The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR63โรงเรียนคูเมืองวิทยาคม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chattuporn6599, 2021-05-05 06:39:06

SAR63โรงเรียนคูเมืองวิทยาคม

SAR63โรงเรียนคูเมืองวิทยาคม

95

๒. นางมณี จันทวงษ์ รองประธานกรรมการ

๓. นางสาวพัชรี โล่สุวรรณ กรรมการและเลขานกุ าร

๔. พฒั นาครูและบคุ ลากรให้มีความเชยี่ วชาญทางวิชาชพี ประกอบดว้ ย

๑. นางสาวมตั ติกา ไชยสุวรรณ ประธานกรรมการ

๒. นางสาวรชั นีกร อกั ษรณรงค์ รองประธานกรรมการ

๓. นางยวุ ดี ดว้ งทา กรรมการและเลขานกุ าร

๕. จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่ีเอื้อตอ่ การจดั การเรียนรู้อย่างมีคณุ ภาพ

ประกอบดว้ ย

๑. นายพงค์พัฒณ์ คัดทะจันทร์ ประธานกรรมการ

๒. นางสาวนชุ นาถ สวงรมั ย์ รองประธานกรรมการ

๓. นางพมิ พพ์ จี คัดทะจันทร์ กรรมการและเลขาฯ

๖. จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื สนับสนุนการบริหารจดั การและการจัดการเรยี นรู้

ประกอบด้วย

๑. นายประสทิ ธ์ิ ปกั การะนัง ประธานกรรมการ

๒. นางสาวร่งุ ทิพย์ นามทวีชยั กลุ รองประธานกรรมการ

๓. นายสทิ ธิชยั ศักรบตุ ร กรรมการ

๔. นายทนงศักด์ิ มมุ ทอง กรรมการและเลขานุการ

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี น้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ

๑. จัดการเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ัตจิ รงิ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ใน

ชวี ิตประจำวนั ไดป้ ระกอบด้วย

๑. นางลับ เดิมทำรมั ย์ ประธานกรรมการ

๒. นายไตรรงค์ จันทะบาล รองประธานกรรมการ

๓. นายณฐั วุฒิ เลก็ แข็ง กรรมการและเลขานุการ

๒. ใชส้ ่อื เทคโนโลยีและสารสนเทศและแหล่งเรียนรูท้ ่เี อ้อื ต่อการเรยี นรู้ ประกอบดว้ ย

๑. นางแจม่ ใส ตอรบรมั ย์ ประธานกรรมการ

๒. นางสาวบุษบา ชินโคตร รองประธานกรรมการ

๓. นางสาวศลั ธมล อินทรพ์ มิ พ์ กรรมการและเลขานกุ าร

๓. มีการบริหารจัดการช้ันเรียนเชิงบวก ประกอบด้วย

๑. นายวชั รกลุ ศรีคุณ ประธานกรรมการ

๒. นางสาววันดี ประจักษ์ รองประธานกรรมการ

๓. นางสาวรวีรัตน์ นุกลู กจิ กรรมการและเลขานุการ

๔. ตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอย่างเปน็ ระบบและนำผลมาพฒั นาผ้เู รียน ประกอบดว้ ย

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคเู มอื งวทิ ยาคม ปี ๒๕๖๓

96

๑. นายศรุติพงษ์ ดังคูณพิพฒั น์ ประธานกรรมการ

๒. นางสาวกรรณกิ า วิสาธร รองประธานกรรมการ

๓. นางสาวหยกมณี นนิ กลาง กรรมการและเลขานุการ

๕. มีการแลกเปลยี่ นเรียนรูใ้ หข้ ้อมลู สะท้อนกลับเพอื่ พฒั นาและปรับปรุง ประกอบดว้ ย

๑. นางมาลรี ัตน์ อรรคบาล ประธานกรรมการ

๒. นายววิ ฒั น์ ตรกึ ตรองรมั ย์ รองประธานกรรมการ

๓. นางสาวศภุ รดา เจรญิ พนั ธวุ งค์ กรรมการและเลขานุการ

อำนาจหนา้ ท่ี

๑. ดำเนนิ การจดั เก็บรวบรวมขอ้ มูล เอกสาร เคร่ืองมอื ประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของ

โรงเรยี น

๒. กำกบั ตดิ ตามดแู ล ประสานงาน จดั เตรียมเอกสาร เพอื่ รองรบั การประเมินประจำปี ใหเ้ ป็นไป

ตามประกาศของโรงเรยี น และหน่วยงานตน้ สงั กดั

๓. ออกแบบ สรา้ งเคร่อื งมือและประเมนิ ผลการดำเนินงานในแตล่ ะมาตรฐานการศึกษาเป็นระยะ ๆ

พร้อมทง้ั วิเคราะห/์ สงั เคราะหผ์ ลการประเมนิ ให้เป็นสารสนเทศให้เรยี บรอ้ ย

๓. คณะกรรมการฝ่ายนเิ ทศและตดิ ตามรายงานสรุปผล ประกอบด้วย

๓.๑ นางขจร ไพรแสงอรุณ ประธานกรรมการ

๓.๒ นางสาววรญั พร สรุ ทิพย์ รองประธานกรรมการ

๓.๓ นายอารี ไพรแสงอรุณ กรรมการ

๓.๔ นายณฐั ธีย์ ศรีวงั ราช กรรมการ

๓.๕ นางลลนา ผลศริ ิ กรรมการ

๓.๖ นางสาววาสนา วงษาไชย กรรมการ

๓.๗ นางสาวปูชนีย์ ชว่ ยไธสง กรรมการ

๓.๘ นางสาวพัชรี โลห่ ์สุวรรณ กรรมการ

๓.๙ นางมณี จนั ทวงษ์ กรรมการและเลขานกุ าร

อำนาจหน้าท่ี มหี นา้ ท่ีนิเทศติดตามการดำเนินงานและรายงานสรุปผลโครงการ/กิจกรรม

ให้คณะกรรมการทไ่ี ด้รับการแตง่ ตั้ง ปฏิบตั ิหน้าท่ีทไ่ี ด้รับมอบหมายดว้ ยความเสียสละ ซือ่ สตั ย์

สจุ รติ มีความต้ังใจเพ่ือใหง้ านลุลว่ งตามเป้าหมายท่ีวางไว้

สั่ง ณ วันท่ี ๓๐ เดอื น กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

(นายวรากร เสนามาตย์)
ผอู้ ำนวยการโรงเรียคูเมอื งวิทยาคม

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคเู มืองวทิ ยาคม ปี ๒๕๖๓

97

คู่มือการประกนั คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขนั้ พื้นฐาน
เพื่อการประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา

โรงเรียนคเู มอื งวทิ ยาคม

สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต ๓๒
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคูเมอื งวทิ ยาคม ปี ๒๕๖๓

98

คำนำ

การประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาเปน็ กระบวนการที่สร้างความม่นั ใจแกท่ ุกฝ่าย ว่าการจดั การศึกษา
ทุกระดบั มีคณุ ภาพและจะคงรักษาไวซ้ ง่ึ มาตรฐาน โรงเรียนคเู มืองวทิ ยาคม จงึ ให้มกี ารปฏริ ปู ระบบการประเมิน
และการประกนั คุณภาพการศึกษา โดยมนี โยบายปรับปรุง มาตรฐานและตัวช้ีวัดให้มจี ำนวนตามที่ สพฐ.กำหนด
และปฏิบตั งิ านในหนา้ ทีท่ รี่ ับผิดชอบใหบ้ รรลุถึงเป้าหมายคอื มาตรฐาน ท่ีสถานศกึ ษากำหนดและรว่ มรบั ผดิ ชอบตอ่
ผลการจัดการศกึ ษาที่เกิดขน้ึ (accountability) เอกสารเล่มน้ีจดั ทำข้ึนตามกรอบนโยบายปฏริ ูประบบการประเมนิ
และประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา สำหรบั ให้สถานศกึ ษาใชเ้ ปน็ แนวทางดำเนินงานเพ่ือการประกัน
คุณภาพภายในของสถานศึกษา และเตรยี มการสำหรับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ตามกรอบมาตรฐาน
การศึกษา ระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ซึง่ จะทำให้เกิดความม่ันใจแก่ผู้มี สว่ นเก่ียวข้องทุกฝ่ายว่าการจัดการศกึ ษา
ของสถานศึกษามคี ุณภาพ ไดม้ าตรฐาน และคงรกั ษา ไว้ซ่ึงมาตรฐานจากการดำเนนิ งานประกันคณุ ภาพภายในของ
สถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

หวงั วา่ เอกสารเลม่ นใ้ี ช้เป็นแนวทางในการกำหนดกรอบ มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา เพ่อื พฒั นา
คุณภาพการศกึ ษาสู่เป้าหมายตามมาตรฐาน ทสี่ ถานศึกษากำหนด รวมทงั้ ใช้เปน็ แนวทางในการตรวจสอบและ
ประเมนิ คณุ ภาพภายใน ของสถานศึกษา ท้ังนข้ี อขอบคุณผบู้ รหิ าร ครูอาจารยแ์ ละผทู้ รงคณุ วุฒทิ ุกท่าน ทม่ี สี ว่ น
รว่ มในการจัดทำเอกสารเลม่ น้ใี ห้สมบูรณ์สามารถนำไปปฏิบัตงิ านได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ และประสทิ ธผิ ลต่อไป

(นายวรากร เสนามาตย์)
ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นคเู มอื งวิทยาคม

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคูเมืองวิทยาคม ปี ๒๕๖๓

สารบญั 99

คำนำ ก
สารบญั ข
บทนำ ๑
สว่ นท่ี ๑ มาตรฐานการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานเพือ่ การประกนั คุณภาพของสถานศกึ ษา ๒
สว่ นท่ี ๒ แนวทางการประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ๑๘

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคเู มอื งวทิ ยาคม ปี ๒๕๖๓

100

บทนำ

๑. คู่มอื การประเมนิ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน เพอ่ื การประเมนิ คณุ ภาพภายในของ
สถานศึกษา ฉบบั นจ้ี ดั ทำข้ึนตามกรอบนโยบายปฏิรปู ระบบการประเมนิ และการประกนั คุณภาพการศึกษาของ
สถานศกึ ษา สำหรบั ให้สถานศกึ ษาใช้เปน็ แนวทาง ดำเนนิ งานเพอื่ การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา และ
เตรียมการสำหรบั การประเมินคุณภาพภายนอก ตามกรอบมาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ซง่ึ จะ
ทำให้เกิดความม่นั ใจแกผ่ ู้มสี ่วนเกี่ยวขอ้ งทกุ ฝา่ ยว่าการจัดการศึกษาของสถานศึกษา มคี ุณภาพไดม้ าตรฐาน และคง
รักษาไว้ซงึ่ มาตรฐานจากการดำเนินงานประกนั คณุ ภาพ ภายในของสถานศึกษา

๒. ค่มู อื ฉบับนจ้ี ัดทำเพื่อใหส้ ถานศกึ ษาใชเ้ ปน็ แนวทางในการกำหนดกรอบมาตรฐานการศึกษา ของ
สถานศกึ ษา เพอ่ื พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาส่เู ปา้ หมายตามมาตรฐานทีส่ ถานศึกษากำหนด และใชเ้ ป็นแนวทางใน
การตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา

๓. โครงสรา้ งของคู่มอื ประกอบด้วย ๒ ส่วน คือ
๑) มาตรฐานเพ่อื การประกันคณุ ภาพภายใน ของสถานศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน และ
๒) แนวทางการประเมินคณุ ภาพภายใน ของสถานศกึ ษา

๔. ใหโ้ รงเรยี นคเู มอื งวิทยาคมดำเนินการใหผ้ ู้เก่ียวขอ้ ง ทุกฝ่ายมีความร้คู วามเข้าใจและปฏบิ ตั ิตาม
หลักการของการประกันคุณภาพภายในของ สถานศกึ ษา ดงั นี้

๔.๑ การประกันคุณภาพเปน็ หน้าทข่ี องบุคลากรทกุ คนท่ีต้องปฏิบัตงิ านตามภารกิจ ทีแ่ ต่ละคนได้รบั
มอบหมาย

๔.๒ การประกันคณุ ภาพมุ่งพัฒนาการดำเนินงานตามความรับผิดชอบของตนใหม้ ีคณุ ภาพ ดยี ่งิ ข้ึนเพราะ
ผลการพฒั นาของแตล่ ะคนกค็ อื ผลรวมของการพฒั นาท้งั สถานศึกษา

๔.๓ การประกันคุณภาพเน้นการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา โดยให้เปน็ ส่วนหนึ่งของ กระบวนการบรหิ าร
การศกึ ษาทตี่ ้องดำเนินการอยา่ งต่อเนอ่ื ง ไม่ใช่ทำเพอื่ เตรียมรับ การประเมินเป็นคร้งั คราวเท่านัน้

๔.๔ การประกันคุณภาพต้องเกดิ จากความร่วมมือของบุคลากรทุกฝ่ายทเี่ กย่ี วข้อง
๔.๕ การประกันคณุ ภาพตอ้ งเกดิ จากการยอมรับและนำผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษา ไปใช้ในการ
พฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาของ
๕. การพฒั นามาตรฐานการศึกษาข้นั พื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มีแนวคดิ ว่า
ต้องเปน็ มาตรฐานท่สี ถานศึกษาปฏิบตั ิได้ ประเมินไดจ้ รงิ กระชบั และ จำนวนน้อย แต่สามารถสะท้อนคณุ ภาพ
การศึกษาได้จริง ขอ้ มลู ท่ีได้เกิดประโยชน์ ในการพฒั นาการศกึ ษาทกุ ระดบั การกำหนดมาตรฐานจึงเนน้ ที่คุณภาพ
ผเู้ รียน คุณภาพครคู ณุ ภาพผบู้ รหิ ารสถานศึกษา และคณุ ภาพของสถานศึกษา และ ใหม้ ีความสอดคลอ้ งกบั
มาตรฐานเพ่อื การประเมินคณุ ภาพภายนอกตามท่ีกำหนดไว้ใน กฎกระทรวงว่าดว้ ยระบบ หลักเกณฑแ์ ละวิธีการ
ประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยได้กำหนดมาตรฐานการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานเพอื่ การประกันคณุ ภาพ
ภายในของสถานศกึ ษา ประกอบด้วย ๓ มาตรฐาน ดงั นี้

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคเู มืองวิทยาคม ปี ๒๕๖๓

101

มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผเู้ รยี น
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ

คำอธิบายของมาตรฐานการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานเพอื่ การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผเู้ รียน หมายถึง ผลการเรียนรขู้ องผเู้ รียนทแ่ี สดงออกถึง ความรคู้ วามสามารถ
ทักษะตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา และมีพฒั นาการ ในดา้ นการอา่ น คดิ วิเคราะหแ์ ละเขยี น สมรรถนะท่ีสำคญั และ
คณุ ลักษณะ ทีพ่ ึงประสงค์
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ หมายถงึ การดำเนินการบรหิ ารและจดั การของ
สถานศึกษาทีค่ รอบคลุมด้าน วิชาการ ด้านครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ด้านขอ้ มูลสารสนเทศ และ ด้าน
สภาพแวดล้อม โดยเปิดโอกาสให้ผ้เู กี่ยวขอ้ งทุกฝ่ายมีสว่ นร่วมในการ จัดการศกึ ษา เพอ่ื สรา้ งความมั่นใจดา้ น
คุณภาพการศึกษา
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ หมายถงึ กระบวนการจัดการ
เรียนการสอนตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาทีส่ อดคลอ้ ง กับบริบทของชุมชนและทอ้ งถนิ่ ตามความสนใจ ความ
ตอ้ งการ และ ความถนดั ของผู้เรียน โดยใช้วิธกี ารท่ีหลากหลาย เพอื่ ให้เกดิ การเรียนรู้ เตม็ ตามศกั ยภาพของผู้เรยี น
แตล่ ะบคุ คล สรา้ งโอกาสให้ผเู้ รียนทกุ คน มีสว่ นรว่ ม มกี ารตรวจสอบ และประเมนิ ผลความรู้ความเข้าใจของผเู้ รยี น
อยา่ งเปน็ ระบบ และมปี ระสทิ ธิภาพ
๗. เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพของมาตรฐานมี๔ ระดับ
๗.๑ ระดับ ๔ ดีเย่ียม
๗.๒ ระดบั ๓ ดี
๗.๓ ระดบั ๒ พอใช้
๗.๔ ระดบั ๑ ปรับปรุง
๘. รายละเอยี ดของมาตรฐานการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานเพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ระดบั คุณภาพ และตวั อยา่ งการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผเู้ รยี น
ประเด็นพจิ ารณา
๑.๑ ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผเู้ รยี น

๑) ความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสารและการคดิ คำนวณ ตามเกณฑ์ ของแตล่ ะระดบั ชั้น
๒) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ อภิปราย แลกเปลีย่ นความคดิ เหน็ และ
แก้ปญั หา
๓) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร
๔) ความก้าวหนา้ ทางการเรยี นตามหลักสตู รสถานศกึ ษา
๕) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและพัฒนาการจากผลการสอบวดั ระดบั ชาติ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคเู มอื งวิทยาคม ปี ๒๕๖๓

102

๖) ความพรอ้ มในการศึกษาตอ่ การฝกึ งานหรือการทำงาน
๑.๒ คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงคข์ องผูเ้ รยี น
๑) การมคี ุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามท่ีสถานศึกษากำหนด โดยไม่ขดั กับ กฎหมายและวฒั นธรรมอนั
ดขี องสังคม
๒) ความภูมิใจในท้องถ่นิ และความเป็นไทย
๓) การยอมรับที่จะอยู่รว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย
๔) สุขภาวะทางรา่ งกายและลกั ษณะจติ สังคม คู่มือการประเมินคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาข้ัน
พนื้ ฐาน เพอื่ การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา 4 ระดับคุณภาพ
ระดับ ๔ ดเี ย่ยี ม
๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผ้เู รยี น
๑) ผู้เรียนมีความสามารถในการอา่ นและเขียนไดเ้ หมาะสมตามระดับช้ัน ในระดบั ดีเยย่ี ม
๒) ผู้เรียนมคี วามสามารถในดา้ นการส่ือสารทงั้ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ เหมาะสม ตามระดบั ช้ัน ใน
ระดับดีเยี่ยม
๓) ผู้เรียนมคี วามสามารถในด้านการคิดคำนวณเหมาะสมตามระดับช้นั ในระดับดีเยี่ยม
๔) ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะหค์ ดิ วจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ียน ความคิดเห็น
แก้ปัญหาและนำไปประยกุ ต์ใชใ้ นสถานการณ์ต่างๆอย่างเหมาะสม
๕) ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้อย่าง เหมาะสมปลอดภยั มี
ประสทิ ธภิ าพ

๖) ผ้เู รียนมคี วามกา้ วหน้าจากพนื้ ฐานเดมิ ในแต่ละปีในดา้ นความรูค้ วามเขา้ ใจและ ทกั ษะตา่ งๆ ตาม
หลักสูตร อย่างเปน็ รูปธรรมและต่อเน่ือง

๗) ค่าเฉลย่ี ผลการทดสอบระดบั ชาติของผูเ้ รยี นมีพัฒนาการสูงขน้ึ หรือคุณภาพ เป็นไปตามเปา้ หมาย
๘) ผู้เรยี นมคี วามรทู้ ักษะ และเจตคติทีด่ พี ร้อมท่ีจะศึกษาตอ่ ในระดบั ชน้ั ทส่ี งู ขึ้น หรอื มีวฒุ ิภาวะทาง
อาชีพเหมาะสมกับชว่ งวัย
๑.๒ คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงคข์ องผูเ้ รยี น
๑) ผู้เรยี นมีความประพฤตดิ ้านคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม จติ สังคม และจติ สำนึก ตามที่สถานศึกษา
กำหนดปรากฏชดั เจนโดยไมข่ ัดกบั กฎหมายและวฒั นธรรม อันดีของสงั คม
๒) ผู้เรียนมสี ่วนรว่ มในการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมอย่างเป็น รปู ธรรม
๓) ผู้เรียนมคี วามภาคภูมิใจในทอ้ งถิ่นในความเป็นไทย และเห็นคณุ ค่าเกย่ี วกับ ภมู ปิ ญั ญาไทยและ
แสดงออกได้อยา่ งเหมาะสมในชวี ิตประจำวัน
๔) ผู้เรยี นยอมรับเหตุผลความคิดเหน็ ของผู้อื่น และมีมนษุ ยสมั พนั ธ์ดี
๕) ผู้เรียนมีวิธกี ารรกั ษาสขุ ภาพของตนเองให้แขง็ แรง
๖) ผู้เรียนรักษาอารมณแ์ ละสขุ ภาพจิตให้ดีอยเู่ สมอ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคูเมอื งวทิ ยาคม ปี ๒๕๖๓

103

๗) ผู้เรียนรแู้ ละมวี ิธกี ารปอ้ งกันตนเองจากการลอ่ ลวง ขม่ เหง รงั แก
๘) ผู้เรยี นไม่เพิกเฉยตอ่ การกระทำสงิ่ ท่ไี มถ่ ูกต้อง และอยูร่ ่วมกนั ดว้ ยดีในครอบครัว ชุมชนและสงั คม
ระดบั ๓ ดี
๑.๑ ผลสมั ฤทธทิ์ างวิชาการของผู้เรียน
๑) ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการอ่านและเขยี นได้เหมาะสมตามระดับช้นั ในระดบั ดี
๒) ผู้เรยี นมีความสามารถในด้านการสื่อสารทง้ั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษเหมาะสม ตามระดับช้นั ใน
ระดบั ดี
๓) ผู้เรยี นมคี วามสามารถในดา้ นการคดิ คำนวณเหมาะสมตามระดบั ชัน้ ในระดับดี
๔) ผู้เรียนมีความสามารถในการคดิ วเิ คราะหค์ ดิ วจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียน ความคิดเหน็ และ
แกป้ ญั หาอย่างเหมาะสม
๕) ผู้เรยี นมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไดอ้ ย่าง เหมาะสมปลอดภยั
๖) ผู้เรยี นมีความก้าวหน้าจากพนื้ ฐานเดมิ ในแต่ละปใี นด้านความรคู้ วามเขา้ ใจ และทักษะต่างๆ ตาม
หลักสูตรมแี นวโน้มสูงข้นึ
๗) ค่าเฉลย่ี ผลการทดสอบระดับชาตขิ องผูเ้ รยี นมีพัฒนาการสูงขึ้นหรอื คณุ ภาพ เปน็ ไปตามเปา้ หมาย
๘) ผู้เรยี นมคี วามรู้ทักษะ และเจตคติทด่ี พี ร้อมที่จะศึกษาตอ่ ในระดับชนั้ ที่สูงขน้ึ หรอื มีวุฒภิ าวะทาง
อาชีพเหมาะสมกับช่วงวัย
๑.๒ คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรยี น
๑) ผู้เรยี นมคี วามประพฤตดิ า้ นคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม จิตสังคมและจิตสำนึก ตามที่สถานศึกษา
กำหนดปรากฏชัดเจน โดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรม อันดขี องสังคม
๒) ผู้เรียนมสี ว่ นร่วมในการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมอย่างเป็น รูปธรรม
๓) ผู้เรยี นมีความภาคภมู ิใจในท้องถิน่ ในความเป็นไทย และเหน็ คณุ ค่าเกย่ี วกบั ภมู ิปัญญาไทย
แสดงออกได้อย่างเหมาะสมในชีวิตประจำวนั
๔) ผู้เรียนยอมรบั เหตผุ ลความคิดเหน็ ของผอู้ น่ื และมีมนุษยสมั พนั ธด์ ี
๕) ผู้เรยี นมีวิธกี ารรกั ษาสุขภาพของตนเองใหแ้ ขง็ แรง
๖) ผู้เรียนรักษาอารมณแ์ ละสขุ ภาพจิตใหด้ ีอยเู่ สมอ
๗) ผู้เรยี นรู้และมีวธิ ีการปอ้ งกนั ตนเองจากการล่อลวง ข่มเหง รังแก
๘) ผู้เรยี นไม่เพิกเฉยต่อการกระทำสิ่งท่ไี มถ่ กู ต้อง และอยู่รว่ มกนั ดว้ ยดีในครอบครัว ชุมชนและสังคม
ระดับ ๒ พอใช้
๑.๑ ผลสัมฤทธิท์ างวชิ าการของผเู้ รยี น
๑) ผู้เรียนมคี วามสามารถในการอา่ น และเขียนได้เหมาะสมตามระดบั ชั้นในระดบั ผ่าน
๒) ผู้เรียนมคี วามสามารถในดา้ นการสอ่ื สารทงั้ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ เหมาะสมตามระดบั ชั้น ใน
ระดบั ผา่ น คู่มอื การประเมนิ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคูเมืองวทิ ยาคม ปี ๒๕๖๓

104

๓) ผู้เรียนมคี วามสามารถในด้านการคิดคำนวณเหมาะสมตามระดับชั้นในระดบั ผ่าน
๔) ผู้เรียนสามารถคดิ วเิ คราะห์คิดวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และ แก้ปญั หา ใน
ระดบั ผา่ น
๕) ผู้เรียนมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารได้
๖) ผู้เรียนมีความกา้ วหนา้ จากพื้นฐานเดมิ ด้านความรูค้ วามเขา้ ใจและทกั ษะต่างๆ ตามหลกั สตู ร มี
แนวโน้มไมแ่ นน่ อนในแตล่ ะปี
๗) ค่าเฉล่ียผลการทดสอบระดับชาติของผเู้ รยี นไม่มพี ฒั นาการแต่มคี วามพยายาม ในการยกระดับผล
การทดสอบระดับชาติให้สูงข้ึน
๘) ผู้เรียนมคี วามรทู้ กั ษะ และเจตคติทดี่ ีพรอ้ มที่จะศึกษาต่อในระดับช้นั ทสี่ งู ข้นึ หรือมวี ฒุ ิภาวะทาง
อาชีพเหมาะสมกบั ชว่ งวยั
๑.๒ คณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ของผ้เู รยี น
๑) ผู้เรยี นมีความประพฤติด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสังคมและจิตสำนกึ ตามท่ีสถานศกึ ษา
กำหนดปรากฏไม่ชัดเจน
๒) ผู้เรียนมสี ว่ นร่วมในการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม
๓) ผู้เรียนมีความภาคภมู ิใจในทอ้ งถนิ่ ในความเป็นไทย และแสดงออกไดอ้ ยา่ ง เหมาะสม
๔) ผู้เรียนยอมรบั เหตผุ ลความคิดเห็นของผอู้ ื่น และมีมนุษยสมั พันธ์ดี
๕) ผู้เรยี นมีวธิ ีการรักษาสุขภาพของตนเองใหแ้ ข็งแรง
๖) ผู้เรยี นรกั ษาอารมณแ์ ละสขุ ภาพจติ ให้ดอี ย่เู สมอ
๗) ผู้เรยี นรูแ้ ละมวี ิธกี ารปอ้ งกนั ตนเองจากการล่อลวง ขม่ เหง รงั แก
๘) ผู้เรียนไม่เพกิ เฉยต่อการกระทำสิง่ ทไี่ มถ่ กู ต้อง และอยู่รว่ มกันด้วยดีในครอบครวั ชุมชนและสงั คม
ระดับ ๑ ปรับปรุง
๑.๑ ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผเู้ รียน
๑) ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการอา่ น และเขยี นไมเ่ หมาะสมกบั ระดับชั้น ทำใหเ้ ป็น ปญั หาตอ่ การเรยี นรู้
๒) ผเู้ รียนมีความสามารถในด้านการส่ือสารท้ังภาษาไทยและภาษาองั กฤษ ไมเ่ หมาะสมกับระดับชั้น
ทใหเ้ ป็นปัญหาต่อการเรียนรู้
๓) ผู้เรยี นมคี วามสามารถในดา้ นการคิดคำนวณไม่เหมาะสมกับระดบั ชน้ั ทำให้ เปน็ ปัญหาต่อการ
เรียนรู้
๔) ผู้เรียนไมส่ ามารถตอบคำถาม แลกเปล่ียนความคดิ เห็น และแก้ปัญหาได้
๕) ผู้เรยี นไม่สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารได้
๖) ผู้เรียนไม่มคี วามกา้ วหน้าจากพ้ืนฐานเดิมด้านความรู้ความเขา้ ใจและทักษะ ตา่ งๆ ตามหลักสตู รในแต่
ละปี

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคูเมอื งวิทยาคม ปี ๒๕๖๓

105

๗) ค่าเฉลี่ยผลการทดสอบระดบั ชาตขิ องผเู้ รยี นไมม่ ีพฒั นาการและไม่มคี วาม พยายามในการยกระดบั
ผลการทดสอบระดบั ชาติใหส้ งู ขนึ้

๘) ผูเ้ รยี นไม่พร้อมท่ีจะศกึ ษาตอ่ ในระดบั ช้นั ท่สี ูงขึ้น หรือขาดวฒุ ิภาวะทางอาชพี
๑.๒ คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ของผเู้ รยี น
๑) ผู้เรยี นมีความประพฤติดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม จติ สังคมและจิตสำนกึ ตามท่ีสถานศึกษา
กำหนดปรากฏไมช่ ัดเจน
๒) ผู้เรียนไม่มสี ว่ นรว่ มในการอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม
๓) ผู้เรียนไมม่ คี วามภาคภูมใิ จในทอ้ งถิน่ ในความเปน็ ไทย
๔) ผู้เรยี นไมย่ อมรับเหตผุ ลความคิดเหน็ ของผูอ้ ื่นและมมี นุษยสัมพนั ธด์ ี
๕) ผู้เรยี นไมม่ วี ิธีการรักษาสุขภาพของตนเองให้แขง็ แรง
๖) ผู้เรยี นไม่รกั ษาอารมณแ์ ละสุขภาพจิตให้ดไี ด้
๗) ผู้เรยี นไมร่ แู้ ละไมม่ ีวิธกี ารปอ้ งกันตนเองจากการถกู ลอ่ ลวง ขม่ เหงและรังแก
๘) ผู้เรียนวางเฉยต่อการกระทำสง่ิ ไมถ่ ูกตอ้ ง ตัวอยา่ งการเก็บรวบรวมข้อมูล - ตรวจสอบเอกสารที่
สะท้อนผลสัมฤทธ์ขิ องผูเ้ รียนจากขอ้ มูลหลักฐานเชิงประจกั ษ์ เช่น แบบสรุปผลการอา่ น การเขียน การสือ่ สารและ
การคดิ คำนวณตามเกณฑข์ องแต่ละ ระดับชั้น เอกสารการวัดและประเมนิ ผลผเู้ รียนทกุ ระดับชนั้ ชิ้นงานผลงาน
นักเรียน บนั ทกึ การอา่ น แบบสรปุ รายงานการประเมนิ ความสามารถ ในการอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขียน
โครงงาน ชนิ้ งาน บันทกึ การทำงาน รายงานสรปุ ผลการทดสอบระดับชาตขิ น้ั พ้นื ฐาน รอ่ งรอยการจัดกิจกรรม
โครงการ เอกสารหลักฐานแสดงสุขภาวะทางร่างกาย อารมณ์ สังคม แบบบันทกึ พฤติกรรมทางสงั คม
- สงั เกตพฤติกรรมต่างๆ ของผู้เรยี น เช่น ความสามารถในการใช้คอมพวิ เตอร์ การใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ พฤติกรรมท่ีสะทอ้ นคุณลกั ษณะและคา่ นิยม ของผู้เรียนตามท่สี ถานศกึ ษากำหนด เชน่ การ
เขา้ แถว การแสดงความเคารพ การพูดจา กริ ิยามารยาท การไหว้ฯลฯ และพฤติกรรมการทำงานร ่วมกนั การ
อภิปรายแสดง ความคิดเหน็ การรว่ มกันแกไ้ ขปญั หา ฯลฯ
- สมั ภาษณ์ผู้เรียนเกย่ี วกับความภมู ิใจในท้องถน่ิ และความเป็นไทย เชน่ นักเรยี น รสู้ กึ อย่างไรท่เี กดิ เปน็ คน
ในทอ้ งถิน่ น้ี นักเรียนภูมิใจสง่ิ ใดบ้างในทอ้ งถ่นิ นักเรียนชอบ หรือไมช่ อบกบั การเขา้ รว่ มกจิ กรรมวันสำคัญ ถ้าชอบ/
ไม่ชอบเพราะอะไร ฯลฯ
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ประเดน็ พจิ ารณา

๑. การมเี ป้าหมาย วิสัยทัศนแ์ ละพันธกจิ ท่ีสถานศึกษากำหนดชัดเจน
๒. การวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา

๑) การวางแผนและดำเนินงานพฒั นาวิชาการท่ีเน้นคณุ ภาพของผเู้ รียนรอบดา้ น ทกุ กลมุ่ เป้าหมาย
และดำเนินการอย่างเป็นรปู ธรรม

๒) การวางแผนและดำเนินงานพฒั นาครูและบุคลากรใหม้ ีความเช่ียวชาญ ทางวิชาชีพ
๓) การวางแผนการบริหารและการจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคูเมืองวิทยาคม ปี ๒๕๖๓

106

๔) การวางแผนและจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทเี่ อ้ือตอ่ การจดั การ เรียนรูอ้ ย่างมี
คุณภาพ
๓. การมสี ่วนร่วมของผู้เกีย่ วขอ้ งทกุ ฝ่าย และการร่วมรบั ผดิ รบั ชอบตอ่ ผลการจัดการ ศึกษาใหม้ คี ุณภาพ
และไดม้ าตรฐาน
๔. การกำกับ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษา ระดับคุณภาพ ระดบั ๔ ดีเยยี่ ม

๑. สถานศึกษามีเป้าหมาย วสิ ัยทัศน์และพนั ธกิจทก่ี ำหนดไว้ตรงกบั วตั ถปุ ระสงคข์ อง แผนการศกึ ษา
ชาตแิ ละสอดคล้องกบั ความตอ้ งการของชุมชน ท้องถิ่นอยา่ งชัดเจน

๒. สถานศึกษามีแผนและดำเนินงานพัฒนาคณุ ภาพการบริหารและการจดั การศึกษา ทม่ี ีความ
เหมาะสม ครอบคลมุ ประเดน็ หลกั ตอ่ ไปนี้

๒.๑ พัฒนาวชิ าการที่เน้นผเู้ รียนทุกกล่มุ เป้าหมาย ทกุ คน และดำเนินการอย่างเปน็ รูปธรรม
๒.๒ พัฒนาครแู ละบุคลากรให้มีความเช่ยี วชาญทางวิชาชพี มีความรูค้ วามสามารถ และทักษะตาม
มาตรฐานตำแหนง่
๒.๓ บริหารจดั การข้อมูลสารสนเทศที่มีความถกู ต้อง ครบถว้ น ทันสมัย นำไป ประยกุ ต์ใชไ้ ดแ้ ละ
ดำเนินการอย่างเป็นระบบ
๒.๔ จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมที่ดีและกระต้นุ ใหผ้ ้เู รยี นใฝ ่เรยี นรู้ ทว่ั ถงึ ทุกกลุม่ เป้าหมาย
๓. ผเู้ กย่ี วขอ้ งทุกฝา่ ยมีสว่ นร่วมและมีเครือข่ายความร่วมมอื ในการร่วมรบั ผิดรบั ชอบ ต่อผลการจัด
การศกึ ษาใหม้ ีคุณภาพและไดม้ าตรฐาน
๔. สถานศกึ ษากำกับ ติดตามและประเมินผลการบรหิ ารและการจัดการศึกษาอย่าง เหมาะสม ชดั เจน
และเปดิ โอกาสให้ผ้เู ก่ยี วข้องมสี ่วนรว่ ม ระดบั ๓ ดี
๑. สถานศึกษามเี ป้าหมาย วิสัยทัศนแ์ ละพนั ธกิจทก่ี ำหนดไวต้ รงกบั วัตถปุ ระสงค์ของ แผนการศกึ ษาชาติ
และสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของชมุ ชน ท้องถ่ินอยา่ งชดั เจน
๒. สถานศึกษามีแผนและดำเนินงานพัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาทมี่ ี ความเหมาะสม
ครอบคลมุ ประเด็นหลกั ต่อไปน้ี
๒.๑ พัฒนาวชิ าการที่เนน้ ผูเ้ รียนทกุ กลมุ่ เป้าหมาย และดำเนนิ การอย่างเป็นรปู ธรรม
๒.๒ พฒั นาครแู ละบุคลากรที่ใหม้ คี วามเชย่ี วชาญทางวิชาชพี
๒.๓ บรหิ ารจัดการขอ้ มูลสารสนเทศที่มคี วามถกู ต้อง ครบถ้วน ทันสมัย และนำไป ประยุกต์ใช้ได้
๒.๔ จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่ีดี
๓. ผเู้ ก่ียวข้องทุกฝา่ ยมีส่วนร่วมและมีเครือข่ายความร่วมมอื ในการร่วมรับผดิ รบั ชอบ ต่อผลการจัด
การศกึ ษาใหม้ ีคุณภาพและไดม้ าตรฐาน
๔. สถานศกึ ษากำกับ ติดตามและประเมนิ ผลการบริหารและการจัดการศกึ ษาอย่าง เหมาะสม ชัดเจน
ระดับ ๒ พอใช้

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคเู มืองวทิ ยาคม ปี ๒๕๖๓

107

๑. สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทศั น์ และพนั ธกิจทก่ี ำหนดไวต้ รงกบั วัตถุประสงค์ ของแผนการศึกษาชาติ
และสอดคลอ้ งกับความต้องการของชุมชนทอ้ งถ่นิ แตข่ าด ความชดั เจน

๒. สถานศกึ ษามีแผนและดำเนนิ งานพฒั นาคุณภาพการบริหารและการจดั การศกึ ษาทีม่ ี ความเหมาะสม
ครอบคลมุ ประเดน็ หลักต่อไปน้ี

๒.๑ พัฒนาวชิ าการที่เนน้ ผ้เู รยี น และมีการดำเนนิ การ
๒.๒ พฒั นาครแู ละบุคลากรที่ใหม้ ีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานตำแหนง่
๒.๓ บรหิ ารจดั การข้อมูลสารสนเทศท่ีมีความถูกต้อง หรอื ครบถ้วน หรือทันสมยั หรอื นำไปประยกุ ตใ์ ช้ได้
๒.๔ จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่ีดี
๓. ผู้เกย่ี วขอ้ งมสี ่วนร่วมและมีเครอื ข่ายความมร่วมมือในการร่วมรบั ผิดรบั ชอบต่อผล การจดั การศึกษาอยู่
ในระดบั น้อย
๔. สถานศกึ ษากำกบั ติดตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาแตไ่ มเ่ ปน็ ไปตามขนั้ ตอนท่ี
กำหนด
ระดบั ๑ ปรับปรุง ๑. สถานศึกษามีเป้าหมาย วสิ ัยทศั น์ และพันธกิจทก่ี ำหนดไว้ตรงกับวตั ถุประสงค์ ของ
แผนการศกึ ษาชาตแิ ตไ่ ม่สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของชมุ ชนและทอ้ งถนิ่ ขาดความชัดเจน
๒. สถานศกึ ษามีแผนและดำเนินงานพฒั นาคุณภาพการบริหารและการจัดการศึกษา ไมเ่ หมาะสมและ
ขาดความครอบคลมุ ประเดน็ หลกั ตอ่ ไปนี้
๒.๑ พัฒนาวิชาการทไี่ มค่ รอบคลุมทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย หรอื ไม่ครบทุกคน และดำเนนิ การอยา่ งไม่เปน็
รูปธรรม
๒.๒ พัฒนาครูและบคุ ลากรใหม้ ีความร้คู วามสามารถตามหน้าทท่ี ่ีไม่ครบทกุ คน
๒.๓ จดั การขอ้ มลู สารสนเทศที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน แตไ่ ม่ทนั สมยั และไม่มี การนำไปประยกุ ตใ์ ช้
๒.๔ จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่ีไมด่ แี ละไมก่ ระตุน้ ใหผ้ เู้ รียนใฝเ่ รียนรู้
๓. ผู้เก่ียวข้องมีส่วนร่วมในการจัดการศกึ ษาอยใู่ นระดับนอ้ ยมาก
๔. ไม่มีการกำกบั ติดตามและประเมินผลการบรหิ ารและการจัดการศกึ ษา ตัวอย่างการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
- ตรวจสอบเอกสารเกี่ยวกับแผนพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา แผนปฏบิ ตั กิ ารประจปี
แผนพฒั นาวชิ าการแผนบริหารจัดการสารสนเทศแผนพัฒนาคร/ู บคุ ลากร แผนการกกับนเิ ทศ ติดตามการ
ประเมนิ ผลของสถานศกึ ษา แผนการจดั สภาพแวดล้อม ฯลฯ
- สัมภาษณ์คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บรหิ าร ครูบคุ ลากร ผู้เรยี น และผู้ปกครอง นกั เรยี นเกีย่ วกบั การ
กำหนดเปา้ หมาย วสิ ยั ทัศน์ และพนั ธกิจของสถานศึกษา เช่น กระบวนการไดม้ าของเป้าหมาย วสิ ัยทัศน์ พันธกิจ
ทำอย่างไรบ้าง มขี นั้ ตอนอย่างไร การกำหนดเป้าหมาย วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกจิ ดำเนินการอย่างไร ใครมสี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง
บ้าง สถานศึกษามีการดำเนินการสรา้ งความเข้าใจตรงกัน ระหวา่ งผู้บรหิ าร ครแู ละผู้เกย่ี วข้องอย่างไร สถานศกึ ษา
นำแผนไปสู่การปฏิบัติอย่างไร สถานศึกษาแบ ง่ บทบาทหนา้ ที่ ผูร้ ับผิดชอบในการปฏบิ ัติตามแผนอย่างไร ผู้มสี ่วน
เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมตอ่ ผลตอ่ การดำเนนิ การสถานศกึ ษาหรือไม่ อย่างไร สถานศกึ ษามีเครอื ข่ายในการทำงาน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคเู มอื งวทิ ยาคม ปี ๒๕๖๓

108

กบั ใคร/ หน่วยงานใดบา้ งและมสี ว่ นร่วมอย่างไร สถานศกึ ษามกี ารกำกบั ติดตามและมีวิธกี าร ประเมนิ ผลการ
ดำเนินงานอย่างไร ฯลฯ

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั ประเดน็ พิจารณา
๑. การมกี ระบวนการเรียนการสอนที่สรา้ งโอกาสให้ผ้เู รียนทุกคนมีส่วนรว่ ม
๒. การจดั การเรียนการสอนทย่ี ึดโยงกับบรบิ ทของชุมชนและท้องถนิ่
๓. การตรวจสอบและประเมนิ ความรู้ความเขา้ ใจของผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบ และ มปี ระสิทธภิ าพ ระดบั
คุณภาพ ระดับ ๔ ดเี ยยี่ ม
๑. การมีกระบวนการเรียนการสอนทส่ี ร้างโอกาสให้ผูเ้ รยี นทุกคนมสี ว่ นรว่ ม
๑.๑ ผเู้ รียนมสี ว่ นร่วมในการวิเคราะห์ตนเอง กำหนดเน้ือหาสาระ กจิ กรรมท่ี สอดคล้องกับความสนใจ
และความถนัดเป็นรายบุคคลอย่างเปน็ รูปธรรมทั้ง ระบบ
๑.๒ เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นเรยี นรู้โดยผา่ นกระบวนการคดิ ได้ปฏบิ ัติจรงิ ด้วยวิธกี ารและ แหล่งเรยี นรทู้ ี่
หลากหลาย สรุปองค์ความรู้และสามารถนำไปใช้ในสถานการณ์ ต่างๆ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี
๑.๓ จัดกจิ กรรมให้ผู้เรยี นไดฝ้ ึกทกั ษะ แสดงออก นำเสนอผลงาน แสดงความคดิ เห็น คิดเปน็ ทำเป็น รกั
การอ่าน และแสวงหาความรูจ้ ากสือ่ เทคโนโลยดี ว้ ยตนเอง อยา่ งเป็นรูปธรรมและตอ่ เนอ่ื ง
๑.๔ ผเู้ รยี นได้เรียนรโู้ ดยเชอื่ มโยงบรู ณาการสาระการเรยี นรู้และทกั ษะด้านตา่ งๆ
๑.๕ ผเู้ รยี นมีสว่ นร่วมในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดลอ้ ม สื่อการเรยี น และอำนวย ความสะดวกท่ีเอื้อ
ตอ่ การเรียนรู้
๑.๖ ผเู้ รียนไดเ้ รียนรูโ้ ดยใชก้ ระบวนการวจิ ัยอยา่ งเป็นรูปธรรมและต่อเนอื่ ง
๒. การจดั การเรยี นการสอนท่ียึดโยงกับบริบทของชุมชนและทอ้ งถ่ิน
๒.๑ จดั กิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรยี นรจู้ ากแหล่งเรยี นรแู้ ละภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่นในการจัด การเรียนการสอน
๒.๒ ชุมชนมีส่วนรว่ มแสดงความคิดเห็นหรือร่วมจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนอยา่ ง เปน็ รปู ธรรมและ
ต่อเนอื่ ง
๓. การตรวจสอบและประเมินความรูค้ วามเข้าใจของผเู้ รียนอย่างเป็นระบบ และมี ประสทิ ธิภาพ
๓.๑ ประเมินผู้เรียนจากสภาพจรงิ
๓.๒ มีข้ันตอนตรวจสอบและประเมนิ อยา่ งเปน็ ระบบ
๓.๓ ใชเ้ ครอื่ งมือและวธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลที่เหมาะสมกบั เป้าหมาย และ การจัดการเรยี นการสอน
๓.๔ นกั เรยี นและผมู้ ีสว่ นเก่ียวข้องมสี ว่ นร่วมในการวัดและประเมินผล
๓.๕ ใหข้ ้อมลู ยอ้ นกลบั แกผ่ ูเ้ รียนและผ้เู รียนนำไปใชพ้ ฒั นาตนเอง ระดับ ๓ ดี
๑. การมกี ระบวนการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้ผูเ้ รียนทุกคนมสี ่วนรว่ ม
๑.๑ ผู้เรียนมีส ่วนร่วมในการวิเคราะห์ตนเอง กำหนดเน้ือหาสาระ กจิ กรรมท่ี สอดคลอ้ งกับความสนใจ
และความถนัดเป็นรายบุคคล

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคูเมืองวิทยาคม ปี ๒๕๖๓

109

๑.๒ เปิดโอกาสให้ผูเ้ รยี นเรียนรู้โดยการคิดไดป้ ฏิบัติจริงด้วยวิธีการและแหล่งเรยี นรู้ ที่หลากหลาย สรุป
องคค์ วามร้แู ละสามารถนำไปใชใ้ นสถานการณ์ต่างๆได้

๑.๓ จดั กจิ กรรมให้ผเู้ รียนได้ฝึกทักษะแสดงออก นำเสนอผลงาน แสดงความคิดเห็น คิดเปน็ ทำเป็น รัก
การอา่ น และแสวงหาความร้จู ากสอ่ื เทคโนโลยีด้วยตนเอง

๑.๔ ผเู้ รียนไดเ้ รียนรโู้ ดยเชอื่ มโยงบูรณาการสาระการเรยี นรแู้ ละทกั ษะด้านต่างๆ
๑.๕ ผเู้ รยี นมีสว่ นรว่ มในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดลอ้ ม สือ่ การเรียน และอำนวย ความสะดวกที่เอื้อ
ตอ่ การเรยี นรู้
๑.๖ ผ้เู รียนไดเ้ รียนรูโ้ ดยใชก้ ระบวนการวจิ ยั
๒. การจดั การเรียนการสอนทย่ี ดึ โยงกบั บริบทของชุมชนและทอ้ งถ่นิ
๒.๑ จดั กจิ กรรมให้ผู้เรยี นได้เรยี นรู้จากแหล่งเรียนรแู้ ละภูมิปัญญาท้องถน่ิ ในการ จดั การเรียนการสอน
๒.๒ ชุมชนมีสว่ นรว่ มแสดงความคิดเหน็ หรอื ร่วมจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน ๓. การตรวจสอบและ
ประเมินความร้คู วามเข้าใจของผูเ้ รยี นอย่างเปน็ ระบบ และมี ประสิทธิภาพ
๓.๑ ประเมินผเู้ รยี นจากสภาพจรงิ
๓.๒ มีขนั้ ตอนตรวจสอบและประเมินอยา่ งเป็นระบบ
๓.๓ ใช้เครอื่ งมอื และวิธกี ารวดั และประเมนิ ผลท่เี หมาะสมกับเปา้ หมาย และ การจดั การเรียนการสอน
๓.๔ นักเรียนมสี ว่ นรว่ มในการวดั และประเมนิ ผล
๓.๕ ให้ขอ้ มลู ย้อนกลับแกผ่ ้เู รียน ระดับ ๒ พอใช้
๑. การมีกระบวนการเรียนการสอนทส่ี ร้างโอกาสใหผ้ เู้ รยี นทกุ คนมสี ว่ นร่วม
๑.๑ ผเู้ รียนมสี ่วนรว่ มในการวเิ คราะหต์ นเอง กำหนดเน้อื หาสาระ และกจิ กรรม
๑.๒ เปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นเรียนรู้โดยการคดิ ไดป้ ฏบิ ตั จิ ริง
๑.๓ จัดกิจกรรมให้ผู้เรยี นไดฝ้ ึกทกั ษะแสดงออก นำเสนอผลงาน แสดงความคิดเห็น คิดเป็น ทำเป็น รัก
การอ่าน และแสวงหาความรจู้ ากสือ่ เทคโนโลยดี ้วยตนเอง
๑.๔ ผเู้ รยี นได้เรยี นรโู้ ดยเชื่อมโยงบรู ณาการสาระการเรยี นรแู้ ละทักษะด้านตา่ งๆ
๑.๕ ผูเ้ รียนมสี ว่ นรว่ มในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอ้ ม และส่อื การเรียน
๑.๖ ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการวิจยั
๒. การจดั การเรยี นการสอนท่ียดึ โยงกับบรบิ ทของชุมชนและทอ้ งถน่ิ
๒.๑ จดั กิจกรรมใหผ้ ู้เรยี นได้เรียนรู้จากแหลง่ เรียนรแู้ ละภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่
๒.๒ ชมุ ชนมีสว่ นร่วมแสดงความคิดเหน็ หรือร่วมจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน
๓. การตรวจสอบและประเมินความรู้ความเขา้ ใจของผ้เู รียน
๓.๑ ประเมนิ ผเู้ รยี นจากสภาพจรงิ
๓.๒ มีขน้ั ตอนตรวจสอบและประเมิน
๓.๓ ใช้เครอื่ งมอื และวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกบั เปา้ หมาย และ การจัดการเรยี นการสอน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคูเมอื งวทิ ยาคม ปี ๒๕๖๓

110

๓.๔ ใหข้ ้อมูลย้อนกลบั แก่ผู้เรียน ระดบั ๑ ปรบั ปรุง
๑. การมีกระบวนการเรียนการสอนท่ีไมส่ รา้ งโอกาสใหผ้ ู้เรยี นมสี ว่ นรว่ ม
๑.๑ ผเู้ รยี นไม่มสี ว่ นร่วมในการวเิ คราะห์ตนเอง กำหนดเนือ้ หาสาระ กิจกรรม ท่ีสอดคลอ้ งกบั ความสนใจ
และความถนัดเป็นรายบุคคล
๑.๒ ไม่เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนเรยี นรโู้ ดยการคดิ ไดป้ ฏบิ ตั ิจรงิ ดว้ ยวิธกี ารและแหล่ง เรียนรสู้ รุปองค์ความรู้
๑.๓ ไม่จัดกจิ กรรมใหผ้ ู้เรียนไดฝ้ ึกทกั ษะ แสดงออก นำเสนอผลงาน แสดง ความคิดเห็น คิดเป็น ทำเป็น
และรกั การอ่าน
๑.๔ ผู้เรยี นได้เรียนรู้โดยไมเ่ ชอื่ มโยงบูรณาการสาระการเรียนรแู้ ละทักษะด้านต่างๆ
๑.๕ ผูเ้ รียนไม่มีสว่ นร่วมในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดลอ้ ม และส่ือการเรียน
๑.๖ ผเู้ รยี นไม่มีการเรยี นรโู้ ดยใช้กระบวนการวจิ ยั
๒. การจดั การเรียนการสอนทไี่ ม่ยดึ โยงกบั บริบทของชมุ ชนและท้องถน่ิ
๒.๑ ไมจ่ ัดกิจกรรมให้ผูเ้ รยี นได้เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้และภมู ิปัญญาท้องถนิ่
๒.๒ ชุมชนไม่มบี ทบาทในการมสี ว่ นร่วมแสดงความคดิ เหน็ หรอื ร่วมจดั กิจกรรม การเรียนการสอน
๓. การตรวจสอบและประเมนิ ความร้คู วามเข้าใจของผเู้ รยี นไม่เปน็ ระบบ และไม่มี ประสิทธภิ าพ
๓.๑ ไม่ประเมินผู้เรียนจากสภาพจริง
๓.๒ ตรวจสอบและประเมินอย่างไม่เป็นระบบ
๓.๓ นกั เรียนและผู้มสี ว่ นเก่ียวขอ้ งไม่มสี ่วนรว่ มในการวดั และประเมนิ ผล
๓.๔ ไมใ่ ห้ข้อมลู ยอ้ นกลบั แกผ่ ู้เรียน
ตวั อยา่ งการเก็บรวบรวมขอ้ มลู - ตรวจสอบเอกสารหลักฐานตา่ งๆเชน่ หลักสตู รสถานศึกษาแผนการ
จัดการเรยี นรู้ บันทกึ ผลหลังสอน เอกสารหลักฐานการวัดและประเมินผล เคร่อื งมอื วัดและประเมนิ ผล การเรยี นรู้
สมุดการบ้านทแ่ี สดงใหเ้ ห็นการให้ข้อมลู ยอ้ นกลับ ชนิ้ งานหรอื ผลงานของ ผ้เู รียน/แฟ้มสะสมงาน สือ่ การเรยี นการ
สอน และแหลง่ เรยี นรฯู้ ลฯ - สังเกตกระบวนการเรียนการสอน พฤตกิ รรมการสอนของครู เชน่ การใช้คำถาม ท่ี
หลากหลายระดบั เพ่ือสง่ เสรมิ การคิดขน้ั สงู พฤติกรรมการดแู ลเอาใจใส่ การมอบหมายงาน ของครู ปฏิสมั พนั ธ์ของ
ครูกับผู้เรียน เชน่ ความเป็นกนั เองของครูกบั ผูเ้ รยี น การสนทนา โต้ตอบของครูกับผู้เรยี น พฤติกรรมการเรยี นของ
ผ้เู รียน เช่น ความกระตอื รือร้นในการเรยี น การมีส ่วนร่วมของผู้เรียน ความสนใจในการร่วมกจิ กรรม สภาพ
บรรยากาศและ สภาพแวดลอ้ มทเ่ี อือ้ ตอ่ การเรียนรกู้ ารจัดกจิ กรรมที่ใหผ้ ู้เรยี นปฏบิ ตั ิจริง กิจกรรมการ แลกเปล่ยี น
เรียนรขู้ องผูเ้ รียน กิจกรรมตอบสนองความสนใจของผูเ้ รียนในแตล่ ะกลมุ่ ฯลฯ
- สมั ภาษณน์ กั เรยี น และครู เกีย่ วกบั การจัดการเรียนการสอน เช่น นักเรยี น มสี ว่ นรว่ มในการจัดกิจกรรม
การเรยี นการสอนหรอื ไม่ อย่างไร นกั เรยี นได้ร่วมกำหนด เกณฑก์ ารประเมินผลงาน/ชิ้นงานต่างๆ หรอื รว่ ม
ประเมนิ ผลการเรยี นหรือไม่ อยา่ งไร นักเรียนมโี อกาสไดไ้ ปเรยี นร้จู ากชุมชนในเร่ืองใด และจากแหล่งเรียนร้ใู ดบ้าง
นักเรียนชอบ เรียนวิชาอะไร เพราะเหตใุ ด ครใู ชว้ ิธกี ารวัดและประเมนิ ผลความร้คู วามเข้าใจของผ้เู รียน ด้วยวิธีการ
ใดบา้ ง ฯลฯ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคเู มอื งวิทยาคม ปี ๒๕๖๓

111

๙. การตัดสนิ คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาโดยภาพรวม ใหต้ ัดสนิ จากผลการประเมนิ ๓มาตรฐาน
คอื มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผู้เรยี น มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหาร จัดการ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการ
จดั การเรยี นการสอนท่เี น้น ผูเ้ รียนเปน็ สำคญั โดยนำผลการประเมินรายมาตรฐานเหล่านั้น มาพจิ ารณาเป็น
ภาพรวมเพื่อตัดสนิ ระดับ คุณภาพของสถานศึกษาตามระดับคณุ ภาพ ดังน้ี

ระดบั ๔ ดเี ยีย่ ม
๑. ผลประเมินมาตรฐานคณุ ภาพของผู้เรยี นอยู่ ่ในระดบั ดเี ยย่ี ม โดยมีพฒั นาการของ ค่าเฉลี่ยผลการ
ทดสอบระดับชาติสูงขึ้น มคี วามสามารถในการอ่านและเขียน สามารถสอื่ สารท้งั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ
สามารถในการคิดคำนวณ มีความสามารถ ในการคดิ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไดด้ ีและมีความ
ประพฤติด้าน คุณธรรมจริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะตามทีส่ ถานศึกษากำหนดปรากฏ อย่างชัดเจน
๒. ผลประเมินมาตรฐานกระบวนการบริหารจัดการของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาอยู่ในระดับดเี ยี่ยม โดยมกี าร
วางแผน การดำเนนิ งานตามแผน การตรวจสอบผลการดำเนินงาน และ การปรบั ปรงุ แก้ไขงานให้ดีข้ึนอยา่ ง
ต่อเน่อื ง
๓. ผลประเมินมาตรฐานกระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ มีผลประเมินอย่ใู น
ระดบั ดีเย่ียม โดยมีการวเิ คราะห์ออกแบบและจัดการเรยี นรู้ให้ เป็นไปตามเปา้ หมายของหลกั สูตร และบรบิ ท
สถานศกึ ษา พัฒนากจิ กรรมการเรียนรู้ และการประเมินผลจากสภาพจรงิ ในทุกข้นั ตอน
๔. ผลประเมินมาตรฐานระบบการประกนั คณุ ภาพภายในที่มปี ระสิทธผิ ลอยู่ในระดับดเี ยย่ี ม โดย
ผเู้ กีย่ วข้องทกุ ฝา่ ยใหค้ วามรว่ มมือในการวางระบบและดำเนนิ งานประกนั คณุ ภาพ ภายในของสถานศึกษาเป็นอย่าง
ดแี ละผ้มู ีส ่วนเก่ียวขอ้ งมีความม่นั ใจต่อระบบ การบรหิ ารและการจัดการของสถานศกึ ษาในระดับสูง ระดบั ๓ ดี
๑. ผลประเมนิ มาตรฐานคุณภาพของผู้เรียนอยใู่ นระดับดีหรือดเี ยี่ยม โดยมพี ัฒนาการ ของค่าเฉล่ยี ผลการ
ทดสอบระดบั ชาติสูงขึ้น มีความสามารถในการอ่านและเขียน สามารถสื่อสารท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
สามารถในการคิดคำนวณ มีความสามารถ ในการคดิ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารได้ดีและมคี วาม
ประพฤติ ด้านคุณธรรมจริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะตามทสี่ ถานศกึ ษากำหนดปรากฏ อยา่ งชดั เจน
๒. ผลประเมนิ มาตรฐานกระบวนการบรหิ ารจัดการของผู้บรหิ ารสถานศึกษาอยู่ในระดับดี หรอื ดเี ยี่ยม
โดยมีการวางแผน การดำเนนิ งานตามแผน การตรวจสอบผลการดำเนินงาน และการปรบั ปรุงแก้ไขงานใหด้ ขี ึ้น
อยา่ งต่อเน่ือง
๓. ผลประเมินมาตรฐานกระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ อยู่ในระดับดหี รอื ดี
เยย่ี ม โดยมกี ารวเิ คราะหท์ ำความเข้าใจเปา้ หมายของหลกั สูตร บริบทสถานศกึ ษา พัฒนากจิ กรรมการเรยี นรู้และ
การประเมินผลในทกุ ขัน้ ตอน
๔. ผลประเมนิ มาตรฐานระบบการประกันคณุ ภาพภายในทมี่ ีประสิทธิผลอยู่ในระดบั ดี หรอื ดเี ย่ยี ม และผ้มู ี
สว่ นเกี่ยวข้องมคี วามมั่นใจต่อระบบการบริหารและการจดั การ ของสถานศึกษาในระดบั สงู ระดับ ๒ พอใช้
๑. ผลประเมนิ มาตรฐานคณุ ภาพของผู้เรยี นอยใู่ นระดบั พอใช้

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคูเมืองวิทยาคม ปี ๒๕๖๓

112

๒. ผลประเมินมาตรฐานกระบวนการบริหารจดั การของผบู้ ริหารสถานศึกษาอยู่ในระดับ พอใช้ไม่มกี าร
วางแผน การดำเนินงานตามแผน การตรวจสอบผลการดำเนินงาน และการปรับปรุงแก้ไขงานใหด้ ขี ึน้ อยา่ งใด
อย่างหนง่ึ

๓. ผลประเมนิ มาตรฐานกระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ อยใู่ นระดับพอใช้ มีการ
วิเคราะห์ทำความเข้าใจเป้าหมายความตอ้ งการของหลักสูตร บรบิ ทสถานศกึ ษา พัฒนากิจกรรมการเรยี นรกู้ าร
นำไปใช้และการประเมนิ ผล แต่ขาดความถูกตอ้ งสมบรู ณ์อยา่ งใดอย่างหนง่ึ

๔. ผลประเมนิ มาตรฐานระบบการประกันคณุ ภาพภายในท่ีมีประสทิ ธผิ ลอย่ใู นระดับพอใช้ และผ้มู ีสว่ น
เกย่ี วข้องมคี วามมั่นใจต่อระบบการบริหารและการจดั การของสถานศกึ ษา ระดับ ๑ ปรับปรุง

๑. ผลประเมนิ มาตรฐานคุณภาพของผู้เรยี นอยู่ในระดบั พอใชห้ รือปรับปรุง
๒. ผลประเมนิ มาตรฐานกระบวนการบรหิ ารจดั การของผู้บริหารสถานศึกษาอยู่ ใ่ น ระดับพอใชห้ รือ
ปรบั ปรงุ ไม่มีการวางแผน การดำเนินงานตามแผน การตรวจสอบ ผลการดำเนนิ งาน และการปรบั ปรุงแก้ไขงานให้
ดีขึ้น อย่างใดอย่างหนงึ่
๓. ผลประเมนิ มาตรฐานกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผ้เู รียนเป็นสำคัญ อยู่ในระดับพอใช้หรือ
ปรับปรุง ไม่มีการวิเคราะห์ทำความเข้าใจเป้าหมายของหลกั สูตร บริบทสถานศกึ ษา และบริบทในการศกึ ษาของ
ชาติขาดความสมบรู ณ์ในการพัฒนา กจิ กรรมการเรียนร้กู ารนำไปใช้และการประเมนิ ผลในทกุ ขัน้ ตอน
๔. ผลประเมินมาตรฐานระบบการประกันคุณภาพภายในท่มี ีประสทิ ธิผลอยู ่ในระดบั พอใช้หรือปรบั ปรงุ
ผ้มู ีส่วนเกยี่ วขอ้ งไมม่ คี วามมัน่ ใจตอ่ ระบบการบริหารและการ จดั การของสถานศึกษา
สว่ นท่ี ๒ แนวทางการประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา
๑๐. การประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศึกษาและการตัดสินระดับคุณภาพตามมาตรฐาน เปน็ ไปตาม
หลักการตัดสนิ โดยอาศยั ความเชยี่ วชาญ (expert judgement) และ การตรวจทานผลการประเมนิ โดย
คณะกรรมการประเมินในระดบั เดียวกนั (peer review) โดยเทียบกับเกณฑ์หรอื มาตรฐานท่กี ำหนดไว้
คณะกรรมการประเมนิ ตอ้ งมคี วามรู้ อย่างรอบด้านและวเิ คราะห์ขอ้ มูลรว่ มกนั ในการตดั สินเพอ่ื ใหร้ ะดับคณุ ภาพ
ตามเกณฑ์ ท่กี ำหนด ซ่ึงจะไม่ใชก่ ารใหค้ ะแนนตามความคดิ เหน็ ของคนใดคนหน่ึง
๑๑. การประเมนิ คณุ ภาพภายในเป็นหนา้ ที่ของสถานศึกษาทต่ี อ้ งตรวจสอบและประเมิน ตนเองตาม
สภาพบรบิ ทของสถานศึกษาทแี่ ทจ้ รงิ โดยใหค้ วามสำคญั กับการประเมิน เชิงคุณภาพ ผนวกกบั การประเมินเชงิ
ปริมาณควบคู ่กันไป การตดั สนิ คุณภาพของ สถานศกึ ษาใหใ้ ชเ้ กณฑก์ ารให้คะแนนผลงานหรือกระบวนการท่ีไม่
แยกส่วนหรอื แยกองคป์ ระกอบในการกำหนดคะแนนประเมนิ แตเ่ ป็นการประเมินในภาพรวม ของผลการ
ดำเนินงานหรอื กระบวนการดำเนนิ งาน (holistic rubrics)
๑๒. การกำหนดเป้าหมายการดำเนนิ งานภายในของสถานศึกษา ให้สถานศึกษากำหนด เป้าหมายและ
เกณฑ์การประเมนิ ตามสภาพบริบทของสถานศกึ ษาเอง เพอื่ ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการดำเนนิ งานตามภารกิจ
ของสถานศกึ ษา โดยให้ยึดหลกั การดำเนนิ งาน เพอื่ พัฒนา และสะท้อนคุณภาพการดำเนินงานตามเป้าหมายที่
กำหนดตามมาตรฐาน ของสถานศึกษา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคเู มืองวทิ ยาคม ปี ๒๕๖๓

113

๑๓. การประเมินคุณภาพภายในของสถานศกึ ษาใหเ้ น้นการประเมินตามหลกั ฐานเชิงประจักษ์ ที่เกิดจาก
การปฏบิ ัตงิ านตามสภาพจรงิ ของสถานศึกษา (evidence based) โดยเลอื กใช้ วธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่
เหมาะสมและสะท้อนคุณภาพการดำเนนิ งานตามมาตรฐาน ของสถานศึกษาได้อย่างชดั เจน และมเี ป้าหมายการ
ประเมินเพอ่ื การพฒั นา ลดภาระการ จัดเกบ็ ข้อมูลและเอกสารทไ่ี มจ่ ำเปน็ ในการประเมนิ แต่ข้อมูลตอ้ งมคี วาม
น่าเชื่อถอื และ สามารถตรวจสอบผลการประเมินได้ตามสภาพบริบทของสถานศึกษานนั้ ๆ

๑๔. คณะท่ีทำหนา้ ทีป่ ระเมินคุณภาพภายในของสถานศกึ ษาควรศึกษามาตรฐานการศึกษา และประเด็น
พจิ ารณาที่กำหนดให้เข้าใจถ่องแทก้ ่อนดำเนินการประเมนิ คุณภาพสถานศึกษา ของตน หลังประเมินแล้วให้แจง้ ผล
การประเมนิ และใหข้ ้อเสนอแนะในการปรบั ปรุงพฒั นา คณุ ภาพการศกึ ษา สรปุ และเขียนรายงานการประเมิน
ตนเอง (self-assessment report)

๑๕. ในการประเมินคณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาให้สถานศกึ ษา ดำเนนิ การ
โดย

๑) ใหม้ ีการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาอยา่ งน้อยปลี ะ ๑ คร้ัง
๒) ใหม้ ีคณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายในอยา่ งน้อย ๓ คน โดยท่ตี อ้ งมีผูท้ รงคณุ วุฒิ ภายนอกท่ี
หนว่ ยงานต้นสังกดั ขึน้ ทะเบยี นไว้อย่างน้อย ๑ คน และ
๓) ในการประเมนิ คณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาใหใ้ ช้วิธีการและเคร่อื งมือ ท่ี
หลากหลายและเหมาะสม
๑๖. ใหส้ ถานศึกษาสรุปและจดั ทำรายงานการประเมินตนเองทีส่ ะทอ้ นคุณภาพผู้เรียนและ ผลสำเร็จของ
การบรหิ ารจัดการศกึ ษา นำเสนอรายงานต่อคณะกรรมการสถานศกึ ษา ขัน้ พ้ืนฐานและหน่วยงานต้นสงั กัด
เผยแพร่รายงานต่อสาธารณชนและหนว่ ยงาน ทเ่ี กี่ยวข้อง และเตรยี มรบั การประเมนิ คณุ ภาพภายนอกต่อไป
๑๗. โครงสรา้ งรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ให้ยึดตามแนวทางทห่ี นว่ ยงาน ต้นสังกดั
กำหนด ซึ่งโดยทว่ั ไปประกอบด้วยเนื้อหา ๔ สว่ น คอื
๑) ข้อมลู พ้ืนฐาน
๒) ผลประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
๓) สรุปผล แนวทางการพฒั นา และความตอ้ งการ การช่วยเหลอื และ
๔) ภาคผนวก สง่ิ สำคัญท่ีสดุ ของรายงานการประเมนิ ตนเอง คอื กระบวนการพฒั นาคุณภาพซงึ่ หมาย
รวมถงึ กิจกรรม/โครงการ/งานที่สถานศึกษา ดำเนินการทจ่ี ะสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ หลักการ แนวคิดของผบู้ รหิ าร
สถานศึกษา การมเี ปา้ หมาย หรือรปู แบบท่ีชดั เจนในการพฒั นาการเรยี นการสอน ซง่ึ ทกุ กจิ กรรม/โครงการ/งาน
ส่งผลถงึ การพัฒนาผ้เู รยี นให้บรรลุเป้าหมายของสถานศกึ ษา
๑๘. ข้อควรตระหนกั ในการประเมนิ คณุ ภาพภายใน
๑๘.๑ ผู้ประเมนิ ควรมีความร้ลู ึกและเขา้ ใจบริบทของการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา ท้งั ในแง ่มุมของ
ภาระงาน โครงสรา้ ง เทคนคิ ต่าง ๆ ที่ใชใ้ นการบริหาร และ การพัฒนาการจัดการเรียนร้แู ละมปี ระสบการณ์

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคเู มืองวิทยาคม ปี ๒๕๖๓

114
เพยี งพอ เพือ่ การช่วยช้ีแนะ การปรบั ปรุงพฒั นาสถานศกึ ษาไดอ้ ย่างชดั เจน และตรงประเด็น เกดิ ประโยชน์ ต่อ
สถานศกึ ษาอย่างแทจ้ ริง

๑๘.๒ ผปู้ ระเมนิ ควรวิเคราะห์อภปิ รายดว้ ยใจเปน็ กลาง โดยพิจารณาจากข้อมูล หลักฐานที่เกบ็ รวบรวม
จากหลาย ๆ ด้าน ท้งั ข้อมลู ปัจจุบัน และผลการประเมิน การดำเนนิ งานทผี่ ่านมา (อาจพจิ ารณาย้อนหลัง ๓ ป)ี
ท้งั นเ้ี พอ่ื ให้ทราบถึง ความกา้ วหนา้ ในการพัฒนาวา่ อยู่ในระดับใด

๑๘.๓ ส่ิงท่มี ีคุณคา่ มากท่สี ุดที่ไดร้ ับจากการประเมนิ ภายในของสถานศกึ ษา คอื การได้รับ ขอ้ ชี้แนะ
คำแนะนำ แนวทางการพฒั นาสถานศึกษาที่เปน็ รูปธรรมและปฏบิ ตั ิ ได้จรงิ ดงั นั้น ผ้ปู ระเมนิ จงึ ควรรคู้ วาม
เคล่อื นไหวของการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งในเร่อื งการพฒั นาการเรียนการสอน

๑๘.๔ การกำหนดระยะเวลาดำเนนิ การประเมนิ ภายในของสถานศกึ ษาน้ัน ให้สถานศึกษา กำหนดไดเ้ อง
ตามความเหมาะสม แตค่ วรสอดคลอ้ งกับสภาพและบรบิ ทของ การดำเนนิ งาน เพื่อความสะดวกในการเก็บ
รวบรวมขอ้ มูลจากเอกสารหลักฐาน เชน่ แผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษา แผนการเรยี นรู้ บันทกึ หลังสอน
รายงานประชุม เป็นตน้ ซง่ึ จะเห็นได้วา่ เอกสารหลักฐานต่าง ๆ น้นั เกดิ ขน้ึ จากการปฏิบัตงิ าน ไมใ่ ช่การสร้าง
เอกสารหลกั ฐานเพิม่ เติม

๑๘.๕ การเกบ็ รวบรวมข้อมูลในส่วนของการสังเกตและสมั ภาษณ์นน้ั ควรกระทำ ด้วยความระมัดระวงั
ต้องสร้างความร้สู กึ เป็นมิตรมากกว่าการจบั ผิดหรือ การกล่าวโทษ และควรพดู คยุ สอบถามด้วยความสุภาพและ
สร้างความไวว้ างใจ เปน็ อนั ดับแรก ก่อนที่จะสอบถามเพอื่ การเก็บรวบรวมขอ้ มูลต่อไป

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคูเมืองวทิ ยาคม ปี ๒๕๖๓

115

ปฏิทินงานประกันคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นคูเมอื งวทิ ยาคม

วัน เดือน ปี งานที่ปฏิบตั ิ ผู้รับผดิ ชอบ

๑๘ มิถุนายน ประชุมจัดทำมาตรฐานคุณภาพการศึกษาและกำหนดคา่ เปา้ หมายประจำปี งานประกันฯ
๒๖๕๓ ตอ่ ฝา่ ยบรหิ ารและคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานเพ่ือประยกุ ตใ์ ช้ และคณะกรรมการฯ
เสนอร่างมาตรฐานคณุ ภาพการศกึ ษาและคา่ เป้าหมายตอ่ ฝา่ ยบรหิ ารและ งานประกันฯ
๒๒ มิถุนายน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และคณะกรรมการฯ
๒๖๕๓ ประกาศใชม้ าตรฐานคณุ ภาพการศึกษาและคา่ เปา้ หมายแตล่ ะมาตรฐานและ
แต่ละประเดน็ พิจารณาให้ผ้เู กย่ี วข้องทั้งภายในและภายนอกรับทราบ งานประกันฯ
๑ กรกฎาคม จดั ทำเคร่ืองมอื และออกแบบวธิ กี ารเกบ็ รวบรวมข้อมลู จากแหลง่ ข้อมลู ต่าง ๆ
๒๖๕๓ สำหรับการประเมินครุ ภาพภายในสถานศึกษา งานประกันฯ
ประชมุ ช้ีแจงกับทุกฝา่ ยที่เก่ียวข้องเพอื่ ทราบ เตรยี มการและดำเนินการ และคณะกรรมการฯ
๑-๓๑ กรกฎาคม ติดตาม ตรวจสอบคุณภาพมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรยี น งานประกันฯ
๒๖๕๓ ประชุมคณะกรรมการประเมิรนคุณภาพภายในและการตดิ ตาม ตรวจสอบ และคณะกรรมการฯ
คุณภาพการศึกษา ครง้ั ท่ี ๑ งานประกนั ฯ
๗ สิงหาคม ๒๖๕๓ ครูและบุคลากรประเมนิ คุณภาพภายในตามมาตรฐานการศกึ ษาภาคเรียนที๑่ และคณะกรรมการฯ
งานประกันฯ
๔ กันยายน ๒๕๖๓ ประเมนิ คุณภาพภายในและการตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพฯครัง้ ที่ ๑ และคณะกรรมการฯ
งานประกันฯ
๑๙-๒๒ ตุลาคม สรุปผลการประเมนิ ความพึงพอใจตอ่ การดำเนนิ งานของโรงเรียน ครงั้ ท่ี ๑ และคณะกรรมการฯ
๒๕๖๓ ประชุมคณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายในและการติดตามตรวจสอบ
คณุ ภาพ ครงั้ ที่ ๒ งานประกนั ฯ
๒๖-๓๐ ตลุ าคม ครูและบคุ ลากรประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศกึ ษาภาคเรียนท่ี ๒ งานประกนั ฯ
๒๖๕๓ และคณะกรรมการฯ
ครแู ละบุคลากรสง่ รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR) ต่อกลุม่ สาระ/ กลุ่มงาน งานประกันฯ
๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๓ สรปุ ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจตอ่ การดำเนนิ งานของโรงเรียน ครง้ั ที่ ๒ และคณะกรรมการฯ
๒๒ มกราคม กลุ่มงาน/กลุม่ สาระ ส่งรายงานการปะเมินตนเองเพื่อรวบรวมจัดทำรายงาน คณะครูและบคุ ลากร
๒๕๖๔ การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาประจำปี
จัดทำรายงานการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาประจำปี งานประกนั ฯ
๒๒-๒๖ กุมภาพันธ์ งานประกนั ฯ
๒๕๖๔ นำเสนอรายงานการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาประจำปีต่อคณะกรรมการ และคณะกรรมการฯ
สถานศึกษาเพอื่ ขอความเห็นชอบ งานประกนั ฯ
๓๑ มนี าคม ๒๕๖๔ ส่งรายงานการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาประจำปีต่อ สพม.๓๒ และคณะกรรมการฯ
๑ เมษายน ๒๕๖๔
๙ เมษายน ๒๖๕๔ งานประกันฯ

๑๐-๒๘ เมษายน งานประกันฯ
๒๖๕๔

๒๙ เมษายน ๒๕๖๔

๓๐ เมษายน ๒๕๖๔

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคเู มอื งวิทยาคม ปี ๒๕๖๓

116

เกียรติบตั รโรงเรยี น

เกียรตบิ ตั รผบู้ รหิ าร

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคูเมืองวทิ ยาคม ปี ๒๕๖๓

117

เกียรติบตั รครู

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคูเมอื งวทิ ยาคม ปี ๒๕๖๓

118

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคูเมืองวิทยาคม ปี ๒๕๖๓

119

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคูเมืองวิทยาคม ปี ๒๕๖๓

120

เกียรติบัตรนักเรียน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคูเมืองวทิ ยาคม ปี ๒๕๖๓

121

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคูเมืองวิทยาคม ปี ๒๕๖๓

122

รปู ภาพประกอบ

โครงการห้องเรยี นอาชพี ในโรงเรียนมัธยมศกึ ษา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคูเมอื งวทิ ยาคม ปี ๒๕๖๓

123

รูปภาพมอบเกยี รติบัตรเดก็ ดีศรจี านเหลอื ง

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคูเมอื งวทิ ยาคม ปี ๒๕๖๓

124

รปู ภาพกิจกรรมการเขา้ ค่ายลกู เสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคูเมอื งวทิ ยาคม ปี ๒๕๖๓

125

รปู ภาพกจิ กรรมการเข้าค่ายลกู เสือ เนตรนารี ยุวกาชาด

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคูเมอื งวทิ ยาคม ปี ๒๕๖๓

126

รปู ภาพกจิ กรรมการเข้าค่ายลกู เสือ เนตรนารี ยุวกาชาด

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคูเมอื งวทิ ยาคม ปี ๒๕๖๓

127

รูปภาพการประชมุ ผปู้ กครองนักเรียน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคเู มืองวิทยาคม ปี ๒๕๖๓

128

รปู ภาพมอบโลห์ครูผ้สู อนดีเด่น

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคูเมอื งวทิ ยาคม ปี ๒๕๖๓

129

รูปภาพการจัดกจิ กรรมวนั ครสิ มาสต์

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคเู มืองวิทยาคม ปี ๒๕๖๓

130

รูปภาพการจัดกจิ กรรมวนั ครสิ มาสต์

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคเู มืองวิทยาคม ปี ๒๕๖๓

131

รูปภาพการจัดกจิ กรรมวนั ครสิ มาสต์

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคเู มืองวิทยาคม ปี ๒๕๖๓

132

รูปภาพการปจั ฉิมนเิ ทศผูส้ ำเรจ็ การศกึ ษา ๒๕๖๓

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคเู มอื งวิทยาคม ปี ๒๕๖๓

133

รปู ภาพการจัดกจิ กรรมมอบประกาศนยี บัตรผู้สำเรจ็ การศึกษา ๒๕๖๓

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคูเมอื งวิทยาคม ปี ๒๕๖๓

134

รปู ภาพการจัดกจิ กรรมมอบประกาศนยี บัตรผู้สำเรจ็ การศึกษา ๒๕๖๓

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคูเมอื งวิทยาคม ปี ๒๕๖๓

135

รูปภาพกจิ กรรมการเลือกตง้ั ประธานนักเรยี น

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคูเมอื งวทิ ยาคม ปี ๒๕๖๓

136

รูปภาพกิจกรรมวิถีพุทธ วถิ ไี ทย

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคูเมอื งวทิ ยาคม ปี ๒๕๖๓

137

รูปภาพการจัดกจิ กรรมวิถพี ทุ ธ วถิ ไี ทย

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคเู มืองวิทยาคม ปี ๒๕๖๓

138

รูปภาพการจัดกจิ กรรมวถิ พี ทุ ธ วถิ ไี ทย

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคเู มืองวิทยาคม ปี ๒๕๖๓

139

รูปภาพการจัดกจิ กรรมวถิ พี ทุ ธ วถิ ไี ทย

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคเู มืองวิทยาคม ปี ๒๕๖๓

140

รูปภาพการจัดกจิ กรรมสวัสดคี ณุ ครู

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคเู มืองวิทยาคม ปี ๒๕๖๓

141

รูปภาพการจัดกจิ กรรมสวัสดคี ณุ ครู

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคเู มืองวิทยาคม ปี ๒๕๖๓

142

รูปภาพการจดั กิจกรรมประเพณลี อยกระทง

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคเู มืองวิทยาคม ปี ๒๕๖๓

143

รูปภาพการจัดกจิ กรรมวันลอยกระทง

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคูเมอื งวทิ ยาคม ปี ๒๕๖๓

144

รูปภาพการจัดกิจกรรมทำบุญวนั เขา้ พรรษา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)โรงเรียนคเู มืองวทิ ยาคม ปี ๒๕๖๓


Click to View FlipBook Version