คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน
อ ๑๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ กล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาต่างประเทศ
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ เวลา 12๐ ช่วั โมง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
เข้าใจความเหมือนและความต่างของภาษาไทยและภาษาอังกฤษในเร่ือง คำส่ัง คำขอร้องท่ีฟังหรือ
อ่าน สะกดคำบทพูดเข้าจังหวะ ระบุตัวภาพหรือสัญญาลักษณ์ตามความหมายหรือกลุ่มคำ ฟัง และโต้ตอบ
ด้วยคำสั้น ๆ ในการสื่อสารระหว่างบุคคล บอกความรู้สึกของตนเองเกี่ยวกับส่ิงต่างๆ ในสถานการณ์ง่าย ๆ
และเรื่องใกล้ตัว จัดหมวดหมู่คำตามประเภทของบุคคล สัตว์ สิ่งของ กลุ่มคำ และประโยคท่ีฟัง บอกความ
ต้องการง่าย ๆของตน คำศัพท์ท่ีเกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน ตอบคำถาม จากการฟังประโยค
บทสนทนาหรอื นิทานง่าย ๆ ทมี่ ีภาพประกอบ สะกดคำ ประโยคงา่ ย ๆถูกต้องตามหลักการอ่านออกเสียง ชื่อ
และคำศัพท์เก่ียวกับเทศกาล วันสำคัญ งานฉลอง ทำท่าประกอบตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ภายใน วง
คำศัพท์ท่ีเป็นรูปธรรมประมาณ ๓๕๐-๔๕๐ คำ ในหัวเรื่อง เก่ียวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน
สง่ิ แวดลอ้ มใกลต้ วั อาหาร เครือ่ งดมื่ และนันทนาการ
โดยใช้กระบวนการเรียนรู้เพื่อการสื่อสาร ฝึกการใช้ภาษาเพ่ือให้มีความรู้ เข้าใจวัฒนธรรมของ
เจ้าของภาษามที กั ษะทางภาษาและนำไปใช้ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
รหัสตวั ชวี้ ัด
ต ๑.๑ ป.๓/๑,ป.๓/๒,*ป.๓/๓,ป.๓/๔
ต ๑.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒,ป.๓/๓,*ป.๓/๔,ป.๓/๕
ต ๑.๓ *ป.๓/๑,ป.๓/๒
ต ๒.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒,ป.๓/๓
ต ๒.๒ ป.๓/๑
ต ๓.๑ ป.๓/๑
ต ๔.๑ *ป.๓/๑
ต ๔.๒ *ป.๓/๑
รวมทง้ั หมด ๑๘ ตัวชวี้ ัด
คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน
อ ๑๔๑๐๑ ภาษาองั กฤษ กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาตา่ งประเทศ
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ เวลา ๘๐ ชั่วโมง
…………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
เข้าใจคำสงั่ คำขอร้อง ภาษาท่าทาง และคำแนะนำงา่ ยๆ เข้าใจการใช้ถ้อยคำการออกเสียงคำ สะกดคำ
กลุ่มคำ ประโยค ข้อความและบทสนทนา นิทานง่ายๆ บทพูดเข้าจังหวะถูกต้องตามหลักการอ่าน ตอบคำถาม
จากการฟังและอ่านประโยค ตอบคำถามเกี่ยวกับเทศกาล วันสำคัญ งานฉลองและชีวิตความเป็นอยู่ง่ายๆ ของ
เจา้ ของภาษา พูดและเขยี นโต้ตอบในการส่อื สารระหว่างบุคคล พูดแสดงความตอ้ งการของตนเอง พูดขอความ
ช่วยเหลือในสถานการณ์ง่ายๆ พูดแสดงความรู้สึก ขอและให้ข้อมูล พูดและวาดภาพแสดงความสัมพันธ์ พูด
แสดงความคิดเห็นง่ายๆ พูดและทำทา่ ประกอบอย่างสุภาพ ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรม เข้าร่วมกิจกรรม
ทางภาษาและวัฒนธรรมท่ีเหมาะกับวัย บอกความแตกต่างของเสียงตัวอักษร คำ กลุ่มคำ ประโยค และ
ข้อความ บอกความเหมือนความแตกต่างระหว่างเทศกาลและงานฉลอง ตามวัฒนธรรมของต่างประเทศกับ
ของไทย และนำเสนอด้วยการพูด การเขียน ฟังและอ่านในสถานการณท์ ี่เกิดขึ้นในหอ้ งเรยี นและสถานศึกษา
เลือกและระบุภาพ หรือสัญลักษณ์ หรือเคร่ืองหมายตรงตามความหมายเก่ียวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน
ส่งิ แวดล้อม อาหาร เครื่องดื่ม เวลาว่างและนันทนาการ สขุ ภาพและสวสั ดิการ การซอื้ ขายและลมฟ้าอากาศ
ภายในวงคำศพั ทท์ ่เี ป็นรปู ธรรมประมาณ ๕๕๐-๗๐๐ คำ
โดยใช้กระบวนการเรียนรู้เพ่ือการสื่อสาร ค้นคว้า รวบรวมคำศัพท์ท่ีเกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระ
การเรียนรู้อื่น ฝึกการใช้ภาษาเพื่อให้มีความรู้ เข้าใจวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา มีทักษะทางภาษาและ
นำไปใช้ได้อย่างเหมาะสม
รหัสตวั ช้ีวัด
ต ๑.๑ ป.๔/๑,ป.๔/๒,*ป.๔/๓,ป.๔/๔
ต ๑.๒ ป.๔/๑,ป.๔/๒,ป.๔/๓,*ป.๔/๔, ป.๔/๕
ต ๑.๓ *ป.๔/๑,*ป.๔/๒,*ป.๔/๓
ต ๒.๑ ป.๔/๑,ป.๔/๒,ป.๔/๓
ต ๒.๒ ป.๔/๑,ป.๔/๒
ต ๓.๑ ป.๔/๑
ต ๔.๑ *ป.๔/๑
ต ๔.๒ *ป.๔/๑
รวมท้ังหมด ๒๐ ตวั ชีว้ ัด
คำอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน
อ ๑๕๑๐๑ ภาษาอังกฤษ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๕ เวลา ๘๐ ชว่ั โมง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
เข้าใจคำสง่ั คำขอร้อง ภาษาท่าทาง คำแนะนำ ข้อความ บทสนทนาและบทกลอนสัน้ ๆ ถูกต้อง
ตามหลักการอ่าน บอกใจความสำคัญ และตอบคำถามจากการฟังและอ่านบทสนทนา และนิทานง่ายๆ หรือ
เร่ืองสั้นๆ พูดและเขียนโต้ตอบในการส่ือสารระหว่างบุคคล แสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับ
และปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ง่ายๆ แสดงความรู้สึกของตนเองพร้อมทั้งให้เหตุผลสั้นๆ
ประกอบ พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูลและแสดงความรู้สึกของตนเอง พร้อมท้ังให้เหตุผลส้ันๆ ประกอบ
พูดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองต่างๆ ใกล้ตัว เขียนภาพ แผนผัง และแผนภูมิแสดงข้อมูลต่างๆ ตามท่ีฟัง
หรืออ่าน ใช้ถ้อยคำ น้ำเสียง และกิริยาท่าทางอย่างสุภาพ ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
ตอบคำถามและบอกความสำคัญของเทศกาล วันสำคัญ งานฉลองและชีวิตความเป็นอยู่ง่ายๆ ของเจ้าของภาษา
เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ บอกความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการออก
เสียงประโยคชนิดต่างๆ การใช้เครื่องหมายวรรคตอน และการลำดับ ตามโครงสร้าง
ประโยค เทศกาลและงานฉลอง ของเจ้าของภาษาและของไทย ค้นคว้า รวบรวมคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่ม
สาระการเรียนรู้อ่ืน ฟัง พูด อ่านและเขียนในสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในห้องเรียนและสถานศึกษา ระบุและ
วาดภาพ สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมายตรงตามความหมายเก่ียวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อม
อาหาร เคร่ืองด่ืม เวลาว่างและนันทนาการ สุขภาพและสวัสดิการ การซ้ือขายและลมฟ้าอากาศ ภายในวง
คำศัพท์ทเี่ ปน็ รูปธรรมประมาณ ๗๕๐-๙๕๐ คำ
โดยใช้กระบวนการเรยี นรู้เพื่อการสอื่ สาร ทักษะการจำ ทักษะการถาม การถ่ายโอนขอ้ มลู
ฝึกการใช้ภาษาเพ่ือใหม้ คี วามรู้ เขา้ ใจวฒั นธรรมของเจ้าของภาษา มที กั ษะทางภาษาและนำไปใชไ้ ด้
อยา่ งเหมาะสม
รหัสตวั ชีว้ ดั
ต ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒,*ป.๕/๓,ป.๕/๔
ต ๑.๒ ป.๕/๑,ป.๕/๒,ป.๕/๓,*ป.๕/๔,ป.๕/๕
ต ๑.๓ *ป.๕/๑,ป.๕/๒,*ป.๕/๓
ต ๒.๑ ป.๕/๑,ป.๕/๒,ป.๕/๓
ต ๒.๒ ป.๕/๑,ป.๕/๒
ต ๓.๑ ป.๕/๑
ต ๔.๑ *ป.๕/๑
ต ๔.๒ *ป.๕/๑
รวมทัง้ หมด ๒๐ ตวั ช้ีวัด
คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน
อ ๑๖๑๐๑ ภาษาองั กฤษ กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาตา่ งประเทศ
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ เวลา ๘๐ ชวั่ โมง
…………………………………………………………………………………………………………………………………….……….......
เข้าใจคำส่ัง คำขอร้อง ภาษาท่าทาง คำแนะนำ ประโยค ข้อความส้ันๆ นิทานและบทกลอนส้ันๆ
ถูกต้องตามหลักการอ่าน บอกใจความสำคัญและตอบคำถามจากการฟังและอ่านบทสนทนา นิทานง่ายๆ และ
เร่ืองเล่า นำเสนอข้อมูลต่างๆโดยการพูดและเขียนโต้ตอบในการส่ือสารระหว่างบุคคล แสดงความต้องการ
ขอความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ง่ายๆ ขอและให้ข้อมูล แสดง
ความรสู้ ึกและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ใกล้ตวั เขียนภาพ แผนผัง แผนภูมิ และตารางแสดงข้อมูล
ต่างๆ ท่ีฟังหรืออ่าน ใช้ถ้อยคำ น้ำเสียง และกิริยาท่าทางอย่างสุภาพเหมาะสมตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรม
ของเจ้าของภาษา ให้ข้อมูลเก่ียวกับเทศกาล วันสำคัญ งานฉลอง ชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษา เข้า
ร่วมกิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรมตามความสนใจ บอกความเหมือนและความแตกต่างระหวา่ งการออกเสยี ง
ประโยคชนิดต่างๆ การใช้เคร่ืองหมายวรรคตอน การลำดับคำตามโครงสร้างประโยค เทศกาล งานฉลองและ
ประเพณีของเจ้าของภาษากับของไทย และนำเสนอด้วยการพูด การเขียน ใช้ภาษาส่อื สารในสถานการณ์ต่างๆ
ท่ีเกิดข้ึนในห้องเรียนและสถานศึกษาและสืบค้นและรวบรวมข้อมูลต่างๆ เลือกและระบุประโยค หรือข้อความ
สั้นๆ ตรงตามภาพ สัญลกั ษณ์ หรือเครื่องหมายทอี่ ่านเก่ียวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สง่ิ แวดล้อม อาหาร
เครื่องด่ืม เวลาว่างและนันทนาการ สุขภาพและสวัสดิการ การซ้ือขายและลมฟ้าอากาศ ภายในวงคำศัพท์ท่ี
เป็นรูปธรรมประมาณ ๑,๐๕๐-๑,๒๐๐ คำ
โดยใช้กระบวนการเรียนรู้เพ่ือการส่ือสาร ค้นคว้า รวบรวมคำศัพท์ท่ีเกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการ
เรียนรู้อ่ืนจากแหล่งเรียนรู้ ฝึกการใช้ภาษาเพ่ือให้มีความรู้ เข้าใจวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา มีทักษะ
ทางภาษาและนำไปใชไ้ ด้อยา่ งเหมาะสม
รหสั ตัวชีว้ ัด
ต ๑.๑ ป.๖/๑,ป.๖/๒,*ป.๖/๓,ป.๖/๔
ต ๑.๒ ป.๖/๑,ป.๖/๒,ป.๖/๓,*ป.๖/๔,ป.๖/๕
ต ๑.๓ *ป.๖/๑,ป.๖/๒,*ป.๖/๓
ต ๒.๑ ป.๖/๑,ป.๖/๒,ป.๖/๓
ต ๒.๒ ป.๖/๑,ป.๖/๒
ต ๓.๑ ป.๖/๑
ต ๔.๑ *ป.๖/๑
ต ๔.๒ *ป.๖/๑
รวมทั้งหมด ๒๐ ตวั ชว้ี ัด
คำอธิบายรายวิชาเพม่ิ เติม
อ11201 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 จำนวน ๔0 ชั่วโมง
.........................................................................................................................................................
อ่านและเขียนตัวอักษรภาษาอังกฤษ เข้าใจและใช้ประโยคคำส่ังที่ใช้ในห้องเรียน การอา่ นออกเสียงคำ
กลุ่มคำ ประโยค ข้อความบทอา่ น บทสนทนา การพูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง และเรื่องใกลต้ ัว การขอบคุณ ขอ
โทษ และการใช้ภาษาท่าทาง การใช้ภาษาในการฟัง พูด ในสถานการณ์ที่เกิดข้ึนในห้องเรียนโดยใช้กระบวนการ
เรียนรู้เพื่อการสอ่ื สาร ฝกึ การใช้ภาษา เพ่ือให้มีความรู้ เข้าใจวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา มที ักษะทางภาษา เห็น
ประโยชนใ์ นการเรียนรูภ้ าษาองั กฤษ และนำไปใช้ในชวี ิตประจำวันไดอ้ ย่างเหมาะสม
ผลการเรียนรู้
1. อา่ นและเขียนตวั อกั ษรภาษาอังกฤษออกเสยี งคำศัพท์ได้ถูกตอ้ ง
2. ใชค้ ำทักทาย ขอบคุณ ขอโทษ รวมถึงคำสั่งงา่ ยๆเป็นภาษาอังกฤษไดถ้ ูกต้อง
3. ใชภ้ าษาองั กฤษส่ือสารและใหข้ ้อมูลเกย่ี วกบั เรื่องใกลต้ วั ได้อย่างเหมาะสม
4. ใชภ้ าษาส่อื สารได้ตามวัยอย่างมน่ั ใจ และกลา้ แสดงออก
5. ใชภ้ าษาไดต้ ามมารยาททางสังคมและวฒั นธรรมของเจ้าของภาษา
รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู้
คำอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเตมิ
อ12201 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสือ่ สาร กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 จำนวน ๔0 ชัว่ โมง
................................................................................................................................................
เข้าใจและใชป้ ระโยคคำส่ังง่ายๆในหอ้ งเรียน คำขอรอ้ งอา่ นและเขยี นตัวอักษรภาษาอังกฤษ คำศพั ท์
ส้ันๆง่ายๆ เขา้ ใจความหมายคำ กล่มุ คำ และประโยคสนั้ ๆที่มคี วามหมายสมั พนั ธก์ บั ส่ิงต่างๆ ใกล้ตัว เขา้ ใจบท
อา่ น บทสนทนาง่ายๆ และนิทานทีม่ ภี าพประกอบ ให้ขอ้ มูลและความต้องการเกยี่ วกับตนเองสั้นๆ เซน่ การพดู
แนะนำตนเอง ขอบคุณ ขอโทษ เรียนรคู้ ำศัพทเ์ กี่ยวกบั เทศกาล ขนบธรรมเนียม ประเพณี เทศกาล งาน ฉลอง
โดยใชก้ ระบวนการเรยี นรูเ้ พือ่ การสื่อสาร ฝึกการใชภ้ าษาเพ่ือให้มีความร้คู วามเข้าใจวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา
เหน็ ประโยชน์ในการเรียนรภู้ าษาอังกฤษและนำไปใช้ในชวี ิตประจำวันได้อยา่ งเหมาะสม
ผลการเรียนรู้
1. อา่ นและเขียนตวั อักษรภาษาองั กฤษ และคำศัพท์งา่ ยๆได้ถูกต้อง
2. ใช้ภาษาอังกฤษในการแนะนำตนเอง ขอบคุณ ขอโทษ ขอและให้ข้อมูลเก่ียวกับตนเอง และเร่ือง
ใกลต้ ัวได้อย่างเหมาะสม
3. บอกความหมายของคำ กลุม่ คำ และประโยคสั้นๆได้ถูกต้อง
4. ตอบคำถามจากการฟังหรืออ่านเร่ืองงา่ ยๆหรือนทิ านทม่ี ีภาพประกอบได้ถูกต้อง
5. ใช้ภาษาองั กฤษไดต้ ามมารยาททางสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
รวมท้ังหมด 5 ผลการเรียนรู้
คำอธิบายรายวิชาเพ่ิมเตมิ
อ13201 ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ
ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 3 จำนวน ๔0 ช่ัวโมง
...................................................................................................................................................
อา่ นออกเสียงคำและประโยคงา่ ยๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องใกล้ตัวบอกความหมายของคำ ตอบคำถามจากการ
ฟังหรืออ่านได้ สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการส่ือสารระหว่างบุคคลได้เหมาะสมตามวัยใช้ภาษาในการพูดและ
ทำทา่ ประกอบตามมารยาทสังคม วัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา ใช้บทสนทนาการทักทายได้ถูกต้องตามเวลาและ
ถูกกาลเทศะ แนะนำตนเองได้ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง บอกลักษณะของบุคคลรอบตัว พูดประโยคบอก
ความชอบ ไม่ชอบ บอกความต้องการของตนเองเกี่ยวกับเรื่องกีฬา งานอดิเรก บอกสถานที่ต่างๆ รอบตัวและ
ตำแหน่งของสถานที่ต่างๆ โดยใชก้ ระบวนการเรียนรู้ เพื่อการสื่อสาร ฝึกการใช้ภาษา เพื่อให้มคี วามรู้ เข้าใจ
วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา มีทักษะทางภาษา เห็นประโยชน์ในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและนำไปใช้ใน
ชวี ติ ประจำวนั ได้อยา่ งเหมาะสม
ผลการเรยี นรู้
1. อา่ นออกเสยี งคำและประโยคง่าย ๆ ทเี่ ก่ียวกบั เรื่องใกลต้ วั
2. บอกความหมายของคำและตอบคำถามจากการฟังหรืออา่ นได้
3. ใช้ภาษาอังกฤษในการส่ือสาร สนทนา ทักทาย และแนะนำตนเอง และใช้ภาษาท่าทางประกอบการ
พดู ไดเ้ หมาะสม
4. ให้ขอ้ มูลเก่ยี วกับตนเอง และอธิบายเก่ยี วกับส่งิ ต่างๆใกล้ตัว โดยใช้ภาษาองั กฤษอยา่ งงา่ ยได้
5. ใช้ภาษาอังกฤษไดต้ ามมารยาททางสังคมและวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา
รวมท้ังหมด 5 ผลการเรยี นรู้
คำอธิบายรายวชิ า
อ14201 ภาษาองั กฤษเพ่ือการสอ่ื สาร กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 จำนวน ๔0 ชว่ั โมง
......................................................................................................................
เข้าใจคำสง่ั คำขอร้อง คำแนะนำเร่อื งราว บทสนทนา นทิ าน สามารถถา่ ยโอนเป็นภาพหรอื
สญั ลกั ษณ์ อ่านออกเสียงคำ กล่มุ คำ ประโยค ข้อความ บทอา่ นไดถ้ ูกตอ้ งตามหลกั การออกเสยี งและใชถ้ ้อยคำ
นำ้ เสียงได้เหมาะสม ใชภ้ าษาอังกฤษในการสื่อสารระหว่างบคุ คลใชค้ ำสงั่ คำขอรอ้ ง และใหค้ ำแนะนำแสดงความ
ต้องการ แสดงความรสู้ ึก แสดงความชว่ ยเหลอื ตอบรับและปฏิเสธ ในสถานการณง์ ่ายๆ พูดและเขยี นเพอ่ื ขอและ
ให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับตนเอง เพื่อน ครอบครวั และเร่ืองใกล้ตัวซึง่ อยู่ในทอ้ งถ่ินของตน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้เพื่อ
การส่ือสาร ฝกึ การใช้ภาษาเพ่ือให้มีความรคู้ วามเข้าใจวฒั นธรรมของเจ้าของภาษา เหน็ ประโยชนใ์ นการเรียนรู้
ภาษาองั กฤษและนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้อย่างเหมาะสม
ผลการเรียนรู้
1. ปฏิบัติตามคำสง่ั คำขอร้อง และคำแนะนำงา่ ยๆ ตามที่ฟงั และอ่านไดถ้ ูกตอ้ ง
2. เขา้ ใจเรื่องราว บทสนทนา นิทาน สามารถถ่ายโอนเป็นภาพหรือสญั ลกั ษณ์ได้
3. พูด/อา่ นออกเสยี งคำ วลี ประโยค ขอ้ ความสน้ั ๆ บทสนทนาไต้ถกู ต้องตามหลกั การออกเสยี ง
4. ใช้ภาษาองั กฤษในการส่ือสารระหว่างบุคคลให้คำแนะนำแสดงความรสู้ ึก ตอบรบั และปฏิเสธ ใน
สถานการณง์ ่ายๆ ขอและใหข้ ้อมลู เกยี่ วกับตนเอง และเรื่องใกล้ตัว
5. ใช้ภาษาอังกฤษได้ตามมารยาททางสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู้
คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
อ15201 ภาษาองั กฤษเพื่อการสอื่ สาร 5 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 5 จำนวน ๔0 ชวั่ โมง
……………………………………………………………………………………………....................................................................................................................................
เข้าใจคำส่ัง คำขอร้อง คำแนะนำ เข้าใจความหมายของคำ กลุ่มคำ และประโยค รูปประโยคและ
โครงสร้างประโยค โดยสามารถตอบคำถามจากการฟังหรืออ่านข้อความ บทสนทนา เรื่องสั้น เรื่องเล่า นิทาน
บทกลอนสั้นๆ อ่านออกเสียงคำ กลุ่มคำ ประโยค ข้อความ บทอ่านได้ถูกต้องตามหลักการออกเสียง และการใช้
ถ้อยคำ น้ำเสียง การพูดและเขียนโต้ตอบในการส่ือสารระหว่างบุคคล ใช้คำสั่ง คำขอร้อง และให้คำแนะนำ
แสดงความต้องการ แสดงความรู้สึก ขอความช่วยเหลือ ตอบรับ และปฏิเสธ ในสถานการณ์ง่ายๆ พูดและเขียน
เพ่ือขอและให้ข้อมูลเก่ียวกับตนเอง เพ่ือน ครอบครัว และเรื่องใกล้ตัวซ่ึงอยู่ในท้องถิ่นของตน โดยใช้
กระบวนการเรียนรู้ เพ่ือการส่ือสาร ฝกึ การใช้ภาษา เพื่อให้มคี วามรู้ เข้าใจวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา มีทักษะ
ทางภาษา เหน็ ประโยชนใ์ นการเรยี นรภู้ าษาองั กฤษและนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้อย่างเหมาะสม
ผลการเรียนรู้
1. ปฏบิ ตั ติ ามคำสงั่ คำขอรอ้ ง และคำแนะนำง่าย ๆ ตามที่ฟงั และอ่านได้ถูกต้อง
2. พดู /อา่ นออกเสยี งคำ วลี ประโยค ข้อความสนั้ ๆ บทสนทนา บทอ่าน ไดถ้ ูกต้องตามหลักการอา่ น
ออกเสียง
3. ใช้ประโยคภาษาองั กฤษในการส่อื สารระหว่างบุคคล และแลกเปล่ียนข้อมูลต่างๆ ได้ถูกตอ้ ง
4. ตอบคำถามจากการฟังหรืออา่ นขอ้ ความ บทสนทนา เรื่องสั้น เรอ่ื งเล่า นิทาน บทกลอนสัน้ ๆได้
ถกู ต้อง
5. ใช้ภาษาอังกฤษได้ตามมารยาททางสงั คมและวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา
รวมท้ังหมด 5 ผลการเรียนรู้
คำอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเติม
อ16201 รายวิชาภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร 6 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 จำนวน ๔0 ชว่ั โมง
...........................................................................................................................................................
เขา้ ใจคำสั่ง คำขอร้อง รูปประโยคและโครงสร้างประโยค คำ กลุ่มคำ และประโยค วเิ คราะห์และสรุป
เร่ืองราว บทอ่าน บทสนทนา เร่ืองส้ัน เรื่องเล่า นิทาน บทกลอนส้ันๆ สำนวนที่ใช้ในเทศกาล การพูดและ เขียน
โต้ตอบในการส่ือสารระหว่างบุคคล ใช้คำส่ัง คำขอร้อง และให้คำแนะนำ แสดงความต้องการ แสดงคว ามรู้สึก
ขอความช่วยเหลือ ตอบรับ และปฏิเสธ ในสถานการณ์ต่างๆ ขอและให้ข้อมูลเก่ียวกับตนเอง เพื่อน ครอบครัว
และเร่ืองใกล้ตัวซ่ึงอยู่ในท้องถิ่นของตน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้เพื่อการส่ือสาร ฝึกการใช้ภาษา เพื่อให้มี
ความรู้ เข้าใจวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา มีทักษะทางภาษา เห็นประโยชน์ในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และ
นำไปใชใ้ นชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
ผลการเรยี นรู้
1. วิเคราะห์เร่ืองและสรุปความเรื่องที่ฟงั และอ่านได้
2. ใชป้ ระโยคคำสั่ง คำขอร้อง การขออนุญาต ประโยคบอกเล่า ประโยคคำถาม ประโยคปฏิเสธ ตาม
โครงสร้างประโยคได้
3. ใช้ภาษาองั กฤษในการขอและให้ข้อมลู เก่ียวกบั ตนเอง เพอื่ น ครอบครวั และเรื่องใกลต้ ัวซ่งึ อย่ใู น
ท้องถ่ินของตนได้
4. ใช้ภาษาองั กฤษในการพดู และเขียนโตต้ อบและส่ือสารตามสถานการณต์ ่างๆได้อยา่ งเหมาะสม
5. ใชภ้ าษาไดต้ ามมารยาททางสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
รวมท้ังหมด 5 ผลการเรียนรู้
บทที่ ๔
กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน
ตามหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวัดหนองติม
ความหมายและความสำคัญของกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น
กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นเปน็ กิจกรรมสำคัญท่หี ลกั สตู รโรงเรยี นวดั หนองติม พุทธศกั ราช ๒๕61 ตาม
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดให้จดั ทำขน้ึ ให้ผู้เรียนทุกคน ทุกระดบั ช้นั
เพื่อส่งเสรมิ พฒั นาความสามารถของตนเองตามความถนดั ความสนใจ ใหเ้ ตม็ ศักยภาพ โดยม่งุ เน้นการพัฒนา
องคร์ วมของความเป็นมนุษย์ทั้งดา้ นร่างกาย สติปัญญา อารมณแ์ ละสังคม สรา้ งเยาวชนของชาติให้เป็นผู้มศี ีลธรรม
จรยิ ธรรม มีระเบยี บวินัย ปลกู ฝังและสร้างจิตสำนึกของการทำประโยชนเ์ พ่ือสังคมและสามารถบรหิ ารจัดการตนเอง
กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียนเป็นกจิ กรรมทีจ่ ะสง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นได้พฒั นาความสามารถของตนเอง
ตามศักยภาพ เพิ่มเตมิ จากกิจกรรมการเรียนรู้ตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ทั้ง ๘ กลมุ่ การเข้ารว่ ม และปฏบิ ตั ิ
กิจกรรมทเี่ หมาะสมรว่ มกับผู้อน่ื อย่างมีความสุขกับกิจกรรมทเ่ี ลอื กด้วยตนเองตามความถนดั ความสนใจอย่าง
แทจ้ ริงจะเสริมสร้างและพฒั นาองค์รวมของความเป็นมนุษย์ใหค้ รบทกุ ดา้ นสร้างความเปน็ มนษุ ย์ทสี่ มบรู ณ์
ปลกู ฝงั และสร้างจิตสำนึกของการทำประโยชน์เพอ่ื สังคม
จดุ มุ่งหมายของกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น
การจดั ทำกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียนในหลกั สูตรโรงเรยี นวัดหนองตมิ พุทธศกั ราช ๒๕๕๓
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ มีจดุ ประสงค์สำคญั คอื
๑. เพอ่ื ช่วยเพิ่มพูนประสบการณข์ องผ้เู รยี น ไดฝ้ ึกฝนทักษะ ไดเ้ รียนรู้ โดยการปฏบิ ัติจริง อันเป็นการ
สอดคล้องกบั แนวการจัดการเรยี นรทู้ ยี่ ึดผเู้ รียนเปน็ สำคัญ
๒. เพ่อื เสรมิ สร้างคุณลักษณะดเี ดน่ ของความเป็นประชาธปิ ไตย ฝกึ การเป็นผนู้ ำ ผตู้ าม ฝึกการทำงาน
ร่วมกัน ฝกึ การแสดงความคิดเหน็ ฝกึ ความรับผดิ ชอบ
๓. เพื่อก่อใหเ้ กดิ ความสามัคคี รกั หม่คู ณะ เกิดความเข้าใจซ่ึงกันและกัน เพราะการปฏิบตั ิกิจกรรมต้อง
ทำงานเปน็ กลุ่ม ตอ้ งร่วมกนั คิด รว่ มกันทำ ได้พบความสขุ ความทกุ ขร์ ่วมกนั เกดิ ความประทบั ใจ
ซ่งึ กันและกัน
๔. ส่งเสรมิ ความคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์ ความแปลกใหม่ เพราะการทำกิจกรรมรว่ มกนั ต้องร่วมกนั ศึกษา
คน้ ควา้ ค้นหาวิธกี ารทด่ี ีกวา่ ทำใหค้ วามคดิ แตกฉาน พบเทคนคิ วิธีการที่แปลก ๆ ใหม่ ๆ ในการพฒั นาผลงาน
๕. เพือ่ ช่วยใหผ้ ู้เรยี นมีทางเลือก มโี อกาสแสดงออกตามแนวคดิ ความสนใจของตนเอง มีโอกาสในการ
เลอื กตามความต้องการ ความถนดั ช่วยพัฒนาศกั ยภาพของผเู้ รยี นเป็นรายบคุ คล
๖. เพื่อฝึกผู้เรยี นใหเ้ ปน็ สมาชิกทด่ี ขี องสังคม ชมุ ชน และประเทศชาติ ทั้งในปจั จุบันและอนาคต เพราะ
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นมลี กั ษณะเป็นสงั คมเลก็ ที่จำลองจากสังคมใหญ่ มีกฎระเบยี บ กติกา มคี วามรับผิดชอบท้ัง
ในสทิ ธหิ นา้ ทซ่ี ่งึ เปน็ การปลกู ฝังลกั ษณะนสิ ัยและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของการอยู่ร่วมกันในสังคมปกติ
๗. เพื่อชว่ ยใหผ้ ูส้ อนรูจ้ กั ผเู้ รยี นแต่ละคนดีขึ้น เพราะผลงานในการทำกิจกรรมของผู้เรียนจะช่วยให้
ผูส้ อนเขา้ ใจผ้เู รยี นและประเมินคณุ ค่าคณุ ภาพของนักเรียนไดด้ ี และถูกตอ้ งมากขนึ้ รู้จักและเข้าใจความสนใจ
ของผเู้ รยี น ความถนัดของผ้เู รียน ช่วยใหผ้ ู้สอนทราบขอ้ มลู พ้ืนฐานของผ้เู รยี นทีถ่ ูกต้อง และสามารถส่งเสรมิ
สนบั สนุน หรือแก้ไขข้อบกพร่องของผเู้ รียนได้ถูกแนวทาง
๘. เพอื่ ใช้เปน็ ข้อมลู ในการปรับปรุงหลกั สตู รและการเรยี นการสอนของสถานศึกษา เพราะพฤตกิ รรม
การแสดงออกของผ้เู รยี นในการปฏิบตั ิกิจกรรม เปน็ ผลทบ่ี ่งช้ีถงึ ความสำเรจ็ ของหลักสตู รและการเรียนการสอน
ของสถานศึกษาว่าบรรลุผลตามจุดม่งุ หมายหรือไม่ มากน้อยเพยี งใด หลักสตู รควรจะตอ้ งมีการปรับปรุงหรือ
พฒั นาในสว่ นใด
หลกั การจดั กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน
๑. มีการกำหนดวัตถปุ ระสงค์ และแนวปฏิบตั ทิ ่ีชัดเจนเป็นรูปธรรม
๒. จดั ให้เหมาะสมกับวยั วุฒภิ าวะ ความสนใจ ความถนัด และความสามารถของผูเ้ รยี น
๓. บรู ณาการกบั ชีวติ จริง ให้ผเู้ รียนไดต้ ระหนักถงึ ความสำคัญของการเรยี นรู้ตลอดชีวิต
๔. ใช้กระบวนการกลมุ่ ในการจัดประสบการณเ์ รยี นรู้ ฝึกให้คิดวเิ คราะห์ สรา้ งสรรค์
จนิ ตนาการ ท่ีเปน็ ประโยชน์ และสมั พันธ์กบั ชีวิตในแตล่ ะช่วงวยั อยา่ งตอ่ เน่ือง
๕. จำนวนสมาชิกเหมาะสมกับลกั ษณะของกิจกรรม
๖. มกี ารกำหนดเวลาในการจัดกิจกรรมให้เหมาะสมตามโครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษา
๗. ผเู้ รยี นเป็นผดู้ ำเนินการ มคี รูเป็นท่ปี รึกษา ถอื เปน็ หน้าที่และงานประจำ โดยคำนงึ ถึง
ความปลอดภยั
๘. ยดึ หลกั การมสี ว่ นรว่ ม โดยเปิดโอกาสให้ครู พ่อแม่ ผปู้ กครอง ชมุ ชน องคก์ ร ทั้งภาครัฐ
และเอกชน มสี ว่ นรว่ มในการจัดกจิ กรรม
๙. มกี ารประเมนิ ผลการปฏิบัตกิ ิจกรรม ด้วยวธิ ีที่หลากหลาย และสอดคล้องกบั กิจกรรมอย่างเปน็ ระบบ
และต่อเน่ือง โดยใหถ้ ือว่าเปน็ เกณฑป์ ระเมนิ ผลการผ่านช่วงชั้นเรยี น
โครงสรา้ งและเวลาจดั กจิ กรรมกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน
ระดบั ประถมศกึ ษา
กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ป. ๑ ระดับประถมศกึ ษา ป. ๖
ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕
๑. กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๒. ลูกเสือ – เนตรนารี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๓. กิจกรรม ชุมนุม ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐
๔. กิจกรรมเพ่ือสังคม ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
และสาธารณประโยชน์
เวลาเรียนรวม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรโรงเรียนวดั หนองติม ไดก้ ำหนดกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน
ให้ผู้เรยี นตอ้ งร่วมกจิ กรรมและผา่ นการประเมิน ดังน้ี
๑. กจิ กรรมแนะแนว
หลักการ
เป็นกจิ กรรมที่จัดเพ่ือมงุ่ พฒั นาผ้เู รียนใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ อนั จะนำไปส่สู มรรถนะทสี่ ำคญั ๕ ประการ และ
คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๘ ประการ นำไปบูรณาการในการจัดกจิ กรรมตามลักษณะของกิจกรรมแนะแนวที่
ระบไุ ว้ในหลกั สตู ร อกี ท้ังสง่ เสรมิ พัฒนาผู้เรยี นให้มีทักษะชวี ติ โดยมงุ่ จัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา
ความตอ้ งการ ความสนใจ ธรรมชาตขิ องผเู้ รยี นและวสิ ัยทัศน์ของสถานศึกษา ที่ตอบสนองจุดม่งุ หมายของ
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ใหค้ รอบคลุมท้งั ดา้ นการศึกษา การงาน และ
อาชีพ ชวี ติ และสงั คม เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั ผเู้ รียนมอี สิ ระในการคิดและตัดสินใจดว้ ยตนเอง เรียนรู้ด้วยตนเอง
ดว้ ยการปฏิบัติ จนกระท่ังเกดิ ทักษะชวี ติ หรอื การเรียนรู้ตลอดจนครูทุกคนมสี ่วนรว่ มในการจัดกิจกรรม โดยมีครู
แนะแนวเป็นพเี่ ลย้ี งและประสานงาน
วัตถปุ ระสงค์
๑. เพ่ือให้ผูเ้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ ร้จู ัก เขา้ ใจ รกั และเหน็ คุณคา่ ในตนเองและผอู้ ืน่
๒. เพื่อใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรยี นรู้ สามารถวางแผนการเรยี นอาชีพ รวมทงั้ การดำเนนิ ชีวติ และสงั คม
๓. เพอื่ ให้ผู้เรียนเกิดการเรยี นรสู้ ามารถปรับตัวได้อยา่ งเหมาะสมและอยรู่ ่วมกับผู้อนื่ ได้อยา่ งมี
ความสุข
ขอบข่าย
๑. ดา้ นการศึกษา ให้ผเู้ รยี นไดพ้ ัฒนาตนเองในด้านการเรียนอยา่ งเตม็ ตามศักยภาพ รจู้ กั แสวงหา
และใชข้ ้อมูลประกอบการวางแผนการเรียนหรือการศึกษาต่อได้อย่างมีประสิทธภิ าพ มีนิสยั ใฝ่รใู้ ฝ่เรียน มีวธิ ีการ
เรียนรู้และสามารถวางแผนการเรยี นหรือการศึกษาต่อได้อยา่ งเหมาะสม
๒. ด้านการงานและอาชพี ใหผ้ ูเ้ รียนได้รู้จกั ตนเองในทกุ ดา้ น รู้และเข้าใจโลกของงานอาชีพอยา่ ง
หลากหลาย มีเจตคติที่ดตี ่ออาชีพสุจรติ มีการเตรียมตัวส่อู าชพี สามารถวางแผนเพ่ือประกอบอาชีพทต่ี นเองมี
ความถนัดและสนใจ
๓. ดา้ นชวี ติ และสังคม ใหผ้ ู้เรียนรู้จักและเข้าใจตนเอง รกั และเหน็ คุณคา่ ในตนเองและผู้อ่นื
รักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ มเี จคติทีด่ ตี ่อการมีชวี ิตที่ดี มคี ุณภาพ มีทกั ษะและสามารถปรับตัวให้
ดำรงชวี ติ อย่ใู นสงั คมได้อยา่ งมคี วามสขุ
แนวการจัดกจิ กรรมแนะแนว
๑. สำรวจสภาพปญั หา ความตอ้ งการ ความสนใจและธรรมชาติของผเู้ รียน เพอื่ ใช้เป็นขอ้ มลู ใน
การกำหนดแนวทางและแผนการปฏิบัติกิจกรรมแนะแนว
๒. ศกึ ษาวสิ ยั ทัศน์ของสถานศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลของผเู้ รยี นทไี่ ดจ้ ากการสำรวจ เพื่อทราบ
ปัญหา ความตอ้ งการ และความสนใจเพื่อนำไปกำหนดสาระและรายละเอยี ดของกิจกรรมแนะแนว
๓. กำหนดสัดสว่ นสาระของกิจกรรมด้านการศึกษา การงานและอาชีพ รวมท้ังชีวติ และสงั คม
ใหไ้ ด้สัดสว่ นทเี่ หมาะสม โดยยดึ สภาพปัญหา ความต้องการ ความสนใจ ตลอดจนธรรมชาติ ของผเู้ รยี นเปน็ หลกั
ทง้ั นคี้ รแู ละผู้เรยี นมสี ่วนร่วมในการปฏิบัติกจิ กรรม
๔. กำหนดแผนการปฏิบัติกจิ กรรมแนะแนว โดยระดบั ประถมศึกษาจดั เป็นรายปี เมื่อกำหนดสดั สว่ น
ของกจิ กรรมในแต่ละด้านแล้ว จะตอ้ งระบวุ ่าจะจัดกจิ กรรมแนะแนวในดา้ นใด จำนวนก่ชี ว่ั โมงพร้อมทง้ั จะตอ้ ง
กำหนดรายละเอยี ดของแต่ละดา้ นให้ชัดเจนว่า ควรมเี รื่องอะไรบา้ ง เพอ่ื จะไดจ้ ดั ทำเป็นรายละเอียดของแต่ละ
กจิ กรรมย่อยตอ่ ไป
๕. การจัดทำรายละเอียดของแต่ละแผนกิจกรรม เร่มิ ตง้ั แต่การกำหนดชือ่ กิจกรรม จดุ ประสงค์
เวลา เน้ือหาสาระ วธิ ีดำเนนิ กิจกรรม ส่อื อปุ กรณ์ และการประเมินผล
๖. ปฏิบตั ิตามแผน วัดและประเมินผล และสรปุ รายงาน
๒. กจิ กรรมนกั เรียน
หลกั การ
กิจกรรมนักเรยี นเป็นกิจกรรมทสี่ ่งเสริมใหผ้ เู้ รยี นได้เข้าร่วมกจิ กรรมตามความถนัดและความสนใจ โดย
เนน้ เรอ่ื งคุณธรรมจรยิ ธรรม ความมีระเบยี บวินัย ไม่เหน็ แก่ตวั มคี วามเป็นผนู้ ำผู้ตามที่ดี มีความรบั ผดิ ชอบ
การทำงานร่วมกัน การรจู้ กั แกป้ ญั หา การตดั สินใจ ความมีเหตุผล การชว่ ยเหลือแบ่งปนั กัน เอื้ออาทรและ
สมานฉนั ท์ การจัดกิจกรรมนักเรียนดำเนินการ ดังนี้
๑. จัดใหส้ อดคล้องกับความสามารถและความสนใจของผเู้ รยี น
๒. เน้นใหผ้ เู้ รียนไดป้ ฏบิ ัติด้วยตนเอง ในทุกขนั้ ตอน
๓. เน้นการทำงานร่วมกันเปน็ กลุ่มตามความเหมาะสมและสอดคล้องกบั วฒุ ิภาวะของผูเ้ รยี น
ตลอดจนบริบทของสถานศึกษาและทอ้ งถน่ิ
วตั ถุประสงค์
๑. เพ่อื พฒั นาผ้เู รยี นให้มีระเบยี บวินยั มคี วามเปน็ ผ้นู ำผู้ตามทด่ี ี และมคี วามรับผดิ ชอบ
๒. เพื่อพฒั นาผู้เรยี นใหม้ ีทกั ษะการทำงานร่วมกนั รจู้ กั การแก้ปญั หา มเี หตุผล ตัดสนิ ใจที่
เหมาะสม ชว่ ยเหลือแบ่งปัน เออื้ อาทรและสมานฉันท์
๓. ส่งเสริมสนับสนุนใหผ้ ูเ้ รียนมีคุณธรรมจรยิ ธรรมและคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
๔. สง่ เสริมสนับสนุนให้ผูเ้ รียนได้ปฏิบัติกิจกรรมตามความถนดั และความสนใจ
ขอบขา่ ย
กจิ กรรมนักเรยี นประกอบด้วย
๑. กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี
๒. กจิ กรรมชมรม ชมุ นุม
๒.๑ กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี
กระบวนการลูกเสือ คือ กระบวนการพฒั นาเยาวชน มีวัตถุประสงค์เพอื่ ฝึกอบรม ให้
การศึกษาและพัฒนาเยาวชนใหเ้ ปน็ พลเมอื งดี โดยไม่คำนงึ ถึงเชื้อชาติ ศาสนา ท้ังน้ี เปน็ ไปตามความ
มุ่งประสงค์ หลกั การ และวิธกี ารซึง่ ลูกเสือโลกได้กำหนดไว้
ปัจจบุ ันกระบวนการลูกเสอื ถือเปน็ กระบวนการทางการศึกษาสว่ นหนึ่ง ซ่งึ มงุ่ พัฒนาสมรรถภาพของ
บุคคล ทง้ั ทางสมอง รา่ งกาย จติ ใจ และศลี ธรรม เพื่อใหเ้ ป็นบคุ คลทม่ี ีความประพฤตดิ งี าม ไม่กระทำตนให้เป็น
ปญั หาต่อสงั คม และดำรงชีวติ อย่างมีความหมายและสขุ สบาย
หลักการ
กระบวนการลูกเสือมีหลักการท่สี ำคัญ ดงั น้ี
๑. มศี าสนาเปน็ หลกั ยึดทางจติ ใจ จงรักภกั ดตี อ่ ศาสนาทีต่ นนับถอื และพงึ ปฏิบัติศาสนกจิ ด้วย
ความจรงิ ใจ
๒. จงรกั ภักดตี ่อพระมหากษตั รยิ ์และประเทศชาตขิ องตน พร้อมดว้ ยการสง่ เสริมและสนบั สนนุ
สนั ตสิ ขุ และสันติภาพ ความเข้าใจท่ดี ีซึ่งกันและกัน และความร่วมมอื ซง่ึ กันและกนั ตงั้ แต่ระดบั ท้องถิ่น
ระดับชาติ และระดบั นานาชาติ
๓. เข้ารว่ มพัฒนาสังคม ยอมรับ และให้ความเคารพในเกียรติและศักด์ิศรีของผู้อ่นื และเพ่ือน
มนษุ ยท์ ุกคน รวมทงั้ ธรรมชาตแิ ละสรรพส่ิงท้ังหลายในโลก
๔. มคี วามรบั ผดิ ชอบต่อการพฒั นาตนเองอย่างต่อเน่ือง
๕. ลกู เสอื ทุกคนต้องยึดม่ันในคำปฏญิ าณและกฎของลูกเสอื
วัตถุประสงค์
พระราชบัญญตั ิ พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๘ ไดก้ ำหนดวตั ถปุ ระสงค์ ของการฝกึ อบรมลกู เสอื เพือ่ พัฒนา
ลูกเสอื ทง้ั ทางกาย สติปญั ญา จติ ใจ และศีลธรรม ให้เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ และชว่ ยสร้างสรรคส์ ังคม
ให้เกิดความสามัคคี และมีความเจริญก้าวหนา้ ทง้ั น้เี พ่ือความสงบสุข และความม่ันคง ของประเทศชาตติ าม
แนวทาง ดังน้ี
๑. ใหม้ นี ิสยั ในการสังเกต จดจำเช่ือฟัง และพ่ึงตนเอง
๒. ใหม้ ีความซื่อสตั ยส์ ุจริต มีระเบยี บวนิ ยั และเหน็ อกเหน็ ใจผอู้ ่นื
๓. ให้รูจ้ ักบำเพ็ญตนเพ่ือสาธารณประโยชน์
๔. ใหร้ จู้ ักทำการฝีมอื และฝกึ ฝนการทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม
๕. ให้รู้จักและสง่ เสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรมและความม่ันคง ของประเทศชาติ
ขอบข่าย
กิจกรรมลกู เสือเนตรนารีเป็นกิจกรรมท่ีมุง่ ปลูกฝงั ระเบยี บวินยั และกฎเกณฑ์เพ่ือการอยรู่ ่วมกนั ใหร้ จู้ ัก
การเสียสละและบำเพญ็ ประโยชน์ แก่สังคมและวถิ ีชีวิตในระบอบประชาธปิ ไตย ซง่ึ การจัดกจิ กรรมลกู เสือ เนตร
นารใี หเ้ ป็นไปตามข้อบังคบั ของสำนกั งานลูกเสือแห่งชาติ รวมทั้งใหส้ อดคลอ้ งกบั หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั
พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ โดยกำหนดหลักสูตรเป็น ๓ ประเภท คอื
๑. ลูกเสอื สำรอง ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๑-๓
๒. ลูกเสือสามญั ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๔-๖
๓. ลกู เสอื สามัญรุ่นใหญ่ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๑-๓
แนวการจดั กิจกรรม
การจดั กจิ กรรมลูกเสือเนตรนารี มแี นวทางการจัดกิจกรรมตามวิธีการลูกเสอื ซง่ึ มอี งคป์ ระกอบ ๗
ประการ คือ
๑. คำปฏญิ าณและกฎ ถือเปน็ หลักเกณฑท์ ีล่ กู เสือทุกคนให้คำมัน่ สัญญา ว่าจะปฏิบัติตามกฎของ
ลูกเสือ กฎของลูกเสือมีไว้ให้ลกู เสอื เป็นหลักในการปฏบิ ัติ ไม่ได้ ห้ามทำ หรือบังคับให้ ทำ แต่ถ้าจะทำ ก็จะทำให้
เกิดผลดแี กต่ ัวเอง เป็นคนดี ได้รับการยกย่อง เปน็ คนดี ได้รับการยกย่องวา่ เป็นผมู้ ีเกียรติ เช่อื ถือได้
๒. เรียนร้จู ากการกระทำ เปน็ การพฒั นาสว่ นบคุ คล ความสำเร็จหรอื ไมส่ ำเร็จของผลงานอยู่ทกี่ าร
กระทำของตนเอง ทำให้มีความรู้ทช่ี ดั เจน และสามารถแก้ปัญหาตา่ ง ๆ ดว้ ยตวั เองได้ และทา้ ทาย
ความสามารถของตนเอง
๓. ระบบหมู่ เป็นรากฐานทแ่ี ท้จริงของการลูกเสือ เปน็ พื้นฐานในการอยูร่ ่วมกนั การยอมรบั ซึ่ง
กนั และกัน การแบ่งหน้าท่คี วามรับผดิ ชอบ การช่วยเหลือซึ่งกนั และกนั ซ่งึ เป็นการเรยี นรู้การใช้ประชาธิปไตย
เบ้อื งตน้
๔. การใช้สญั ลักษณ์รว่ มกนั ฝกึ ใหม้ คี วามเปน็ หน่ึงเดยี ว ในการเป็นสมาชิกลูกเสอื เนตรนารี ดว้ ย
การใช้สญั ลักษณ์ร่วมกนั ได้แก่ เครือ่ งแบบ เคร่ืองหมาย การทำความเคารพ รหัส คำปฏิญาณ กฎ คติพจน์ คำ
ขวญั ธง เป็นต้น วิธีการนี้ จะช่วยให้ผเู้ รียนตระหนกั และภาคภมู ิใจ ในการเป็นสมาชกิ ขององค์การลกู เสือแหง่ โลก
ซึง่ มสี มาชิกอยทู่ ่ัวโลกและเป็นองค์กรทีม่ ีจำนวนสมาชกิ มากทส่ี ดุ ในโลก
๕. การศกึ ษาธรรมชาติ คือส่งิ สำคัญอนั ดับหนึ่งในกจิ กรรมลกู เสือ ธรรมชาตอิ นั โปรง่ ใส
ตามชนบท ปา่ เขา ปา่ ละเมาะและพุ่มไม้ เป็นทีป่ รารถนาอย่างยง่ิ ในการไปทำกจิ กรรมกบั ธรรมชาติ การปนี เขา
ต้งั ค่ายพักแรมในสุดสปั ดาห์ หรอื ตามวาระของการอย่คู า่ ยพกั แรมตามกฎระเบยี บ เปน็ ที่เสนห่ าแกเ่ ดก็ ทุกคน
๖. ความก้าวหน้าในการเขา้ ร่วมกิจกรรม กจิ กรรมต่าง ๆ ท่ีจดั ให้เด็กทำ ต้อง ใหม้ ีความกา้ วหน้า
และดงึ ดดู ใจ สร้างให้เกดิ ความกระตือรือร้น อยากทจ่ี ะทำและวัตถปุ ระสงคใ์ นการจดั แต่ละอย่างใหม้ ี
ความสมั พันธห์ ลากหลายในการพฒั นาตนเอง การเล่นเกมท่สี นุกสนาน การแขง่ ขันกนั ก็เปน็ สง่ิ ที่ดงึ ดดู ใจและ
เปน็ การจงู ใจทีด่ ี
๗. การสนบั สนุนโดยผ้ใู หญ่ ผู้ใหญ่เปน็ ผทู้ ่ีชี้แนะหนทางที่ถูกต้องให้แกเ่ ด็ก เพือ่ ให้เขาเกดิ ความ
มั่นใจในการทจี่ ะตัดสินใจกระทำสิ่งใดลงไป ทงั้ คู่มคี วามต้องการซ่งึ กันและกัน เด็กกต็ อ้ งการให้ผู้ใหญช่ ว่ ยชีน้ ำ
ผใู้ หญ่เองกต็ อ้ งการนำพาให้ไปสู่หนทางที่ดี และดีท่สี ดุ จึงเป็นการรว่ มมือกนั ท้ังสองฝ่าย
๒.๒ กิจกรรมชุมนุม / ชมรม
วตั ถุประสงค์
๑. เพ่อื ให้ผู้เรียนไดป้ ฏิบัติกจิ กรรม ตามความสนใจ ความถนัด และความต้องการของตน
๒. เพ่ือให้ผเู้ รียนได้พฒั นาความรู้ ความสามารถดา้ นการคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ใหเ้ กดิ
ประสบการณ์ทง้ั ทางวชิ าการและวชิ าชีพตามศักยภาพ
๓. เพ่ือส่งเสริมให้ผเู้ รียนใชเ้ วลาให้เกดิ ประโยชนต์ ่อตนเองและส่วนรวม
๔. เพอื่ ให้ผู้เรียนทำงานรว่ มกบั ผอู้ ื่นตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย
ขอบข่าย
กจิ กรรมชมรม ชุมนุมมีขอบข่าย ดังน้ี
๑. เป็นกิจกรรมตามความสนใจของผูเ้ รียน
๒. เป็นกจิ กรรมที่จัดเสริมหลกั สูตรสถานศกึ ษาในดา้ นความร้แู ละทักษะปฏบิ ัติของผเู้ รียน
๓. สามารถจัดได้ทั้งในและนอกสถานศึกษา ท้ังในและนอกเวลาเรยี น
แนวการจดั กจิ กรรมชุมนุม / ชมรม
๑. จดั ให้ผเู้ รยี นดำเนนิ กจิ กรรรมทหี่ ลากหลายทั้งรูปแบบภายในหรอื ภายนอกห้องเรยี นและ
ระยะเวลาการจัดกิจกรรม เช่น กิจกรรมระยะเวลา ๑ ภาคเรยี น กิจกรรมระยะเวลา ๑ ปีการศึกษาและกิจกรรม
ระยะเวลามากกวา่ ๑ ปีการศึกษา
๒. ในกรณีท่ียังไม่มกี ารจัดต้งั ชมรม ใหผ้ ู้เรยี นรว่ มกนั จดั ตัง้ ชมรม ชุมนมุ และเชิญครทู ่ีปรึกษา
รว่ มกนั ดำเนินกจิ กรรมชมรมตามระเบียบว่าดว้ ยระเบยี บโรงเรียนวัดหนองตมิ วา่ ดว้ ยการจัดกจิ กรรมชมุ นมุ ตาม
หลกั สตู รกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๔
๓. กรณีท่จี ดั ตั้งชมรมแล้วให้สำรวจความสนใจของผเู้ รียนในการเลือกเข้าร่วมชุมนมุ ชมรม
๔. แลกเปลี่ยนเรยี นรแู้ ละเผยแพร่กิจกรรม
๕. ครทู ีป่ รกึ ษากจิ กรรมประเมนิ ตามหลักเกณฑ์การประเมนิ ผล
๓. กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เปน็ กจิ กรรรมท่สี ่งเสริมใหผ้ ู้เรยี นบำเพญ็ ตนให้เปน็ ประโยชน์
ต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ในลักษณะอาสาสมคั ร เพื่อชว่ ยขัดเกลาจติ ใจของผ้เู รยี นให้มีความ
เมตตากรุณา มีความเสียสละและมจี ิตสาธารณะเพ่ือช่วยสรา้ งสรรค์สงั คมให้อย่รู ว่ มกันอย่างมคี วามสขุ
หลักการ
กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ เปน็ กิจกรรรมท่สี ง่ เสริมใหผ้ ้เู รยี นสามารถพัฒนาตนเองตาม
ธรรมชาตแิ ละเต็มตามศักยภาพ โดยคำนงึ ถงึ ความแตกต่างระหว่างบุคคลและพฒั นาการทางสมอง เน้นให้
ความสำคญั ท้ังความรแู้ ละคุณธรรมจรยิ ธรรม จดั กิจกรรมโดยให้ผ้เู รยี นสร้างสรรค์ออกแบบกิจกรรมบำเพญ็
ประโยชน์อยา่ งหลากหลายรปู แบบ เพ่อื แสดงถึงความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคมในลกั ษณะจิตอาสา
วตั ถุประสงค์
๑. เพื่อให้ผ้เู รียนบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ตอ่ ครอบครวั โรงเรียนชุมชนสังคมและ
ประเทศชาติ
๒. เพ่อื ให้ผเู้ รียน ออกแบบกิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชนอ์ ยา่ งสร้างสรรค์ตามความ
ถนัดและความสนใจในลกั ษณะอาสาสมัคร
๓. เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รียนพฒั นาศักยภาพในการจดั กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนไ์ ด้อยา่ งมี
ประสทิ ธิภาพ
๔. เพอ่ื ให้ผู้เรียนปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์จนเกดิ คุณธรรมจรยิ ธรรมตาม
คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
๕. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นมจี ิตสาธารณะและใช้เวลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์
ขอบขา่ ย
เป็นกระบวนการจัดกจิ กรรม ในลกั ษณะบำเพญ็ ประโยชน์และกิจกรรมจิตอาสา โดยผู้เรียนดำเนนิ การ
ด้วยตนเองในลักษณะอาสาสมคั รเพ่ือแสดงความรับผดิ ชอบ ความดงี าม ความเสียสละต่อสังคม มีจิตอาสาและ
จิตสาธารณะ
แนวการจัดกจิ กรรม
การจดั กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ เนน้ ใหผ้ ู้เรยี นร่วมกนั สำรวจ และวิเคราะห์สภาพปัญหา
ร่วมกนั ออแบบการจดั กิจกรรม วางแผนการจดั กิจกรรม ปฏิบัตกิ จิ กรรมตามแผน รว่ มสรปุ และประเมนิ ผลการจัด
กิจกรรม รว่ มรายงาน พร้อมท้งั ประชาสัมพนั ธแ์ ละเผยแพร่การจดั กจิ กรรม
การจัดกจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ สามารถเลอื กกจิ กรรมหรือเขา้ ร่วมกิจกรรมไดท้ ง้ั
ภายในและภายนอกโรงเรยี น ดังน้ี
๑. จดั กจิ กรรมในลกั ษณะบรู ณาการใน ๘ กลุ่มสาระการเรยี นรแู้ ละประสบการณ์ของผ้เู รียน โดยผูเ้ รยี น
สามารถจัดกจิ กรรมตามองค์ความรทู้ ี่ได้จากการเรยี นรูแ้ ละประสบการณ์ ซ่ึงสามารถจัดกิจกรรมได้ดังนี้
๑.๑ จัดกิจกรรมภายในโรงเรยี น
๑.๒ จัดกิจกรรมภายนอกโรงเรียน
๒. จดั กิจกรรมลักษณะโครงการ โครงงาน หรอื กิจกรรม หมายถึง กิจกรรมทีผ่ ู้เรียนนำเสนอการจัด
กิจกรรมต่อโรงเรยี นเพ่ือขอความเห็นชอบในการจดั ทำโครงการ โครงงาน หรอื กจิ กรรม ซ่ึงมีระยะเวลาเริ่มต้น
และสนิ้ สดุ ทชี่ ดั เจนซ่ึงสามารถจัดกิจกรรมได้ดังน้ี
๒.๑ จัดกจิ กรรมภายในโรงเรยี น
๒.๒ จัดกจิ กรรมภายนอกโรงเรียน
๓. การจดั กิจกรรมร่วมกับองค์กรอนื่ หมายถึง กจิ กรรมท่ผี ู้เรียนอาสาสมคั รเขา้ รว่ มกิจกรรมกบั
หนว่ ยงานอ่ืนๆที่จัดกจิ กรรมในลกั ษณะเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ โดยผ้เู รยี นสามารถเลือกเข้ารว่ ม
กจิ กรรมได้ดงั น้ี
๓.๑ ร่วมกบั หนว่ ยงานอนื่ ท่เี ข้ามาจัดกจิ กรรมในโรงเรียน
๓.๒ ร่วมกับหนว่ ยงานอนื่ ทจี่ ัดกจิ กรรมนอกโรงเรียน
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น
การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี นตามหลกั สตู รรงเรียนวัดหนองตมิ พทุ ธศักราช ๒๕๕๓ เป็นการ
ประเมินโดยผู้เรยี นตอ้ งมเี วลาเขา้ รว่ มกิจกรรม ปฏิบตั ิกจิ กรรมและมีผลงาน/ชิน้ งาน/คณุ ลกั ษณะผา่ นการ
ประเมนิ ตามเกณฑ์ที่กำหนด
หลกั การ
การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนตามหลักสตู รโรงเรียนวัดหนองตมิ พุทธศกั ราช ๒๕๕๓ เป็นการ
ประเมนิ การปฏิบัตกิ ิจกรรมหรอื ผลงาน/ช้นิ งาน/คุณลักษณะของผูเ้ รยี นเป็นระยะอยา่ งต่อเน่อื ง มงุ่ เนน้ ให้ผเู้ รยี น
ค้นหาศกั ยภาพของตนเอง สะท้อนแนวคิดจากการปฏิบตั กิ จิ กรรม การทำงานกลมุ่ และการมจี ติ สาธารณะ โดย
ทกุ ฝ่ายทเี่ กยี่ วข้อง มีสว่ นรว่ มในการประเมนิ
แนวทางการประเมนิ
กำหนดแนวทางที่ชัดเจน ในการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๒ ประการ คือ การประเมนิ กจิ กรรม
พฒั นาผ้เู รยี นรายกจิ กรรม และการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียนเพือ่ การตัดสิน
๑. การประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนรายกจิ กรรม มีแนวปฏบิ ัติ ดงั น้ี
๑.๑ ตรวจสอบเวลาเข้ารว่ มกิจกรรมของผู้เรยี นใหเ้ ป็นไปตามเกณฑท์ ่สี ถานศึกษากำหนด
(ผู้เรียนต้องมเี วลาเขา้ รว่ มกิจกรรมตลอดกจิ กรรมไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาจดั กจิ กรรมท้ังหมด)
๑.๒ ประเมินกิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี นจากการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมและผลงาน ชนิ้ งานคุณลักษณะ
ผู้เรยี นตามเกณฑท์ ี่กำหนดด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย เนน้ การมสี ่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องในการปฏิบตั ิกจิ กรรม
๑.๓ ผูเ้ รยี นท่มี เี วลาการเข้ารว่ มกจิ กรรม มีการปฏบิ ตั ิกิจกรรมและมีผลงาน/ชน้ิ งาน/
คุณลักษณะของผ้เู รยี นตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากำหนด เปน็ ผผู้ า่ นการประเมินกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี นราย
กจิ กรรมและนำผลการประเมินไปบันทึกในระเบียนแสดงผลการเรยี น
๑.๔ ผูเ้ รียนทมี่ ผี ลการประเมินไมผ่ า่ นเกณฑ์เวลาการเข้าร่วมกิจกรรมการปฏิบตั ิกิจกรรม และ
ผลงาน ช้ินงาน คณุ ลกั ษณะตามทส่ี ถานศกึ ษากำหนด การประเมินผลกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี นครหู รอื ผูร้ บั ผิดชอบ
ต้องดำเนินการซ่อมเสริมและประเมนิ จนผ่าน ท้ังน้ีควรดำเนนิ การใหเ้ สร็จส้นิ ในปกี ารศึกษานนั้ ยกเวน้ มเี หตุ
สุดวสิ ัย
๒. การประเมินกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นเพ่อื การตดั สิน
การประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพอ่ื การตัดสินเลอื่ นช้ันและจบระดับการศึกษา เป็นการประเมนิ การ
ผ่านกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี นเป็นรายป/ี รายภาค เพื่อสรปุ ผลการผ่านในแต่ละกจิ กรรมสรุปผลรวมเพอ่ื เลื่อนชน้ั และ
ประมวลผลรวมในปสี ุดทา้ ย เพือ่ จบการศึกษาแต่ละระดับการศกึ ษา โดยดำเนนิ การ ดงั มีแนวปฏิบตั ิ ดงั นี้
๒.๑ กำหนดใหม้ ผี ู้รับผิดชอบในการรวบรวมขอ้ มูลเกยี่ วกบั การร่วมกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี นของ
ผเู้ รยี นทกุ คนตลอดระดับการศึกษา
๒.๒ ผู้รับผิดชอบสรุปและตดั สนิ ผลการเข้ารว่ มกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี นของผเู้ รียนเปน็ รายบคุ คล
ตามเกณฑท์ สี่ ถานศึกษากำหนด เกณฑ์การจบแตล่ ะระดับการศกึ ษาที่สถานศึกษากำหนดนั้น ผเู้ รยี นจะต้องผ่าน
กจิ กรรม ๓ กิจกรรมท่ีสำคัญ ดังน้ี
๑) กจิ กรรมแนะแนว
๒) กิจกรรมนักเรยี น ได้แก่ กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารีและกิจกรรมชมุ นมุ ชมรม
๓) กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์
๒.๓ ผรู้ ับผิดชอบเสนอผลการประเมนิ ต่อคณะอนุกรรมการกล่มุ สาระการเรียนรแู้ ละกิจกรรม
พฒั นาผ้เู รียนให้ความเห็นชอบ
๒.๔ ผู้รับผดิ ชอบเสนอผบู้ รหิ ารสถานศึกษาพิจารณาเพื่ออนุมตั ผิ ลการประเมินกจิ กรรมพัฒนา
ผู้เรยี นผา่ นเกณฑ์การจบแต่ละระดบั การศึกษา
บทบาทหนา้ ที่คณะกรรมการคณะต่างๆ
๑. คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
- อนุมตั แิ ละให้ความเห็นชอบกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นของสถานศึกษา ตามเกณฑ์และแนว
ปฏบิ ตั ิในการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น
๒. คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรและวชิ าการของสถานศึกษา
- กำหนดกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียนของสถานศึกษา
๓. คณะกรรมการกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น
- สนับสนนุ การจดั กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียนและการประเมินตามแนวทางท่ีกำหนดไว้
- พิจารณาตัดสนิ ให้ความเหน็ ชอบการวัดและประเมินผลกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น
- จัดระบบการปรับปรุงแก้ไขผู้เรียนท่ไี ม่ผ่านด้วยวิธกี ารอันเหมาะสม
๔. ครผู ู้สอน
- แจ้งเกณฑ์และแนวทางประเมนิ ให้ผเู้ รียนรับทราบ
- บูรณาการการพัฒนา การประเมินเข้ากบั สาระการเรียนรูท้ ี่สอน
- แก้ไขปรบั ปรุงผเู้ รยี น
- ใหค้ วามร่วมมือกบั คณะกรรมการกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนในการพัฒนาผเู้ รียน ในการพัฒนา
ประเมินและแก้ไขผู้เรียน
กระบวนการจดั กิจกรมพัฒนาผ้เู รยี น
การจดั กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น เป็นกิจกรรมทจ่ี ดั อยา่ งเป็นกระบวนการด้วยรูปแบบ วิธีการหลากหลาย
เพอื่ การพฒั นาผเู้ รียนใหถ้ งึ พร้อมทุกดา้ น เปน็ การเติมเต็มนอกเหนือจากสาระการเรยี นรู้
ท่ีหลกั สูตรได้จดั ให้ตอบสนองต่อความต้องการของผ้เู รยี น
การจดั กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนตอ้ งแจ้งแนวปฏิบัตขิ องกิจกรรมใหผ้ ู้เรยี นรับทราบ กิจกรรมทจ่ี ัดต้อง
เหมาะสมกบั ผเู้ รยี น บูรณาการกับชีวติ จรงิ ใชก้ ระบวนการกลุ่มในการจดั ประสบการณ์ ดงั น้นั การประเมินจึง
ตอ้ งกระทำในทุกขน้ั ตอนของกระบวนการ ซึ่งกระบวนการจดั กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนเนน้ ให้ผเู้ รียนเปน็ เจา้ ของการ
จัดการเรียนรู้ มีแนวทางดังตอ่ ไปน้ี
๑. ปฐมนเิ ทศ
ใหผ้ เู้ รยี นเข้าใจเปา้ หมายและวธิ กี ารดำเนนิ กิจกรรม
๒. เลอื กตั้งคณะกรรมการ
จัดให้ผู้เรยี นเลือกคณะกรรมการดำเนินกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น
๓. การทำแผนงาน/โครงการ
สง่ เสรมิ ให้ผ้เู รยี นจดั ทำแผนงาน/โครงการและปฏิทนิ การดำเนินกจิ กรรมร่วมกนั โดย
กระบวนการกลุม่
๔. การจดั เตรยี มความพร้อม
ประสานงานและอำนวยความสะดวกแก่ผู้เรยี นด้านทรพั ยากรในการดำเนนิ กจิ กรรม
๕. การขอรบั คำปรึกษา
ใหค้ ำปรกึ ษาแกผ่ ู้เรียน ตลอดจนกำกับให้การดำเนนิ กจิ กรรมเป็นไปตามแผนท่ีวางไว้
๖. ประเมนิ ผล
สง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นประเมนิ ตนเองและกลุ่ม
๗. สรปุ และรายงานผล
สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นจดั ทำรายงานผลการปฏิบตั กิ ิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน
บทท่ี ๕
การจดั การเรียนรแู้ ละการสง่ เสริมการเรยี นรู้
ตามหลกั สูตรสถานศึกษาโรงงเรียนวัดหนองตมิ
การจัดการเรยี นร้เู ป็นกระบวนการสำคญั ในการนำหลักสูตรสู่การปฏบิ ตั ิ หลักสตู รแกนกลางการศึกษา
ขน้ั พน้ื ฐาน เป็นหลักสตู รทม่ี ีมาตรฐานการเรยี นรู้ สมรรถนะสำคญั และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรยี น
เป็นเปา้ หมายสำหรบั พฒั นาเด็กและเยาวชน
ในการพฒั นาผู้เรยี นใหม้ คี ุณสมบัตติ ามเป้าหมายหลกั สตู ร ผสู้ อนพยายามคดั สรรกระบวนการจดั การ
เรยี นรู้ โดยชว่ ยให้ผู้เรียนเรยี นรู้ผา่ นสาระทีก่ ำหนดไว้ในหลกั สูตร ๘ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ รวมท้ังปลกู ฝงั
เสรมิ สรา้ งคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ พฒั นาทกั ษะต่าง ๆ อันเปน็ สมรรถนะสำคญั ให้ผเู้ รยี นบรรลตุ ามเป้าหมาย
หลกั การจัดการเรยี นรตู้ ามหลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั หนองติม
การจดั การเรยี นรตู้ ามหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดหนองติม พุทธศักราช ๒๕๕๗ ตามหลักสตู ร
แกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ยดึ หลกั การจดั การเรยี นรตู้ ามแนวทางของ
พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นมีความสำคัญท่สี ดุ เชือ่ วา่ ทุกคนมีความสามารถ
เรียนรู้และพฒั นาตนเองได้ ยึดประโยชน์ที่เกดิ กับผเู้ รยี น โดยมเี ป้าหมายให้ผูเ้ รยี นเปน็ คนดี เกง่ มีความเป็นไทย
และทำงานรว่ มกับผู้อ่นื ได้อยา่ งมคี วามสขุ ในกลมุ่ สาระการเรียนรทู้ งั้ ๘ กลุ่ม กระบวนการจัดการเรยี นร้ตู อ้ ง
สง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี น สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คำนงึ ถงึ ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลและ
พัฒนาการทางสมอง เน้นให้ความสำคญั ท้ังความรู้ และคุณธรรม คดิ เป็นองคร์ วม และร่วมมือกนั พัฒนา
สงั คมไทย การจดั การเรยี นรเู้ พื่อให้ผูเ้ รยี นมคี วามรู้ ความสามารถตามมาตรฐานการเรยี นรู้ สมรรถนะสำคัญ
และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ตามที่กำหนดไวใ้ นหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระบวนการจดั การ
เรียนรตู้ อ้ งส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คำนึงถงึ ความแตกต่างระหวา่ ง
บคุ คลและพฒั นาการทางสมอง เน้นให้ความสำคัญทัง้ ความรู้ และคุณธรรม การจดั การเรยี นรู้ตามหลักสูตร
สถานศึกษาโรงเรียนวัดหนองติม พทุ ธศักราช ๒๕๕๗ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ จงึ ได้กำหนดแนวดำเนนิ การเพ่ือให้การจดั การเรียนรู้ตามหลักสตู รประสบความสำเรจ็ ตามจุดมงุ่ หมาย
ดังน้ี
๑. จดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้โดยยดึ หลักการพัฒนาผู้เรียนใหถ้ ึงศักยภาพสูงสดุ คือ ผูเ้ รียนได้ พฒั นา
ตนเอง ท้งั ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม มคี วามร้สู ึกท่ดี ีเกีย่ วกบั ตนเอง ภาคภูมิใจในผลการปฏบิ ัติ
๒. จัดประสบการณ์การเรียนรโู้ ดยยึดชวี ิตจริงของผู้เรยี นเป็นหลกั เนน้ ให้ผู้เรยี นมีศักยภาพในการคิด
เชงิ ระบบ และคิดอย่างมวี ิจารณญาณ มรี ปู แบบการคิดของตนเอง คน้ พบตนเอง
๓. จัดประสบการณก์ ารเรียนรโู้ ดยยึดหลกั ความแตกต่างระหว่างบุคคล และหลกั การเรียนรูใ้ นเชิง
พหปุ ญั ญา และใช้กระบวนการวิจัยในการแกป้ ัญหาและพัฒนาผู้เรียน
๔. จัดประสบการณ์โดยใชค้ ุณธรรมนำความรู้ บรู ณาการคุณธรรมในการจดั ประสบการณ์ทกุ กลมุ่ สาระ
การเรยี นรู้ และทุกข้นั ตอนในการจดั การเรยี นรู้ ถือวา่ ครูทุกคนมหี น้าทีพ่ ัฒนาผเู้ รียนให้ประพฤตติ นยดึ หลัก
คณุ ธรรม และพฒั นาตนให้มคี ่านยิ มอนั พงึ ประสงค์
๕. จัดบรรยากาศให้เอื้อต่อการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง มีอสิ ระในการคดิ ไดล้ งมือปฏิบัติจริง
ครพู รอ้ มใหค้ ำปรกึ ษา ใหก้ ำลงั ใจ เสริมแรงให้ผเู้ รยี นมคี วามเชื่อมัน่ วา่ ตนเองมีศกั ยภาพในการเรยี นรู้ในเชงิ พหุ
ปัญญา ไม่ด้านใดก็ด้านหนึง่ หรอื หลายดา้ นพร้อมกัน
๖. จดั ประสบการณ์การเรียนร้ใู ห้มีความสมั พันธ์ เชื่อมโยง หรือบรู ณาการทง้ั ภายในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ และระหว่างกล่มุ สาระการเรียนรใู้ ห้มากทีส่ ุด
๗. จัดประสบการณก์ ารเรียนรูใ้ หย้ ืดหยนุ่ ตามเหตกุ ารณ์ และสภาพท้องถ่นิ โดยใชแ้ หล่งการเรยี นรู้และ
ภูมปิ ัญญาท้องถิ่นในการจัดการเรียนรตู้ ามความเหมาะสม
๘. จดั ประสบการณก์ ารเรียนรโู้ ดยมุ่งเน้นกระบวนการเรียนรู้ กระบวนการคิดอยา่ งมเี หตุผล และ
สรา้ งสรรค์ กระบวนการกลุ่ม
การจัดการเรียนรทู้ ี่เน้นผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ ผเู้ รียนจะต้องอาศัยกระบวนการเรียนรูท้ หี่ ลากหลาย เป็น
เคร่อื งมือที่จะนำพาตนเองไปส่เู ป้าหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรูท้ ี่จำเปน็ สำหรับผ้เู รียน อาทิ
กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม
กระบวนการเผชญิ สถานการณแ์ ละแก้ปญั หา กระบวนการเรียนรู้ จากประสบการณจ์ รงิ กระบวนการปฏิบตั ิ
ลงมอื ทำจริง กระบวนการจดั การ กระบวนการวิจยั กระบวนการเรยี นร้กู ารเรยี นรขู้ องตนเอง
กระบวนการพัฒนาลกั ษณะนิสัย
กระบวนการเหลา่ นเี้ ปน็ แนวทางในการจัดการเรยี นร้ทู ผี่ ูเ้ รยี นควรได้รบั การฝึกฝน พฒั นา เพราะจะ
สามารถชว่ ยใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรยี นรู้ได้ดี บรรลุเป้าหมายของหลกั สูตร ดงั นนั้ ผู้สอนจึงจำเปน็ ตอ้ งศึกษา
ทำความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ เพือ่ ให้สามารถเลือกใชใ้ นการจดั กระบวนการเรยี นร้ไู ด้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ
การออกแบบการจดั การเรยี นรู้
ผู้สอนต้องศึกษาหลกั สูตรสถานศึกษาใหเ้ ขา้ ใจถงึ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชว้ี ัด สมรรถนะสำคัญของ
ผู้เรียน คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ และสาระการเรยี นรู้ทีเ่ หมาะสมกบั ผู้เรยี น แล้วจึงพิจารณาออกแบบการ
จดั การเรียนรู้โดยเลอื กใชว้ ิธีสอนและเทคนคิ การสอน ส่ือ/แหลง่ เรยี นรู้ การวัดและประเมินผล เพ่ือให้ผู้เรียนได้
พัฒนาเต็มตามศักยภาพและบรรลตุ ามเปา้ หมายท่ีกำหนด
๑. บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน
การจัดการเรียนร้เู พื่อให้ผู้เรยี นมคี ณุ ภาพตามเปา้ หมายของหลักสตู ร ท้ังผ้สู อนและผู้เรียนควรมบี ทบาท
ดงั นี้
๑.๑ บทบาทของผู้สอน
๑) ศกึ ษาวิเคราะหผ์ ้เู รียนเปน็ รายบคุ คล แลว้ นำข้อมูลมาใช้ในการวางแผน
การจดั การเรยี นรู้ ที่ทา้ ทายความสามารถของผู้เรยี น
๒) กำหนดเป้าหมายท่ตี ้องการใหเ้ กดิ ขนึ้ กบั ผเู้ รยี น ด้านความรแู้ ละทักษะ
กระบวนการ ทเี่ ป็นความคิดรวบยอด หลักการ และความสัมพนั ธ์ รวมทัง้ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
๓) ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรยี นรู้ทีต่ อบสนองความแตกตา่ งระหว่างบุคคลและ
พฒั นาการทางสมอง เพื่อนำผู้เรียนไปส่เู ป้าหมาย
๔) จัดบรรยากาศท่เี ออ้ื ต่อการเรียนรู้ และดูแลชว่ ยเหลอื ผู้เรยี นใหเ้ กิดการเรียนรู้
๕) จดั เตรยี มและเลือกใช้สอ่ื ใหเ้ หมาะสมกับกจิ กรรม นำภมู ิปญั ญาท้องถิน่
เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมมาประยกุ ต์ใช้ในการจัดการเรยี นการสอน
๖) ประเมินความก้าวหน้าของผ้เู รียนดว้ ยวิธกี ารท่ีหลากหลาย เหมาะสมกบั
ธรรมชาติของวิชาและระดับพัฒนาการของผูเ้ รยี น
๗) วิเคราะหผ์ ลการประเมนิ มาใชใ้ นการซ่อมเสรมิ และพัฒนาผู้เรียน รวมทั้ง
ปรบั ปรุงการจัดการเรยี นการสอนของตนเอง
๑.๒ บทบาทของผเู้ รียน
๑) กำหนดเปา้ หมาย วางแผน และรับผิดชอบการเรียนรู้ของตนเอง
๒) เสาะแสวงหาความรู้ เขา้ ถงึ แหล่งการเรยี นรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อความรู้
ตัง้ คำถาม คิดหาคำตอบหรอื หาแนวทางแก้ปญั หาดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ
๒) ลงมอื ปฏบิ ัติจริง สรุปสง่ิ ท่ไี ด้เรยี นรูด้ ้วยตนเอง และนำความรไู้ ปประยุกต์ใช้
ในสถานการณต์ ่าง ๆ
๓) มีปฏิสัมพนั ธ์ ทำงาน ทำกจิ กรรมรว่ มกบั กลมุ่ และครู
๔) ประเมินและพัฒนากระบวนการเรยี นรูข้ องตนเองอยา่ งต่อเนอื่ ง
การสง่ เสริมการเรียนรู้
ปจั จัยสำคัญทเ่ี ป็นสว่ นหน่งึ ของการจดั การศึกษาให้มีคณุ ภาพ และประสบความสำเรจ็ ตามจดุ มุ่งหมาย
ของหลักสูตร คือการพฒั นาระบบการส่งเสรมิ สนับสนนุ ของสถานศึกษาในดา้ นตา่ ง ๆ ท่จี ะเอ้ือใหส้ ามารถ
จดั การเรยี นการสอนได้อยา่ งมคี ุณภาพ สำหรบั แนวปฏิบตั ิในการส่งเสริมการเรียนรู้ และสนับสนนุ การจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนของสถานศึกษา ได้กำหนดแนวในการสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ ดังต่อไปนี้
๑. การจดั สภาพแวดลอ้ มในสถานศกึ ษาใหเ้ อ้ือต่อการใช้หลักสูตร การจดั สภาพแวดลอ้ มในสถานศกึ ษา
ให้เออื้ ตอ่ การใช้หลักสตู รเปน็ หน้าที่โดยตรงของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษาที่จะต้อง
ร่วมมือกนั โดยยึดเปา้ หมาย หลักการ และจุดเนน้ ตา่ ง ๆ ของหลักสตู รเป็นหลักในการดำเนินการ ทัง้ นี้เพื่อให้
ผู้เรียนไดเ้ รยี นร้แู ละพัฒนาตนเองไดอ้ ยา่ งเตม็ ศักยภาพ
๒. การจัดให้มีแหลง่ การเรียนรู้ ห้องสมุด และมุมหนังสือ หรอื แหลง่ วิชาท่จี ะให้ผเู้ รยี นได้ศึกษา ค้นควา้
หาความรดู้ ้วยตนเอง เพือ่ เพ่ิมพนู ประสบการณ์และความชำนาญ โดยเฉพาะห้องสมุดเปน็ แหลง่ การเรยี นร้ทู ่ี
สำคญั ยิ่งเพราะเป็นแหล่งที่รวบรวมองค์ความรทู้ ีเ่ ป็นประโยชนก์ ับผูเ้ รยี นโดยตรง นอกจากน้ยี งั จดั ให้มีแหลง่ การ
เรยี นรู้ในรปู ของศนู ย์การเรยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี ง หอ้ งคอมพิวเตอร์ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทางภาษา ห้องปฏบิ ตั ิการ
ทางวิทยาศาสตร์ ห้องคณิตศาสตร์ หอ้ งภาษาไทย เป็นต้น
๓. การจดั ให้มีบรเิ วณสำหรับใหผ้ เู้ รียนได้ฝกึ ปฏิบัตกิ ิจกรรมในกลุ่มสาระการเรยี นร้ตู า่ ง ๆ เพอื่ ใหผ้ ้เู รียน
ไดเ้ รียนรู้จากประสบการณจ์ รงิ ได้คิด ได้ทำ ไดแ้ สดงออก ได้เรียนร้เู อง และคน้ พบความรู้ด้วยตนเองตาม
ศกั ยภาพของนักเรยี นแต่ละคน
๔. การจดั ใหม้ แี หลง่ การเรยี นรใู้ นทอ้ งถน่ิ และการใช้ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ การจัดการเรียนรู้ตามหลกั สตู ร
เน้นการเรยี นรู้จากแหลง่ การเรยี นรทู้ ั้งในและนอกห้องเรียน ทั้งนเี้ พื่อผเู้ รยี นจะได้มโี อกาสทีจ่ ะสัมผัสกับชวี ติ จริง
นอกห้องเรยี นหรอื นอกโรงเรียน ไดพ้ บปะกบั ผู้คน ผู้รู้ ภูมปิ ัญญาของท้องถ่ินเพ่ือจะได้เรียนรู้ส่งิ ต่าง ๆ มากขึ้น มี
ประสบการณ์กว้างขวางขึ้น เรยี นร้ไู ด้ทุกเวลาและทุกสถานทไ่ี ม่จำกดั ว่าจะต้องเรียนร้จู ากผสู้ อนในสถานศึกษา
เท่านน้ั
๕. การวจิ ัยเพอื่ พัฒนาคุณภาพ การวิจยั เปน็ กระบวนการที่ควบคู่กบั กระบวนการเรียนรู้ และ
กระบวนการทำงานของผู้ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา ซ่งึ เป็นกลไกทนี่ ำไปสูส่ งั คมแหง่ ภูมิปัญญาและการเรียนรู้
ดงั นัน้ ในการจดั การเรียนรู้ ผสู้ อนต้องนำกระบวนการวจิ ยั มาผสมผสานหรอื บูรณาการเพื่อพฒั นาคุณภาพของ
ผู้เรยี น และสามารถใช้กระบวนการการวิจัยเปน็ สว่ นหนงึ่ ของกระบวนการเรียนรู้ นอกจากนี้ผลการวิจัย
ยังเปน็ ประโยชน์ต่อการแก้ปัญหาหรือพฒั นาคณุ ภาพของผูเ้ รยี นไดเ้ ปน็ อยา่ งดี
๖. การจัดเครือข่ายวิชาการ ผู้สอนนบั ว่ามสี ่วนสำคัญท่ีจะทำใหก้ ารจดั การเรียนร้ปู ระสบผลสำเร็จ
สถานศึกษาจงึ จดั ให้มเี ครือขา่ ยเชื่อมโยงกับสถานศึกษาอ่ืน ซึ่งเป็นสถานศึกษาในโครงการโรงเรยี นเครอื ข่าย การ
ใชห้ ลักสูตรสถานศกึ ษาของสำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาสระแกว้ เขต ๒ ทงั้ น้เี พ่ือให้ผสู้ อนไดแ้ ลกเปล่ยี นเรียนรู้
แลกเปล่ยี นประสบการณ์ในการจดั การเรียนรซู้ ง่ึ กนั และกัน ทำให้ไดร้ บั ความรู้ และแนวคิดใหม่ ๆ
ทห่ี ลากหลาย และกวา้ งขวาง ทสี่ ามารถนำไปพัฒนาการจดั การเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ นอกจากน้ยี ัง
ส่งเสริม และสนับสนนุ ให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนร้ทู างวิชาการ จากผู้สอนในสถานศึกษาเดียวกัน และสถานศึกษา
อนื่ ๆ ตลอดจนชมรมวชิ าการตา่ ง ๆ เพ่ือให้ผสู้ อนไดร้ บั การพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ
บทที่ ๖
การวัดและประเมนิ ผลการเรยี น
ตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดหนองติม
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดหนองติม พุทธศกั ราช ๒๕61 (ฉบับบปรับปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๔)
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา ขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จดั ทำขึน้ ภายใต้กรอบของหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ บรบิ ทของสภาพชุมชนและสงั คม ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ินของ
สถานศกึ ษา เพื่อใช้จัดในการศกึ ษาของสถานศึกษาเพื่อพัฒนาให้ผูเ้ รียนเปน็ สมาชิกท่ีดีของครอบครวั ชุมชน
สงั คม ประเทศชาติ และพลโลก จากความมูลเหตดุ ังกล่าว การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นตามหลักสูตร
สถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดหนองติม พทุ ธศักราช ๒๕61 (ฉบบั บปรบั ปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๔) ตามหลักสตู ร
แกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ จงึ ต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดการประเมินผลตาม
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ เปน็ หลกั ซึ่งการดำเนนิ การในการวดั และ
ประเมินผลการเรยี นรู้ของหลักสูตรสถานศึกษาได้กำหนดแนวทาง ในการดำเนินการดังตอ่ ไปนี้
การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้
การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลกั การพ้นื ฐานสองประการคือการประเมนิ เพ่ือ
พัฒนาผูเ้ รยี นและเพ่ือตัดสินผลการเรียน ในการพฒั นาคณุ ภาพการเรียนรขู้ องผู้เรยี นให้ประสบผลสำเรจ็ นน้ั
ผเู้ รยี นจะตอ้ งได้รบั การพัฒนาและประเมินตามตวั ชีว้ ดั เพื่อให้บรรลตุ ามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะ
สำคญั และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของผู้เรยี นซง่ึ เป็นเปา้ หมายหลกั ในการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรใู้ นทุก
ระดบั ไมว่ ่าจะเปน็ ระดบั ชัน้ เรียน ระดบั สถานศึกษา ระดับเขตพนื้ ที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและ
ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เปน็ กระบวนการพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียนโดยใชผ้ ลการประเมินเปน็ ข้อมูลและสารสนเทศ
ท่ีแสดงพัฒนาการ ความก้าวหนา้ และความสำเรจ็ ทางการเรยี นของผู้เรยี น ตลอดจนขอ้ มลู ท่เี ป็นประโยชนต์ ่อ
การส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนเกิดการพฒั นาและเรียนรู้อยา่ งเต็มตามศักยภาพ
การวดั และประเมนิ ผลการเรียนร้ตู ามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวดั หนองติม พทุ ธศักราช ๒๕61
(ฉบบั บปรบั ปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๔) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
แบง่ ออกเปน็ ๔ ระดับได้แก่ ระดับช้ันเรียน ระดบั สถานศึกษา ระดับเขตพืน้ ที่การศกึ ษา และระดบั ชาติ
มรี ายละเอยี ด ดงั นี้
๑. การประเมินระดับชน้ั เรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยใู่ นกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอน
ดำเนนิ การเป็นปกติและสมำ่ เสมอ ในการจัดการเรยี นการสอน ใช้เทคนิคการประเมนิ อย่างหลากหลาย เช่น การ
ซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมนิ โครงงาน การประเมนิ ช้นิ งาน/ ภาระงาน แฟม้ สะสมงาน
การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผูส้ อนเป็นผ้ปู ระเมินเองหรือเปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รยี นประเมินตนเอง เพ่ือนประเมนิ
เพื่อน ผปู้ กครองรว่ มประเมนิ ในกรณีท่ีไมผ่ ่านตัวชวี้ ัดใหม้ ีการสอนซอ่ มเสรมิ
การประเมินระดบั ช้นั เรยี นเป็นการตรวจสอบวา่ ผู้เรียนมพี ัฒนาการความก้าวหนา้ ในการเรียนรู้
อันเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มสี งิ่ ท่จี ะตอ้ งได้รับการพัฒนา
ปรบั ปรุงและส่งเสรมิ ในดา้ นใด นอกจากนย้ี งั เป็นข้อมลู ใหผ้ ู้สอนใชป้ รบั ปรงุ การเรยี นการสอนของตนดว้ ย ทั้งน้ี
โดยสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชวี้ ัด
๒. การประเมินระดบั สถานศึกษา เป็นการประเมินทส่ี ถานศึกษาดำเนนิ การเพื่อตัดสินผล การเรยี น
ของผเู้ รยี นเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขยี น คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ และ
กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น นอกจากนเ้ี พื่อให้ได้ข้อมลู เกย่ี วกบั การจัดการศึกษาของสถานศึกษา ว่าส่งผลตอ่ การ
เรยี นรู้ของผูเ้ รยี นตามเป้าหมายหรอื ไม่ ผ้เู รียนมจี ุดพัฒนาในด้านใด รวมทงั้ สามารถนำผลการเรียนของผเู้ รยี นใน
สถานศึกษาเปรยี บเทียบกับเกณฑ์ระดบั ชาติ ผลการประเมินระดบั สถานศึกษาจะเปน็ ขอ้ มลู และสารสนเทศเพื่อ
การปรับปรงุ นโยบาย หลักสตู ร โครงการ หรือวิธกี ารจัดการเรยี นการสอน ตลอดจนเพือ่ การจัดทำแผนพฒั นา
คุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษาตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการจัด
การศกึ ษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษา
ขนั้ พื้นฐาน ผปู้ กครองและชุมชน
๓. การประเมินระดับเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา เปน็ การประเมนิ คุณภาพผูเ้ รียนในระดบั เขตพื้นที่
การศึกษาตามมาตรฐานการเรยี นรตู้ ามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน เพ่ือใชเ้ ป็นข้อมูลพ้นื ฐานในการ
พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของเขตพ้นื ที่การศึกษา ตามภาระความรบั ผิดชอบ สามารถดำเนนิ การโดยประเมนิ
คณุ ภาพผลสัมฤทธ์ขิ องผเู้ รียนด้วยขอ้ สอบมาตรฐานทจ่ี ดั ทำและดำเนินการโดยเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา หรือด้วยความ
รว่ มมอื กับหนว่ ยงานต้นสังกดั ในการดำเนินการจัดสอบ นอกจากน้ียงั ไดจ้ ากการตรวจสอบทบทวนข้อมลู จาก
การประเมินระดับสถานศึกษาในเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา
๔. การประเมินระดบั ชาติ เป็นการประเมนิ คุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐาน การเรยี นรู้
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน สถานศึกษาต้องจัดใหผ้ เู้ รียนทุกคนท่เี รยี น ในชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี
๓ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ เข้ารบั การประเมนิ ผลจากการประเมินใช้เปน็ ข้อมูลในการเทยี บเคยี งคุณภาพ
การศกึ ษาในระดบั ต่าง ๆ เพื่อนำไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศกึ ษา ตลอดจนเป็นข้อมูล
สนับสนนุ การตดั สินใจในระดับนโยบายของประเทศ
ข้อมูลการประเมินในระดับต่าง ๆ ข้างต้น เปน็ ประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวนพฒั นา
คณุ ภาพผเู้ รียน ถือเปน็ ภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาท่ีจะต้องจัดระบบดแู ลชว่ ยเหลือ ปรบั ปรุงแก้ไข
ส่งเสริมสนับสนนุ เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นไดพ้ ัฒนาเต็มตามศกั ยภาพบนพ้นื ฐาน ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลทีจ่ ำแนกตาม
สภาพปญั หาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผ้เู รยี นท่วั ไป กลุ่มผเู้ รยี นทม่ี ีความสามารถพิเศษ กลมุ่ ผูเ้ รยี นท่มี ี
ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นตำ่ กล่มุ พกิ ารทางร่างกายและสติปัญญา เปน็ ต้น ข้อมลู จากการประเมินจึงเปน็ หวั ใจ
ของสถานศึกษาในการดำเนนิ การชว่ ยเหลอื ผ้เู รียนไดท้ ันทว่ งที ปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนไดร้ บั การพฒั นาและประสบ
ความสำเรจ็ ในการเรยี น
สถานศกึ ษาในฐานะผู้รับผิดชอบจดั การศึกษาจะต้องจดั ทำระเบียบว่าดว้ ยการวัดและประเมินผลการ
เรยี นของสถานศึกษาให้สอดคลอ้ งและเป็นไปตามหลกั เกณฑแ์ ละแนวปฏิบตั ิทีเ่ ปน็ ข้อกำหนดของหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน เพ่อื ให้บุคลากรท่ีเก่ียวข้องทกุ ฝา่ ยถือปฏบิ ตั ริ ว่ มกัน
เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผลการเรียน
๑. การตัดสิน การให้ระดับและการรายงานผลการเรียน
๑.๑ การตดั สินผลการเรยี น
ในการตดั สินผลการเรียนของกล่มุ สาระการเรียนรู้ การอา่ น คิดวิเคราะหแ์ ละเขียน คุณลกั ษณะ
อันพึงประสงค์ และกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นนั้น ผูส้ อนตอ้ งคำนึงถงึ การพฒั นาผ้เู รียนแตล่ ะคนเปน็ หลกั และต้อง
เกบ็ ข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสม่ำเสมอและต่อเน่ืองในแต่ละภาคเรยี น รวมท้งั สอนซ่อมเสริมผเู้ รียนให้พฒั นา
จนเต็มตามศักยภาพ
ระดับประถมศึกษา
(๑) ผู้เรียนตอ้ งมเี วลาเรียนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทง้ั หมด
(๒) ผูเ้ รยี นตอ้ งไดร้ บั การประเมนิ ทกุ ตวั ชี้วัด และผา่ นตามเกณฑ์ทส่ี ถานศึกษากำหนด
(๓) ผูเ้ รยี นต้องไดร้ ับการตดั สนิ ผลการเรยี นทุกรายวชิ า
(๔) ผู้เรียนต้องไดร้ บั การประเมิน และมผี ลการประเมินผ่านตามเกณฑท์ ่ีสถานศึกษา
กำหนดในการอา่ น คิดวเิ คราะหแ์ ละเขียน คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน
๑.๒ การใหร้ ะดับผลการเรยี น
ระดบั ประถมศึกษา ในการตัดสินเพือ่ ให้ระดบั ผลการเรยี นรายวชิ าของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
สถานศึกษาสามารถให้ระดับผลการเรยี นหรอื ระดับคณุ ภาพการปฏบิ ัติของผ้เู รียน เป็นระบบตัวเลขโดยใหใ้ ช้
ตวั เลขแสดงระดับผลการเรียนเปน็ ๘ ระดบั ดงั น้ี
ระดบั ผลการเรยี น ความหมาย ช่วงคะแนนเปน็ รอ้ ยละ
4 ดีเยี่ยม 80-100
3.5 ดมี าก 75-79
3 ดี 70-74
2.5 ค่อนข้างดี 65-69
2 ปานกลาง 60-64
1.5 พอใช้ 55-59
1 50-54
0 ผลการเรียนผา่ นเกณฑข์ น้ั ต่ำ 0-49
ผลการเรยี นต่ำกวา่ เกณฑ์
การประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะห์และเขยี น
เป็นการประเมนิ ศักยภาพของผู้เรยี นในการอา่ น การฟัง การดูและการรบั รู้จากหนังสอื เอกสารและ
สือ่ ต่างๆ ได้อยา่ งถูกต้องแล้วนำมาคิดวิเคราะห์ เนื้อหาสาระทนี่ ำไปสูก่ ารแสดงความคิดเห็น การสงั เคราะห์
สร้างสรรค์ในเร่ืองต่างๆ และถ่ายทอดความคิดน้ันดว้ ยการเขียนซงึ่ สะท้อนถงึ สตปิ ญั ญา ความรู้ ความเขา้ ใจ
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แกป้ ัญหาและสร้างสรรคจ์ ินตนาการอย่างเหมาะสมและมคี ุณค่าแก่ตนเอง
สงั คมและประเทศชาติ พร้อมด้วยประสบการณ์และทักษะในการเขียนที่มสี ำเนาภาษาถูกต้อง มเี หตผุ ลและ
ลำดบั ข้นั ตอนในการนำเสนอ สามารถสรา้ งความเขา้ ใจแกผ่ ู้อา่ นได้อย่างชดั เจนตามระดับความสามารถในแต่ละ
ระดบั ชน้ั การประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะหแ์ ละเขียน สรปุ ผลเปน็ รายภาค เพ่อื วินิจฉยั และใช้ข้อมูลเพ่ือประเมนิ
การเลอ่ื นช้ันเรยี นและการจบการศึกษาใหร้ ะดบั ผลการประเมินเปน็ ผ่านและไม่ผ่าน กรณีทผี่ า่ นให้ระดับผลการ
เรียนเป็นดเี ยีย่ ม ดี และผา่ น
ดีเยีย่ ม หมายถึง สามารถจบั ใจความสำคญั ไดค้ รบถว้ น เขยี นวพิ ากษ์วิจารณ์ เขียนสรา้ งสรรค์
แสดงความคิดเห็นประกอบอย่างมีเหตผุ ลไดถ้ ูกต้องและสมบูรณ์ ใช้ภาษาสภุ าพและเรียบเรยี งได้สละสลวย
ดี หมายถึง สามารถจับใจความสำคัญได้ เขียนวิพากษ์วิจารณ์ และเขยี นสรา้ งสรรคไ์ ด้โดยใช้ภาษา
สุภาพ
ผ่าน หมายถึง สามารถจับใจความสำคญั และเขยี นวพิ ากษว์ ิจารณไ์ ดบ้ ้าง
กรณี ไมผ่ า่ น หมายถงึ ไมม่ ีผลงานทแ่ี สดงถึงความสามารถและไมป่ ฏิบตั ิตามเง่ือนไขการประเมินที่
กำหนด
คุณลักษณะอนั พงึ ประสงคน์ ั้น ใหร้ ะดบั ผลการประเมนิ เปน็ ดเี ยี่ยม ดี ผ่าน และไม่ผา่ น
การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น จะต้องพจิ ารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกจิ กรรม การปฏบิ ตั ิกิจกรรม
และผลงานของผ้เู รยี น ตามเกณฑ์ทสี่ ถานศกึ ษากำหนด และใหผ้ ลการเข้ารว่ มกจิ กรรมเป็นผา่ น และไม่ผา่ น
๑.๓ การรายงานผลการเรยี น
การรายงานผลการเรียนเป็นการส่ือสารให้ผ้ปู กครองและผู้เรยี นทราบความกา้ วหน้า ในการเรยี นรู้
ของผ้เู รยี น ซึ่งสถานศกึ ษาต้องสรุปผลการประเมนิ และจดั ทำเอกสารรายงานให้ผปู้ กครองทราบภาคเรียนละ ๑
ครง้ั
การรายงานผลการเรยี นสามารถรายงานเป็นระดบั คณุ ภาพการปฏิบตั ิของผูเ้ รยี นทีส่ ะท้อน
มาตรฐานการเรยี นรกู้ ลุ่มสาระการเรยี นรู้
๒. เกณฑ์การจบการศกึ ษา
เกณฑก์ ารจบระดบั ประถมศึกษา
(๑) ผู้เรยี นเรียนรายวิชาพืน้ ฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพ่ิมเตมิ โดยเรียนรายวิชาพื้นฐาน
จำนวน 5,040 ชั่วโมง และรายวิชา/กจิ กรรมเพิ่มเติม จำนวน 480 ชวั่ โมง และมีผลการประเมนิ รายวิชาผา่ น
ทกุ รายวิชา
(2) ผู้เรยี นมีผลการประเมนิ การอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี นระดับ “ผา่ น” ขนึ้ ไป
(3) ผู้เรียนมีผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ระดับ “ผา่ น” ข้ึนไป
(4) ผ้เู รียนเขา้ รว่ มกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนและไดร้ บั การตัดสินผลการเรยี น “ผา่ น” ทกุ กจิ กรรม
เอกสารหลักฐานการศกึ ษา
เอกสารหลักฐานการศึกษา เป็นเอกสารสำคัญทบี่ นั ทึกผลการเรยี น ขอ้ มลู และสารสนเทศ ทเ่ี กีย่ วข้อง
กับพัฒนาการของผเู้ รียนในด้านต่าง ๆ แบง่ ออกเปน็ ๒ ประเภท ดงั นี้
๑. เอกสารหลักฐานการศกึ ษาท่ีกระทรวงศกึ ษาธกิ ารกำหนด
๑.๑ ระเบียนแสดงผลการเรยี น เป็นเอกสารแสดงผลการเรียนและรบั รองผลการเรยี นของ
ผเู้ รยี นตามรายวชิ า ผลการประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์และเขยี น ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
ของสถานศกึ ษา และผลการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น สถานศกึ ษาจะต้องบนั ทกึ ข้อมูลและออกเอกสารน้ีให้
ผ้เู รียนเป็นรายบคุ คล เมื่อผ้เู รยี นจบการศกึ ษาระดับประถมศึกษา (ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖) จบการศึกษาภาค
บงั คับ หรือเม่ือลาออกจากสถานศกึ ษาในทกุ กรณี
๑.๒ ประกาศนียบัตร เป็นเอกสารแสดงวุฒกิ ารศึกษาเพ่ือรบั รองศกั ดิ์และสิทธ์ขิ องผู้จบ
การศกึ ษา ทส่ี ถานศึกษาให้ไว้แก่ผูจ้ บการศึกษาภาคบังคับ และผจู้ บการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
๑.๓ แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา เปน็ เอกสารอนุมัติการจบหลกั สูตรโดยบนั ทึกรายชอ่ื และ
ขอ้ มลู ของผูจ้ บการศึกษาระดับประถมศกึ ษา (ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๖)
๒. เอกสารหลักฐานการศกึ ษาที่สถานศึกษากำหนด
เป็นเอกสารทสี่ ถานศึกษาจดั ทำขน้ึ เพ่ือบนั ทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู้ และขอ้ มลู สำคญั เก่ยี วกับ
ผ้เู รยี น เช่น แบบรายงานประจำตัวนักเรยี น แบบบันทึกผลการเรียนประจำรายวชิ า ระเบียนสะสม ใบรบั รอง
ผลการเรยี น และเอกสารอน่ื ๆ ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการนำเอกสารไปใช้
๒.๑ แบบบนั ทึกผลการเรียนประจำรายวชิ า เป็นเอกสารท่ีจดั ทำข้นึ เพื่อให้ครผู ู้สอน
ใชบ้ ันทกึ พฒั นาการ ผลการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และการอา่ น คดิ วเิ คราะห์
และเขยี น สำหรับการพิจารณาตดั สนิ ผลการเรยี นแต่ละรายวชิ าเป็นรายห้องเรียน
เอกสารบนั ทึกผลการเรียนประจำรายวิชา นำไปใชป้ ระโยชน์ ดังน้ี
- ใชบ้ นั ทกึ พฒั นาการ ผลการเรียนรู้ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ การอา่ น คิดวเิ คราะหแ์ ละ
เขียน และผลการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนของผเู้ รียนแต่ละรายวชิ า
- ใช้เป็นหลักฐานสำหรบั ตรวจสอบ รายงาน และรับรองข้อมูลเก่ียวกบั พฒั นาการ และผลการ
เรียนร้ขู องผ้เู รียน
๒.๒ แบบรายงานประจำตวั นกั เรยี น เป็นเอกสารทจ่ี ดั ทำขึน้ เพื่อบันทกึ ข้อมูลผลการเรยี น
รายวิชา และพฒั นาการด้านต่าง ๆ ของผ้เู รียนแต่ละคน ตามเกณฑก์ ารตัดสินการผา่ นระดับชน้ั ของหลกั สตู ร
แกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน รวมทง้ั ข้อมลู ด้านอื่น ๆ ของผู้เรยี นท่บี า้ นและสถานศึกษา โดยจดั ทำเปน็ เอกสาร
รายบุคคล เพื่อใช้สำหรับสอ่ื สารใหผ้ ้ปู กครองของผู้เรียนแต่ละคนไดร้ บั ทราบผลการเรยี นและพฒั นาการด้าน
ต่าง ๆ ของผู้เรยี นอย่างต่อเนื่อง แบบรายงานประจำตัวนักเรียน นำไปใช้ประโยชน์ ดังนี้
- รายงานผลการเรยี น ความประพฤติ และพฒั นาการของผู้เรยี นให้ผปู้ กครองได้รับทราบ
- ใชเ้ ป็นเอกสารสื่อสาร ประสานงาน เพื่อความรว่ มมือในการพัฒนาและปรบั ปรงุ แกไ้ ข
ผเู้ รียน
- เป็นเอกสารหลกั ฐานสำหรบั ตรวจสอบ ยืนยัน และรบั รองผลการเรยี นและพฒั นาการต่าง ๆ
ของผเู้ รยี น
๒.๓ ระเบียนสะสม เปน็ เอกสารท่ีจดั ทำขนึ้ เพื่อบันทกึ ข้อมลู เกยี่ วกบั พฒั นาการของผู้เรยี นใน
ด้านต่าง ๆ เป็นรายบุคคล โดยจะบันทึกข้อมูลของผู้เรียนอยา่ งต่อเนอ่ื ง ตลอดชว่ งระยะเวลาการศึกษาตาม
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั หนองติม พุทธศักราช ๒๕61 (ฉบบั บปรับปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๔) ตาม
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ ดงั นี้
- ใช้เป็นข้อมูลในการแนะแนวทางการศึกษาและการประกอบอาชีพของผเู้ รยี น
- ใชเ้ ป็นข้อมูลในการพฒั นาปรับปรุงบุคลิกภาพ ผลการเรียนและการปรับตวั ของผ้เู รียน
- ใชต้ ดิ ต่อสื่อสาร รายงานพัฒนาคุณภาพของผู้เรยี นระหว่างสถานศึกษากับผูป้ กครอง
- ใชเ้ ป็นหลกั ฐานสำหรับการตรวจสอบ รับรอง และยนื ยันคณุ สมบัติของผูเ้ รยี น
๒.๔ ใบรบั รองผลการเรยี น เป็นเอกสารทจ่ี ัดทำข้ึน เพ่อื ใช้เปน็ เอกสารสำหรับรับรองความ
เป็นนกั เรยี นหรอื ผลการเรยี นของผู้เรียนเปน็ การช่ัวคราวตามที่ผู้เรียนร้องขอ ทงั้ กรณีท่ผี ้เู รยี นกำลังศึกษาอยใู่ น
สถานศกึ ษาและเมือ่ จบการศึกษาไปแลว้ นำไปใชป้ ระโยชน์ ดังนี้
- รับรองความเป็นนกั เรยี นของสถานศึกษาทีเ่ รียนหรือเคยเรียน
- รับรองและแสดงความรู้ วฒุ กิ ารศึกษาของผเู้ รยี น
- ใช้เปน็ หลักฐานแสดงคุณสมบัตขิ องผู้เรียนในการสมัครเข้าศึกษาต่อ สมัครเขา้ ทำงาน หรือเม่ือ
มีกรณีอนื่ ใดที่ผเู้ รียนแสดงคุณสมบัตเิ ก่ยี วกับวฒุ ิความรู้ หรือสถานการณเ์ ปน็ ผู้เรยี นของตน
- เปน็ หลกั ฐานสำหรบั การตรวจสอบ รบั รอง ยนื ยันการใชส้ ทิ ธ์คิ วามเปน็ ผูเ้ รียน หรอื การ
ไดร้ ับการรับรองจากสถานศึกษา
การเทียบโอนผลการเรียน
สถานศกึ ษาสามารถเทยี บโอนผลการเรียนของผู้เรียนในกรณีต่าง ๆ ได้แก่ การย้ายสถานศึกษา การ
เปลี่ยนรูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสตู ร การออกกลางคัน และขอกลบั เข้ารับการศึกษาตอ่ การศกึ ษาจาก
ต่างประเทศและขอเขา้ ศกึ ษาตอ่ ในประเทศ นอกจากน้ี ยงั สามารถเทยี บโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จาก
แหล่งการเรยี นร้อู ื่น ๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบันศาสนา สถาบันการฝกึ อบรมอาชีพ การจดั การศึกษาโดย
ครอบครัว
การเทียบโอนผลการเรียนควรดำเนนิ การในช่วงก่อนเปดิ ภาคเรยี นแรก หรอื ต้นภาคเรยี นแรกท่ี
สถานศึกษารับผู้ขอเทียบโอนเปน็ ผู้เรียน ทั้งน้ี ผเู้ รยี นทีไ่ ดร้ ับการเทยี บโอนผลการเรยี นต้องศึกษาต่อเน่ืองใน
สถานศึกษาทร่ี บั เทียบโอนอย่างน้อย ๑ ภาคเรยี น โดยโรงเรียนวัดหนองตมิ พจิ ารณาดำเนนิ การ ดงั น้ี
๑. พจิ ารณาจากหลกั ฐานการศึกษา ซ่ึงจะให้ข้อมูลแสดงความรู้ ความสามารถของนักเรียนในดา้ น
ตา่ ง ๆ
๒. พจิ ารณาจากความรู้ ประสบการณ์ตรงจากการปฏบิ ตั ิจรงิ การทดสอบ การสมั ภาษณ์
๓. พจิ ารณาจากความสามารถ และการปฏิบัตจิ รงิ
๔. ในกรณีมีเหตุผลจำเป็นระหวา่ งเรียน นักเรียนสามารถแจง้ ความจำนงขอไปศกึ ษาบางรายวชิ าใน
สถานศึกษา/สถานประกอบการอน่ื แล้วนำมาเทียบโอนได้ โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการบรหิ าร
หลกั สูตรและวิชาการของโรงเรยี นวดั หนองติม
๕. การเทยี บโอนผลการเรียนให้คณะกรรมการการเทยี บโอนโรงเรียนวัดหนองตมิ จำนวน ๕ คน
เป็นผ้ดู ำเนนิ การ
๖. การเทียบโอนใหด้ ำเนนิ การดงั น้ี
๖.๑ กรณผี ู้ขอเทยี บโอนมีผลการเรยี นมาจากหลักสูตรอนื่ ให้นำรายวชิ าหรือหน่วยกิตท่มี ตี ัวช้วี ดั /
มาตรฐานการเรยี นรู้/ผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวงั /จุดประสงค์/เนื้อหาท่สี อดคล้องกนั ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ ๖๐ มาเทยี บโอน
ผลการเรยี นและพจิ ารณาใหร้ ะดบั ผลการเรียนให้สอดคล้องกับหลักสูตรทีร่ บั เทียบโอน
๖.๒ กรณีการเทียบโอนความรู้ ทักษะและประสบการณ์ ใหพ้ ิจารณาจากเอกสารหลกั ฐาน โดยให้มี
การประเมินด้วยเครื่องมือทห่ี ลากหลาย และใหร้ ะดบั ผลให้สอดคล้องกบั หลกั สตู รทีร่ ับเทียบโอน
๖.๓ กรณีการเทียบโอนทน่ี กั เรียนเข้าโครงการแลกเปลี่ยนตา่ งประเทศ ให้ดำเนินการตาม
ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ ารเรอื่ งหลักการและแนวปฏิบัติการเทยี บชั้นการศกึ ษาสำหรบั นักเรยี นที่เขา้ ร่วม
โครงการแลกเปลย่ี น
ท้งั นี้ วธิ ีการเทียบโอนผลการเรียนใหเ้ ป็นไปตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการและ
แนวปฏิบตั ิทีเ่ ก่ยี วข้อง
บทที่ ๗
การบริหารจดั การ
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั หนองติม
การบรหิ ารจดั การหลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดหนองตมิ
กระบวนการในการบรหิ ารจดั การนำหลักสูตรไปใช้ถือวา่ เป็นปจั จยั ที่สำคญั เปน็ อยา่ งมากทจ่ี ะช่วย
สนบั สนนุ ส่งเสริมให้การใช้หลักสตู รของสถานศึกษาบรรลผุ ลสูงสุด ดงั น้ันสถานศึกษาจึงไดก้ ำหนดแผน
การบริหารจดั การหลักสตู รของสถานศึกษาขึ้น เพ่อื ให้ผู้ทีม่ ีส่วนเกีย่ วข้องกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ในทุก ๆ ส่วน และทกุ ระดบั เกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั จุดหมายของหลกั สตู ร การพฒั นาการเรยี นการ
สอน การนเิ ทศการศึกษา การบริหารหลกั สตู ร การประเมนิ ผล และแนวปฏิบัติของสถานศกึ ษาที่จะต้อง
ดำเนินการใหส้ อดคล้องและเหมาะสมกบั สภาพความตอ้ งการของหลกั สตู รสถานศึกษา สำหรบั การบริหาร
จดั การหลักสูตรของสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดหนองตมิ กำหนดแนวทางการบรหิ ารจัดการไว้ ๓ ขัน้ ตอน
๗ ภารกจิ ดังน้ี
แนวทางการบริหารจัดการ
ข้นั ตอนที่ ๑ การเตรียมความพรอ้ มของสถานศกึ ษา
ภารกิจที่ ๑ การเตรยี มความพร้อมของสถานศกึ ษา
๑.๑ สรา้ งความตระหนักให้แกบ่ คุ ลากร ซึ่งประกอบด้วย คณะกรรมการสถานศึกษา ผ้บู ริหาร
ผสู้ อน ผปู้ กครอง ชุมชน นกั เรยี น ท้ังนเ้ี พอื่ ใหเ้ หน็ ความสำคัญ ความจำเปน็ ทจี่ ะต้องร่วมมือกนั บริหารจัดการ
หลักสตู รสถานศึกษาของสถานศึกษา
๑.๒ แต่งตัง้ คณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการของสถานศกึ ษาตามระเบียบของ
กระทรวงศึกษาธกิ ารว่าดว้ ยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พ. ศ. ๒๕61
๑.๓ ประชาสัมพนั ธใ์ หน้ ักเรยี น ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงาน องค์กรในชมุ ชนทุกฝา่ ย
ได้รับทราบ และความรว่ มมือในการบริหารจัดการหลักสูตรของสถานศกึ ษา
๑.๔ จดั ทำขอ้ มูลสารสนเทศของสถานศึกษาอยา่ งเป็นระบบ
๑.๕ จดั ทำแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา (ธรรมนญู สถานศกึ ษา)
๑.๖ พัฒนาบุคลากรของสถานศึกษาใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนำความรู้ไปใชใ้ นการ
จัดทำสาระของหลักสูตรสถานศึกษา
ขน้ั ตอนที่ ๒ การดำเนินการจัดทำสาระของหลกั สูตรสถานศึกษา
ภารกิจที่ ๒ จัดทำสาระของหลกั สูตรสถานศึกษา
๒.๑ ศึกษาวิเคราะห์ขอ้ มูลทเี่ กยี่ วข้อง
๒.๒ กำหนดปรชั ญา และเป้าหมายของการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
๒.๓ กำหนดโครงสร้างของหลักสูตรแต่ละรายช้ัน และจัดสดั ส่วนเวลาเรยี น
๒.๔ กำหนดตวั ชี้วัด และสาระการเรียนรขู้ องกลุ่มวิชา
๒.๕ กำหนดสาระและกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น
๒.๖ กำหนดสือ่ การเรียนรู้
๒.๗ กำหนดการวดั และประเมนิ ผล
ภารกิจท่ี ๓ การวางแผนบริหารจัดการหลกั สูตรสถานศกึ ษา
๓.๑ การบริหารการจดั การกจิ กรรมการเรยี นรู้
๓.๒ การบริหารการจดั การกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น
๓.๓ การส่งเสรมิ และสนบั สนุนการจดั การกิจกรรมการเรยี นรู้ และกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน
ภารกจิ ท่ี ๔ ปฏิบัตกิ ารบริหารจดั การหลกั สูตรสถานศึกษา
ดำเนินการบรหิ ารจดั การหลักสูตรตามภารกจิ ที่ ๒ และภารกจิ ท่ี ๓ ที่กำหนดไว้
ข้ันตอนท่ี ๓ การนเิ ทศ กำกับ ติดตาม ประเมนิ ผล และรายงาน
ภารกจิ ท่ี ๕ การนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมนิ ผล
๕.๑ การนิเทศ กำกบั ติดตาม ประเมินผลการบริหารหลักสูตร และงานวิชาการภายในสถานศกึ ษา
๕.๒ การนเิ ทศ กำกับ ติดตาม ประเมนิ ผลการบริหารหลกั สูตร และงานวิชาการจากภายนอก
สถานศกึ ษา
ภารกิจท่ี ๖ สรปุ ผลการดำเนินการบริหารจดั การหลักสตู รของสถานศกึ ษา
๖.๑ สถานศกึ ษาสรปุ ผลการดำเนินการ และเขยี นรายงาน
๖.๒ สรปุ ผลการดำเนนิ งานรปู แบบบริหารจดั การหลกั สูตรสถานศกึ ษา
ภารกจิ ท่ี ๗ ปรบั ปรุง และพัฒนากระบวนการบรหิ ารจัดการหลกั สูตร
๗.๑ สถานศึกษานำผลการดำเนนิ การ ปญั หา และขอ้ เสนอแนะต่าง ๆ มาใช้เปน็ ข้อมูลพื้นฐานใน
การวางแผนปรับปรงุ และพัฒนากระบวนการบรหิ ารจัดการหลักสตู รของสถานศึกษา
๗.๒ สถานศึกษาดำเนนิ การปรับปรงุ และพัฒนากระบวนการบรหิ ารจดั การหลักสูตร เพื่อใหเ้ กิด
ประโยชน์มากขึ้น