ก
คำนำ
หลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบับน้ี เปนเอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนวัดหนองติม พุทธศักราช ๒๕๖๔ จัดทำเพื่อเปนกรอบและทิศทาง ในการจัดการเรียนการสอนในการพัฒนา
คุณภาพผูเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปที่ ๑ ถึง ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ ใหตรงตามมาตรฐาน ตัวช้ีวัด และสาระการ
เรียนรูของกลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยพิจารณาตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) มีองคประกอบ ดงั ตอไปนี้
- วสิ ยั ทศั น พนั ธกจิ และเปาประสงค
- สมรรถนะสำคัญของผูเรียน และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค
- สาระและมาตรฐานการเรยี นรู - คณุ ภาพผูเรยี น
- ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรียนรูแกนกลาง
- โครงสรางหลักสตู รกลุมสาระการเรียนรูกลมุ สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
- คำอธบิ ายรายวชิ า
- โครงสรางรายวิชา
- สอ่ื /แหลงเรยี นรู
- การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู
คณะผูจัดทําขอขอบคุณผูที่มีสวนรวมในการพฒั นาและจดั ทำหลักสตู รกลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ฉบับน้ี จนสำเร็จลุลวงเปนอยางดี และหวังเปนอยางย่ิงวาจะเกิดประโยชนตอการจัด การเรียนรูใหกับผู
เรยี นตอไป กลมุ สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผจู้ ดั ทำ
สารบญั ข
คำนำ หนา้
สารบญั ก
ความนำ ข
ทำไมต้องเรยี นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 1
เรยี นรอู้ ะไรในวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 2
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 2
ทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3
คุณภาพผ้เู รยี น 4
ตวั ชี้วัด / ผลการเรยี นรูแ้ ละสำระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ 4
และเทคโนโลยี 5
คำอธิบายรายวชิ า
โครงสรา้ งรายวิชา 19
ภาคผนวก 26
41
อภิธานศัพท์ 42
กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์
บทนำ
ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ( ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560 ) ตาม
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 นี้ ได้กำหนดสาระการเรียนรู้ออกเป็น 4 สาระ ได้แก่
สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ สาระท่ี 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ สาระท่ี 3 วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ และสาระ
ท่ี 4 เทคโนโลยี มสี าระเพิ่มเติม 4 สาระ ไดแ้ ก่ สาระชวี วิทยา สาระเคมี สาระฟิสกิ ส์ สาระโลก ดาราศาสตร์ และ
อวกาศ ซึง่ องคป์ ระกอบของหลกั สตู รท้งั ในด้านของเน้ือหา การจัดการเรยี นการสอน และการวัดและประเมนิ ผลการ
เรียนรู้นน้ั มีความสำคญั อยา่ งยง่ิ ในการวางรากฐานการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตรข์ องผู้เรยี นในแต่ละระดับชัน้ ให้มคี วาม
ตอ่ เน่ืองเชือ่ มโยงกัน ต้ังแตช่ ั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 จนถงึ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 6 สำหรบั กลุ่มสาระการเรยี นรู้
วทิ ยาศาสตร์ ไดก้ ำหนดตัวช้วี ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง ทผี่ เู้ รียนจำเป็นตอ้ งเรยี นเปน็ พืน้ ฐาน เพ่อื ให้สามารถนำ
ความรูน้ ี้ไปใชใ้ นการดำรงชวี ิตหรอื ศึกษาต่อในวิชาชพี ท่ตี ้องใช้วิทยาศาสตรไ์ ด้ โดยจัดเรียงลำดบั ความยากง่ายของ
เนอ้ื หาแต่ละสาระในแต่ละระดับชน้ั ใหม้ กี ารเชอ่ื มโยงความรู้กบั กระบวนการเรียนรู้ และการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ท่ี
ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นพฒั นาความคิด ท้ังความคดิ เป็นเหตเุ ปน็ ผล คดิ สรา้ งสรรค์ คดิ วิเคราะห์วิจารณ์ มที กั ษะที่สำคัญทง้ั
ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละทักษะในศตวรรษท่ี 21 ในการค้นคว้าและสรา้ งองค์ความรู้ด้วยกระบวนการ
สบื เสาะหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตดั สินใจ โดยใชข้ อ้ มลู หลากหลายและประจักษ์พยานที่
ตรวจสอบได้
สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) ตระหนักถึงความสำคัญของการจัดการเรยี นรู้
วิทยาศาสตรท์ ่มี ุ่งหวงั ให้เกิดผลสัมฤทธต์ิ อ่ ผู้เรียนมากที่สุด จงึ ได้จดั ทำตัวชวี้ ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุ่ม
สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐานพุทธศกั ราช
2551 ข้นึ เพื่อใหส้ ถานศกึ ษา ครูผ้สู อน ตลอดจนหน่วยงา่ ยต่างๆ ได้ใชเ้ ป็นแนวทางในการพัฒนาหนังสอื เรยี น คูม่ ือ
ครู ส่ือประกอบการเรยี นการสอน ตลอดจนการวัดและประเมนิ ผล โดยตวั ชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุ่ม
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานพทุ ธศกั ราช
2551 ทจี่ ดั ทำข้ึนนี้ได้ปรบั ปรุง เพ่อื ให้มีความสอดคล้องและเชอื่ มโยงกนั ภายในสาระการเรียนรู้เดียวกันและระหว่าง
สาระการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ตลอดจนการเช่อื มโยงเน้ือหาความรู้ทางวิทยาศาสตรก์ ับ
คณิตศาสตร์ด้วย นอกจากน้ยี ังได้ปรบั ปรุง เพ่อื ให้มคี วามทันสมัยต่อการเปลีย่ นแปลง และความเจรญิ กา้ วหนา้ ของ
วิทยาการต่างๆ และทดั เทยี มกบั นานาชาติ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ สรุปเปน็ แผนภาพไดด้ งั น้ี
สาระที่ 2
วทิ ยาศาสตร์กายภาพ
-มาตรฐาน ว 2.1 – ว 2.3
สาระที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สาระที่ 3
วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ วทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
-มาตรฐาน ว 1.1 – ว 1.3 -มาตรฐาน ว 3.1 – ว 3.2
สาระที่ 4
เทคโนโลยี
-มาตรฐาน ว 4.1 – ว 4.2
วทิ ยาศาสตรเ์ พมิ่ เตมิ *สาระชวี วิทยา * สาระเคมี *สาระฟสิ ิกส์ * สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
เปา้ หมายของวิทยาศาสตร์
ในการเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ค้นพบความรูด้ ้วยตนเองมากท่ีสุด เพ่ือให้ได้ทั้ง
กระบวนการและความรู้ จากวิธกี ารสังเกต การสำรวจตรวจสอบ การทดลอง แลว้ นำผลที่ไดม้ าจัดระบบเป็นหลักการ
แนวคดิ และองคค์ วามรู้
การจดั การเรียนการสอนวทิ ยาศาสตรจ์ งึ มีเปา้ หมายที่สำคัญ ดงั นี้
1. เพ่อื ให้เข้าใจหลักการ ทฤษฎี และกฎทีเ่ ปน็ พ้นื ฐานในวิชาวิทยาศาสตร์
2. เพื่อให้เข้าใจขอบเขตของธรรมชาตขิ องวชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละข้อจำกดั ในการศึกษาวชิ าวทิ ยาศาสตร์
3. เพือ่ ใหม้ ีทักษะทส่ี ำคัญในการศึกษาค้นคว้าและคิดค้นทางเทคโนโลยี
4. เพ่ือให้ตระหนักถงึ ความสมั พันธ์ระหวา่ งวชิ าวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนษุ ย์และสภาพแวดลอ้ มใน
เชิงท่มี อี ิทธิพลและผลกระทบซงึ่ กนั และกัน
5. เพอื่ นำความรู้ ความเข้าใจ ในวิชาวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกดิ ประโยชนต์ ่อสังคมและการ
ดำรงชวี ติ
6. เพอ่ื พฒั นากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแกป้ ัญหา และการจัดการ ทกั ษะในการ
ส่อื สาร และความสามารถในการตัดสนิ ใจ
7. เพอื่ ให้เปน็ ผู้ทีม่ จี ิตวิทยาศาสตร์ มีคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านยิ มในการใชว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
อย่างสร้างสรรค์
เรียนรอู้ ะไรในวิทยาศาสตร์
กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์มงุ่ หวังให้ผเู้ รยี นได้เรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ทเี่ น้นการเชื่อมโยงความรกู้ ับ
กระบวนการ มีทักษะสำคญั ในการคน้ ควา้ และสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้
และแกป้ ัญหาทีห่ ลากหลาย ให้ผเู้ รยี นมีส่วนร่วมในการเรยี นรทู้ ุกข้ันตอน มีการทำกิจกรรมด้วยการลงมือปฎบิ ัตจิ ริง
อยา่ งหลากหลาย เหมาะสมกับระดบั ชั้นโดยกำหนดสาระสำคญั ดังนี้
• วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ เรียนรเู้ ก่ียวกบั ชีวิตในสง่ิ แวดลอ้ ม องคป์ ระกอบของสิง่ มีชวี ิต การดำรงชวี ติ ของ
มนุษยแ์ ละสัตว์ การดำรงชวี ติ ของพืช พันธกุ รรม ความหลากหลายทางชวี ภาพและววิ ัฒนาการของส่ิงมีชีวติ
• วิทยาศาสตรก์ ายภาพ เรียนรเู้ ก่ียวกับ ธรรมชาตขิ องสาร การเปล่ียนแปลงของสาร การเคล่อื นที่ พลงั งาน
และคลน่ื
• วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรู้เกี่ยวกับ องค์ประกอบของเอกภพ ปฎิสมั พนั ธภ์ ายในระบบสรุ ยิ ะ
เทคโนโลยอี วกาศ ระบบโลก การเปลย่ี นแปลงทางธรณวี ิทยา กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศ และผลต่อ
ส่งิ มีชีวติ และสงิ่ แวดล้อม
• เทคโนโลยี
*การออกแบบและเทคโนโลยี เรียนรูเ้ ก่ยี วกบั เทคโนโลยี เพ่ือการดำรงชวี ติ ในสังคมท่ีมีการ
เปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็ ใช้ความรแู้ ละทักษะทางด้านวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และศาสตรอ์ น่ื ๆ เพ่ือแกป้ ัญหาหรือ
พัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม เลอื กใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดย
คำนึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสงิ่ แวดล้อม
*วิทยาการคำนวณ เรยี นรูเ้ ก่ียวกับการคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์ แกป้ ัญหา เปน็ ขน้ั ตอนและ
เป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ดา้ นวิทยาการคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ในการแกป้ ัญหาที่
พบในชวี ติ จรงิ ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
โครงสร้างหลักสตู รสถานศกึ ษา
โครงสรา้ งเวลาเรียน หลกั สูตรโรงเรยี นวดั หนองตมิ พทุ ธศักราช ๒๕๖๑
(ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๓) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนด
โครงสร้างเวลาเรียน ดังนี้
กลมุ่ สาระการเรียนรู้/ กิจกรรม เวลาเรียน
ระดบั ประถมศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖
ภาษาไทย
คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
ประวัติศาสตร์
สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
ศิลปะ
การงานอาชีพ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
ภาษาต่างประเทศ
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
รวมเวลาเรยี น (พืน้ ฐาน)
รายวชิ า / กิจกรรมเพ่ิมเติม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร
คอมพวิ เตอร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน
แนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ลูกเสอื /เนตรนารี
ชุมนมุ สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ ๘ กล่มุ สาระ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน์
๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐
รวมเวลาเรยี นทั้งหมด
(๘๐) (๘๐) (๘๐) (๘๐) (๘๐) (๘๐)
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
(๑๒๐) (๑๒๐) (๑๒๐) (๑๒๐) (๑๒๐) (๑๒๐)
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐
๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
๑,๐๔๐ ชั่วโมง/ปี ๑,๐๔๐ ช่ัวโมง/ปี
หมายเหตุ : ภาษาอังกฤษระดบั ช้นั ป.๑-๓ เรียน ๕ ช่ัวโมง ดังนี้
- รายวชิ าพื้นฐานภาษาตา่ งประเทศ ๓ ช่ัวโมง
- รายวชิ าเพ่มิ เติมภาษาอังกฤษเพือ่ การส่ือสาร ๑ ชั่วโมง
- กิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ ๑ ชัว่ โมง
โครงสร้างหลักสูตร
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑
รหสั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้/กจิ กรรม เวลาเรยี น(ชม./ปี)
รายวชิ าพ้นื ฐาน (๘๔๐)
ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐
ว๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐
ส๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๘๐
ส๑๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐
พ๑๑๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๔๐
ศ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๔๐
ง๑๑๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐
อ๑๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑๒๐
รายวิชาเพ่มิ เติม / กิจกรรมเพ่ิมเติม (๘๐)
อ๑๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร ๔๐
ว๑๑๒๐๑ คอมพิวเตอร์ ๔๐
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น (๑๒๐)
๔๐
แนะแนว ๔๐
ลูกเสอื /ยุวกาชาด ๓๐
ชมุ นุมสง่ เสรมิ การเรียนรู้ ๑๐
กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๑,๐๔๐
รวมเวลาเรียนท้ังส้นิ
*กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชนเ์ วลาเรยี น ๑๐ ช่วั โมง/ปี จดั กิจกรรมสัปดาห์สุดท้ายของเดอื น
โครงสร้างหลักสูตร
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒
รหัส กลุ่มสาระการเรยี นร้/ู กิจกรรม เวลาเรยี น(ชม./ปี)
รายวิชาพื้นฐาน (๘๔๐)
ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ค๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐
ว๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐
ส๑๒๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๘๐
ส๑๒๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐
พ๑๒๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๔๐
ศ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๔๐
ง๑๒๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐
อ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑๒๐
รายวิชาเพม่ิ เติม / กจิ กรรมเพิม่ เติม (๘๐)
อ๑๒๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร ๔๐
ว๑๒๒๐๑ คอมพวิ เตอร์ ๔๐
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น (๑๒๐)
๔๐
แนะแนว ๔๐
ลูกเสอื /ยุวกาชาด ๓๐
ชมุ นุมสง่ เสรมิ การเรียนรู้ ๑๐
กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณะประโยชน์ ๑,๐๔๐
รวมเวลาเรียนท้ังส้นิ
*กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน์เวลาเรยี น ๑๐ ช่วั โมง/ปี จดั กิจกรรมสัปดาห์สุดท้ายของเดอื น
โครงสรา้ งหลักสูตร
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๓
รหสั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้/กิจกรรม เวลาเรียน(ชม./ปี)
รายวชิ าพ้นื ฐาน (๘๔๐)
ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ค๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐
ว๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐
ส๑๓๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๘๐
ส๑๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐
พ๑๓๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๔๐
ศ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ๔๐
ง๑๓๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐
อ๑๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑๒๐
รายวิชาเพ่มิ เติม / กิจกรรมเพ่ิมเติม (๘๐)
อ๑๓๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร ๔๐
ว๑๓๒๐๑ คอมพิวเตอร์ ๔๐
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น (๑๒๐)
๔๐
แนะแนว ๔๐
ลูกเสอื /ยุวกาชาด ๓๐
ชมุ นุมสง่ เสรมิ การเรียนรู้ ๑๐
กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๑,๐๔๐
รวมเวลาเรียนท้ังส้นิ
*กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน์เวลาเรยี น ๑๐ ช่ัวโมง/ปี จัดกจิ กรรมสปั ดาห์สดุ ทา้ ยของเดอื น
โครงสรา้ งหลักสูตร
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๔
รหสั กล่มุ สาระการเรียนร้/ู กิจกรรม เวลาเรียน(ชม./ป)ี
รายวชิ าพืน้ ฐาน (๘๔๐)
ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐
ค๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๖๐
ว๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๑๒๐
ส๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๘๐
ส๑๔๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐
พ๑๔๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๘๐
ศ๑๔๑๐๑ ศิลปะ ๘๐
ง๑๔๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐
อ๑๔๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๘๐
รายวิชาเพม่ิ เติม / กิจกรรมเพ่มิ เตมิ (๘๐)
อ๑๔๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๔๐
ว๑๔๒๐๑ คอมพวิ เตอร์ ๔๐
กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น (๑๒๐)
๔๐
แนะแนว ๔๐
ลูกเสอื /ยุวกาชาด ๓๐
ชุมนุมสง่ เสริมการเรยี นรู้ ๑๐
กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๑,๐๔๐
รวมเวลาเรยี นทัง้ ส้นิ
*กิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณะประโยชน์เวลาเรยี น ๑๐ ช่วั โมง/ปี จัดกิจกรรมสัปดาหส์ ดุ ท้ายของเดอื น
โครงสรา้ งหลกั สตู ร
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕
รหสั กล่มุ สาระการเรยี นร/ู้ กิจกรรม เวลาเรยี น(ชม./ปี)
รายวชิ าพืน้ ฐาน (๘๔๐)
ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐
ค๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๖๐
ว๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๑๒๐
ส๑๕๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๘๐
ส๑๕๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐
พ๑๕๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๘๐
ศ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๘๐
ง๑๕๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐
อ๑๕๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๘๐
รายวิชาเพม่ิ เติม / กิจกรรมเพ่มิ เตมิ (๘๐)
อ๑๕๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๔๐
ว๑๕๒๐๑ คอมพวิ เตอร์ ๔๐
กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น (๑๒๐)
๔๐
แนะแนว ๔๐
ลูกเสอื /ยุวกาชาด ๓๐
ชุมนุมสง่ เสริมการเรยี นรู้ ๑๐
กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๑,๐๔๐
รวมเวลาเรยี นทงั้ สิ้น
*กิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณะประโยชน์เวลาเรียน ๑๐ ชวั่ โมง/ปี จัดกิจกรรมสปั ดาห์สดุ ท้ายของเดอื น
โครงสรา้ งหลกั สูตร
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๖
รหัส กลมุ่ สาระการเรียนร/ู้ กจิ กรรม เวลาเรยี น(ชม./ป)ี
รายวชิ าพ้ืนฐาน (๘๔๐)
ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐
ค๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๖๐
ว๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๒๐
ส๑๖๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๘๐
ส๑๖๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐
พ๑๖๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๘๐
ศ๑๖๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐
ง๑๖๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐
อ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๘๐
รายวชิ าเพม่ิ เติม / กิจกรรมเพิ่มเติม (๘๐)
อ๑๖๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร ๔๐
ว๑๖๒๐๑ คอมพวิ เตอร์ ๔๐
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น (๑๒๐)
๔๐
แนะแนว ๔๐
ลูกเสือ/ยวุ กาชาด ๓๐
ชุมนุมสง่ เสริมการเรยี นรู้ ๑๐
กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณะประโยชน์ ๑,๐๔๐
รวมเวลาเรยี นทงั้ ส้ิน
*กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชนเ์ วลาเรียน ๑๐ ช่ัวโมง/ปี จดั กจิ กรรมสัปดาหส์ ดุ ท้ายของเดอื น
ตัวชวี้ ดั ช้นั ปี / ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ตวั ชีว้ ัดช้นั ปี รวม
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ จำนวน
สาระ มาตรฐาน ป.๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ตัวช้วี ดั
๑. ภาษาไทย
๒. คณติ ศาสตร์ ๕ ๕ ๒๒ ๒๗ ๓๑ ๓๓ ๓๓ ๓๔ ๑๘๐
๓. วิทยาศาสตรแ์ ละ
เทคโนโลยี ๓ ๗ ๑๐ ๑๖ ๒๘ ๒๒ ๑๙ ๒๑ ๑๑๖
๔. สังคมศกึ ษา ฯ
๔ ๑๐ ๑๐ ๑๖ ๒๕ ๒๑ ๓๒ ๓๐ ๑๓๙
๕ ๑๑ ๒๔ ๒๘ ๓๑ ๓๐ ๒๘ ๓๑ ๑๗๒
๕. สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๕ ๖ ๑๕ ๒๑ ๑๘ ๑๙ ๒๕ ๒๒ ๑๒๐
๖. ศิลปะ ๓ ๖ ๑๘ ๒๕ ๒๙ ๒๙ ๒๖ ๒๗ ๑๕๔
๗. การงานอาชพี ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๕ ๖ ๕ ๒๕
๘. ภาษาตา่ งประเทศ ๔ ๘ ๑๖ ๑๖ ๑๘ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๑๑๐
รวม ๓๓ ๕๗ ๑๒๔ ๑๕๙ ๑๘๘ ๑๘๔ ๑๙๕ ๑๙๘ ๑,๐๑๖
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสมั พนั ธ์ระหว่างส่ิงไม่มีชีวิตกับส่งิ มชี ีวิต และ
ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสิ่งมีชวี ิตกบั สิ่งมชี วี ิตต่าง ๆ ในระบบนเิ วศการถ่ายทอดพลงั งาน
การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนเิ วศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบท่ีมตี ่อ
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มแนวทางในการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละการแก้ไข
ปญั หาสิง่ แวดลอ้ มรวมทัง้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัตขิ องสงิ่ มีชีวติ หน่วยพ้นื ฐานของส่งิ มชี ีวิต การลำเลยี งสารเขา้ และออกจากเซลล์
ความสัมพันธข์ องโครงสร้างและหน้าท่ีของระบบตา่ ง ๆของสตั วแ์ ละมนุษยท์ ท่ี ำงานสมั พนั ธ์กนั
ความสมั พันธ์ของโครงสร้างและหนา้ ท่ีของอวัยวะต่าง ๆ ของพชื ที่ทำงานสัมพันธก์ ัน รวมทัง้ นำ
ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๓ เขา้ ใจกระบวนการและความสำคญั ของการถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธุกรรมสารพนั ธกุ รรมการ
เปลยี่ นแปลงทางพนั ธกุ รรมท่ีมีผลต่อสงิ่ มีชวี ิตความหลากหลายทางชีวภาพและวิวฒั นาการของ
สิง่ มีชีวิตรวมท้งั นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบตั ขิ องสสารองคป์ ระกอบของสสารความสมั พันธ์ระหวา่ งสมบตั ิของสสารกับโครงสร้าง
และแรงยึดเหน่ยี วระหว่างอนุภาคหลักและธรรมชาตขิ องการเปล่ยี นแปลงสถานะของสสารการ
เกิดสารละลายและการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี
มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวันผลของแรงทีก่ ระทำต่อวัตถุลกั ษณะการเคล่อื นท่ีแบบ
ตา่ งๆของวัตถรุ วมทั้งนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลงั งาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลังงานปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหว่างสสาร
และพลงั งาน พลังงานในชีวติ ประจำวนั ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณท์ ี่เกย่ี วข้องกับเสยี ง แสง
และคลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟ้ารวมทัง้ นำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์
สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกดิ และววิ ัฒนาการของเอกภพกาแล็กซี ดาวฤกษ์ และ
ระบบสรุ ยิ ะ รวมท้งั ปฏิสัมพันธภ์ ายในระบบสุรยิ ะที่สง่ ผลต่อสง่ิ มชี วี ติ และการประยุกตใ์ ช้
เทคโนโลยอี วกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๒ เขา้ ใจองค์ประกอบและความสัมพนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลงภายในโลกและบน
ผวิ โลก ธรณีพิบตั ภิ ัย กระบวนการเปลีย่ นแปลงลมฟา้ อากาศและภมู อิ ากาศโลก รวมทั้งผลต่อ
สิง่ มีชวี ิตและส่งิ แวดลอ้ ม
สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยเี พือ่ การดำรงชวี ติ ในสังคมท่ีมกี ารเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็ว ใช้
ความรแู้ ละทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตรอ์ ่ืน ๆ เพื่อแก้ปญั หาหรือพัฒนา
งานอยา่ งมีความคิดสร้างสรรคด์ ว้ ยกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม เลอื กใช้เทคโนโลยอี ยา่ ง
เหมาะสมโดยคำนึงถงึ ผลกระทบต่อชีวติ สงั คม และส่ิงแวดล้อม
มาตรฐาน ว ๔.๒ เขา้ ใจและใชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณในการแกป้ ัญหาท่ีพบในชวี ติ จรงิ อย่างเป็นขน้ั ตอนและเปน็ ระบบ
ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแกป้ ัญหาได้อยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ รเู้ ท่าทัน และมจี รยิ ธรรม
ตัวช้วี ัดและสาระการเรยี นรู้
สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวติ กับสิ่งมีชวี ิต และ
ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสิ่งมชี วี ิตกับส่ิงมชี วี ิตตา่ ง ๆ ในระบบนิเวศการถ่ายทอดพลังงาน การเปลีย่ นแปลงแทนที่ใน
ระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญั หาและผลกระทบทมี่ ีต่อทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมแนวทาง
ในการอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและการแกไ้ ขปัญหาสง่ิ แวดลอ้ มรวมทงั้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
ชนั้ ตวั ชว้ี ดั ท่ี สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถน่ิ
ป.1 ๑. ระบชุ อื่ พชื และสัตวท์ ี่ • บรเิ วณต่าง ๆ ในทอ้ งถ่ิน เช่น สนามหญ้า • พชื และสัตวท์ ี่อาศยั อยู่
อาศัยอยบู่ รเิ วณต่างจาก ใตต้ น้ ไม้สวนหยอ่ ม แหลง่ น้ำ อาจพบพืชและ บรเิ วณต่าง ๆ ในท้องถ่ินของ
ขอ้ มลู ท่รี วบรวมได้ สัตว์หลายชนิดอาศัยอยู่ ตน เชน่ สนามหญ้า ใตต้ ้นไม้
๒. บอกสภาพแวดล้อมท่ี • บริเวณที่แตกต่างกันอาจพบพชื และสตั ว์ สวนหยอ่ ม แหล่งน้ำ ฯลฯ
เหมาะสมกับการดำรงชีวิต แตกตา่ งกันเพราะสภาพแวดล้อมของแตล่ ะ • สภาพแวดล้อมในท้องถิ่น
ของสัตวใ์ นบริเวณทอี่ าศยั บรเิ วณจะมีความเหมาะสมต่อการดำรงชีวิต ภายในจังหวัดสระแก้ว เชน่
อยู่ ของพชื และสตั ว์ท่ีอาศัยอยใู่ นแต่ละบริเวณ -อุทยานแห่งชาติปางสดี า
เชน่ สระนำ้ มนี ำ้ เป็นทีอ่ ยู่อาศัยของหอย -อุทยานแห่งชาติตาพระยา
ปลา สาหรา่ ย เปน็ ทีห่ ลบภัยและมีแหลง่ -สถานีเพาะพนั ธุส์ ัตว์ป่าชอ่ ง
อาหารของหอยและปลา บรเิ วณต้นมะมว่ งมี กล่ำบน
ตน้ มะม่วงเป็นแหล่งท่ีอยู่และมอี าหาร -โรงเรยี นกาสรกสวิ ทิ ย์
สำหรับกระรอกและมด -ถำ้ เพชรโพธ์ทิ อง
• ถ้าสภาพแวดลอ้ มในบริเวณทพ่ี ชื และสตั ว์ -ถ้ำน้ำพระศิวะ
อาศยั อยมู่ ีการเปลี่ยนแปลง จะมีผลต่อการ
ดำรงชวี ติ ของพืชและสตั ว์
ป.2 - - -
ป.3 - - -
ป.4 - - -
ป.5 ๑. บรรยายโครงสร้างและ • สง่ิ มชี ีวติ ทง้ั พืชและสัตวม์ โี ครงสรา้ งและ • สภาพแวดลอ้ มในท้องถิ่น
ลักษณะของสิง่ มชี วี ติ ลกั ษณะทเ่ี หมาะสมในแต่ละแหล่งท่ีอยู่ ซ่ึง ภายในจงั หวัดสระแก้ว เชน่
ท่เี หมาะสมกับการดำรงชีวิต เป็นผลมาจากการปรับตัวของสิง่ มชี วี ิต -อุทยานแห่งชาตปิ างสีดา
ซ่ึงเป็นผลมาจาก เพอื่ ใหด้ ำรงชีวติ และอยู่รอดได้ในแต่ละแหลง่ -อทุ ยานแหง่ ชาตติ าพระยา
การปรับตัวของสง่ิ มชี ีวิตใน ท่อี ยู่ เช่น ผกั ตบชวามีชอ่ งอากาศในกา้ นใบ -สถานเี พาะพนั ธ์สุ ตั วป์ ่าชอ่ ง
แต่ละแหลง่ ที่อยู่ ชว่ ยให้ลอยน้ำได้ ต้นโกงกางที่ขน้ึ อยใู่ นปา่ กลำ่ บน
ชายเลนมีรากคำ้ จุนทำให้ลำต้นไม่ลม้ ปลามี -โรงเรยี นกาสรกสิวทิ ย์
ครบี ชว่ ยในการเคลือ่ นทใ่ี นนำ้ -ถ้ำเพชรโพธิ์ทอง
-ถ้ำน้ำพระศวิ ะ
2. อธบิ ายความสมั พนั ธ์ • ในแหลง่ ท่ีอยู่หนงึ่ ๆ สิง่ มีชีวิตจะมี • สภาพแวดล้อมในท้องถน่ิ
ระหว่างส่งิ มชี ีวติ กบั ความสมั พนั ธซ์ ่งึ กันและกันและสัมพนั ธ์กับ ภายในจงั หวดั สระแกว้
ส่ิงมชี วี ิตและความสมั พันธ์ สง่ิ ไมม่ ชี ีวติ เพื่อประโยชน์ตอ่ การดำรงชีวติ เชน่ -อุทยานแหง่ ชาติปางสีดา
ชั้น ตวั ช้ีวัดท่ี สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถ่นิ
ระหวา่ งส่ิงมชี วี ิตกับ เชน่ ความสมั พนั ธ์กนั ดา้ นการกนิ กนั เป็น -อุทยานแหง่ ชาติตาพระยา
ส่ิงไมม่ ชี วี ิต เพื่อประโยชน์ อาหาร เปน็ แหลง่ ท่ีอยูอ่ าศยั หลบภัยและ -สถานีเพาะพันธ์สุ ตั วป์ ่าช่อง
ต่อการดำรงชีวิต เล้ยี งดูลูกอ่อน ใชอ้ ากาศในการหายใจ กล่ำบน
๓. เขยี นโซ่อาหารและระบุ • ส่ิงมชี ีวิตมีการกินกันเปน็ อาหาร โดยกนิ ตอ่ -โรงเรยี นกาสรกสิวทิ ย์
บทบาทหน้าที่ของสง่ิ มชี วี ติ กนั เป็นทอด ๆ ในรปู แบบของโซอ่ าหาร ทำ
ทเี่ ปน็ ผู้ผลติ และผบู้ ริโภคใน ใหส้ ามารถระบุบทบาทหน้าท่ีของสงิ่ มชี ีวติ
โซอ่ าหาร เป็นผู้ผลติ และผูบ้ รโิ ภค
๔. ตระหนกั ในคณุ คา่ ของ
ส่ิงแวดล้อมทีม่ ีตอ่ การ
ดำรงชีวิตของสงิ่ มีชวี ติ โดย
มีสว่ นร่วมในการดูแลรกั ษา
สงิ่ แวดล้อม
ป.6 - - -
สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๒ เขา้ ใจสมบัตขิ องส่ิงมชี วี ติ หน่วยพื้นฐานของสง่ิ มีชีวิต การลำเลยี งสารเขา้ และออกจากเซลล์
ความสมั พันธข์ องโครงสรา้ งและหนา้ ทข่ี องระบบต่าง ๆของสัตว์และมนษุ ยท์ ่ีทำงานสัมพันธก์ นั ความสมั พนั ธข์ อง
โครงสร้างและหนา้ ที่ของอวยั วะตา่ ง ๆ ของพืชท่ีทำงานสมั พนั ธก์ นั รวมทัง้ นำความร้ไู ปใช้ประโยชน์
ช้นั ตวั ชีว้ ัดที่ สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถน่ิ
ป.1 ๑. ระบุชื่อบรรยายลักษณะ • มนุษย์มีส่วนต่างๆท่ีมีลกั ษณะและหน้าที่ -
และบอกหนา้ ท่ีของส่วน แตกต่างกันเพ่ือให้เหมาะสมในการดำรงชีวติ
ต่างๆของร่างกายมนุษย์ เชน่ ตามีหน้าทีไ่ วม้ องดโู ดยมหี นังตาและขนตา
สัตวแ์ ละพชื รวมทัง้ บรรยาย เพื่อป้องกันอันตรายใหก้ บั ตาหูมหี นา้ ที่รับฟัง
การทำหน้าทีร่ ว่ มกนั ของ เสยี งโดยมใี บหูและรหู เู พื่อเป็นทางผ่านของเสียง
ส่วนต่างๆของร่างกาย ปากมหี น้าท่ีพดู กนิ อาหารมีช่องปากและมรี ิม
มนุษยใ์ นการทำกจิ กรรม ฝีปากบนล่างแขนและมือมหี น้าท่ียกหยบิ จับมี
ตา่ งๆจากข้อมลู ท่ีรวบรวม ท่อนแขนและนว้ิ มือที่ขยบั ได้สมองมหี นา้ ท่ี
ได้ ควบคมุ การทำงานของสว่ นตา่ งๆของร่างกายอยู่
๒. ตระหนกั ถงึ ความสำคัญ ในกะโหลกศีรษะโดยสว่ นต่างๆของรา่ งกายจะ
ของส่วนตา่ งๆของร่างกาย ทำหน้าทรี่ ่วมกันในการทำกจิ กรรมใน
ตนเองโดยการดูแลสว่ น ชีวติ ประจำวัน
ตา่ งๆอย่างถกู ตอ้ งให้ •สตั วม์ ีหลายชนดิ แต่ละชนดิ มีส่วนต่างๆท่ีมี
ปลอดภัยและรกั ษาความ ลกั ษณะและหน้าท่แี ตกตา่ งกันเพือ่ ให้เหมาะสม
สะอาดอยู่เสมอ ในการดำรงชวี ิตเชน่ ปลามคี รีบเป็นแผน่ ส่วนกบ
เตา่ แมวมีขา๔ขาและมีเทา้ สำหรับใชใ้ นการ
เคลื่อนที่
•พืชมีสว่ นต่างๆทีม่ ีลักษณะและหนา้ ท่ีแตกตา่ ง
กนั เพ่ือใหเ้ หมาะสมในการดำรงชีวิตโดยท่ัวไป
รากมีลกั ษณะเรยี วยาวและแตกแขนงเป็นราก
เลก็ ๆทำหน้าที่ดดู นำ้ ลำต้นมลี ักษณะเป็น
ทรงกระบอกตงั้ ตรงและมีกง่ิ ก้านทำหนา้ ทีช่ กู ง่ิ
กา้ นใบและดอกใบมลี กั ษณะเปน็ แผน่ แบนทำ
หนา้ ทส่ี ร้างอาหารนอกจากนี้พชื หลายชนดิ อาจ
มีดอกทมี่ ีสรี ปู ร่างต่างๆทำหน้าทีส่ ืบพนั ธุ์รวมทั้ง
มผี ลทีม่ ีเปลือกมเี นื้อหอ่ ห้มุ เมลด็ และมีเมล็ดซึ่ง
สามารถงอกเป็นตน้ ใหมไ่ ด้
• มนษุ ยใ์ ชส้ ่วนต่างๆของรา่ งกายในการทำ
กจิ กรรมต่างๆเพ่ือการดำรงชีวติ มนุษย์จึงควรใช้
สว่ นต่างๆของร่างกายอย่างถูกต้องปลอดภยั
และรักษาความสะอาดอยู่เสมอเชน่ ใชต้ ามอง
ตวั หนงั สือในทีท่ ี่มแี สงสว่างเพียงพอดูแลตาให้
ปลอดภัยจากอนั ตรายและรักษาความสะอาดตา
อยู่เสมอ
ชนั้ ตวั ช้ีวดั ท่ี สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถน่ิ
ป.๒ ๑. ระบุวา่ พชื ต้องการแสง • พชื ต้องการน้ำแสงเพื่อการเจริญเติบโต -
และนำ้ เพื่อการเจริญเตบิ โต
โดยใชข้ อ้ มลู จากหลักฐาน
เชงิ ประจักษ์
๒. ตระหนกั ถงึ ความจำเปน็
ทีพ่ ชื ต้องได้รบั น้ำและแสง
เพอื่ การเจรญิ เตบิ โตโดย
ดูแลพืชใหไ้ ด้รบั สงิ่ ดงั กลา่ ว
อย่างเหมาะสม
๓. สรา้ งแบบจำลองท่ี •พชื ดอกเมือ่ เจรญิ เติบโตและมีดอกดอกจะมีการ -
บรรยายวัฏจกั รชวี ิตของ สบื พันธุ์เปล่ยี นแปลงไปเป็นผลภายในผลมเี มลด็
พืชดอก เมอ่ื เมล็ดงอกตน้ อ่อนท่ีอยภู่ ายในเมลด็ จะ
เจริญเติบโตเปน็ พืชต้นใหม่พืชตน้ ใหม่จะ
เจริญเตบิ โตออกดอกเพื่อสบื พนั ธุ์มผี ลต่อไปได้
อกี หมนุ เวียนต่อเนื่องเป็นวัฎจกั รชวี ิตของ
พชื ดอก
ป.3 ๑1.บรรยายสิ่งที่จำเป็นตอ่ การ •มนษุ ยแ์ ละสตั วต์ ้องการอาหารนำ้ และอากาศ -
-
ดำรงชีวติ และการ เพื่อการดำรงชวี ติ และการเจริญเติบโต -
เจริญเตบิ โตของมนุษย์และ •อาหารชว่ ยให้รา่ งกายแข็งแรงและเจริญเตบิ โต
สัตว์โดยใช้ข้อมูลท่ีรวบรวม น้ำชว่ ยใหร้ ่างกายทำงานได้อยา่ งปกติอากาศใช้
ได้ ในการหายใจ
๒. ตระหนักถึงประโยชน์
ของอาหารน้ำและอากาศ
โดยการดแู ลตนเองและสตั ว์
ใหไ้ ด้รับสง่ิ เหล่านอี้ ย่าง
เหมาะสม
๓. สรา้ งแบบจำลองท่ี •สตั ว์เมือ่ เปน็ ตัวเต็มวัยจะสืบพันธุ์มลี ูกเม่ือลกู
บรรยายวฏั จักรชวี ติ ของ เจรญิ เตบิ โตเปน็ ตัวเต็มวัยกส็ ืบพันธมุ์ ลี ูกต่อไปได้
สตั ว์และเปรียบเทียบวฏั อีกหมนุ เวียนต่อเนื่องเปน็ วฏั จักรชวี ิตของสตั ว์
จกั รชีวิตของสัตว์บางชนิด ซึง่ สตั วแ์ ต่ละชนดิ เชน่ ผเี ส้อื กบไกม่ นุษยจ์ ะมวี ฏั
๔. ตระหนักถึงคุณคา่ ของ จกั รชีวติ ท่เี ฉพาะและแตกต่างกัน
ชวี ิตสตั วโ์ ดยไมท่ ำใหว้ ัฏจักร
ชีวิตของสัตว์เปล่ยี นแปลง
ป.4 ๑. บรรยายหนา้ ทข่ี องราก • ส่วนต่าง ๆ ของพืชดอกทำหนา้ ทีแ่ ตกต่างกนั
ลำตน้ ใบ และดอกของพืช - รากทำหน้าท่ีดูดน้ำและธาตุอาหารขึ้นไปยังลำ
ดอก โดยใชข้ ้อมูลที่รวบรวม ตน้
ได้
ชนั้ ตัวชีว้ ัดท่ี สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิ่น
- ลำตน้ ทำหน้าทีล่ ำเลียงน้ำต่อไปยังส่วนต่าง ๆ -
ของพืช
- ใบทำหนา้ ทสี่ รา้ งอาหาร อาหารท่พี ชื สรา้ งขนึ้
คือ นำ้ ตาลซง่ึ จะเปลย่ี นเป็นแปง้
- ดอกทำหน้าท่สี บื พนั ธ์ุ ประกอบด้วย
สว่ นประกอบตา่ ง ๆ ได้แก่ กลีบเลี้ยง กลบี ดอก
เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย ซึง่ สว่ นประกอบ
แตล่ ะส่วนของดอกทำหน้าทีแ่ ตกต่างกนั
ป.5 - - -
ป.6 ๑. ระบุสารอาหารและบอก • สารอาหารทอ่ี ยูใ่ นอาหารมี ๖ ประเภท ไดแ้ ก่
ประโยชน์ของสารอาหารแต่ คารโ์ บไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เกลือแร่ วิตามนิ
ละประเภทจากอาหารท่ี และน้ำ
ตนเองรับประทาน • อาหารแตล่ ะชนดิ ประกอบด้วยสารอาหารที่
๒. บอกแนวทางในการ แตกต่างกัน อาหารบางอย่างประกอบด้วย
เลือกรับประทานอาหารให้ สารอาหารประเภทเดยี ว อาหารบางอยา่ ง
ไดส้ ารอาหารครบถว้ น ใน ประกอบด้วยสารอาหารมากกว่าหน่ึงประเภท
สดั ส่วนท่เี หมาะสมกับเพศ • สารอาหารแต่ละประเภทมีประโยชนต์ ่อ
และวัย รวมท้งั ความ ร่างกายแตกต่างกนั โดยคาร์โบไฮเดรต โปรตีน
ปลอดภัยตอ่ สุขภาพ และไขมัน เป็นสารอาหารทีใ่ หพ้ ลังงานแก่
๓. ตระหนกั ถงึ ความสำคัญ รา่ งกาย ส่วนเกลอื แร่ วิตามนิ และนำ้ เป็น
ของสารอาหาร โดยการ สารอาหารท่ีไม่ให้พลังงานแก่ร่างกาย แตช่ ว่ ยให้
เลือกรบั ประทานอาหารท่มี ี รา่ งกายทำงานได้เปน็ ปกติ
สารอาหารครบถว้ นใน • การรับประทานอาหาร เพื่อให้ร่างกาย
สัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศ เจริญเติบโต มกี ารเปล่ียนแปลงของร่างกายตาม
และวัย รวมทั้งปลอดภยั ต่อ เพศและวัย และมสี ขุ ภาพดี จำเปน็ ต้อง
สุขภาพ รับประทานให้ได้พลังงานเพยี งพอกบั ความ
ตอ้ งการของร่างกาย และให้ไดส้ ารอาหาร
ครบถว้ น ในสดั ส่วนท่เี หมาะสมกบั เพศและวัย
รวมทง้ั ตอ้ งคำนงึ ถึงชนดิ และปรมิ าณของวตั ถุ
เจอื ปนในอาหาร เพ่ือความปลอดภัยตอ่ สขุ ภาพ
๔. สร้างแบบจำลองระบบ • ระบบยอ่ ยอาหารประกอบด้วยอวยั วะตา่ ง ๆ
ยอ่ ยอาหารและบรรยาย ได้แก่ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร
หน้าทข่ี องอวัยวะในระบบ ลำไส้เลก็ ลำไสใ้ หญ่ ทวารหนัก ตบั และตบั อ่อน
ย่อยอาหารรวมท้ังอธิบาย ซงึ่ ทำหนา้ ทีร่ ่วมกนั ในการย่อยและดดู ซมึ
การยอ่ ยอาหารและการดูด สารอาหาร
ซมึ สารอาหาร
ช้นั ตวั ชี้วดั ท่ี สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรยี นร้ทู ้องถนิ่
๕. ตระหนักถึงความสำคญั - ปากมีฟนั ชว่ ยบดเคี้ยวอาหารให้มขี นาดเลก็ ลง
ของระบบยอ่ ยอาหารโดย และมีล้ินชว่ ยคลุกเคล้าอาหารกับนำ้ ลายในนำ้ ลาย
การบอกแนวทางในการ มเี อนไซม์ย่อยแป้งใหเ้ ปน็ น้ำตาล
ดแู ลรกั ษาอวยั วะในระบบ - หลอดอาหารทำหน้าที่ลำเลียงอาหารจากปาก
ยอ่ ยอาหารใหท้ ำงานเป็น ไปยังกระเพาะอาหาร ภายในกระเพาะอาหาร
ปกติ มีการย่อยโปรตีนโดยกรดและเอนไซมท์ สี่ รา้ งจาก
กระเพาะอาหาร
- ลำไส้เลก็ มีเอนไซม์ท่ีสร้างจากผนงั ลำไส้เล็กเอง
และจากตบั อ่อนที่ช่วยยอ่ ยโปรตนี คารโ์ บไฮเดรต
และไขมนั โดยโปรตีน คารโ์ บไฮเดรต และไขมันที่
ผา่ นการย่อยจนเป็นสารอาหารขนาดเล็กพอท่ีจะ
ดดู ซมึ ได้ รวมถึงน้ำ เกลือแร่ และวิตามนิ จะถกู
ดดู ซมึ ทีผ่ นังลำไสเ้ ล็กเข้าสู่กระแสเลอื ด เพอ่ื
ลำเลยี งไปยงั สว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกาย ซ่งึ โปรตีน
คาร์โบไฮเดรต และไขมัน จะถกู นำไปใช้เปน็ แหล่ง
พลงั งานสำหรับใชใ้ นกจิ กรรมตา่ ง ๆ
ส่วนน้ำ เกลือแร่ และวติ ามิน จะชว่ ยให้รา่ งกาย
ทำงานได้เป็นปกติ
- ตับสร้างน้ำดแี ลว้ ส่งมายังลำไส้เลก็ ช่วยใหไ้ ขมัน
แตกตัว
- ลำไส้ใหญ่ทำหน้าท่ีดูดน้ำและเกลือแร่เปน็
บริเวณทม่ี อี าหารที่ย่อยไม่ได้หรอื ย่อยไม่หมดเป็น
กากอาหารซึ่งจะถูกกำจัดออกทางทวารหนกั
•อวัยวะต่างๆในระบบย่อยอาหารมคี วามสำคัญจึง
ควรปฏิบัติตนดูแลรกั ษาอวยั วะให้ทำงานเปน็ ปกติ
สาระท๑ี่ วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสำคญั ของการถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธุกรรมสารพันธุกรรมการ
เปลีย่ นแปลงทางพันธุกรรมที่มผี ลตอ่ สง่ิ มีชีวติ ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวฒั นาการของส่งิ มีชวี ิตรวมทัง้ นำ
ความรไู้ ปใช้ประโยชน์
ชน้ั ตัวช้วี ัดที่ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนร้ทู ้องถ่ิน
ป.1 - --
ป.2 ๑. เปรยี บเทียบลักษณะของ • สงิ่ ทีอ่ ยรู่ อบตัวเรามีทัง้ ท่ีเป็นสิง่ มีชวี ติ และ
ส่งิ มชี ีวติ และสง่ิ ไม่มชี วี ิตจาก ส่ิงไม่มีชวี ิตสิง่ มีชีวิตตอ้ งการอาหารมกี ารหายใจ
ขอ้ มลู ท่ีรวบรวมได้ เจริญเติบโตขบั ถา่ ยเคลื่อนไหวตอบสนองต่อสงิ่ เรา้
และสืบพนั ธุไ์ ดล้ ูกทม่ี ีลักษณะคลา้ ยคลงึ กับพ่อแม่
ส่วนสิ่งไมม่ ชี ีวิตจะไม่มลี ักษณะดงั กลา่ ว
ป.3 - --
ป.4 ๑. จำแนกส่ิงมชี วี ิตโดยใช้ • สง่ิ มีชวี ิตมีหลายชนดิ สามารถจัดกลุ่มได้โดยใช้ -
ความเหมือนและความ ความเหมือนและความแตกต่างของลักษณะต่างๆ
แตกต่างของลักษณะของ เช่นกลมุ่ พชื สรา้ งอาหารเองได้และเคล่ือนทีด่ ้วย
ส่ิงมชี ีวติ ออกเปน็ กลุ่มพืช ตนเองไมไ่ ดก้ ลุ่มสัตว์กนิ ส่ิงมีชีวิตอนื่ เป็นอาหาร
กลุ่มสัตวแ์ ละกลุ่มที่ไมใ่ ช่พืช และเคล่ือนท่ไี ดก้ ลุ่มทไี่ ม่ใชพ่ ชื และสัตว์เช่น เห็ดรา
และสตั ว์ จุลินทรีย์
๒. จำแนกพืชออกเป็นพชื • การจำแนกพืชสามารถใช้การมดี อกเปน็ เกณฑใ์ น -
ดอกและพืชไม่มีดอกโดยใช้ การจำแนกไดเ้ ป็นพืชดอกและพชื ไม่มีดอก
การมดี อกเป็นเกณฑ์โดยใช้
ขอ้ มลู ทีร่ วบรวมได้
๓. จำแนกสัตว์ออกเป็นสัตว์ • การจำแนกสัตว์สามารถใชก้ ารมกี ระดูกสันหลัง -
มกี ระดูกสันหลังและสัตว์ไม่ เปน็ เกณฑใ์ นการจำแนกได้เป็นสตั ว์มกี ระดูกสนั
มีกระดูกสันหลังโดยใช้การมี หลงั และสัตว์ไม่มีกระดกู สันหลัง
กระดูกสันหลงั เปน็ เกณฑ์
โดยใชข้ อ้ มูลท่รี วบรวมได้
๔. บรรยายลกั ษณะเฉพาะท่ี • สัตว์มกี ระดูกสันหลงั มหี ลายกลมุ่ ได้แก่กลุ่มปลา -
สงั เกตได้ของสตั วม์ ีกระดกู กลุ่มสตั ว์สะเทินนำ้ สะเทนิ บกกลมุ่ สตั ว์เลอื้ ยคลาน
สนั หลงั ในกลุม่ ปลากลุ่มสัตว์ กล่มุ นกและกลุ่มสตั ว์เล้ียงลูกด้วยนำ้ นมซึง่ แต่ละ
สะเทินน้ำสะเทินบกกลมุ่ กลุม่ จะมลี ักษณะเฉพาะทสี่ งั เกตได้
สัตวเ์ ลื้อยคลานกลุม่ นกและ
กลุ่มสัตว์เลีย้ งลูกด้วยน้ำนม
และยกตัวอยา่ งสง่ิ มีชวี ติ ใน
แตล่ ะกลุ่ม
ช้นั ตัวช้วี ดั ท่ี สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถน่ิ
ป.5 ๑. อธบิ ายลกั ษณะทาง • สิ่งมชี วี ิตทัง้ พืชสตั ว์และมนษุ ย์เมื่อโตเตม็ ทีจ่ ะมี
พนั ธุกรรมที่มกี ารถา่ ยทอด การสบื พนั ธุ์เพ่ือเพิม่ จำนวนและดำรงพนั ธุ์โดยลูกที่
จากพ่อแม่ส่ลู กู ของพชื สัตว์ เกิดมาจะไดร้ บั การถ่ายทอดลักษณะทาง
และมนษุ ย์ พันธุกรรมจากพ่อแม่ทำให้มลี ักษณะทาง
๒. แสดงความอยากรู้อยาก พันธกุ รรมท่เี ฉพาะแตกตา่ งจากส่ิงมชี ีวติ ชนดิ อืน่
เหน็ โดยการถามคำถาม •พืชมกี ารถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธุกรรมเช่น
เกยี่ วกบั ลักษณะทีค่ ล้ายคลงึ ลักษณะของใบสดี อก
กันของตนเองกบั •สัตวม์ ีการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมเช่นสี
พ่อแม่ ขนลักษณะของขนลกั ษณะของหู
•มนษุ ยม์ ีการถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรมเช่น
เชงิ ผมทีห่ น้าผากลกั ย้ิมลกั ษณะหนังตาการหอ่ ล้ิน
ลกั ษณะของต่งิ หู
ป.6 - --
สาระท่๒ี วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสารองค์ประกอบของสสารความสัมพันธ์ระหว่างสมบตั ขิ องสสารกบั โครงสร้าง
และแรงยดึ เหนยี่ วระหวา่ งอนุภาคหลักและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของสสารการเกดิ สารละลายและ
การเกิดปฏกิ ิริยาเคมี
ชั้น ตวั ชีว้ ัดท่ี สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถิน่
ป.1 ๑. อธบิ ายสมบตั ิทส่ี ังเกตได้ • วัสดทุ ีใ่ ชท้ ำวัตถุที่เปน็ ของเล่นของใชม้ หี ลาย -
ของวสั ดุท่ใี ชท้ ำวัตถซุ ่ึงทำจาก ชนิดเชน่ ผา้ แกว้ พลาสติกยางไม้อฐิ หนิ กระดาษ
วัสดุชนดิ เดียวหรือหลายชนิด โลหะวัสดุแตล่ ะชนิดมสี มบัตทิ ่ีสังเกตไดต้ ่างๆ
ประกอบกนั โดยใชห้ ลกั ฐานเชิง เช่นสีนุ่มแข็งขรุขระเรียบใสขุ่นยดื หดได้
ประจกั ษ์ บดิ งอได้
๒. ระบุชนิดของวสั ดุและจัด •สมบตั ทิ ่สี งั เกตไดข้ องวัสดแุ ต่ละชนดิ อาจ
กล่มุ วสั ดุ เหมือนกนั ซ่ึงสามารถนำมาใช้เปน็ เกณฑ์ใน
ตามสมบตั ิท่ีสงั เกตได้ การจดั กลุ่มวสั ดไุ ด้
•วสั ดบุ างอยา่ งสามารถนำมาประกอบกนั เพ่อื
ทำเปน็ วตั ถุตา่ งๆเช่นผ้าและกระดมุ ใชท้ ำเส้ือ
ไมแ้ ละโลหะใช้ทำกระทะ
ป.2 ๑. เปรียบเทียบสมบตั ิการดูด • วัสดแุ ต่ละชนดิ มสี มบัติการดูดซับนำ้ แตกตา่ ง -
ซบั นำ้ ของวสั ดโุ ดยใช้หลกั ฐาน กนั จงึ นำไปทำวัตถเุ พ่อื ใช้ประโยชน์ไดแ้ ตกต่าง
เชิงประจกั ษ์และระบุการนำ กนั เชน่ ใช้ผ้าทด่ี ดู ซับน้ำไดม้ ากทำผ้าเชด็ ตัวใช้
สมบัติ พลาสตกิ ซงึ่ ไมด่ ูดซบั น้ำทำร่ม
การดูดซบั นำ้ ของวัสดุไป
ประยกุ ตใ์ ช้ในการทำวัตถุใน
ชีวิตประจำวนั
๒. อธิบายสมบัตทิ สี่ งั เกตได้ •วัสดบุ างอยา่ งสามารถนำมาผสมกันซ่ึงทำให้ -
ของวสั ดทุ เี่ กดิ จากการนำวสั ดุ ได้สมบัตทิ เ่ี หมาะสมเพื่อนำไปใช้ประโยชน์
มาผสมกนั โดยใช้หลักฐานเชงิ ตามตอ้ งการเชน่ แป้งผสมน้ำตาลและกะทิใช้
ประจกั ษ์ ทำขนมไทยปนู ปลาสเตอร์ผสมเย่ือกระดาษใช้
ทำกระปุกออมสินปูนผสมหินทรายและน้ำใช้
ทำคอนกรตี
๓. เปรยี บเทยี บสมบตั ิทส่ี งั เกตได้ • การนำวสั ดุมาทำเป็นวัตถใุ นการใช้งานตาม -
ของวสั ดเุ พอ่ื นำมาทำเปน็ วตั ถใุ น วตั ถปุ ระสงค์ขนึ้ อยู่กับสมบัติของวัสดุวสั ดทุ ่ใี ช้
การใช้งานตามวัตถุประสงคแ์ ละ
อธบิ ายการนำวัสดทุ ใี่ ชแ้ ลว้ กลับมา แลว้ อาจนำกลับมาใช้ใหม่ไดเ้ ช่นกระดาษใช้
ใชใ้ หม่โดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ แลว้ อาจนำมาทำเปน็ จรวดกระดาษดอกไม้
๔. ตระหนกั ถงึ ประโยชน์ของการนำ ประดิษฐถ์ ุงใส่ของ
วัสดุที่ใช้แลว้ กลับมาใช้ใหมโ่ ดยการ
นำวัสดุทีใ่ ช้แล้วกลบั มาใช้ใหม่
ชัน้ ตัวชีว้ ัดท่ี สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถน่ิ
ป.3 ๑. อธบิ ายว่าวตั ถุประกอบขน้ึ • วัตถุอาจทำจากช้ินส่วนยอ่ ยๆซงึ่ แต่ละชนิ้ มี -
จากช้นิ สว่ นย่อยๆซ่งึ สามารถ ลกั ษณะเหมือนกันมาประกอบเขา้ ด้วยกนั เมื่อ
แยกออกจากกันไดแ้ ละ แยกช้ินสว่ นย่อยๆ
ประกอบกนั เป็นวตั ถุช้นิ ใหมไ่ ด้ แต่ละช้ินของวัตถุออกจากกนั สามารถนำ
โดยใช้หลักฐานเชิงประจกั ษ์ ชน้ิ สว่ นเหล่าน้ันมาประกอบเปน็ วตั ถชุ ิ้นใหม่ได้
เชน่ กำแพงบ้านมกี ้อนอฐิ
หลายๆกอ้ นประกอบเข้าดว้ ยกันและสามารถนำ
กอ้ นอฐิ จากกำแพงบา้ นมาประกอบเปน็ พน้ื
ทางเดินได้
๒. อธิบายการเปลีย่ นแปลงของ • เม่ือใหค้ วามร้อนหรือทำให้วัสดรุ ้อนขน้ึ และ -
วัสดเุ ม่ือทำให้ร้อนขนึ้ หรือทำให้ เมือ่ ลดความร้อนหรือทำใหว้ สั ดุเย็นลงวสั ดจุ ะ
เยน็ ลงโดยใชห้ ลักฐานเชงิ เกิดการเปลยี่ นแปลงไดเ้ ช่นสเี ปล่ียนรูปร่าง
ประจักษ์ เปลยี่ น
ป.4 ๑. เปรยี บเทยี บสมบตั ทิ าง • วสั ดุแต่ละชนิดมีสมบตั ิทางกายภาพแตกต่าง -
กายภาพด้านความแขง็ สภาพ กนั วัสดุที่มีความแขง็ จะทนต่อแรงขูดขีดวัสดุท่ีมี
ยดื หยุ่นการนำความร้อนและ สภาพยดื หยุ่นจะเปลย่ี นแปลงรปู รา่ งเมื่อมีแรง
การนำไฟฟ้าของวสั ดโุ ดยใช้ มากระทำและกลับสภาพเดิมไดว้ สั ดทุ ี่
หลักฐานเชงิ ประจกั ษจ์ ากการ นำความรอ้ นจะรอ้ นได้เรว็ เม่ือไดร้ ับความร้อน
ทดลองและระบุการนำสมบัติ และวัสดุท่นี ำไฟฟ้าไดจ้ ะให้กระแสไฟฟ้าผา่ นได้
เรอื่ งความแขง็ สภาพยืดหยุ่น ดังนั้นจึงอาจนำสมบัติต่างๆมาพิจารณาเพื่อใช้
การนำความร้อนและการนำ ในกระบวนการออกแบบชน้ิ งานเพอื่ ใช้
ไฟฟา้ ของวสั ดุไปใชใ้ น ประโยชน์
ชีวติ ประจำวนั ผา่ นกระบวนการ ในชวี ติ ประจำวัน
ออกแบบชิ้นงาน
๒. แลกเปล่ียนความคิดกับผู้อ่ืน
โดยการอภปิ รายเกย่ี วกับสมบัติ
ทางกายภาพของวสั ดุอย่างมี
เหตผุ ลจากการทดลอง
๓. เปรยี บเทยี บสมบตั ิของ • วสั ดุเป็นสสารเพราะมมี วลและตอ้ งการที่อยู่ -
สสารทงั้ ๓สถานะจากข้อมลู ที่ สสารมสี ถานะเปน็ ของแขง็ ของเหลวหรอื แก๊ส
ไดจ้ ากการสังเกตมวลการ ของแขง็ มีปริมาตรและรปู ร่างคงท่ีของเหลวมี
ต้องการที่อยรู่ ปู ร่างและ ปริมาตรคงที่แต่มรี ปู รา่ งเปล่ยี นไปตามภาชนะ
ปริมาตรของสสาร เฉพาะส่วนทบ่ี รรจขุ องเหลวส่วนแก๊สมีปรมิ าตร
๔. ใชเ้ ครอ่ื งมือเพื่อวดั มวลและ และรูปรา่ งเปลย่ี นไปตามภาชนะที่บรรจุ
ปริมาตรของสสารท้งั ๓สถานะ
ชน้ั ตัวชี้วัดที่ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถน่ิ
ป.5 ๑. อธิบายการเปลย่ี นสถานะ • การเปลีย่ นสถานะของสสารเปน็ การ -
ของสสาร เม่ือทำให้สสารร้อน เปลีย่ นแปลงทางกายภาพ เม่ือเพ่ิมความร้อน
ขน้ึ หรอื เยน็ ลง โดยใชห้ ลักฐาน ใหก้ ับสสารถงึ ระดับหนง่ึ จะทำให้สสารทีเ่ ปน็
เชิงประจกั ษ์ ของแขง็ เปลีย่ นสถานะเป็นของเหลว เรียกวา่
การหลอมเหลว และเม่ือเพ่มิ ความร้อนต่อไป
จนถึงอีกระดับหนึ่งของเหลวจะเปล่ยี นเปน็ แก๊ส
เรยี กว่าการกลายเปน็ ไอ แต่เมอื่ ลดความร้อนลง
ถงึ ระดับหน่ึง แกส๊ จะเปลีย่ นสถานะเปน็
ของเหลว เรียกว่าการควบแน่น และถา้ ลดความ
ร้อนตอ่ ไปอีกจนถึงระดับหนง่ึ ของเหลวจะ
เปล่ยี นสถานะเปน็ ของแขง็ เรียกว่า การแข็งตัว
สสารบางชนิดสามารถเปลี่ยนสถานะจาก
ของแข็งเปน็ แก๊สโดยไมผ่ า่ นการเป็นของเหลว
เรยี กวา่ การระเหดิ สว่ นแก๊สบางชนิดสามารถ
เปล่ียนสถานะเป็นของแขง็ โดยไมผ่ า่ นการเป็น
ของเหลว เรียกวา่ การระเหดิ กลับ
๒. อธิบายการละลายของสาร • เมอ่ื ใส่สารลงในน้ำแล้วสารน้ันรวมเปน็ -
ในน้ำ โดยใชห้ ลักฐานเชงิ เน้อื เดียวกนั กับน้ำทว่ั ทุกส่วน แสดงว่าสารเกดิ
ประจักษ์ การละลาย เรียกสารผสมที่ได้ว่าสารละลาย
๓. วิเคราะหก์ ารเปลย่ี นแปลง • เมื่อผสมสาร ๒ ชนิดข้นึ ไปแลว้ มสี ารใหม่ -
ของสารเมื่อเกิดการ เกิดขึน้ ซง่ึ มีสมบตั ิต่างจากสารเดิมหรือเม่ือสาร
เปลย่ี นแปลงทางเคมี โดยใช้ ชนิดเดียว เกิดการเปลย่ี นแปลงแล้วมสี ารใหม่
หลักฐานเชิงประจกั ษ์ เกดิ ข้นึ การเปลย่ี นแปลงนี้เรียกวา่ การ
เปล่ียนแปลงทางเคมี ซงึ่ สงั เกตไดจ้ ากมีสีหรือ
กลิ่นตา่ งจากสารเดิม หรือมีฟองแกส๊ หรอื มี
ตะกอนเกดิ ขึ้น หรือมกี ารเพมิ่ ขึ้นหรือลดลงของ
อุณหภมู ิ
๔. วิเคราะห์และระบุการ • เม่อื สารเกดิ การเปลยี่ นแปลงแลว้ สารสามารถ -
เปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และ เปลยี่ นกลบั เปน็ สารเดมิ ได้ เป็นการ
การเปลีย่ นแปลงที่ผนั กลบั ไม่ได้ เปลีย่ นแปลงทผ่ี นั กลับได้ เช่น การหลอมเหลว
การกลายเป็นไอ การละลาย แตส่ ารบางอย่าง
เกดิ การเปล่ียนแปลง แลว้ ไม่สามารถเปลีย่ น
กลบั เป็นสารเดิมได้ เปน็ การเปลยี่ นแปลงทผ่ี นั
กลบั ไม่ได้ เชน่ การเผาไหม้ การเกดิ สนมิ
ชน้ั ตวั ชว้ี ดั ท่ี สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรูท้ อ้ งถน่ิ
ป.6 ๑. อธบิ ายและเปรยี บเทยี บการ • สารผสมประกอบด้วยสารต้ังแต่ ๒ ชนิดข้นึ ไป -
แยกสารผสมโดยการหยิบออก ผสมกนั เชน่ น้ำมนั ผสมน้ำ ข้าวสารปนกรวด
การรอ่ น การใช้แม่เหลก็ ดึงดดู ทราย วิธกี ารท่ีเหมาะสมในการแยกสารผสม
การรนิ ออก การกรอง และการ ขนึ้ อย่กู ับลกั ษณะและสมบัติของสารทผ่ี สมกัน
ตกตะกอนโดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ถา้ องคป์ ระกอบของสารผสมเปน็ ของแข็งกับ
ประจักษ์ รวมท้ังระบวุ ิธี ของแข็งท่ีมีขนาด แตกตา่ งกันอย่างชัดเจน อาจ
แกป้ ัญหาในชวี ติ ประจำวัน ใช้วิธีการหยบิ ออกหรือการร่อนผา่ นวัสดุทม่ี รี ู
เก่ยี วกับการแยกสาร ถ้ามีสารใดสารหนงึ่ เป็นสารแมเ่ หลก็ อาจใช้
วิธีการใช้แมเ่ หลก็ ดงึ ดูด ถ้าองคป์ ระกอบเป็น
ของแขง็ ที่ไมล่ ะลายในของเหลว อาจใช้วธิ ีการ
รนิ ออก การกรอง หรอื การตกตะกอน
ซงึ่ วธิ กี ารแยกสารสามารถนำไปใช้ประโยชนใ์ น
ชวี ิตประจำวนั ได้
สาระท่ี ๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๒ เขา้ ใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวันผลของแรงทีก่ ระทำต่อวัตถุลักษณะการเคลอ่ื นที่แบบ
ต่างๆของวตั ถุรวมทั้งนำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์
ชัน้ ตวั ชว้ี ดั ที่ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนร้ทู อ้ งถน่ิ
ป.1 - --
ป.2 - --
ป.3 ๑. ระบุผลของแรงที่มีต่อการ • การดึงหรือการผลักเปน็ การออกแรงกระทำ -
เปลย่ี นแปลง ตอ่ วัตถุ แรงมผี ลต่อการเคลือ่ นที่ของวัตถุ แรง
การเคลื่อนทขี่ องวัตถจุ าก อาจทำใหว้ ัตถุเกดิ การเคลื่อนทีโ่ ดยเปลย่ี น
หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ตำแหน่งจากที่หนึง่ ไปยังอีกท่ีหนึ่ง
• การเปลยี่ นแปลงการเคล่ือนทีข่ องวตั ถุ ได้แก่
วตั ถุทอี่ ยนู่ ่ิงเปลี่ยนเปน็ เคลอื่ นท่ี วัตถุทีก่ ำลัง
เคลือ่ นทเี่ ปลี่ยนเปน็ เคลื่อนท่ีเร็วข้ึนหรือชา้ ลง
หรอื หยดุ นงิ่ หรอื เปล่ยี นทิศทางการเคลื่อนท่ี
๒. เปรียบเทยี บและยกตวั อย่าง • การดงึ หรือการผลกั เปน็ การออกแรงทเี่ กิดจาก -
แรงสัมผสั และแรงไม่สัมผัสท่ีมี วัตถุหนง่ึ กระทำกับอีกวตั ถหุ นึ่ง โดยวัตถทุ งั้ สอง
ผลต่อการเคลื่อนท่ีของวตั ถโุ ดย อาจสมั ผัสหรือไมต่ ้องสมั ผสั กัน เชน่ การออก
ใช้หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ แรงโดยใช้มอื ดึงหรือการผลักโตะ๊ ให้เคล่ือนท่ี
เป็นการออกแรงท่วี ัตถุต้องสัมผัสกนั แรงนจี้ ึง
เป็น
แรงสัมผัส สว่ นการทแี่ ม่เหล็กดึงดดู หรือผลกั
ระหวา่ งแม่เหล็กเป็นแรงท่เี กิดข้ึนโดยแม่เหลก็
ไมจ่ ำเป็นต้องสมั ผสั กนั แรงแม่เหล็กนีจ้ งึ เป็น
แรงไมส่ ัมผสั
๓. จำแนกวตั ถโุ ดยใช้การดงึ ดูด • แมเ่ หล็กสามารถดึงดูดสารแม่เหลก็ ได้ -
กบั แมเ่ หล็กเป็นเกณฑ์จาก • แรงแมเ่ หล็กเป็นแรงทเ่ี กดิ ขึ้นระหวา่ งแม่เหล็ก
หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ กบั สารแมเ่ หล็ก หรือแมเ่ หลก็ กับแม่เหล็ก
๔. ระบุข้วั แมเ่ หล็กและ แม่เหล็ก มี ๒ ข้วั คอื ข้ัวเหนอื และขัว้ ใต้
พยากรณ์ผลทเี่ กิดขนึ้ ระหว่าง ข้วั แม่เหลก็ ชนดิ เดยี วกนั จะผลกั กัน ตา่ งชนิดกนั
ขั้วแมเ่ หล็กเม่ือนำมาเข้าใกล้กัน จะดึงดดู กัน
จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์
ป4 ๑. ระบผุ ลของแรงโน้มถ่วงท่มี ี • แรงโนม้ ถ่วงของโลกเป็นแรงดึงดูดท่โี ลก -
ต่อวตั ถจุ ากหลักฐานเชงิ กระทำต่อวตั ถุ มที ิศทางเข้าสู่ศูนย์กลางโลก
ประจักษ์ และเปน็ แรงไมส่ มั ผัส แรงดงึ ดูดท่โี ลกกระทำกับ
๒. ใช้เครอื่ งช่ังสปรงิ ในการวดั วตั ถุหน่ึง ๆทำให้วัตถตุ กลงสพู่ ื้นโลก และทำให้
น้ำหนกั ของวัตถุ วัตถมุ ีนำ้ หนักวดั น้ำหนกั ของวตั ถไุ ด้จากเคร่ือง
ชั่งสปริง นำ้ หนักของวัตถขุ ึน้ กับมวลของวตั ถุ
ชัน้ ตัวช้ีวดั ที่ สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถน่ิ
โดยวตั ถทุ ่มี มี วลมากจะมนี ำ้ หนกั มาก วัตถุทีม่ ี
มวลนอ้ ยจะมนี ้ำหนักน้อย
๓. บรรยายมวลของวตั ถทุ ม่ี ผี ล • มวล คือ ปริมาณเน้ือของสสารท้ังหมดท่ี
ตอ่ การเปลยี่ นแปลง ประกอบกนั เป็นวตั ถุ ซึ่งมีผลต่อความยากงา่ ย
การเคลื่อนทีข่ องวตั ถุจาก ในการเปลย่ี นแปลงการเคล่ือนที่ของวตั ถุ วัตถุ
หลักฐานเชิงประจกั ษ์ ทีม่ ีมวลมากจะเปล่ยี นแปลงการเคลื่อนท่ีได้
ยากกวา่ วัตถทุ ี่มีมวลนอ้ ย ดังนั้นมวลของวัตถุ
นอกจากจะหมายถึงเนื้อท้งั หมดของวตั ถุนนั้
แล้วยงั หมายถึงการตา้ นการเปล่ียนแปลง
การเคล่อื นทขี่ องวัตถนุ นั้ ดว้ ย
ป.5 ๑. อธิบายวธิ ีการหาแรงลพั ธ์ • แรงลพั ธ์เป็นผลรวมของแรงทก่ี ระทำต่อวตั ถุ -
ของแรงหลายแรงในแนว โดยแรงลพั ธ์ของแรง ๒ แรงที่กระทำตอ่ วตั ถุ
เดียวกนั ทก่ี ระทำต่อวตั ถใุ น เดยี วกันจะมีขนาดเท่ากับผลรวมของแรงทง้ั
กรณีท่วี ตั ถุอยู่นงิ่ สองเมื่อแรงทั้งสองอยู่ในแนวเดยี วกนั และมี
จากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ ทศิ ทางเดยี วกนั แตจ่ ะมีขนาดเทา่ กับผลตา่ ง
๒. เขียนแผนภาพแสดงแรงที่ ของแรงทัง้ สองเมื่อแรงทัง้ สองอยู่ในแนว
กระทำต่อวัตถุท่ีอยู่ในแนว เดียวกนั แตม่ ที ิศทางตรงขา้ มกัน สำหรับวัตถทุ ่ี
เดยี วกนั และแรงลัพธท์ ี่กระทำ อยนู่ ิ่งแรงลัพธท์ ่ีกระทำต่อวัตถมุ ีคา่ เป็นศนู ย์
ตอ่ วตั ถุ • การเขียนแผนภาพของแรงทีก่ ระทำต่อวัตถุ
๓. ใชเ้ ครือ่ งชั่งสปรงิ ในการวดั สามารถเขยี นได้โดยใช้ลกู ศร โดยหัวลูกศร
แรงท่กี ระทำต่อวัตถุ แสดงทศิ ทางของแรง และความยาวของลูกศร
แสดงขนาดของแรงที่กระทำต่อวัตถุ
๔. ระบผุ ลของแรงเสียดทานที่ • แรงเสยี ดทานเป็นแรงทีเ่ กดิ ขึ้นระหวา่ ง -
มตี อ่ การเปลยี่ นแปลงการ ผิวสมั ผัสของวตั ถุ เพ่ือตา้ นการเคล่อื นท่ีของ
เคล่อื นที่ของวตั ถุจากหลกั ฐาน วัตถนุ ้ัน โดยถ้าออกแรงกระทำตอ่ วตั ถทุ ี่อยนู่ ิ่ง
เชงิ ประจกั ษ์ บนพื้นผิวหนึง่ ให้เคลอ่ื นที่ แรงเสยี ดทานจาก
๕. เขียนแผนภาพแสดงแรง พ้ืนผวิ น้นั กจ็ ะตา้ นการเคลื่อนท่ขี องวตั ถุ แต่ถ้า
เสยี ดทานและแรงท่ีอยใู่ นแนว วตั ถุกำลงั เคล่ือนท่แี รงเสียดทานกจ็ ะทำให้
เดยี วกนั ทก่ี ระทำต่อวัตถุ วตั ถุนน้ั เคลื่อนที่ช้าลงหรือหยุดน่ิง
ป.6 ๑. อธิบายการเกิดและผลของ • วัตถุ ๒ ชนิดท่ีผา่ นการขัดถูแลว้ เมื่อนำเข้า -
แรงไฟฟา้ ซึ่งเกิดจากวตั ถุท่ผี า่ น ใกล้กันอาจดึงดดู หรือผลกั กัน แรงทีเ่ กดิ ขึ้นน้ี
การขดั ถู โดยใช้หลกั ฐานเชิง เป็นแรงไฟฟา้ ซ่ึงเป็นแรงไมส่ ัมผสั เกดิ ข้ึน
ประจกั ษ์ ระหวา่ งวตั ถทุ มี่ ปี ระจไุ ฟฟา้ ซึ่งประจุไฟฟ้ามี
๒ ชนิด คอื ประจุไฟฟ้าบวกและประจุไฟฟา้
ลบ วตั ถทุ ่ีมปี ระจุไฟฟ้าชนดิ เดียวกันผลกั กัน
ชนดิ ตรงข้ามกนั ดึงดดู กัน
สาระที่ ๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๓ เขา้ ใจความหมายของพลงั งาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลงั งานปฏสิ มั พนั ธ์ระหวา่ งสสาร
และพลงั งาน พลงั งานในชีวิตประจำวนั ธรรมชาตขิ องคลน่ื ปรากฏการณท์ ่ีเก่ยี วข้องกบั เสียง แสง และคลืน่
แมเ่ หล็กไฟฟ้ารวมทั้งนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์
ช้ัน ตวั ชว้ี ัดท่ี สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่นิ
ป.1 ๑. บรรยายการเกิดเสียงและ • เสียงเกิดจากการส่ันของวัตถุ วตั ถุท่ที ำให้เกดิ -
ทิศทางการเคลื่อนท่ีของเสียง เสียงเป็นแหล่งกำเนิดเสียง ซึ่งมีท้งั แหลง่ กำเนิด
จากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ เสียงตามธรรมชาตแิ ละแหล่งกำเนดิ เสียงท่ี
มนุษย์
สรา้ งขึ้น เสียงเคลื่อนท่อี อกจากแหล่งกำเนิด
เสียง
ทกุ ทิศทาง
ป.2 ๑. บรรยายแนวการเคลอ่ื นท่ี • แสงเคลื่อนทจ่ี ากแหล่งกำเนิดแสงทกุ ทิศทาง -
ของแสงจากแหลง่ กำเนิดแสง เปน็ แนวตรง เมื่อมแี สงจากวตั ถุมาเข้าตาจะทำ
และอธิบายการมองเห็นวตั ถุ ใหม้ องเหน็ วตั ถนุ ั้น การมองเหน็ วัตถทุ ่เี ป็น
จากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ แหล่งกำเนดิ แสง แสงจากวัตถนุ น้ั จะเข้าสตู่ า
๒. ตระหนักในคณุ คา่ ของ โดยตรงสว่ นการมองเหน็ วตั ถุทไี่ มใ่ ช่
ความร้ขู องการมองเห็นโดย แหลง่ กำเนิดแสง ต้องมีแสงจากแหลง่ กำเนิด
เสนอแนะแนวทางการปอ้ งกนั แสงไปกระทบวัตถแุ ลว้ สะท้อนเข้าตา ถา้ มีแสงที่
อันตรายจากการมองวัตถุท่ีอยู่ สวา่ งมาก ๆ เข้าสู่ตาอาจเกิดอนั ตรายต่อตาได้
ในบริเวณทีม่ ีแสงสวา่ งไม่ จงึ ตอ้ งหลกี เลย่ี งการมองหรือใชแ้ ผ่นกรองแสงที่
เหมาะสม มคี ุณภาพเมื่อจำเปน็ และต้องจัดความสวา่ งให้
เหมาะสมกับการทำกจิ กรรมต่าง ๆ เชน่ การ
อา่ นหนงั สือการดูจอโทรทศั น์ การใช้
โทรศพั ทเ์ คลอื่ นท่ีและแท็บเล็ต
ป.3 ๑. ยกตวั อย่างการเปลย่ี น • พลงั งานเป็นปรมิ าณทแ่ี สดงถงึ ความสามารถ ตัวอยา่ งการเปล่ยี น
พลงั งานหน่ึงไปเปน็ อีก
พลงั งานหนง่ึ ไปเปน็ อีก ในการทำงาน พลงั งานมีหลายแบบ เชน่
พลงั งานหนึ่งจากหลักฐาน พลงั งานหนง่ึ จากหลักฐาน
เชงิ ประจักษ์ พลงั งานกล พลงั งานไฟฟ้า พลงั งานแสง เชิงประจกั ษใ์ นท้องถิ่นของ
พลงั งานเสยี ง และพลังงานความร้อน โดย ตน เช่น โรงงานไฟฟ้า
พลงั งานสามารถเปลีย่ นจากพลังงานหน่ึงไปเป็น พลงั งานแสงอาทิตย์
อกี พลงั งานหนึ่งได้ เช่น การถูมอื จนร้สู กึ ร้อน ต. หนั ทรายอ.อรญั
เปน็ การเปลี่ยนพลงั งานกลเป็นพลงั งานความ ประเทศ จ. สระแกว้
ร้อนแผงเซลลส์ รุ ยิ ะเปลยี่ นพลงั งานแสงเปน็ -โรงไฟฟา้ พลังนำ้ ช่องหก
ลำ่ บน อ.วัฒนานคร จ.
พลงั งานไฟฟา้ หรือเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าเปล่ยี น สระแกว้
พลังงานไฟฟ้าเปน็ พลงั งานอน่ื -กงั หันวดิ น้ำจากพลังงาน
ลม,
พลงั งานความร้อนจากแกส็
ชวี ภาพท่ีวทิ ยาลยั โพธิ
วชิ ชาลัย อ.วัฒนานคร
จ.สระแกว้
ชนั้ ตัวช้ีวัดท่ี สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ
ป.3 ๒. บรรยายการทำงานของ • ไฟฟ้าผลติ จากเคร่ืองกำเนิดไฟฟา้ ซงึ่ ใช้ • ไฟฟ้าผลติ จากเครื่อง
เครื่องกำเนดิ ไฟฟา้ และ พลังงานจากแหลง่ พลงั งานธรรมชาตหิ ลาย กำเนดิ ไฟฟา้ ซึ่งใช้
ระบุแหล่งพลงั งานในการผลติ แหล่ง เช่น พลงั งานจากลม พลังงานจากนำ้ พลังงานจากแหล่ง
ไฟฟา้ จากข้อมูลทีร่ วบรวมได้ พลงั งานจากแกส๊ ธรรมชาติ พลงั งานธรรมชาติใน
๓. ตระหนกั ในประโยชน์และ • พลงั งานไฟฟา้ มีความสำคัญต่อ ท้องถิ่นเชน่ พลงั งานจาก
โทษของไฟฟ้า โดย ชวี ติ ประจำวันการใชไ้ ฟฟา้ นอกจากต้องใช้ ลม พลงั งานจากน้ำ
นำเสนอวิธีการใชไ้ ฟฟา้ อย่าง อยา่ งถูกวธิ ี ประหยัดและค้มุ ค่าแลว้ ยงั ตอ้ ง พลงั งานจากแกส๊
ประหยดั และ คำนงึ ถึงความปลอดภัยดว้ ย ธรรมชาตพิ ลงั งานจาก
แสงอาทติ ย์ เชน่
-โรงงานไฟฟา้ พลังงาน
แสงอาทิตย์
ต. หันทราย อ.อรญั
ประเทศ จ. สระแกว้
-โรงไฟฟา้ พลงั นำ้ ชอ่ ง
กลำ่ บน
อ.วฒั นานครจ.สระแกว้
-กงั หนั วดิ นำ้ จากลม,
พลงั งานความร้อนจาก
แกส็ ชวี ภาพทว่ี ิทยาลยั
โพธวิ ิชชาลยั อ.วฒั นา
นคร จ.สระแก้ว
ป.4 ๑. จำแนกวัตถุเปน็ ตัวกลาง • เมือ่ มองสิ่งตา่ ง ๆ โดยมีวัตถุตา่ งชนิดกันมา -
โปร่งใสตวั กลางโปรง่ แสง และ ก้นั แสงจะทำใหล้ กั ษณะการมองเหน็ ส่งิ น้นั ๆ
วัตถทุ บึ แสงจากลักษณะการ ชัดเจนต่างกนั จงึ จำแนกวัตถุที่มากนั้ ออกเป็น
มองเหน็ ส่ิงตา่ งๆ ผ่านวัตถนุ ัน้ ตัวกลางโปรง่ ใส ซ่งึ ทำให้มองเหน็ สง่ิ ตา่ ง ๆ ได้
เป็นเกณฑโ์ ดยใชห้ ลักฐานเชงิ ชดั เจนตัวกลางโปรง่ แสงทำให้มองเห็นสิง่ ตา่ ง
ประจักษ์ ๆ ไดไ้ ม่ชดั เจน และวตั ถทุ ึบแสงทำให้มองไม่
เหน็ สิ่งตา่ ง ๆ น้ัน
ป.5 ๑. อธิบายการได้ยินเสยี งผา่ น • การได้ยินเสียงต้องอาศัยตัวกลาง โดยอาจ -
ตัวกลางจากหลกั ฐานเชิง เป็นของแขง็ ของเหลว หรอื อากาศ เสยี งจะ
ประจักษ์ ส่งผา่ นตัวกลางมายังหู
๒. ระบตุ วั แปร ทดลอง และ • เสียงทไี่ ด้ยินมรี ะดบั สูงต่ำของเสยี งต่างกนั -
อธิบายลกั ษณะและการเกิด ข้ึนกับความถี่ของการสั่นของแหลง่ กำเนิด
เสียงสงู เสียงตำ่ เสียง โดยเมอ่ื แหล่งกำเนิดเสียงสั่นด้วยความถ่ี
๓. ออกแบบการทดลองและ ตำ่ จะเกดิ เสียงตำ่ แต่ถา้ สั่นด้วยความถ่ีสงู จะ
อธิบายลกั ษณะและการเกิด เกิดเสยี งสงู ส่วนเสียงดังค่อยทีไ่ ด้ยนิ ข้ึนกบั
ชนั้ ตัวช้ีวัดที่ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นร้ทู ้องถ่ิน
เสียงดัง เสียงค่อย พลงั งานการสัน่ ของแหล่งกำเนดิ เสยี ง โดยเม่ือ
๔. วัดระดบั เสยี งโดยใช้ แหลง่ กำเนดิ เสียงสั่นด้วย พลังงานมากจะเกิด
เครื่องมอื วัดระดับเสยี ง เสยี งดงั แตถ่ า้ แหล่งกำเนิดเสียงสนั่ ด้วยพลงั งาน
๕. ตระหนกั ในคุณค่าของ นอ้ ยจะเกิดเสียงค่อย
ความรเู้ รอื่ งระดับเสียงโดย • เสยี งดงั มาก ๆ เป็นอนั ตรายตอ่ การได้ยินและ
เสนอแนะแนวทางในการ เสียงทก่ี อ่ ให้เกดิ ความรำคาญเปน็ มลพษิ ทาง
หลีกเลย่ี งและลดมลพษิ ทาง เสยี งเดซเิ บลเป็นหนว่ ยท่ีบอกถงึ ความดังของ
เสียง เสยี ง
ป.6 1. ระบสุ ว่ นประกอบและ • วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายประกอบด้วย
บรรยายหนา้ ทขี่ องแต่ละ แหลง่ กำเนิดไฟฟา้ สายไฟฟา้ และเครื่องใชไ้ ฟฟ้า
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า หรืออุปกรณ์ไฟฟ้าแหลง่ กำเนิดไฟฟา้ เช่น
อยา่ งง่ายจากหลักฐานเชงิ ถา่ นไฟฉาย หรือแบตเตอรี่
ประจักษ์ ทำหน้าที่ให้พลังงานไฟฟา้ สายไฟฟ้าเป็นตัวนำ
๒. เขียนแผนภาพและต่อ ไฟฟ้า ทำหน้าทเี่ ชอื่ มต่อระหว่างแหลง่ กำเนดิ
วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ไฟฟ้าและเครื่องใชไ้ ฟฟ้าเข้าด้วยกัน
เครอื่ งใช้ไฟฟา้ มีหน้าทเ่ี ปลีย่ นพลังงานไฟฟ้าเป็น
พลังงานอืน่
3. ออกแบบการทดลองและ • เม่ือนำเซลลไ์ ฟฟ้าหลายเซลล์มาต่อเรยี งกนั -
ทดลองด้วยวธิ ที ่ีเหมาะสมใน โดยให้ข้วั บวกของเซลล์ไฟฟ้าเซลล์หนึ่งตอ่ กบั ข้ัว
การอธิบายวิธกี ารและผลของ ลบของอกี เซลล์หน่งึ เปน็ การต่อแบบอนกุ รมทำ
การตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนุกรม ให้มีพลังงานไฟฟ้าเหมาะสมกับเครื่องใช้ไฟฟา้
๔. ตระหนักถงึ ประโยชน์ของ ซง่ึ การต่อเซลลไ์ ฟฟ้าแบบอนุกรมสามารถ
ความรู้ของการต่อเซลลไ์ ฟฟ้า นำไปใช้ประโยชน์ในชวี ติ ประจำวัน เช่น การตอ่
แบบอนุกรมโดยบอกประโยชน์ เซลลไ์ ฟฟ้าในไฟฉาย
และการประยกุ ต์ใช้ใน
ชีวติ ประจำวนั
5. ออกแบบการทดลองและ • การต่อหลอดไฟฟา้ แบบอนุกรมเม่ือถอด -
ทดลองด้วยวิธีทเ่ี หมาะสมใน หลอดไฟฟา้ ดวงใดดวงหน่ึงออกทำใหห้ ลอด
การอธิบายการตอ่ หลอดไฟฟ้า ไฟฟ้า
แบบอนกุ รมและแบบขนาน ทเี่ หลอื ดบั ท้ังหมด ส่วนการต่อหลอดไฟฟ้า
๖. ตระหนกั ถงึ ประโยชน์ของ แบบขนาน เมื่อถอดหลอดไฟฟ้าดวงใดดวงหนึ่ง
ความรขู้ องการต่อหลอดไฟฟ้า ออก
แบบอนกุ รมและแบบขนาน หลอดไฟฟา้ ท่ีเหลือกย็ ังสว่างได้ การตอ่
โดยบอกประโยชน์ ข้อจำกัด หลอดไฟฟา้ แตล่ ะแบบสามารถนำไปใช้
และการประยุกต์ใชใ้ น ประโยชนไ์ ด้
ชวี ติ ประจำวัน เช่น การตอ่ หลอดไฟฟ้าหลายดวงในบ้านจึงต้อง
ตอ่ หลอดไฟฟ้าแบบขนาน เพื่อเลอื กใช้
หลอดไฟฟา้ ดวงใดดวงหน่ึงได้ตามตอ้ งการ
ช้นั ตวั ช้ีวัดที่ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่นิ
๗. อธิบายการเกดิ เงามดื เงามัว • เม่ือนำวัตถุทึบแสงมากนั้ แสงจะเกิดเงาบนฉาก
จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ รับแสงท่ีอยดู่ า้ นหลังวตั ถุ โดยเงามีรูปร่างคลา้ ย
๘. เขียนแผนภาพรงั สขี องแสง วตั ถุทท่ี ำใหเ้ กิดเงา เงามวั เปน็ บริเวณทม่ี ีแสง
แสดงการเกิดเงามืดเงามวั บางส่วนตกลงบนฉาก สว่ นเงามดื เป็นบรเิ วณ
ท่ีไม่มีแสงตกลงบนฉากเลย
สาระที่ ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เขา้ ใจองค์ประกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกดิ และวิวัฒนาการของเอกภพกาแล็กซี ดาวฤกษ์ และ
ระบบสุริยะ รวมทง้ั ปฏิสมั พันธภ์ ายในระบบสุรยิ ะทีส่ ่งผลต่อส่ิงมีชวี ติ และการประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ
ชนั้ ตัวชวี้ ดั ที่ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ
ป.1 1. ระบุดาวทป่ี รากฏบน • บนท้องฟ้ามีดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ และดาวซึ่ง • ระบบดวงดาวจาก
ทอ้ งฟ้าในเวลากลางวัน ในเวลากลางวันจะมองเหน็ ดวงอาทติ ย์และอาจ หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ใน
และกลางคนื จากข้อมูลท่ี มองเหน็ ดวงจนั ทรบ์ างเวลาในบางวนั แตไ่ ม่ ทอ้ งถ่นิ และชุมชนของตน
รวบรวมได้ สามารถมองเห็นดาว • ระบบดวงดาวจำลองท่ี
๒. อธิบายสาเหตุทีม่ องไม่ • ในเวลากลางวนั มองไม่เห็นดาวสว่ นใหญ่ ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์
เห็นดาวส่วนใหญใ่ นเวลา เนื่องจากแสงอาทติ ยส์ ว่างกว่าจึงกลบแสงของ สระแก้ว อ. เมือง
กลางวนั จากหลกั ฐานเชงิ ดาว ส่วนในเวลากลางคนื จะมองเห็นดาวและ สระแก้ว จ. สระแกว้
ประจักษ์ มองเห็นดวงจันทรเ์ กือบทุกคืน
ป.2 - - -
ป.3 ๑. อธิบายแบบรูปเส้นทาง • คนบนโลกมองเหน็ ดวงอาทิตยป์ รากฏขึ้น • ปรากฏการณข์ องดวง
การข้นึ และตก ของดวง ทางด้านหนึ่งและตกทางอีกด้านหน่งึ ทกุ วนั อาทิตย์และประโยชน์
อาทิตย์โดยใช้หลักฐานเชิง หมนุ เวยี นเป็นแบบรูปซ้ำ ๆ ของดวงอาทิตย์ท่มี ีต่อ
ประจักษ์ • โลกกลมและหมุนรอบตวั เองขณะโคจรรอบดวง สง่ิ มชี วี ิตจากหลักฐานเชงิ
๒. อธิบายสาเหตุการเกิด อาทติ ย์ ทำใหบ้ ริเวณของโลกไดร้ บั แสงอาทิตยไ์ ม่ ประจักษ์ในท้องถน่ิ ของ
ปรากฏการณ์การขึ้น พร้อมกนั โลกดา้ นท่ีได้รับแสงจากดวงอาทิตย์จะ ตนและที่จำลองแบบและ
และตกของดวงอาทติ ย์ เปน็ กลางวนั ส่วนดา้ นตรงข้ามท่ีไม่ได้รับแสงจะ จดั แสดง ณ ศูนย์
การเกดิ กลางวันกลางคนื เป็นกลางคืน นอกจากนีค้ นบนโลกจะมองเห็น วิทยาศาสตรส์ ระแก้ว อ.
และการกำหนดทิศ โดยใช้ ดวงอาทติ ย์ปรากฏขึน้ ทางดา้ นหนึ่ง ซึง่ กำหนดให้ เมืองสระแก้ว จ.สระแกว้
แบบจำลอง เป็นทิศตะวันออก และมองเห็นดวงอาทิตยต์ ก
๓. ตระหนักถงึ ความสำคัญ ทางอีกด้านหนง่ึ ซ่ึงกำหนดให้เป็นทิศตะวนั ตก
ของดวงอาทิตย์ โดย และเมื่อให้ดา้ นขวามืออยทู่ างทิศตะวันออก
บรรยายประโยชนข์ อง ด้านซา้ ยมืออยู่ทางทิศตะวนั ตก ดา้ นหนา้ จะเปน็
ดวงอาทิตยต์ ่อสง่ิ มชี ีวิต ทิศเหนือ และดา้ นหลงั จะเป็นทิศใต้
• ในเวลากลางวนั โลกจะได้รับพลังงานแสงและ
พลงั งานความร้อนจากดวงอาทิตย์ ทำใหส้ ง่ิ มีชีวติ
ดำรงชวี ติ อยู่ได้
ชน้ั ตัวชว้ี ัดที่ สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรียนรูท้ อ้ งถ่ิน
ป.4 ๑. อธิบายแบบรปู เสน้ ทาง • ดวงจันทรเ์ ปน็ บริวารของโลก โดยดวงจันทร์ • แบบรูปเส้นทางการ
การขึ้นและตกของดวง หมุนรอบตวั เองขณะโคจรรอบโลก ขณะทโ่ี ลกก็ ขน้ึ และตกของดวง
จนั ทร์ โดยใช้หลกั ฐานเชิง หมนุ รอบตัวเองดว้ ยเชน่ กัน การหมนุ รอบตัวเอง จันทร์ โดยใชห้ ลักฐาน
ประจักษ์ ของโลกจากทศิ ตะวันตกไปทิศตะวันออกในทิศทาง เชงิ ประจกั ษ์ในท้องถน่ิ
ทวนเข็มนาฬิกาเม่อื มองจากขั้วโลกเหนือทำให้ ของตน และท่ีจำลอง
มองเห็นดวงจนั ทร์ปรากฏข้นึ ทางดา้ นทิศตะวันออก แบบและจัดแสดง ณ
และตกทางด้านทิศตะวนั ตกหมุนเวยี นเปน็ แบบรูป ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์
ซ้ำ ๆ สระแก้ว อ. เมือง
สระแก้ว จ.สระแก้ว
๒. สรา้ งแบบจำลองท่ี • ดวงจันทร์เปน็ วัตถทุ เี่ ปน็ ทรงกลม แต่รปู รา่ งของ •การเปลี่ยนแปลง
อธบิ ายแบบรูปการ ดวงจนั ทร์ทีม่ องเห็นหรอื รูปรา่ งปรากฏของดวง รูปรา่ งปรากฏของดวง
เปลยี่ นแปลงรูปรา่ งปรากฏ จันทร์บนท้องฟา้ แตกตา่ งกนั ไปในแต่ละวันโดยใน จันทร์และการพยากรณ์
ของดวงจันทร์ แตล่ ะวนั ดวงจนั ทร์จะมรี ูปร่างปรากฏเป็นเสีย้ วท่มี ี รปู ร่างปรากฏของดวง
และพยากรณร์ ปู ร่าง ขนาดเพิ่มขึน้ อยา่ งต่อเน่อื งจนเต็มดวงจากนน้ั จนั ทร์ทีจ่ ำลองแบบและ
ปรากฏของดวงจันทร์ รูปรา่ งปรากฏของดวงจนั ทรจ์ ะแหว่งและมขี นาด จดั แสดง ณ ศนู ย์
ลดลงอย่างต่อเน่ืองจนมองไม่เห็นดวงจนั ทร์ วิทยาศาสตร์สระแก้ว
จากนั้นรปู รา่ งปรากฏของดวงจันทรจ์ ะเปน็ เส้ยี ว อ. เมอื งสระแก้ว จ.
ใหญข่ ้นึ จนเตม็ ดวงอกี ครงั้ การเปลย่ี นแปลงเชน่ นี้ สระแก้ว
เป็นแบบรูปซ้ำกัน
ทกุ เดือน
๓. สรา้ งแบบจำลองแสดง • ระบบสรุ ยิ ะเป็นระบบที่มดี วงอาทติ ยเ์ ป็น • องค์ประกอบของ
องค์ประกอบของระบบ ศนู ย์กลางและมีบริวารประกอบด้วย ดาวเคราะห์ ระบบสรุ ิยะ และ
สรุ ยิ ะ และอธบิ าย แปดดวงและบรวิ าร ซงึ่ ดาวเคราะหแ์ ตล่ ะดวงมี เปรียบเทียบคาบการ
เปรยี บเทยี บคาบการโคจร ขนาดและระยะห่างจากดวงอาทติ ย์แตกต่างกัน โคจรของดาวเคราะห์
ของดาวเคราะหต์ ่าง ๆ และยงั ประกอบดว้ ย ดาวเคราะหแ์ คระ ดาว ต่าง ๆ จากแบบจำลอง
จากแบบจำลอง เคราะหน์ ้อย ดาวหาง และวัตถุขนาดเล็กอน่ื ๆ ที่จดั แสดง ณ ศูนย์
โคจรอย่รู อบดวงอาทติ ย์ วัตถุขนาดเล็กอื่น ๆ เมอ่ื วทิ ยาศาสตร์สระแก้ว
เข้ามาในชน้ั บรรยากาศเนื่องจากแรงโนม้ ถว่ งของ อ. เมอื งสระแกว้ จ.
โลกทำให้เกดิ เปน็ ดาวตกหรอื ผีพุ่งไต้และอุกกาบาต สระแก้ว
ป.5 ๑. เปรียบเทยี บความ • ดาวทม่ี องเห็นบนท้องฟ้าอยู่ในอวกาศซ่งึ เป็น ความแตกต่างของดาว
แตกต่างของดาวเคราะห์ บริเวณท่อี ยนู่ อกบรรยากาศของโลก มีท้ังดาวฤกษ์ เคราะหแ์ ละดาวฤกษ์
และดาวฤกษจ์ าก และดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์เป็นแหล่งกำเนิดแสงจงึ จากแบบจำลองทีจ่ ดั
แบบจำลอง สามารถมองเหน็ ได้ สว่ นดาวเคราะห์ไมใ่ ช่ แสดง ณ ศนู ย์
แหล่งกำเนิดแสง แตส่ ามารถมองเห็นได้เนือ่ งจาก วทิ ยาศาสตรส์ ระแก้ว
แสงจากดวงอาทติ ย์ตกกระทบดาวเคราะห์แล้ว อ. เมอื งสระแก้ว
สะท้อนเข้าส่ตู า จ.สระแก้ว
ช้นั ตัวช้วี ดั ท่ี สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถนิ่
๒. ใช้แผนทดี่ าวระบุ • การมองเห็นกล่มุ ดาวฤกษม์ ีรปู รา่ งต่าง ๆ เกิดจาก การใชแ้ ผนท่ีดาวระบุ
ตำแหนง่ และเสน้ ทางการ จินตนาการของผู้สงั เกต กลุ่มดาวฤกษ์ตา่ ง ๆ ที่ ตำแหนง่ และเส้นทาง
ขนึ้ และตกของกลุ่มดาว ปรากฏในทอ้ งฟ้าแตล่ ะกลมุ่ มีดาวฤกษแ์ ตล่ ะดวง การขนึ้ และตกของกล่มุ
ฤกษบ์ นท้องฟ้า และ เรียงกันที่ ดาวฤกษบ์ นทอ้ งฟา้
อธิบายแบบรปู เส้นทางการ ตำแหน่งคงที่ และมีเส้นทางการข้ึนและตกตาม และแบบรูปเสน้ ทาง
ข้นึ และตกของกลุ่มดาว เสน้ ทางเดมิ ทุกคนื ซ่ึงจะปรากฏตำแหนง่ เดิม การ การข้นึ และตกของกลุ่ม
ฤกษ์บนทอ้ งฟา้ ในรอบปี สงั เกตตำแหน่งและการข้นึ และตกของดาวฤกษ์ ดาวฤกษบ์ นทอ้ งฟา้ ใน
และกลมุ่ ดาวฤกษ์ สามารถทำไดโ้ ดยใชแ้ ผนทดี่ าว รอบปีจากแบบจำลอง
ซง่ึ ระบมุ ุมทศิ และมุมเงยท่ีกลุ่มดาวนนั้ ปรากฏ ผู้ และจดั แสดง ณ ศนู ย์
สังเกตสามารถใช้มือในการประมาณคา่ ของมุมเงย วิทยาศาสตรส์ ระแก้ว
เมือ่ สังเกตดาวในท้องฟ้า อ. เมอื งสระแกว้ จ.
สระแกว้
ป.6 ๑. สรา้ งแบบจำลองท่ี • เมื่อโลกและดวงจันทร์ โคจรมาอยใู่ นแนวเส้นตรง การเกิดและ
อธิบายการเกดิ และ เดยี วกนั กับดวงอาทิตยใ์ นระยะทางท่เี หมาะสมทำ เปรยี บเทยี บ
เปรียบเทยี บปรากฏการณ์ ใหด้ วงจันทรบ์ ังดวงอาทิตย์ เงาของดวงจนั ทรท์ อด ปรากฏการณ์
สรุ ยิ ุปราคา มายงั โลก ผ้สู ังเกตท่ีอยู่บริเวณเงาจะมองเห็นดวง สรุ ิยปุ ราคาและ
และจันทรปุ ราคา อาทิตย์มืดไป เกิดปรากฏการณ์สุรยิ ปุ ราคาซงึ่ มีท้งั จันทรปุ ราคาจาก
สุรยิ ุปราคาเตม็ ดวง สรุ ิยปุ ราคาบางสว่ นและ แบบจำลองและจดั
สุรยิ ุปราคาวงแหวน แสดง ณ ศนู ย์
• หากดวงจนั ทร์และโลกโคจรมาอย่ใู นแนวเสน้ ตรง วทิ ยาศาสตรส์ ระแก้ว
เดียวกนั กับดวงอาทติ ย์ แล้วดวงจันทรเ์ คลอ่ื นทีผ่ ่าน อ. เมืองสระแกว้
เงาของโลกจะมองเหน็ ดวงจนั ทรม์ ืดไปเกดิ จ.สระแก้ว
ปรากฏการณ์จันทรปุ ราคาซ่ึงมที ง้ั จนั ทรปุ ราคาเต็ม
ดวง และจนั ทรปุ ราคาบางสว่ น
ป.6 ๒. อธบิ ายพฒั นาการของ • เทคโนโลยอี วกาศเร่มิ จากความตอ้ งการของ พฒั นาการของ
เทคโนโลยอี วกาศ และ มนุษยใ์ นการสำรวจวตั ถุท้องฟา้ โดยใชต้ าเปล่า เทคโนโลยีอวกาศ และ
ยกตวั อยา่ งการนำ กลอ้ งโทรทรรศน์ และไดพ้ ัฒนาไปสูก่ ารขนส่งเพ่ือ ตัวอย่างการนำ
เทคโนโลยีอวกาศมาใช้ สำรวจอวกาศด้วยจรวดและยานขนสง่ อวกาศและ เทคโนโลยอี วกาศมาใช้
ประโยชน์ ยังคงพฒั นาอยา่ งต่อเน่ือง ปัจจบุ ันมีการนำ ประโยชนใ์ น
ในชีวิตประจำวนั จาก เทคโนโลยอี วกาศบางประเภทมาประยุกต์ใชใ้ น ชีวติ ประจำวันจาก
ข้อมูลทรี่ วบรวมได้ ชวี ติ ประจำวนั เชน่ การใช้ดาวเทียมเพื่อการส่ือสาร แบบจำลองและ
การพยากรณ์อากาศหรอื การสำรวจ การจัดแสดง ณ ศนู ย์
ทรัพยากรธรรมชาติ การใช้อุปกรณว์ ดั ชีพจรและ วทิ ยาศาสตร์สระแก้ว
การเตน้ ของหัวใจ หมวกนิรภัย ชดุ กีฬา อ. เมืองสระแกว้
จ.สระแกว้
สาระที่ ๓ วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพนั ธข์ องระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลงภายในโลกและบนผิว
โลก ธรณพี ิบัตภิ ยั กระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟา้ อากาศและภมู ิอากาศโลก รวมทัง้ ผลต่อสง่ิ มีชีวติ และส่งิ แวดล้อม
ชั้น ตวั ชี้วดั ท่ี สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่นิ
ป.1 ๑. อธบิ ายลกั ษณะ • หินท่ีอยู่ในธรรมชาติมลี ักษณะภายนอกเฉพาะตัว หนิ ทีอ่ ย่ใู นธรรมชาติใน
ภายนอกของหนิ จาก ทสี่ งั เกตได้ เชน่ สี ลวดลาย นำ้ หนกั ความแข็งและ ทอ้ งถน่ิ ของตน
ลกั ษณะเฉพาะตวั ท่สี งั เกต เนือ้ หิน
ได้
ป.2 ๑. ระบุสว่ นประกอบของ • ดนิ ประกอบด้วยเศษหิน ซากพชื ซากสตั ว์ผสมอยู่ -
ดิน และจำแนกชนิดของ ในเน้อื ดิน มีอากาศและน้ำแทรกอยู่ตามชอ่ งวา่ งใน
ดินโดยใชล้ กั ษณะเนอื้ ดนิ เนือ้ ดนิ ดินจำแนกเปน็ ดินร่วน ดินเหนยี ว และดิน
และการจับตวั เปน็ เกณฑ์ ทราย ตามลักษณะเนอื้ ดินและการจับตวั ของดินซ่งึ
๒. อธบิ ายการใช้ประโยชน์ มีผลตอ่ การอมุ้ นำ้ ทแ่ี ตกต่างกัน
จากดนิ จากข้อมลู ท่ี • ดินแตล่ ะชนิดนำไปใช้ประโยชนไ์ ดแ้ ตกต่างกนั
รวบรวมได้ ตามลักษณะและสมบตั ิของดิน
ป.3 ๑. ระบสุ ่วนประกอบของ • อากาศโดยท่ัวไปไมม่ สี ี ไม่มีกลิ่น ประกอบดว้ ย
อากาศ บรรยาย แกส๊ ไนโตรเจน แก๊สออกซเิ จน แกส๊
ความสำคัญของอากาศ คาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สอื่น ๆ รวมทัง้ ไอนำ้ และ
และผลกระทบของมลพิษ ฝ่นุ ละออง อากาศมีความสำคัญต่อสง่ิ มชี ีวติ หาก
ทางอากาศต่อส่ิงมชี ีวิต ส่วนประกอบของอากาศไม่เหมาะสม เน่ืองจากมี
จากข้อมลู ที่รวบรวมได้ แกส๊ บางชนิดหรือฝุน่ ละอองในปริมาณมาก อาจ
๒. ตระหนักถงึ ความสำคัญ เป็นอันตรายต่อส่ิงมีชีวติ ชนดิ ตา่ ง ๆ จดั เป็นมลพิษ
ของอากาศ โดยนำเสนอ ทางอากาศ
แนวทางการปฏบิ ตั ติ นใน • แนวทางการปฏิบตั ติ นเพ่อื ลดการปลอ่ ยมลพิษ
การลดการเกิดมลพิษทาง ทางอากาศ เชน่ ใชพ้ าหนะร่วมกัน หรือเลือกใช้
อากาศ เทคโนโลยีทลี่ ดมลพษิ ทางอากาศ
๓. อธิบายการเกิดลมจาก • ลม คอื อากาศท่เี คลอ่ื นที่ เกิดจากความแตกตา่ ง
หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ กนั ของอุณหภูมิอากาศบรเิ วณทีอ่ ยู่ใกลก้ นั โดย
อากาศบริเวณท่ีมอี ุณหภูมสิ ูงจะลอยตัวสงู ข้นึ และ
อากาศบรเิ วณท่ีมีอุณหภมู ิต่ำกวา่ จะเคลื่อนเขา้ ไป
แทนท่ี
๔. บรรยายประโยชนแ์ ละ • ลมสามารถนำมาใช้เปน็ แหล่งพลงั งานทดแทนใน
โทษของลม จากข้อมลู การผลติ ไฟฟ้า และนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นการทำ
ท่ีรวบรวมได้ กจิ กรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ หากลมเคลอ่ื นทดี่ ้วย
ความเรว็ สงู อาจทำให้เกิดอนั ตรายและความ
เสียหายต่อชวี ิตและทรัพย์สนิ ได้
ชั้น ตัวชว้ี ดั ท่ี สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรียนรทู้ ้องถิน่
ป.4 - --
ป.5 ๑. เปรียบเทยี บปรมิ าณน้ำ • โลกมที ้ังนำ้ จืดและนำ้ เคม็ ซ่ึงอยใู่ นแหลง่ นำ้ ต่าง ๆ
ในแตล่ ะแหล่ง และระบุ ที่มที ัง้ แหลง่ น้ำผวิ ดิน เช่น ทะเล มหาสมทุ ร บงึ
ปริมาณน้ำท่ีมนษุ ย์ แมน่ ้ำ และแหลง่ น้ำใตด้ ิน เช่น นำ้ ในดิน และนำ้
สามารถนำมาใช้ประโยชน์ บาดาล นำ้ ทงั้ หมดของโลกแบ่งเป็นน้ำเคม็ ประมาณ
ได้ จากข้อมลู ที่รวบรวมได้ รอ้ ยละ ๙๗.๕ ซง่ึ อย่ใู นมหาสมทุ ร
และแหลง่ น้ำอืน่ ๆ และท่ีเหลอื อีกประมาณร้อยละ
๒.๕ เป็นนำ้ จืด ถา้ เรยี งลำดับปรมิ าณนำ้ จืดจาก
มากไปน้อยจะอยู่ที่ ธารน้ำแข็ง และพืดน้ำแข็ง นำ้
ใตด้ ิน ชั้นดนิ เยือกแขง็ คงตัวและน้ำแข็งใตด้ นิ
ทะเลสาบ ความชนื้ ในดนิ ความชน้ื ในบรรยากาศ
บึง แม่นำ้ และน้ำในสิ่งมีชวี ติ
๒. ตระหนกั ถงึ คุณคา่ ของ • น้ำจืดท่ีมนุษยน์ ำมาใชไ้ ด้มีปริมาณน้อยมาก -
น้ำโดยนำเสนอแนว จึงควรใช้น้ำอย่างประหยดั และรว่ มกันอนุรักษน์ ้ำ
ทางการใช้น้ำอย่าง
ประหยดั และการอนรุ กั ษ์
นำ้
๓. สรา้ งแบบจำลองท่ี • วัฏจกั รน้ำ เป็นการหมนุ เวียนของน้ำที่มีแบบรปู -
อธิบายการหมุนเวียนของ ซ้ำเดิม และต่อเน่ืองระหว่างนำ้ ในบรรยากาศ
น้ำในวัฏจักรน้ำ น้ำผิวดิน และน้ำใต้ดนิ โดยพฤตกิ รรมการดำรงชวี ิต
ของพชื และสัตวส์ ง่ ผลต่อวัฏจกั รนำ้
๔. เปรยี บเทียบ • ไอน้ำในอากาศจะควบแนน่ เปน็ ละอองน้ำเล็ก ๆ -
กระบวนการเกิดเมฆ โดยมลี ะอองลอย เช่น เกลือ ฝนุ่ ละออง ละอองเรณู
หมอก น้ำค้าง และน้ำค้าง ของดอกไม้ เปน็ อนภุ าคแกนกลาง เมือ่ ละอองนำ้
แข็ง จากแบบจำลอง จำนวนมากเกาะกลุ่มรวมกนั ลอยอยู่สูงจากพืน้ ดนิ
มาก เรียกว่า เมฆ แต่ละอองนำ้ ทเี่ กาะกล่มุ รวมกนั
อยูใ่ กล้พน้ื ดิน เรียกว่า หมอก สว่ นไอน้ำท่ีควบแน่น
เป็นละอองนำ้ เกาะอยบู่ นพน้ื ผวิ วตั ถใุ กล้พนื้ ดิน
เรียกว่า นำ้ ค้างถา้ อุณหภมู ใิ กลพ้ นื้ ดนิ ต่ำกว่าจุด
เยอื กแข็งนำ้ ค้างกจ็ ะกลายเป็นน้ำคา้ งแข็ง
๕. เปรียบเทยี บ • ฝน หมิ ะ ลูกเห็บ เปน็ หยาดนำ้ ฟา้ ซ่ึงเปน็ น้ำทีม่ ี -
กระบวนการเกดิ ฝน หมิ ะ สถานะต่าง ๆ ท่ีตกจากฟา้ ถงึ พืน้ ดนิ ฝนเกดิ จาก
และลกู เหบ็ จากขอ้ มูลท่ี ละอองน้ำในเมฆท่ีรวมตัวกนั จนอากาศไม่สามารถ
รวบรวมได้ พยุงไว้ได้จงึ ตกลงมา หิมะเกิดจากไอนำ้ ในอากาศ
ระเหดิ กลับเปน็ ผลกึ น้ำแขง็ รวมตัวกนั จนมีนำ้ หนัก
มากขึ้นจนเกินกว่าอากาศจะพยงุ ไว้จึงตกลงมา
ลกู เห็บเกิดจากหยดน้ำทเ่ี ปลีย่ นสถานะเปน็ นำ้ แข็ง
ชน้ั ตวั ชวี้ ัดที่ สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถน่ิ
แล้วถกู พายุพดั วนซ้ำไปซ้ำมาในเมฆฝนฟ้าคะนองท่ี -
มีขนาดใหญ่และอยู่ในระดับสูงจนเปน็ ก้อนนำ้ แขง็
ขนาดใหญข่ นึ้ แลว้ ตกลงมา
ป.6 ๑. เปรยี บเทียบ • หนิ เป็นวัสดุแขง็ เกิดข้นึ เองตามธรรมชาติ ลักษณะของหินอัคนี
กระบวนการเกดิ หินอคั นี ประกอบดว้ ย แรต่ ง้ั แต่หนงึ่ ชนิดขน้ึ ไป สามารถ หนิ ตะกอน และหิน
หินตะกอน และหนิ แปร จำแนกหนิ ตามกระบวนการเกิดได้เป็น ๓ ประเภท แปรท่อี ยูใ่ นบรเิ วณ
และอธบิ ายวฏั จักรหนิ จาก ได้แก่ หินอัคนี หนิ ตะกอน และหนิ แปร จังหวดั สระแกว้ เชน่
แบบจำลอง • หินอัคนีเกดิ จากการเย็นตวั ของแมกมา เน้ือหนิ -ถ้ำเพชรโพธ์ิทอง
มีลกั ษณะเปน็ ผลกึ ทั้งผลึกขนาดใหญแ่ ละขนาดเล็ก -ถำ้ เขาฉกรรจ์
บางชนิดอาจเป็นเน้ือแกว้ หรือมีรพู รุน -อา่ งเกบ็ นำ้ เขาสามสิบ
• หินตะกอน เกดิ จากการทบั ถมของตะกอนเมื่อถูก -น้ำตกปางสดี า
แรงกดทับและมสี ารเช่ือมประสานจงึ เกดิ เป็นหิน -ปลอ่ งภเู ขาไฟแซร์ออ
เนือ้ หินกลมุ่ นี้สว่ นใหญม่ ีลักษณะเป็นเมด็ ตะกอนมี -ปราสาทสด็กก๊อกธม
ทงั้ เนอื้ หยาบและเนื้อละเอียด บางชนิดเปน็ เนอ้ื -ปราสาทเขาน้อยสี
ผลึกทย่ี ึดเกาะกันเกิดจากการตกผลกึ หรอื ชมพู
ตกตะกอนจากนำ้ โดยเฉพาะน้ำทะเล บางชนดิ มี -ปราสาทหว้ ยพระใย
ลกั ษณะเปน็ ชนั้ ๆ จงึ เรียกอกี ชอ่ื ว่า หนิ ชนั้ -ละลุ
• หนิ แปร เกดิ จากการแปรสภาพของหินเดมิ ซึ่ง ฯลฯ
อาจเป็นหนิ อัคนี หินตะกอน หรือหนิ แปรโดยการ
กระทำของความร้อน ความดัน และปฏกิ ิริยาเคมี
เน้ือหินของหนิ แปรบางชนดิ ผลกึ ของแร่เรียงตวั
ขนานกนั เปน็ แถบ บางชนดิ แซะออกเป็นแผ่นได้
บางชนดิ เป็นเนื้อผลกึ ที่มีความแข็งมาก
• หนิ ในธรรมชาติทงั้ ๓ ประเภท มีการเปลีย่ นแปลง
จากประเภทหน่ึงไปเปน็ อกี ประเภทหนึ่ง หรือ
ประเภทเดิมได้ โดยมีแบบรปู การเปลี่ยนแปลงคงที่
และตอ่ เน่ืองเป็นวัฏจกั ร
๒. บรรยายและ • หนิ และแร่แตล่ ะชนดิ มลี ักษณะและสมบตั ิ ลักษณะของหินและแร่
ยกตวั อยา่ งการใช้ แตกต่างกนั มนุษย์ใชป้ ระโยชน์จากแรใ่ น ทอ่ี ย่ใู นบรเิ วณจังหวัด
ประโยชน์ของหนิ และแรใ่ น ชีวิตประจำวนั ในลักษณะต่าง ๆ เชน่ นำแร่มาทำ สระแก้วเช่น
ชีวติ ประจำวนั จากข้อมลู ท่ี เครื่องสำอาง ยาสฟี ัน เครื่องประดับ อปุ กรณท์ าง -ถำ้ เพชรโพธิท์ อง
รวบรวมได้ การแพทย์ และนำหนิ มาใชใ้ นงานกอ่ สร้าง -ถำ้ เขาฉกรรจ์
ตา่ ง ๆ เป็นตน้ -อา่ งเกบ็ น้ำเขาสามสิบ
-นำ้ ตกปางสดี า
-ปลอ่ งภูเขาไฟแซร์ออ
-ปราสาทสดก็ ก๊อกธม
ชน้ั ตัวชว้ี ัดที่ สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิน่
-ปราสาทเขานอ้ ยสี
ชมพู
-ปราสาทห้วยพระใย
-ละลุ ฯลฯ
ป.6 ๓. สรา้ งแบบจำลองท่ี • ซากดกึ ดำบรรพเ์ กิดจากการทบั ถมหรือการ ซากดกึ ดำบรรพ์ท่ี
อธบิ ายการเกิดซากดกึ ดำ ประทบั รอยของสง่ิ มีชวี ิตในอดีต จนเกิดเปน็ หลากหลายที่อยู่ใน
บรรพ์และคาดคะเน โครงสรา้ งของซากหรือรอ่ งรอยของสิ่งมชี ีวิตท่ี บรเิ วณจงั หวัดสระแกว้
สภาพแวดล้อมในอดีตของ ปรากฏอยูใ่ นหนิ ในประเทศไทยพบซากดกึ ดำ เชน่
ซากดกึ ดำบรรพ์ บรรพท์ ีห่ ลากหลาย เชน่ พืช ปะการัง หอย ปลา -ถำ้ เพชรโพธ์ทิ อง
เต่า ไดโนเสาร์ และรอยตีนสัตว์ -ถำ้ เขาฉกรรจ์
• ซากดึกดำบรรพส์ ามารถใชเ้ ปน็ หลักฐานหนง่ึ ท่ี -อา่ งเก็บนำ้ เขาสามสบิ
ชว่ ยอธิบายสภาพแวดล้อมของพนื้ ท่ีในอดตี ขณะ -นำ้ ตกปางสีดา
เกดิ ส่ิงมีชีวติ นนั้ เชน่ หากพบซากดึกดำบรรพ์ ของ -ปล่องภเู ขาไฟแซร์ออ
หอยน้ำจดื สภาพ -ปราสาทสด็กก๊อกธม
แวดลอ้ มบริเวณนัน้ อาจเคยเป็นแหล่งน้ำจืดมาก่อน -ปราสาทเขาน้อยสี
และหากพบซากดกึ ดำบรรพ์ของพชื ชมพู
สภาพแวดลอ้ มบรเิ วณน้นั อาจเคยเปน็ ปา่ มาก่อน -ปราสาทห้วยพระใย
นอกจากนซ้ี ากดกึ ดำบรรพ์ ยังสามารถใชร้ ะบุอายุ -ละลุ
ของหนิ และเป็นข้อมลู ในการศึกษาวิวัฒนาการของ
สิง่ มีชวี ติ
๔. เปรียบเทียบการเกดิ ลม • ลมบก ลมทะเล และมรสมุ เกิดจากพนื้ ดินและ -
บก ลมทะเล และมรสมุ พืน้ นำ้ ร้อนและเย็นไมเ่ ท่ากนั ทำให้อณุ หภมู ิอากาศ
รวมทัง้ อธิบายผลทีม่ ีต่อ เหนือพ้ืนดินและพ้นื น้ำแตกต่างกัน จึงเกิด การ
สิง่ มีชวี ิตและสิง่ แวดล้อม เคล่อื นที่ของอากาศจากบริเวณท่ีมีอุณหภมู ิต่ำ ไป
จากแบบจำลอง ยังบริเวณทีม่ ีอุณหภมู ิสูง
• ลมบกและลมทะเลเป็นลมประจำถิน่ ท่ีพบบรเิ วณ
ชายฝัง่ โดยลมบกเกดิ ในเวลากลางคืน ทำใหม้ ลี ม
พัดจากชายฝ่งั ไปสู่ทะเล ส่วนลมทะเลเกิดในเวลา
กลางวัน ทำให้มลี มพัดจากทะเลเขา้ สชู่ ายฝงั่
๕. อธบิ ายผลของมรสุมต่อ • มรสมุ เปน็ ลมประจำฤดเู กิดบริเวณเขตร้อนของ -
การเกิดฤดขู องประเทศ โลก ซึ่งเป็นบรเิ วณกว้างระดับภมู ิภาค ประเทศไทย
ไทย จากขอ้ มลู ที่รวบรวม ได้รับผลจากมรสมุ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ในช่วง
ได้ ประมาณกลางเดือนตลุ าคมจนถงึ เดือนกมุ ภาพนั ธ์
ทำใหเ้ กดิ ฤดูหนาว และได้รับผลจากมรสมุ ตะวนั ตก
เฉยี งใต้ในชว่ งประมาณกลางเดือนพฤษภาคมจนถึง
กลางเดือนตลุ าคมทำให้เกิดฤดูฝน ส่วนช่วง
ชน้ั ตัวช้วี ดั ท่ี สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถิน่
ประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ์จนถึงกลางเดือน
พฤษภาคมเป็นชว่ งเปลย่ี นมรสุมและประเทศไทย
อย่ใู กล้เสน้ ศูนยส์ ตู ร แสงอาทิตยเ์ กือบตั้งตรงและ
ตั้งตรงประเทศไทยในเวลาเท่ียงวัน ทำใหไ้ ด้รบั
ความรอ้ นจากดวงอาทติ ย์อย่างเตม็ ท่ี อากาศจึง
ร้อนอบอ้าวทำใหเ้ กิดฤดรู ้อน
๖. บรรยายลักษณะและ • น้ำทว่ ม การกดั เซาะชายฝง่ั ดนิ ถลม่ แผน่ ดนิ ไหว ลักษณะและผลกระทบ
ผลกระทบของนำ้ ท่วมการ และสนึ ามิ มผี ลกระทบต่อชีวติ และสิง่ แวดลอ้ ม ของน้ำทว่ ม
กัดเซาะชายฝั่ง ดินถล่ม แตกต่างกัน การกัดเซาะชายฝ่ัง ดิน
แผน่ ดินไหว สนึ ามิ • มนุษยค์ วรเรียนรู้วิธีปฏิบัติตนใหป้ ลอดภยั เชน่ ถล่มจากแหล่งนำ้ ต่างๆ
๗. ตระหนักถึงผลกระทบ ติดตามข่าวสารอย่างสม่ำเสมอ เตรียมถงุ ยังชพี ให้ ในทอ้ งถ่นิ ของตน เช่น
ของภัยธรรมชาตแิ ละธรณี พร้อมใชต้ ลอดเวลา และปฏิบัติตามคำสัง่ ของ -ห้วยพรหมโหด
พิบัติภัย โดยนำเสนอ ผปู้ กครองและเจา้ หน้าทอี่ ย่างเครง่ ครดั เม่ือเกดิ ภัย -หว้ ยพระใย
แนวทางในการเฝ้าระวัง ธรรมชาตแิ ละธรณพี บิ ตั ภิ ยั -อ่างเก็บนำ้ เขาสามสิบ
และปฏิบัติตนให้ปลอดภัย -อา่ งเก็บนำ้ พระปรง
จากภยั ธรรมชาติและธรณี -อ่างเก็บน้ำทา่ กระบาก
พิบัตภิ ยั ท่อี าจเกดิ ใน -อา่ งเกบ็ น้ำห้วยยาง
ท้องถ่นิ
ป.6 ๘. สรา้ งแบบจำลองที่ • ปรากฏการณเ์ รอื นกระจกเกิดจากแกส๊ เรือน -
อธิบายการเกิด กระจกในชั้นบรรยากาศของโลกกักเก็บความร้อน
ปรากฏการณ์ แล้ว คายความรอ้ นบางสว่ นกลับส่ผู วิ โลก ทำให้
เรือนกระจกและผลของ อากาศ บนโลกมอี ุณหภมู ิเหมาะสมต่อการ
ปรากฏการณเ์ รือนกระจก ดำรงชีวิต
ต่อส่งิ มีชีวติ • หากปรากฏการณ์เรือนกระจกรนุ แรงมากขนึ้ จะมี
๙. ตระหนกั ถงึ ผลกระทบ ผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงภูมิอากาศโลกมนุษยจ์ ึงควร
ของปรากฏการณ์เรือน ร่วมกนั ลดกิจกรรมท่ีก่อใหเ้ กิดแก๊สเรอื นกระจก
กระจก โดยนำเสนอแนว
ทางการปฏบิ ัตติ นเพ่ือลด
กจิ กรรมท่ีก่อใหเ้ กดิ แก๊ส
เรือนกระจก
สาระที่ ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคดิ หลักของเทคโนโลยีเพือ่ การดำรงชวี ติ ในสังคมท่ีมีการเปลยี่ นแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้
ความรแู้ ละทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตรอ์ น่ื ๆ เพื่อแก้ปญั หาหรือพฒั นางานอย่างมีความคิด
สรา้ งสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสมโดยคำนงึ ถึงผลกระทบตอ่ ชีวิต
สังคม และสิง่ แวดล้อม
ชน้ั ตัวชว้ี ดั ท่ี สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ ้องถ่นิ
ป.1 - --
ป.2 - --
ป.3 - --
ป.4 - --
ป.5 - --
ป.6 - --
สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๒ เขา้ ใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปญั หาท่ีพบในชีวติ จรงิ อย่างเป็นขน้ั ตอนและเปน็ ระบบ
ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ รู้เทา่ ทนั
และมจี ริยธรรม
ชัน้ ตัวชวี้ ดั ที่ สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถน่ิ
ป.1 ๑. แก้ปัญหาอยา่ งง่ายโดย • การแก้ปัญหาให้ประสบความสำเร็จทำไดโ้ ดยใช้ -
ใช้การลองผดิ ลองถูก การ ขัน้ ตอนการแก้ปัญหา
เปรยี บเทียบ • ปญั หาอยา่ งง่าย เชน่ เกมเขาวงกต เกมหา
จุดแตกตา่ งของภาพ การจัดหนังสอื ใส่กระเป๋า
๒. แสดงลำดบั ขั้นตอนการ • การแสดงขนั้ ตอนการแก้ปญั หา ทำได้โดยการ -
ทำงานหรือการแกป้ ญั หา เขยี น บอกเลา่ วาดภาพ หรือใชส้ ัญลกั ษณ์
อยา่ งงา่ ยโดยใชภ้ าพ • ปัญหาอย่างงา่ ย เชน่ เกมเขาวงกต เกมหาจดุ
สญั ลักษณ์ หรือขอ้ ความ แตกต่างของภาพ การจัดหนังสือใสก่ ระเปา๋
๓. เขยี นโปรแกรมอย่าง • การเขียนโปรแกรมเปน็ การสร้างลำดับของคำสั่ง -
งา่ ย โดยใชซ้ อฟต์แวร์ ใหค้ อมพิวเตอร์ทำงาน
หรือสื่อ • ตวั อยา่ งโปรแกรม เช่น เขยี นโปรแกรมสั่งให้
ตัวละครยา้ ยตำแหน่ง ย่อขยายขนาด เปลย่ี นรปู รา่ ง
• ซอฟตแ์ วรห์ รือส่ือท่ีใช้ในการเขยี นโปรแกรม เช่น
ใชบ้ ตั รคำส่ังแสดงการเขียนโปรแกรม, Code.or
๔. ใชเ้ ทคโนโลยีในการ • การใช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยีเบ้อื งต้น เชน่ การใช้ -
สรา้ ง จัดเกบ็ เรยี กใช้ เมาส์ คีย์บอรด์ จอสัมผัส การเปิด-ปิด อุปกรณ์
ข้อมูลตามวัตถปุ ระสงค์ เทคโนโลยี
• การใชง้ านซอฟตแ์ วรเ์ บ้ืองต้น เช่น การเขา้ และ
ออกจากโปรแกรม การสรา้ งไฟล์ การจดั เกบ็ การ
เรยี กใช้ไฟล์ ทำได้ในโปรแกรม เชน่ โปรแกรม
ประมวลคำ โปรแกรมกราฟิก โปรแกรมนำเสนอ
• การสรา้ งและจดั เก็บไฟล์อย่างเปน็ ระบบจะทำให้
เรียกใช้ ค้นหาข้อมลู ไดง้ า่ ยและรวดเร็ว
๕. ใชเ้ ทคโนโลยี • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั เช่น -
สารสนเทศอยา่ งปลอดภัย รู้จักขอ้ มูลส่วนตวั อันตรายจากการเผยแพร่ข้อมูล
ปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลงในการ สว่ นตัว และไมบ่ อกข้อมูลส่วนตวั กับบุคคลอื่น
ใชค้ อมพวิ เตอรร์ ่วมกัน ยกเว้นผู้ปกครองหรือครู แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมอ่ื
ดูแลรกั ษาอปุ กรณ์เบื้องตน้ ตอ้ งการความช่วยเหลือเก่ียวกบั การใช้งาน
ใชง้ านอย่างเหมาะสม • ข้อปฏิบัติในการใช้งานและการดแู ลรักษาอุปกรณ์
เช่น ไมข่ ดี เขยี นบนอุปกรณ์ ทำความสะอาดใช้
อุปกรณ์อย่างถูกวิธี
• การใช้งานอย่างเหมาะสม เชน่ จดั ท่านั่งให้
ถูกต้อง การพักสายตาเมอื่ ใชอ้ ุปกรณ์เปน็ เวลานาน
ระมดั ระวงั อบุ ัติเหตุจากการใชง้ าน
ชนั้ ตัวช้ีวัดที่ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นร้ทู ้องถ่นิ
ป.2 ๑. แสดงลำดบั ขั้นตอนการ • การแสดงขั้นตอนการแกป้ ัญหา ทำได้โดยการ -
ทำงานหรอื การแก้ปญั หา เขียน บอกเล่า วาดภาพ หรือใช้สัญลกั ษณ์
อย่างง่ายโดยใชภ้ าพ • ปัญหาอยา่ งงา่ ย เชน่ เกมตวั ตอ่ ๖-๑๒ ชนิ้ การ
สญั ลกั ษณ์ หรือขอ้ ความ แตง่ ตวั มาโรงเรยี น
๒. เขยี นโปรแกรมอยา่ ง • ตวั อยา่ งโปรแกรม เชน่ เขียนโปรแกรมสัง่ ใหต้ ัว -
ง่าย โดยใชซ้ อฟต์แวร์ ละครทำงานตามทตี่ อ้ งการ และตรวจสอบ
หรือสื่อ และตรวจหา ขอ้ ผดิ พลาด ปรบั แก้ไขให้ได้ผลลัพธ์ตามทก่ี ำหนด
ข้อผดิ พลาดของโปรแกรม • การตรวจหาขอ้ ผิดพลาด ทำได้โดยตรวจสอบ
คำสั่งทีแ่ จง้ ข้อผิดพลาด หรือหากผลลัพธไ์ ม่เป็นไป
ตามท่ีต้องการใหต้ รวจสอบการทำงานทลี ะคำสั่ง
• ซอฟต์แวร์หรอื ส่ือที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น
ใช้บตั รคำสัง่ แสดงการเขยี นโปรแกรม, Code.org
๓. ใช้เทคโนโลยีในการ • การใชง้ านซอฟต์แวร์เบื้องต้น เช่น การเขา้ และ -
สรา้ ง จัดหมวดหมู่ ค้นหา ออกจาก
จัดเกบ็ เรยี กใช้ข้อมลู ตาม โปรแกรม การสร้างไฟล์ การจดั เกบ็ การเรียกใช้
วัตถุประสงค์ ไฟล์ การแก้ไขตกแต่งเอกสาร ทำได้ ในโปรแกรม
เช่น โปรแกรมประมวลคำ โปรแกรมกราฟิก
โปรแกรมนำเสนอ
• การสรา้ ง คัดลอก ย้าย ลบ เปลย่ี นช่อื จดั
หมวดหมไู่ ฟล์ และโฟลเดอรอ์ ยา่ งเป็นระบบจะทำ
ใหเ้ รยี กใช้ คน้ หาข้อมูลได้งา่ ยและรวดเรว็
๔. ใชเ้ ทคโนโลยี • การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั เช่น -
สารสนเทศอย่างปลอดภยั รจู้ ักขอ้ มลู สว่ นตัว อันตรายจากการเผยแพร่ข้อมลู
ปฏิบตั ติ ามข้อตกลงในการ สว่ นตัว และไม่บอกข้อมลู สว่ นตวั กับบุคคลอนื่
ใช้คอมพิวเตอรร์ ่วมกนั ยกเวน้ ผู้ปกครองหรอื ครู แจง้ ผเู้ กย่ี วข้องเม่ือ
ดูแลรกั ษาอปุ กรณเ์ บอ้ื งต้น ตอ้ งการความชว่ ยเหลือเกีย่ วกับการ
ใชง้ านอยา่ งเหมาะสม ใช้งาน
• ขอ้ ปฏิบตั ใิ นการใชง้ านและการดแู ลรักษาอุปกรณ์
เช่น ไมข่ ีดเขียนบนอปุ กรณ์ ทำความสะอาดใช้
อุปกรณ์อยา่ งถูกวธิ ี
• การใชง้ านอย่างเหมาะสม เช่น จัดทา่ นั่งให้
ถกู ต้อง การพกั สายตาเม่อื ใชอ้ ุปกรณ์เป็นเวลานาน
ระมัดระวังอุบัตเิ หตุจากการใชง้ าน
ชนั้ ตวั ช้วี ดั ที่ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรูท้ ้องถนิ่
ป.3 ๑. แสดงอลั กอรทิ ึมในการ • อัลกอริทึมเปน็ ขนั้ ตอนท่ีใชใ้ นการแก้ปัญหา -
ทำงานหรอื การแก้ปญั หา • การแสดงอัลกอริทึม ทำได้โดยการเขยี น บอกเลา่
อยา่ งงา่ ยโดยใช้ภาพ วาดภาพ หรอื ใชส้ ัญลักษณ์
สญั ลักษณ์ หรือข้อความ • ตัวอย่างปัญหา เชน่ เกมเศรษฐี เกมบันไดงเู กม
Tetris เกม OX การเดนิ ไปโรงอาหารการทำความ
สะอาดห้องเรียน
๒. เขยี นโปรแกรมอย่าง • การเขียนโปรแกรมเป็นการสร้างลำดับของคำสัง่ -
งา่ ย โดยใชซ้ อฟต์แวรห์ รือ ใหค้ อมพวิ เตอร์ทำงาน
สื่อ และตรวจหา • ตัวอยา่ งโปรแกรม เช่น เขยี นโปรแกรมทสี่ ง่ั ให้ตวั
ขอ้ ผดิ พลาดของโปรแกรม ละครทำงานซ้ำไมส่ น้ิ สุด
• การตรวจหาข้อผิดพลาด ทำได้โดยตรวจสอบ
คำส่ังที่แจ้งข้อผิดพลาด หรอื หากผลลัพธไ์ มเ่ ป็นไป
ตามท่ตี ้องการใหต้ รวจสอบการทำงานทีละคำสั่ง
• ซอฟต์แวร์หรือสื่อที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น
ใช้บัตรคำสงั่ แสดงการเขียนโปรแกรม, Code.org
๓. ใช้อินเทอร์เนต็ ค้นหา • อนิ เทอรเ์ นต็ เป็นเครือขา่ ยขนาดใหญช่ ว่ ยให้การ -
ความรู้ ติดตอ่ สอ่ื สารทำไดส้ ะดวกและรวดเรว็ และเป็น
แหล่งข้อมลู ความรทู้ ชี่ ่วยในการเรยี น และการ
ดำเนนิ ชีวิต
• เว็บเบราว์เซอรเ์ ปน็ โปรแกรมสำหรับอ่านเอกสาร
บนเว็บเพจ
• การสบื คน้ ขอ้ มลู บนอนิ เทอร์เน็ต ทำได้โดยใช้
เว็บไซตส์ ำหรบั สบื ค้น และต้องกำหนดคำคน้ ที่
เหมาะสมจึงจะได้ข้อมลู ตามต้องการ
• ขอ้ มูลความรู้ เช่น วธิ ที ำอาหาร วิธีพบั กระดาษ
เป็นรูปต่าง ๆ ข้อมูลประวัตศิ าสตรช์ าตไิ ทย(อาจ
เปน็ ความรใู้ นวิชาอนื่ ๆ หรอื เร่อื งที่เป็นประเดน็ ที่
สนใจในชว่ งเวลานน้ั )
• การใช้อนิ เทอรเ์ นต็ อย่างปลอดภัยควรอยู่
ในการดูแลของครู หรอื ผูป้ กครอง
ช้นั ตวั ชีว้ ดั ท่ี สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถน่ิ
ป.3 ๔. รวบรวม ประมวลผล • การรวบรวมขอ้ มูล ทำไดโ้ ดยกำหนดหัวขอ้ ที่ -
และนำเสนอข้อมูล โดยใช้ ต้องการ เตรยี มอปุ กรณ์ในการจดบนั ทกึ
ซอฟตแ์ วรต์ าม • การประมวลผลอยา่ งง่าย เช่น เปรียบเทยี บจัด
วัตถปุ ระสงค์ กลมุ่ เรียงลำดบั
• การนำเสนอข้อมูลทำได้หลายลักษณะตามความ
เหมาะสมเชน่ การบอกเลา่ การทำเอกสารรายงาน
การจดั ทำปา้ ยประกาศ
• การใช้ซอฟต์แวรท์ ำงานตามวัตถปุ ระสงค์ เชน่ ใช้
ซอฟต์แวร์นำเสนอ หรอื ซอฟตแ์ วร์กราฟิก สร้าง
แผนภูมริ ปู ภาพ ใช้ซอฟตแ์ วร์ประมวลคำ ทำป้าย
ประกาศหรือเอกสารรายงาน ใช้ซอฟต์แวรต์ าราง
ทำงานในการประมวลผลข้อมูล
๕. ใชเ้ ทคโนโลยี • การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย เชน่ -
สารสนเทศอยา่ งปลอดภยั ปกปอ้ งข้อมูลสว่ นตัว
ปฏิบัติตามข้อตกลงในการ • ขอความช่วยเหลอื จากครหู รือผู้ปกครอง เม่ือเกิด
ใช้อินเทอรเ์ น็ต ปัญหาจากการใช้งาน เม่ือพบข้อมูลหรือบคุ คลทที่ ำ
ให้ไม่สบายใจ
• การปฏิบตั ิตามข้อตกลงในการใช้อนิ เทอร์เนต็ จะ
ทำให้ไม่เกิดความเสยี หายต่อตนเองและผอู้ นื่ เชน่
ไม่ใชค้ ำหยาบ ล้อเลยี น ด่าทอ ทำใหผ้ ู้อ่นื เสียหาย
หรอื เสียใจ
• ข้อดีและขอ้ เสยี ในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
และการส่ือสาร
ป.4 ๑. ใชเ้ หตผุ ลเชิงตรรกะใน • การใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะเปน็ การนำกฎเกณฑ์ หรือ -
การแก้ปัญหา การอธบิ าย เงอื่ นไขท่ีครอบคลมุ ทุกกรณีมาใชพ้ ิจารณาในการ
การทำงาน การคาดการณ์ แกป้ ัญหา การอธบิ ายการทำงาน หรือการ
ผลลพั ธ์ จากปัญหาอย่าง คาดการณ์ผลลัพธ์
งา่ ย • สถานะเร่มิ ตน้ ของการทำงานทแ่ี ตกตา่ งกนั จะให้
ผลลพั ธท์ ีแ่ ตกตา่ งกนั
• ตัวอยา่ งปัญหา เชน่ เกม OX โปรแกรมทีม่ ีการ
คำนวณ โปรแกรมที่มีตัวละครหลายตัวและมีการ
สงั่ งานทีแ่ ตกตา่ งหรือมกี ารส่ือสารระหวา่ งกัน การ
เดินทางไปโรงเรียน โดยวธิ ีการ
ต่าง ๆ
๒. ออกแบบ และเขียน • การออกแบบโปรแกรมอย่างงา่ ย เช่น การ -
โปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ ออกแบบโดยใช้ storyboard หรือการออกแบบ
อลั กอริทึม
ชน้ั ตวั ชว้ี ัดท่ี สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถน่ิ
ซอฟตแ์ วรห์ รือสื่อ และ • การเขยี นโปรแกรมเปน็ การสรา้ งลำดับของคำสั่ง
ตรวจหาขอ้ ผดิ พลาด ใหค้ อมพิวเตอรท์ ำงาน เพ่อื ให้ได้ผลลัพธต์ าม ความ
และแก้ไขคอมพวิ เตอร์ ต้องการ หากมีขอ้ ผิดพลาดให้ตรวจสอบ การ
ทำงาน เพ่ือให้ไดผ้ ลลัพธ์ ทำงานทีละคำส่ัง เมื่อพบจุดท่ีทำ
ตาม ความต้องการ หากมี ใหผ้ ลลพั ธ์ ไมถ่ กู ต้อง ให้ทำการแก้ไขจนกว่าจะได้
ข้อผดิ พลาดให้ตรวจสอบ ผลลพั ธ์ทถี่ ูกต้อง
การทำงานทลี ะคำสงั่ เม่ือ • ตัวอย่างโปรแกรมท่ีมเี รือ่ งราว เชน่ นิทานทีม่ ีการ
พบจดุ ที่ทำใหผ้ ลลัพธ์ ไม่ โตต้ อบกบั ผู้ใช้ การ์ตนู ส้นั เลา่ กิจวัตรประจำวนั
ถกู ต้อง ให้ทำการแกไ้ ข ภาพเคล่อื นไหว
จนกว่าจะได้ผลลพั ธ์ • การฝึกตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดจากโปรแกรมของ
ท่ีถกู ต้อง ผู้อื่นจะชว่ ยพัฒนาทักษะการหาสาเหตขุ องปัญหา
ได้ดยี ง่ิ ข้นึ
• ซอฟต์แวรท์ ี่ใชใ้ นการเขยี นโปรแกรม เชน่
Scratch, logo
ป.4 ๓. ใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตคน้ หา • การใชค้ ำคน้ ท่ตี รงประเด็น กระชบั จะทำใหไ้ ด้ -
ความรู้ และประเมนิ ผลลัพธ์ที่รวดเรว็ และตรงตามความตอ้ งการ
ความนา่ เชื่อถือของขอ้ มลู • การประเมนิ ความน่าเชือ่ ถือของขอ้ มูล เช่น
พิจารณาประเภทของเว็บไซต์ (หนว่ ยงานราชการ
สำนักข่าว องค์กร) ผเู้ ขียน วนั ทเี่ ผยแพร่ข้อมูล การ
อ้างองิ
• เมอ่ื ได้ข้อมูลทตี่ ้องการจากเวบ็ ไซตต์ า่ ง ๆ จะตอ้ ง
นำเนอ้ื หามาพิจารณา เปรยี บเทยี บ แลว้ เลอื ก
ขอ้ มูลท่ีมีความสอดคล้องและสัมพนั ธก์ นั
• การทำรายงานหรือการนำเสนอขอ้ มลู จะต้องนำ
ข้อมลู มาเรียบเรยี ง สรุป เป็นภาษาของตนเอง ท่ี
เหมาะสมกบั กลมุ่
เป้าหมายและวธิ กี ารนำเสนอ (บูรณาการกับวชิ า
ภาษาไทย)
๔. รวบรวม ประเมิน • การรวบรวมขอ้ มลู ทำได้โดยกำหนดหวั ขอ้ -
นำเสนอข้อมลู และ ทีต่ ้องการ เตรียมอปุ กรณ์ในการจดบันทึก
สารสนเทศ โดยใช้ • การประมวลผลอย่างงา่ ย เช่น เปรียบเทยี บจัด
ซอฟตแ์ วร์ท่ีหลากหลาย กลมุ่ เรียงลำดบั การหาผลรวม
เพื่อแก้ปญั หาใน • วิเคราะห์ผลและสร้างทางเลือกที่เป็นไปได้
ชวี ติ ประจำวนั ประเมินทางเลอื ก (เปรียบเทียบ ตัดสนิ )
• การนำเสนอข้อมลู ทำไดห้ ลายลักษณะตามความ
เหมาะสม เช่น การบอกเล่า เอกสารรายงาน
โปสเตอร์ โปรแกรมนำเสนอ
ช้นั ตวั ชวี้ ัดท่ี สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นร้ทู ้องถิ่น
• การใชซ้ อฟต์แวรเ์ พ่ือแก้ปญั หาในชีวติ ประจำวัน
เช่น การสำรวจเมนอู าหารกลางวันโดยใช้
ซอฟตแ์ วร์สรา้ งแบบสอบถามและเกบ็ ข้อมลู ใช้
ซอฟตแ์ วร์ตารางทำงานเพื่อประมวลผลข้อมูล
รวบรวมข้อมูลเก่ียวกับคุณค่าทางโภชนาการและ
สร้างรายการอาหารสำหรบั ๕ วนั ใชซ้ อฟตแ์ วร์
นำเสนอผลการสำรวจรายการอาหารท่เี ป็น
ทางเลอื กและข้อมลู ด้านโภชนาการ
๕. ใช้เทคโนโลยี • การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย เขา้ ใจ -
สารสนเทศอยา่ งปลอดภยั สิทธิและหน้าที่ของตน เคารพในสทิ ธขิ องผู้อ่ืน เชน่
เขา้ ใจสิทธแิ ละหน้าท่ขี อง ไม่สร้างข้อความเทจ็ และส่งให้ผู้อื่น ไมส่ ร้าง ความ
ตน เคารพในสทิ ธิของผู้อ่นื เดอื ดรอ้ นตอ่ ผู้อ่นื โดยการส่งสแปม ข้อความลกู โซ่
แจ้งผู้เก่ียวข้องเม่ือพบ ส่งต่อโพสต์ที่มีข้อมลู สว่ นตวั ของผอู้ ืน่ สง่ คำเชญิ เลน่
ข้อมูลหรือบุคคลที่ เกม ไมเ่ ขา้ ถึงข้อมลู ส่วนตวั หรอื การบา้ นของบคุ คล
ไม่เหมาะสม อนื่ โดยไม่ไดร้ บั อนุญาต ไม่ใช้เครือ่ งคอมพวิ เตอร์/
ชอ่ื บญั ชขี องผู้อื่น
• การสือ่ สารอย่างมมี ารยาทและรู้กาลเทศะ
• การปกป้องข้อมลู สว่ นตัว เช่น การออกจากระบบ
เม่อื เลกิ ใชง้ าน ไมบ่ อกรหสั ผา่ น ไม่บอกเลข
ประจำตวั ประชาชน
ป.5 ๑. ใช้เหตุผลเชิงตรรกะใน • การใช้เหตุผลเชิงตรรกะเปน็ การนำกฎเกณฑ์ หรือ -
การแก้ปัญหา การอธบิ าย เง่อื นไขท่ีครอบคลุมทุกกรณีมาใชพ้ จิ ารณาในการ
การทำงาน การคาดการณ์ แกป้ ญั หา การอธิบายการทำงาน หรือการ
ผลลัพธ์ จากปญั หาอยา่ ง คาดการณ์ ผลลพั ธ์
ง่าย • สถานะเร่ิมตน้ ของการทำงานท่แี ตกตา่ งกันจะให้
ผลลพั ธท์ ่ีแตกต่างกนั
• ตัวอย่างปญั หา เชน่ เกม Sudoku โปรแกรม
ทำนายตัวเลข โปรแกรมสรา้ งรปู เรขาคณติ ตามค่า
ข้อมูลเขา้ การจัดลำดับการทำงานบา้ นในช่วง
วนั หยดุ จัดวางของในครัว
ชน้ั ตวั ชีว้ ดั ท่ี สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถิ่น
ป.5 ๒. ออกแบบ และเขียน • การออกแบบโปรแกรมสามารถทำไดโ้ ดยเขียน -
โปรแกรมทมี่ ีการใช้เหตผุ ล เป็นข้อความหรือผงั งาน
เชงิ ตรรกะอยา่ งง่าย • การออกแบบและเขยี นโปรแกรมท่ีมีการ
ตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดและ ตรวจสอบเง่ือนไขที่ครอบคลุมทุกกรณเี พ่ือให้ได้
แกไ้ ข ผลลัพธ์
ที่ถูกต้องตรงตามความต้องการ
• หากมีขอ้ ผิดพลาดให้ตรวจสอบการทำงาน
ทลี ะคำสัง่ เม่ือพบจดุ ท่ีทำให้ผลลัพธไ์ มถ่ ูกตอ้ ง
ใหท้ ำการแก้ไขจนกว่าจะไดผ้ ลลัพธท์ ่ีถกู ต้อง
• การฝึกตรวจหาข้อผดิ พลาดจากโปรแกรมของ
ผู้อนื่ จะชว่ ยพัฒนาทักษะการหาสาเหตุของปัญหา
ได้ดยี ง่ิ ขึ้น
• ตัวอย่างโปรแกรม เชน่ โปรแกรมตรวจสอบเลขคู่
เลขคี่ โปรแกรมรบั ขอ้ มลู น้ำหนักหรือสว่ นสูง
แลว้ แสดงผลความสมสว่ นของร่างกาย โปรแกรมสัง่
ให้ตัวละครทำตามเง่ือนไขทก่ี ำหนด
• ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เชน่
Scratch, logo
๓. ใช้อนิ เทอรเ์ น็ตค้นหา • การค้นหาข้อมูลในอินเทอรเ์ น็ต และการพิจารณา -
ขอ้ มลู ติดต่อสอื่ สารและ ผล
ทำงานรว่ มกัน ประเมิน การคน้ หา
ความน่าเชอื่ ถือของข้อมูล • การตดิ ตอ่ ส่ือสารผ่านอินเทอร์เน็ต เช่น อีเมล
บล็อก โปรแกรมสนทนา
• การเขียนจดหมาย (บรู ณาการกับวชิ าภาษาไทย)
• การใชอ้ ินเทอร์เน็ตในการติดต่อส่อื สารและ
ทำงานรว่ มกัน เช่น ใชน้ ัดหมายในการประชมุ กลุม่
ประชาสมั พนั ธก์ ิจกรรมในห้องเรียน การ
แลกเปลยี่ นความรู้ ความคิดเห็นในการเรยี น
ภายใตก้ ารดูแลของครู
• การประเมนิ ความน่าเชือ่ ถือของข้อมลู เช่น
เปรยี บเทยี บความสอดคล้อง สมบรู ณ์ของข้อมลู
จากหลายแหลง่ แหล่งต้นตอของขอ้ มูล ผู้เขียน
วนั ท่เี ผยแพร่ข้อมลู
• ข้อมลู ทีด่ ตี ้องมีรายละเอยี ดครบทุกด้าน เชน่ ข้อดี
และข้อเสีย ประโยชนแ์ ละโทษ
ช้นั ตัวช้วี ัดท่ี สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถน่ิ
๔. รวบรวม ประเมิน • การรวบรวมข้อมลู ประมวลผล สรา้ งทางเลือก
นำเสนอข้อมลู และ ประเมนิ ผล จะทำให้ไดส้ ารสนเทศเพ่ือใชใ้ นการ
สารสนเทศ ตาม แกป้ ญั หาหรือการตดั สนิ ใจได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
วัตถุประสงค์โดยใช้ • การใช้ซอฟตแ์ วร์หรือบริการบนอนิ เทอรเ์ น็ตที่
ซอฟตแ์ วรห์ รือบริการบน หลากหลายในการรวบรวม ประมวลผลสร้าง
อนิ เทอรเ์ น็ตท่หี ลากหลาย ทางเลอื ก ประเมินผล นำเสนอ จะช่วยให้ การ
เพื่อแก้ปัญหา แกป้ ัญหาทำได้อยา่ งรวดเรว็ ถกู ต้อง และแม่นยำ
ในชวี ิตประจำวัน • ตัวอยา่ งปญั หา เชน่ ถา่ ยภาพ และสำรวจแผนท่ี
ในท้องถ่นิ เพื่อนำเสนอแนวทางในการจัดการพ้นื ท่ี
วา่ งให้เกดิ ประโยชน์ ทำแบบสำรวจความคดิ เห็น
ออนไลน์ และวเิ คราะห์ข้อมูล นำเสนอขอ้ มูลโดย
การใช้ blog หรอื web page
๕. ใชเ้ ทคโนโลยี • อันตรายจากการใช้งานและอาชญากรรมทาง
สารสนเทศอย่างปลอดภัย อินเทอรเ์ น็ต
มมี ารยาท เข้าใจสิทธแิ ละ • มารยาทในการติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เนต็
หน้าท่ีของตน เคารพใน (บูรณาการกบั วิชาทเ่ี ก่ียวข้อง)
สิทธขิ องผู้อื่น แจ้ง
ผเู้ ก่ียวขอ้ งเมอื่ พบข้อมูล
หรอื บุคคลท่ีไม่เหมาะสม