศน. มีนาคม 2550, หนา 12 – 16.
“________________”, 2546. ใตร ม ไทร (หนงั สอื เกษียณอายุราชการ ทองอยู แกวไทรฮะ). กรุงเทพฯ :

โรงพมิ พองคการรับสงสินคาและพสั ดุภณั ฑ (ร.ส.พ.)
สนอง โลหิตวเิ ศษ, 2544. ปรัชญาการศกึ ษาผใู หญแ ละการศกึ ษานอกระบบ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย

ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
หนว ยศกึ ษานิเทศก, 2552. คัมภีร กศน. เอกสารหลกั การและแนวคดิ ประกอบการดาํ เนินงาน กศน.

กรุงเทพฯ : หนว ยศกึ ษานเิ ทศก, สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศยั .
อนุ ตา นพคณุ , 2528. แนวคิดทางการศกึ ษานอกโรงเรยี นและการพัฒนาชมุ ชน เรือ่ ง คิดเปน . กรุงเทพฯ :

กรุงสยามการพิมพ.
กลุ ขณษิ ฐ ราเชนบุณขวัทน. เอกสารประกอบการบรรยายเร่ืองกระบวนการวจิ ยั . ในการประชุม

สัมมนางานวิจัยโครงการวิจัยพัฒนาคุณภาพ กศน. ปงบประมาณ 2552 (วันที่ 29-30 มถิ นุ ายน
2552)
บุญใจ ศรีสถติ นรากูร. ระเบยี บวธิ ีการวจิ ัยทางพยาบาลศาสตร. พมิ พครง้ั ท่ี 3 กรงุ เทพฯ :

บรษิ ัทยูแอนดไ อ อินเตอรม ีเดีย จาํ กัด, 2547
พนติ เข็มทอง. เอกสารประกอบการบรรยายเรอื่ งมโนทศั นการวจิ ยั ในชั้นเรียน. ในการประชุม

สัมมนางานวิจัยโครงการวิจัยพัฒนาคุณภาพ กศน. ปงบประมาณ 2552 (วันท่ี 29-30 มถิ นุ ายน
2552)
พิสณุ ฟองศรี. วิจัยชั้นเรยี น หลักการและเทคนคิ ปฏบิ ัติ. พิมพค รัง้ ท่ี 7.

กรุงเทพฯ : ดานสุทธาการพิมพ, 2551.
ไมตรี บุญทศ. คมู อื การทาํ วิจยั ในโรงเรียน. กรุงเทพฯ : สุรวี ิยาศาสน, 2549.
ศริ ิรัตน วีรชาตินานกุ ลู ความรเู บ้ืองตนเก่ียวกบั สถติ ิและการวิจัย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย กรุงเทพ, 2545
สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. วิจยั แผนเดียว : เสน ทางสคู ุณภาพการอาชวี ศึกษา. กรุงเทพฯ :

สํานักงานวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา, 2547.
สมเจตน ไวทยาการณ. หลักและการวิจัย. นครปฐม : โรงพิมพมหาวิทยาลัยศิลปากร, 2544

204

ทป่ี รกึ ษา คณะผจู ดั ทาํ
1. นายประเสรฐิ บญุ เรอื ง
เลขาธิการ กศน.
2. ดร.ชัยยศ อมิ่ สวุ รรณ รองเลขาธิการ กศน.
รองเลขาธิการ กศน.
3. นายวชั รนิ ทร จําป ท่ปี รึกษาดา นการพัฒนาหลกั สตู ร กศน.
ผอู ํานวยการกลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
4. ดร.ทองอยู แกว ไทรฮะ
กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
5. นางรักขณา ตัณฑวุฑโฒ
ผเู ขยี นและเรียบเรียง กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
1. บทที่ 1 การเรยี นรดู วยตนเอง
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
ดร.รุง อรณุ ไสยโสภณ
ที่ปรึกษาดา นการพัฒนาหลกั สูตร กศน.
2. บทที่ 2 การใชแ หลง เรียนรู
ขาราชการบํานาญ
ดร.รงุ อรณุ ไสยโสภณ
กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
3. บทที่ 3 การจัดการความรู
รกั ษาการในตาํ แหนงผูอํานวยการ
ดร.รุงอรณุ ไสยโสภณ สํานักงาน กศน. จังหวดั เพชรบรุ ี
สถาบนั สงเสรมิ และพัฒนานวัตกรรมการเรยี นรู
4. บทที่ 4 คิดเปน
สาํ นักงาน กศน.จังหวัดสมุทรสงคราม
ดร.ทองอยู แกว ไทรฮะ สถาบันการศึกษาและพฒั นาตอ เนอื่ งสิรนิ ธร

5. บทที่ 5 การวิจัยอยางงาย ที่ปรึกษาสํานักงาน กศน.

นางศิริพรรณ สายหงษ
ผบู รรณาธกิ าร และพัฒนาปรับปรงุ
1. บทที่ 1 การเรยี นรดู วยตนเอง

ดร.รุงอรุณ ไสยโสภณ

2. บทที่ 2 การใชแหลง เรียนรู

นายธวัชชัย ใจชาญสุขกิจ

นางสาวสุพัตรา โทวราภา

3. บทที่ 3 การจัดการความรู

นางอัจฉรา ใจชาญสุขกิจ

นางณฐั พร เชื้อมหาวัน

4. บทที่ 4 คดิ เปน

ดร.ทองอยู แกว ไทรฮะ

205

5. บทที่ 5 การวิจัยอยางงาย

นางศิริพรรณ สายหงษ ขาราชบํานาญ
ขาราชบํานาญ
นางพิชญาภา ปติวรา
คณะทํางาน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
1. นายสุรพงษ มน่ั มะโน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
2. นายศุภโชค ศรีรัตนศิลป กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
3. นางสาววรรณพร ปทมานนท
กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
4. นางสาวศริญญา กุลประดิษฐ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
5. นางสาวเพชรินทร เหลอื งจิตวฒั นา กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
ผูพ มิ พตนฉบับ กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
1. นางปย วดี คะเนสม กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

2. นางเพชรินทร เหลอื งจิตวฒั นา กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

3. นางสาวกรวรรณ กวีวงษพิพัฒน

4. นางสาวชาลีนี ธรรมธษิ า

5. นางสาวอริศรา บานชี

ผูออกแบบปก ศรรี ัตนศลิ ป
นายศภุ โชค

206

คณะผูพฒั นาและปรับปรงุ ครง้ั ท่ี 2

ท่ปี รึกษา

1. นายประเสรฐิ บญุ เรอื ง เลขาธิการ กศน.
รองเลขาธิการ กศน.
2. ดร. ชัยยศ อิ่มสวุ รรณ รองเลขาธิการ กศน.
3. นายวชั รนิ ทร จําป ผเู ช่ียวชาญเฉพาะดา นพัฒนาส่ือการเรยี นการสอน
4. นางวทั นี จันทรโ อกุล ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานเผยแพรทางการศึกษา
5. นางชุลีพร ผาตนิ นิ นาท หวั หนา หนว ยศกึ ษานเิ ทศก
6. นางอัญชลี ธรรมวิธีกุล ผูอาํ นวยการกลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
7. นางศุทธินี งามเขตต
ที่ปรึกษากลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
ผูพัฒนาและปรบั ปรงุ ครัง้ ท่ี 2 หวั หนา กลมุ พฒั นาการเรยี นการสอน
1. ดร.ทองอยู แกว ไทรฮะ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
2. ดร.รงุ อรุณ ไสยโสภณ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

3. นายสมชาย ฐติ ิรัตนอัศว

4. นางสาววรรณพร ปทมานนท

5. นางสาวชาลินี ธรรมธษิ า


Click to View FlipBook Version