บทท่ี 1
ความนำ
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ให้
เป็นหลักสตู รแกนกลางของประเทศ เม่อื วนั ที่ 11 กรกฏาคม 2551 เริ่มใชใ้ นโรงเรยี นต้นแบบการใช้หลกั สูตร
และโรงเรียนท่มี ีความพร้อม ในปี 2552 และเริ่มใชใ้ นโรงเรยี นทัว่ ไปในปีการศกึ ษา 2553 ซ่งึ ใชม้ าเป็นเวลา
กว่า 8 ปแี ล้ว สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน โดยสำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษาได้
ดำเนินการตดิ ตามผลการนำหลักสูตรไปสกู่ ารปฎบิ ัติอย่างต่อเน่ืองในหลายรูปแบบ ท้งั การประชมุ รบั ฟงั ความ
คิดเห็น การนิเทศติดตามผลการใช้หลกั สูตรของโรงเรียน การรับฟังความคดิ เหน็ ผ่านเว็บไซตข์ องสำนกั งาน
วิชาการและมาตรฐานการศึกษา รายงานผลการวจิ ัยของหน่วยงานและองคก์ รท่เี กย่ี วข้องกบั หลกั สูตรและการ
ใช้หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ผลจากการศกึ ษา พบว่า หลักสตู รแกนกลาง
การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 มีขอ้ ดใี นหลายประการ เช่น กำหนดเปา้ หมายการพฒั นาไว้ชัดเจน
มีความยดื หย่นุ เพยี งพอใหส้ ถานศกึ ษาบริหารจัดการหลักสูตรสถานศกึ ษาได้ สำหรบั ปัญหาท่ีพบสว่ นใหญ่เกดิ
จากการนำหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 สกู่ ารปฎิบตั ิในสถานศึกษาและใน
หอ้ งเรยี น
นอกจากน้ี การศึกษาข้อมลู ทิศทางและกรอบยทุ ธศาสตร์ของแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ
ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564) ซ่ึงเกิดข้ึนในช่วงเวลาของการปฎริ ูปประเทศและสถานการณ์โลกท่ี
เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและเช่ือมโยงใกล้ชดิ กันมากขึ้น โดยจัดทำบนพนื้ ฐานของกรอบยทุ ธศาสตรช์ าติ
20 ปี (พ.ศ.2560-2579) ซึง่ เป็นแผนหลกั ของการพัฒนาประเทศ และเป้าหมายของการพัฒนาท่ีย่งั ยืน
แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2560-2579 รวมท้ังการปรับโครงสรา้ งประเทศไปสปู่ ระเทศ 4.0 ซึ่ง
ยทุ ธศาสตร์ชาติทีจ่ ะใชเ้ ปน็ กรอบแนวทางการพฒั นาในระยะ 20 ปี ต่อจากนี้ ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์
ไดแ้ ก่ 1.ยทุ ธศาสตรด์ า้ นความมนั่ คง 2.ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน 3.ยุทธศาสตร์
การพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพคน 4.ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทยี มกันทาง
สงั คม 5.ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชวี ิตท่เี ป็นมิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม 6.ยุทธศาสตร์ดา้ นการ
ปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ เพ่ือมงุ่ สู่วิสัยทัศน์และทศิ ทางการพฒั นาประเทศ
“ความมั่นคง มัง่ คั่ง ย่งั ยืน” เปน็ ประเทศพัฒนาแลว้ ดว้ ยการพัฒนาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ประเด็นท่ีสำคัญเพ่ือแปลงแผนไปสกู่ ารปฏิบัติใหเ้ กดิ ผลสัมฤทธไ์ิ ด้อยา่ งแทจ้ รงิ ตามยุทธศาสตรก์ าร
พัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพคน คือ การเตรยี มพร้อมดา้ นกำลงั คนและการเสริมสร้างศกั ยภาพของ
ประชากรในทุกชว่ งวยั ม่งุ เน้นการยกระดับคุณภาพทนุ มนษุ ย์ของประเทศ โดยพฒั นาคนให้เหมาะสมตามช่วง
วยั เพอื่ ใหเ้ ตบิ โตอยา่ งมีคุณภาพ การพัฒนาทักษะทีส่ อดคล้องกับความต้องการในตลาดแรงงานและทกั ษะท่ี
จำเปน็ ต่อการดำรงชวี ิตในศตวรรษที่ 21 ของคนในแต่ละช่วงวยั ตามความเหมาะสม การเตรยี มความพรอ้ ม
ของกำลังคนด้านวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยที ี่จะเปลีย่ นแปลงในอนาคต ตลอดจนการยกระดับคุณภาพ
การศึกษาส่คู วามเปน็ เลศิ
ดังนั้นเพ่ือให้การขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์ชาติ เพือ่ เตรียมความพรอ้ มคนใหส้ ามารถปรบั ตัวรองรบั
ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงไดอ้ ยา่ งเหมาะสม กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจึงกำหนดเป็นนโยบายสำคญั และ
เรง่ ด่วนใหม้ ีการปรบั ปรุงหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ในกล่มุ สาระการเรียนรู้
คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภูมศิ าสตร์ ในกลุม่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
รวมท้ังเทคโนโลยี ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยมอบหมายให้สถาบนั สง่ เสรมิ การ
สอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท) ดำเนนิ การปรับปรงุ กลมุ่ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ กลมุ่ สาระการ
เรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ และสาระเกี่ยวกับเทคโนโลยใี นกล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี และ
มอบหมายใหส้ ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานดำเนินการปรบั ปรงุ สาระภูมิศาสตร์ ในกลมุ่ สาระ
การเรยี นร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ทง้ั นีก้ ารดำเนินงานประกาศใชห้ ลกั สตู รยังคงอยู่ในความ
รับผดิ ชอบของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
การปรบั ปรงุ หลกั สตู รครง้ั น้ี ยังคงหลกั การและโครงสรา้ งเดิมของหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั
พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 คอื ประกอบดว้ ย 8 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชพี
และเทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ แตม่ งุ่ เนน้ การปรบั ปรงุ เน้ือหาให้มีความทันสมัย ทันตอ่ การ
เปล่ยี นแปลงและความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการต่าง ๆ คำนึงถึงการสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียน มที กั ษะทจ่ี ำเป็น
สำหรับการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 เปน็ สำคัญ เตรยี มผู้เรยี นใหม้ ีความพร้อมท่จี ะเรียนรสู้ ่ิงต่าง ๆ พร้อมท่ีจะ
ประกอบอาชีพ เมื่อจบการศกึ ษา หรือสามารถศึกษาต่อในระดับทีสูงขนึ้ สามารถแขง่ ขนั และอยู่รว่ มกบั
ประชาคมโลกได้
กรอบในการปรบั ปรงุ คือ ให้มอี งค์ความรู้ทีเ่ ป็นสากลเทียบเทา่ นานาชาติ ปรับมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวช้ีวัดให้มคี วามชัดเจน ลดความซ้ำซ้อน สอดคล้องและเช่อื มโยงกันภายในกลมุ่ สาระการเรียนรแู้ ละ
ระหว่างกลุม่ สาระการเรียนรู้ ตลอดจนเช่ือมโยงองค์ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี
เขา้ ดว้ ยกัน จดั เรียงลำดับความยากงา่ ยของเน้อื หาในแต่ละระดับชนั้ ตามพัฒนาการแต่ละช่วงวยั ให้มีความ
เชื่อมโยงความรแู้ ละกระบวนการเรียนรู้ โดยใหเ้ รียนรู้ผา่ นการปฏบิ ัติที่สง่ เสริมใหผ้ ้เู รยี นพฒั นาความคิด
สาระสำคญั ของการปรับปรงุ หลักสูตร มดี งั นี้
1. กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
1.1 จัดกลุม่ ความรใู้ หม่และนำทักษะกระบวนการไปบรู ณาการกับตัวช้วี ดั เนน้ ผู้เรยี นเกดิ การคดิ
วเิ คราะห์ คดิ แกป้ ัญหา และมีทกั ษะในศตวรรษที่ 21
1.2 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงประถมศึกษาปีท่ี 6 กำหนดมาตรฐานการเรยี นร้แู ละ
ตัวชีว้ ดั สำหรบั ผู้เรยี นทกุ คน ที่เปน็ พน้ื ฐานทเ่ี กยี่ วข้องกับชวี ติ ประจำวนั และเปน็ พ้ืนฐานสำคญั ใน
การศกึ ษาต่อระดับที่สงู ข้นึ
2. กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ ไดเ้ พ่มิ สาระเทคโนโลยี ซึ่งประกอบดว้ ยการออกแบบและ
เทคโนโลยี และวิทยาการคำนวณ ทงั้ น้เี พ่ือเอ้ือต่อการจดั การเรยี นรบู้ ูรณาการสาระทางคณิตศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กับกระบวนการเชงิ วศิ วกรรม ตามแนวคดิ สะเต็มศึกษา
3. สาระภูมิศาสตร์ ซึ่งเปน็ สาระหนง่ึ ในกลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒธรรมยงั คง
มาตรฐานการเรยี นรูเ้ ดมิ แตป่ รับมาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชีว้ ดั ให้มคี วามชดั เจน สอดคล้องกับ
พัฒนาการตามช่วงวยั มอี งค์ความร้ทู ่เี ปน็ สากล เพิม่ ความสามารถ ทักษะ และกระบวนการทาง
ภูมศิ าสตร์ท่ีชัดเจนขึ้น
เอกสารมาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ช้ีวดั กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระ
ภูมศิ าสตร์ ในกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตาม
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นี้ จดั ทำขน้ึ สำหรับสถานศึกษาไดน้ ำไปใชเ้ ปน็
กรอบและทิศทางในการจัดทำหลกั สตู รสถานศกึ ษาและจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทย
ทกุ คนในระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐานใหม้ ีคณุ ภาพดา้ นความรู้ และทักษะทจี่ ำเป็นสำหรบั การดำรงชีวติ ในสงั คม
ที่มีการเปลย่ี นแปลง นอกจากน้ันมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชว้ี ดั ทีก่ ำหนดไวใ้ นเอกสารน้ี จะช่วยให้ผ้ทู ่ี
เกย่ี วขอ้ งใชเ้ ปน็ แนวทางในการส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้เกดิ การพัฒนาผู้เรียนให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานการ
เรียนรอู้ ย่างแทจ้ ริง
วสิ ัยทศั น์
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวัดหนองตมิ พทุ ธศักราช 256๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศักราช
๒๕๖๓) ตามหลกั สตู รแกนกางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซ่ึงเปน็ กำลัง
ของชาติให้เป็นมนษุ ย์ท่ีมีความสมดุลทัง้ ดา้ นรา่ งกายและจิตใจ คุณธรรมจริยธรรม คา่ นิยมท่พี งึ ประสงค์ มี
จิตสำนกึ ในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยดึ มน่ั ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ มีความรู้และทักษะพน้ื ฐาน รวมท้งั เจตคติ ที่จำเป็นต่อการศกึ ษาต่อการ
ประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต เหน็ คุณคา่ ของตนเอง มวี นิ ยั และปฏิบตั ติ นตามหลกั ธรรมของ
พระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาที่ตนนับถือ ยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มคี วามสามารถในการ
ส่อื สาร การคดิ การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี มที กั ษะการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณาญาณและมีทกั ษะชวี ติ ผู้เรยี นมี
คุณภาพตามกรอบหลักสตู รระดบั ท้องถน่ิ มจี ติ สำนึกในการอนุรกั ษ์วฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย รักและ
ภมู ใิ จในทอ้ งถิ่นของตน มีการอนรุ ักษ์และพัฒนาส่ิงแวดลอ้ ม มีจติ สาธารณะที่มุ่งทำประโยชนแ์ ละสรา้ งส่ิงที่ดี
งามในสงั คม อย่รู ่วมกันในสงั คมอยา่ งมคี วามสุข โดยม่งุ เน้นผู้เรียนเปน็ สำคญั บนพื้นฐานความเช่อื ว่า ทกุ คน
สามารถเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเอง ไดเ้ ต็มตามศักยภาพ
สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น
ในการพฒั นาผูเ้ รยี นตามหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั หนองติม พุทธศักราช 256๑ (ฉบับ
ปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๓) ตามหลักสูตรแกนกางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ม่งุ เน้น
พฒั นาผเู้ รียนให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด ซึง่ จะช่วยให้ผเู้ รยี นเกดิ สมรรถนะสำคัญและคุณลกั ษณะอัน
พงึ ประสงค์ ดังนี้
สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดหนองตมิ พุทธศกั ราช 256๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๓)
ตามหลกั สูตรแกนกางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 มุง่ ให้ผ้เู รยี นเกิดสมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ
ดังน้ี
๑. ความสามารถในการสอื่ สาร เป็นความสามารถในการรับและสง่ สาร มวี ฒั นธรรมในการใช้
ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความร้สู ึก และทศั นะของตนเองเพอื่ แลกเปลย่ี นขอ้ มลู ขา่ วสาร
และประสบการณ์อันจะเปน็ ประโยชนต์ ่อการพัฒนาตนเองและสงั คม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพ่ือขจดั และ
ลดปญั หาความขัดแยง้ ต่าง ๆ การเลือกรบั หรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลกั เหตผุ ลและความถกู ต้อง
ตลอดจนการเลือกใชว้ ธิ กี ารส่ือสารที่มีประสทิ ธภิ าพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบท่ีมีต่อตนเองและสงั คม
๒. ความสามารถในการคดิ เป็นความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ การคดิ สงั เคราะห์ การคิดอยา่ ง
สร้างสรรค์ การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเปน็ ระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรหู้ รือ
สารสนเทศเพ่ือการตัดสินใจเกีย่ วกับตนเองและสงั คมได้อย่างเหมาะสม
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เปน็ ความสามารถในการแก้ปญั หาและอุปสรรคตา่ ง ๆ
ทเี่ ผชญิ ได้อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสมบนพน้ื ฐานของหลักเหตุผล คณุ ธรรมและข้อมลู สารสนเทศ เขา้ ใจ
ความสัมพันธ์และการเปลย่ี นแปลงของเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามรมู้ าใช้ใน
การปอ้ งกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสนิ ใจที่มปี ระสิทธภิ าพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบทเี่ กิดขนึ้ ต่อตนเอง
สงั คมและส่งิ แวดล้อม
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ เป็นความสามารถในการนำกระบวนการตา่ ง ๆ ไปใช้ใน
การดำเนินชวี ติ ประจำวัน การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง การเรยี นรูอ้ ยา่ งต่อเนอ่ื ง การทำงาน และการอย่รู ว่ มกนั ใน
สงั คมดว้ ยการสร้างเสริมความสมั พนั ธ์อนั ดรี ะหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแยง้ ตา่ ง ๆ อยา่ ง
เหมาะสม การปรับตวั ใหท้ นั กับการเปล่ยี นแปลงของสงั คมและสภาพแวดล้อม และการรู้จกั หลีกเล่ยี ง
พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่สง่ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อ่ืน
๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร
การทำงาน การแก้ปัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ ถูกต้องเหมาะสม และมีคุณธรรม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั หนองตมิ พุทธศกั ราช 256๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๓)
ตามหลกั สูตรแกนกางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 มุง่ พฒั นาผูเ้ รยี นใหม้ ีคุณลกั ษณะอันพึง
ประสงค์ เพ่ือใหส้ ามารถอยู่ร่วมกับผอู้ ื่นในสงั คมได้อย่างมีความสขุ ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซ่ือสตั ยส์ ุจรติ
๓. มวี นิ ัย
๔. ใฝ่เรียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพยี ง
๖. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน
๗. รกั ความเปน็ ไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
บทท่ี 2
โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั หนองตมิ
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวัดหนองตมิ พุทธศักราช 256๑ (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๓)
ตามหลักสตู รแกนกางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ได้กำหนดโครงสร้างของหลักสตู รสถานศึกษา
เพอื่ ให้ผสู้ อน และผูท้ ่ีเกีย่ วข้องในการจัดการเรยี นรตู้ ามหลักสตู รของสถานศึกษามีแนวปฏิบตั ิ ดังนี้
๑. ระดับการศึกษา กำหนดหลักสูตรเป็น ๑ ระดับ ตามโครงสร้างของหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และตามภารกิจหลกั ของการจัดการเรียนการสอนในระดับประถมศกึ ษาของ
สถานศึกษา ดังนี้
-ระดับประถมศึกษา (ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖) การศกึ ษาระดบั นีเ้ ป็นช่วงแรกของ
การศึกษาภาคบงั คบั มงุ่ เนน้ ทักษะพ้นื ฐานดา้ นการอ่าน การเขียน การคิดคำนวณ ทักษะการคดิ พื้นฐาน
การตดิ ต่อสอ่ื สาร กระบวนการเรยี นรู้ทางสังคม และพ้ืนฐานความเป็นมนษุ ย์ การพฒั นาคุณภาพชวี ิต
อย่างสมบูรณ์และสมดลุ ท้งั ในด้านร่างกาย สตปิ ญั ญา อารมณ์ สงั คม และวัฒนธรรม โดยเน้นจัดการเรียนรู้
แบบบูรณาการ
๒. สาระการเรียนรู้ ในหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนวัดหนองติม พุทธศักราช 2561 (ฉบบั
ปรับปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๓) ตามหลักสูตรแกนกางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กำหนดไว้
ในหลกั สตู ร ประกอบดว้ ยองคค์ วามรู้ ทกั ษะหรือกระบวนการเรียนรู้ และคุณลักษณะหรือคา่ นิยม คุณธรรม
จรยิ ธรรมของผูเ้ รียน ๘ กลุม่ คอื
๒.๑ ภาษาไทย
๒.๒ คณติ ศาสตร์
๒.๓ วิทยาศาสตร์
๒.๔ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
๒.๕ สุขศกึ ษาและพลศึกษา
๒.๖ ศลิ ปะ
๒.๗ การงานอาชพี และเทคโนโลยี
๒.๘ ภาษาองั กฤษ
๓. กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน มงุ่ ใหผ้ ูเ้ รียนได้พฒั นาตนเองตามศักยภาพ พฒั นา
อยา่ งรอบด้านเพอื่ ความเป็นมนุษยท์ ่สี มบูรณ์ ทั้งรา่ งกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างใหเ้ ปน็ ผู้มี
ศลี ธรรม จรยิ ธรรม มรี ะเบียบวินัย ปลกู ฝงั และสรา้ งจติ สำนึกของการทำประโยชนเ์ พื่อสังคม สามารถจัดการ
ตนเองได้ และอยู่ร่วมกบั ผู้อนื่ อย่างมีความสุข แบ่งเป็น ๓ ลักษณะ ดงั นี้
๓.๑ กจิ กรรมแนะแนว เปน็ กิจกรรมทสี่ ่งเสริมและพฒั นาผูเ้ รยี นให้รู้จักตนเอง
รรู้ ักษส์ ิง่ แวดล้อม สามารถคิดตดั สนิ ใจ คดิ แกป้ ัญหา กำหนดเปา้ หมาย วางแผนชวี ติ ทั้งด้านการเรยี น และ
อาชพี สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม นอกจากนย้ี งั ช่วยให้ครรู จู้ ักและเขา้ ใจผเู้ รยี น ท้ังยังเปน็ กิจกรรมท่ี
ชว่ ยเหลอื และให้คำปรึกษาแก่ผู้ปกครองในการมสี ่วนร่วมพัฒนาผู้เรยี น
๓.๒ กจิ กรรมนกั เรียน เปน็ กิจกรรมทม่ี ุ่งพฒั นาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผนู้ ำผ้ตู ามที่ดี
ความรบั ผดิ ชอบ การทำงานร่วมกนั การร้จู ักแกป้ ัญหา การตดั สินใจท่ีเหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือ
แบ่งปันกัน เอ้ืออาทร และสมานฉนั ท์ โดยจัดใหส้ อดคลอ้ งกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของ
ผเู้ รียน ใหไ้ ดป้ ฏบิ ัตดิ ว้ ยตนเองในทกุ ข้นั ตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์วางแผน ปฏิบตั ติ ามแผน ประเมนิ
และปรบั ปรงุ การทำงาน เนน้ การทำงานรว่ มกันเปน็ กลุ่มตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวฒุ ภิ าวะของ
ผเู้ รยี น บริบทของสถานศึกษาและท้องถ่ิน กิจกรรมนกั เรียนในหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดหนองติม
พุทธศกั ราช 2561 (ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๓) ตามหลกั สตู รแกนกางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551 ประกอบด้วย
๓.๒.๑ กจิ กรรมลูกเสอื - เนตรนารี
๓.๒.๒ กจิ กรรมชุมนุม
๓.๓ กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ เป็นกจิ กรรมท่สี ง่ เสริมให้ผูเ้ รียน
บำเพญ็ ตนใหเ้ ป็นประโยชนต์ ่อสงั คม ชมุ ชน และท้องถิ่นตามความสนใจในลักษณะอาสาสมคั ร เพ่อื แสดงถึง
ความรับผดิ ชอบ ความดงี าม ความเสียสละตอ่ สงั คม มีจิตสาธารณะ
๔. เวลาเรียน หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั หนองติม พุทธศกั ราช 2561 (ฉบับปรับปรงุ
พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓) ตามหลักสูตรแกนกางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดก้ ำหนดกรอบ
โครงสรา้ งเวลาเรยี นขัน้ ต่ำสำหรบั กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กล่มุ และกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน ซง่ึ ผสู้ อนสามารถ
เพิ่มเติมไดต้ ามความพร้อมและจดุ เน้นของสถานศึกษา โดยสามารถปรบั ใหเ้ หมาะสมตามบริบทของสถานศึกษา
และสภาพของผู้เรียน ดงั น้ี
-ระดับชนั้ ประถมศกึ ษา (ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๑ – ๖) ใหจ้ ดั เวลาเรียนเป็นรายปี โดยมีเวลาเรยี น
วันละ ไม่เกนิ ๖ ช่วั โมง
โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศึกษา
โครงสรา้ งเวลาเรยี น หลักสตู รโรงเรยี นวัดหนองติม พุทธศักราช ๒๕๖๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง
พทุ ธศักราช ๒๕๖๓) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดโครงสรา้ งเวลาเรียน ดังน้ี
กลุ่มสาระการเรียนร้/ู กิจกรรม เวลาเรียน
ระดบั ประถมศกึ ษา
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖
ภาษาไทย
คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
ประวัตศิ าสตร์
สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
ศิลปะ
การงานอาชีพ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
ภาษาตา่ งประเทศ
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
รวมเวลาเรยี น (พ้นื ฐาน)
รายวิชา / กจิ กรรมเพิ่มเติม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร
คอมพิวเตอร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น
แนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ลกู เสอื /เนตรนารี
ชุมนุมส่งเสรมิ การเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน์
๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐
รวมเวลาเรยี นท้งั หมด
(๘๐) (๘๐) (๘๐) (๘๐) (๘๐) (๘๐)
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
(๑๒๐) (๑๒๐) (๑๒๐) (๑๒๐) (๑๒๐) (๑๒๐)
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐
๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
๑,๐๔๐ ชวั่ โมง/ปี ๑,๐๔๐ ชั่วโมง/ปี
หมายเหตุ : ภาษาอังกฤษระดบั ชนั้ ป.๑-๓ เรยี น ๕ ช่ัวโมง ดังนี้
- รายวิชาพน้ื ฐานภาษาต่างประเทศ ๓ ชัว่ โมง
- รายวชิ าเพิม่ เติมภาษาอังกฤษเพอื่ การสื่อสาร ๑ ช่ัวโมง
- กจิ กรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๑ ช่วั โมง
โครงสร้างหลกั สตู ร
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑
รหสั กลุม่ สาระการเรียนรู/้ กจิ กรรม เวลาเรียน(ชม./ป)ี
รายวิชาพื้นฐาน (๘๔๐)
ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐
ว๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐
ส๑๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๘๐
ส๑๑๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๔๐
พ๑๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐
ศ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐
ง๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐
อ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑๒๐
รายวชิ าเพิ่มเติม / กิจกรรมเพ่ิมเตมิ (๘๐)
อ๑๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร ๔๐
ว๑๑๒๐๑ คอมพิวเตอร์ ๔๐
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น (๑๒๐)
๔๐
แนะแนว ๔๐
ลกู เสือ/ยวุ กาชาด ๓๐
ชุมนมุ สง่ เสริมการเรียนรู้ ๑๐
กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๑,๐๔๐
รวมเวลาเรยี นทัง้ สิ้น
*กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชนเ์ วลาเรยี น ๑๐ ชว่ั โมง/ปี จดั กจิ กรรมสัปดาหส์ ดุ ท้ายของเดือน
โครงสรา้ งหลักสตู ร
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๒
รหัส กลุ่มสาระการเรียนร/ู้ กจิ กรรม เวลาเรยี น(ชม./ปี)
รายวชิ าพนื้ ฐาน (๘๔๐)
ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ค๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒๐๐
ว๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๘๐
ส๑๒๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๘๐
ส๑๒๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๔๐
พ๑๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐
ศ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๔๐
ง๑๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐
อ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑๒๐
รายวชิ าเพิ่มเติม / กิจกรรมเพิ่มเติม (๘๐)
อ๑๒๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร ๔๐
ว๑๒๒๐๑ คอมพวิ เตอร์ ๔๐
กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น (๑๒๐)
๔๐
แนะแนว ๔๐
ลกู เสอื /ยวุ กาชาด ๓๐
ชุมนุมส่งเสรมิ การเรียนรู้ ๑๐
กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ ๑,๐๔๐
รวมเวลาเรยี นท้ังสิ้น
*กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชนเ์ วลาเรยี น ๑๐ ช่วั โมง/ปี จดั กิจกรรมสัปดาหส์ ุดท้ายของเดอื น
โครงสร้างหลักสูตร
ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓
รหสั กลุม่ สาระการเรียนรู/้ กิจกรรม เวลาเรยี น(ชม./ปี)
รายวิชาพื้นฐาน (๘๔๐)
ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ค๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒๐๐
ว๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐
ส๑๓๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๘๐
ส๑๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๔๐
พ๑๓๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๔๐
ศ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐
ง๑๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐
อ๑๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑๒๐
รายวชิ าเพิ่มเติม / กจิ กรรมเพิ่มเตมิ (๘๐)
อ๑๓๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร ๔๐
ว๑๓๒๐๑ คอมพิวเตอร์ ๔๐
กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น (๑๒๐)
๔๐
แนะแนว ๔๐
ลกู เสือ/ยวุ กาชาด ๓๐
ชุมนมุ ส่งเสรมิ การเรยี นรู้ ๑๐
กจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๑,๐๔๐
รวมเวลาเรียนทง้ั ส้นิ
*กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์เวลาเรยี น ๑๐ ชั่วโมง/ปี จดั กิจกรรมสัปดาหส์ ุดท้ายของเดอื น
โครงสรา้ งหลักสตู ร
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๔
รหสั กลมุ่ สาระการเรียนรู/้ กิจกรรม เวลาเรยี น(ชม./ปี)
รายวิชาพื้นฐาน (๘๔๐)
ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐
ค๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑๖๐
ว๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๒๐
ส๑๔๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๘๐
ส๑๔๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๔๐
พ๑๔๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๘๐
ศ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐
ง๑๔๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐
อ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๘๐
รายวชิ าเพิ่มเติม / กิจกรรมเพมิ่ เตมิ (๘๐)
อ๑๔๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร ๔๐
ว๑๔๒๐๑ คอมพิวเตอร์ ๔๐
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน (๑๒๐)
๔๐
แนะแนว ๔๐
ลกู เสือ/ยุวกาชาด ๓๐
ชมุ นุมส่งเสรมิ การเรยี นรู้ ๑๐
กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณะประโยชน์ ๑,๐๔๐
รวมเวลาเรียนทง้ั ส้นิ
*กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน์เวลาเรยี น ๑๐ ชั่วโมง/ปี จดั กิจกรรมสัปดาหส์ ุดท้ายของเดอื น
โครงสรา้ งหลักสตู ร
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๕
รหสั กลมุ่ สาระการเรียนรู/้ กิจกรรม เวลาเรยี น(ชม./ปี)
รายวิชาพื้นฐาน (๘๔๐)
ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐
ค๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑๖๐
ว๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๒๐
ส๑๕๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๘๐
ส๑๕๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๔๐
พ๑๕๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๘๐
ศ๑๕๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐
ง๑๕๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐
อ๑๕๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๘๐
รายวชิ าเพิ่มเติม / กิจกรรมเพมิ่ เตมิ (๘๐)
อ๑๕๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร ๔๐
ว๑๕๒๐๑ คอมพิวเตอร์ ๔๐
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน (๑๒๐)
๔๐
แนะแนว ๔๐
ลกู เสือ/ยุวกาชาด ๓๐
ชมุ นุมส่งเสรมิ การเรยี นรู้ ๑๐
กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณะประโยชน์ ๑,๐๔๐
รวมเวลาเรียนทง้ั ส้นิ
*กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน์เวลาเรยี น ๑๐ ชั่วโมง/ปี จดั กิจกรรมสัปดาหส์ ุดท้ายของเดอื น
โครงสรา้ งหลักสตู ร
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๖
รหสั กลุ่มสาระการเรยี นร้/ู กจิ กรรม เวลาเรียน(ชม./ป)ี
รายวชิ าพนื้ ฐาน (๘๔๐)
ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐
ค๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑๖๐
ว๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๑๒๐
ส๑๖๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๘๐
ส๑๖๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐
พ๑๖๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๘๐
ศ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ๘๐
ง๑๖๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐
อ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๘๐
รายวชิ าเพม่ิ เติม / กิจกรรมเพมิ่ เติม (๘๐)
อ๑๖๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร ๔๐
ว๑๖๒๐๑ คอมพวิ เตอร์ ๔๐
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน (๑๒๐)
๔๐
แนะแนว ๔๐
ลูกเสอื /ยวุ กาชาด ๓๐
ชุมนุมส่งเสรมิ การเรียนรู้ ๑๐
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ ๑,๐๔๐
รวมเวลาเรียนทั้งส้นิ
*กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณะประโยชนเ์ วลาเรียน ๑๐ ช่วั โมง/ปี จดั กิจกรรมสัปดาห์สดุ ทา้ ยของเดือน
บทท3ี่
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
สาระที่ ๑ การอา่ น
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรู้และความคดิ เพ่ือนำไปใชต้ ัดสนิ ใจ แก้ปัญหาในการดำเนิน
ชีวติ และมนี ิสัยรกั การอา่ น
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขยี นเรียงความ ย่อความ และเขียนเร่ืองราวในรูปแบบตา่ งๆ
เขียนรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อย่าง มปี ระสิทธิภาพ
สาระที่ ๓ การฟงั การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟงั และดูอยา่ งมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และ ความรู้สึก
ในโอกาสต่างๆ อยา่ งมีวิจารณญาณและสรา้ งสรรค์
สาระที่ ๔ หลกั การใชภ้ าษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา
ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ิของชาติ
สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเหน็ วจิ ารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนำมา
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง
.
กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์
สาระที่ ๑ จำนวนและพชี คณติ
มาตรฐาน ค. ๑.๑ เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวนผลท่ี
เกิดข้ึนจากการดำเนนิ การ สมบตั ิของการดำเนินการ และนำไปใช้
มาตรฐาน ค. ๑.๒ เขา้ ใจและวิเคราะห์แบบรปู ความสมั พนั ธ์ ฟงั กช์ นั ลำดับและอนุกรม และนำไปใช้
มาตรฐาน ค. ๑.๓ ใชน้ พิ จน์ สมการ อสมการ และเมทริกซ์ อธิบายความสมั พันธห์ รือช่วยแก้ปัญหา
ท่กี ำหนดให้
สาระท่ี ๒ การวดั และเรขาคณติ
มาตรฐาน ค. ๒.๑ เขา้ ใจพ้นื ฐานเกยี่ วกับการวดั วัดและคาดคะเนขนาดของสงิ่ ทต่ี ้องการวดั และนำไปใช้
มาตรฐาน ค. ๒.๒ เขา้ ใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัตขิ องรปู เรขาคณิต ความสมั พันธร์ ะหวา่ งรปู เรขาคณิต
และทฤษฎบี ททางเรขาคณติ และนำไปใช้
มาตรฐาน ค. ๒.๓ เขา้ ใจเรขาคณติ วิเคราะห์ และนำไปใช้
มาตรฐาน ค. ๒.๔ เข้าใจเวกเตอร์ การดำเนนิ การของเวกเตอร์ และนำไปใช้
สาระที่ ๓ สถติ แิ ละความนา่ จะเป็น
มาตรฐาน ค. ๓.๑ เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามรู้ทางสถิตใิ นการแก้ปัญหา
มาตรฐาน ค. ๓.๒ เขา้ ใจหลกั การนับเบ้ืองตน้ ความนา่ จะเป็น และนำไปใช้
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
สาระที่ ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๑ เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสิ่งไมม่ ีชวี ิตกบั สิ่งมชี ีวิตและ
ความสมั พันธร์ ะหว่างสงิ่ มีชวี ติ กับสิง่ มชี วี ิตตา่ ง ๆ ในระบบนเิ วศการถา่ ยทอดพลงั งาน
การเปลีย่ นแปลงแทนทใี่ นระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญั หาและผลกระทบ
ท่ีมตี อ่ ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมแนวทางในการอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละ
การแก้ไขปัญหาสง่ิ แวดล้อมรวมท้งั นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๒ เขา้ ใจสมบัติของสิ่งมชี ีวติ หน่วยพน้ื ฐานของสงิ่ มีชีวติ การลำเลยี งสารเขา้ และออกจากเซลล์
ความสมั พันธข์ องโครงสร้างและหนา้ ท่ขี องระบบต่าง ๆของสัตวแ์ ละมนษุ ย์ท่ีทำงานสัมพันธ์
กนั ความสมั พนั ธข์ องโครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะต่าง ๆ ของพชื ท่ีทำงานสัมพันธ์กัน
รวมทั้งนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๓ เขา้ ใจกระบวนการและความสำคัญของการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมสารพันธุกรรม
การเปลย่ี นแปลงทางพันธุกรรมทมี่ ผี ลตอ่ ส่ิงมชี ีวติ ความหลากหลายทางชวี ภาพและ
วิวัฒนาการของสิ่งมีชวี ิตรวมทงั้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ ๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสารองคป์ ระกอบของสสารความสมั พนั ธ์ระหว่างสมบัตขิ องสสารกับ
โครงสร้างและแรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งอนุภาคหลักและธรรมชาตขิ องการเปลีย่ นแปลง
สถานะของสสารการเกดิ สารละลายและการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี
มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวติ ประจำวนั ผลของแรงท่กี ระทำต่อวตั ถุลักษณะการเคลื่อนท่ี
แบบตา่ งๆของวัตถุรวมทั้งนำความร้ไู ปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๒.๓ เขา้ ใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถา่ ยโอนพลงั งานปฏสิ ัมพันธ์
ระหวา่ งสสารและพลงั งาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลนื่ ปรากฏการณ์ที่
เก่ยี วขอ้ งกับเสียง แสง และคลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟ้ารวมทง้ั นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองคป์ ระกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และวิวัฒนาการของเอกภพกาแลก็ ซี
ดาวฤกษ์ และระบบสรุ ิยะ รวมท้งั ปฏิสัมพนั ธ์ภายในระบบสุรยิ ะท่สี ง่ ผลต่อสง่ิ มีชวี ติ
และการประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๒ เขา้ ใจองค์ประกอบและความสมั พนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ยี นแปลงภายในโลก
และบนผิวโลก ธรณพี ิบัติภยั กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภมู ิอากาศโลก
รวมทง้ั ผลต่อสิ่งมชี ีวติ และสิง่ แวดลอ้ ม
สาระที่ ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยเี พ่อื การดำรงชวี ติ ในสงั คมที่มีการเปลีย่ นแปลงอย่าง
รวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางดา้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อืน่ ๆ
เพอ่ื แกป้ ัญหาหรอื พฒั นางานอยา่ งมีความคิดสรา้ งสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชงิ
วศิ วกรรม เลอื กใชเ้ ทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคำนงึ ถึงผลกระทบต่อชีวติ สงั คมและ
ส่ิงแวดล้อม
มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคดิ เชิงคำนวณในการแก้ปญั หาที่พบในชวี ิตจรงิ อยา่ งเป็นข้ันตอนและ
เป็นระบบใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการ
แก้ปญั หาได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ รูเ้ ท่าทัน และมจี ริยธรรม
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
สาระท่ี ๑ ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเขา้ ใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาท่ีตนนับถือและศาสนาอ่นื มีศรทั ธาที่ถกู ตอ้ ง ยดึ มัน่ และปฏิบัติ
ตามหลกั ธรรม เพื่ออยรู่ ว่ มกนั อย่างสนั ตสิ ุข
มาตรฐาน ส ๑.๒ เขา้ ใจ ตระหนักและปฏบิ ตั ิตนเป็นศาสนกิ ชนท่ดี ี และธำรงรกั ษาพระพุทธศาสนาหรือ
ศาสนาทีต่ นนับถือ
สาระที่ ๒ หนา้ ทพี่ ลเมือง วฒั นธรรม และการดำเนินชวี ติ ในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏบิ ัตติ นตามหน้าทขี่ องการเปน็ พลเมืองดี มีคา่ นยิ มทดี่ ีงาม และ
ธำรงรกั ษาประเพณีและวฒั นธรรมไทย ดำรงชวี ติ อย่รู ่วมกันในสังคมไทย และ สงั คม
โลกอยา่ งสนั ตสิ ขุ
มาตรฐาน ส ๒.๒ เขา้ ใจระบบการเมืองการปกครองในสงั คมปจั จบุ ัน ยึดม่นั ศรัทธา และธำรงรักษาไว้
ซงึ่ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส.๓.๑ เขา้ ใจและสามารถบริหารจัดการทรพั ยากรในการผลติ และการบริโภคการใช้
ทรพั ยากรท่มี ีอยจู่ ำกดั ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและคุ้มค่า รวมท้งั เขา้ ใจ
หลักการของเศรษฐกจิ พอเพียง เพื่อการดำรงชีวติ อย่างมดี ุลยภาพ
มาตรฐาน ส.๓.๒ เขา้ ใจระบบ และสถาบนั ทางเศรษฐกิจตา่ ง ๆ ความสัมพนั ธท์ างเศรษฐกจิ
และความจำเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกจิ ในสงั คมโลก
สาระท่ี ๔ ประวตั ิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้
วธิ ีการทางประวตั ศิ าสตรม์ าวิเคราะห์เหตุการณต์ า่ งๆ อย่างเปน็ ระบบ
มาตรฐาน ส ๔.๒ เขา้ ใจพัฒนาการของมนษุ ยชาติจากอดีตจนถึงปจั จุบนั ในด้านความสัมพนั ธ์และการ
มาตรฐาน ส ๔.๓ เปลี่ยนแปลงของเหตกุ ารณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคญั และสามารถ
วิเคราะห์ผลกระทบทีเ่ กดิ ขึ้น
เข้าใจความเปน็ มาของชาติไทย วฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาไทย มีความรัก
ความภูมิใจและธำรงความเปน็ ไทย
สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพสง่ิ ซ่ึงมผี ลตอ่ กนั
ใช้แผนทีแ่ ละเคร่ืองมือทางภมู ศิ าสตรใ์ นการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมลู ตาม
กระบวนการทางภมู ิศาสตร์ ตลอดจนใชภ้ ูมิสารสนเทศอย่างมีประสทิ ธภิ าพ
มาตรฐาน ส ๕.๒ เขา้ ใจปฎิสัมพนั ธ์ระหวา่ งมนษุ ย์กับสิง่ แวดล้อมทางกายภาพที่ก่อใหเ้ กดิ การ
สร้างสรรคว์ ถิ ีการดำเนินชวี ติ มีจิตสำนกึ และมีสว่ นรว่ มในการจัดการทรพั ยากร
และสงิ่ แวดลอ้ ม เพ่ือการพัฒนาทย่ี ง่ั ยืน
กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษา
สาระที่ ๑ การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนุษย์
มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องการเจริญเติบโตและพฒั นาการของมนุษย์
สาระที่ ๒ ชีวติ และครอบครัว
มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเห็นคุณคา่ ตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมที ักษะในการ
ดำเนนิ ชีวติ
สาระที่ ๓ การเคล่อื นไหว การออกกำลังกาย การเลน่ เกม กีฬาไทย และกีฬาสากล
มาตรฐาน พ ๓.๑ เขา้ ใจ มีทักษะในการเคล่อื นไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และ
กฬี า
มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกำลงั กาย การเลน่ เกม และการเล่นกีฬา ปฏบิ ัตเิ ป็นประจำ
อย่างสมำ่ เสมอ มวี นิ ัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มนี ้ำใจนักกีฬา มีจติ
วิญญาณในการแขง่ ขนั และช่นื ชม ในสุนทรยี ภาพของการกฬี า
สาระที่ ๔ การสร้างเสรมิ สุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค
มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสรา้ งเสริมสุขภาพ การดำรงสขุ ภาพ
การป้องกนั โรคและการสรา้ งเสริมสมรรถภาพเพ่ือสุขภาพ
สาระท่ี ๕ ความปลอดภยั ในชวี ิต
มาตรฐาน พ ๕.๑ ปอ้ งกันและหลีกเล่ียงปัจจัยเส่ียง พฤตกิ รรมเส่ียงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การ
ใช้ยาสารเสพตดิ และความรุนแรง
กลุม่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ
สาระที่ ๑ ทศั นศลิ ป์ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์
มาตรฐาน ศ ๑.๑ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ
อยา่ งอิสระ ชน่ื ชม และประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวัน
มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า
งานทัศนศิลป์ท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทยและ
สากล
สาระที่ ๒ ดนตรี เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า
มาตรฐาน ศ ๒.๑ ดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์
ใช้ในชีวติ ประจำวนั
มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธร์ ะหว่างดนตรี ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ
ดนตรที ี่เปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล
สาระท่ี ๓ นาฏศลิ ป์ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์
มาตรฐาน ศ ๓.๑ คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้
ในชีวติ ประจำวัน
มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งนาฏศลิ ป์ ประวัติศาสตรแ์ ละวฒั นธรรม เหน็ คุณคา่ ของ
นาฏศิลปท์ ีเ่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล
กล่มุ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี
สาระที่ ๑ การดำรงชีวติ และครอบครัว
มาตรฐาน ง ๑.๑ เขา้ ใจการทำงาน มีความคดิ สรา้ งสรรค์ มีทกั ษะกระบวนการทำงาน ทกั ษะ
การจัดการ ทักษะกระบวนการแกป้ ัญหา ทกั ษะการทำงานรว่ มกนั และทักษะ
การแสวงหาความรู้ มคี ุณธรรม และลักษณะนิสยั ในการทำงาน มีจติ สำนกึ
ในการใชพ้ ลงั งาน ทรัพยากร และสงิ่ แวดล้อมเพื่อการดำรงชีวิตและครอบครัว
สาระที่ 2 การอาชีพ
มาตรฐาน ง 2.๑ เขา้ ใจ มที ักษะท่ีจำเป็น มปี ระสบการณ์ เหน็ แนวทางในงานอาชีพ ใชเ้ ทคโนโลยี
เพ่ือพัฒนาอาชพี มคี ณุ ธรรม และมีเจตคติทด่ี ตี ่ออาชีพ
กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาตา่ งประเทศ
สาระท่ี ๑ ภาษาเพือ่ การส่ือสาร
มาตรฐาน ต ๑.๑ เขา้ ใจและตคี วามเรื่องที่ฟังและอา่ นจากส่อื ประเภทต่างๆ และแสดงความคดิ เห็น
อยา่ งมีเหตผุ ล
มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทกั ษะการสือ่ สารทางภาษาในการแลกเปลย่ี นข้อมลู ข่าวสาร แสดงความรูส้ กึ และ
ความคดิ เหน็ อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
มาตรฐาน ต ๑.๓ นำเสนอข้อมลู ข่าวสาร ความคดิ รวบยอด และความคดิ เหน็ ในเรอื่ งต่างๆ โดยการพูด
และการเขียน
สาระท่ี ๒ ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต ๒.๑ เข้าใจความสมั พนั ธร์ ะหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา และนำไปใช้ ไดอ้ ย่าง
เหมาะสมกับกาลเทศะ
มาตรฐาน ต ๒.๒ เขา้ ใจความเหมอื นและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา
กับภาษาและวฒั นธรรมไทย และนำมาใชอ้ ยา่ งถูกต้องและเหมาะสม
สาระที่ ๓ ภาษากบั ความสัมพนั ธ์กบั กลุ่มสาระการเรยี นรูอ้ นื่
มาตรฐาน ต ๓.๑ ใช้ภาษาตา่ งประเทศในการเช่อื มโยงความร้กู บั กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และเปน็ พนื้ ฐาน
ในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทศั นข์ องตน
สาระท่ี ๔ ภาษากับความสัมพนั ธ์กบั ชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต ๔.๑ ใช้ภาษาตา่ งประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทง้ั ในสถานศกึ ษา ชุมชน และสงั คม
มาตรฐาน ต ๔.๒ ใชภ้ าษาตา่ งประเทศเป็นเคร่ืองมือพ้นื ฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชพี และ
การแลกเปล่ียนเรยี นรกู้ บั สังคมโลก
กรอบหลักสตู รระดบั ท้องถ่นิ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสระแกว้ เขต 2
ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2561
สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสระแกว้ เขต ๒ กำหนดกรอบหลกั สตู รระดับ
ท้องถ่ินทีส่ ำคญั ไดแ้ ก่ เปา้ หมาย จดุ เน้นการพัฒนาผู้เรียนที่สอดคล้องกับสภาพ ปัญหาความตอ้ งการ
และบริบทของทอ้ งถนิ่ เนอ้ื หา/สาระที่เกี่ยวข้องกับท้องถิน่ หรือชุมชนที่ปรากฏในมาตรฐานการ
เรียนรู้และตัวชวี้ ัดแต่ละกลมุ่ สาระการเรียนรู้ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ซึ่งมกี ารทบทวน ตรวจสอบและปรบั ปรงุ กรอบหลกั สูตรระดบั ท้องถ่ินตาม
มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชี้วดั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภมู ศิ าสตร์
ในกล่มุ สาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) เพื่อให้
สถานศกึ ษานำไปใชเ้ ปน็ แนวทางในการจัดทำหลกั สตู รสถานศกึ ษาได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
รายละเอยี ดมีดงั น้ี
จดุ ม่งุ หมาย
๑. ผูเ้ รียนมีคุณภาพตามกรอบหลักสตู รระดับท้องถนิ่ ของเขตพืน้ ที่
๒. ผูเ้ รียนมที กั ษะด้านการอ่าน เขียน คดิ คำนวณ ทกั ษะการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และ
ทักษะการใช้เทคโนโลยที ่ีไดม้ าตรฐาน
๓. ผเู้ รยี นมีจิตสำนึกในความเปน็ ไทย อนุรกั ษศ์ ิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย มีความรู้
เกยี่ วกบั จงั หวัดสระแกว้ รักและภมู ใิ จในท้องถนิ่ ของตน
๔. ผู้เรียนมีจติ สาธารณะทม่ี ุง่ ทำประโยชนแ์ ละสรา้ งสง่ิ ท่ีดีงามในสงั คม มีทักษะดำเนินชีวิต
ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและอยูร่ ่วมกันในสังคมอยา่ งมคี วามสุข
เป้าหมาย/จดุ เนน้ และคุณลกั ษณะ
๑. ทกั ษะการอ่าน การเขียน และคดิ คำนวณ
๒ . ทักษะการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ
๓. ทักษะทางเทคโนโลยี
๔. รกั ท้องถ่ิน
๕. จติ สาธารณะ
๖. อย่อู ยา่ งพอเพยี ง
สาระการเรียนรู้
สาระการเรยี นรทู้ ้องถนิ่ กำหนดข้นึ จากการวเิ คราะห์มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้ีวัด
แตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรตู้ ามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ว่ามกี ารกำหนดใหเ้ รียนรู้ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั ทอ้ งถน่ิ หรอื ชุมชนหรือไม่ ซ่ึงจากการวเิ คราะห์มีปรากฎใน
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ จำนวน ๗ กลุม่ สาระการเรียนรู้ หลงั จากนั้นได้กำหนดเนื้อหาสาระท้องถน่ิ ท่ี
เกีย่ วข้องในแตล่ ะตวั ชว้ี ดั ทัง้ น้ีให้สถานศกึ ษาพจิ ารณามาตรฐานและสาระการเรียนร้ทู ่ีเก่ียวข้องกบั
ท้องถิ่นไปใช้ในการจดั ทำหลักสูตรสถานศกึ ษาตามความเหมาะสม สว่ นกลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ซึง่ ไม่ปรากฎเนื้อหา/สาระทีเ่ กีย่ วข้องกับท้องถน่ิ โดยตรงจงึ ข้นึ อยู่กบั สถานศึกษาทจ่ี ะ
นำเน้อื หาสาระการเรียนรู้ทอ้ งถน่ิ ไปใช้จัดการเรยี นรู้ในลักษณะบูรณาการ สาระการเรียนรูท้ อ้ งถน่ิ
ทีป่ รากฏเฉพาะในมาตรฐานการเรียนรู้แต่ละกลุม่ สาระการเรียนรู้ มดี งั น้ี
๑. สาระและมาตรฐานการเรียนรทู้ ี่ปรากฏสาระการเรยี นรทู้ ้องถ่ิน
๑.๑ กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย
สาระที่ ๑ การอา่ น
มาตรฐาน ท๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความร้แู ละความคิดเพ่ือนำไปใชต้ ัดสินใจ แกป้ ัญหาใน
การดำเนนิ ชวี ติ และมนี สิ ัยรักการอ่าน
สาระท่ี ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขยี นเรยี งความ ย่อความ และเขยี นเร่ืองราว
ในรปู แบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นคว้า
อย่างมีประสิทธภิ าพ
สาระที่ ๔ หลักการใชภ้ าษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและ
พลังของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัติของชาติ
สาระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเหน็
คุณคา่ และนำมาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ จรงิ
๑.๒ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
สาระท่ี ๑ วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๑ เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสมั พันธ์ระหว่างสง่ิ ไม่มีชีวติ กับ
สิ่งมชี ีวิต และความสัมพันธ์ระหวา่ งส่ิงมีชวี ติ กับสง่ิ มชี ีวิตต่าง ๆ ในระบบนเิ วศ
การถา่ ยทอดพลังงาน การเปลีย่ นแปลงแทนทีใ่ นระบบนิเวศ ความหมายของ
ประชากร ปญั หาและผลกระทบท่มี ีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม
แนวทางในการอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดลอ้ ม
รวมทงั้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๒ เขา้ ใจสมบัติของสงิ่ มีชวี ิต หนว่ ยพื้นฐานของสิง่ มีชีวติ การลำเลยี งสารเขา้ และ
ออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสรา้ ง และหนา้ ที่ของระบบตา่ ง ๆ ของสัตว์
และมนษุ ย์ท่ีทำงานสมั พนั ธ์กัน ความสัมพันธข์ องโครงสรา้ ง และหนา้ ทีข่ อง
อวยั วะต่าง ๆ ของพชื ทีท่ ำงานสัมพนั ธก์ ัน รวมทั้งนำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์
23
สาระที่ ๒ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๓ เขา้ ใจความหมายของพลังงาน การเปลยี่ นแปลงและการถ่ายโอนพลงั งาน
ปฏสิ ัมพันธร์ ะหว่างสสารและพลงั งาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของ
คล่นื ปรากฏการณ์ทเี่ กี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลนื่ แม่เหล็กไฟฟา้ รวมท้ังนำ
ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์สาระที่ ๓ วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ
สาระท่ี ๓ วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองคป์ ระกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวฒั นาการของเอกภพ
กาแลก็ ซี ดาวฤกษ์ และระบบสุรยิ ะ รวมท้ังปฏิสมั พันธภ์ ายในระบบสรุ ิยะทส่ี ง่ ผล
ต่อส่ิงมชี ีวติ และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสมั พันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลยี่ นแปลง
ภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพบิ ตั ิภยั กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟา้ อากาศ
และภูมอิ ากาศโลก รวมทั้งผลต่อสิ่งมชี ีวิตและสง่ิ แวดลอ้ ม
๑.๓ กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม
มาตรฐาน ส๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคญั ศาสดา หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา
หรอื ศาสนาทต่ี นนับถือและศาสนาอนื่ มศี รทั ธาท่ถี ูกตอ้ ง ยดึ ม่นั และ
ปฏิบัติตามหลกั ธรรมเพอ่ื อยู่ร่วมกนั อยา่ งสนั ติสุข
สาระที่ ๒ หน้าท่พี ลเมือง วฒั นธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม
มาตรฐาน ส๒.๒ เขา้ ใจระบบการเมืองการปกครองในสงั คมปัจจบุ นั ยึดมั่น ศรัทธาและ
ธำรงรักษาไว้ซ่ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์
ทรงเปน็ ประมุข
สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจดั การทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค
การใชท้ รัพยากรทมี่ อี ยู่จำกัดได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและคมุ้ คา่ รวมทั้ง
เขา้ ใจหลกั การของเศรษฐกจิ พอเพียงเพื่อการดำรงชวี ิตอย่างมดี ลุ ยภาพ
มาตรฐาน ส ๓.๒ เขา้ ใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสมั พันธท์ างเศรษฐกิจ
และความจำเปน็ ของการรว่ มมอื กันทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลก
สาระท่ี ๔ ประวตั ศิ าสตร์
มาตรฐาน ส๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์
สามารถใชว้ ิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์มาวิเคราะหเ์ หตุการณต์ ่าง ๆ อยา่ ง
เป็นระบบ
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดตี จนถึงปัจจุบนั ในดา้ น
ความสัมพนั ธ์และการเปลีย่ นแปลงของเหตุการณ์อยา่ งต่อเนอื่ ง
ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวเิ คราะหผ์ ลกระทบท่ีเกดิ ขนึ้
สาระท่ี ๕ ภมู ศิ าสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เขา้ ใจลกั ษณะทางกายภาพของโลกและความสมั พันธ์ของสรรพส่งิ ซงึ่ มผี ลต่อกัน
ใชแ้ ผนทแี่ ละเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ในการคน้ หา วเิ คราะห์ และสรปุ ข้อมูล
ตามกระบวนการทางภมู ิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภมู ิสารสนเทศอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
มาตรฐาน ส ๕.๒ เขา้ ใจปฏสิ ัมพันธ์ระหวา่ งมนุษย์กับส่ิงแวดลอ้ มทางกายภาพท่กี อ่ ให้เกิดการ
สร้างสรรค์วิถกี ารดำเนนิ ชวี ิต มีจติ สำนึกและมสี ว่ นรว่ มในการจดั การทรัพยากร
และสิง่ แวดลอ้ มเพื่อการพฒั นาทย่ี ง่ั ยืน
๑.๔ กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา
สาระท่ี ๒ ชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน พ ๒.๑ เขา้ ใจและเหน็ คณุ ค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดำเนิน
ชวี ติ
สาระท่ี ๓ การเคล่อื นไหว การออกกำลังกาย การเล่นเกม กฬี าไทย และกีฬาสากล
มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกำลงั กาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบตั เิ ป็นประจำอยา่ ง
สม่ำเสมอ มวี ินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มนี ้ำใจนักกีฬา มจี ติ วญิ ญาณในการ
แข่งขนั และชน่ื ชมในสนุ ทรียภาพของการกฬี า
สาระท่ี ๔ การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค
มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคณุ ค่าและมีทกั ษะในการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ การดำรงสขุ ภาพ การป้องกนั
โรคและการสร้างเสรมิ สมรรถภาพเพ่ือสขุ ภาพ
สาระที่ ๕ ความปลอดภัยในชีวติ
มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลกี เลย่ี งปัจจยั เส่ียง พฤตกิ รรมเสีย่ งตอ่ สุขภาพ อบุ ตั เิ หตุ
การใช้ยาสารเสพตดิ และความรุนแรง
๑.๕ กลุ่มสาระการเรยี นร้ศู ลิ ปะ
สาระที่ ๑ ทศั นศลิ ป์
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรคง์ านทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสรา้ งสรรค์
วเิ คราะห์ วิพากษว์ จิ ารณค์ ุณคา่ งานทศั นศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สกึ
ความคดิ ต่องานศิลปะอยา่ งอสิ ระชืน่ ชม และประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวนั
มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสมั พนั ธ์ระหว่างทัศนศลิ ป์ ประวตั ศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณคา่
งานทัศนศลิ ป์ทเ่ี ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปัญญาท้องถนิ่ ภูมิปัญญาไทย และ
สากล
สาระที่ ๒ ดนตรี
มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหวา่ งดนตรี ประวัติศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่าของ
ดนตรีท่เี ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ ภูมิปญั ญาไทยและสากล
สาระท่ี ๓ นาฏศิลป์
มาตรฐาน ศ ๓.๑ เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ป์อย่างสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์วจิ ารณ์
คณุ ค่านาฏศลิ ป์ ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคิดอยา่ งอสิ ระ ชื่นชม และประยุกต์
ใช้ในชีวติ ประจำวัน
มาตรฐาน ศ ๓.๒ เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหว่างนาฏศลิ ป์ ประวตั ิศาสตร์และวัฒนธรรมเห็นคณุ ค่า
ของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ ภูมิปัญญาไทยและ
สากล
๑.๖ กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี
สาระที่ ๑ การดำรงชีวิตและครอบครวั
มาตรฐาน ง ๑.๑ เข้าใจการทำงาน มีความคดิ สร้างสรรค์ มที ักษะกระบวนการทำงาน ทักษะ
การจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานรว่ มกัน และทกั ษะ
การแสวงหาความรู้ มคี ุณธรรม และลกั ษณะนิสยั ในการทำงาน มีจติ สำนกึ
ในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดลอ้ ม เพือ่ การดำรงชวี ติ และครอบครัว
สาระท่ี 2 การอาชีพ
มาตรฐาน ง 2.๑ เข้าใจ มที ักษะที่จำเป็นมปี ระสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใชเ้ ทคโนโลยี
เพ่ือพฒั นาอาชพี มีคุณธรรม และมีเจตคติทด่ี ตี ่ออาชีพ
๑.๗ กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาต่างประเทศ
สาระที่ ๑ ภาษาเพอ่ื การสอ่ื สาร
มาตรฐาน ต๑.๑ เข้าใจและตคี วามเร่อื งทฟ่ี ังและอา่ นจากสือ่ ประเภทตา่ งๆ และแสดง
ความคดิ เหน็ อยา่ งมเี หตผุ ล
มาตรฐาน ต๑.๒ มที กั ษะการสือ่ สารทางภาษาในการแลกเปล่ียนข้อมลู ขา่ วสาร แสดง
ความร้สู กึ และความคดิ เหน็ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
สาระท่ี ๔ ภาษากบั ความสัมพันธ์กบั ชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต๔.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ท้ังในสถานศกึ ษา ชุมชน และสงั คม
มาตรฐาน ต๔.๒ ใชภ้ าษาตา่ งประเทศเปน็ เคร่ืองมอื พื้นฐานในการศึกษาตอ่ การประกอบ
อาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรยี นรกู้ ับสงั คมโลก
๒. รายละเอยี ดสาระการเรียนรูท้ ้องถิน่
ผลการวิเคราะห์แต่ละกล่มุ สาระการเรียนรตู้ ามมาตรฐานการเรยี นรูข้ องหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ รวมทัง้ มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชีว้ ดั กลุม่
สาระการเรียนรู้(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน
พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ดงั กลา่ วข้างต้น หลักสตู รโรงเรยี นจงึ กำหนดสาระการเรียนรทู้ ้องถิ่นแต่ละกล่มุ
สาระการเรยี นรู้ (รายละเอยี ดสาระการเรยี นรู้ท้องถ่นิ ปรากฏในคมู่ อื การจดั การเรียนรู)้ สรปุ รายชน้ั ปี
ในระดับประถมศึกษา ดังน้ี
สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถนิ่
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
สาระที่ ๑ การอา่ น
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคิดเพอื่ นำไปใชต้ ัดสินใจ แกป้ ญั หาใน
การดำเนนิ ชีวติ และมนี ิสัยรักการอา่ น
ชั้น สาระการเรยี นรูท้ ้องถน่ิ
ป.๓ การอ่านจบั ใจความจากส่อื ตา่ งๆ ระดับหมู่บา้ น ตำบล อำเภอและจังหวดั สระแกว้
ป.๕ การอ่านงานเขยี นเชิงอธิบาย คำสง่ั ข้อแนะนำ และปฏิบัตติ ามคู่มือและเอกสารของโรงเรยี นที่
เกี่ยวขอ้ งกบั นักเรยี นทุกประเภท
ป.๖ การอา่ นงานเขยี นเชงิ อธิบาย คำสงั่ ขอ้ แนะนำ และปฏบิ ตั ติ าม ตวั อย่าง เชน่ ข้อตกลงในการ
อยู่
ร่วมกันในโรงเรยี นและการใช้สถานทส่ี าธารณะในชุมชนและท้องถน่ิ เชน่
สาระท่ี ๓ การฟัง การดู และการพดู
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอยา่ งมีวิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคดิ และ
ความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมวี จิ ารณญาณและสร้างสรรค์
ชัน้ สาระการเรยี นรู้ท้องถ่นิ
ป.3 การพดู สื่อสารในชีวิตประจำวัน ได้แก่ การแนะนำสถานที่ต่างๆในโรงเรียน และการแนะนำ
สถานท่ใี นชมุ ชน
สาระท่ี ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและ
พลงั ของภาษา ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัติของชาติ
ช้นั สาระการเรียนรทู้ ้องถน่ิ
ป.๒,4,5,6 การใช้ภาษาถิน่ เช่น ภาษาญ้อ ภาษาอสี าน ภาษาเขมร ภาษาเวียดนาม ภาษาจนี
ฯลฯ
สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคดิ เหน็ วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็
คณุ คา่ และนำมาประยุกตใ์ ช้ในชีวติ จรงิ
ช้ัน สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
ป.2 บทร้องเล่นในท้องถิ่น
ป.3 นทิ านหรอื เรื่องราวในท้องถิน่ ไดแ้ ก่
๑. นทิ านในท้องถนิ่
๒. ประวตั ิ/ตำนาน/ทีม่ าของสถานท่ีแหล่งประวตั ศิ าสตร์ในจงั หวัดสระแก้ว
๓. เนอื้ หาเก่ยี วกบั แหล่งท่องเท่ียว/สถานท่สี ำคญั ในจังหวดั สระแก้ว เช่น
๔. เร่ืองราวเกี่ยวกบั อาชีพสำคัญในจงั หวัดสระแกว้ ทงั้ ระดับอำเภอ / ตำบล หรอื
หมบู่ ้าน
๕. เรื่องราวอืน่ ๆทเ่ี กี่ยวข้องกับทอ้ งถ่ินในจังหวัดสระแกว้ ท้ังระดบั อำเภอ /ตำบล /
หมบู่ า้ น
๖. ประวัตบิ คุ คลสำคญั
ป.4 ,5 ,6 ๑. นิทานพ้ืนบา้ น
๒. เพลงพน้ื บา้ น เช่น กันตรึม หมอลำ
(*อาจใชเ้ พลงพนื้ บ้านของภาคกลางแทน)
สาระการเรยี นร้ทู ้องถน่ิ
กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์
สาระที่ ๑ วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสมั พนั ธ์ระหว่าง
ส่งิ ไม่มชี วี ติ กับสิง่ มชี วี ติ และความสมั พนั ธร์ ะหว่างส่ิงมชี ีวิตกับส่งิ มชี วี ติ ต่าง ๆ ในระบบนิเวศ
การถา่ ยทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญั หาและ
ผลกระทบท่ีมตี อ่ ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม แนวทางในการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
การแก้ไขปัญหาสง่ิ แวดลอ้ ม รวมทง้ั นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
ชน้ั สาระการเรยี นรูท้ ้องถ่ิน
ป.1 1. พืชและสัตว์ท่อี าศัยอย่บู รเิ วณต่างๆ ในท้องถ่นิ ของตน
2. สภาพแวดล้อมในท้องถิ่นภายในจังหวัดสระแกว้
ป.5 สภาพแวดล้อมในทอ้ งถนิ่ ภายในจังหวดั สระแกว้ เช่น อทุ ยานแห่งชาตปิ างสดี า
/สถานีเพาะพันธุ์สตั วป์ า่ ชอ่ งกล่ำบน /โรงเรียนกาสรกสวิ ทิ ย์ /ถ้ำเพชรโพธิท์ อง/ถ้ำนำ้ พระศวิ ะ
สาระที่ ๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน
ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งสสารและพลังงาน พลังงานในชีวติ ประจำวนั ธรรมชาติของคลืน่ ปรากฏการณ์ที่
เกีย่ วขอ้ งกับเสียง แสง และคลนื่ แม่เหล็กไฟฟ้ารวมทงั้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ชัน้ สาระการเรียนร้ทู อ้ งถิ่น
ป.3 ตัวอย่างการเปลี่ยนพลงั งานหนง่ึ ไปเป็นอีกพลังงานหนึ่งจากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ในท้องถิ่น
ของตน เช่น โรงงานไฟฟ้าพลังงานแสงอาทติ ย์ /โรงไฟฟ้าพลังน้ำช่องหกลำ่ บน /กังหันวิด
น้ำจากพลงั งานลม, พลงั งานความร้อนจากแก็สชวี ภาพทว่ี ทิ ยาลยั โพธวิ ิชชาลยั อ.วัฒนานคร
จ.สระแก้ว
สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองคป์ ระกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และววิ ัฒนาการของ
เอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทง้ั ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะทส่ี ง่ ผลต่อสงิ่ มีชีวิต
และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยอี วกาศ
ชัน้ สาระการเรียนรู้ท้องถ่นิ
ป.1 1.ระบบดวงดาวจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ในท้องถ่ินและชุมชนของตน
2.ระบบดวงดาวจำลองท่ีศนู ย์วิทยาศาสตรส์ ระแกว้ อ. เมืองสระแก้ว จ.สระแกว้
ป.3 • ปรากฏการณข์ องดวงอาทติ ย์และประโยชน์ของดวงอาทติ ยท์ ี่มตี ่อสิ่งมีชีวิตจากหลกั ฐานเชงิ
ประจักษ์ในท้องถนิ่ ของตนและที่จำลองแบบและจัดแสดง ณ ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์สระแกว้
อ. เมอื งสระแก้ว จ.สระแก้ว
ป.4 1. แบบรปู เสน้ ทางการข้นึ และตกของดวงจนั ทร์ โดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจักษใ์ นท้องถ่นิ ของ
ตน และทจ่ี ำลองแบบและจัดแสดง ณ ศนู ยว์ ิทยาศาสตรส์ ระแก้ว อ. เมืองสระแกว้ จ.
สระแกว้
2.การเปลย่ี นแปลงรปู รา่ งปรากฏของดวงจันทรแ์ ละการพยากรณ์รูปร่างปรากฏของดวง
จันทร์ท่ีจำลองแบบและจัดแสดง ณ ศูนยว์ ิทยาศาสตร์สระแก้ว อ. เมอื งสระแกว้ จ.สระแก้ว
3.องค์ประกอบของระบบสรุ ยิ ะ และเปรียบเทยี บคาบการโคจรของดาวเคราะห์ตา่ ง ๆ จาก
แบบจำลองท่ีจดั แสดง ณ ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรส์ ระแกว้ อ. เมืองสระแกว้ จ.สระแก้ว
ชน้ั สาระการเรยี นร้ทู ้องถ่นิ
ป.5 1.ความแตกตา่ งของดาวเคราะหแ์ ละดาวฤกษ์จากแบบจำลองท่ีจัดแสดง ณ ศนู ย์
วิทยาศาสตรส์ ระแก้ว อ. เมืองสระแก้ว จ.สระแกว้
2. การใชแ้ ผนทด่ี าวระบตุ ำแหนง่ และเส้นทางการขนึ้ และตกของกลุม่ ดาวฤกษบ์ นท้องฟ้า
และแบบรูปเสน้ ทางการขึน้ และตกของกลุ่มดาวฤกษบ์ นท้องฟ้าในรอบปีจากแบบจำลองและ
จัดแสดง ณ ศนู ย์วิทยาศาสตร์สระแก้ว อ. เมืองสระแกว้ จ.สระแกว้
ป.6 1.การเกดิ และเปรยี บเทียบปรากฏการณส์ ุริยปุ ราคาและจันทรปุ ราคาจากแบบจำลองและจัด
แสดง ณ ศนู ย์วิทยาศาสตรส์ ระแกว้ อ. เมืองสระแก้ว จ.สระแก้ว
2.พัฒนาการของเทคโนโลยอี วกาศ และตัวอย่างการนำเทคโนโลยอี วกาศมาใชป้ ระโยชนใ์ น
ชีวติ ประจำวันจากแบบจำลองและการจัดแสดง ณ ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรส์ ระแก้ว อ. เมอื ง
สระแกว้ จ.สระแกว้
สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองคป์ ระกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงภายในโลกและบนผิวโลก ธรณพี ิบตั ภิ ัย กระบวนการเปลยี่ นแปลงลมฟ้าอากาศและ
ภูมิอากาศโลก รวมทงั้ ผลตอ่ สิ่งมีชวี ติ และส่ิงแวดล้อม
ชน้ั สาระการเรียนร้ทู ้องถิน่
ป.1 หินท่อี ยูใ่ นธรรมชาตใิ นท้องถ่ินของตน
ป.6 1.ลกั ษณะของหนิ อัคนี หินตะกอน และหินแปรที่อยู่ในบริเวณจังหวดั สระแกว้
2.ลักษณะของหนิ และแร่ทอ่ี ยู่ในบรเิ วณจงั หวัดสระแก้ว
3.ซากดึกดำบรรพ์ทห่ี ลากหลายท่อี ยใู่ นบรเิ วณจงั หวดั สระแกว้
4.ลกั ษณะและผลกระทบของน้ำท่วม การกัดเซาะชายฝ่ังดินถล่มจากแหล่งน้ำต่างๆ ใน
ทอ้ งถิน่ จังหวัดสระแก้ว
สาระการเรียนร้ทู อ้ งถ่นิ
กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
สาระที่ ๑ ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเขา้ ใจประวตั ิ ความสำคญั ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรอื
ศาสนาท่ีตนนับถือและศาสนาอืน่ มีศรัทธาท่ีถูกต้อง ยึดม่ันและปฏบิ ตั ิตาม
หลักธรรมเพื่ออย่รู ่วมกนั อยา่ งสันตสิ ุข
ชน้ั สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถนิ่
ป.๒ ตวั อยา่ งการกระทำความดีของตนเองและบคุ คลในครอบครัวและในโรงเรียน
ป.๔ การกระทำความดขี องตนเองและบุคคลในครอบครวั ในโรงเรยี น และชมุ ชนท่ปี ฏบิ ตั ิตนตาม
หลกั ธรรมศาสนาได้อยา่ งนา่ ยกยอ่ ง
สาระท่ี ๒ หน้าท่ีพลเมือง วฒั นธรรม และการดำเนนิ ชวี ิตในสงั คม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏบิ ัตติ นตามหนา้ ทขี่ องการเป็นพลเมืองดี มคี ่านิยมท่ีดีงามและธำรง
รักษาประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย ดำรงชวี ติ อยรู่ ่วมกันในสังคมไทยและสงั คมโลก
อย่างสนั ตสิ ขุ
ช้นั สาระการเรียนรู้ท้องถิน่
ป.๔ ๑. การเข้าร่วมกิจกรรมประชาธิปไตยของชุมชน เชน่ การรณรงคก์ ารเลอื กตั้ง
๒. แนวทางการปฏบิ ัตติ นเป็นสมาชกิ ทด่ี ีของชุมชน เชน่ อนุรักษส์ ง่ิ แวดล้อม สาธารณสมบัติ
โบราณวัตถแุ ละโบราณสถาน และการพฒั นาชุมชนของตนเอง
ป.๕ 1.ตวั อย่างภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ ในชมุ ชนในภาคตะวันออกของประเทศไทย
2.การอนรุ ักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนในภาคตะวนั ออกของประเทศไทย
สาระท่ี ๒ หนา้ ที่พลเมือง วฒั นธรรม และการดำเนนิ ชวี ิตในสงั คม
มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปจั จบุ นั ยดึ มนั่ ศรัทธาและธำรง
รักษาไว้ซ่ึงการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็
ประมขุ
ชั้น สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถนิ่
ป.๑ ๑. โครงสร้างของครอบครวั และความสมั พนั ธ์ของบทบาท หนา้ ท่ขี องสมาชกิ ในครอบครัวของ
ตนเอง
๒. โครงสร้างของโรงเรยี น และความสัมพนั ธ์ของบทบาท หน้าทขี่ องสมาชกิ ในโรงเรยี นของ
ตนเอง
๑. ความหมายและความแตกตา่ งของอำนาจตามบทบาท สิทธิ หนา้ ทใ่ี นครอบครวั และโรงเรยี น
ของตนเอง
๒. การใช้อำนาจในครอบครวั ตามบทบาท สิทธหิ น้าทีข่ องตนเอง
๑. กจิ กรรมตามกระบวนการประชาธิปไตยในครอบครวั ของตนเอง เช่น การแบ่งหนา้ ทค่ี วาม
รบั ผดิ ชอบในครอบครวั การรบั ฟงั และแสดงความคิดเหน็
๒. กิจกรรมตามกระบวนการประชาธปิ ไตยในโรงเรียน ของตนเอง เชน่ เลือกหัวหนา้ ห้อง
ประธานชุมนุม ประธานนักเรยี น
ป.๒ 1. ความสัมพนั ธ์ของตนเอง และสมาชิกในครอบครวั กับชมุ ชนของ
2. ผ้มู บี ทบาท อำนาจในการตดั สนิ ใจในโรงเรยี น และชุมชนของตนเอง
ป.๓ 1. บทบาทหนา้ ทข่ี องสมาชกิ ในชุมชน ของตนเอง ในการมีส่วนรว่ มในกจิ กรรม
ต่าง ๆ ตามกระบวนการประชาธปิ ไตย
2.การออกเสยี งโดยตรงและการเลอื กตัวแทนออกเสียงในชั้นเรียนและชมุ ชนของตนเอง
3.การตัดสินใจของบคุ คลและกลุม่ ทม่ี ผี ลต่อการเปลีย่ นแปลงในช้ันเรียน โรงเรียน และชมุ ชน
ของตนเอง
ป.๕ ๑. โครงสรา้ งการปกครองในท้องถิ่นของจงั หวดั สระแก้ว
๒. อำนาจหนา้ ที่และความสำคัญของการปกครองส่วนท้องถิ่นในจงั หวัดสระแก้ว
3. บทบาทหน้าที่ และวธิ ีการเขา้ ดำรงตำแหนง่ ของผบู้ ริหารทอ้ งถิ่นในจงั หวัดสระแก้ว
4. องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินในจังหวดั สระแกว้ เช่น อบต. อบจ. เทศบาลกบั บรกิ าร
สาธารณประโยชน์ในชมุ ชนของตนเอง
ป.6 1.บทบาท หน้าท่ี ขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ในจังหวัดสระแกว้
2.กิจกรรมต่างๆ เพื่อส่งเสรมิ ประชาธปิ ไตยในท้องถ่นิ ของตนเองระดับจงั หวดั อำเภอ ตำบล
หมู่บา้ น
สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๑ เขา้ ใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบรโิ ภค การใช้
ทรพั ยากร ทมี่ อี ยจู่ ำกดั ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพและคุ้มคา่ รวมท้ังเข้าใจหลกั การ
ของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือการดำรงชีวติ อยา่ งมีดลุ ยภาพ
ช้ัน สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถน่ิ
ป.๒ ๑. ทรัพยากรท่ีนำมาใช้ในการผลิตสนิ คา้ และบรกิ ารท่ใี ช้ในครอบครวั และโรงเรียน
๒. ผลของการใชท้ รพั ยากรในทอ้ งถ่ินในการผลติ ทหี่ ลากหลายทีม่ ตี ่อราคา คุณคา่ และประโยชน์
ของสินค้าและบริการ รวมทั้งสิ่งแวดล้อม
3.การประกอบอาชีพของครอบครวั
4.การแสวงหารายได้ท่สี ุจรติ และเหมาะสมของครอบครัว
5. รายได้และรายจ่ายในภาพรวมของครอบครัว
6. รายได้และรายจ่ายของตนเอง
7. วิธกี ารทำบญั ชรี ายรบั รายจา่ ยของตนเองอย่างง่าย ๆ
8.รายการของรายรบั ทเี่ ปน็ รายไดท้ เ่ี หมาะสม และไมเ่ หมาะสม
9. รายการของรายจ่ายทเี่ หมาะสมและไมเ่ หมาะสม
ป.3 ๑. ใช้บญั ชีรบั จ่ายวเิ คราะหก์ ารใช้จา่ ยทจ่ี ำเป็นและเหมาะสมของตนเอง
๒. วางแผนการใชจ้ ่ายเงินของตนเอง
๓. วางแผนการแสวงหารายได้ที่สจุ ริตและเหมาะสม
๔. วางแผนการนำเงินทเี่ หลือจ่ายมาใชอ้ ยา่ งเหมาะสมของตนเอง
ป.๕ 1.ตวั อยา่ งการผลติ สินคา้ และบรกิ ารท่ีมีอยู่ในท้องถ่นิ หรอื แหลง่ ผลิตสินค้าและบรกิ ารในชุมชน
2. การประหยัดพลังงานและคา่ ใช้จ่ายในบา้ น โรงเรียน
3. การวางแผนการผลติ สินค้าและบริการเพอื่ ลดความสญู เสียทุกประเภท
4. การใชภ้ มู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๒ เขา้ ใจระบบและสถาบนั ทางเศรษฐกจิ ตา่ ง ๆ ความสมั พนั ธ์ทางเศรษฐกจิ และ
ความจำเปน็ ของการรว่ มมอื กันทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลก
ชนั้ สาระการเรียนร้ทู อ้ งถนิ่
ป.๖ ตวั อย่างการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจภายในท้องถน่ิ ระดบั จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บา้ น
สาระที่ ๔ ประวตั ิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์ สามารถ
ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวเิ คราะห์เหตุการณต์ ่าง ๆ อย่างเปน็ ระบบ
ช้ัน สาระการเรยี นรู้ท้องถ่นิ
ป.๑ ๑. วธิ กี ารสบื ค้นประวตั คิ วามเป็นมาของตนเองและครอบครัวอย่างง่าย ๆ
๒. การบอกเลา่ ประวัติความเปน็ มาของตนเองและครอบครวั อยา่ งส้นั ๆ
ป.๒ การสืบคน้ เหตุการณ์ทเ่ี กิดข้ึนกบั ตนเองและครอบครวั โดยใชห้ ลกั ฐานที่เกยี่ วขอ้ งชว่ งเวลาและ
เสน้ เวลา (Time Line) ลำดับเหตุการณ์ ท่เี กิดขึน้
ป.๓ การสบื คน้ เหตกุ ารณส์ ำคญั ของโรงเรยี นและชุมชนโดยใชห้ ลกั ฐาน และแหล่งข้อมูล
ที่เก่ยี วข้อง และใช้เส้นเวลา (Time Line)ลำดบั เหตุการณ์ ท่ีเกดิ ขึ้นในโรงเรียนและชมุ ชน
ป.๔ ๑. ตวั อยา่ งหลักฐานทใี่ ช้ในการศกึ ษาความเปน็ มาของจังหวดั
๒. การจำแนกหลักฐานของทอ้ งถ่ินตนเปน็ หลักฐานชั้นตน้ และหลักฐานชนั้ รอง
ป.๕ ๑. วิธกี ารสืบคน้ ความเปน็ มาของทอ้ งถ่นิ
๒. หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรท์ ่มี อี ยใู่ นจังหวัดสระแก้วท่ีเกิดขน้ึ ตามช่วงเวลาตา่ งๆ
๓. การนำเสนอความเป็นมาของท้องถน่ิ ในระดับหมูบ่ า้ น ตำบล อำเภอหรอื จังหวัดสระแก้วโดย
อา้ งองิ หลักฐานที่หลากหลายด้วยวธิ กี ารตา่ งๆ
4.. การรวบรวมขอ้ มลู โดยการตง้ั คำถามทางประวัติศาสตร์เกย่ี วกับความเปน็ มาของท้องถ่ินใน
จงั หวัดสระแก้วเกย่ี วกบั เหตกุ ารณใ์ ดเกิดขึน้ แต่ละช่วงเวลา สาเหตุ ผลกระทบ แหล่งข้อมูล
และหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์
5. การใช้ขอ้ มูลที่ไดต้ อบคำถามเกย่ี วกับความเป็นมาของชุมชนในจังหวัดสระแก้ว
6. ตวั อยา่ งข้อมลู จากหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรใ์ นจังหวัดสระแกว้ ทแี่ สดงความจริงกับ
ขอ้ เทจ็ จรงิ
7. การสรปุ ประเด็นสำคัญเกี่ยวกับขอ้ มูลในจังหวดั สระแก้ว
ป.๖ การศึกษาเร่ืองราวในจงั หวดั สระแก้วโดยวิธีการทางประวตั ิศาสตร์ เชน่ ความเป็นมาของภมู ิ
นาม ของสถานท่ีในทอ้ งถน่ิ ได้แกป่ ระวัติอำเภอ หมบู า้ น โบราณสถาน วัด สถานท่สี ำคญั
ฯลฯ
สาระที่ ๔ ประวัตศิ าสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาตจิ ากอดตี จนถึงปัจจุบัน ในดา้ นความสัมพันธ์และ
การเปล่ียนแปลงของเหตุการณอ์ ยา่ งต่อเน่ือง ตระหนักถงึ ความสำคญั และ
สามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดข้นึ
ชน้ั สาระการเรยี นรทู้ ้องถน่ิ
ป.๑ ๑. ความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม สิ่งของเครื่องใช้ หรอื การดำเนินชีวิตของ
อดีตกับปัจจุบันท่ีเป็นรูปธรรมและใกล้ตัวในชุมชนของนกั เรียน
๒. สาเหตแุ ละผลของการเปลย่ี นแปลงของส่ิงตา่ งๆ ตามกาลเวลา
3. เหตุการณส์ ำคญั ทเ่ี กดิ ขึ้นในครอบครัว
ป.๒ ๑. วิธกี ารสืบคน้ ขอ้ มลู ในท้องถิ่นของตนอยา่ งงา่ ยๆ เช่น การสอบถามพ่อแม่ ผรู้ ู้
๒. วิถีชีวิตของคนในชุมชนจากอดีตถงึ ปัจจุบนั
๓. สาเหตุของการเปล่ยี นแปลงวิถชี วี ติ ของคนในชมุ ชน
4. การเปลี่ยนแปลงของวิถชี ีวิตของคนในชุมชนทางด้านตา่ ง ๆ
5. ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงทม่ี ตี ่อวิถชี ีวิตของคนในชุมชน
ป.๓ 1.ปจั จัยการตงั้ ถนิ่ ฐานของชมุ ชนซงึ่ ขน้ึ อยู่กบั ปัจจัยทางภูมิศาสตร์และปจั จัยทางสงั คม
2.ปจั จยั ที่มีอทิ ธิพลต่อพัฒนาการของชมุ ชนท้ังปัจจยั ทางภูมิศาสตร์ และปจั จยั ทางสังคม
3.ขนบธรรมเนยี ม ประเพณีและวฒั นธรรมชมุ ชนของตนท่ีเกดิ จากปจั จยั ทางภูมศิ าสตรแ์ ละ
ปจั จัยทางสังคม
4.ขนบธรรมเนยี มประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชนอ่ืน ๆ ที่มคี วามเหมือนและความต่างกบั
ชมุ ชนของตนเอง
ป.๔ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีพบในจงั หวัดสระแกว้ ที่แสดงพฒั นาการของมนษุ ยชาตใิ น
ดนิ แดนไทยโดยสังเขป
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาไทย มีความรกั ความภูมิใจ
และธำรงความเปน็ ไทย
ชั้น สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถิ่น
ป.๑ ๑. ตัวอย่างของแหล่งวัฒนธรรมในชุมชนทใ่ี กลต้ วั นกั เรียน
๒. คุณคา่ และความสำคัญของแหลง่ วฒั นธรรมในชุมชนของตนในดา้ นตา่ งๆ
3. ตัวอย่างส่งิ ทีเ่ ป็นความภาคภมู ิใจในจงั หวดั สระแกว้ เช่น ส่ิงของ สถานที่ ภาษาถิ่น
ประเพณี และวฒั นธรรม ฯลฯ ท่เี ปน็ ส่งิ ทใ่ี กลต้ ัวนักเรยี นและเป็นรปู ธรรมชัดเจน
4. คณุ ค่าและประโยชนข์ องส่ิงต่างๆเหล่านนั้
ป.๒ 1.บคุ คลในจงั หวัดสระแกว้ ท่ีทำคณุ ประโยชนต์ ่อการสรา้ งสรรค์วัฒนธรรมและความมน่ั คง
ของท้องถิน่ และประเทศชาติ ในอดตี ที่ควรนำเป็นแบบอย่าง โดยนำเสนอผลงานของบคุ คล
ในท้องถ่นิ ทีน่ า่ ภาคภูมใิ จ
2.ภมู ปิ ญั ญาของคนไทยในจงั หวดั สระแกว้ ดา้ นอาชีพ ดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม
ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเชื่อ ดา้ นนิทานท้องถิ่นในจังหวดั สระแก้ว ฯลฯ
สาระท่ี 5 ภมู ศิ าสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพสงิ่ ซ่งึ มผี ลต่อกัน ใช้
แผนที่และเคร่อื งมือทางภูมศิ าสตรใ์ นการค้นหา วเิ คราะห์ และสรุปขอ้ มลู ตามกระบวนการทาง
ภมู ิศาสตร์ ตลอดจนใชภ้ มู ิสารสนเทศอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
ชน้ั สาระการเรียนรู้ทอ้ งถนิ่
ป.1 1. สงิ่ แวดล้อมที่เกิดข้ึนเอง ตามธรรมชาตแิ ละที่มนษุ ย์สร้างขนึ้ ทบ่ี า้ นและทีโ่ รงเรยี นของตน
2. ความสัมพันธข์ องตำแหน่ง ระยะ ทิศ ของส่ิงต่างๆ รอบตวั ในชุมชนของตน
3. ทศิ หลกั (เหนอื ตะวันออก ใต้ ตะวนั ตก) และทีต่ ้ังของส่ิงตา่ งๆ รอบตวั ในชุมชนของตน
4. แผนผังแสดงตำแหน่งสิ่งต่างๆในห้องเรยี นของตน
5. การเปลีย่ นแปลงของสภาพอากาศ ในรอบวันในท้องถิน่ ของตน
ป.2 1. ส่ิงแวดล้อมธรรมชาติกบั ท่ีมนุษยส์ ร้างขึน้ ซึ่งปรากฏระหวา่ งบ้านกับโรงเรียนของตน
2.ตำแหน่งและลกั ษณะทางกายภาพของสง่ิ ตา่ งๆ ในทอ้ งถิน่ ของตนท่ีปรากฏในแผนท่ี แผนผงั รูปถา่ ย
และลูกโลก
3. ความสมั พันธร์ ะหวา่ งโลก ดวงอาทติ ย์และดวงจันทรท์ ่ีทำใหเ้ กิดปรากฏการณ์ในท้องถิ่น
ของตน
ป.3 1. ขอ้ มลู ทางภูมิศาสตร์ในชุมชนของตน
2. แผนที่ แผนผงั และรปู ถา่ ยในชมุ ชนของตน
3. ความสัมพันธ์ของตำแหนง่ ระยะ ทิศทางในชมุ ชนของตน
4. ตำแหน่งท่ีตั้งของสถานท่สี ำคญั ในบรเิ วณโรงเรยี นและชุมชนของตน
ป.4 1. ลกั ษณะทางกายภาพของจังหวดั สระแกว้ เชน่ สภาพพ้นื ที่ ลักษณะดิน แหลง่ น้ำ ป่าไม้
ฯลฯ
2. แหล่งทรพั ยากรและสถานท่ีสำคญั ในจงั หวดั สระแกว้
3. ลักษณะทางกายภาพในจงั หวัดสระแกว้ ท่ีส่งผลต่อแหล่งทรัพยากรและสถานทสี่ ำคัญ
ป.5 1. ลักษณะทางกายภาพในภาคตะวนั ออก (ประกอบดว้ ย 7 จงั หวดั ไดแ้ ก่ สระแก้ว
ปราจีนบรุ ี จนั ทบุรี ตราด ระยอง ฉะเชงิ เทรา ชลบรุ ี) ในดา้ นสภาพภมู ปิ ระเทศ
สภาพภมู อิ ากาศ แหล่งทรัพยากรทางธรรมชาติ
2. ลกั ษณะทางกายภาพทีส่ ง่ ผลต่อแหลง่ ทรัพยากรและสถานที่สำคัญในภาคตะวันออก เชน่
สภาพภูมิประเทศ สภาพภมู อิ ากาศ แหลง่ ทรพั ยากรทางธรรมชาติ ฯลฯ
มาตรฐาน ส ๕.๒ เขา้ ใจปฏสิ ัมพนั ธ์ระหวา่ งมนุษย์กับสิง่ แวดล้อมทางกายภาพท่กี ่อให้เกิดการ
สร้างสรรค์วถิ กี ารดำเนนิ ชีวิต มจี ิตสำนกึ และมสี ว่ นรว่ มในการจัดการทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมเพอ่ื
การพัฒนาที่ยั่งยนื
ชนั้ สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถน่ิ
ป.1 การปฏบิ ตั ิตนในการรักษาส่งิ แวดล้อมในบ้านและห้องเรยี นของตน
ป.2 1. ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสิง่ แวดลอ้ มทม่ี ีต่อโรงเรยี นของตน
2. การรกั ษาและฟน้ื ฟูสิ่งแวดล้อมในโรงเรยี นของตน
ป.3 1. สงิ่ แวดล้อมของชมุ ชนของตนในอดีตกับปัจจุบนั ได้แก่ สง่ิ แวดล้อมทางธรรมชาติ และ
สิง่ แวดลอ้ มทม่ี นษุ ย์สรา้ งข้ึน
2.การใชป้ ระโยชนจ์ ากส่งิ แวดล้อมในการดำเนินชีวติ ของคนในชมุ ชนของตน
3. การประกอบอาชีพของคนในชุมชนของตนท่ีเปน็ ผลมาจากสงิ่ แวดล้อมทางธรรมชาตใิ น
ชุมชน
4. ภูมปิ ระเทศ และภูมิอากาศในชมุ ชนของตนทมี่ ีผลต่อการดำเนนิ ชีวิตของคนในชมุ ชน
5. ผลกระทบของการเปล่ียนแปลงสิ่งแวดลอ้ มทีม่ ตี ่อชมุ ชนของตน
6. การจัดการสง่ิ แวดลอ้ มในชุมชนของตน
ป.4 1.สงิ่ แวดลอ้ มทางกายภาพทีส่ ่งผลต่อการดำเนินชีวิตของคนในจังหวัดสระแกว้ ได้แก่
สง่ิ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมที่มนุษยส์ ร้างข้นึ
2.การเปลี่ยนแปลงส่ิงแวดล้อมในจังหวัดสระแก้วและผลทเ่ี กิดจากการ
3.การจดั การส่ิงแวดลอ้ มในจังหวัดสระแก้ว
ป.5 1.ส่งิ แวดล้อมทางกายภาพท่ีมีอิทธิพลตอ่ ลักษณะการตั้งถ่ินฐานและการยา้ ยถ่นิ ของ
ประชากรในภาคตะวนั ออก
2. อทิ ธิพลของสิง่ แวดลอ้ มทางธรรมชาตทิ ี่กอ่ ให้เกดิ วิถีการดำเนนิ ชีวติ ของประชากรในภาค
ตะวนั ออก
3. ผลจากการรกั ษาและการทำลายสงิ่ แวดล้อมในภาคตะวันออก
4. แนวทางการจัดการส่งิ แวดลอ้ มในภาคตะวนั ออก
สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิน่
กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา
สาระที่ ๒ ชวี ติ และครอบครัว
มาตรฐาน พ ๒.๑ เขา้ ใจและเหน็ คุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศกึ ษา และมีทักษะในการดำเนิน
ชวี ติ
ช้ัน สาระการเรยี นรู้ท้องถิ่น
ป. ๑ 1. สมาชิกในครอบครัวของตนเอง
2. ความรักความผูกพันของสมาชกิ ในครอบครัวของตนเอง
3.ส่ิงทชี่ ่ืนชอบและความภาคภมู ใิ จในตนเอง (จุดเด่น จุดด้อยของตนเอง)
ป. ๒ บทบาทหนา้ ท่ีของสมาชกิ ในครอบครวั ของตนเอง พ่อ แม่ พี่นอ้ ง และ ญาติ
ป. ๓ 1.ความสำคญั ของครอบครัว ความแตกต่างของครอบครวั ที่มีตอ่ ตนเองในด้านเศรษฐกจิ
สงั คม การศึกษา
2.วิธีการสร้างสัมพันธภาพในครอบครวั และกลมุ่ เพื่อนของตนเอง
ป.๔ 1.คณุ ลกั ษณะของความเป็นเพือ่ นและสมาชกิ ท่ดี ขี องครอบครัวของตนเอง
ป. ๕ 1.ลักษณะของครอบครวั ทีอ่ บอนุ่ ตามวัฒนธรรมไทย (ครอบครัวขยาย การนบั ถือญาติ)
ของครอบครวั ตนเอง
2.พฤตกิ รรมทีพ่ ึงประสงค์และไม่พงึ ประสงค์ในการแกไ้ ขปัญหาความขดั แย้งในครอบครัว
ของตนเอง
สาระท่ี ๓ การเคลอ่ื นไหว การออกกำลังกาย การเลน่ เกม กีฬาไทย และกฬี าสากล
มาตรฐาน พ ๓.๒ รกั การออกกำลงั กาย การเลน่ เกม และการเล่นกีฬา ปฏิบตั เิ ปน็ ประจำอยา่ ง
สมำ่ เสมอ มวี นิ ัย เคารพสิทธิ กฎ กตกิ า มีนำ้ ใจนักกฬี า มีจติ วิญญาณในการแข่งขนั
และชน่ื ชม ในสุนทรียภาพของการกีฬา
ชัน้ สาระการเรยี นรู้ท้องถิ่น
ป.๓ 1.แนวทางการเลือกออกกำลังกายการละเลน่ พ้นื เมอื งในท้องถ่นิ ของตนทเี่ หมาะสมกับ
จดุ เดน่ จุดดอ้ ยและข้อจำกดั ของแต่ละบุคคล
2.การละเลน่ พื้นเมืองและกฎ กติกาและข้อตกลงในการละเล่นพ้นื เมืองในท้องถิน่ ของตน
ป. ๕ การออกกำลงั กาย การละเลน่ พนื้ เมืองในท้องถิน่ ของตน
สาระที่ ๔ การสรา้ งเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการปอ้ งกนั โรค
มาตรฐาน พ ๔.๑ เหน็ คุณคา่ และมที กั ษะในการสร้างเสรมิ สุขภาพ การดำรงสุขภาพ การป้องกัน
โรค และการสรา้ งเสริมสมรรถภาพเพ่ือสขุ ภาพ
ชน้ั สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
ป.๑ ลักษณะอาการเจ็บป่วยที่เกดิ ขึ้นกับตนเอง
2.วธิ ีปฏบิ ัติตนเมื่อมีอาการเจ็บปว่ ยทีเ่ กิดขึ้นกบั ตนเอง
สาระท่ี ๕ ความปลอดภัยในชวี ติ
มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลกี เล่ียงปจั จยั เสยี่ ง พฤติกรรมเส่ยี งต่อสุขภาพ อบุ ัติเหตุ การใชย้ า
สารเสพติด และความรุนแรง
ชัน้ สาระการเรียนร้ทู ้องถิน่
ป. ๑ ๑. ส่งิ ท่ที ำใหเ้ กดิ อนั ตรายภายในบ้านและโรงเรยี นของตนเอง
๒. การปอ้ งกันอนั ตรายภายในบา้ นและโรงเรียนของตนเอง
3. การขอความชว่ ยเหลือเมื่อเกดิ เหตรุ า้ ยทบ่ี ้านและโรงเรียนของตนเอง
ป. ๓ วธิ ีปฏิบัตติ นเพ่ือความปลอดภัยจากอบุ ตั เิ หตุในบ้าน โรงเรยี นและการเดินทางของตนเอง
สาระการเรียนรู้ท้องถ่นิ
กลุ่มสาระการเรียนร้ศู ลิ ปะ
สาระท่ี ๑ ทัศนศิลป์
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศลิ ปต์ ามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์
วิจารณค์ ุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ ต่องานศลิ ปะอย่างอิสระ
ชื่นชม และประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั
ช้ัน สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิน่
ป.๑ 1. รปู รา่ ง ลกั ษณะ และขนาดของสงิ่ ต่างๆ รอบตัวในธรรมชาติและสง่ิ ที่มนษุ ยส์ รา้ งขนึ้ ใน
ชมุ ชน / ท้องถ่ินของตนเอง
2. ความรู้สึกท่ีมตี ่อธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมรอบตัว เช่น ร้สู กึ ประทับใจกบั ความงามของ
บรเิ วณรอบอาคารเรียน หรือรู้สกึ ถึงความไมเ่ ปน็ ระเบยี บของสภาพภายในห้องเรยี นของ
ตนเอง
3. การทดลองสีด้วยการใชส้ ีน้ำ สีโปสเตอร์ สเี ทยี นและสจี ากธรรมชาติท่ีหาได้ในท้องถนิ่ ของ
ตนเอง
ป.๒ การวาดภาพถา่ ยทอดเรอื่ งราวเกี่ยวกบั ครอบครวั ของตนเองและเพ่อื นบา้ นในชมุ ชน
ป.๓ 1. การวาดภาพระบายสี สง่ิ ของรอบตัวในชุมชนดว้ ยสีเทยี น ดินสอสี และสโี ปสเตอร์
2. รปู รา่ ง รปู ทรง ในงานออกแบบสง่ิ ต่าง ๆ ที่มีในบา้ นและโรงเรียนของตน
สาระท่ี ๑ ทศั นศิลป์
มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสมั พันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวตั ศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคณุ คา่
งานทศั นศลิ ป์ทีเ่ ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ภูมปิ ญั ญาไทย และ
สากล
ชนั้ สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิ่น
ป.๒ งานทัศนศลิ ป์ในท้องถนิ่ ของตนเอง
ป.๓ 1. ท่มี าของงานทศั นศิลปใ์ นท้องถนิ่ ของตนเอง
2. วสั ดุ อุปกรณ์ และวธิ ีการสร้างงานทัศนศิลป์ในท้องถ่นิ ของตนเอง
ป.๔ งานทัศนศลิ ป์ในวฒั นธรรมทอ้ งถิน่ ของตนเอง
ป.๕ งานทศั นศิลป์ทส่ี ะท้อนวัฒนธรรมและภูมิปญั ญาในท้องถ่นิ ของตนเอง
ป.๖ อิทธพิ ลของศาสนาทมี่ ีตอ่ งานทัศนศลิ ป์ในทอ้ งถิน่ ของตนเอง
สาระท่ี ๒ ดนตรี
มาตรฐาน ศ ๒.๒ เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ระหวา่ งดนตรี ประวตั ิศาสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คุณคา่
ของดนตรที เี่ ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน ภมู ิปญั ญาไทยและ
สากล
ชน้ั สาระการเรยี นรู้ท้องถิ่น
ป.๑ 1. ทม่ี าของบทเพลงในท้องถ่ินของตน
2. ความน่าสนใจของบทเพลงในทอ้ งถ่นิ ของตน
ป.๒ 1. บทเพลงในท้องถนิ่ ของตน
(ลกั ษณะของเสยี งร้อง และลกั ษณะของเสียงเครือ่ งดนตรที ี่ใช้ในบทเพลง)
2. กจิ กรรมดนตรีในโอกาสพเิ ศษในท้องถนิ่ ของตน
(ดนตรกี ับโอกาสสำคญั ในโรงเรยี นและดนตรกี ับวนั สำคัญของชาติ)
ป.๓ เอกลกั ษณ์ของดนตรีในท้องถิ่นของตน(ลกั ษณะเสยี งรอ้ งภาษาและเนื้อหาในบทร้อง เคร่อื ง
ดนตรีและวงดนตรีในท้องถิน่ )
ดนตรีกบั การดำเนินชวี ิตในท้องถิ่นของตน (ดนตรใี นชีวิตประจำวันและดนตรใี นวาระสำคญั )
ป.๔ ความสมั พันธ์ของวิถีชวี ิตกับผลงานดนตรี (เน้ือหาเรื่องราวในบทเพลงกับวิถีชวี ิตของคนใน
ท้องถ่นิ
โอกาสในการบรรเลงดนตรีของคนในท้องถนิ่ )
ป.๕ บทเพลงในงานประเพณีในท้องถน่ิ
ป.6 อิทธิพลของวัฒนธรรมที่มีต่อดนตรใี นท้องถ่ินของตน
สาระท่ี ๓ นาฏศิลป์
มาตรฐาน ศ ๓.๑ เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ป์อย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วิจารณ์
คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สกึ ความคิดอย่างอสิ ระ ช่ืนชม และประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวัน
ชน้ั สาระการเรียนรู้ทอ้ งถนิ่
ป.๖ การประดิษฐ์ท่าทางประกอบเพลงพน้ื เมือง
หรือท้องถ่ินของตนเองเน้นลีลาหรืออารมณ์
สาระท่ี ๓ นาฏศลิ ป์
มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งนาฏศลิ ป์ ประวัตศิ าสตร์และวฒั นธรรม เห็นคณุ ค่า
ของนาฏศิลป์ทีเ่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ินภมู ิปัญญาไทยและสากล
ช้ัน สาระการเรียนรูท้ อ้ งถ่ิน
ป.๒ การละเล่นพ้นื บ้านในท้องถ่นิ ของตนเอง
ป. ๓ การแสดงนาฏศลิ ป์พน้ื บา้ นหรือท้องถน่ิ ของตน
ป.๔ การชมการแสดงของท้องถ่นิ ของตน
สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิ่น
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สาระที่ ๑ การดำรงชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน ง ๑.๑ เขา้ ใจการทำงาน มีความคดิ สร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะ
การจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปญั หา ทกั ษะการทำงานรว่ มกัน และทักษะ การแสวงหาความรู้
มคี ณุ ธรรม และลักษณะนสิ ยั ในการทำงาน มีจิตสำนึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิง่ แวดลอ้ ม
เพอ่ื การดำรงชีวิตและครอบครัว
ช้ัน สาระการเรยี นร้ทู ้องถ่นิ
ป. ๒1. 1.การทำงานเพ่ือชว่ ยเหลอื ตนเองและครอบครวั ของตนเอง
2.การใช้วัสดุ อปุ กรณ์ และเครื่องมือ เชน่ การประดษิ ฐข์ องใชส้ ว่ นตัว
ป. ๓ 1. การทำงานเพื่อช่วยเหลอื ตนเอง ครอบครัว และสว่ นรวม
2. การใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ และเครอื่ งมือในการทำงาน
ป. ๔ 1. การทำงานต่างๆใหบ้ รรลเุ ป้าหมายของตนเอง
2. มารยาทของตนเองในการปฏบิ ัติงาน กจิ วตั รประจำวนั ฯลฯ
ป. ๕ 1. ข้ันตอนการทำงานของตนเองท่ีบ้าน
2. การจัดการในการทำงานของตนเอง
3. มารยาทของตนเองในการปฏิบัตงิ าน กจิ วตั รประจำวนั ฯลฯ
ป. ๖ 1. การทำงานและการปรบั ปรงุ การทำงาน ในบา้ น ครอบครัว
2. มารยาทในครอบครวั
สาระท่ี 2 การอาชพี
มาตรฐาน ง 2.๑ เข้าใจ มีทักษะท่จี ำเปน็ มปี ระสบการณ์ เหน็ แนวทางในงานอาชีพ ใช้
เทคโนโลยเี พื่อพัฒนาอาชีพ มคี ณุ ธรรม และมเี จตคติที่ดีต่ออาชีพ
ชนั้ สาระการเรยี นรทู้ ้องถิ่น
ป. ๕ 1. อาชพี ต่างๆ ในชมุ ชน ดา้ นค้าขาย เกษตรกรรม รับจ้างรับราชการ พนักงาน
ของรฐั
อาชีพอิสระ
2. ความแตกตา่ งของอาชีพในชมุ ชนดา้ นรายได้ ลกั ษณะงาน ประเภทกจิ การ
3. ขอ้ ควรคำนึงเกี่ยวกบั อาชพี ในชมุ ชน เชน่ การทำงานไมเ่ ปน็ เวลา การยอมรับนับถอื จาก
สังคม มีความเสยี่ งตอ่ ชีวติ สูง ฯลฯ
สาระการเรียนรทู้ ้องถิ่น
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ
สาระที่ ๑ ภาษาเพอื่ การส่ือสาร
มาตรฐาน ต ๑.๑ เขา้ ใจและตีความเร่ืองท่ีฟงั และอ่านจากสอื่ ประเภทต่างๆ และแสดงความ
คิดเหน็ อยา่ งมีเหตผุ ล
ชั้น สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถ่ิน
ป.๑ คำ กลุม่ คำ และความหมาย เก่ียวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรยี น ส่ิงแวดลอ้ มใกลต้ วั
อาหาร เครื่องดื่ม และนนั ทนาการ
ป.๒ คำ กลุ่มคำ ประโยคเด่ียว(simple sentence) และความหมาย เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว
โรงเรียน สิง่ แวดล้อมใกลต้ วั อาหาร เคร่อื งดื่ม และนนั ทนาการ
ป.๓ กลุม่ คำ ประโยคเดยี่ ว สญั ลกั ษณ์ และความหมายเกย่ี วกบั ตนเอง ครอบครวั โรงเรยี น
ส่งิ แวดล้อมใกลต้ ัว อาหาร เครอื่ งดืม่ และนันทนาการ
ป.๔ กลุ่มคำ ประโยคเดย่ี ว สญั ลกั ษณ์ เครอ่ื งหมาย และความหมาย เกยี่ วกับตนเอง ครอบครัว
โรงเรียน ส่ิงแวดล้อม อาหาร เคร่ืองด่ืม เวลาวา่ งและนันทนาการ สุขภาพและสวัสดิการ
การซอ้ื -ขาย และลมฟ้าอากาศ
ป.๕ กลุ่มคำ ประโยคผสม ขอ้ ความ สัญลกั ษณ์ เครื่องหมาย และความหมายเกี่ยวกับตนเอง
ครอบครวั โรงเรยี น ส่งิ แวดลอ้ ม อาหาร เครื่องด่ืม เวลาวา่ งและนันทนาการ สขุ ภาพและ
สวัสดิการ การซอื้ -ขาย และลมฟ้าอากาศ
ป.๖ ประโยค หรือข้อความ สญั ลักษณ์ เครื่องหมาย และความหมายเก่ยี วกบั ตนเอง ครอบครวั
โรงเรยี น สง่ิ แวดลอ้ ม อาหาร เครอ่ื งด่ืม เวลาวา่ งและนันทนาการ สขุ ภาพและสวัสดิการ
การซ้ือ-ขาย และลมฟา้ อากาศ
สาระที่ ๑ ภาษาเพือ่ การสอื่ สาร
มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปล่ยี นขอ้ มูลข่าวสาร แสดงความรู้สึก
และความคดิ เห็นอยา่ งมีประสิทธภิ าพ
ชั้น สาระการเรียนรูท้ อ้ งถ่นิ
ป.๒ คำศัพท์ สำนวน และประโยคทีใ่ ชข้ อและให้ข้อมูลเก่ยี วกับตนเอง
ป.๓ คำศัพท์ สำนวน และประโยคทีใ่ ช้ขอและให้ข้อมลู เก่ียวกับตนเอง และเพ่ือน
ป.๔ คำศัพท์ สำนวน และประโยคท่ีใชข้ อและใหข้ ้อมูลเกีย่ วกบั ตนเอง สิ่งใกล้ตัว เพอื่ น และ
ครอบครัวของตนเองตามความเหมาะสม
ป.๕ คำศัพท์ สำนวน และประโยคท่ีใชข้ อและใหข้ ้อมลู เก่ยี วกบั ตนเอง เพ่ือน ครอบครวั และ
เรือ่ งใกล้ตวั ของตนเองตามความเหมาะสม
ป.๖ คำศัพท์ สำนวน และประโยคที่ใชข้ อและใหข้ ้อมลู เก่ียวกบั ตนเอง เพื่อน ครอบครวั และ
เร่อื งใกล้ตวั ของตนเองตามความเหมาะสม
สาระที่ ๑ ภาษาเพื่อการสื่อสาร
มาตรฐาน ต ๑.๓ นำเสนอข้อมลู ขา่ วสาร ความคดิ รวบยอด และความคิดเหน็ ในเร่ืองต่างๆ โดยการ
พดู และการเขียน
ช้ัน สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถ่ิน
ป.๑ คำและประโยคที่ใชใ้ นการพดู ให้ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ตนเอง บุคคลใกลต้ ัว และ
เร่อื งใกล้ตัวของนักเรยี น
ป.๒ คำและประโยคทใ่ี ช้ในการพดู ให้ข้อมลู เก่ยี วกบั ตนเอง บคุ คลใกลต้ วั และ
เร่อื งใกล้ตัวของนักเรยี น
ป.๓ คำและประโยคที่ใช้ในการพดู ใหข้ ้อมูลเกย่ี วกับตนเอง บคุ คลใกลต้ วั และ
เรื่องใกล้ตวั ของนักเรียน
ป.๔ 1.ประโยคและข้อความทีใ่ ชใ้ นการพูดให้ข้อมูลเก่ียวกับตนเอง บุคคล สตั ว์ และเร่ืองใกล้ตัว
ของนักเรียน
2.คำ กลุ่มคำท่ีมีความหมายสมั พนั ธ์ของส่งิ ตา่ งๆ ใกล้ตัวของนกั เรียน
3.ประโยคท่ใี ชใ้ นการแสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั เรอื่ งตา่ งๆ ใกลต้ วั ของนกั เรยี น
ป.๕ 1.ประโยคและข้อความที่ใช้ในการใหข้ ้อมลู เก่ียวกบั บคุ คล สัตว์ สถานท่ี กิจกรรมต่างๆ
เรื่องต่างๆ ทใ่ี กล้ตัวของนักเรียนหรือในชุมชนและท้องถ่นิ
2.ประโยคทใี่ ชใ้ นการพูดแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกับกจิ กรรมหรือเรือ่ งต่างๆ ใกล้ตวั ของ
นกั เรียนหรือในชุมชนและท้องถิ่น
ป.๖ 1.ประโยคและข้อความทใ่ี ชใ้ นการใหข้ ้อมลู เกย่ี วกับตนเอง กิจวัตรประจำวัน เพือ่ น
สิ่งแวดลอ้ มใกล้ตวั ของนักเรียนหรอื ในชุมชนและท้องถ่นิ
2.ประโยคทใ่ี ชใ้ นการพูดแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับเร่ืองตา่ งๆ ใกล้ตัวของนักเรยี นหรือใน
ชุมชนและทอ้ งถ่ิน
สาระท่ี ๔ ภาษากบั ความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต ๔.๑ ใชภ้ าษาตา่ งประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทงั้ ในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม
ชัน้ สาระการเรียนร้ทู อ้ งถิน่
ป.๑ - 4 การใช้ภาษาในการฟัง/พดู ในสถานการณ์ง่ายๆ ทเ่ี กิดขึน้ ในหอ้ งเรยี น
ป.๕ การใช้ภาษาในการฟงั พดู และอ่าน/เขยี นในสถานการณ์ต่างๆ ทเ่ี กดิ ข้ึนในห้องเรยี น
ป.๖ การใชภ้ าษาส่อื สารในสถานการณ์ต่างๆที่เกิดขึน้ ในห้องเรียนและโรงเรยี นของตน
สาระที่ ๔ ภาษากับความสัมพันธ์กบั ชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต ๔.๒ ใชภ้ าษาตา่ งประเทศเป็นเคร่อื งมอื พืน้ ฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชพี
และการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้กับสังคมโลก
ชั้น สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
ป.๑ -3 การใช้ภาษาตา่ งประเทศในการรวบรวมคำศพั ท์ที่เกยี่ วข้องใกลต้ ัว จากสือ่ ตา่ งๆ
ป.๔-6 การใช้ภาษาตา่ งประเทศในการสบื คน้ และการรวบรวมคำศัพท์ทีเ่ กย่ี วขอ้ งใกล้ตวั จากสื่อ
และแหลง่ การเรยี นรู้ตา่ งๆ
รายวิชาพ้นื ฐาน
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
ระดับประถมศึกษา
รายวิชาพ้นื ฐาน จำนวน 200 ช่วั โมง
ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน 200 ชั่วโมง
ท ๑2๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน 200 ชัว่ โมง
ท ๑3๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน 160 ชว่ั โมง
ท ๑4๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน 160 ชั่วโมง
ท ๑5๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน 160 ชัว่ โมง
ท ๑6๑๐๑ ภาษาไทย
ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ศึกษาการอ่านออกเสยี งคำ คำคลอ้ งจอง ข้อความ เร่ืองส้ันๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ
ไดถ้ ูกตอ้ งคลอ่ งแคล่ว เขา้ ใจความหมายของคำและข้อความทอี่ า่ น สรุปความรู้ขอ้ คิดจากเรื่องทีอ่ ่าน
อา่ นหนงั สืออยา่ งสม่ำเสมอ และ มีมารยาทในการอ่าน
มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
และมมี ารยาทในการเขียน
ฟังคำแนะนำ คำส่ังง่ายๆ และปฏิบัติตาม ตอบคำถามและเล่าเรื่องท่ีฟังและดู ท้ังที่เป็น
ความรู้และความบันเทิง พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สกึ จากเรือ่ งที่ฟังและดู พูดสื่อสารได้ตาม
วตั ถปุ ระสงคแ์ ละมีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคำและบอก
ความหมายของคำ เรียบเรียงคำเป็นประโยคงา่ ย ๆและ ต่อคำคลอ้ งจองง่ายๆ
บอกข้อคิดท่ีได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก
ทอ่ งจำบทอาขยานตามทีก่ ำหนด และบทรอ้ ยกรองตามความสนใจ
โดยใช้กระบวนการศึกษาท่ีเน้นการปฏบิ ตั จิ รงิ ท้งั การอ่าน เขยี นการฟงั พดู หลกั ภาษา
วรรณคดีและวรรณกรรม เพื่อนำไปใชใ้ นการสอ่ื สาร การเรยี นรู้ การเสรมิ สร้างความเข้าใจอนั ดตี อ่ กัน
การสรา้ งความเปน็ เอกภาพของชาติและความจรรโลงใจ เพ่อื เกดิ ประโยชนแ์ ก่ตนเอง ชุมชน และ
ประเทศชาติ
รหสั ตัวชี้วดั
ท๑.๑ ป๑/๑,ป๑/๒,ป ๑/๓, ป๑/๔,ป ๑/๕, ป๑/๖, ป๑/๗, ป๑/๘,
ท๒.๑ ป๑/๑,ป๑/๒, ป๑/๓,
ท๓.๑ ป๑/๑,ป๑/๒, ป๑/๓,ป ๑/๔,ป ๑/๕
ท๔.๑ ป๑/๑,ป๑/๒, ป๑/๓, ป๑/๔,
ท๕.๑ ป๑/๑,ป๑/๒,
รวมท้ังหมด ๒๒ ตัวช้ีวัด
ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ เวลา ๒๐๐ ชว่ั โมง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ศกึ ษาการอ่านออกเสยี งคำ คำคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองงา่ ยๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง
อธิบายความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน ต้ังคำถามและตอบคำถามเกย่ี วกับเรอ่ื งทอ่ี ่านระบุ
ใจความสำคญั และรายละเอียดจากเร่ืองทอี่ ่าน แสดงความคิดเห็นและคาดคะเนเหตุการณจ์ ากเร่ืองที่
อา่ น อา่ นหนังสือตามความสนใจอยา่ งสมำ่ เสมอและนำเสนอเรือ่ งทอ่ี ่านได้ อา่ นข้อเขยี นเชิงอธิบาย
และปฏิบัติตามคำสั่งหรือข้อแนะนำ มีมารยาทในการอา่ น
คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนเร่ืองสน้ั ๆ เกี่ยวกับประสบการณ์ ตามจินตนาการและมี
มารยาทในการเขยี น
ฟงั คำแนะนำ คำสั่งที่ซับซอ้ นและปฏบิ ตั ติ าม เล่าเรื่องทฟี่ ังและดูทั้งทีเ่ ปน็ ความรู้และความ
บันเทิงบอกสาระสำคญั ของเร่ืองท่ีฟังและดตู ง้ั คำถามและตอบคำถามเกี่ยวกบั เรอ่ื งที่ฟังและดู พดู
แสดงความคิดเหน็ และความรู้สกึ จากเรอื่ งท่ีฟังและดู พดู สื่อสารไดช้ ดั เจนตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ และ
มมี ารยาท ในการฟงั การดูและการพดู
ระบุข้อคิดที่ไดจ้ ากการอา่ นหรอื การฟงั วรรณกรรมสำหรบั เดก็ เพื่อนำไปใช้ในชีวติ ประจำวัน
รอ้ งบทร้องเลน่ สำหรบั เดก็ ในทอ้ งถิน่ ทอ่ งจำบทอาขยานตามทีก่ ำหนดและบทร้อยกรองท่ีมคี ุณค่าตาม
ความสนใจ
โดยใชก้ ระบวนการศึกษาทเี่ น้นการปฏบิ ัตจิ ริงทั้งการอา่ น เขยี นการฟังพูดหลกั ภาษา
วรรณคดีและวรรณกรรม เพ่ือนำไปใชใ้ นการส่ือสาร การเรยี นรู้ การเสริมสรา้ งความเขา้ ใจอันดตี ่อกัน
การสรา้ งความเปน็ เอกภาพของชาติและความจรรโลงใจ เพื่อเกิดประโยชน์แก่ตนเอง ชุมชน และ
ประเทศชาติ
รหสั ตวั ชี้วดั
ท๑.๑ ป๒/๑,ป๒/๒, ป๒/๓,ป ๒/๔, ป๒/๕, ป๒/๖, ป๒/๗, ป๒/๘,
ท๒.๑ ป๒/๑,ป๒/๒, ป๒/๓, ป๒/๔
ท๓.๑ ป๒/๑,ป๒/๒, ป๒/๓, ป๒/๔,ป ๒/๕,ป๒/๖,ป๒/๗,
ท๔.๑ ป๒/๑,ป๒/๒, ป ๒/๓, ป๒/๔, ป๒/๕,
ท๕.๑ ป๒/๑,ป๒/๒, ป๒/๓,
รวมทั้งหมด ๒๗ ตัวชี้วัด
คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน
ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ศกึ ษาการ อ่านออกเสียงคำ ข้อความ เรอ่ื งสนั้ ๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ ได้ถูกตอ้ ง
คล่องแคลว่ อธิบายความหมายของคำและข้อความท่ีอ่าน ตั้งคำถามและตอบคำถามเชงิ เหตผุ ล
เกยี่ วกบั เร่อื งที่อ่าน ลำดบั เหตกุ ารณแ์ ละคาดคะเนเหตกุ ารณจ์ ากเร่ืองท่ีอ่านโดยระบเุ หตุผลประกอบ
สรุปความรแู้ ละข้อคิดจากเรื่องทอี่ า่ นเพ่ือนำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั อา่ นหนังสือตามความสนใจอยา่ ง
สมำ่ เสมอและนำเสนอเร่ืองท่ีอ่าน อ่านข้อเขียนเชงิ อธิบายและปฏิบตั ติ ามคำสง่ั หรือข้อแนะนำ อธิบาย
ความหมายของข้อมลู จากแผนภาพ แผนทแี่ ผนภมู ิและมมี ารยาทในการอา่ น
คดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทดั เขยี นบรรยายเกี่ยวกบั สง่ิ ใดสิง่ หน่ึงได้อย่างชดั เจน เขยี น
บนั ทกึ ประจำวัน เขียนจดหมายลาครู เขยี นเรื่องตามจินตนาการ และมีมารยาทในการเขียน
เลา่ รายละเอียดเก่ยี วกับเรื่องที่ฟงั และดทู ั้งท่ีเป็นความรู้และความบันเทิง บอกสาระสำคญั
จากการฟัง และการดู ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกบั เรื่องที่ฟงั และดู พดู แสดงความคดิ เหน็
และความร้สู ึกเร่ืองท่ฟี งั และดู พูดสือ่ สารได้ชดั เจนตรงตามวตั ถปุ ระสงคแ์ ละมีมารยาทในการฟงั
การดู และการพูด
เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ ระบุชนดิ และหน้าที่ของคำในประโยค ใช้
พจนานุกรมคน้ หาความหมายของคำ แต่งประโยคง่ายๆ แต่งคำคลอ้ งจองและคำขวญั เลอื กใช้
ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถน่ิ ไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ
ระบขุ ้อคิดทไ่ี ดจ้ ากการอ่านวรรณกรรมเพ่อื นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน รจู้ กั เพลงพื้นบา้ นและ
เพลงกล่อมเด็ก เพื่อปลกู ฝงั ความช่ืนชมวัฒนธรรมทอ้ งถ่นิ แสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกับวรรณคดีที่อ่าน
ทอ่ งจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทรอ้ ยกรอง ที่มีคณุ คา่ ตามความสนใจ
โดยใช้กระบวนการศึกษาท่ีเนน้ การปฏบิ ัตจิ รงิ ทั้งการอ่าน เขยี นการฟังพูดหลักภาษา
วรรณคดีและวรรณกรรม เพื่อนำไปใช้ในการสื่อสาร การเรียนรู้ การเสริมสรา้ งความเขา้ ใจอนั ดตี ่อกัน
การสรา้ งความเป็นเอกภาพของชาตแิ ละความจรรโลงใจ เพอื่ เกดิ ประโยชน์แก่ตนเอง ชมุ ชน และ
ประเทศชาติ
รหสั ตัวช้ีวดั
ท๑.๑ ป๓/๑,ป๓/๒, ป๓/๓, ป๓/๔, ป๓/๕, ป๓/๖, ป๓/๗, ป๓/๘,ป๓/๙
ท๒.๑ ป๓/๑,ป๓/๒, ป๓/๓, ป๓/๔,ป๓/๕,ป๓/๖.
ท๓.๑ ป๓/๑,ป๓/๒, ป๓/๓, ป๓/๔,ป ๓/๕,ป๓/๖,
ท๔.๑ ป๓/๑,ป/, ป๓/๓, ป๓/๔, ป๓/๕,ป๓/๖,
ท๕.๑ ป๓/๑,ป๓/๒, ป๓/๓,ป๓/๔,
รวมทั้งหมด ๓๐ ตัวช้ีวัด
ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย
ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ เวลา ๑๖๐ ชัว่ โมง
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ศึกษาการ อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรองไดถ้ ูกต้อง อธิบายความหมายของคำ
ประโยค และสำนวนจากเร่ืองทอ่ี า่ น อ่านเร่ืองสน้ั ๆ ตามเวลาที่กำหนดและตอบคำถามจากเรือ่ งท่อี ่าน
แยกข้อเท็จจริงและข้อคดิ เห็นจากเรื่องท่อี ่าน คาดคะเนเหตุการณจ์ ากเรือ่ งทอี่ ่านโดยระบุเหตผุ ล
ประกอบ สรปุ ความรแู้ ละข้อคิดจากเร่ืองท่ีอา่ นเพื่อนำไปใช้ในชีวติ ประจำวัน อ่านหนงั สอื ทีม่ ีคุณค่า
ตามความสนใจอย่างสมำ่ เสมอและแสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกับเรื่องท่ีอ่าน มีมารยาทในการอา่ น
คดั ลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทดั เขียนส่อื สารโดยใชค้ ำได้ถูกต้องชดั เจน
และเหมาะสม เขยี นแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพ่อื ใช้พัฒนางานเขียน เขียนยอ่ ความ
จากเร่อื งสัน้ ๆ เขยี นจดหมายถึงเพ่ือนและบดิ ามารดา เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศกึ ษา
ค้นคว้า เขยี นเรอื่ งตามจนิ ตนาการและมีมารยาทในการเขียน
จำแนกขอ้ เทจ็ จริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องท่ีฟงั และดู พดู สรุปความจากการฟงั และดู พูด
แสดงความรู้ความคดิ เห็น และความรู้สกึ เกีย่ วกับเรื่องที่ฟงั และดู ตง้ั คำถามและตอบคำถามเชิง
เหตผุ ลจากเร่ืองที่ฟังและดู รายงานเรอ่ื งหรือประเด็นทศี่ ึกษาคน้ คว้าจากการฟงั การดู และการ
สนทนาและมีมารยาทในการฟงั การดู และการพูด
สะกดคำและบอกความหมายของคำในบริบทต่างๆ ระบุชนดิ และหน้าท่ขี องคำในประโยค
ใชพ้ จนานกุ รมคน้ หาความหมายของคำ แตง่ ประโยคไดถ้ ูกต้องตามหลักภาษา แต่งบทรอ้ ยกรองและ
คำขวัญ บอกความหมายของสำนวน และเปรยี บเทยี บภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาถนิ่ ได้
ระบุข้อคดิ จากนิทานพื้นบ้าน หรอื นิทานคตธิ รรม อธิบายขอ้ คิดจากการอ่านเพ่ือนำไปใช้ใน
ชีวติ จริงรอ้ งเพลงพนื้ บ้านท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนด และบทร้อยกรองที่มีคณุ ค่าตามความสนใจ
โดยใชก้ ระบวนการศึกษาท่เี น้นการปฏบิ ัตจิ รงิ ทั้งการอ่าน เขยี นการฟงั พูดหลักภาษา
วรรณคดแี ละวรรณกรรม เพื่อนำไปใช้ในการส่อื สาร การเรยี นรู้ การเสรมิ สร้างความเข้าใจอันดีตอ่ กัน
การสร้างความเปน็ เอกภาพของชาติและความจรรโลงใจ เพือ่ เกิดประโยชนแ์ กต่ นเอง ชุมชน และ
ประเทศชาติ
รหสั ตัวช้ีวัด
ท๑.๑ ป๔/๑,ป๔/๒, ป๔/๓, ป๔/๔,ป ๔/๕, ป๔/๖, ป๔/๗, ป๔/๘,
ท๒.๑ ป๔/๑,ป๔/๒, ป๔/๓, ป๔/๔,ป๔/๕,ป๔/๖,ป๔/๗,ป๔/๘,
ท๓.๑ ป๔/๑,ป๔/๒, ป๔/๓, ป๔/๔, ป๔/๕,ป๔/๖,
ท๔.๑ ป๔/๑,ป๔/๒, ป๔/๓, ป๔/๔, ป๔/๕,ป๔/๖,ป๔/๗,
ท๕.๑ ป๔/๑,ป๔/๒, ป๔/๓,ป๔/๔,
รวมทั้งหมด ๓๓ ตัวช้ีวดั
ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ศึกษาการ อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทรอ้ ยกรองได้ถกู ต้อง อธบิ ายความหมายของคำ
ประโยคและข้อความทีเ่ ป็นการบรรยาย และการพรรณนา อธบิ ายความหมายโดยนยั จากเรื่องท่ีอ่าน
อย่างหลากหลาย แยกข้อเท็จจรงิ และข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อา่ น วิเคราะหแ์ ละแสดงความคดิ เห็น
เกย่ี วกบั เรอ่ื งท่อี ่านเพ่ือนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต อ่านงานเขยี นเชงิ อธิบาย คำสัง่ ข้อแนะนำ และ
ปฏบิ ตั ิตาม อ่านหนังสือท่ีมีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอ และแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกบั เรอื่ ง
ทอี่ ่านมีมารยาทในการอ่าน
คดั ลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทดั และคร่งึ บรรทดั เขยี นสือ่ สารโดยใชค้ ำไดถ้ กู ต้องชัดเจน
และเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคดิ เพื่อใช้พฒั นางานเขยี น เขียนย่อความ
จากเร่อื งทอ่ี ่าน เขียนจดหมายถึงผปู้ กครองและญาติ เขยี นแสดงความร้สู ึกและความคดิ เหน็ ได้ตรง
ตามเจตนา กรอกแบบรายการต่างๆ เขียนเร่อื งตามจินตนาการและมีมารยาทในการเขียน
พูดแสดงความร้คู วามคดิ เห็นและความรสู้ ึกจากเรอ่ื งท่ีฟงั และดู ตงั้ คำถามและตอบคำถาม
เชิงเหตผุ ลจากเร่อื งที่ฟงั และดู วเิ คราะห์ความน่าเช่ือถือจากเร่ืองที่ฟังและดอู ย่างมีเหตผุ ล พดู
รายงานเร่ืองหรือประเดน็ ที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟังการดูและการสนทนา มีมารยาทในการฟัง การดู
และการพดู
ระบชุ นิดและหน้าทขี่ องคำในประโยค จำแนกส่วนประกอบของประโยค เปรียบเทยี บ
ภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาถน่ิ ใช้คำราชาศพั ท์และ แต่งบทรอ้ ยกรองใช้สำนวนไดถ้ ูกต้อง
สรปุ เรือ่ งจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมท่ีอา่ น ระบุความรแู้ ละข้อคิดจากการอา่ นวรรณคดี
และวรรณกรรมทส่ี ามารถนำไปใช้ในชวี ิตจริง อธิบายคณุ ค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมท่องจำบท
อาขยานตามท่ีกำหนดและบทรอ้ ยกรองที่มีคณุ คา่ ตามความสนใจ
โดยใชก้ ระบวนการศึกษาท่เี น้นการปฏบิ ัตจิ ริงทั้งการอา่ น เขยี นการฟงั พูดหลักภาษา
วรรณคดีและวรรณกรรม เพ่ือนำไปใช้ในการส่ือสาร การเรียนรู้ การเสริมสรา้ งความเขา้ ใจอันดตี อ่ กัน
การสร้างความเป็นเอกภาพของชาติและความจรรโลงใจ เพื่อเกดิ ประโยชน์แกต่ นเอง ชมุ ชน และ
ประเทศชาติ
รหัสตัวช้ีวดั
ท๑.๑ ป๕/๑,ป๕/๒, ป๕/๓,ป ๕/๔, ป๕/๕, ป๕/๖,ป๕/๗,
ท๒.๑ ป๕/๑,ป๕/๒,ป ๕/๓, ป๕/๔,ป๕/๕,ป๕/๖,ป๕/๗,ป๕/๘,ป๕/๙,
ท๓.๑ ป๕/๑,ป๕/๒, ป๕/๓, ป๕/๔,ป๕/๕,ป๕/๖,
ท๔.๑ ป๕/๑,ป๕/๒, ป๕/๓, ป๕/๔,ป ๕/๕,ป๕/๖,ป๕/๗,
ท๕.๑ ป๕/๑,ป๕/๒, ป๕/๓,ป๕/๔,
รวมทั้งหมด ๓๓ ตัวช้ีวัด
ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย คำอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๖ เวลา ๑๖๐ ชวั่ โมง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ศกึ ษาการ อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรองได้ถูกต้อง อธิบายความหมายของคำ
ประโยคและข้อความที่เปน็ โวหาร อ่านเรอ่ื งส้ันๆ อย่างหลากหลายโดยจบั เวลา แลว้ ถามเกยี่ วกับเร่ือง
ที่อา่ น แยกขอ้ เทจ็ จริงและข้อคิดเห็นจากเร่ืองท่ีอา่ น อธิบายการนำความรแู้ ละความคดิ จากเรื่องท่ี
อา่ นไปตัดสนิ ใจแกป้ ัญหาในการดำเนนิ ชวี ิต อ่านงานเขียนเชงิ อธิบาย คำสั่ง ข้อแนะนำ และปฏิบัติ
ตาม อธบิ ายความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนท่ี แผนภูมิ และกราฟ
อา่ นหนังสือตามความสนใจ และอธบิ ายคณุ ค่าท่ีไดร้ บั มมี ารยาทในการอา่ น
คดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสารโดยใช้คำไดถ้ กู ตอ้ งชัดเจน และ
เหมาะสม เขยี นแผนภาพโครงเร่ือ เขยี นเรียงความ ยอ่ ความจากเรื่องที่อ่าน เขียนจดหมายสว่ นตวั
กรอกแบบรายการตา่ งๆเขียนเรือ่ งตามจนิ ตนาการและสรา้ งสรรค์และมีมารยาทในการเขียน
พดู แสดงความรู้ความเขา้ ใจจุดประสงค์ของเร่อื งทฟ่ี ังและดู ตงั้ คำถามและตอบคำถามเชงิ
เหตผุ ล จากเรอ่ื งท่ีฟังและดู วิเคราะห์ความนา่ เช่อื ถือจากการฟงั และดูสื่อโฆษณาอย่างมเี หตผุ ล
พูดรายงานเร่ืองหรอื ประเด็นที่ศกึ ษาคน้ คว้าจากการฟังการดู และการสนทนาพดู โน้มน้าวอย่างมี
เหตผุ ลและนา่ เชื่อถือ และมีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
วเิ คราะห์ชนิดและหน้าทข่ี องคำในประโยค ใช้คำได้เหมาะสมกบั กาลเทศะและบคุ คล
รวบรวมและบอกความหมายของคำภาษาต่างประเทศท่ีใชใ้ นภาษาไทย แต่งบทร้อยกรองวิเคราะห์
และเปรยี บเทียบสำนวนทเ่ี ป็นคำพงั เพยและสภุ าษิต
แสดงความคดิ เหน็ จากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อา่ น เลา่ นิทานพน้ื บา้ นท้องถ่นิ ตนเอง
และนทิ านพ้ืนบา้ นของท้องถ่ินอ่นื อธบิ ายคุณคา่ ของวรรณคดี และวรรณกรรมท่ีอ่านและนำไป
ประยุกต์ใชใ้ นชีวิตจริง ท่องจำบทอาขยานตามทีก่ ำหนด และบทรอ้ ยกรองที่มีคุณคา่ ตามความสนใจ
โดยใชก้ ระบวนการศกึ ษาทเ่ี นน้ การปฏิบัติจรงิ ทง้ั การอา่ น เขียนการฟงั พูดหลักภาษา
วรรณคดีและ วรรณกรรม เพ่ือนำไปใช้ในการสื่อสาร การเรียนรู้ การเสริมสร้างความเข้าใจอันดีต่อ
กัน การสรา้ งความเปน็ เอกภาพของชาตแิ ละความจรรโลงใจ เพอื่ เกดิ ประโยชน์แกต่ นเอง ชมุ ชน และ
ประเทศชาติ
รหสั ตัวช้ีวดั
ท๑.๑ ป๖/๑,ป๖/๒, ป๖/๓, ป๖/๔, ป๖/๕, ป๖/๖, ป๖/๗,ป๖/๘,ป๖/๙,
ท๒.๑ ป๖/๑,ป๖/๒, ป๖/๓, ป๖/๔,ป๖/๕,ป๖/๖,ป๖/๗,ป๖/๘,ป๖/๙,
ท๓.๑ ป๖/๑,ป๖/๒, ป๖/๓,ป ๖/๔, ป๖/๕,ป๖/๖,
ท๔.๑ ป๖/๑,ป๖/๒,ป ๖/๓, ป๖/๔, ป๖/๕,ป๖/๖,
ท๕.๑ ป๖/๑,ป๖/๒, ป๖/๓,ป๖/๔,
รวมทั้งหมด ๓๔ ตัวชว้ี ดั
รายวิชาพน้ื ฐาน
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
ระดับประถมศึกษา
รายวิชาพ้นื ฐาน จำนวน 200 ชวั่ โมง
ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ จำนวน 200 ชว่ั โมง
ค ๑2๑๐๑ คณติ ศาสตร์ จำนวน 200 ชั่วโมง
ค ๑3๑๐๑ คณิตศาสตร์ จำนวน 160 ช่ัวโมง
ค ๑4๑๐๑ คณิตศาสตร์ จำนวน 160 ช่วั โมง
ค ๑5๑๐๑ คณติ ศาสตร์ จำนวน 160 ชว่ั โมง
ค ๑6๑๐๑ คณิตศาสตร์
คำอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน
ค 11101 คณติ ศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
ช้ันประถมศกึ ษาชน้ั ที่ 1 เวลา 200 ชวั่ โมง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…...
ศึกษาและฝกึ ให้เกิดทกั ษะในการบอกจำนวนของส่ิงต่าง ๆ แสดงสิง่ ตา่ ง ๆ ตามจำนวนที่กำหนด การ
อา่ นและการเขยี นตวั เลขฮนิ ดูอารบกิ และตวั เลขไทย เปรียบเทียบจำนวนโดยใชเ้ ครื่องหมาย = ><
เรียงลำดับจำนวนนบั ไม่เกินหนง่ึ ร้อย และศูนย์หลกั และคา่ ของเลขโดดในแต่ละหลักและการเขยี นตัวเลขแสดง
จำนวนในรปู กระจาย หาคา่ ของตัวไม่ทราบคา่ ในประโยคสญั ลักษณ์แสดงการบวกและประโยคสัญลักษณ์แสดงการลบ
แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกและโจทยป์ ญั หาการลบของจำนวนนับไม่เกินหนงึ่ รอ้ ย และศนู ยร์ ะบุ
จำนวนทห่ี ายไปในแบบรูปของจำนวนทเ่ี พิม่ ข้นึ หรือลดลงทีละหนึ่ง และทีละสิบ และระบุรูปทห่ี ายไปในแบบรูปซ้ำ
ของรปู เรขาคณิตและรปู อนื่ ๆ ที่สมาชิกในแต่ละชุดที่ซ้ำมี สองรูปวดั และเปรยี บเทยี บความยาวเป็นเซนติเมตรเป็น
เมตร การวดั ความยาวโดยใช้หนว่ ยทไ่ี มใ่ ชห่ นว่ ยมาตรฐาน การแกโ้ จทยป์ ัญหาการบวก การลบเก่ยี วกับความ
ยาวท่ีมหี น่วยเป็นเซนติเมตร เปน็ เมตรวัดและเปรยี บเทียบน้ำหนกั เป็นกโิ ลกรัมเปน็ ขดี การแกโ้ จทย์ปัญหาการบวก
การลบเกีย่ วกับนำ้ หนกั ท่มี หี น่วยเป็นกโิ ลกรัม เปน็ ขดี จำแนกรปู เรขาคณิตสองมิติ รูปสามเหล่ยี ม รปู สีเ่ หลย่ี ม
วงกลม วงรี และรปู เรขาคณิตสามมิติทรงสเี่ หล่ยี มมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิ
รูปภาพในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา เม่อื กำหนดรปู หน่ึงรูปแทน หนึ่งหนว่ ย
เพ่ือให้เกดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจ มที กั ษะกระบวนการในการแก้ปญั หา การสื่อสารและการสอื่ ความหมาย
ทางคณิตศาสตร์ การเชื่อมโยง การให้เหตผุ ลและการคิดสร้างสรรค์ คดิ อย่างมเี หตุผลเปน็ ระบบ รอบคอบและ ถี่
ถว้ น สามารถนำความรู้ไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ รเู้ ท่าทนั เทคโนโลยี รวมทง้ั มีเจตคติ
ท่ีดีต่อคณติ ศาสตร์
รหัสตัวชี้วัด
ค 1.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5
ค 1.2 ป.1/1
ค 2.1 ป.1/1, ป.1/2
ค 2.2 ป.1/1
ค 3.1 ป.1/1
รวมทั้งหมด 10 ตัวชีว้ ดั