The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ทักษะการเรียนรู้ 21001

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ทักษะการเรียนรู้ 21001

ทักษะการเรียนรู้ 21001

100

10. การจัดทําดัชนีผูรู คือการรวบรวมผูทีเ่ ชี่ยวชาญ เกงเฉพาะเรือ่ ง หรือภูมิปญญา
มารวบรวมจัดเก็บไวอยางเปนระบบ ทัง้ รูปแบบที่เปนเอกสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส เพือ่ ใหคน
ไดเ ขา ถงึ แหลง เรียนรไู ดงา ย และนําไปสูกิจกรรมการแลกเปลย่ี นรตู อ ไป

เครื่องมือในการแลกเปลี่ยนเรียนรูนี้เปนเพียงสวนหนึ่งของเครื่องมืออีก
หลายชนดิ ท่ี นําไปใชในการจัดการความรู เครื่องมือทีม่ ีผูน ํามาใชมากในการแลกเปลีย่ นเรียนรู
ในระดบั ตนเองและระดับกลุม คือ การแลกเปลี่ยนเรียนรูโดยเทคนิคการเลาเรือ่ ง การเลาเรือ่ ง
เปน การแลกเปลี่ยนเรียนรูจ ากวิธีการทํางานของคนอื่นที่ประสบผลสําเร็จ หรือที่เรียกวา Best
practice เปนการเรียนรูทางลัด นัน่ คือเอาเทคนิควิธีการทํางานทีค่ นอืน่ ทําแลวประสบผล สําเร็จ
มาเปนบทเรียน และนําวิธีการนั้นมาประยุกตใชกับตนเอง เกิดวิธีการปฏิบัติใหมทีด่ ี ขึน้ กวาเดิม
เปนวงจรเร่อื ยไปไมส ้นิ สดุ การแลกเปล่ียนเรยี นรูจากการเลาเรอื่ ง มลี กั ษณะ ดงั นี้

การเลา เรื่อง

การเลาเร่อื ง หรอื Storytelling เปนเครื่องมืออยางงายในการจัดกาความรู ซึ่งมีวิธี การ
ไมยุง ยากซับซอน สามารถใชไดกับทุกกลุมเปาหมาย เปนการเลาประสบการณในการ ทํางาน
ของแตล ะคนวา มวี ิธีการทําอยางไรจงึ จะประสบผลสําเร็จ

กจิ กรรมเลา เรอ่ื ง ตอ งทาํ อะไรบา ง
กิจกรรมจัดการความรู โดยใชเทคนิคการเลา เร่ือง ประกอบดว ยกจิ กรรมตา ง ๆ ดังนี้
1. ใหคุณกิจ (สมาชิกทุกคน) เขียนเรื่องเลาประสบการณความสําเร็จในการทํางาน

ของตนเอง เพือ่ ใหความรูฝ งลึกในตัว (Tacit Knowledge) ปรากฏออกมา เปนความรูชัดแจง
(Expicit Knowledge)

2. เลาเรอ่ื งความสาํ เรจ็ ของตนเอง ใหสมาชกิ ในกลมุ ยอยฟง
3. คุณกิจ (สมาชิก) ในกลุม ชวยกันสกัดขุมความรู จากเรื่องเลา เขียนบนกระดาษ
ฟลิปชารต
4. ชวยกันสรุปขุมความรูท ีส่ กัดไดจากเรือ่ ง ซึ่งมีจํานวนหลายขอ ใหกลายเปนแกน
ความรู ซ่ึงเปนหัวใจท่ีทําใหง านประสบผลสําเรจ็
5. ใหแ ตล ะกลมุ คัดเลือกเรื่องเลา ทดี่ ีท่สี ุด เพ่อื นําเสนอในท่ีประชุมใหญ
6. รวมเรื่องเลาของทุกคน จัดทําเปนเอกสารคลังความรูข ององคกร หรือเผยแพร
ผานทางเว็บไซต เพอื่ แบงปนแลกเปลย่ี นความรู และนาํ มาใชป ระโยชนใ นการทาํ งาน

101

ตัวอยางเรอ่ื งเลา “ประสบการณค วามสาํ เรจ็

“...แซน อกี แลว ! ทําไม เธอถึงเกเรอยางนี้ นเี่ ปน คร้ังทีเ่ ทา ไหรละ ทีช่ อบรังแกเด็ก ครูเอือมระอา
เธอเหลือเกิน”

เสียงครูเวรประจําวัน ซึง่ สุภาพสตรีวัยกลางคน กลาวตําหนิ ด.ช.แซน ผูก ําพราพอแม ตอหนา
เพอ่ื น ๆ ท่หี นา เสาธง

จากนน้ั ก็หันมาใสอารมณก บั ขาพเจาท่ียนื ดอู ยูขา ง ๆ
“ครูสมชาย ชว ยจัดการใหพ ีท่ ีเถอะ พ่ไี มรจู ะทําอยา งไรกบั เดก็ เกเรคนนแี้ ลว ”
ขาพเจาตอบรับไปสั้น ๆ ดว ยคาํ วา “ครบั ” พรอมกับความรูหลายอยางที่อัดแนนอยูในใจ ทีย่ าก

จะอธิบาย
ขาพเจาไปหาแซน ซึง่ อาศัยอยูก ับยายในเย็นวันหนึง่ พรอมของฝากเล็ก ๆ นอย ๆ พูดคุย สาระ

ทุกขสุขดิบแบบคนคุน เคยกัน ตามประสาครูบานนอก ทําใหทราบขอมูลเชิงลึกวา พอ และแมของ
แซนเสียชีวิต ดวยโรคภูมิคุมกันบกพรอง และตอนที่ยังมีชีวิตอยู ก็มักทะเลาะตบตี กันใหลูกเห็นเปน
ประจาํ ขาพเจากลับบานพรอมโจทยขอใหญ

รุงขึน้ ขาพเจาเรียกแซนมาคุย ชวนใหมาชวยทํางานในวันเสารอาทิตย เพือ่ หารายได เสริม
เชน ปลูกผักสวนครวั เพาะชํากลาไม ซงึ่ ขา พเจา เปนผูร บั ซอื้ เอง

จากวนั นน้ั วนั ทแ่ี ซนเรยี นอยชู ้นั ม.1 มีพฤตกิ รรมคือ...เกเร...ไมต้ังใจเรยี น....
จนถงึ วนั ท่ี 23 มีนาคม 2551 แซนจบชน้ั ม.3 ดวยเกรดเฉล่ีย 3.68 สอบเขาเรียนตอ ชั้น ม.4

โรงเรียนมัธยมประจําอําเภอ ในโปรแกรมวิทย-คณิตได มีรายไดสะสมเปนตัวเลขเงินใน บัญชีธนาคาร
จากการหารายไดพเิ ศษระหวา งเรยี น เปน จาํ นวนเงนิ หมน่ื กวา บาท

หลังเสรจ็ พธิ ีรับประกาศนียบัตร ช้ัน ม.3 แซนมากราบที่ตักของขาพเจา พรอมพูดดวย น้ําเสียงที่
สั่นเครือ และน้ําตาของความปลื้มปติวา...

“ครคู รบั ! ถาไมม ีครูผมคงไมมวี ันนีค้ รบั ”
น้ําตาของขาพเจาไหลซึมโดยไมรตู ัว
ตบไหลแ ซนแรง ๆ กอดซาํ้ อกี ทหี นึ่ง เหมอื นกอดลกู ชาย
ดใี จดว ยจรงิ ๆ วะ สูตอ ไปนะ...นะ...แซน...

102

ชมุ ชนนกั ปฏบิ ตั หิ รือชมุ ชนแหงการเรยี นรู (CoPs)

ในชุมชนมีปญหาซับซอน ที่คนในชุมชนตองรวมกันแกไข การจัดการความรูจึงเปน
เรือ่ งทีท่ ุกคนตองใหความรวมมือ และใหขอเสนอแนะในเชิงสรางสรรค การรวมกลุม เพือ่
แกปญหา หรือรวมมือกันพัฒนาโดยการแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน เรียกวา “ชุมชนนักปฏิบัติ”
บุคคลในกลมุ จงึ ตอ งมีเจตคติทีด่ ีในการแบงปนความรู นําความรูท ี่มีอยูมาพัฒนากลุม จาก การลง
มอื ปฏบิ ตั ิ และเคารพในความคิดเห็นของผูอ น่ื

ชุมชนนกั ปฏิบตั ิคืออะไร

ชุมชนนักปฏิบัติ คือ คนกลุมเล็ก ๆ ซึง่ ทํางานดวยกันมาระยะหนึง่ มีเปาหมายรวม
กัน และตองการที่จะแบงปนแลกเปลี่ยนความรู ประสบการณจากการทํางานรวมกัน กลุม
ดังกลาวมักจะไมไดเกิดจากการจัดตัง้ โดยองคกร หรือชุมชน เปนกลุม ที่เกิดจากความตองการ
แกป ญ หา พฒั นาตนเอง เปนความพยายามท่จี ะทาํ ใหความฝนของตนเองบรรลผุ ลสําเร็จ กลุมที่
เกิดขึ้นไมมีอํานาจใด ๆ ไมมีการกําหนดไวในแผนภูมิโครงสรางองคกร ชุมชน เปา หมายของ
การเรียนรูของคนมีหลายอยาง ดังนัน้ ชุมชนนักปฏิบัติจึงมิไดมีเพียงกลุม เดียว แต เกิดขึน้ เปน
จาํ นวนมาก ทง้ั น้อี ยทู ี่ประเดน็ เนอื้ หาท่ีตองการจะเรียนรรู วมกันน่ันเอง และคน คนหนึ่งอาจจะ
เปน สมาชกิ ในหลายชมุ ชนกไ็ ด

ชุมชนนักปฏิบตั มิ ีความสําคญั อยางไร

ชมุ ชนนกั ปฏิบตั ิเกิดจากกลุมคนทมี่ ีเครือขายความสัมพนั ธที่ไมเปน ทางการมารวมตวั กนั
เกิดจากความใกลชิด ความพอใจจากการมีปฏิสัมพันธรวมกัน การรวมตัวกันในลักษณะ ที่ไม
เปนทางการจะเอื้อตอการเรียนรู และการสรางความรูใหม ๆ มากกวาการรวมตัวกันอยาง เปน
ทางการ มีจุดเนน คือตองการเรียนรูรวมกันจากประสบการณการทํางานเปนหลัก การ ทํางาน
ในเชิงปฏิบัติ หรอื จากปญหาในชีวิตประจําวนั หรือเรียนรูเครื่องมือใหม ๆ เพือ่ นํามา ใชในการ
พฒั นางาน หรือวิธีการทํางานทไ่ี ดผ ล และไมไดผล การมีปฏิสมั พันธร ะหวางบุคคล ทําใหเกิด
การถายทอดแลกเปลี่ยนความรูฝงลึก สรางความรูและความเขาใจไดมากกวาการ เรียนรูจาก
หนังสือ หรือการฝกอบรมตามปกติ เครือขายที่ไมเปนทางการ ในเวทีชุมชนนัก ปฏิบัติซึ่งมี
สมาชิกจากตางหนวยงาน ตางชุมชน จะชวยใหองคกรหรือชุมชนประสบความ สําเร็จไดดีกวา
การสอ่ื สารตามโครงการทเ่ี ปน ทางการ

103

ชุมชนนักปฏบิ ตั เิ กดิ ขน้ึ ไดอยา งไร

การรวมกลุมปฏิบัติการ หรือการกอตัวขึน้ เปนชุมชนนักปฏิบัติได ลวนเปนเรื่องที่
เกย่ี วกบั คน คนตอ งมี 3 สง่ิ ตอ ไปนีเ้ ปน เบอ้ื งตน คอื

1. ตองมีเวลา คือ เวลาทีจ่ ะมาแลกเปลีย่ นเรียนรู มารวมคิด รวมทํา รวมแกปญหา
ชว ยกนั พฒั นางาน หรือสรางสรรคสิ่งใหม ๆ ใหเกิดขึ้น หากคนที่มารวมกลุมไมมีเวลา หรือ ไม
จัดสรรเวลาไวเพื่อการนี้ กไ็ มมที างที่จะรวมกลุมปฏิบัติการได

2. ตองมเี วทหี รือพืน้ ท่ี การมเี วทหี รือพ้นื ที่คือการจัดหาหรือกําหนดสถานท่ีท่ีจะใช ใน
การพบกลุม การชุมชน พบปะพูดคุยสนทนาแลกเปลีย่ นความคิด แลกเปลีย่ นประสบ การณ
ตามทีก่ ลุม ไดชวยกันกําหนดขึ้น เวทีดังกลาวนี้อาจมีหลายรูปแบบ เชน การจัดประชุม การจัด
สัมมนา การจดั เวทปี ระชาคมเวทีขางบาน การจัดเปนมุมกาแฟ มุมอานหนังสอื เปนตน

การจัดใหมีเวทีหรือพืน้ ทีด่ ังกลาว เปนการทําใหคนไดมีโอกาสแลกเปลีย่ นเรียนรูใน
บรรยากาศสบาย ๆ เปด โอกาสใหคนท่ีสนใจเรื่องคลาย ๆ กัน หรือคนที่ทํางานดานเดียวกัน มี
โอกาสจับกลุมปรึกษาหารือกันไดโดยสะดวก ตามความสมัครใจ ในภาษาอังกฤษเรียกการ
ชุมนุมลักษณะนี้วา “Comunity of Practices” หรือเรียกยอวา CoPs ในภาษาไทยเรียก
“ชมุ ชนนกั ปฏบิ ตั ิ”

ชุมชนนักปฏิบัติเปนคําทีใ่ ชกันโดยทั่วไป และมีคําอื่น ๆ ที่มีความหมายเดียวกันน้ี
เชน ชุมชนแหงการเรียนรู ชุมชนปฏิบัติการ หรือเรียกคํายอในภาษาอังกฤษวา CoPs ก็ เปนที่
เขา ใจกนั

3. ตองมีไมตรี คนตองมีไมตรีตอกันเมื่อมาพบปะกัน การมีไมตรีเปนเรือ่ งของใจ
การมนี ้าํ ใจตอ กัน มใี จใหก นั และกนั เปน ใจทเ่ี ปดกวาง รับฟงความคดิ เห็นของผูอ่ืน พรอม รับ
ส่ิงใหม ๆ ไมติดยึดอยูก ับสิ่งเดิม ๆ มีความเอือ้ อาทร พรอมที่จะชวยเหลือเกือ้ กูลซึง่ กัน และ
กนั

การรวมกลุมปฏิบัติการ จะดําเนินไปไดดวยดี บรรลุตามเปาหมายทีต่ ั้งไว จะตองมี
เวลา เวที ไมตรี เปนองคประกอบทีช่ วยสรางบรรยากาศที่เปดกวาง และเอื้ออํานวยตอการ
แสดงความคดิ เหน็ ทห่ี ลากหลายในกลมุ จะทาํ ใหไ ดมมุ มองทีก่ วา งขวางย่ิงข้ึน

104
รปู แบบของเวทีชมุ ชนนกั ปฏิบตั ิ

การแลกเปลย่ี นเรียนรผู า นเวทีชุมชนนกั ปฏิบัตมิ ีหลากหลายรปู แบบ เชน การมารวม กลุม
กนั เพ่อื แลกเปลยี่ นความรรู ะหวา งกนั ในรูปแบบตาง ๆ เชน การประชุม การสัมมนา การจัดเวที
ประชาคม เวทีขางบาน การจัดเปนมุมกาแฟ มุมอานหนังสือ แตในปจจุบันมีการใชเทคโนโลยี
มาใชใ นการสอ่ื สาร ทําใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันผานทาง อินเตอรเน็ต ดังนัน้ รูปแบบ
ของการแลกเปลยี่ นเรียนรูท ่ีเรียกวา “เวทชี มุ ชนนกั ปฏบิ ตั ิ” จงึ มี 2 รูปแบบ ดงั น้ี

1. เวทีจรงิ เปน การรวมตวั กนั เปน กลมุ หรอื ชมุ ชน และมาแลกเปลี่ยนเรยี นรูรวมกัน ดว ย
การเห็นหนากัน พูดคุยแลกเปลีย่ นความคิดเห็น ทัง้ แบบเปนทางการและไมเปนทางการ แต
การแลกเปลี่ยนในลักษณะนี้จะมขี อจํากัดในเรอ่ื งคาใชจายในการเดินทางมาพบกัน แต สามารถ
แลกเปลย่ี นเรียนรูร ว มกนั ไดในเชิงลึก

2. เวทีเสมือน เปนการรวมตัวกันเชื่อมเปนเครือขาย เพื่อแลกเปลีย่ นเรียนรูรวมกัน
ผานทางอินเตอรเน็ต ซึ่งในปจจุบันมีการใชอินเตอรเน็ตในการสื่อสารหรือคนควาหาขอมูล
กันอยางแพรหลายทัง้ ในประเทศและตางประเทศ การแลกเปลี่ยนเรียนรูใ นลักษณะนีเ้ ปนการ
แลกเปลีย่ นเรียนรูแ บบไมเปนทางการ มีปฏิสัมพันธกันผานทางออนไลน จะเห็นหนากันหรือ
ไมเห็นหนากันก็ได และจะมีความรูสึกเหมือนอยูใ กลกัน จึงเรียกวา “เวทีเสมือน” น่ันคือ
เสมือนอยูใ กลกันนัน่ เอง การแลกเปลีย่ นเรียนรูจะใชวิธีการบันทึกผานเว็บบล็อก ซึ่งเหมือน
สมุดบันทึกเลมหนึง่ ทีอ่ ยูใ นอินเตอรเน็ต สามารถบันทึกเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูแ ละสงขอมูล
หากนั ไดท กุ ท่ี ทกุ เวลา และประหยดั คาใชจายเนือ่ งจากไมตอ งเดนิ ทางมาพบกัน

105

ชมุ ชนแหง การเรยี นรู

ชุมชนแหงการเรียนรู คือการที่คนในชุมชนเขารวมในกระบวนการเรียนรู พรอมที่จะ
เปน ผูใ หความรูแ ละรับความรู จากการแบงปนความรูท ั้งในตนเองและความรูใ นเอกสารใหแกกัน
และกนั ชุมชนแหงการเรียนรูจึงมีทั้งระบบบุคคลและระดับกลุม เชือ่ มโยงกันเปนเครือ ขายเพื่อ
เรียนรูร ว มกัน

การสงเสริมใหชุมชนเปนชุมชนแหงการเรียนรูจ ึงตองเริ่มที่ตัวบุคคล เริ่มตนจากการ
ทําความเขาใจ สรางความตระหนักใหกับคนในชุมชนเปนบุคคลแหงการเรียนรู เห็นความ
สําคัญของการมีนิสัยใฝเรียนรู สงเสริมใหเกิดการเรียนรูจากกิจกรรมที่รัฐบาลหรือองคกร
ชุมชนจัดให จากการพบปะ พูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันอยางสม่าํ เสมอ จนเกิดเปน ความ
เคยชนิ และเหน็ ประโยชนจากความรทู ไี่ ดรบั เพ่ิมขน้ึ

การสรางนิสัยใฝเรียนรูข องบุคคล คือการใหประชาชนในชุมชนไดรับบริการตาง ๆ
ที่สนใจอยางตอเนื่องสม่ําเสมอ กระตุน ใหเกิดความอยากรูอยากเห็นเปนอันดับแรก เกิดความ
ตระหนักถึงความสําคัญของการศึกษาหาความรู เกิดการเรียนรูอ ยางตอเนื่อง เปนผูนําใน การ
พฒั นาดา นตาง ๆ ท้งั การเรยี นรูจ ากหนงั สอื เรียนรเู พือ่ พฒั นาอาชีพและการพฒั นา คณุ ภาพชวี ติ

ดังน้ัน บุคคลถือเปนสวนหนึ่งของชุมชนหรือสังคม การสงเสริมใหบุคคลเปนผูใ ฝ
เรียนรู ยอมสงผลใหชุมชนเปนชุมชนแหงการเรียนรูด วย การสงเสริมใหชุมชนมีสวนรวมใน
การแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันอยางสม่ําเสมอ ทั้งเปนทางการและไมเปนทางการ จะทําใหเกิด

106

การหมุนเกลียวของความรู หากบุคคลในชุมชนเกิดความคุน เคยและเห็นความสําคัญของ
การเรียนรูอยูเสมอ จะเปน กา วตอ ไปของการพฒั นาชมุ ชนและสงั คมใหเ ปนสงั คมแหง การเรยี นรู

ตวั ชว้ี ัดระดบั กลมุ

1. มีเวทีชมุ ชนแลกเปลยี่ นเรยี นรูในหลายประเด็น
2. มกี ลุม องคก ร เครอื ขายทม่ี ีการเรยี นรรู ว มกนั อยา งตอ เนื่อง
3. มีชุดความรู องคค วามรู ภมู ิปญ ญา ทป่ี รากฏเดน ชดั และเปนประสบการณ เรยี นรู
ของชุมชน ถูกบันทึกและจดั เก็บไวในรูปแบบตาง ๆ

107

การพัฒนาขอบขา ยความรขู องกลุม

ขอบขายความรูจะกวางขวางเพียงใดขึ้นอยูกับเปาหมายและประโยชนของความรูที่ กลุม
ตองการในกลมุ พฒั นาอาชีพตาง ๆ ในชมุ ชนนน้ั เปา หมายของการจดั ตั้งกลุมก็เพื่อสราง งานสราง
อาชีพใหกับคนในชุมชน เพิม่ รายได ลดรายจาย ลดปญหาการวางงาน และสราง ความสามัคคี
ในชุมชน แตกลุม อาชพี ท่ดี ําเนินการอยไู ดในปจ จุบัน มีปจจัยหลายอยางทีส่ ง ผลใหกลุม เขมแข็ง
ยั่งยืน และกลุมลมสลายไมสามารถดําเนินการตอไปได กลุม ที่ดําเนินการ อยูไ ดถือวากลุมมี
การจัดความรูในกลุมไดเปนอยางดี ความรูท ี่เกีย่ วของในการพัฒนากลุม นั้นมีขอบขายความรู
ท่จี ําเปน และสาํ คัญตอการพัฒนากลมุ ซง่ึ นาํ เสนอไวพ อสงั เขป ดงั น้ี

1. ความรเู รอื่ งการบริหารจดั การกลุม เปนความรูท ี่จําเปนสําหรับกลุม หากกลุม มีการ
บริหารจัดการไมโปรงใส จัดทําระบบบัญชีไมเปนปจจุบัน ไมมีระบบการตรวจสอบทีด่ ี จะทํา
ใหกลุมขาดความไววางใจกัน เกิดความขัดแยงกันเองภายในกลุม สงผลใหสมาชิกกลุม ไมให
ความรวมมือในการทํากิจกรรมตาง ๆ และกลุม ไมสามารถพฒั นาตอไปได

2. ความรูเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ กลุมจัดตัง้ ขึน้ เพื่อตองการพัฒนาอาชีพใหคน ใน
ชุมชน เปนการเพิ่มรายไดและลดรายจาย หากกลุมไมม คี วามรูเรอ่ื งการพัฒนาผลติ ภัณฑ ก็จะทาํ
ใหส นิ คา ไมไดร ับความนิยม ไมเ ปน ทต่ี อ งการของตลาด และจาํ หนายไมไดใ นที่สดุ ดังน้นั กลุม
จึงตองมีการพัฒนาผลิตภัณฑอยางตอเนื่อง ใหมีความทันสมัยและตรงกับความ ตองการของ
ลูกคาหรอื ผูใชบรกิ าร

3. ความรูเรื่องการตลาด กลุม จะตองมีความรูเ รือ่ งการจําหนาย นั่นคือ การตั้ง ราคา
ทําเลที่ตั้งกลุมเปาหมายทีใ่ ชบริการ การทําความเขาใจเรื่องการตลาด จะทําใหกลุม มีชองทางใน
การจําหนายและขยายตลาดไดมากขึ้น สงผลใหกลุมมีกําไรจากการขาย สมาชิก กลุม ดํารงอยูได
จากผลกาํ ไรที่กลมุ ไดร ับนั่นเอง

4. การรกั ษามาตรฐานของสนิ คา สินคาโดยเฉพาะสินคาที่เปนเครื่องบริโภคที่ ผลิตขึน้
ในชุมชน จะมีมาตรฐานของชุมชนมาปนเครือ่ งกํากับ บอกถึงคุณภาพของสินคา ดังนั้นกลุม
จะตองมีความรูความเขาใจในการผลิตสินคาใหมีมาตรฐาน สินคาจึงจะไดรับการ ยอมรับ และ
ขยายตลาดได

108

ในการพัฒนากลุมอาชีพนั้น กลุม จําเปนตองรูว าขอบขายความรูท ีจ่ ําเปนตอการ
พัฒนากลุม อาชพี นนั้ คืออะไร อยูที่ไหน และจะคนหาความรูเหลานั้นไดอยางไร กลุม อาจประชุม
รวมกนั เพือ่ ศกึ ษาปญ หาท่เี กิดข้นึ จริงในกลุมมาเปนองคค วามรูของกลุม ตรวจสอบความรูที่จําเปน
ตอ การแกปญ หาหรอื พฒั นากลุม สงเสริมใหมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูร วมกัน ทัง้ ภายในกลุม และ
นอกกลมุ ความรูท ุกความรทู ีจ่ าํ เปนในการแกป ญหาหรือพัฒนากลุม ถือ เปนขอบขายความรูของ
กลุม ที่กลุมตองเรงดําเนินการแสวงหา เพื่อนําความรูน ั้นมาสูก ารปฏิบัติ เปนการยกระดับความรู
และตอยอดองคความรูเ ดิมทีก่ ลุม มีอยู สงผลใหกลุม ไดรับการ พัฒนา และหากกลุมดําเนินการ
จัดการความรูในขอบขายความรูของกลุม ไปอยางเปนวงจร ไมมีที่สิ้นสุดแลว กลุมจะเกิดความ
เขม แข็งและดํารงอยูในชุมขนอยา งยัง่ ยืนได

109

การจัดทําสารสนเทศเผยแพรความรู

สารสนเทศ

คือขอมูลตาง ๆ ทีผ่ านการกลัน่ กรองและประมวลผลแลว บวกกับประสบการณความ
เชี่ยวชาญที่สะสมมาแรมป มกี ารจัดเก็บหรือบันทึกไว พรอ มในการนาํ มาใชง าน

การจัดทําสารสนเทศ

ในการจัดการความรู จะมีการรวบรวมและสรางองคความรูท ีเ่ กิดจากการปฏิบัติขึ้น
มากมาย การจัดทําสารสนเทศจึงเปนการสรางชองทางใหคนที่ตองการใชความรูสามารถ เขาถึง
องคความรูได และกอใหเกิดการแบงปนความรูรวมกันอยางเปนระบบ ในการจัดเก็บ เพื่อให
คนหาความรูคือไดงายนั้น องคกรตองกําหนดสิง่ สําคัญที่จะเก็บไวเปนองคความรู และตอง
พิจารณาถึงวิธีการในการเก็บรักษา และนํามาใชใหเกิดประโยชนตามตองการ องคกรตอง
เกบ็ รกั ษาสิ่งที่องคกรเรยี กวา เปน ความรูไวใหด ีที่สุด

การจัดสารสนเทศ ควรจัดทําอยางเปนระบบ และควรเปนระบบที่สามารถคนหา และ
สงมอบไดอยางถูกตองและรวดเร็ว ทันเวลาและเหมาะสมกับความตองการ และจัดให มีการ
จําแนกรายการตาง ๆ ที่อยูบนพื้นฐานตามความจําเปนในการเรียนรู องคกรตอง พิจารณาถึง
ความแตกตางของกลุมคนในการคนคืนความรู องคกรตองหาวิธีการใหพนักงาน ทราบถึงชอง
ทางการคนหาความรู เชน การทําสมุดจัดเก็บรายชือ่ และทักษะของผูเ ชี่ยวชาญ เครือขายการ
ทํางานตามลําดับชั้น การประชุม การฝกอบรม เปนตน สิง่ เหลานีจ้ ะนําไปสู การถายทอด
ความรูใ นองคก ร

วัตถุประสงคการจัดทาํ สารสนเทศ

1. เพือ่ ใหมีระบบการจัดเก็บขอมูลและองคความรูอยางเปนหมวดหมู และเหมาะสม
ตอ การใชง าน สามารถคน หาไดต ลอดเวลา สะดวก งา ย และรวดเร็ว

2. เพือ่ ใหเกิดระบบการสือ่ สาร การแลกเปลีย่ น แบงปน และถายทอดองคความรู
ระหวา งกันผานสอื่ ตาง ๆ อยางมปี ระสิทธิภาพ

3. เพือ่ ใหเกิดการเขาถึงและเชื่อมโยงองคความรูร ะหวางหนวยงานทัง้ ภายในและ
ภายนอกอยางเปนระบบ สะดวกและรวดเรว็

4. เพื่อรวบรวมและจัดเก็บความรูจ ากผูมีประสบการณ รวมถึงผูเชี่ยวชาญในรูปแบบ
ตา ง ๆ ใหเ ปนรูปธรรม เพ่อื ใหทกุ คนสามารถเขาถึงความรแู ละพฒั นาตนเองใหเปน ผูรไู ด

110

5. เพือ่ นําเทคโยโลยีสารสนเทศ มาใชเปนเครือ่ งมือในการถายทอดระหวางความรู
ฝงลึกกับความรูช ัดแจง ที่สามารถเปลี่ยนสถานะระหวางกันตลอดเวลา ทําใหเกิดความรู
ใหม ๆ

การถา ยทอดความรู

เปนการนําความรูท ี่ไดรับมาถายทอดใหบุคลากรในองคกรไดรับทราบ และใหมีความ รู
เพยี งพอตอการปฏบิ ัตงิ าน การเผยแพรความรจู งึ เปน องคประกอบหนึง่ ของการจดั การความรู การ
เผยแพรความรมู ีการปฏิบัติกันมานานแลว สามารถทาํ ไดห ลายทางคอื การเขยี นบนั ทกึ รายงาน
การฝกอบรม การประชุม การสัมมนา จัดทําเปนบทเรียนทัง้ ในรูปแบบของหนังสือ บทความ
วิดิทัศน การอภิปรายของเพื่อนรวมงานในระหวางการปฏิบัติงาน การอบรม พนักงานใหม
อยางเปนทางการ หองสมุด การฝกสอนอาชีพและการเปนเลี้ยง การแลกเปลี่ยน เรียนรูใน
รูปแบบอืน่ ๆ เชน ชมุ ชนนกั ปฏิบัติ เรือ่ งเลาแหงความสําเร็จ การสัมภาษณ การ สอบถาม เปน
ตน การถายทอดหรือเผยแพรความรู มีการพัฒนารูปแบบโดยอาศัยเทคโนโลยี เพื่อการสือ่ สาร
และเทคโนโลยีมีการกระจายไปอยางกวางขวาง ทําใหกระบวนการถายทอด ความรูผาน
เทคโนโลยโี ดยเฉพาะอนิ เตอรเนต็ ไดความนยิ มอยา งแพรห ลายมากข้ึน

การเผยแพรความรูและการใชประโยชน มีความจําเปนสําหรับองคกร เนื่องจาก องคกรจะ
เรียนรูไดดีขึ้นเมือ่ มีความรู มีการกระจายและถายทอดไปอยางรวดเร็ว และเหมาะ สมท่ัวท้ัง
องคกร การเคลื่อนที่ของสารสนเทศและความรูระหวางบุคคลหนึ่งไปอีกบุคคลหนึง่ นัน้ จึง
เปนไปโดยตั้งใจและไมตังใจ

111

กิ จ ก ร ร ม ท า ย บ ท

กจิ กรรมท่ี 1 ทา นสามารถเปน “คณุ อาํ นวย” ไดหรอื ไม เพราะเหตุใด

.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

กจิ กรรมท่ี 2 ทา นเคยเขา รว มแลกเปลยี่ นเรยี นรูในลักษณะ “ชมุ ชนนกั ปฏบิ ตั ิ CoPs” เรื่อง อะไร
และชมุ ชนนกั ปฏบิ ตั ทิ ี่ทา นเขา รว มมลี กั ษณะอยา งไร

.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

กจิ กรรมท่ี 3 ความรทู ี่จําเปน ในการแกปญหาหรอื พฒั นาตวั ทา นคอื อะไร และขอบขายความ รูนนั้
มีอะไรบา ง

.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

กจิ กรรมท่ี 4 การจดั ทาํ สารสนเทศเพอ่ื เผยแพรค วามรู ทานวา วิธีใดดที ่ีสุด เพราะเหตใุ ด

.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

112

เรอื่ งท่ี 2 : การฝกหัดทักษะและกระบวนการจัดการความรู

กระบวนการจัดการความรดู วยตนเอง
การจัดการความรูดวยตนเอง จะทําใหผูเ รียนเรียนรูห ลักการอันแทจริงในการพัฒนา
ตนเอง และจูงใจตนเองใหกาวไปสูการพัฒนาคุณภาพชีวิตและคุณภาพในการทํางาน เปน ผูมี

สัมฤทธิ์ผลสูงสุด โดยการนําองคความรูท ี่เปนประโยชนไปประยุกตใชในชีวิตจริง และการ
ทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ และสามารถปรับตัวทันตอโลกยุคโลกาภิวัตน มีโอกาสแลก
เปลี่ยนเรียนรูประสบการณชีวิตและประสบการณการทํางานรวมกัน มีทัศนคติที่ดีตอชีวิต

ตนเองและผูอื่น มีความกระตือรือรนและเสริมสรางทัศนคติทีด่ ีตอการทํางาน นําไปสูก ารเห็น
คุณคาของการอยูรวมกันแบบพึ่งพาอาศัยกัน ชวยเกือ้ กูลกัน เรียนรูซึง่ กันและกัน กอใหเกิด
การเปนชุมชนแหงการเรียนรู ในลกั ษณะของทีมที่มีประสทิ ธิภาพ

การจัดการความรูเ ปนเรือ่ งที่เริ่มตนทีค่ น เพราะความรูเปนสิ่งที่เกิดมาจากคน มา จาก
กระบวนการเรียนรูการคิดของคน คนจึงมีบทบาททัง้ ในแงของผูสรางความรู และเปนผู ที่ใช

ความรู ซึง่ ถาจะมองภาพกวางออกไปเปนครอบครัว ชุมชน หรือแมแตในหนวยงาน ก็ จะเห็น
ไดวาทั้งครอบครัว ชุมชน หนวยงาน ลวนประกอบขึ้นมาจากคนหลาย ๆ คน ดังนัน้ หาก
ระดับปจเจกบุคคลมีความสามารถในการจัดการความรู ยอมสงผลตอความสามารถใน การ

จัดการความรูของกลุมดวย
วิธีการเรียนรูที่เหมาะสมเพือ่ ใหเกิดการจัดการความรูด วยตนเอง คือ ใหผูเ รียนได เริ่ม
กระบวนการเรียนรูตั้งแตการเริ่มคิด คิดแลวลงมือปฏิบัติ และเมื่อปฏิบัติแลวจะเกิด ความรู

จากการปฏิบัติ ซึ่งผูปฏิบัติจะจดจําทัง้ สวนที่เปนความรูฝงลึกและความรูท ีเ่ ปดเผย มีการ
บนั ทกึ ความรใู นระหวางเรียนรูกิจกรรม หรือโครงการลงในสมุดบันทึก ความรูปฏิบัติที่ บันทึก
ไวในรูปแบบตาง ๆ จะเปนประโยชนส าํ หรับตนเองและผูอ ่นื ในการนําไปปฏิบัติแกไข ปญหาที่

ชุมชนประสบอยใู หบรรลเุ ปา หมาย และขั้นสุดทา ยคอื ใหผูเรียนไดพัฒนาปรับปรุง สิ่งที่กําลัง
เรียนรูอ ยูตลอดเวลา ยอนดูวาในกระบวนการเรียนรูนั้น มีความบกพรองในขัน้ ตอน ใด ก็ลงมือ

พัฒนาตรงจดุ นน้ั ใหด ี

113

ทกั ษะการเรียนรูเ พื่อจดั การความรใู นตนเอง

ผูเ รียนจะตองพัฒนาตนเอง ใหมีความสามารถและทักษะในการจัดการความรูด วย
ตนเองใหม ีความรูทส่ี ูงขึน้ ซึ่งสามารถฝก ทกั ษะเพ่ือการเรียนรไู ดด ังน้ี

ฝกสังเกต ใชสายตาและหูเปนเครื่องมือ การสังเกตจะชวยใหเขาใจในเหตุการณ หรือ
ปรากฏการณน น้ั ๆ

ฝกการนําเสนอ การเรียนรูจะกวางขึ้นไดอยางไร หากรูอยูคนเดียว ตองนําความรู
ไปสูการแลกเปลี่ยนเรียนรูกับคนอืน่ การนําเสนอใหคนอื่นรับทราบ จะทําใหเกิดการแลก
เปลยี่ นความรูก นั อยางกวางขวาง

ฝกตัง้ คําถาม คําถามจะเปนเครื่องมืออยางหนึง่ ในการเขาถึงความรูไ ด เปนการตั้ง
คําถามใหตนเองตอบ หรือจะใหใครตอบก็ได ทําใหไดขยายขอบขายความคิด ความรู ทํา ใหรู
ลึก และรูกวางยิง่ ขึ้นไปอีก อันเนื่องมาจากการที่ไดศึกษาคนควาในคําถามที่สงสัยนั้น คําถาม
ควรจะถามวา ทําไม อยางไร ซึง่ เปน คําถามระดับสงู

ฝก แสวงหาคาํ ตอบ ตองรวู าความรู หรือคําตอบที่ตองการนัน้ มีแหลงขอมูลให คนควา
ไดจากที่ไหนบาง เปนความรูท ี่อยูใ นหองสมุด ในอินเตอรเน็ต หรือเปนความรูท ี่อยู ในตัวคน
ที่ตองไปสัมภาษณ ไปสกัดความรอู อกมา เปนตน

ฝกบูรณาการเชื่อมโยงความรู เนื่องจากความรูเรือ่ งหนึง่ เรื่องใดไมมีพรมแดนกั้น
ความรูน้ันสัมพันธเชื่อมโยงกันไปหมด จึงจําเปนตองรูค วามเปนองครวมของเรื่องนัน้ ๆ อยาง
ยกตัวอยางปุย หมัก ไมเฉพาะแตมีความรูเรือ่ งวิธีทําเทานั้น แตเชือ่ มโยงการกําหนดราคาไว เพ่ือ
จะขาย โยงไปทว่ี ธิ ีใชถ าจะนําไปใชเอง หรือแนะนําใหผูอื่นใช โยงไปถึงบรรจุภัณฑวาจะ บรรจุ
กระสอบแบบไหน ทกุ อยา งบรู ณาการกนั หมด

ฝกบันทึก จะบันทึกแบบจดลงสมุด หรือเปนภาพ หรือใชเครื่องมือบันทึกใด ๆ ก็ได
ตองบันทึกไว บันทึกใหปรากฏรองรอยหลักฐานของการคิดการปฏิบัติ เพือ่ การเขาถึงและการ
เรียนรูข องบคุ คลอืน่ ดว ย

ฝกการเขียน เขียนงานของตนเองใหเปนประโยชนตอการเรียนรูของตนเองและผูอ ืน่
งานเขียนหรือขอเขยี นดังกลา วจะกระจายไปเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูกับผูคนในสังคมท่ีมาอาน งาน
เขียน

114

ขัน้ ตอนการจดั การความรดู วยตนเอง

ในการเรียนรูเพ่ือจัดการความรูในตนเอง นอกจากวิเคราะหตนเองเพื่อกําหนดองค
ความรูที่จําเปนในการพัฒนาตนเองแลวนัน้ การแลกเปลี่ยนเรียนรูเ พือ่ ใหไดมาซึง่ ความรู เปน
วิธีการคนหาและเขาถึงความรูท ี่งายเปนการเรียนรูท างลัด นัน่ คือดูวาทีอ่ ื่นทําอยางไร
เลียนแบบ best practice และทาํ ใหด กี วา เมือ่ ปฏิบัตแิ ลว เกดิ ความสาํ เรจ็ แมเ พยี งเล็กนอ ย ก็ถอื วา
เปน best practice ในขณะนัน้ กระบวนการเรียนรูเพือ่ พัฒนาตนเองสามารถดําเนิน การตาม
ข้นั ตอนตาง ๆ ได ดังน้ี

1. ขั้นการบงชี้ความรู ผูเ รียนวิเคราะหตนเอง เพ่ือรูจุดออน จุดแข็งของตนเอง
กําหนดเปาหมายในชีวิต กําหนดแนวทางเดินไปสูจุดหมาย และรูวาความรูที่จะแกปญหา และ
พัฒนาตนเองคืออะไร

2. ขัน้ สรางและแสวงหาความรู ผูเรียนจะตองตระหนักและเห็นความสําคัญของ การ
แสวงหาความรู เขาถึงความรูทต่ี อ งการดว ยวธิ ีการทห่ี ลากหลาย แหลงเรียนรูท ใี่ ชในการ แสวงหา
ความรู ไดแกการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ การแสวงหาความรูจากผูเชี่ยวชาญ ภูมิ ปญญา
ทองถน่ิ และเพือ่ น โดยยอมรับในความรูความสามารถซึ่งกันและกัน และตองใช ทักษะตาง ๆ
เพอ่ื ใชใ นการสรา งความรู เชน ฝก สงั เกต ฝก นาํ เสนอ ฝกการตง้ั คําถาม ฝก การแสวงหาคําตอบ
ฝกบูรณาการเชื่อมโยงความรู ฝกบนั ทกึ และฝกการเขียน

3. การจัดการความรูใหเปนระบบ จัดทําสารบัญจัดเก็บความรูป ระเภทตาง ๆ ที่
จําเปนตองรูและนําไปใชเพื่อการพัฒนาตนเอง การจัดการความรูใหเปนระบบจะทําใหเก็บ
รวบรวม คน หา และนาํ มาใชไ ดง า ย รวดเร็ว

4. ขั้นการประมวลและกลั่นกรองความรู ความรูท ีจ่ ําเปนอาจตองมีการคนควา และ
แสวงหาเพิ่มเติม เพ่ือใหความรมู ีความทันสมัย นาํ ไปปฏิบัติไดจริง

5. การเขาถึงความรู เมื่อมคี วามรูจากการปฏิบัติแลว มีการเก็บความรู ในรูปแบบ ตาง
ๆ เชน สมุดบันทึกความรู แฟมสะสมงาน วารสาร หรือใชเทคโนโลยีในการจัดเก็บ รูปแบบ
เว็บไซด วีดิทัศน แถบบันทึกเสียง และคอมพิวเตอร เพือ่ ใหตนเองและผูอ ืน่ เขาถึง ไดงาย
อยางเปนระบบ

6. ข้ันการแบงปนแลกเปลี่ยนความรู ผเู รียนตองเขารวมกิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรูกับ
เพือ่ น ๆ หรือชุมชน เพื่อเรียนรูร วมกัน อาจเปนลักษณะของการสัมมนา เวทีเรือ่ ง เลาแหง
ความสาํ เรจ็ การศกึ ษาดงู าน หรอื แลกเปล่ยี นเรียนรผู านทางอนิ เตอรเ นต็ เปนตน

115

7. ขั้นการเรียนรู ผูเรียนจะตองนําเสนอความรูในโอกาสตาง ๆ เชน การจัด
นิทรรศการ การพบกลุม การเขาคาย หรอืการประชุมสัมมนา รวมทัง้ มีการเผยแพรความรู ผาน
ชอ งทางตาง ๆ เชน วารสารเวบ็ ไซด จดหมายขา ว เปนตน

ความสาํ เรจ็ ของการจดั การความรูดวยตนเอง

1. ผูเรยี นเกดิ การเรียนรูตามแผนพฒั นาตนเองทไ่ี ดก ําหนดไว
2. ผูเรียนตระหนักถึงความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองเพือ่ เรียนรูวิชาตาง ๆ
อยา งเขา ใจ และนําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันได
3. ผูเรียนมีความรูที่ทันสมัย เหมาะสมกับสถานการณปจจุบัน สามารถปรับตัวให
อยูในสงั คมได

116

ตวั อยา งตาพราํ กบั การจดั การความรู

สรุ นิ ทร กิจนิตยชีว

ตาพรํา เสนานาท อายุ 55 ป ราษฎรตําบลบานหลวง อําเภอเสนา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา
พาครอบครัวไปหากินทีก่ รุงเทพ ฯ เมือ่ หลายปมาแลว แตสุดทาย ก็ตองตัดสินใจกลับบาน เพราะ
ครอบครัวมีแตความทุกขยาก กินอยูแบบอดๆอยากๆ

เขามีทีด่ ินเหลืออยู 3 งาน จึงขุดรองสวนและปลูกผักโดยใชสารเคมี ทัง้ ปุย และยาปราบ

ศัตรพู ืช ใหภรรยานําไปขายที่ตลาด และเขายังรับจางฉีดยาฆาหญาให แกเพื่อนบา นอกี ดว ย
มิชามินานเขาเริม่ เจ็บปวย ตัวซีดเหลือง จึงตองไปหาหมอทีส่ ถานีอนามัยขาง บานไมไดหยุด

ถึงหมอจะบอกตนเหตุของความเจ็บปวย แตเขาก็เลิกไมได เพราะลูก ทั้ง 4 คน ตองกินใชมากขึน้ และ
ไปโรงเรยี นกนั

หนีส้ ินพอกพูนขึ้น ตัวเขาเจ็บออดแอดมากขึ้น รายจายสารพัด แตรายไดมี 2 ทาง คือ ขายผัก
กับรับจางฉีดยาฆาหญา ไมรูจะจัดการกับครอบครัวอยางไร หาทาง ออกไมไดก็กลุมใจ เริม่ มีปากเสียง
กับสมาชิกในครอบครัว ที่พึ่งของเขาคือเหลากับบุหรี่

วันหน่ึง นายเชิด พันธุเ พ็ง นักจัดการความรูข องชุมชนวัฒนธรรมคลองขนมจีน ไปพบเขา จึง
ไตถามสารทุกขสุขดิบในฐานะเพือ่ นบาน เขาไดเลาเรือ่ งโครงการชุมชน เปนสุขใหฟง และชวนตา

พราํ เขา เปนสมาชกิ เพือ่ แกไ ขปญ หาที่เผชญิ อยู
ตาพรําฟงนายเชิดอธิบายถึงการปลูกผักแบบยัง่ ยืนดวยการจัดการความร เพ่ือ ครอบครัวและ

ชุมชนเปนสุขไปพรอมกัน เปนการจัดการดวยสติปญญาเพือ่ พัฒนา ปากทอง คือ เศรษฐกิจ จิตใจ
ครอบครัว ชุมชน สังคม วฒั นธรรม สง่ิ แวดลอ ม และความสุข ไปพรอมกันแบบองครวม ไมแยก
สว น

ทกุ เรอื่ งทุกประเดน็ ทน่ี ายเชิดช้แี จงเปนเรือ่ งใหมสําหรับตาพรํา และตาพรําก็ไม สูเ ขาใจนัก แตท่ี
ตัดสินใจเขารวมทันทีเพราะเขาอยากออกจากความทุกขที่ประสบอยู และเขาก็ไมมีทางเลือกอื่น

ในชวงตนของการเขาโครงการ ตาพรําแทบจะลาออกเสียหลายครัง้ เพราะเขา ตองแบงเวลาทํา
กินไปเรียนรูก ับสิง่ ที่เขาไมคอยจะเชือ่ นัก แตเขาก็สนใจเรือ่ งทีจ่ ะทําให เขาไมเจ็บปวย นอกจากนั้น

การเขากลุมทําใหเขาไดรับความเห็นใจจากเพื่อน ๆ
เชิดไดพาตาพรําไปเรียนรูเ รือ่ งเกษตรยัง่ ยืนจากเครือขายในตางจังหวัดพรอมกับ เพื่อน ๆ ตาพรํา

เรียนรูเ รื่องการจัดการทรัพยากรเชิงระบบ เขาใหความสนใจกับการ ทําน้าํ สมควันไมจากถานไม
เพื่อนําไปทดแทนสารเคมีกําจัดศัตรูพืช และในหมูบ าน ของเขาก็มีเศษตนไม กิง่ ไม ที่ชุมชนตัดทิง้ ไว
มากมาย เขาสามารถนํามาจัดการใช ประโยชนไ ดโดยไมตอ งซอื้ หา

117

เมือ่ กลับมาถึงบาน ตาพรําลงมือทําเตาเผาถานแบบใหมทันที เปนเตาทีส่ ามารถ ใหทัง้
ถา นและนาํ้ สม ควนั ไม เขาทําแลวทําอีกจนสําเร็จ ซึ่งนอกจากเขาจะไดน ํา้ สม ควันไมไ ปใชใ นสวนผัก
แลว ยังไดถานไวใชในครวั เรือนอีกดวย

เมือ่ เหลือใชแลวตาพรําก็ขายใหกับเพือ่ นบาน เขาขายดีจนผลิตไมทัน ตองเพิ่ม จํานวนเตาขึน้
เดี๋ยวนี้เขาไมตองไปรับจางฉีดยาฆาหญาแลว วัน ๆ หนึง่ เขาทําสวนผัก ใชน้าํ สมควันไมแทนสารเคมี
กําจัดศัตรูพืช กรองน้ําสมควันไมใสขวดขายขวดละ 50 บาท กรอกถานใสถุงขายถุงละ 15 บาท ซ่ึง
นอกจากเขาจะลอดรายจายในครัวเรอื นได จริงแลว เขายังมีรายไดเพมิ่ ขึ้นดว ย

วัน ๆ หนึ่งตาพรําขลุกอยูก ับสวนผัก ขลุกอยูก ับเตาถาน วางแผนงานในวันรุง ขึ้น วาจะจัดการ
กับผักอะไรบาง อยางไร จะจัดการกับการตลาดของถานและน้าํ สมควันไม อยางไร จนลืมเรือ่ งเหลา
บุหรีไ่ ป ปจจุบันเขาเกือบจะไมไดแตะตองมัน จะมีบางก็กับ เพื่อนๆ และสมาชิกเครือขายบางคน
เปนครั้งคราวเทานั้น หนีส้ ินจงึ ลดลงไปมาก แม จะยังไมหมด แตก็มีความหวังเพราะเขาจัดการได ความ
ทุกขหลายดานลดลง ทั้งโรคภัย ไขเจ็บและความสุขของครอบครัว ลูกคนหนึง่ ลาออกจากโรงงานทํา
รองเทาชวยพอแม ทกุ คนกนิ อม่ิ นอนหลบั

ชวงหลังนีต้ าพรําเปนทีย่ อมรับของเพือ่ นบาน ของสมาชิกกลุม และเครือขาย เกษตรยัง่ ยืน เขา
เปนวิทยากรเรือ่ งน้าํ สมควันไมดวยความมัน่ ใจ เขาสรางความรูเ รือ่ ง นีด้ วยหนึง่ สมองกับสองมือ และ
ถายทอดถึงมรรควิธีการจัดการทรัพยากร รวมทั้งการ จัดการกับปญหาตาง ๆ ซึ่งเปนทุกขของครอบครัว
ดวยใบหนายิม้ แยม ดวยน้าํ ใจและ เปนสุข ปจจุบันเขาสรางเครือขายเรือ่ งนีถ้ ึง 4 อําเภอในจังหวัด
พระนครศรอี ยธุ ยา

เมือ่ วางจากงานเขานัง่ มองดูสวน และคิดทบทวนสาระตาง ๆ ในส่ิงท่ีนายเชิด พูดคุยกับเขาใน
วันแรก ออ ! การจัดการความรูเปนอยางนีเ้ อง มันคือการเรียนรู เอา ความรูม าจัดการเชิงระบบ สราง
ความรูใ หมเพือ่ ปรับตัวใหสอดคลองกับโลกยุคใหม ดวยสติปญญา ปรับรูปแบบการพัฒนาแตรักษา
ความสมดุลของระบบความสัมพันธ ระหวางมนุษยกับมนุษย มนุษยกับสิ่งแวดลอม เพือ่ ใหเกิดการ
ยง่ั ยนื สืบไป

นี่คือการสรุปเรื่องการจัดการความรูของตาพรํา !!!

118

การสรุปองคความรแู ละการจัดทาํ สารสนเทศ
การจดั การความรดู ว ยตนเอง

การสรปุ องคค วามรู

การจดั การความรู เรามุงหา “ความสาํ เรจ็ ” มาแลกเปล่ยี นเรียนรู เรามุงหาความ สําเร็จ
ในจดุ เลก็ ๆ จดุ นอ ยตา งจดุ กนั นํามาแลกเปลย่ี นเรยี นรู เพือ่ ใหเ กิดการขยายผลไปสู ความสําเร็จที่
ใหญข้ึน

องคความรูเปนความรูม าจากการปฏิบัติเรียกวา “ปญญา” กระบวนการเรียนรูเ ปด
โอกาสใหผูเรียนเปนผูส รางความรูด วยตนเอง สังเกตสิ่งที่ตนอยากรู ลงมือปฏิบัติจริง คนควา
และแสวงหาความรูเพิ่มจนคนพบความรู สรางสรรคเกิดเปนองคความรูและเกิดประสบการณ
ใหม การเรียนรูแบบนี้จะสงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนาความสามารถในการคิด สูการปฏิบัติ
และเกิด “ปญ ญา” หรือองคค วามรเู ฉพาะของตนเอง

องคความรูม ีอยูอยางมากมาย การปฏิบัติงานจนประสบผลสําเร็จ รวมทัง้ การแก
ปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในระหวางการทํางานที่สงผลใหงานสําเร็จลุลวงตามเปาประสงค ถือ วา
เปน องคค วามรทู เี่ กิดข้นึ ทงั้ สนิ้ และเปน องคความรูท่มี คี า ตอ การเรยี นรูทง้ั ส้ิน

การสรุปองคค วามรมู คี วามสาํ คัญตอ กระบวนการจัดการความรูเปนอยางยิ่ง เพราะ การ
สรุปองคความรูจะเปนการตอยอดความรูใหกับตนเองและผูอื่น หากบุคคลอื่นตองการ ความ
ชว ยเหลอื ในการแกป ญ หาบางเรือ่ ง เราจะใชความรูทีม่ ีอยูชวยเหลือเพือ่ นไดอยางไร และเมือ่ เรา
จะเริ่มตนทําอะไร เรารูบ า งไหมวามใี ครทําเร่อื งน้มี าบาง อยูท ่ีไหนในชุมชนของ เรา เพือ่ ทีเ่ รา
จะทํางานใหสําเร็จไดงายขึ้น และไมทําผิดซ้าํ ซอน การดําเนินการจัดการองค ความรู อาจตอง
ดําเนนิ การตามขัน้ ตอนตา ง ๆ ดงั น้ี

1. การกาํ หนดความรูหลักทีจ่ ําเปน หรือสาํ คญั ตอ งาน หรอื กจิ กรรมของกลุมหรอื
องคก ร

2. การเสาะหาความรทู ต่ี อ งการ
3. การปรับปรุง ดัดแปลง หรือสรางความรบู างสว นใหเ หมาะตอ การใชงานของตน
4. การประยุกตใ ชค วามรใู นกจิ กรรมงานของตน
5. การนาํ ประสบการณจ ากการทาํ งาน และการประยุกตใชความรูมาแลกเปลี่ยน

เรยี นรูและสกัดขมุ ความรู ออกมาบนั ทกึ ไว

119

6. การจัดบันทึก “ขุมความรู” และ “แกนความรู” สําหรับไวใชงาน และ
ปรับปรุง

เปนชดุ ความรทู ี่ครบถวน ลุม ลึก และเชอื่ มโยงมากขน้ึ เหมาะตอ การใชง าน
มากข้นึ
การจัดการความรูเ พื่อใหเกิดองคความรูทีต่ องการ เริ่มจากการกําหนด “เปาหมาย ของ
งาน” นัน่ คือ การบรรลุผลสัมฤทธิ์ ในการดาํ เนนิ การตามทก่ี าํ หนดไว คือ
1. การตอบสนอง คอื การสนองตอบความตอ งการของทุกคนที่เกยี่ วขอ ง
2. การมนี วตั กรรม คือ 1) นวตั กรรมในการทาํ งาน

2) นวัตกรรมทางผลงาน
3. ขดี ความสามารถ คอื การมีสมรรถนะทเ่ี กดิ จากการเรียนรูข องตนเอง
4. ประสิทธิภาพ คือ องคค วามรู หรอื คลังความรู

การจดั ทาํ สารสนเทศการจดั การความรดู ว ยตนเอง

การจัดการความรูดวยตนเง องคความรูก็ยังอยูในสมองคนในรูปของประสบการณ
จากการทํางานที่ประสบผลสําเร็จนั้น เราตองมีการถอดองคความรูซ ึ่งอาจไหลเวียนองคความ รู
จากคนสคู น หรอื จากคนมาจดั ทาํ เปน สารสนเทศในรปู แบบตา ง ๆ เพ่อื ใหคนเขาถึงความรู ไดงาย
และนําไปสูการปฏิบัติได โดยการนําความรูทีไ่ ดมาจัดเก็บ เปนหมวดหมูของความรู การช้ี
แหลงความรู การสรางเครื่องมือในการเขาถึงความรู การกรองความรู การเชือ่ มโยง ความรู
การจัดระบบองคความรูยังหมายรวมถึงการทําใหความรูล ะเอียดชัดเจนขึ้น องค ความรูอาจ
จัดเก็บไวในรูปแบบตาง ๆ เชน บันทึกความรู แฟมสะสมงานเอกสารจากการ ถอดบทเรียน
แผน ซีดี เว็บไซด เว็บบลอ็ ค เปนตน

120

กระบวนการจัดการความรูด วยการรวมกลมุ ปฏบิ ัติการ

กระบวนการจัดการความรดู วยกลมุ ปฏิบัตกิ าร

ในยุคของการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วนั้น ปญหาจะมีความซับซอนมากขึน้ เราจําเปน
ตอ งมีความรูท ่ีหลากหลาย ความรูสวนหนึ่งอยูในรูปของเอกสาร ตํารา หรืออยูในรูปของ ส่ือ
อิเล็กทรอนิกส เชน เทป วิดีโอ แตความรูท ีม่ ีอยูมากที่สุดคืออยูใ นสมองคน ในรูปแบบ ของ
ประสบการณ ความจํา การทํางานที่ประสบผลสําเร็จ การดํารงชีวิตอยูในสังคมปจจุบัน
จําเปนตองใชความรูอ ยางหลากหลาย นําความรูหลายวิชามาเชื่อมโยง บูรณาการ ใหเกิด การ
คิด วเิ คราะห สรา งความรใู หมจ ากการแกป ญ หาและพัฒนาตนเอง ความรูบางอยาง เกิดขึ้นจาก
การรวมกลุมเพือ่ แกปญหา หรือพัฒนาในระดับกลุม องคกร หรือชุมชน ดังนัน้ จึงตองมีการ
รวมกลุมเพอ่ื จดั การความรูรวมกัน

ปจ จัยทท่ี ําใหการจดั การความรดู วยการรวมกลมุ ปฏบิ ตั กิ ารประสบผลสาํ เร็จ

1. วัฒนธรรมและพฤติกรรมของคนในกลุม คนในกลุมตองมีเจตคติที่ดีในการ
แบง ปนความรซู ง่ึ กนั และกัน มีความไวเนือ้ เชือ่ ใจกัน ใหเกียรติกัน และเคารพความคิดเห็น ของ
คนในกลมุ ทกุ คน

2. ผูนาํ กลมุ ตองมองวาคนทุกคนมีคุณคา มีความรูจากประสบการณ ผูน ํากลุม ตอง
เปนตนแบบในการแบงปนความรู กําหนดเปาหมายของการจัดการความรูในกลุมให ชัดเจน
หาวิธกี ารใหคนในกลุมนาํ เรอื่ งที่ตนรูออกมาเลาสกู ันฟง การใหเกียรติกับทุกคนจะ ทําใหทุกคน
กลา แสดงออกในทางสรา งสรรค

3. เทคโนโลยี ความรูท ี่เกิดจากการรวมกลุมปฏิบัติการเพื่อถอดองคความรู
ปจ จบุ ันมีการใชเ ทคโนโลยมี าใชเ พอ่ื การจัดเกบ็ เผยแพรค วามรูกันอยา งกวางขวาง จัดเก็บ ในรูป
ของเอกสารในเวบ็ ไซด วดิ ีโอ VCD หรอื จดหมายขา ว เปนตน

4. การนําไปใช การติดตามประเมินผล จะชวยใหทราบวา ความรูที่ไดจากการ
รวมกลุมปฏิบัติ การมีการนําไปใชหรือไม การติดตามผลอาจใชวิธีการสังเกต สัมภาษณ หรือ
ถอดบทเรียนผูเกี่ยวของ ประเมินผลจากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในกลุม ความสัมพันธ ความ

121

เปนชุมชนทีร่ วมตัวกันเพือ่ แลกเปลี่ยนความรูกันอยางสม่าํ เสมอ รวมทั้งการพัฒนา ดานอ่ืน
ๆ ที่สงผลใหก ลมุ เจรญิ เติบโตข้นึ ดว ย

ตั ว อ ย า ง ก ลุ ม ห อ ม ท อ ง ยั ด เ ยี ย ด

บานปางปอมกลาง ตําบลลอ อําเภอจุน จังหวัดพะเยา เปนพืน้ ทีท่ ีป่ ลูกกลวยกันมาก ราคา

กลวยตกต่าํ และมีกลวยชนิดหนึง่ ทีช่ าวบานเรียกวา “กลวยสม” ชาวบานไมคอยนิยม รับประทาน

เนือ่ งจากเมือ่ สุกแลวจะมีรสออกเปรีย้ ว จะนําไปใหไกกิน เนือ้ กลวยทัง้ ทีย่ ังดิบหรือ สุกจะมีสีเหลือง

นวล นางอชิรา ปญญาฟู ซึง่ เปนหัวหนากลุม ไดศึกษาวิธีการทํากลวยฉาบ จากกลุม สตรีอําเภอแมใจ

และทดลองทํากลวยฉาบจากกลวยสม หรือเรียกอีกชือ่ หนึง่ วา “กลวย หอมทอง” ทดลองหลายครัง้

และนําเนยมาเปนสวนผสมของเครือ่ งปรุง ทําใหสีกลวยฉาบสวย เปนธรรมชาติ มีความกรอบและมี

รสชาติที่กลมกลอมเนื่องจากมีความเปรีย้ วอยูในตัว ทําใหได สูตรในการทํากลวยฉาบเฉพาะกลุม

จากนน้ั สมาชกิ กลุมสตรไี ดร วมตัวกัน 9 คน ลงหุน กันคน ละ 200 บาท เมื่อป 2544 จัดตั้งกลุม เพือ่

ผลติ กลวยฉาบขาย และไดนํากลวยฉาบไปเสนอ ขายใหคนทีร่ ูจ ักและเจาหนาทีจ่ ากสวนราชการตาง ๆ

ซึง่ ทุกคนมองวา “รสชาติก็คงเหมือน กลวยฉาบธรรมดา” แตเมื่อทดลองชิมแลวจึงเห็นถึงความ

แตกตางระหวางรสชาติของกลวยฉาบ จากกลวยน้ําวากับกลวยฉาบจากกลวยหอมทอง จึงใหความ

สนใจสัง่ ซือ้ มากขึ้น และรูจ ักใน นาม “กลวยยัดเยียด” ซึง่ เปนทีม่ าของการนําไปเสนอขายดวยการ

ขอรองกึ่งบงั คับใหค นซอื้ นน่ั เอง

ตอมาสวนราชการในอําเภอไดใหการสนับสนุนมากขึน้ เสนอใหมีการทําปายผลิต ภัณฑ

ใหม และใหเปลีย่ นชอื่ เปน “กลวยหอมทองเมืองจุน” แตเม่ือนาํ ไปขายแลว ไมมคี นรูจกั และไมแนใจ

ในคุณภาพของสนิ คา จึงขายไดไมดี ทําใหตองกลับมาใชชื่อเหมือนเดิมวา “กลวยหอมทองยัดเยียด”

จนถงึ ปจ จุบัน

ในการบริหารจัดการของกลุม ไดมกี ารแบงหนา ทส่ี มาชกิ กลุมใหร บั ผิดชอบเปนฝาย ตาง ๆ

ประกอบดวย ประธานกลุม กรรมการฝายตาง ๆ ฝายการตลาด ฝายผลิต ฝายการ เงินบัญชี และมี

เลขานกุ ารกลุม มสี มาชิกเพม่ิ ขึ้นเปน 20 คน มีการลงหุนเพิ่มและมีเงินทุน หมุนเวียนใหสมาชิกกลุม

ไดกูย ืม กลุม ไดสรางงานใหกับคนในชุมชนนัน่ คือสงเสริมใหปลูกกลวย ขายใหกับกลุม และเมื่อมี

กลวยเขามาเปนจํานวนมาก จะจางแรงงานจากคนในชุมชนมาปอก กลวยเพือ่ ทอดไว และจะฉาบเมือ่ มี

ลูกคาสั่งสินคาเขามา ทาํ ใหไดกลวยทใ่ี หมและกรอบอยู ตลอดเวลา

การพัฒนาผลิตภัณฑ กลุม ไดมีการประชุมแลกเปลีย่ นความคิดเห็นรวมกันทุกเดือน และมี

การนําสมาชิกกลุม ไปศึกษาดูงานกลุม อาชีพอืน่ ๆ เพือ่ นําความรูใ หม ๆ มาพัฒนาผลิต ภัณฑ และมี

การเชือ่ มโยงกับเครือขายซึง่ เปนกลุม สตรีอืน่ ๆ ในการหาตลาดรวมกัน แลกเปลีย่ น ความรูเ รือ่ ง

การบริหารจัดการกลุม ใหยั่งยืน และจากการทีก่ ลุม ไดไปศึกษาดูงานการผลิตกลวย ฉาบที่จังหวัด

122

สโุ ขทยั ทําใหก ลมุ ไดเครือขายในการแลกเปลี่ยนเรียนรูก ารพัฒนาผลิตภัณฑกวาง ข้ึน ความรูจ าก

การไปศึกษาดูงานทําใหกลุม ไดแนวคิดเกี่ยวกับการฝานกลวยฉาบใหไดใน ปริมาณมาก ๆ ไดเรียนรู

และขยายการผลิตสินคาชนิดอืน่ ๆ เพิ่ม เชน การทําเผือกฉาบ มันฝรัง่ ทอด และการพัฒนา

รสชาตขิ องผลติ ภัณฑใ หม ีความหลากหลายมากขึ้น ทําใหกลุม ได รับการพัฒนา มีใบอนุญาต ทีเ่ รียกวา

อย. มาเปน เครอื่ งกาํ กับถึงคุณภาพของผลิตภณั ฑม กี าร ขยายตลาดไปตางจังหวัด และตางประเทศ กลุม

จงึ เปนทีร่ จู ักและดํารงอยไู ดมาจนถึงทุกวันนี้

ฉาบที่จังหวัดสุโขทัย ทําใหกลุมไดเครือขายในการแลกเปลี่ยนเรียนรูก ารพัฒนาผลิตภัณฑกวางขึ้น
ความรูจ ากการไปศึกษาดูงานทําใหกลุม ไดแนวคิดเกีย่ วกับการฝานกลวยฉาบใหไดในปริมาณมากๆ ได
เรียนรูแ ละขยายการผลิตสินคาชนิดอืน่ ๆ เพิ่ม เชน การทําเผือกฉาบ มันฝรัง่ ทอด และการพัฒนา
รสชาตขิ องผลติ ภณั ฑใ หมีความหลากหลายมากข้ึน ทําใหกลุม ได รับการพัฒนา มีใบอนุญาต ทีเ่ รียกวา
อย. มาเปนเครือ่ งกํากับถึงคุณภาพของผลิตภัณฑมีการ ขยายตลาดไปตางจังหวัด และตางประเทศ
กลุมจึงเปน ทรี่ ูจักและดาํ รงอยไู ดมาจนถงึ ทกุ วนั น้ี

จากตวั อยา งการดาํ เนนิ การกลมุ กลวยหอมยัดเยียด ไดม กี ารนาํ การจดั การความรู มาใช
เพื่อการพัฒนากลุม กระบวนการจดั การความรูข องกลุมเปน ดังนี้

1. การบงชี้ความรู เปาหมายของการรวมกลุมกลวยหอมยัดเยียด คือสรางรายได
ใหกับสมาชิกกลุมอาชีพ และพัฒนากลุม อาชีพใหเขมแข็ง ยั่งยืน มีรายไดอยางตอเนือ่ ง กลุม
ตองมีความรูใ นเรื่องวัตถุดิบ กระบวนการผลิต การตลาด การรวมกลุม การสราง
เครอื ขา ย

2. การสรางและแสวงหาความรู เมื่อกําหนดองคความรูท ีจ่ ําเปนในการพัฒนา กลุม
อาชีพแลว กลุมมีการสํารวจหาแหลงความรูที่ดําเนินการเกีย่ วกับการทํากลวยฉาบ ซ่ึง กอน
ดําเนินการแสวงหาความรู ไดมีการปรึกษาหารือกันในกลุม รวมทั้งสวนราชการที่ใหการ
สนับสนุน จากนั้นไดรวบรวมรายชื่อกลุมอาชีพที่ทําเรือ่ งกลวยในจังหวัดพะเยา เพือ่ เปนขอมูล
ในการวางแผนการแลกเปลย่ี นเรียนรรู ว มกัน

3. การจัดการความรูใหเปนระบบ เมื่อมีการแสวงหาความรูแลว ไดมีการจัดทํา
ทําเนียบกลุมอาชีพตาง ๆ ทั้งทีอ่ ยูใ นจังหวัดพะเยา และนอกจังหวัดพะเยา เพือ่ การแลก เปลีย่ น
เรียนรรู วมกันตอไป

4. การประมวลและกลั่นกรองความรู ความรูที่ไดจากกลุม ตาง ๆ กลุมไดมีการ
แยกแยะถึงปญหาและจุดเดนของการดําเนินการพัฒนากลุมอาชีพในแตละกลุม และนํามา จัดทํา

123

เวทีเพื่อใหสมาชิกกลุมรวมกันวิเคราะหถึงจุดเดนจุดดอยของกลุม เพื่อการพัฒนากลุม ให
ดียงิ่ ขน้ึ ตอ ไป

5. การเขา ถงึ ความรู กลมุ ไดสรางเครอื ขา ยเพือ่ การเรียนรูในองคความรูท่ีจําเปน ตอ
การพัฒนากลุม รวมกัน ทั้งความรูในเรื่องวัตถุดิบ กระบวนการผลิต การตลาด การ บริหาร
จดั การกลมุ

6. การแบงปนแลกเปลี่ยนความรู กลุมมีการแลกเปลีย่ นเรียนรูรวมกันอยูต ลอด
สรางความสามัคคีภายในกลุม แลกเปล่ียนเรียนรูกับกลุมอ่ืน ๆ ทั้งกลุมที่อยูในจังหวัดพะเยา
และกลุมที่อยูในจังหวัดอืน่ จากการศึกษาดูงาน และประชุมสัมมนา รวมทัง้ การแลกเปลีย่ น
เรียนรูอยางไมเปนทางการจากการพบเจอกันในการออกรานในงานตาง ๆ ที่สวนราชการเปน ผู
จดั

7. การเรียนรู สมาชิกในกลุม เกิดการเรียนรูร วมกัน ยกระดับความรูใ นเรื่องวัตถุดิบ
ทําใหมีวัตถุดิบเพือ่ ใชในการผลิตตลอดทัง้ ป มีกระบวนการผลิตที่งายไมยุง ยากและเปน
อนั ตราย ผลติ ไดจ าํ นวนมาก ๆ เพียงพอตอความตอ งการ มกี ารขยายตลาดเพม่ิ มีการรวม หุนใน
กลุมเพือ่ เปน เงนิ ทุนของกลุมและชวยเหลอื สมาชิกทเี่ ดอื ดรอ น

124

การสรุปองคความรแู ละการจัดทาํ สารสนเทศการจดั การความรู
ดวยการรวมกลมุ ปฏบิ ัติการ

ในการปฏิบัติงานแตละครั้ง กลุมจะตองมีการสรุปองคความรูเพือ่ จัดทําเปนสาร
สนเทศเผยแพรความรูใ หกับสมาชิกกลุม และกลุมอื่น ๆ ที่สนใจในการเรียนรู และเมือ่ มีการ
ดําเนินการจัดหาหรือสรางความรูใหมจากการพัมนาขึ้นมา ตองมีการกําหนดสิ่งสําคัญที่จะ เก็บ
ไวเปนองคความรู และตองพิจารณาถึงวิธีการในการเก็บรักษาและนํามาใชใหเกิดประโยชน
ตามความตองการ ซึ่งกลุม ตองจัดเก็บองคความรูไวใหดีที่สุด ไมวาจะเปนขอมูลขาวสาร
สนเทศ การวิจัย การพัฒนา โดยตองคํานึงถึงโครงสรางและสถานทีห่ รือฐานของการจัดเก็บ
ตองสามารถคนหาและสงมอบไดอยางถูกตอง มีการจําแนกหมวดหมูของความรูไ วอยาง
ชดั เจน

การสรุปองคความรูดวยการรวมกลมุ ปฏิบัติการ

การจัดการความรกู ลุมปฏิบัติการ เปนการจัดการความรูของกลุม ทีร่ วมตัวกัน มีจุด มุง
หมายของการทํางานรวมกันใหประสบผลสําเร็จ ซึ่งมีกลุมปฏิบัติการ หรือทีเ่ รียกวา
“ชุมชนนักปฏิบัติ” เกิดขึ้นอยางมากมาย เชน กลุมฮักเมืองนาน กลุมเล้ียงหมู กลุมเล้ียงกบ
กลมุ เกษตรอินทรีย กลุม สัจจะออมทรัพย หรือกลุม อาชีพตาง ๆ ในชุมชน กลุมเหลานีพ้ รอม ที่
จะเรยี นรแู ละแลกเปล่ยี นประสบการณซง่ึ กันและกนั

องคความรูจ ึงเปนความรูแ ละปญญาทีแ่ ตกตางกันไปตามสภาพและบริบทของ
ชุมชน การสรางองคความรูหรือชุดความรูของกลุมไดแลว จะทําใหสมาชิกกลุมมีองคความรู
หรือชุดความรไู วเ ปน เครอื่ งมือในการพัฒนางาน และแลกเปลีย่ นเรียนรูก ับคนอื่น หรือกลุม อื่น
อยางภาคภูมิใจ เปนการตอยอดความรูแ ละการทํางานของตนตอไปอยางไมมีที่สิ้นสุด อยางที่
เรยี กวาเกิดการเรยี นรแู ละพฒั นากลมุ อยา งตอเน่ืองตลอดชีวติ

ในการสรุปองคความรูของกลุม กลุมจะตองมีการถอดองคความรูท ีเ่ กิดจากการ
ปฏิบัติ การถอดองคความรูจึงมีลักษณะของการไหลเวียนความรู จากคนสูคน และจากคน สู
กระดาษ นน่ั คือการองคค วามรูมาบันทึกไวในกระดาษ หรือคอมพิวเตอรเพื่อเผยแพรใหกับ คนท่ี
สนใจไดศกึ ษาและพัฒนาความรูต อไป ปจ จัยท่ีสง ผลสาํ เรจ็ ตอ การรวมกลุม ปฏิบัติการ คือ

125

1. การสรา งบรรยากาศของการทาํ งานรว มกนั กลมุ มคี วามเปนกันเอง
2. ความไววางใจซึ่งกันและกัน เปนหัวใจสําคัญของการทํางานเปนทีม สมาชิก ทุก
คนควรไวว างใจกนั ซอื่ สัตยต อ กนั ส่ือสารกันอยา งเปดเผย ไมมีลับลมคมใน
3. การมอบหมายงานอยางชัดเจน สมาชิกทุกคนงานเขาใจวัตถุประสงค เปาหมาย
และยอมรบั ภารกจิ หลกั ของทมี งาน
4. การกําหนดบทบาทใหกับสมาชิกทุกคน สมาชิกแตละคนเขาใจและปฏิบัติตาม
บทบาทของตนเอง และเรียนรูเ ขาใจในบทบาทของผูอืน่ ในกลุม ทุกบทบาทมีความสําคัญ
รวมทั้งบทบาทในการชวยรักษาความเปนกลุมใหมั่นคง เชน การประนีประนอม การอํานวย
ความสะดวก การใหก าํ ลงั ใจ เปนตน
5. วิธีการทาํ งาน สิ่งสาํ คัญท่ีควรพิจารณา คอื

1) การสื่อความ การทํางานเปนกลุมตองอาศัยบรรยากาศ การสื่อความท่ี
ชัดเจน เหมาะสม ซึง่ จะทําใหทุกคนกลาเปดใจแลกเปลีย่ นความคิดเห็น และแลกเปลีย่ น
เรยี นรูซึง่ กนั และกันจนเกดิ ความเขาใจ และนาํ ไปสูการทํางานท่ีมปี ระสิทธิภาพ

2) การตัดสินใจ การทํางานเปนกลุมตองใชความรูในการตัดสินใจรวมกัน เมื่อ
เปดโอกาสใหสมาชิกในกลุมแสดงความคิดเห็น และรวมตัดสินใจแลว สมาชิกยอมเกิดความ
ผกู พันท่ีจะทาํ ใหสง่ิ ท่นี เองไดม สี ว นรว มตั้งแตตน

3) ภาวะผูน ํา คือ บุคคลที่ไดรับการยอมรับจากผูอ ื่น การทํางานเปนกลุมควร
สงเสริมใหสมาชิกในกลุมทุกคนไดมีโอกาสแสดงความเปนผูนํา เพือ่ ใหทุกคนเกิดความรูสึกวา
ไดร บั การยอมรับ จะไดร ูส ึกวาการทํางานรว มกันเปนกลมุ นัน้ มีความหมายปรารถนาทจ่ี ะทาํ อกี

4) การกาํ หนดกตกิ าหรอื กฎเกณฑต า ง ๆ ที่จะเอื้อตอการทํางานรวมกันให บรรลุ
เปาหมาย ควรเปดโอกาสใหสมาชิกไดมีสวนรวมในการกําหนดกติกา หรือกฎเกณฑท่ี จะ
นํามาใชร ว มกัน

6. การมีสวนรวมในการประเมินผลการทํางานของกลุม ควรมีการประเมินผลการ
ทํางานเปนระยะในรูปแบบทัง้ ไมเปนทางการและเปนทางการ โดยสมาชิกทุกคนมีสวนรวมใน
การประเมินผลงาน ทําใหสมาชิกไดรับทราบความกาวหนาของงาน ปญหาอุปสรรคที่เกิดข้ึน
รวมทั้งพัฒนากระบวนการทํางาน หรือการปรับปรุงแกไขรวมกัน ซึ่งในที่สุดสมาชิกจะไดทราบ
วา ผลงานบรรลเุ ปา หมาย และมีคุณภาพมากนอยเพียงใด

126

ตวั อยางการสรุปองคความรูก ลมุ กลวยหอมยดั เยยี ด

127

128

129

สารสนเทศการจัดการความรูดวยการรวมกลุมปฏบิ ตั กิ าร

สารสนเทศการจัดการความรูดวยการรวมกลุมปฏิบัติการ หมายถึงการรวบรวม ขอมูล
ที่เปนประโยชนตอการพัฒนางาน พัฒนาคน หรือพัฒนากลุม ซึง่ อาจจัดทําเปน เอกสารคลัง
ความรูข องกลุม หรือเผยแพรผานทางเว็บไซด เพื่อแบงปน แลกเปลี่ยนความรู และนํามาใช
ประโยชนใ นการทาํ งาน

ตวั อยา งของสารสนเทศจากการรวมกลมุ ปฏบิ ตั กิ าร ไดแ ก
1. บันทึกเรือ่ งเลา เปนเอกสารที่รวบรวมเรื่องเลา ทีแ่ สดงใหเห็นถึงวิธีการทํางาน ให
ประสบผลสําเร็จ อาจแยกเปนเรื่อง ๆ เพื่อใหผูทีส่ นใจเฉพาะเร่อื งไดศ กึ ษา
2. บันทึกการถอดบทเรียนหรือการถอดองคความรู เปนการทบทวน สรุปผลการ
ทํางาน ทีจ่ ัดทําเปนเอกสาร อาจจัดทําเปนบันทึกระหวางการทํางาน และหลังจากทํางาน เสร็จ
แลว เพ่อื ใหเห็นวธิ กี ารแกปญหาในระหวา งการทาํ งาน และผลสาํ เรจ็ จากการทาํ งาน
3. วีซีดีเรอื่ งสัน้ เปน การจดั ทําฐานขอมลู ความรูที่สอดคลอ งกบั สังคมปจจุบัน ท่ีมี การ
ใชเครื่องอเิ ล็กทรอนิกสก นั อยางแพรห ลาย การทาํ วีซีดีเปนเร่ืองสั้น เปนการเผยแพรให บุคคลได
เรียนรูและนําไปใชใ นการแกป ญหา หรอื พฒั นางานในโอกาสตอไป
4. คูมือการปฏิบัติงาน การจัดการความรูทีป่ ระสบผลสําเร็จจะทําใหเห็นแนวทาง
ของการทํางานที่ชัดเจน การจัดทําเปนคูม ือเพื่อการปฏิบัติงาน จะทําใหงานมีมาตรฐาน และ
ผเู กย่ี วขอ งสามารถนาํ ไปพฒั นางานได
5. อินเตอรเน็ต ปจจุบันมีการใชอินเตอรเน็ตกันอยางแพรหลาย และมีการสื่อสาร
แลกเปลี่ยนความรูผานทางอินเตอรเน็ตในเว็บไซดตาง ๆ มีการบันทึกความรูทั้งในรูปแบบ ของ
เว็บบล็อก เว็บบอรด และรูปแบบอืน่ ๆ อินเตอรเน็ตจึงเปนแหลงเก็บขอมูลจํานวนมาก ใน
ปจจบุ ัน เพราะคนสามารถเขา ถงึ ขอมลู ไดอยางรวดเร็ว ทกุ ท่ี ทกุ เวลา

130

กจิ กรรม

กจิ กรรมท่ี 1 การจดั การความรูดว ยตนเองตอ งอาศยั ทักษะอะไรบาง และผเู รยี นมีวิธกี ารจดั
การความรูดวยตนเองอยา งไร ยกตวั อยา ง

.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

กจิ กรรมท่ี 2 องคค วามรูทีผ่ เู รยี นไดร บั จากการจดั การความรดู ว ยตนเองคอื อะไร (แยกเปน
ขอๆ)

.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

กจิ กรรมท่ี 3 ใหผูเรียนเขียนเร่อื งเลา แหง ความสาํ เรจ็ และรวมกลุม กบั เพื่อนที่มเี รอื่ งเลา ลกั ษณะ
คลายกนั ผลดั กนั เลาเร่ือง สกดั ความรจู ากเรอื่ งเลาของเพ่ือน ตามแบบฟอรม
ดงั น้ี

131

แบบฟอรม การบันทึกขมุ ความรจู ากเร่ืองเกา

ช่อื เรอ่ื ง..............................................................................................................................................................................
ช่ือผเู ลา .............................................................................................................................................................................

1. เน้ือเร่ืองยอ

.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

2. การบันทกึ ขมุ ความรูจากเรอ่ื งเลา
2.1 ปญ หา............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

2.2 วธิ แี กป ญ หา (ขุมความร)ู ........................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

2.3 ผลทีเ่ กิดขึน้ ..................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................................

132

.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

2.4 ความรูสึกของผเู ลา / ผเู ลา ไดเ รียนรอู ะไรบา ง จากการทาํ งานน้ี

.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

3. แกน ความรู

.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

133

กจิ กรรมท่ี 4 ใหผเู รียนจบั กลุม 3-5 คน ไปถอดองคค วามรกู ลมุ อาชพี ตา ง ๆ ในชุมชน และ
นํามาสรปุ เปนองคความรู ตามแบบฟอรม ดงั นี้

สรุปองคความรกู ลมุ .............................................................................................................................
ท่อี ยกู ลมุ ...........................................................................................................................................................................
ช่อื ผูถ อดองคค วามรู 1.......................................................................................................................................

2.......................................................................................................................................
3.......................................................................................................................................

134

แบบทดสอบเร่ืองการจัดการความรู

คาํ ชแี้ จง : จงกากบาท X เลอื กขอ ทท่ี านคิดวา ถกู ตองท่ีสุด

1. การจดั การความรเู รยี กสน้ั ๆ วาอะไร
ก. MK
ข. KM
ค. LO
ง. QA

2. เปา หมายของการจดั การความรคู อื อะไร
ก. พฒั นาคน
ข. พฒั นางาน
ค. พฒั นาองคกร
ง. ถูกทกุ ขอ

3. ขอ ใดถูกตองมากทสี่ ุด
ก. การจดั การความรู หากไมท าํ จะไมรู
ข. การจดั การความรคู ือการจัดการความรขู องผเู ช่ียวชาญ
ค. การจดั การความรถู อื เปน เปา หมายของการทาํ งาน
ง. การจดั การความรคู อื การจดั การความรทู ม่ี ใี นเอกสาร ตาํ รา มาจดั ใหเ ปน
ระบบ

4. ขั้นสูงสดุ ของการเรยี นรคู อื อะไร
ก. ปญ ญา
ข. สารสนเทศ
ค. ขอมลู
ง. ความรู

5. ชมุ ชนนกั ปฏบิ ตั ิ (Cop) คอื อะไร
ก. การจดั การความรู
ข. เปา หมายของการจดั การความรู
ค. วิธกี ารหนึ่งของการจัดการความรู
ง. แนวปฏบิ ตั ขิ องการจดั การความรู

135

6. รูปแบบการจัดการความรูตามโมเดลปลาทู สว น “ทองปลา” หมายถึงอะไร
ก. การกาํ หนดเปา หมาย
ข. การแลกเปลย่ี นเรยี นรู
ค. การจดั เกบ็ เปน คลงั ความรู
ง. ความรูทช่ี ดั แจง

7. ผทู ที่ าํ หนา ท่กี ระตนุ ใหเกดิ การแลกเปล่ียนเรียนรคู อื ใคร
ก. คณุ เออื้
ข. คณุ อาํ นวย
ค. คุณกิจ
ง. คุณลขิ ติ

8. สารสนเทศเพอื่ เผยแพรค วามรูในปจ จุบนั มีอะไรบา ง
ก. เอกสาร
ข. วซี ีดี
ค. เว็บไซด
ง. ถกู ทุกขอ

9. การจัดการความรดู วยตนเองกับชมุ ชนแหงการเรียนรมู คี วามเกี่ยวของกัน
หรือไม อยางไร
ก. เกย่ี วของกนั เพราะการจดั การความรใู นบคุ คลหลาย ๆ คน รวมกนั เปน
ชุมชน เรียกวาเปนชมุ นมุ แหงการเรียนรู
ข. เกยี่ วขอ งกัน เพราะการจดั การความรใู หก บั ตนเองกเ็ หมอื นกบั จดั การความรู
ใหช ุมชนดว ย
ค. ไมเ ก่ยี วของกัน เพราะจัดการความรดู วยตนเองเปนปจเจกบุคคล สว น
ชุมชนแหงการเรยี นรูเปนเรอื่ งของชมุ ชน
ง. ไมเก่ยี วของกัน เพราะชุมชนแหง การเรยี นรูเปนการเรยี นรเู ฉพาะกลุม

10. ปจจัยท่ีทาํ ใหก ารจดั การความรูก ารรวมกลุม ปฏบิ ตั ิการประสบผลสาํ เร็จคอื อะไร
ก. พฤตกิ รรมของคนในกลมุ
ข. ผูน ํากลมุ
ค. การนาํ ไปใช
ง. ถกู ทกุ ขอ

เฉลย 1) ข 2) ง 3) ก 4) ก 5) ค 6) ข 7) ข 8) ง 9) ก 10) ง

136

แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ห ลั ง เ รี ย น

บทสะทอ นทไ่ี ดจ ากการเรยี นรู
1. สง่ิ ทท่ี า นประทบั ใจในการเรยี นรรู ายวชิ าการจดั การความรู

.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

2. ปญ หา/อปุ สรรคทพ่ี บในการเรยี นรรู ายวชิ าการจดั การความรู

.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

3. ขอเสนอแนะเพ่ิมเติม

.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

137

บทที่ 4

คิดเปน

สาระสําคญั

ทบทวนทําความเขาใจกับความเชื่อพืน้ ฐานทางการศึกษาผูใ หญ และเชือ่ มโยงไปสูก ารเรียนรู
เรื่องของการคิดเปน กระบวนการแกปญหาของคนคิดเปนและปรัชญาคิดเปน ศึกษาวิเคราะหลักษณะ
ของขอมูลทั้งดานวิชาการ ตนเอง และสังคม สิ่งแวดลอม รวมทั้งเทคนิคการเก็บขอมูล เพือ่ นําไปใชใน
การเลือกเก็บขอมูลดังกลาวมาใชประกอบการคิดตัดสินใจอยางคนคิดเปน

ผลการเรียนรูทค่ี าดหวัง

1. อธิบายทบทวนความเชือ่ พืน้ ฐานทางการศึกษาผูใ หญ กับความเชือ่ มโยงสูก ระบวนการคิด
เปนและปรัชญาคดิ เปน ได

2. จําแนก เปรียบเทียบ ตรวจสอบ ลักษณะของขอมูลดานวิชาการ ตนเอง และสังคม
สิง่ แวดลอมทีจ่ ะนํามาใชประกอบการคิดและการวิเคราะหขอมูล เพือ่ แกปญหาของคนคิด
เปน ได

ขอบขา ยเนอ้ื หา

1. ความเชื่อพืน้ ฐานทางการศึกษาผูใหญ และการเชื่อมโยงสูกระบวนการคิดเปนและปรัชญาคิด
เปน

2. ลักษณะและความแตกตางของขอมูลดานวิชาการ ตนเอง และสังคมสิง่ แวดลอม รวมทัง้
เทคนิคการเก็บขอมูลและวิเคราะห สังเคราะหขอมูล การคิดเปนที่จะนํามาใชประกอบการ
คดิ การตัดสินใจ แกป ญ หาของคนคดิ เปน

3. กรณตี วั อยางเพื่อการฝกปฏิบัติ

ขอแนะนาํ การจัดการเรยี นรู

1. คิดเปน เปนวิชาที่เนนใหผูเรียนไดเรียนรูด วยการคิด การวิเคราะห และแสวงหาคําตอบดวย
การใชกระบวนการที่หลากหลาย เปดกวาง เปนอิสระมากกวาการเรียนรูท ีเ่ นนเนือ้ หาให
ทองจําหรอื มคี ําตอบสาํ เร็จรปู ให โดยผเู รียนไมต อ งคิด ไมตอ งวเิ คราะหเหตุและผลเสยี กอ น

2. ขอแนะนําวา กระบวนการเรียนรูในระดับมัธยมศึกษาตอนตนนัน้ ผูเ รียนในระดับ
มัธยมศึกษาตอนตนบางคนเทานั้นที่เคยเรียนมาจากหลักสูตร กศน. 51 ระดับประถมศึกษาที่
เคยเรียนรูแบบพบกลุม เคยอภิปรายถกแถลงมากอน แตสวนใหญเรียนมาจากการศึกษาใน

138

ระบบ จึงควรใหไดฝกประสบการณการเรียนดวยวิธีพบกลุม ไดรวมการอภิปรายถก
แถลง เพอื่ ใหผเู รยี นและครชู ว ยกนั แสวงหาคําตอบตามประเด็นที่กําหนด และชวยใหผูเรียน
ไดคุน เคยและมัน่ ใจในการเรียนรูดวยกระบวนการกลุม สัมพันธตอไป สวนผูท ีเ่ คยเรียนการ
อภิปรายกลุมมาแลว ก็ใชโอกาสนี้ฝกทักษะใหมั่นใจเพิม่ ขึ้น และจะไดชวยเพือ่ นๆ ใหรวม
กจิ กรรมไดร วดเรว็ มากขน้ึ
3. เนื่องจากเปนวิชาที่ประสงคจะใหผูเรียนไดฝกการคิด การวิเคราะห เพื่อแสวงหาคําตอบดวย
ตนเองมากกวาทองจําเพือ่ หาความรูแ บบเดิม ครูและผูเ รียนจึงควรจะตองปฏิบัติตาม
กระบวนการทแ่ี นะนาํ โดยไมข า มขัน้ ตอนจะชวยใหก ารเรียนรเู กดิ ขึ้นอยางมปี ระสิทธิภาพ

139

เรื่องที่ 1 ปฐมบทของการคิดเปน

“คิดเปน คืออะไร ใครรบู าง
มีทิศทางมาจากไหน ใครเคยเห็น
จะเรยี นรํา่ ทาํ อยา งไรให “คิดเปน ”
ไมล อ เลน ใครตอบไดข อบใจเอย”

ความเชอ่ื พืน้ ฐานทางการศึกษาผใู หญ
ทุกวันนี้นอกจากเด็กและเยาวชนที่คร่ําเครงเรียนหนังสืออยูในโรงเรียนกันมากมายทั่วประเทศ

แลว ก็ยังมีเยาวชนและผูใหญจํานวนไมนอยทีส่ นใจใฝรูใ ฝเรียนตางก็ใชเวลาวางจากการทํางาน หรือ
วันหยุดไปเรียนรูเพิ่มเติมทัง้ วิชาสามัญ วิชาอาชีพ หรือการฝกทักษะการเรียนรูต าง ๆ จากสื่อและ
เทคโนโลยีที่แพรหลายมากมายที่เรียกวา การศึกษาผูใหญ การศึกษานอกโรงเรียน การศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย ผูเ รียนเหลานี้บางคนเปนเยาวชนทีย่ ังเรียนไมจบมัธยมศึกษาตอนตน แตตอง
ออกมาทํางานเพราะครอบครัวยากจน มีพีน่ องหลายคน บางคนไมไดเรียนหนังสือแตทํางานเปนเจาของ
กิจการใหญโต บางคนจบปริญญาแลวก็ยังมาเรียนอีก บางคนอายุมากแลวก็ยังสนใจมาฝกวิชาชีพและวิชา

ที่สนใจ เชน รองเพลง ดนตรี หมอดู พระเครือ่ ง เปนตน และมีจํานวนไมนอยที่เรียนรู การทํารานอาหาร
การทํารานขายทอง หรือการทําการเกษตรปลูกสมโอตามทีพ่ อแม ปู ยา ตา ยาย ทํามาหากินมาหลายชัว่
อายุคน

กิจกรรมท่ี 1

คนทุกคนมีความแตกตางกันเปนธรรมดา ทานเคยรูบางไหมวา เหตุใดนักศึกษาเหลานี้จึงคิดมา
เรยี นหนงั สอื เมอ่ื อายุเลยวยั ท่ีจะเรียนในโรงเรยี นแลว ?

คําตอบมีหลากหลายแตกตางกันไป เชน
อยากมีโอกาสไดเรยี นสูง ๆ ไดเ ปนเจาคนนายคน
เรียนจบระดับประถมศกึ ษาแลว ต้งั แตเด็ก ๆ อยากเรียนตอ ระดบั มัธยมศกึ ษาบาง
ตองการนาํ ความรไู ปใชพัฒนาตนเอง พัฒนาอาชีพใหด ีขน้ึ มรี ายไดด กี วาเดมิ
ตองการพบเพือ่ นรุนเดียว วยั เดียวกนั ไดแ ลกเปล่ียนความคิดดว ยกนั

มีเงินมีทอง มงี านทาํ เปนหลกั เปน ฐาน มชี ่ือเสยี งเดน ดงั แลว อยากมวี ฒุ กิ ารศกึ ษาสูง ๆ มาประดับตัวเอง
มีฐานะดี เปนเจาของกิจการใหญโตระดับประเทศและนานาชาติ แตมีวุฒิทางการศึกษาเพียงแค ม. 3
กอ็ ายเขา
อยากเรยี นปรญิ ญาบา ง ต้ังใจจะสมัครเปน นักการเมอื งทองถิน่ แตวุฒิการศึกษาไมเพียงพอ จึงตองมาเรียน
ใหไ ดว ฒุ ติ ามทก่ี ฎหมายกาํ หนด

140

มาเรียนใหจบมัธยมศึกษาตอนปลาย เพือ่ จะไดมีโอกาสประเมินเลื่อนตําแหนงเปนนายทหารชั้น

สัญญาบัตร มาเรียนวิชาชีพทําอาหารตามท่ีเพ่ือน ๆ ชวนมา ต้ังใจจะนําความรูไปทําอาหารขายในชุมชน เม่ือ

เรยี นสาํ เรจ็ ฯลฯ

คําตอบอาจจะมีอีกมากมายตามเหตุผลของแตละคนทีไ่ มเหมือนกัน หรือบางคนอาจมีเหตุผล

เหมือนกับคนอื่นบาง แมแตตัวทานเอง เคยถามตัวเองบางไหมวา มาเรียนที่นี่เพราะอะไร?

คําตอบของทาน คือ

เพราะ _____________________________________________________________________

(ลองเติมตามใจทาน) ถา จะถามตอ อกี วา ทาํ ไมเหตุผลของหลายคนที่กลา วมาแลวใน การเรยี นท่ีน่จี ึงไม

เหมือนกันทกุ คนและอาจจะไมเ หมือนกับเหตุผลของทาน? หลายคนตอบวา เพราะเขาไมใชทาน

ความคิด ความประสงค ความตองการของเขาจึงแตกตางไปจากของทาน

ทานวาจริงไหม? (ลองคดิ แตไ มตองเขียนตอบ)

ถาเรียนจบหลักสูตรและคุณครูประเมินผลการเรียนรูแลวปรากฏวา ทานมีความรูจริงผานการ

ประเมินจบหลักสูตรตามที่ทานตั้งความหวังไว ทานจะรูสึกอยางไร (โปรดกาเครือ่ งหมาย  ลงใน

กรอบเหน็ ดว ย)

ดใี จ มคี วามสขุ เสียใจ ไมม คี วามสุข

แตถาเรียนจบหลักสูตรตามทีท่ านตั้งใจมาเรียนแลว ปรากฏวา ทานไมสามารถผานการประเมินจบ

หลักสูตรได ความตั้งใจท่ีจะมาเรียนที่น่ีจึงไมสําเร็จ ทานจะรูสึกอยางไร (โปรดกาเคร่ืองหมาย  ลงในกรอบ

เหน็ ดว ย)

ดใี จ มีความสขุ เสยี ใจ ไมม คี วามสุข
เชอ่ื วา คําตอบของทานก็คงเหมือนกันทุกคน นั่นก็คือ คนทุกคนมีความแตกตางกัน มีการดําเนิน
ชีวิตที่ตางกัน ความคาดหวัง ความตองการตาง ๆ ในชีวิตก็แตกตางกัน แตทุกคนก็ตองการความสําเร็จใน
ชีวิตดวยกันทุกคน ซึง่ ถาประสบความสําเร็จก็จะมีความสุข ความเชือ่ ดังกลาวนี้ เปนความจริงในชีวิต 1
ใน 5 ขอ ของคน ท่ีดร. โกวิท วรพิพัฒน อดีตอธิบดีกรมการศึกษานอกโรงเรียนไดใชเปนพืน้ ฐานความคิดที่

สาํ คัญในการจัดการศึกษาผูใหญหลายโครงการ ตัง้ แตป พ.ศ. 2513 เปนตนมา ความจริงในชีวิตของคน 5
ประการ ท่ตี อ มาเรียกกันวา ความเชือ่ พื้นฐานทางการศึกษาผูใหญนีน้ ับวาเปนปฐมบท หรือที่มาของคําวา
คดิ เปน

141

ใบงานท่ี 1 การเรียนรูร วมกนั
ใบงานนีจ้ ะเนนการอธิบายถึงกระบวนการเรียนรูรวมกันทีจ่ ะชวยใหผูเ รียนไดรูจักคิด รูจ ัก
วิเคราะห รูจ ักการแสวงหาคําตอบดวยตนเอง หรือจากกระบวนการอภิปรายกลุม โดยทีค่ รูไมบอก
หรอื มคี ําตอบสาํ เรจ็ รปู ให กระบวนการทว่ี าน้ีอาจเปน ดังนี้
ครูแบงกลุมผูเรียนออกเปน 2 – 3 กลุมยอย ใหผูเ รียนเลือกประธานกลุมและเลขานุการกลุม
เพือ่ เปนผูน ําอภิปรายและผูจดบันทึกผลการอภิปรายของกลุม และนําผลการอภิปรายของกลุมเสนอ
ตอ ทีป่ ระชมุ กลุมใหญ ครนู ําเสนอกรณตี ัวอยา ง พรอ มประเดน็ อภปิ รายใหผูเรียนทุกกลุมยอย อภิปราย
ถกแถลงเพือ่ หาคําตอบตามประเด็นทีก่ ําหนดให ครูติดตาม สังเกตเหตุผลของกลุม หากขอมูลยังไม
เพียงพอ ครูอาจชีแ้ นะใหอภิปรายเพิม่ เติม ในสวนของขอมูลทีย่ ังขาดอยูไ ด เลขานุการกลุม ซึง่ อาจะมี
ได 1 – 2 คน บันทึกผลการพิจารณาหาคําตอบตามประเด็นทีก่ ําหนดใหเปนคําตอบสั้น ๆ เพียงใหได
ใจความ แลวนําคําตอบนั้น ๆ ไปรายงานในที่ประชุมกลุมใหญ
ในการประชุมกลุมใหญ ผูแ ทนกลุม ยอยนําเสนอรายงาน ครูชวยผูเ รียนที่ทําหนาทีเ่ ลขานุการ
กลมุ บันทกึ ขอ คิดเหน็ ของกลมุ ยอยไวที่กระดาษบรฟู ซ่งึ เตรียมจัดไวกอนแลว เมื่อทุกกลุมรายงานแลว
ครนู าํ อภิปรายในกลุมใหญ ถงึ คําตอบของกลมุ ซ่ึงจะหลอมรวมบรู ณาการคําตอบของกลุมยอยออกมา
เปนคําตอบประเด็นอภิปรายของกรณีตัวอยาง หากมีผูเรียนไมมากนัก ครูอาจไมตองแบงกลุม ยอย ให
ผูเรียนทุกคนอภิปรายถกแถลง หรือสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดกันในกลุมใหญเลย โดยมี
ประธานหรือหัวหนากลุม เปนผูน ําและใหเลขานุการกลุม ใหญ เปนผูบ ันทึกขอคิดเห็นของคนในกลุม
โดยครูอาจเปนผูชวยได จากนัน้ ครูนําสรุปคําตอบทีไ่ ดเปนขอเขียนที่สมบูรณขึน้ และนําคําตอบนั้น
บันทึกในกระดาษบรูฟ ติดไวใหเห็นชัดเจน เปรียบเทียบกับตัวอยางขอสรุปของกรณีตัวอยางที่ได
เตรยี มไวกอ นแลว ซ่งึ อาจใกลเ คียงกบั ขอสรปุ ของกลุม

142

การเรียนรูเรื่องความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผูใหญใหเขาใจไดดี ผูเ รียนตองทําความเขาใจ
ดวยการรวมกิจกรรมการคิด การวิเคราะหเรือ่ งราวตาง ๆ เปนขั้นเปนตอนตามลําดับอยางตอเนื่องตั้งแต
กจิ กรรมที่ 1 ทีผ่ ูเ รียนไดร ว มกจิ กรรมมาแลว ไปจนจบกิจกรรมที่ 5 และสรุปความคิดเปนขัน้ เปนตอนตาม
ไปดวยโดยไมตองกังวลวา คําตอบหรือความคิดทีไ่ ดจะผิดหรือถูกมากนอยเพียงใด เพราะจะไมมีคําตอบ
ใดถูกทั้งหมดและไมมีคําตอบใดผิดทั้งหมด เมื่อไดรวมกิจกรรมครบตามกําหนดทัง้ 5 กิจกรรมแลว
ผูเ รียนจะสามารถสรุปแนวคิดเรือ่ งความเชือ่ พืน้ ฐานทางการศึกษา ผูใ หญดวยตนเองได ซึง่ ก็จะนําไปสู
การทําความเขาใจเรื่องคิดเปนตอไป กิจกรรมการเรียนรูเรื่องความเชื่อพืน้ ฐานทางการศึกษาผูใหญทั้ง 5
ขน้ั ตอนน้ี ขอแนะนาํ ใหไดเรียนโดยวิธีพบกลุม เพือ่ ใหไดมีการอภิปรายถกแถลงตอยอดความคิด โดยให
ผูเรียนไดใชประสบการณตรงของทุกคนมาเปนขอมูลในการสนทนาแสดงความคิดเห็นรวมกัน

143

กจิ กรรมท่ี 2

ครูและผูเ รียนนั่งสบาย ๆ เปนกลุม เล็กหรือใหญแลวแตจํานวนผูเ รียน ครูแจกใบงานที่ 2 ที่เปน
กรณีตัวอยางเร่ือง “แปะฮง” ใหผูเรียนทุกคน ครูอธิบายใหผูเรียนทราบวา ครูจะอานกรณีตัวอยางใหฟง 2
เท่ียวชา ๆ ใครที่พออานไดบางก็อานตามไปดวย ใครที่อานยังไมคลองก็ฟงครูอานและคิดตามไปดวย เมื่อ
ครอู า นจบแลว กจ็ ะพูดคยุ กับผูเรียนในเชงิ ทบทวนถึงเนอ้ื หาในกรณีตัวอยางเรื่อง “แปะฮง” เพือ่ ใหแนใจวา
ผูเรียนทุกคนเขาใจเนื้อหาของกรณีตัวอยางตรงกัน จากนั้นครูจึงอานประเด็น ซึ่งเปนคําถามปลายเปด
(คําถามที่ไมมีคําตอบสําเร็จรูป แตเปนคําถามที่กระตุนใหผูเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น) ที่กํากับมากับ
กรณีตัวอยางใหผ เู รียนฟง

ใบงานที่ 2 กรณีตัวอยา งเรอ่ื ง แปะฮง
แปะฮง

ทา นขุนพิชติ พลพา ย เปนคหบดีมีชือ่ เสียงมากในดานความเมตตากรุณาทานเปนคนทีพ่ รอม
ไปดวยทรัพยสมบัติ ขาทาสบริวาร เกียรติยศ ชื่อเสียง และความสุขกายสบายใจ

ตาแปะฮง เปนชายจีนชราตัวคนเดียว ขายเตาฮวย อาศัยอยูที่หองแถวเล็ก ๆ หลังบานขุนพิชิต
แปะฮงขายเตาฮวยเสร็จกลับบานตอนเย็นตกค่าํ หลังจากอาบน้าํ อาบทา กินขาวเสร็จก็นัง่ สีซอ
เพลดิ เพลนิ ทกุ วนั ไป

วันหนึ่งทานขุนคิดวา แปะฮงดูมีความสุขดีแตถาไดมีเงินมากขึ้นคงจะมีความสุขอยาง
สมบูรณมากขึ้น ทานขุนจึงเอาเงินหนึง่ แสนบาทไปใหแปะฮง จากนั้นมาเปนเวลาอาทิตยหนึง่ เต็ม ๆ
ทานขนุ ไมไดย ินเสยี งซอจากบานแปะฮงอีกเลย ทานขุนรูส ึกเหมือนขาดอะไรไปอยางหนึง่ เย็นวันทีแ่ ปด
แปะฮงก็มาพบทานขุน พรอมกับนําเงินที่ยังเหลืออีกหลายหมื่นมาคืน แปะฮงบอกทานขุนวา

“ผมเอาเงินมาคนื ทา นครบั ผมเหนอ่ื ยเหลือเกิน มเี งินมากก็ตองทํางานมากข้ึน ตองคอยระวัง
รักษาเงินทอง เตาฮวยก็ไมไดขาย ตองไปลงทุนทางอืน่ เพื่อใหรวยมากขึ้นอีกลงทุนแลวก็กลัว
ขาดทนุ เหน่อื ยเหลือเกิน ผมไมอยากไดเงินแสนแลว ครับ”

คืนนั้นทานขุนก็หายใจโลงอก เมื่อไดยินเสียงซอจากบานแปะฮง แทรกเขามากับสายลม

ประเด็น ในเรื่องของความสุขของคนในเรื่องนี้ ทานไดแนวคิดอะไรบาง

144

แนวทางการทํากิจกรรม
1. ใหครนู าํ ผูเรยี นทาํ กิจกรรมตามท่แี นะนาํ ไวในใบงานที่ 2
2. กลมุ เลอื กขอ คิดหรอื คําตอบทีก่ ลมุ คดิ วาดที ่สี ดุ ไว 1 คําตอบ
3. คําตอบทก่ี ลมุ คดิ วาดที ่สี ุด ท่ีเลอื กบันทึกไว คอื

..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

ตัวอยางขอสรุปของกรณีตัวอยาง ผูเรียนหลายกลุมทเ่ี คยเสนอไว
เร่ือง “แปะ ฮง” จากความเห็นของ ตัวอยา ง
ผูเรียนหลายหลุมท่ีเคยเสนอไว
ดังปรากฏในกรอบดานขวามือ ขอ สรปุ ผลการอภปิ รายจากกรณี
ตัวอยางขอสรปุ น้ีอาจใกลเคยี ง ตวั อยา งเรอ่ื ง
“แปะฮง”
กับขอสรุปของกลุมของทานก็ได --------------

145

ใบงานท่ี 3 กรณตี ัวอยา งเรอื่ ง “ธญั ญวดี”

ธัญญวดี

ธัญญวดีไดรับการบรรจุเปนครูในโรงเรียนมัธยมที่ตางจังหวัด พอเปนครูได 1 ป ก็มีอัน
เปนตองยายเขามาอยูในกรุงเทพมหานคร โรงเรียนที่ธัญญวดียายเขามาทําการสอนเปนโรงเรียน
มธั ยมเชน เดยี วกนั แตมีการสอนการศึกษาผูใ หญ ระดับที่ 3 – 4 และ 5 ในตอนเย็นอีกดวย มาเมือ่
เทอมทีแ่ ลว ธัญญวดีไดรับการชักชวนจากอาจารยใหญใหสอนการศึกษาผูใหญ ในตอนเย็น
ธัญญวดีเห็นวาตัวเองไมมีภาระอะไรก็เลยตกลงโดยไมตองคิดถึงเรื่องอื่น ซ้ํายังจะมีรายได
เพมิ่ ข้นึ อกี ดว ย

แตธัญญวดีจะคิดผิดหรือเปลาไมทราบ เริ่มตนจากเสียงกระแนะกระแหนจากครูเกา
บางคนวามาอยูยังไมทันไรก็ไดสอนภาษาค่าํ สวนครูเกาทีส่ อนภาคค่าํ ก็เลือกสอนเฉพาะชัว่ โมง
ตน ๆ โดยอางวา เขามีภารกิจทีบ่ าน ธัญญวดียังสาว ยังโสด ไมมีภาระอะไรตองสอนชัว่ โมงทาย
ๆ ทําใหธัญญวดตี องกลบั บา นดกึ ทกุ วัน ถึงบา นก็เหนือ่ ย อาบนํ้าแลว หลับเปน ตายทกุ วนั

การสอนของครูภาคคํา่ สว นใหญไ มคอยคํานงึ ถึงผเู รยี น เขาจะรบี สอนใหหมดไปช่ัวโมง
หนึ่ง ๆ เทานั้น เทคนิคการสอนที่ไดรับการอบรมมา เขาไมนําพา ทํางานแบบขอไปที เชาชามเย็น
ชาม ธัญญวดีเห็นแลวก็คิดวา คงจะรวมสังฆกรรมไมได จึงพยายามทุมเทกําลังกายกําลังใจและ
เวลา ทําทกุ ๆ วถิ ที างเพ่ือหวงั จะใหครูเหลา น้ันไดเ อาเย่ยี งอยางของตนบาง แตก็ไมไดผลทุกอยาง
เหมือนเดิม ธัญญวดีแทบหมดกําลังใจไมมีความสุขเลย คิดจะยายหนีไปอยูท ีอ่ ืน่ มาฉุกคิดวาที่
ไหน ๆ คงเหมอื น ๆ กนั คนเราจะใหเ หมอื นกนั หมดทกุ คนไปไมไ ด

ประเดน็ ถา ทานเปนธัญญวดี ทาํ อยา งไรจึงจะอยูในสงั คมนน้ั ไดอ ยา งมคี วามสุข

146

แนวทางการทํากิจกรรม
1. ครูนําผูเรียนทาํ กิจกรรมตามที่เสนอไวในใบงานท่ี 3
2. กลุม เลือกขอคิดหรอื คาํ ตอบทีค่ ิดวาดีที่สดุ ไว 1 คาํ ตอบ
3. คาํ ตอบทกี่ ลมุ คดิ วาดีทสี่ ดุ ท่ีเลอื กบนั ทึกไวค ือ

..........................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

ตัวอยางขอสรุปของกรณีตัวอยาง ตัวอยา ง
เร่ือง “ธญั ญวดี” จากความเห็นของ ขอ สรุปผลการอภิปรายจากกรณตี วั อยางเรือ่ ง
ผูเรียนหลายกลมุ ที่เคยเสนอไว
ดังปรากฏในกรอบดานขวามือ “ธญั ญวดี”
ตัวอยา งขอสรปุ น้ีอาจใกลเ คยี ง --------------
การทีค่ นเราจะมีชีวิตอยูไ ดอยางเปน
กับขอสรุปของกลุมของทานก็ได สุ ข นั น้ ต อ ง รู จ ั ก ป รั บ ตั ว เ อ ง ใ ห เ ข า กั บ

สถานการณ สิ่งแวดลอมหรือปรับสถานการณ
สิ่งแวดลอมใหเขากับตนเองหรือปรับทั้งสอง
ทางใหเขาหากันไดอยางผสมกลมกลืนอยางนา
พอใจก็จะเกิดความสุขได

147

ใบงานท่ี 4 กรณตี ัวอยา งเรื่อง “วุน”

วุน
หมูบานดอนทรายมูลที่เคยสงบเงียบมาแตกาลกอน กลับคึกคักดวยผูค นทีอ่ พยพเขาไป
อยูเพิ่มกันมากขึ้น ๆ ทุกวัน ทั้งนี้เปนเพราะการคนพบพลอยในหมูบ าน มีการตอไฟฟา ทําให
สวางไสว ถนนลาดยางอยางดี รถราวิง่ ดูขวักไขวไปหมด สิ่งทีไ่ มเคยเกิดขึ้นมากอนก็เกิดขึ้น
เชน เมื่อวานเจาจุกลูกผูใ หญจาง ถูกรถจากกรุงเทพฯ ทับตายขณะวิง่ ไลยิงนก เมือ่ เดือนกอน
น.ส.เหรียญเงิน เทพีสงกรานตปนี้ ถูกไฟฟาดูดขณะรีดผาอยู ซองผูห ญิงเกิดขึ้นเปนดอกเห็ด
เพื่อตอ นรับผูคนท่ีมาทําธุรกจิ ทร่ี า ยกค็ ือเปน ทเ่ี ทยี่ วของผชู ายในหมูบานน้ีไปดวย ทําใหผัวเมียตีกัน
แทบไมเ วน แตล ะวนั
ครสู งิ หแกน่งั ดูเหตกุ ารณต า ง ๆทเี่ กิดข้ึนแลว ไดแตปลงอนิจจัง “เออ ไอพวกน้ีเคยสอนจํ้าจ้ี
จ้ําไชมา ตัง้ แตหัวเทากําปน เดี๋ยวนี้ดูมันขัดหูขัดตากันไปหมด จะสอนมันอยางเดิมคงจะไปไม
รอดแลว เราจะทําอยางไรดี”

ประเดน็
1. ทาํ ไมจึงเกิดปญ หาตา ง ๆ เหลานีข้ นึ้ ในหมูบ า นดอนทรายมูล
2. ถาทานเปนคนในหมูบานทรายมูล ทานจะแกปญหาอยางไร
3. ทานคิดวา การเรียนรูที่เหมาะสมกับสภาพของชุมชนเชนนี้ ควรเปนอยางไร

148

แนวทางการทํากิจกรรม
1. ครูนาํ ผูเรียนทาํ กจิ กรรมตามที่เสนอไวใ นใบงานที่ 4
2. กลุมเลือกขอ คิดหรอื คาํ ตอบทดี่ ีทีส่ ดุ ไว 1 คําตอบ
3. คําตอบทกี่ ลมุ เลอื กบันทึกไว คือ

..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

ตัวอยางขอสรุปของกรณีตัวอยาง ตวั อยา ง
เร่ือง “วุน” จากความเห็นของ ขอ สรปุ ผลการอภปิ รายจากกรณตี วั อยา งเรอ่ื ง

ผเู รียนหลายกลมุ หลายคน “วนุ ”
ที่เคยเสนอไวดังที่ปรากฏ --------------
ในกรอบดา นขวามือ สังคมปจจุบันมีการเปลีย่ นแปลงอยางรวดเร็ว
ตวั อยา งขอสรุปนี้อาจใกลเคยี ง
กับขอสรุปของกลุมของทานก็ได ความเจริญทางวัตถุและเทคโนโลยีวิง่ เขาสูชุมชนอยาง
รวดเร็วและรุนแรงตลอดเวลา จนคนในชุมชนตัง้ รับไม
ทัน ปรับตัวไมไดจึงเกิดปญหาที่หลากหลายทั้งดาน
เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง การศึกษา
อาชีพ ความมั่นคง และความปลอดภัยของคนในชุมชน
การจัดการเรียนการสอน ในปจจุบันจะใชวิธีสอนโดย
การบอกการอธิบายของครูใหผูเ รียนจําไดเทานัน้ คงไม
เพียงพอแตตองใหผูเ รียนรูจ ักคิด รูจ ักการแกปญหาที่
ตองไดขอมูลที่หลากหลายมาประกอบการคิดแกปญหา
ใหสอดคลองกับความเชื่อ ความจําเปนของตนเอง และ

ความตองการของชุมชนดวย

149

ใบงานท่ี 5 กรณตี ัวอยา งเรอ่ื ง “สูไหม”

“สูไหม”

ผมตกใจสะดุงตน่ื ขึ้นเมอ่ื เกิดเสียงเอะอะ พอลมื ตาขน้ึ มา เหน็ ทกุ คนยนื กันเกือบหมดรถ
“ทุกคนนัง่ ลงอยูน ิ่ง ๆ อยาเคลือ่ นไหวไมงัน้ ยิงตายหมด” เสียงตวาดลั่นออกมาจากปากของ
เจาชายหนา เหีย้ ม คอสั้นที่ยืนอยหู นารถ กาํ ลงั ใชป น จออยูท คี่ อของคนขับ

ผมรูทันทีวารถทัวรทีผ่ มโดยสารคันนี้ถูกเลนงามโดยเจาพวกวายรายแน หันไปดู
ดานหลัง เห็นไอวายรายอีกคนหนึ่งถือปนจังกาอยู ผมใชมืออันสั่นเทาลวงลงไปในกระเปา
กางเกง คลํา .38 เหาไฟของผมซึง่ ซือ้ ออกมาจากรานเมือ่ บายนีเ้ อง นึกในใจวา “โธเพิง่ ซือ้ เอา
มายงั ไมท ันยงิ เลย เพยี งใสล กู เต็มเทา นัน้ เองก็จะถกู คนอ่นื เอาไปเสียแลว”

เสียงเจาตาพองหนารถตะโกนขูบ อกคนขับรถ “หยุดรถเดี๋ยวนี้ มึงอยากตายโหงหรือ
ไง” ผมนึกในใจวา เดี๋ยวพอรถหยุดมันคงตองใหเราลงจากรถแลวกวาดกันเกลี้ยงตัว แตผมตอง
แปลกใจแทนที่รถจะหยุดมันกลับยิง่ เร็วขึน้ ทุกที ทุกที ยิง่ ไปกวานัน้ รถกลับสายไปมาเสียดวย
ไอพวกมหาโจรเซไปเซมา แตเจาตาพองยังไมลดละ แมจะเซออกไปมันก็กลับวิง่ ไปยืนประชิด
คนขับอกี พรอมตะโกนอยตู ลอดเวลา “หยุดโวย หยุด ไอนี่ กูลงไปไดละมึง จะเหยียบใหคาสน
ทเี ดยี ว”

รถคงตะบึงไปตอ คนขับบานเลือดเสียแลว ผมไมแนใจวาเขาคิดอยางไร ขณะนัน้ ผม
กวาดสายตาเห็นผูช ายทีน่ ัง่ ถัดไปทางมานัง่ ทางดานซาย เปนตํารวจยศจากําลังจองเขม็งไปที่ไอ
วายรายและถัดไปอีกเปนชายผมสัน้ เกรียนอีก 2 คน ใสกางเกงสีกากี และสีขีม้ า ผมเขาใจวาคง
จะเปน ตาํ รวจหรอื ทหารแน กาํ ลังเอามือลวงกระเปากางเกงอยูทั้งสองคน

บรรยากาศตอนนัน้ ชางเครียดจริง ๆ ไหนจะกลัวปลน ถูกยิง ไหนจะกลัวรถคว่าํ ทุกคน
เกร็งไปหมด ทุกสิง่ ทกุ อยางถงึ จดุ วิกฤตแลว

ประเด็น
1. ถา คณุ อยูในเหตกุ ารณอยางผม คุณจะตัดสนิ ใจอยางไร
2. กอนท่ีคุณจะตัดสนิ ใจ คุณคิดถึงอะไรบาง


Click to View FlipBook Version