The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายไพรัช สุริยะ, 2021-04-06 23:38:14

แผนเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์

แผนเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์

24

การบูรณาการกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
1. ความพอประมาณ
ผเู้ รียนปฏบิ ตั กิ ารกาหนดรูปแบบของการเขยี นแบบตามทก่ี าหนด
2. ความมีเหตุผล
ผเู้ รียนปฏบิ ตั กิ ารกาหนดรูปแบบของการเขียนแบบ
3. การมีภมู ิคุม้ กนั ในตวั ทด่ี ี
ผเู้ รียนปฏิบตั กิ ารใชโ้ ปรแกรม AutoCAD 2010 โดยคานึงถึงความปลอดภยั
4. เงอื่ นไขความรู้
ผเู้ รียนปฏบิ ตั ิการกาหนดรูปแบบของการวดั
ผเู้ รียนปฏิบตั ิการกาหนดรูปแบบของขอบเขตการเขียนแบบ
ผเู้ รียนปฏบิ ตั ิการกาหนดรูปแบบของระยะจดุ
ผเู้ รียนปฏิบตั กิ ารกาหนดรูปแบบของระยะการเคลื่อนทข่ี อง Curser
ผเู้ รียนปฏิบตั ิการกาหนดรูปแบบของช้นั ภาพ
5. เงอ่ื นไขคุณธรรม
ผเู้ รียนปฏบิ ตั กิ ารสรา้ งรูปแบบของการเขยี นแบบดว้ ยความซ่ือสตั ยส์ ุจริต

25

ใบบนั ทกึ หลังสอน หน่วยที่ 3

ช่ือวชิ า... การเขยี นแบบดว้ ยคอมพวิ เตอร์ สอนคร้ังท่ี 3

ช่ือหน่วย..การกาหนดรูปแบบของการเขยี นแบบ คาบรวม 4

ชื่อเร่ือง...การกาหนดรูปแบบของการเขียนแบบ จานวนคาบ 4

1. ดา้ นการเรียนรู้……………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………...………………

………………………………………………………………………………………………………………………...

……………………………………………………………………………………………………………...…………

……………………………………………………………………………………………………….…………..……

2. ดา้ นทกั ษะ…………………………………………………………………………………..…………..

……………………………………………………………………………………………………..…………………

…………………………………………………………………………………………………………………...……

…………………………………………………………………………………………………………...……………

…………………………………………………………………………………………………………...……………

3. ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม…………………………………………………………………..…………….

…………………………………………………………………………………………………..……………………

…………………………………………………………………………………………………………………..……

…………………………………………………………………………………………………………..……………

…………………………………………………………………………………………………………..……………

4. ปัญหาที่ควรแกไ้ ข………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………..……………………

…………………………………………………………………………………………………………………..……

…………………………………………………………………………………………………………………..……

……………………………………………………………………………………………………………….………

5. วธิ ีการแกไ้ ข…………………………………………………………………………………….………

………………………………………………………………………………………………………..………………

……………………………………………………………………………………………………………………..…

แผนจดั การเรียนรู้ 26
ชื่อวชิ า... เขยี นแบบดว้ ยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
ชื่อหน่วย..การแสดงภาพ หน่วยที่ 4
ชื่อเร่ือง...การแสดงภาพ สอนคร้งั ท่ี 4

คาบรวม 4
จานวนคาบ 4

หัวข้อเร่ือง การแสดงภาพ

สาระสาคญั
การแสดงภาพเป็นการทาใหแ้ บบทเ่ี ขียนแสดงในลกั ษณะต่างๆ เช่น แสดงแบบท่ีเขียนท้งั หมดเตม็ จอ แสดงแบบท่ี
เขียนเฉพาะส่วนใดส่วนหน่ึงเตม็ จอ แสดงภาพสามมิติ แมว้ ่าแบบจะแสดงอยใู่ นลกั ษณะอยา่ งไร แต่ขนาดของแบบไม่
เปลี่ยนแปลงตามภาพทเี่ ห็นในขณะน้นั การแสดงภาพน้ีทาเพอ่ื ใหเ้ กิดความสะดวกตอ่ การปฏบิ ตั กิ ารเขียนแบบ
สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์

1. ปฏิบตั ิการเปลี่ยนมุมมองของแบบตามทีก่ าหนด
2. ปฏิบตั กิ ารเลื่อนแบบตามทกี่ าหนด
3. ปฏิบตั กิ ารแสดงภาพ 3 มิติในลกั ษณะต่างๆตามทีก่ าหนด
4. นอ้ มนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงใชใ้ นการปฏิบตั งิ าน

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. ด้านความรู้
1.1 อธิบายลกั ษณะและบอกลาดบั ข้นั การเปล่ียนมุมมองของภาพแบบตา่ งๆได้
1.2 อธิบายลกั ษณะและบอกลาดบั ข้นั การเลื่อนของภาพแบบต่างๆได้
1.3 อธิบายลกั ษณะและบอกลาดบั ข้นั การแสดงภาพสามมิตแิ บบตา่ งๆได้

2. ด้านทักษะปฏิบตั ิ
2.1 สามารถปฏิบตั กิ ารเปลี่ยนมุมมองของภาพแบบตา่ งๆได้
2.2 สามารถปฏิบตั กิ ารเล่ือนของภาพแบบต่างๆได้
2.3 สามารถปฏบิ ตั กิ ารแสดงภาพสามมิติแบบตา่ งๆได้

3. ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
3.1 สามารถเป็นคนตรงตอ่ เวลา
3.2 สามารถรักษาระเบยี บวนิ ยั
3.3 มีความซ่ือสตั ยแ์ ละรับผดิ ชอบ
3.4 สามารถอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ่ืนไดอ้ ยา่ งมีความสุข

27

สาระการเรียนรู้
การแสดงภาพ คือ การทาให้แบบท่ีเขียนแสดงในลกั ษณะต่างๆ กัน เช่น แสดงแบบที่เขียนท้งั หมดเต็มจอ

แสดงแบบทเ่ี ขียนเฉพาะส่วนใดส่วนหน่ึงเตม็ จอ แสดงภาพสามมิติ แมว้ ่าแบบจะแสดงอยใู่ นลกั ษณะอยา่ งไรแต่ขนาด
ของภาพก็ไม่เปลี่ยนแปลงตามภาพที่เห็นในขณะน้นั การแสดงภาพทาเพอื่ ให้เกิดความสะดวกต่อการปฏิบตั ิการเขียน
แบบ ซ่ึงมีรูปแบบใหเ้ ลือกใชต้ ามความตอ้ งการดงั น้ี

1. การเปล่ียนมุมมอง (Zoom)
การเปลี่ยนมุมมอง หมายถึง การทาให้แบบที่เขียนมองแสดงให้เห็นในลักษณะต่างๆ ตามความตอ้ งการ

ท้งั น้ีเพอื่ สะดวกต่อการเขยี นแบบ ซ่ึงมีมุมมองในการเขยี นแบบดงั น้ี
1.1 Realtime ใชส้ าหรับเปลี่ยนมุมมองใหภ้ าพเลก็ ลงหรือโตข้นึ โดยใชห้ ลกั การ Zoom ของกลอ้ งถ่ายภาพ
1.2 Previous ใชส้ าหรบั เปล่ียนมุมมองใหเ้ ห็นภาพท่ีแสดงก่อนหนา้ น้ี
1.3 Windows ใชส้ าหรบั แสดงภาพเฉพาะส่วนใดส่วนหน่ึงของแบบใหเ้ ห็นเตม็ จอ
1.4 Scale ใชส้ าหรบั ทาใหม้ องเห็นภาพโตข้ึนหรือเล็กลงโดยใชส้ เกลของวตั ถุเดิมเป็ นหลกั
1.5 Center ใชส้ าหรับกาหนดจดุ เอาจุดใดจุดหน่ึงของแบบมาเป็ นจดุ ศนู ยก์ ลางในมุมมอง
1.6 In ใชส้ าหรบั ทาใหม้ องเห็นภาพโตข้นึ หน่ึงจงั หวะตอ่ การเปลี่ยนมุมมองหน่ึงคร้งั
1.7 Out ใชส้ าหรบั ทาใหม้ องเห็นภาพเลก็ ลงจงั หวะตอ่ การเปล่ียนมุมมองหน่ึงคร้ัง
1.8 All ใชส้ าหรับแสดงขอบเขตของการเขียนแบบใหเ้ ห็นเตม็ จอ แต่ถา้ มีแบบที่เขียนอยนู่ อกขอบเขตการ

เขียนแบบจะแสดงภาพใหเ้ ห็นดว้ ย
1.9 Extents สาหรบั แสดงแบบท่เี ขยี นท้งั หมดใหเ้ ห็นเตม็ จอ

2. การเลื่อนแบบ (Pan)
การเลื่อนแบบ หมายถึง การทาใหแ้ บบทเี่ ขยี นไปอยบู่ ริเวณส่วนใดส่วนหน่ึงของจอภาพตามความตอ้ งการ

ท้งั น้ีเพอ่ื สะดวกตอ่ การเขยี นแบบ ซ่ึงมีรูปแบบดงั น้ีดงั น้ี
2.1 Realtime ใชส้ าหรับเลื่อนแบบโดยการเลื่อนเมาส์
2.2 Point ใชส้ าหรบั เลื่อนแบบโดยการกาหนดตาแหน่ง
2.3 Left ใชส้ าหรับเล่ือนแบบไปทางซา้ ยมือหน่ึงจงั หวะต่อการใชค้ าสง่ั หน่ึงคร้ัง
2.4 Right ใชส้ าหรบั เล่ือนแบบไปทางขวามือหน่ึงจงั หวะตอ่ การใชค้ าสงั่ หน่ึงคร้ัง
2.5 Up ใชส้ าหรบั เลื่อนแบบข้ึนบนหน่ึงจงั หวะต่อการใชค้ าสง่ั หน่ึงคร้งั
2.5 Down ใชส้ าหรับเลื่อนแบบลงดา้ นล่างหน่ึงจงั หวะตอ่ การใชค้ าสง่ั หน่ึงคร้ัง

28

3. การแสดงภาพสามมิติ (3D Views)
การแสดงภาพสามมิติ หมายถึง การทาใหแ้ บบที่เขียนแสดงเป็นภาพ 3 มิติ หรือ แสดงใหเ้ ห็นเฉพาะดา้ นใด

ดา้ นหน่ึงของภาพสามมิติ ซ่ึงมีรูปแบบการแสดงภาพดงั น้ี
3.1 คาสงั่ ในกลุ่มแสดงเฉพาะดา้ นใดดา้ นหน่ึงของภาพสามมิติ ประกอบดว้ ย
3.1.1 Top ใชส้ าหรับแสดงดา้ นบนของภาพสามมิติ
3.1.2 Bottom ใชส้ าหรับแสดงดา้ นล่างของภาพสามมิติ
3.1.3 Left ใชส้ าหรับแสดงดา้ นซา้ ยมือของภาพสามมิติ
3.1.4 Right ใชส้ าหรับแสดงดา้ นขวามือของภาพสามมิติ
3.1.5 Front ใชส้ าหรบั แสดงดา้ นหนา้ ของภาพสามมิติ
3.1.6 Back ใชส้ าหรับแสดงดา้ นหลงั ของภาพสามมิติ
3.2 คาสงั่ ในกลุ่มแสดงภาพสามมิติแบบต่างๆ ประกอบดว้ ย
3.2.1 SW Isometric ใชส้ าหรบั แสดงภาพสามมิติโดยใหด้ า้ นหนา้ ซ้ายมือแสดงภาพหลกั
3.2.2 SEIsometric ใชส้ าหรับแสดงภาพสามมิตโิ ดยใหด้ า้ นหนา้ ขวามือแสดงภาพหลกั
3.2.3 NEIsometric ใชส้ าหรบั แสดงภาพสามมิติโดยใหด้ า้ นหลงั ขวามือแสดงภาพหลกั
3.2.4 NW Isometricใชส้ าหรับแสดงภาพสามมิติโดยใหด้ า้ นหลงั ซา้ ยมือแสดงภาพหลกั

29

กิจกรรมการเรียนการสอน

กิจกรรมครู กิจกรรมนกั เรียน

ข้นั เตรียม ข้นั เตรียม

1. ครูขานชื่อนกั เรียนพร้อมตรวจความเรียบรอ้ ยและอบรม 1. รับการขานช่ือ

ในคุณธรรมอนั พงึ ประสงค์ 2. ตอบคาถามปากเปล่าเป็ นรายบุคคลเก่ียวกบั เร่ือง

2. ครูต้ังคาถามปากเปล่าให้นักศึกษาท่ีนั่งหลังสุดของ ตวั อักษรท่ีปรากฏบนปากกาไวท์บอร์ดในมือ

หอ้ งเรียนตอบเป็นรายบุคคลเก่ียวตวั อกั ษรท่ีปรากฏบน ของครู

ปากกาไวทบ์ อร์ดในมือของครูเมื่อนกั ศึกษามองไม่เห็น 3. ฟังพรอ้ มจดบนั ทึกจุดประสงคก์ ารเรียนการสอน

ก็ใหล้ ุกข้ึนมานั่งขา้ งหน้าและดูอีกคร้ังหน่ึง ครูจึงสรุป

การมองเห็นใหก้ บั นกั ศกึ ษาเหล่าน้นั

3. แจง้ จุดประสงคก์ ารเรียนการสอนท้งั จุดประสงค์ดา้ น

ความรู้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ดา้ นคุณธรรมจริยธรรม

และค่านิยมอนั พงึ ประสงคใ์ หน้ กั เรียนทราบ

ข้นั สาธิต ข้นั สาธิต

1. ครูแนะนาการเปิ ดเอกสารประกอบการสอน 1. เปิ ดเอกสารประกอบการสอน

2. ครูใช้โปรแกรม AutoCAD 2010 ซ่ึงแสดงผ่านเคร่ือง 2. สงั เกตและจดบนั ทึกเก่ียวกบั การใชค้ าสั่ง Zoom

ฉายโปรเจ็คเตอร์อธิบายประกอบการสาธิตและถาม Realtime ,previous, Window, Scale, In, Out,

ตอบเกี่ยวกบั การใชค้ าส่ัง Zoom Realtime ,previous, Center, Extents, All ตามลาดบั

Window, Scale, In, Out, Center, Extents, All 3. สงั เกตและจดบนั ทึกเกี่ยวกบั การใชค้ าสงั่

ตามลาดบั Pan Realtime, Point, Left, Right, Up, Down

3. ครูใชโ้ ปรแกรม AutoCAD 2010 ซ่ึงแสดงผ่านเคร่ือง ตามลาดบั

ฉายโปรเจ็คเตอร์อธิบายประกอบการสาธิตและถาม 4. สังเกตและจดบันทึกเกี่ยวกับการใช้คาสั่ง 3D

ตอบเกี่ยวกบั การใช้คาสั่ง Pan Realtime, Point, Left, Views แบบแสดงเฉพาะดา้ นใดดา้ น หน่ึงของ

Right, Up, Down ตามลาดบั ภาพสามมิติและแสดงภาพสามมิติแบบต่างๆ

4. ครูใชโ้ ปรแกรม AutoCAD 2010 ซ่ึงแสดงผ่านเคร่ือง ตามลาดบั

ฉายโปรเจ็คเตอร์อธิบายประกอบการสาธิตและถาม

ตอบเก่ียวกบั การใชค้ าสง่ั 3D Views แบบแสดงเฉพาะ

ดา้ นใดดา้ นหน่ึงของภาพสามมิติและแสดงภาพสามมิติ

แบบตา่ งๆ ตามลาดบั

30

กิจกรรมครู กิจกรรมนกั เรียน

ข้นั ปฏิบัติ ข้นั ปฏบิ ัติ

1. เดินสังเกตฝึกปฏิบตั ิของนักเรียนพร้อมท้งั ตอบคาถาม 1. ปฏบิ ตั ิงานตามใบงานท่ี 4.1 ซ่ึงมี

และอธิบายในส่วนของนกั เรียนท่ที าไม่ได้ รายละเอียดดงั น้ี

1.1 เปล่ียนมุมมองให้มองเห็นภาพเล็กลงท่ีสุด

ดว้ ยคาสงั่ Zoom Realtime

1.2 เปล่ียนมุมมองใหเ้ ห็นภาพท่ีแสดงก่อนหน้า

น้ี ดว้ ยคาสง่ั Zoom Previous

1.3 เปลี่ยนมุมมองให้เห็นเฉพาะส่วนที่กาหนด

ของแบบดว้ ยคาสง่ั Zoom Window

1.4 เปลี่ยนมุมมองใหเ้ ห็นภาพโตข้ึนตามมาตรา

ส่วนดว้ ยการใชค้ าสงั่ Zoom Scale

1.5 เปล่ียนจุดศูนยก์ ลางในการมองด้วยคาส่ัง

Zoom Center

1.6 เปล่ียนมุมมองใหเ้ ห็นภาพพรอ้ มขอบเขต

ของการเขยี นแบบใหแ้ สดงเตม็ จอดว้ ยคาสงั่

Zoom All

1.7 เปลี่ยนมุมมองใหเ้ ห็นภาพเตม็ จอดว้ ยคาสง่ั

Zoom Extent

1.8 เล่ือนภาพใหอ้ ยใู่ นตาแหน่งขวามือของ

จอภาพดว้ ยคาสงั่ Pan Realtime

2. ปฏบิ ตั งิ านตามใบงานที่ 4.2 ซ่ึงมีรายละเอียดดงั น้ี

2.1 แสดงภาพดา้ นบนของภาพสามมิติ

ดว้ ยคาสงั่ 3D Views Top

2.2 แสดงภาพดา้ นขวามือของภาพสามมิติ

ดว้ ยคาสงั่ 3D Views Right

2.3 แสดงภาพดา้ นซา้ ยมือของภาพสามมิติ

ดว้ ยคาสง่ั 3D Views Left

2.4 แสดงภาพสามมิติใหด้ า้ นหนา้ ซา้ ยมือ

แสดงเป็นภาพหลกั ดว้ ยคาสงั่ 3D

กิจกรรมครู 31

ข้นั วัดและประเมนิ ผล กิจกรรมนกั เรียน
1. ตรวจผลงานตามใบตรวจงานท่ี 4.1 และ 4.2 Views SW Isometric
2. ตรวจแบบทดสอบที่ 4 2.5 แสดงภาพสามมิติใหด้ า้ นหนา้ ขวามือ
แสดงเป็นภาพหลกั ดว้ ยคาสง่ั 3D
Views SE Isometric
2.6 แสดงภาพสามมิตใิ หด้ า้ นหลงั ซา้ ยมือ
แสดงเป็นภาพหลกั ดว้ ยคาสง่ั 3D
Views NW Isometric
2.7 แสดงภาพสามมิติใหด้ า้ นหลงั ซา้ ยมือ
แสดงเป็นภาพหลกั ดว้ ยคาสงั่ 3D
Views NE Isometric
ข้นั วัดและประเมนิ ผล
1. ส่งงาน
2. ส่งแบบทดสอบ

งานทม่ี อบหมายหรือกจิ กรรมการเรียนรู้
ก่อนเรียน
ไม่มี
ขณะเรียน
นกั เรียนฝึกปฏบิ ตั งิ านตามใบงานท่ี 4.1 และ 4.2
หลงั เรียน
นกั เรียนทาแบบทดสอบที่ 4

ส่ือการเรียนการสอน
สื่อโสตทศั น์
1. เคร่ืองรบั โทรทศั น์
2. เคร่ืองฉายโปรเจค็ เตอร์
สื่อส่ิงพมิ พ์
เอกสารประกอบการสอน

32

ส่ือของจริง
1. เครื่องคอมพวิ เตอร์
2. โปรแกรม AutoCAD 2010

หลกั ฐานการเรียนรู้
หลกั ฐานความรู้
ผลการทาแบบฝึกหดั ที่ 4
หลกั ฐานการปฏิบตั ิงาน
ผลการปฏิบตั งิ านตามใบงานท่ี 4.1 และ 4.2

การวัดและประเมนิ ผล ปฏิบตั ิการเปลี่ยนมุมมองและเลื่อนแบบของภาพตามทก่ี าหนด
1. ก่อนทเี่ รียน ดูผลการปฏบิ ตั งิ านตามใบงานที่ 4.1
ไม่มี ใบตรวจผลการปฏิบตั งิ านตามใบงานท่ี 4.1
2. ขณะเรียน ปฏิบตั กิ ารแสดงภาพสามมิติในลกั ษณะตา่ งๆตามทก่ี าหนด
สมรรถนะ ดูผลการปฏิบตั ิงานตามใบงานท่ี 4.2
วธิ ีวัด ใบตรวจผลการปฏิบตั งิ านตามใบงานท่ี 4.2
เคร่ืองมือวัด
สมรรถนะ
วธิ ีวัด
เครื่องมือวัด

สมรรถนะ นอ้ มนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงใชใ้ นการปฏิบตั ิงาน
วิธีวดั สงั เกตจากการปฏบิ ตั งิ าน
เคร่ืองมือวัด ใบประเมินผลคุณธรรมจริยธรรม
3. หลงั เรียน
สมรรถนะ 1. ปฏิบตั ิการเปลี่ยนมุมมองของภาพและเลื่อนแบบในลกั ษณะตา่ งๆ
2. ปฏิบตั กิ ารแสดงภาพสามมิติในลกั ษณะต่างๆตามทกี่ าหนด
วธิ ีวดั ทดสอบ
เครื่องมือวัด การเปล่ียนมุมมองและการเลื่อนภาพ

33

การบูรณาการด้านความรู้
1. การบูรณาการสอดแทรกเกี่ยวกบั มาตรฐานของมาตราส่วน DIN 823 (8.65)

การบูรณาการกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
1. ความพอประมาณ
ผเู้ รียนปฏิบตั ิการแสดงภาพตามที่กาหนด
2. ความมีเหตุผล
ผเู้ รียนปฏบิ ตั กิ ารแสดงภาพ
3. การมีภมู ิคุม้ กนั ในตวั ท่ีดี
ผเู้ รียนปฏิบตั ิการใชค้ อมพวิ เตอร์โดยคานึงถึงความปลอดภยั
4. เง่ือนไขความรู้
ผเู้ รียนปฏบิ ตั ิการเปล่ียนมุมมองของแบบ
ผเู้ รียนปฏบิ ตั กิ ารเล่ือนแบบ
ผเู้ รียนปฏิบตั ิการแสดงภาพ
5. เงอ่ื นไขคุณธรรม
ผเู้ รียนปฏบิ ตั กิ ารแสดงภาพดว้ ยความซ่ือสตั ยส์ ุจริต

34

บนั ทึกหลังสอน หน่วยท่ี 4

ช่ือวชิ า... การเขียนแบบดว้ ยคอมพวิ เตอร์ สอนคร้ังท่ี 4

ช่ือหน่วย..การแสดงภาพ คาบรวม 4

ชื่อเรื่อง...การแสดงภาพ จานวนคาบ 4

1. ดา้ นการเรียนรู้…………………………………………………………………………................………

…………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………...…………….

…………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………...…….

2. ดา้ นทกั ษะ…………………………………………………………………………..…………..……….

…………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………….……..….

…………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………....………………

3. ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………...….

…………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………..…………….……………

4. ปัญหาท่คี วรแกไ้ ข…………………………………………………………………………..…...………

…………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………..……………………….

…………………………………………………………………………………………………………..……………

……………………………………………………………………………………………..…………………………

5. วธิ ีการแกไ้ ข………………………………………………………………………………..……………

…………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………...…….

แผนการจัดการเรียนรู้ 35
ช่ือวชิ า... เขียนแบบดว้ ยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
ช่ือหน่วย..การเขียนแบบ 2 มิติ หน่วยท่ี 5
ชื่อเร่ือง...การเขียนเสน้ ตรง สอนคร้ังท่ี 5

คาบรวม 12
จานวนคาบ 4

หัวข้อเร่ือง

1. การเขยี นเสน้ ตรงที่มีจุดเริ่มตน้ และจดุ สิ้นสุด
2. การเขยี นเสน้ ตรงทีท่ ราบจุดผา่ น
3. การเขียนเสน้ ตรงทมี่ ีจุดเริ่มตน้ และทราบจุดผา่ น
สาระสาคญั
เส้นตรงเป็ นส่วนหน่ึงของแบบงานซ่ึงเป็ นสญั ลักษณ์แทนลกั ษณะและส่วนต่างๆของช้ินงานจริง ในการเขียน
แบบดว้ ยคอมพวิ เตอร์เสน้ ตรงมีหลายลกั ษณะ เช่น เสน้ ตรงท่มี ีจดุ เร่ิมตน้ และจุดสิ้นสุด เสน้ ตรงที่เป็ นเสน้ ร่าง เสน้ ตรงท่ี
เป็ นเส้นร่างขา้ งเดียว กลุ่มเส้นตรง การเขียนเส้นทุกลกั ษณะจะตอ้ งกาหนดตาแหน่งต่างๆ ด้วยเคร่ืองมือหรือระบบ
Coordinate ลงไป เช่น จดุ เริ่มตน้ จุดปลาย หรือจดุ ท่ีเสน้ ผา่ น

สมรรถนะท่ีพงึ ประสงค์
1. ปฏบิ ตั กิ าหนดตาแหน่งตา่ งๆของเสน้ ตามทก่ี าหนด
2. ปฏบิ ตั เิ ขียนเสน้ ตรงทที่ ราบจุดเร่ิมตน้ และจุดสิ้นสุดตามท่กี าหนด
3. ปฏิบตั ิเขยี นเสน้ ร่างตามทกี่ าหนด
4. ปฏบิ ตั เิ ขียนเสน้ ร่างขา้ งเดียวตามทีก่ าหนด
5. นอ้ มนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. ด้านความรู้
1.1 อธิบายการกาหนดตาแหน่งต่างๆได้
1.2 อธิบายการใชค้ าสง่ั Line ได้
1.3 อธิบายการใชค้ าสงั่ Construction Line ได้
1.4 อธิบายการใชค้ าสง่ั Ray ได้

36

2. ด้านทกั ษะปฏบิ ตั ิ
2.1 สามารถการเขยี นเสน้ ตรงดว้ ยคาสง่ั Line ได้
2.2 สามารถการเขียนเสน้ ร่างดว้ ยคาสง่ั Construction Line ได้
2.3 สามารถการเขียนเสน้ ร่างขา้ งเดียวดว้ ยคาสง่ั Ray ได้

3. ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ
3.1 สามารถเป็นคนตรงตอ่ เวลา
3.2 สามารถรักษาระเบียบวนิ ยั
3.3 มีความซ่ือสตั ยแ์ ละรับผดิ ชอบ
3.4 สามารถอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ่ืนไดอ้ ยา่ งมีความสุข

สาระการเรียนรู้

1. การกาหนดตาแหน่งลงในแบบ
การกาหนดตาแหน่งลงในแบบ คอื การใช้ Mouse คลิก หรือ การระบุค่าท่ีเป็ นตวั เลขตามระบบ Coordinate

ลงในตาแหน่งที่ตอ้ งการเพือ่ การกาหนดจุดใดๆ ของเส้นตรง วงกลม ส่วนโคง้ หรือ ใชส้ าหรับปรับปรุงเปล่ียนแปลง
แกไ้ ขแบบงานตามทตี่ อ้ งการ

การกาหนดตาแหน่งลงในแบบน้นั สามารถทาไดส้ องวธิ ีหลกั ดว้ ยกนั คือ การใช้ Mouse คลิก และการระบุ
ตวั เลขตามระบบ Coordinate ซ่ึงแตล่ ะวธิ ีมีรายละเอียดดงั ต่อไปน้ี

1.1 การใช้ Mouse คลิกลงในตาแหน่งที่ตอ้ งการ วธิ ีน้ีเหมาะสาหรับการกาหนดตาแหน่งท่ตี อ้ งใชร้ ่วมกบั
เครื่องมืออื่นๆ เช่น Osnap หรือ Snap

1.2 กาหนดตาแหน่งตามระบบพกิ ดั (Coordinate System) การกาหนดตาแหน่งของเสน้ ตรงโดยอาศยั
ระบบ Coordinate ซ่ึงในการเขยี นแบบดว้ ยคอมพวิ เตอร์ มีอยู่ 3 แบบ คอื

1.1.1 Absolute Coordinate เป็นระบบการกาหนดตาแหน่งท่อี า้ งอิงจดุ กาเนิดทุกคร้ังของการกาหนด
ตาแหน่งต่างๆลงไปในแบบโดยการป้อนพกิ ดั X และ Y

1.1.2 Relative Coordinate เป็ นระบบการบอกตาแหน่งท่ีอาศยั ความสัมพนั ธจ์ ากตาแหน่งสุดทา้ ย
ของการกาหนดมาเป็นจดุ กาเนิดในการกาหนดตาแหน่งต่อไป

1.1.3 Polar Coordinate เป็นระบบพกิ ดั เชิงข้วั ทอี่ าศยั การบอกระยะทางและมุมมาช่วยในการกาหนด
ตาแหน่งของการเขียนแบบ โดยถือวา่ จดุ ที่อยปู่ ัจจุบนั คือจดุ ศนู ยก์ ลางของวงกลม

37

2. ประเภทของเส้นตรงและวธิ ีเขยี น
เส้นตรงที่ใช้ในการเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์มีหลายรูปแบบให้เลือกใช้งานตามลกั ษณะของเส้นท่ี

ปรากฏในแบบน้นั ซ่ึงมีรายละเอียดและวธิ ีการเขียนดงั ต่อไปน้ี
2.1 คาสงั่ Line เป็นคาสง่ั ทีใ่ ชส้ าหรับเขียนเสน้ ทม่ี ีจุดเร่ิมตน้ (Start) จดุ สิ้นสุด (End) และทราบความยาว

ของเสน้ ตรง หลกั การเขยี นเสน้ ตรงประเภทน้ีจะตอ้ งกาหนดตาแหน่งเร่ิมตน้ และตาแหน่งสิ้นสุด โดยมีรายละเอียดและ
วธิ ีการใชค้ าสง่ั ดงั น้ี

2.2 คาสง่ั Construction Line เป็ นคาสง่ั ท่ใี ชส้ าหรับเขยี นเสน้ ตรงท่ีไม่มีจุดเริ่มตน้ และจุดส้ินสุด ดงั น้ัน
เสน้ ท่ีไดจ้ ากการเขียนดว้ ยคาสง่ั น้ีมีลกั ษณะความยาวของเสน้ ไม่มีขีดจากดั ซ่ึงเรียกว่าเส้นร่าง และคาสัง่ น้ีสามารถเขียน
เสน้ ไดห้ ลายรูปแบบ เช่น เส้นในแนวนอน เสน้ ในแนวด่ิง เสน้ เอียงทามุม เส้นแบ่งมุมออกเป็ นสองส่วน เขียนเส้นให้
ขนานกบั เสน้ ที่เลือก หลกั การเขยี นเสน้ ตรงประเภทน้ี คือ เลือกรูปแบบของเสน้ และตอ้ งกาหนดตาแหน่งท่ีเส้นลากผา่ น
โดยมีรายละเอียดและวธิ ีการเขียนดงั น้ี

2.2.1 Hor ใชส้ าหรบั การเขยี นเสน้ ร่างในแนวนอน
2.2.2 Ver ใชส้ าหรับการเขียนเสน้ ร่างในแนวด่ิง
2.2.3 Ang ใชส้ าหรับการเขยี นเสน้ ร่างเอียงเป็ นมุมตามท่ีกาหนด
2.2.4 Bisect ใชส้ าหรับการเขยี นเสน้ ร่างเพอื่ แบง่ มุมออกเป็ น 2 ส่วน เท่าๆ กนั
2.2.5 Offset ใชส้ าหรบั การเขยี นเสน้ ร่างใหข้ นานกบั เสน้ เดิม
2.3 การเขียนเสน้ ร่างขา้ งเดียว เสน้ ตรงประเภทน้ีมีจุดเริ่มตน้ แต่ไม่มีจดุ ส้ินสุด หากจะ
เขียนเสน้ ตรงประเภทน้ีตอ้ งเขยี นดว้ ยคาสง่ั Ray ซ่ึงจะตอ้ งกาหนดตาแหน่งเริ่มตน้ และจดุ ที่เสน้ ร่างผา่ น

38

กิจกรรมการเรียนการสอน

กิจกรรมครู กิจกรรมนกั เรียน

ข้นั เตรียม ข้นั เตรียม

1. ครูขานชื่อนักเรียนพร้อมตรวจความเรียบร้อยและ 1. รบั การเชค็ ช่ือ

อบรมในคุณธรรมอนั พงึ ประสงค์ 2. ตอบคาถามปากเปล่าเป็ นรายบุคคลเกี่ยวกบั เรื่อง

2. ครูต้งั คาถามปากเปล่าใหน้ กั ศึกษาตอบเป็นรายบคุ คล ของเสน้ ทีป่ รากฏในแบบ

เก่ียวกับเร่ืองของเส้นท่ีปรากฏในแบบงานว่ามี 3. ฟังพร้อมจดบนั ทกึ จุดประสงคก์ ารเรียนการสอน

ลกั ษณะใดบา้ ง

3. แจง้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนการสอนท้งั จดุ ประสงคด์ า้ น

ความรู้ ด้านทักษะกระบวนการ ด้านคุณธรรม

จริยธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชีพใหน้ กั เรียนทราบ

ข้นั สาธิต ข้นั สาธิต

1. ครูแนะนาการเปิ ดเอกสารประกอบการสอน 1. เปิ ดเอกสารประกอบการสอน

ครูใชโ้ ปรแกรม AutoCAD 2010 ซ่ึงแสดงผา่ นเครื่องฉาย 2. สงั เกตและจดบนั ทึกเก่ียวกบั การกาหนดตาแหน่ง

โปรเจคเตอร์และแผน่ ภาพอธิบายประกอบการสาธิตและ ตา่ งลงในแบบ

ถามตอบเกี่ยวกบั 3. สงั เกตและจดบนั ทึกเกี่ยวกบั การเขยี นเสน้ ตรงดว้ ย

2. การกาหนดตาแหน่งต่างลงในแบบ คาสงั่ Line

3. การเขียนเสน้ ตรงดว้ ยคาสง่ั Line 4. สงั เกตและจดบนั ทกึ เกี่ยวกบั การเขยี นเสน้ ตรงดว้ ย

4. การเขียนเสน้ ตรงดว้ ยคาสงั่ Construction line คาสง่ั Construction line

5. การเขียนเสน้ ตรงดว้ ยคาสงั่ Ray 5. สงั เกตและจดบนั ทกึ เกี่ยวกบั การเขียนเสน้ เส้นตรง

ดว้ ยคาสงั่ Ray

ข้นั ปฏิบตั ิ ข้นั ปฏิบตั ิ

1. เดินสังเกตฝึ กปฏิบัติของนักเรียนพร้อมท้ังตอบ ปฏบิ ตั งิ านตามใบงานที่ 1,2,3 ซ่ึงจะตอ้ งปฏบิ ตั ิ

คาถามและอธิบายในส่วนของนกั เรียนทที่ าไม่ได้ 1. การเขยี นเสน้ ตรงดว้ ยคาสง่ั Line

2. การเขียนเสน้ ตรงดว้ ยคาสงั่ Construction line

3. การเขียนเสน้ ตรงดว้ ยคาสงั่ Ray

ข้นั วัดและประเมินผล ข้นั วดั และประเมินผล

1. ตรวจผลงานตามใบตรวจงานท่ี 5.1 ,5.2 และ 5.3 1. ส่งงาน

2. ตรวจแบบทดสอบ 5 2. ส่งแบบทดสอบ

39

งานที่มอบหมายหรือกจิ กรรมการเรียนรู้
ก่อนเรียน
ไม่มี
ขณะเรียน
นกั เรียนฝึกปฏิบตั ิงานตามใบงานท่ี 5.1, 5.2, 5.3
หลงั เรียน
นกั เรียนทาแบบทดสอบที่ 5

สื่อการเรียนการสอน
ส่ือโสตทัศน์
1. เครื่องรบั โทรทศั น์
2. เครื่องฉายโปรเจคเตอร์
ส่ือส่ิงพิมพ์
เอกสารประกอบการสอน
สื่อของจริง
1. เครื่องคอมพวิ เตอร์
2. โปรแกรม AutoCAD 2010

หลกั ฐานการเรียนรู้
หลักฐานความรู้
ผลการทาแบบฝึกหดั ท่ี 5
หลักฐานการปฏิบัติงาน
ผลการปฏบิ ตั งิ านตามใบงานท่ี 5.1, 5.2, 5.3

40

การวัดและประเมินผล
1. ก่อนทเี่ รียน
ไม่มี
2. ขณะเรียน
สมรรถนะ 1. ปฏบิ ตั ิการกาหนดตาแหน่งของเสน้ ตามที่กาหนด
2. ปฏิบตั ิเขยี นเสน้ ตรงทท่ี ราบจุดเร่ิมตน้ และจดุ ส้ินสุดตามทก่ี าหนด
วิธีวัด ดูผลการปฏิบตั งิ านตามใบงานที่ 5.1
เคร่ืองมือวัด ใบตรวจผลการปฏบิ ตั งิ านตามใบงานท่ี 5.1
สมรรถนะ ปฏิบตั กิ ารเขยี นเสน้ ตรงที่ทราบจุดเร่ิมตน้ และจุดผา่ นตามทีก่ าหนด
วิธีวดั ดูผลการปฏบิ ตั ิงานตามใบงานท่ี 5.2
เคร่ืองมือวัด ใบตรวจผลการปฏิบตั งิ านตามใบงานท่ี 5.2
สมรรถนะ ปฏิบตั ิการเขยี นเสน้ ตรงท่ที ราบจุดผา่ นตามท่ีกาหนด
วิธีวัด ดูผลการปฏบิ ตั งิ านตามใบงานที่ 5.3
เคร่ืองมือวัด ใบตรวจผลการปฏิบตั งิ านตามใบงานท่ี 5.3
3. หลังเรียน
สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์
1. ปฏบิ ตั ิกาหนดตาแหน่งตา่ งๆของเสน้ ตามที่กาหนด
2. ปฏบิ ตั ิเขียนเสน้ ตรงทีท่ ราบจุดเริ่มตน้ และจดุ สิ้นสุดตามทีก่ าหนด
3. ปฏบิ ตั เิ ขยี นเสน้ ร่างตามทกี่ าหนด
4. ปฏิบตั เิ ขยี นเสน้ ร่างขา้ งเดียวตามที่กาหนด
วิธีวดั ทดสอบ
เครื่องมือวดั แบบทดสอบเร่ืองการเขยี นเสน้ ตรง
เกณฑ์การให้คะแนน

การบูรณาการ
1. การบูรณาการสอดแทรกความรูเ้ กี่ยวกบั ระบบการเคล่ือนทีข่ องแกนตามกฎมือขวา (Right-Hand-Rule)
2. การบูรณาการสอดแทรกความรู้เก่ียวกบั การนบั คา่ มุม

41

การบูรณาการกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
1. ความพอประมาณ
ผเู้ รียนปฏบิ ตั กิ ารเลือกใชค้ าสง่ั ใหส้ อดคลอ้ งกบั แบบงาน
2. ความมีเหตผุ ล
ผเู้ รียนปฏบิ ตั ิการเขยี นเสน้ ตรง
3. การมีภูมิคุม้ กนั ในตวั ทีด่ ี
ผเู้ รียนปฏิบตั กิ ารใชค้ อมพวิ เตอร์โดยคานึงถึงความปลอดภยั
4. เงือ่ นไขความรู้
ผเู้ รียนปฏิบตั กิ ารใชค้ าสงั่ Line
ผเู้ รียนปฏบิ ตั ิการใชค้ าสงั่ Construction line
ผเู้ รียนปฏบิ ตั กิ ารใชค้ าสง่ั Ray
5. เง่อื นไขคุณธรรม
ผเู้ รียนปฏิบตั กิ ารเขียนเสน้ ตรงดว้ ยความซื่อสตั ยส์ ุจริต

42

บนั ทกึ หลังสอน หน่วยที่ 5

ชื่อวชิ า... การเขียนแบบดว้ ยคอมพวิ เตอร์ สอนคร้ังที่ 5

ชื่อหน่วย..การเขียนแบบ 2 มิติ คาบรวม 12

ช่ือเรื่อง...การเขียนเสน้ ประเภทเสน้ ตรง จานวนคาบ 4

1. ดา้ นการเรียนรู้……………………………………………………………………………..……………

……………………………………………………………………………………………………………..…………

……………………………………………………………………………………………………………………..…

……………………………………………………………………………………………………………..…………

2. ดา้ นทกั ษะ………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………..…………………

………………………………………………………………………………………………………………….……

………………………………………………………………………………………………………………….……

3. ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม…………………………………………………………………………..……

…………………………………………………………………………………………………………………….…

…………………………………………………………………………………………………….…………………

…………………………………………………………………………………………………………..…..………

………………………………………………………………………………………………………………………

4. ปัญหาทีค่ วรแกไ้ ข………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………

5. วธิ ีการแกไ้ ข……………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………….…………

…………………………………………………………………………………………………………………….…

……………………………………………………………………………………………………………..…………

แผนการจดั การเรียนรู้ 43
ช่ือวชิ า... เขียนแบบดว้ ยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
ชื่อหน่วย..การเขียนแบบ 2 มิติ หน่วยที่ 5
ชื่อเร่ือง...การเขียนเสน้ ทีม่ ีลกั ษณะโคง้ สอนคร้ังที่ 6

คาบรวม 12
จานวนคาบ 4

หัวข้อเร่ือง
1. การเขยี นวงกลม
2. การเขียนส่วนโคง้
3. การเขียนวงรี

สาระสาคญั
การเขยี นเสน้ โคง้ หมายถึง การใชค้ าสงั่ ในการเขียนวงกลม ส่วนโคง้ และวงรี โดยเริ่มจากหาขอ้ มูลของรูปที่จะ
เขียน จากน้ันเลือกคาส่ังหลักและคาส่งั ยอ่ ยให้ตรงกับขอ้ มูลท่ีหาไดแ้ ลว้ ป้อนขอ้ มูลตามลาดบั ของคาสั่ง หรือตามท่ี
โปรแกรมสง่ั ทีบ่ รรทดั ป้อนคาสง่ั
สมรรถนะทพี่ ึงประสงค์

1. ปฏบิ ตั ิเขยี นวงกลมดว้ ยคาสง่ั Circle ตามท่กี าหนด
2. ปฏิบตั เิ ขียนส่วนโคง้ ดว้ ยคาสง่ั Arc ตามทก่ี าหนด
3. ปฏบิ ตั ิเขยี นวงรีดว้ ยคาสง่ั Ellipse ตามที่กาหนด
4. นอ้ มนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. ด้านความรู้
1.1 อธิบายการหาตาแหน่งต่างๆของเสน้ โคง้ ได้
1.2 อธิบายการใชค้ าสงั่ Circle ได้
1.3 อธิบายการใชค้ าสงั่ Arc ได้
1.4 อธิบายการใชค้ าสงั่ Ellipse ได้

2. ด้านทกั ษะและกระบวนการ

2.1 สามารถเขียนวงกลมดว้ ยคาสงั่ Circle ได้
2.2 สามารถเขยี นส่วนโคง้ ดว้ ยคาสงั่ Arcได้
2.3 สามารถเขยี นวงรีดว้ ยคาส่ัง Ellipse ได้
2.4 สามารถใชค้ อมพวิ เตอร์ในการเขยี นแบบไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง

44

3. ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมอันพงึ ประสงค์
3.1 สามารถเป็นคนตรงต่อเวลา
3.2 สามารถรักษาระเบียบวนิ ยั
3.3 มีความซ่ือสตั ยแ์ ละรบั ผดิ ชอบ
3.4 สามารถอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ่ืนไดอ้ ยา่ งมีความสุข

สาระการเรียนรู้

1. ตาแหน่งต่างๆ ของเส้นโค้ง
เส้นโคง้ ทุกชนิดจะตอ้ งมีองคป์ ระกอบท่ีสาคญั อันเป็ นปัจจัยหลกั ในการเขียนส่วนโคง้ เหล่าน้ัน โดย

องคป์ ระกอบสาคญั ของส่วนโคง้ แต่ละประเภทคอื
1.1 วงกลมมีองคป์ ระกอบทีส่ าคญั คือ
1.1.1 Center หมายถึง จุดศูนยก์ ลางของวงกลม
1.1.2 Diameter หมายถึง ความโตของวงกลม
1.1.3 Radius หมายถึง รัศมีของวงกลม
1.2 ส่วนโคง้ มีองคป์ ระกอบท่สี าคญั คอื
1.2.1 Center หมายถึง จุดศูนยก์ ลางของส่วนโคง้
1.2.2 Radius หมายถึง รัศมีของส่วนโคง้
1.2.3 Start หมายถึง จุดเร่ิมตน้ ของส่วนโคง้
1.2.4 End หมายถึง จุดปลายของส่วนโคง้
1.2.5 Angle หมายถึง มุมภายในของส่วนโคง้
1.2.6 Length หมายถึง ความยาวคอร์ดของส่วนโคง้
1.3 วงรีมีองคป์ ระกอบทส่ี าคญั คอื
1.3.1 Center หมายถึง จุดศูนยก์ ลางของวงรี
1.3.2 Axis หมายถึง แกนของวงรี
1.3.3 End หมายถึง จดุ ปลายแกน

45

2. การเขียนวงกลม
การเขียนวงกลมสามารถเขียนไดด้ ว้ ยค่าส่ังหลัก Circle ซ่ึงผเู้ ขียนจะตอ้ งวเิ คราะห์วา่ วงกลมท่ีจะเขียนมี

ขอ้ มูลอะไรบา้ ง เมื่อไดข้ อ้ มูลของวงกลมทจี่ ะเขยี นแลว้ จึงไปหาคาสง่ั ยอ่ ย ซ่ึงมีใหเ้ ลือกใชด้ งั น้ี
2.1 คาสง่ั Center, Radiusใชส้ าหรบั การเขยี นวงกลมทท่ี ราบจดุ ศูนยก์ ลางและรศั มีของวงกลม
2.2 คาสงั่ Center, Diameter ใชส้ าหรับการเขยี นวงกลมทที่ ราบจุดศูนยก์ ลางและความโตของวงกลม
2.3 คาสัง่ 2 Point ใชส้ าหรับการเขียนวงกลมให้ผ่านจุดท่ีกาหนด 2 จุด จุดท่ีผ่านท้งั 2 จุด คือ ปลายของ

เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางของวงกลมน้นั
2.4 คาสงั่ 3 Point ใชส้ าหรบั การเขยี นวงกลมใหผ้ า่ นจดุ ที่กาหนด 3 จดุ
2.5 คาสง่ั Tan, Tan, Radius ใชส้ าหรับการเขียนวงกลมให้สมั ผสั จุดที่กาหนด 2 จุด และกาหนดรัศมีของ

วงกลม
2.6 คาสง่ั Tan, Tan, Tan ใชส้ าหรบั การเขียนวงกลมใหส้ มั ผสั จุดที่กาหนด 3 จุด

3. การเขยี นส่วนโค้ง
ส่วนโคง้ สามารถเขียนไดด้ ว้ ยคา่ สงั่ หลกั Arc ซ่ึงผเู้ ขียนจะตอ้ งวิเคราะห์ขอ้ มลู ของส่วนโคง้ เหลา่ น้นั จากน้นั เอา

ขอ้ มูลของส่วนโคง้ ไปเรียกใชค้ าสงั่ ยอ่ ย ซ่ึงมีใหเ้ ลือกใชด้ งั น้ี
3.1 คาสง่ั 3 Point ใชส้ าหรับเขียนส่วนโคง้ ใหผ้ า่ นจุดที่กาหนด 3 จุด
3.2 คาสงั่ Start, Center, End ใชส้ าหรับเขียนส่วนโคง้ ท่ีทราบจุดเริ่มตน้ จุดศนู ยก์ ลางและจุดส้ินสุด
3.3 คาสง่ั Start, Center, Angle ใชส้ าหรับเขียนส่วนโคง้ ที่ทราบจุดเริ่มตน้ จุดศูนยก์ ลาง และมุมภายในของ

ส่วนโคง้
3.4 คาส่ัง Start, center, Length ใชส้ าหรับเขียนส่วนโคง้ ที่ทราบจุดเริ่มตน้ จุดศูนยก์ ลาง และความยาวของ

คอร์ด
3.5 คาสงั่ Start, End, Angle ใชส้ าหรับเขียนส่วนโคง้ ท่ีทราบจุดเร่ิมตน้ จุดส้ินสุด และมมุ ภายในของส่วนโคง้
3.6 คาสง่ั Start, End, Direction ใชส้ าหรับเขียนส่วนโคง้ ที่ทราบจุดเร่ิมตน้ จุดส้ินสุด และทิศทางของส่วนโคง้
3.7 คาสงั่ Start, End, Radius ใชส้ าหรับเขียนส่วนโคง้ ที่ทราบจุดเริ่มตน้ จุดส้ินสุด และรัศมีของส่วนโคง้
3.8 คาสง่ั Center, Start, End ใชส้ าหรับเขียนส่วนโคง้ ที่ทราบจุดศูนยก์ ลาง จุดเริ่มตน้ และจุดส้ินสุดส่วนโคง้
3.9 คาสั่ง Center, Start, Angle ใชส้ าหรับเขียนส่วนโคง้ ท่ีทราบจุดศูนยก์ ลาง จุดเริ่มตน้ และมุมภายในของ

ส่วนโคง้
3.10 คาสง่ั Center, Start, Lengthใชส้ าหรับเขียนส่วนโคง้ ที่ทราบจุดศูนยก์ ลาง จุดเร่ิมตน้ และจุดสิ้นสุด ส่วน

โคง้

46

4. การเขยี นวงรีและส่วนโค้งท่ีมีลกั ษณะเป็ นวงรี
ลกั ษณะของวงรีตามหลกั คณิตศาสตร์แลว้ ประกอบดว้ ยแกน 2 แกน คือ แกนท่ียาวที่สุดเรียกว่า แกนเอก

(Major Axis) และแกนที่ส้ันท่ีสุดเรียกว่า แกนโท (Minor Axis) สามารถเขียนได้ดว้ ยค่าสงั่ หลกั Ellipse คาส่ังน้ี
ประกอบดว้ ยคาสง่ั ยอ่ ยดงั น้ี

4.1 คาสั่ง Ellipse Center ใชส้ าหรับการเขียนวงรีที่ทราบจุดศูนยก์ ลาง ทราบจุดส้ินสุดของรัศมีแกนเอก
และทราบจดุ ส้ินสุดของรัศมีแกนโท

4.2 คาสงั่ Ellipse Axis End ใชส้ าหรับการเขียนวงรีท่ีทราบตาแหน่งปลายของแกนใดแกนหน่ึงท้งั 2 ขา้ ง
และทราบตาแหน่งปลายของอีกแกน

4.3 คาสงั่ Ellipse Arc ใชส้ าหรับการเขียนส่วนโคง้ ทีเ่ ป็ นวงรี หลกั การเขียน คือ เขียนวงรีท้งั วงก่อนแลว้ จึง
บอกจดุ เร่ิมตน้ และจดุ สิ้นสุดของส่วนโคง้ วงรี

47

กิจกรรมการเรียนการสอน

กิจกรรมครู กิจกรรมนกั เรียน

ข้นั เตรียม ข้นั เตรียม

1. ครูขานช่ือนกั เรียนพร้อมตรวจความเรียบรอ้ ยและอบรม 1. รับการเชค็ ชื่อ

ในคุณธรรมอนั พงึ ประสงค์

2. ครูต้งั คาถามปากเปล่าให้นักศึกษาตอบเป็ นรายบุคคล 2. ตอบคาถามปากเปล่าเป็ นรายบุคคลเกี่ยวกบั เร่ือง

เกี่ยวกับเร่ืองของเส้นท่ีปรากฏในแบบงานวา่ นอกจาก ของเสน้ ทปี่ รากฏในแบบ

เสน้ ตรงแลว้ มีลกั ษณะใดอีกบา้ ง

3. แจง้ จุดประสงคก์ ารเรียนการสอนท้งั จุดประสงคด์ ้าน 3. ฟังพร้อมจดบนั ทกึ จุดประสงคก์ ารเรียนการสอน

ความรู้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ดา้ นคุณธรรมจริยธรรม

และจรรยาบรรณวชิ าชีพใหน้ กั เรียนทราบ

ข้นั สาธิต ข้นั สาธิต

1. ครูแนะนาการเปิ ดเอกสารประกอบการสอน 1. เปิ ดเอกสารประกอบการสอน

2. ครูใชโ้ ปรแกรม AutoCAD 2010 ซ่ึงแสดงผ่านเคร่ือง 2. สังเกตและจดบันทึกเกี่ ยวกับการกาหนด

ฉายโปรเจคเตอร์และแผ่นภาพอธิบายประกอบการ ตาแหน่งต่างลงในแบบ

สาธิตและถามตอบดงั น้ี 3. สังเกตและจดบนั ทึกเกี่ยวกบั การเขียนเส้นตรง

2.1 การกาหนดตาแหน่งต่างลงในแบบ ดว้ ยคาสงั่ Circle

2.2 การเขยี นเสน้ ตรงดว้ ยคาสง่ั Circle 4. สังเกตและจดบนั ทึกเกี่ยวกับการเขียนเส้นตรง

2.3 การเขยี นเสน้ ตรงดว้ ยคาสงั่ Arc ดว้ ยคาสง่ั Arc

2.4 การเขียนเสน้ ตรงดว้ ยคาสง่ั Ellipse 5. สังเกตและจดบันทึกเก่ียวกับการเขียนเส้น

เสน้ ตรงดว้ ยคาสง่ั Ellipse

ข้นั ปฏบิ ัติ ข้นั ปฏบิ ตั ิ

1. เดินสังเกตฝึกปฏิบตั ิของนกั เรียนพร้อมท้งั ตอบคาถาม ปฏบิ ตั งิ านตามใบงานท่ี 7 ซ่ึงจะตอ้ งปฏบิ ตั ิ

และอธิบายในส่วนของนกั เรียนทีท่ าไม่ได้ 1. การเปิ ดแบบงานเดิมดว้ ยคาสง่ั Open

2. การเลือกรูปแบบของช้นั ภาพมาใชง้ าน

3. การเขยี นเสน้ ตรงดว้ ยคาสงั่ line

4. การเขียนวงกลมดว้ ยคาสงั่ Circle

5. การเขียนส่วนโคง้ ดว้ ยคาสง่ั Arc

6. การเขยี นวงรีดว้ ยคาสง่ั Ellipse

48

กิจกรรมครู กิจกรรมนกั เรียน

ข้นั วัดและประเมนิ ผล ข้นั วดั และประเมนิ ผล
1. ตรวจผลงานตามใบตรวจงานที่ 6.1,6.2 1. ส่งงาน
2. ตรวจแบบทดสอบ 2. ส่งแบบทดสอบ

งานท่มี อบหมายหรือกจิ กรรมการเรียนรู้
ก่อนเรียน
ไม่มี
ขณะเรียน
นกั เรียนฝึกปฏิบตั งิ านตามใบงานที่ 6.1, 6.2
หลงั เรียน
นกั เรียนทาแบบทดสอบท่ี 6

ส่ือการเรียนการสอน
ส่ือโสตทัศน์
1. เครื่องรับโทรทศั น์
2. เคร่ืองฉายโปรเจค็ เตอร์
สื่อส่ิงพิมพ์
เอกสารประกอบการสอน
สื่อของจริง
1. เครื่องคอมพวิ เตอร์
2. โปรแกรม AutoCAD 2010

หลักฐานการเรียนรู้
หลักฐานความรู้
ผลการทาแบบฝึกหดั ท่ี 6
หลกั ฐานการปฏบิ ัติงาน
ผลการปฏบิ ตั ิงานตามใบงานที่ 6.1 ,6.2

49

การวดั และประเมินผล ปฏิบตั ิเขยี นวงกลมดว้ ยคาสง่ั Circle ตามท่ีกาหนด
1. ก่อนท่ีเรียน ดูผลการปฏิบตั งิ านตามใบงานท่ี 6.1
ไม่มี ใบตรวจผลการปฏบิ ตั ิงานตามใบงานที่ 6.1
2. ขณะเรียน
สมรรถนะ แบบตรวจงาน ใบงานท่ี 6.1
วธิ ีวัด
เคร่ืองมือวัด

50

เกณฑ์การให้คะแนน

ระดบั ความถูกตอ้ ง

ลาดับ ี่ท คะแนน 10 เ ้สน
9 เ ้สน
รายการ 8 เ ้สน
7 เ ้สน
6 เ ้สน
5 เ ้สน
4 เ ้สน
3 เ ้สน
2 เ ้สน
1 เ ้สน
เ ื่มอไ ่มป ิฏบัติ
ระดับความสาคัญ

1. ใช้ Layer ไดถ้ ูกตอ้ ง 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0 2
2. ความหนาของเส้นถูกตอ้ งตามมาตรฐาน ค่าความผดิ พลาดหน่วยเป็น มม. หรือ องศา 2
3. ชนิดของเสน้ ถกู ตอ้ งตามมาตรฐาน 2

คะแนน ±0
± 0.5
รายการ ±1
± 1.5
±2
± 2.5
±3
± 3.5
±4
± 4.5
±5

10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0

4. วงกลมหมาเลข 1

มีขนาดความโต 37.5 มม. 1

จดุ ศนู ยก์ ลางอย่ทู ี่ปลายของเส้นศนู ย์ 1

5. วงกลมหมาเลข 2

มีขนาดความโต 75 มม. 1

จุดศูนยก์ ลางอยูท่ ่ีปลายของเสน้ ศนู ย์ 1

6. วงกลมหมาเลข 3

มีขนาดรัศมี 100 มม. 1

จดุ ศนู ยก์ ลางอยู่ที่ปลายของเสน้ ศนู ย์ 1

7. วงกลมหมาเลข 4

มีขนาดรัศมี 112.5 มม. 1

จุดศูนยก์ ลางอยทู่ ี่ปลายของเสน้ ศนู ย์ 1

8. วงกลมหมาเลข 5

มีขนาดรัศมี 8.0 มม. 1

จุดศนู ยก์ ลางอยู่ที่เส้นศูนยท์ ี่เอียงทามุมตดั กับวงกลม 1

หมายเลข 2 เหนือจดุ ศูนยก์ ลาง

9. วงกลมหมาเลข 6

มีความโตขนาด 75 มม. 1

จุดศูนยก์ ลางอยู่ที่เส้นศูนย์ในแนวนอนตดั กับวงกลม 1

หมายเลข 4

51

เกณฑ์การตัดสินการผ่านสมรรถนะ
ตอ้ งไดค้ ะแนนร้อยละ 60 ข้นึ ไปถือวา่ ผา่ น

สมรรถนะ 1. ปฏบิ ตั ิเขียนส่วนโคง้ ดว้ ยคาสัง่ Arc ตามท่กี าหนด
2. ปฏบิ ตั เิ ขียนวงรีดว้ ยคาสงั่ Ellipse ตามที่กาหนด
วิธีวดั ดูผลการปฏบิ ตั งิ านตามใบงานท่ี 6.2
เครื่องมือวัด ใบตรวจผลการปฏบิ ตั งิ านตามใบงานท่ี 6.2

แบบตรวจงาน ใบงานที่ 6.2

52

เกณฑ์การให้คะแนน

ระดบั ความถูกตอ้ ง

ลาดับ ่ีท คะแนน 28-30 เ ้สน
25-27 เ ้สน
รายการ 22-24 เ ้สน
19-21 เ ้สน
16-18 เ ้สน
13-15 เ ้สน
10-12 เ ้สน
7-9 เ ้สน
4-6 เ ้สน
1-3 เ ้สน
ไ ่มป ิฏบัติ
ระดับความสาคัญ
10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0
1. ใช้ Layer ไดถ้ กู ตอ้ ง คา่ ความผดิ พลาดหน่วยเป็น มม. หรือ องศา 2
2. ความหนาของเสน้ ถูกตอ้ งตามมาตรฐาน 2
3. ชนิดของเส้นถูกตอ้ งตามมาตรฐาน 2
4. เสน้ ตรงทเ่ี ป็นโครงของรูป 2

คะแนน ±0
± 0.5
รายการ ±1
± 1.5
±2
± 2.5
±3
± 3.5
±4
± 4.5
±5

5. ส่วนโคง้ ทห่ี มายเลข 13 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0
จุดเร่ิมตน้ ต่อกบั ปลายหมายเลข 12
จดุ ส้ินสุด ต่อกบั ปลายหมายเลข 12 0.5
รัศมขี นาด 10 มม. 0.5
ทศิ ทางย่นื ไปทางซา้ ยมือ 0.5
0.5
6. ส่วนโคง้ ทห่ี มายเลข 14
จดุ เร่ิมตน้ ตอ่ กบั ปลายหมายเลข 3 0.5
จุดส้ินสุด ตอ่ กบั ปลายหมายเลข 4 0.5
รัศมีขนาด 20 มม. 0.5
ทิศทางยื่นไปทางขวามือ 0.5

7. ส่วนโคง้ ทีห่ มายเลข 15 0.5
จดุ เริ่มตน้ ตอ่ กบั ปลายหมายเลข 6 0.5
จุดส้ินสุด ตอ่ กบั ปลายหมายเลข 5 0.5
รัศมขี นาด 10 มม. 0.5
ทิศทางไปยน่ื ทางดา้ นลา่ ง
0.5
8. ส่วนโคง้ ท่หี มายเลข 16 0.5
จดุ เริ่มตน้ ต่อกบั ปลายหมายเลข 8 0.5
จดุ สิ้นสุด ต่อกบั ปลายหมายเลข 7 0.5
รัศมขี นาด 10 มม.
ทศิ ทางไปยน่ื ทางดา้ นลา่ ง 0.5
0.5
9. ส่วนโคง้ ที่หมายเลข 17 0.5
จดุ เร่ิมตน้ ตอ่ กบั ปลายหมายเลข 9 0.5
จดุ สิ้นสุด ตอ่ กบั ปลายหมายเลข 10
รัศมขี นาด 20 มม.
ทศิ ทางยื่นไปทางซา้ ยมือ

10. ส่วนโคง้ ทห่ี มายเลข 18 53
จุดเริ่มตน้ ตอ่ กบั ปลายหมายเลข 11
จุดส้ินสุด ตอ่ กบั ปลายหมายเลข 11 0.5
รัศมีขนาด 10 มม. 0.5
ทิศทางยืน่ ไปทางขวามอื 0.5
0.5
11. ส่วนโคง้ ท่ีเป็นวงรีหมายเลข 19
จดุ เริ่มตน้ ตอ่ กบั ปลายขา้ งขวาหมายเลข1 0.5
จดุ ส้ินสุดตอ่ กบั ปลายขา้ งซา้ ยหมายเลข2 0.5
ระยะห่างจากจดุ ศูนยก์ ลางถงึ ปลายแกนในแนวดิ่ง 20
มม. 0.5
ทศิ ทางยนื่ ไปทางดา้ นบน 0.5

12. วงรีหมายเลข 20 0.5
จุดศูนยก์ ลางอย่ทู ่ีเสน้ ศนู ยต์ ดั กนั 0.5
ปลายของแกนโทจากดา้ นบนถึงดา้ นลา่ ง 20 มม.
ปลายของแกนเอกจากดา้ นซา้ ยถึงดา้ นขวา 60 มม. 0.5

เกณฑ์การตดั สินการผ่านสมรรถนะ
ตอ้ งไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 50 ข้ึนไป ถือวา่ ผา่ น

สมรรถนะ นอ้ มนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใชใ้ นการปฏิบตั งิ าน
วิธีวัด สงั เกตจากการปฏิบตั งิ าน
เครื่องมือวัด ใบประเมินผลคุณธรรมจริยธรรม
เกณฑ์การให้คะแนน

รายการที่ 1 ตรงต่อเวลา
รายการท่ี 2 มีระเบยี บวนิ ยั
รายการท่ี 3 มีความซื่อสตั ยส์ ุจริต
รายการที่ 4 มีความรบั ผดิ ชอบ
รายการท่ี 5 มีความสนใจใฝ่รู้

54

ได้ 5 คะแนน เม่ือปฏิบตั ไิ ด้ 5 รายการ
ได้ 4 คะแนน เม่ือปฏิบตั ิได้ 4 รายการ
ได้ 3 คะแนน เมื่อปฏิบตั ิได้ 3 รายการ
ได้ 2 คะแนน เม่ือปฏบิ ตั ิได้ 2 รายการ
ได้ 1 คะแนน เม่ือปฏิบตั ไิ ด้ 1 รายการ
ได้ 0 คะแนน เมื่อไม่ไดป้ ฏบิ ตั กิ าร
เกณฑ์การตดั สินการผ่านสมรรถนะ

ตอ้ งไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 60 ข้นึ ไปถือวา่ ผา่ นการแระเมิน

3. หลังเรียน

สมรรถนะทพ่ี ึงประสงค์
1. ปฏบิ ตั เิ ขยี นวงกลมดว้ ยคาสงั่ Circle ตามทกี่ าหนด
2. ปฏบิ ตั เิ ขียนส่วนโคง้ ดว้ ยคาสง่ั Arc ตามท่ีกาหนด
3. ปฏบิ ตั ิเขยี นวงรีดว้ ยคาสง่ั Ellipse ตามทีก่ าหนด
4. นอ้ มนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน

วธิ ีวัด ทดสอบ
เครื่องมือวดั แบบทดสอบเรื่องการเขียนเสน้ ตรง
เกณฑ์การให้คะแนน

ได้ 1 คะแนน ต่อการตอบถูก 1 ขอ้
เกณฑ์การตัดสินการผ่านสมรรถนะ

ตอ้ งไดค้ ะแนนร้อยละ 60 ข้นึ ไปถือวา่ ผา่ น

การบูรณาการด้านความรู้
1. การบรู ณาการสอดแทรกความรู้เกี่ยวกบั ระบบการเคล่ือนที่ของแกนตามกฎมือขวา (Right-Hand-Rule)
2. การบูรณาการสอดแทรกความรู้เก่ียวกบั การนบั คา่ มุม
3. การบูรณาการสอดแทรกคุณธรรม จาริยธรรม

55

การบูรณาการกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1. ความพอประมาณ
ผเู้ รียนปฏิบตั กิ ารเลือกใชค้ าสง่ั ใหส้ อดคลอ้ งกบั แบบงาน
2. ความมีเหตุผล
ผเู้ รียนปฏิบตั ิการเขียนเสน้ โคง้
3. การมีภมู ิคุม้ กนั ในตวั ท่ีดี
ผเู้ รียนปฏบิ ตั ิการใชค้ อมพวิ เตอร์โดยคานึงถึงความปลอดภยั
4. เงือ่ นไขความรู้
ผเู้ รียนปฏิบตั ิการใชค้ าสงั่ Circle
ผเู้ รียนปฏิบตั กิ ารใชค้ าสงั่ Arc
ผเู้ รียนปฏบิ ตั กิ ารใชค้ าสงั่ Ellipse
5. เงอ่ื นไขคุณธรรม
ผเู้ รียนปฏิบตั กิ ารเขยี นเสน้ โคง้ ดว้ ยความซ่ือสตั ยส์ ุจริต

ใบทดสอบ 56
ชื่อวชิ า... การเขยี นแบบดว้ ยคอมพวิ เตอร์
ชื่อหน่วย..การเขียนแบบ 2 มิติ หน่วยที่ 5
ชื่อเร่ือง...การเขียนเสน้ ท่ีมีลกั ษณะโคง้ สอนคร้งั ท่ี 6

ตอนท่ี 1 คาบรวม 12
คาส่ัง ใหน้ กั ศกึ ษาตอบคาถามตอ่ ไปน้ี จานวนคาบ 4

จากรูปตอบคาถามขอ้ 1 – 10

1. ขอ้ ใดไม่ใช่จดุ สิ้นสุดของส่วนโคง้ หมายเลข 2

ก. ตาแหน่ง A ข. ตาแหน่ง C

ค. พกิ ดั X 107.5 Y 125 ง. ถูกท้งั ขอ้ ก และ ค

2. ถา้ ยงั ไม่เขยี นส่วนโคง้ หมายเลข 5 บนและล่าง จุดเริ่มตน้ และจดุ ส้ินสุดของส่วนโคง้ หมายเลข 4 อยใู่ นตาแหน่งตาม

ขอ้ ใด

ก. พกิ ดั X 107.5 Y 85 , X 107.5 Y 115 ข. พกิ ดั X 107.5 Y 115, X 107.5 Y 85

ค. พกิ ดั X 100 Y 85 , X 100 Y 115 ง. ถูกท้งั ขอ้ ก และ ข

57

3. ตอ้ งมีขอ้ มูลอยา่ งนอ้ ยจานวนเทา่ ไร จงึ สามารถเขยี นส่วนโคง้ ได้

ก. 2 ขอ้ มูล ข. 3 ขอ้ มูล

ค. 4 ขอ้ มูล ง. 5 ขอ้ มลู

4. จากรูป ขอ้ ใดคอื ขอ้ มูลโดยตรงของวงกลมหมายเลข 3

ก. จุดศนู ยก์ ลาง ข. ความโต

ค. รัศมี ง. ถูกท้งั ขอ้ ก และ ข

5. ตอ่ ไปน้ีขอ้ ใดกล่าวไม่ถูกตอ้ งตามหลกั การเขยี นวงรี

ก. จุด E และ G เป็นปลายของแกนโท

ข. จดุ D และ F เป็นปลายของแกนเอก

ค. การเกิดเสน้ โคง้ เร่ิมจาก C ไปส้ินสุดที่ F

ง. พกิ ดั X100,Y100 เป็นจดุ ศูนยก์ ลางของวงรี

6. ตอ่ ไปน้ีขอ้ ใด คือ หลกั การเลือกใชค้ าสงั่ ในการเขยี น วงกลม ส่วนโคง้ และวงรี ทคี่ วรจะปฏบิ ตั ิมากทีส่ ุด

ก. หาขอ้ มูลของ วงกลม ส่วนโคง้ และวงรี ทจ่ี ะเขียน แลว้ จึงไปเลือกคาสง่ั ใหต้ รงกบั ขอ้ มูล

ง. หาขอ้ มูลของ วงกลม ส่วนโคง้ และวงรี ทีจ่ ะเขียน แลว้ จึงไปเลือกคาสงั่ ท่ีผเู้ ขยี นแบบใชอ้ ยบู่ อ่ ยๆ

ข. เลือกคาสงั่ แลว้ ป้อนหรือเลือกรายละเอียดตามทโี่ ปรแกรมตอ้ งการ

ค. เลือกคาสง่ั ท่นี ิยมใชก้ นั มากท่สี ุด แลว้ ป้อนหรือเลือกรายละเอียดตามทโี่ ปรแกรมตอ้ งการ

7. จากรูป ตอ้ งการเขยี นวงกลมหมายเลข 6 ควรใชค้ าสงั่ ใดมากท่ีสุด

ก. Center, Radius ข. Center, Diameter

ค. 2 Point ง. 3 Point

8. ในการเขียนวงกลม เมื่อขอ้ ความท่ี Command Line วา่ Circle Specify center point for circle or [3P/2P/Ttr (tan tan

radius)]: Specify radius of circle or [Diameter] : _d Specify diameter of circle: ผใู้ ชโ้ ปรแกรมจะตอ้ งปฏบิ ตั ติ าม

ขอ้ ใด

ก. ป้อนรัศมี

ข. ป้อนจดุ ศนู ยก์ ลาง

ค. ป้อนความความโต

ง. เลือกรูปแบบการเขียนวงกลม

9. หากตอ้ งการเขียนวงกลมใหเ้ สน้ รอบวงของวงกลมผา่ นปลายของเสน้ ผา่ ศูนยก์ ลางดา้ นซา้ ยและดา้ นขวา ควรใช้

คาสง่ั ในขอ้ ใดมากท่ีสุด

ก. Center, Radius ข. Center, Diameter

ค. 2 Point ง. 3 Point

58

10. ในการเขียนวงกลมที่มีความโต 50 มม. ใหส้ มั ผสั กบั เสน้ ตรงสองเสน้ ทที่ ามุมกนั จงเรียงลาดบั จากหวั ขอ้ ต่อไปน้ี

1. เลือกเสน้ ท่ีหน่ึง

2. กาหนดรศั มีของวงกลม

3. เลือกเสน้ ท่ีสอง

ก. 1-2-3 ข. 1-3-2

ค. 2-1-3 ง. 2-3-1

11. จากรูป หากตอ้ งการเขียนวงกลมหมายเลข 3 ควรใชค้ าสงั่ ในขอ้ ใดมากทส่ี ุด

ก. Center, Radius ข. Center, Diameter

ค. 2 Point ง. 3 Point

12. จากรูป ควรใชค้ าสงั่ ในขอ้ ใดมากทส่ี ุด

ก. Center, Radius ข. Tan, Tan, Tan

ค. 2 Point ง. 3 Point

13. การเขียนส่วนโคง้ ดว้ ยคาสง่ั Center, Start, End มีลาดบั ในการป้อนขอ้ มลู อยา่ งไร

ก. จุดเร่ิมตน้ , จดุ ศูนยก์ ลาง, จุดศนู ยส์ ิ้นสุด

ข. จดุ เริ่มตน้ , จุดศูนยส์ ิ้นสุด, จุดศูนยก์ ลาง

ค. จดุ ศนู ยก์ ลาง, จุดเร่ิมตน้ , จดุ ศูนยส์ ้ินสุด

ง. จดุ ศนู ยก์ ลาง, จุดศนู ยส์ ้ินสุด, จดุ เร่ิมตน้

14. ในการเขยี นส่วนโคง้ เม่ือขอ้ ความที่ Command Line วา่ Command: _arc Specify start point of arc or

[CEnter]:Specify second point of arc or [Center/ENd]: _c Specify center point of arc: Specify end point of arc or

[Angle/chord Length]: ผใู้ ชโ้ ปรแกรมจะตอ้ งปฏบิ ตั ิตามขอ้ ใด

ก. ระบจุ ุดเร่ิมตน้ ของส่วนโคง้

ข. ระบุจุดทสี่ องท่ีส่วนโคง้ ผา่ น

ค. ระบุจุดศูนยก์ ลางของส่วนโคง้

ง. ระบุจดุ สิ้นสุดของส่วนโคง้

59

15. จากรูป ถา้ ยงั ไม่เขียนส่วนโคง้ หมายเลข 5 บนและล่าง จะเขยี นส่วนโคง้ หมายเลข 2 ไม่ควรใชค้ าสงั่ ตามขอ้ ใด
เหมาะสมทส่ี ุด
ก. Start , Center ,End
ข. Center, Start , Angle
ค. Start , End , Radius
ง. Start , End , Direction

16. การเขยี นส่วนโคง้ ดว้ ยคาสง่ั Start , End , Radius หากเรียกใชค้ าสงั่ ทาง Menu หลกั มีกระบวนการเรียกใชต้ ามขอ้ ใด
ก. คลิกทีค่ าสง่ั Start , End , Radius
ข. คลิกที่ Menu หลกั ทีช่ ื่อ Draw และคลิกทีค่ าสงั่ Start , End , Radius
ค. คลิกท่ี Menu หลกั ทช่ี ื่อ Draw แลว้ คลิกที่คาสง่ั หลกั ทชี่ ื่อ Arc และคลิกทค่ี าสงั่ ยอ่ ย Start, End , Radius
ง. คลิกท่ี Menu หลกั ทชี่ ื่อ Draw แลว้ คลิกท่คี าสงั่ หลกั ท่ีช่ือ Circle และคลิกทคี่ าสง่ั ยอ่ ย Start ,End,Radius

17. หากตอ้ งการเขยี นส่วนโคง้ หมายเลข 5 และใชค้ าสง่ั Start , End , Radius ขอ้ มูลทป่ี ้อนคร้งั สุดทา้ ยคอื ขอ้ ใด
ก. จุดเริ่มตน้ ของส่วนโคง้
ข. รศั มีของส่วนโคง้ ผา่ น
ค. จุดศนู ยก์ ลางของส่วนโคง้
ง. จุดสิ้นสุดของส่วนโคง้

18. จากรูป หากตอ้ งการเขยี นส่วนโคง้ หมายเลข 5 และใชค้ าสงั่ Center, Start , Angle ขอ้ มูลที่ป้อนคร้งั สุดทา้ ยคอื ขอ้ ใด
ก. 90 องศา
ข. 180 องศา
ค. 270 องศา
ง. 360 องศา

19. การเขยี นส่วนวงรีดว้ ยคาสง่ั Ellipse ,Center หากเรียกใชค้ าสง่ั ทาง Menu หลกั มีกระบวนการเรียกใชต้ ามขอ้ ใด
ก. คลิกทีค่ าสงั่ Ellipse ,Center
ข. คลิกท่ี Menu หลกั ท่ชี ่ือ Draw และคลิกท่ีคาสง่ั Ellipse ,Center
ค. คลิกที่ Menu หลกั ท่ชี ่ือ Draw แลว้ คลิกทีค่ าสง่ั หลกั ท่ีช่ือ Ellipse และคลิกที่คาสงั่ ยอ่ ย Ellipse ,Center
ง. คลิกท่ี Menu หลกั ท่ชี ่ือ Draw แลว้ คลิกทคี่ าสง่ั หลกั ทีช่ ่ือ Circle และคลิกท่ีคาสงั่ ยอ่ ย Ellipse ,Center

60

20. จากรูป หากตอ้ งการเขียนวงรีหมายเลข 1 ดว้ ยคาสงั่ Ellipse ,Center มีลาดบั ในการป้อนขอ้ มูลตามขอ้ ใด
1. ตาแหน่ง D
2. ตาแหน่ง E
3. ตาแหน่ง F
4. ตาแหน่ง G
5 พกิ ดั X100,Y100
ก. 1-2-3
ข. 3-4-5
ค. 5-4-3
ง. 3-2-1

21. จากรูป หากตอ้ งการเขียนวงรีหมายเลข 1 ดว้ ยคาสง่ั Axis ,End มีลาดบั ในการป้อนขอ้ มูลตามขอ้ ใด
1. ตาแหน่ง D
2. ตาแหน่ง E
3. ตาแหน่ง F
4. ตาแหน่ง G
ก. 1-2-3
ข. 2-3-4
ค. 1-3-2
ง. 4-3-2

22. หลกั การเขยี นส่วนโคง้ ทอ่ี ยใู่ นรูปของวงรี ตรงกบั ขอ้ ใด
ก. กาหนดจุดเร่ิมตน้ และจุดสิ้นสุด
ข. กาหนดจุดศูนยก์ ลาง จดุ เริ่มตน้ และจุดส้ินสุด
ค. เขียนวงรีเตม็ วงก่อนแลว้ ลบบางส่วนออกภายหลงั
ง. เขียนวงรีเตม็ วงก่อนแลว้ กาหนดจดุ เร่ิมตน้ และจุดส้ินสุดท่ีอยใู่ นคาสง่ั เดียวกนั

23. การเขียนส่วนวงรีดว้ ยคาสงั่ Ellipse ,Center หากเรียกใชค้ าสง่ั ทาง Menu หลกั มีกระบวนการเรียกใชต้ ามขอ้ ใด
ก. คลิกทีค่ าสง่ั Ellipse ,Arc
ข. คลิกที่ Menu หลกั ทีช่ ื่อ Draw และคลิกที่คาสง่ั Ellipse ,Arc
ค. คลิกที่ Menu หลกั ที่ช่ือ Draw แลว้ คลิกทคี่ าสงั่ หลกั ทช่ี ่ือ Ellipse และคลิกทค่ี าสง่ั ยอ่ ย Ellipse ,Arc
ง. คลิกท่ี Menu หลกั ทชี่ ื่อ Draw แลว้ คลิกท่คี าสง่ั หลกั ที่ช่ือ Arc และคลิกที่คาสงั่ ยอ่ ย Ellipse ,Arc

61

24. จากรูป สมมุตวิ า่ เสน้ EFG เป็นส่วนโคง้ ทอ่ี ยใู่ นรูปของวงรี หากตอ้ งการเขยี นส่วนโคง้ น้ี เม่ือขอ้ ความที่ Command
Line วา่ Specify end angle or [Parameter/Included angle]: ผใู้ ชโ้ ปรแกรมจะตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ใด
ก. กาหนดจุดเร่ิมตน้ คือ จดุ E
ข. กาหนดจุดเริ่มตน้ คอื จดุ G
ค. กาหนดจุดส้ินสุด คือ จุด E
ง. กาหนดจดุ สิ้นสุด คือ จดุ G

ใบเฉลย 62

ชื่อวชิ า... การเขียนแบบดว้ ยคอมพวิ เตอร์ หน่วยท่ี 5
ช่ือหน่วย..การเขยี นแบบ 2 มิติ สอนคร้งั ที่ 6
ช่ือเรื่อง...การเขียนเสน้ ท่ีมีลกั ษณะโคง้
1. ง คาบรวม 12
2. ข จานวนคาบ 4
3. ข
4. ง
5. ค
6. ก
7. ข
8. ค
9. ค
10. ข
11. ข
12. ข
13. ก
14. ง
15. ง
16. ค
17. ข
18. ข
19. ค
20. ค
21. ข
22. ง
23. ค
24. ง

ใบงานท่ี 6.1 63
ชื่อวชิ า... การเขยี นแบบดว้ ยคอมพวิ เตอร์
ช่ือหน่วย..การเขยี นแบบ 2 มิติ หน่วยท่ี 5
ชื่อเรื่อง...การเขียนเสน้ ทมี่ ีลกั ษณะโคง้ สอนคร้ังท่ี 6

จุดประสงค์ของใบงาน คาบรวม 12
1. สามารถเปิ ดงานท่ีเขยี นไวแ้ ลว้ ออกมาแกไ้ ขได้ จานวนคาบ 4
2. สามารถวเิ คราะห์หาตาแหน่งตา่ งๆของวงกลมได้
3. สามารถเขียนวงกลมดว้ ยคาสงั่ Circle ได้

เครื่องมือและอปุ กรณ์
1. เครื่องคอมพวิ เตอร์พร้อมโปรแกรม AutoCAD 2010
2. แผน่ ดิสกข์ นาด 3.5 น้ิว จานวน 1 แผน่

คาสั่ง ใหน้ กั ศึกษาเขียนแบบตามภาพที่กาหนดให้

64

ใบปฏิบัติงานที่ 6.1 หน่วยที่ 5
ช่ือวชิ า... การเขยี นแบบดว้ ยคอมพวิ เตอร์ สอนคร้งั ที่ 6
ช่ือหน่วย..การเขียนแบบ 2 มิติ คาบรวม 12
ชื่อเรื่อง...การเขียนเสน้ ท่มี ีลกั ษณะโคง้ จานวนคาบ 4
ทกั ษะปฏบิ ตั ิ
1. การวเิ คราะห์หาตาแหน่งต่างๆของเสน้ โคง้ ภาพประกอบ
2. การใชค้ าสงั่ Open
3. การใชค้ าสงั่ Circle
4. การใชค้ าสงั่ Save As
ลาดบั ข้นั การปฏิบตั งิ าน

ลาดบั ข้นั การปฏิบตั ิงาน
1. เปิ ดเคร่ืองคอมพวิ เตอร์
2. เขา้ สู่โปรแกรม AutoCAD 2010
3. ใชค้ าสงั่ Open เปิ ด File Project 5.3 มา

แกไ้ ข

4. ใชค้ าสงั่ Layer เพอ่ื นา Layer ชื่อCenter
มาใชง้ าน และใชค้ าสงั่ Circle เขยี นเสน้
วงกลมโต 75 มม.

65

5. ใชค้ าสง่ั Layer เพอ่ื นา Layer ช่ือCenter
มาใชง้ าน และใชค้ าสงั่ Circle เขยี นเสน้
วงกลมรศั มี 112.5 มม.

6. ใชค้ าสงั่ Layer เพอื่ นา Layer ท่ชี ่ือ
Continue

มาใชง้ าน และใชค้ าสง่ั Circle เขียนเสน้
วงกลมรัศมี 100 มม.

7. ใชค้ าสงั่ Layer เพอ่ื นา Layer ท่ชี ่ือ
Continue

มาใชง้ าน และใชค้ าสง่ั Circle เขียนวงกลมโต
37.5 มม.

66

8. ใชค้ าสงั่ Layer เพอื่ นา Layer ทีช่ ่ือ
Continue

มาใชง้ าน และใชค้ าสง่ั Circle เขียนวงกลมรศั มี
8.05 มม.

9. ใชค้ าสงั่ Layer เพอื่ นา Layer ทีช่ ื่อ
Continue

มาใชง้ าน และใชค้ าสงั่ Circle เขยี นวงกลมโต
75 มม.

10. ใชค้ าสง่ั Save As เก็บขอ้ มูล
11. ออกจากโปรแกรม
12. บนั ทกึ ขอ้ มูลรูปทเ่ี ขยี น
13. ปิ ดเคร่ืองคอมพวิ เตอร์
14. เก็บเครื่องมือและอุปกรณ์ใหเ้ รียบร้อย

67

ใบงานท่ี 6.2 หน่วยท่ี 5
ช่ือวชิ า... การเขียนแบบดว้ ยคอมพวิ เตอร์ สอนคร้งั ที่ 6
ชื่อหน่วย..การเขยี นแบบ 2 มิติ คาบรวม 12
ช่ือเรื่อง...การเขียนเสน้ ท่มี ีลกั ษณะโคง้ จานวนคาบ 4

จดุ ประสงค์ของใบงาน
1. สามารถวเิ คราะห์หาตาแหน่งต่างๆของเสน้ โคง้ ได้
2. สามารถเขียนวงกลมดว้ ยคาสงั่ Circle ได้
3. สามารถเขียนส่วนโคง้ ดว้ ยคาสง่ั Arc ได้
4. สามารถเขยี นส่วนโคง้ ทีม่ ีลกั ษณะเป็นวงรีดว้ ยคาสงั่ Ellipse ได้
เคร่ืองมือและอปุ กรณ์
1. เคร่ืองคอมพวิ เตอร์พร้อมโปรแกรม AutoCAD 2010
2. แผน่ ดิสกข์ นาด 3.5 นิ้ว จานวน 1 แผน่

คาส่ัง ใหน้ กั ศกึ ษาเขียนแบบตามภาพทีก่ าหนดให้

ใบปฏบิ ัติงานที่ 6.2 68
ช่ือวชิ า... การเขยี นแบบดว้ ยคอมพวิ เตอร์
ชื่อหน่วย..การเขียนแบบ 2 มิติ หน่วยที่ 5
ชื่อเร่ือง...การเขียนเสน้ ทมี่ ีลกั ษณะโคง้ สอนคร้งั ที่ 6

ทักษะปฏิบตั ิ คาบรวม 12
1. การวเิ คราะห์หาตาแหน่งตา่ งๆของเสน้ โคง้ จานวนคาบ 4
2. การใชค้ าสงั่ Circle
3. การใชค้ าสง่ั Arc
4. การใชค้ าสง่ั Ellipse
5. การใชค้ าสงั่ Save As
ลาดบั ข้นั การปฏบิ ัตงิ าน

1. เปิ ดเคร่ืองคอมพวิ เตอร์
2. เขา้ สู่โปรแกรม AutoCAD 2010
3. ใช้คาส่ัง Open เปิ ด File ชื่อ A4

Phattalung ท่ีกาหนดรูปแบบต่างๆไวม้ า
ใชท้ างาน
4. ใช้คาสั่ง Layer เพ่ือนา Layer ช่ือ
Continuous มาใชง้ านแลว้ ใชค้ าสั่ง Line
เขียนเส้นตรงแต่ละจุด และใช้คาส่ัง
Layer เพอ่ื นา Layer ชื่อ Center มาใชง้ าน
แลว้ ใชค้ าสง่ั Line เขยี นเสน้ ศูนยแ์ ต่ละจดุ

69

5. ใชค้ าสง่ั Arc เขยี นส่วนโคง้ ดา้ นบน 2
ส่วน

6. ใชค้ าสง่ั Arc เขียนส่วนโคง้ ดา้ นขา้ ง 2
ส่วน

7. ใชค้ าสงั่ Arc เขยี นส่วนโคง้ ดา้ นขา้ ง 2
ส่วน

70

8. ใชค้ าสง่ั Ellipse เขยี นวงรี

9. ใชค้ าสงั่ Ellipse Arc เขยี นส่วนโคง้ ท่เี ป็น
วงรี

10. ใชค้ าสง่ั Save As เพอ่ื บนั ทึกขอ้ มูล
11. ออกจากโปรแกรม
12. บนั ทึกขอ้ มูลรูปท่เี ขยี น
13. ปิ ดเครื่องคอมพวิ เตอร์
14. เก็บเคร่ืองมือและอุปกรณ์ใหเ้ รียบรอ้ ย

71

ใบตรวจผลการปฏบิ ัตงิ านท่ี 6.1 หน่วยที่ 5
ชื่อวชิ า... การเขียนแบบดว้ ยคอมพิวเตอร์ สอนคร้ังที่ 6
ชอ่ื หน่วย..การเขยี นแบบ 2 มติ ิ คาบรวม 12
ชื่อเรื่อง...การเขียนเส้นทมี่ ีลกั ษณะโคง้
ช่ือ.................................................................................เลขท่.ี ...............................กลุม่ .................... จานวนคาบ 4

ระดบั ความถูกตอ้ ง

คะแนน 10 เ ้สน
9 เ ้สน
รายการ 8 เ ้สน
7 เ ้สน
6 เ ้สน
5 เ ้สน
4 เ ้สน
3 เ ้สน
2 เ ้สน
1 เ ้สน
เ ่ืมอไ ่มป ิฏบัติ
ระดับความสาคัญ

1. ใช้ Layer ไดถ้ กู ตอ้ ง 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0 2
2. ความหนาของเสน้ ถูกตอ้ งตามมาตรฐาน คา่ ความผดิ พลาดหน่วยเป็น มม. หรือ องศา 2
3. ชนิดของเสน้ ถูกตอ้ งตามมาตรฐาน 2

คะแนน ±0 1
± 0.5 1
รายการ ±1 1
± 1.5 1
±2 1
± 2.5 1
±3 1
± 3.5 1
±4 1
± 4.5 1
±5
1
10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0 1

4. วงกลมหมาเลข 1

มีขนาดความโต 37.5 มม.

จดุ ศนู ยก์ ลางอยทู่ ีป่ ลายของเส้นศนู ย์

5. วงกลมหมาเลข 2

มขี นาดความโต 75 มม.

จุดศนู ยก์ ลางอยู่ท่ีปลายของเสน้ ศูนย์

6. วงกลมหมาเลข 3

มีขนาดรัศมี 100 มม.

จดุ ศูนยก์ ลางอย่ทู ่ีปลายของเสน้ ศนู ย์

7. วงกลมหมาเลข 4

มขี นาดรัศมี 112.5 มม.

จดุ ศูนยก์ ลางอยทู่ ีป่ ลายของเสน้ ศูนย์

8. วงกลมหมาเลข 5

มขี นาดรัศมี 8.05 มม.

จุดศูนย์กลางอยู่ท่ีเส้นศูนย์ที่เอียงทามุมตดั กบั วงกลม

หมายเลข 2 เหนือจุดศนู ยก์ ลาง

9. วงกลมหมาเลข 6

มคี วามโตขนาด 75 มม.

จุดศูนย์กลางอยู่ที่เส้นศูนย์ในแนวนอนตดั กับวงกลม

หมายเลข 4

72

รวมคะแนนทไ่ี ดใ้ นใบงานน้ี

73

ใบตรวจผลการปฏบิ ัติงานที่ 6.2 หน่วยที่ 5
ชอ่ื วชิ า... การเขยี นแบบดว้ ยคอมพิวเตอร์ สอนคร้ังท่ี 6
ชื่อหน่วย..การเขยี นแบบ 2 มติ ิ คาบรวม 12
ช่ือเรื่อง...การเขยี นเสน้ ที่มีลกั ษณะโคง้
จานวนคาบ 4
ชอ่ื ................................................................................................เลขท.ี่ ........................กลุม่ ..............
ระดบั ความถูกตอ้ ง

ลาดับ ่ีท คะแนน 28-30 เ ้สน
25-27 เ ้สน
รายการ 22-24 เ ้สน
19-21 เ ้สน
16-18 เ ้สน
13-15 เ ้สน
10-12 เ ้สน
7-9 เ ้สน
4-6 เ ้สน
1-3 เ ้สน
เ ่ืมอไ ่มป ิฏบั ิต
ระดับความสาคัญ
คะแนน ี่ทไก้
10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0
1. ใช้ Layer ไดถ้ กู ตอ้ ง 2
2. ความหนาของเส้นถูกตอ้ งตามมาตรฐาน 2
3. ชนิดของเส้นถกู ตอ้ งตามมาตรฐาน 2
4. เส้นตรงท่เี ป็นโครงของรูป 2

คา่ ความผดิ พลาดหน่วยเป็น มม. หรือ องศา

±0
± 0.5
±1
± 1.5
±2
± 2.5
±3
± 3.5
±4
± 4.5
±5

5. ส่วนโคง้ ทห่ี มายเลข 13 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0
จดุ เร่ิมตน้ ต่อกบั ปลายหมายเลข 12
จดุ ส้ินสุด ต่อกบั ปลายหมายเลข 12 0.5
รัศมีขนาด 10 มม. 0.5
ทศิ ทางยนื่ ไปทางซา้ ยมอื 0.5
0.5
6. ส่วนโคง้ ทห่ี มายเลข 14
จุดเร่ิมตน้ ตอ่ กบั ปลายหมายเลข 3 0.5
จดุ สิ้นสุด ตอ่ กบั ปลายหมายเลข 4 0.5
รัศมขี นาด 20 มม. 0.5
ทิศทางยืน่ ไปทางขวามือ 0.5

7. ส่วนโคง้ ท่หี มายเลข 15 0.5
จดุ เริ่มตน้ ต่อกบั ปลายหมายเลข 6 0.5
จุดสิ้นสุด ตอ่ กบั ปลายหมายเลข 5 0.5
รัศมขี นาด 10 มม. 0.5
ทิศทางไปยน่ื ทางดา้ นลา่ ง


Click to View FlipBook Version