The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือหลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by This's Sasi, 2022-09-06 04:27:40

คู่มือหลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือหลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนดว่า หากผู้เรียนไม่ผ่านรายวิชา
จำนวนมากและมแี นวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับท่ีสูงขึ้น สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้
เรยี นซำ้ ชนั้ ได้ ทงั้ นีใ้ ห้คำนึงถึงวฒุ ิภาวะและความร้คู วามสามารถของผู้เรียนเปน็ สำคญั

ผูเ้ รยี นไมม่ คี ุณสมบตั ติ ามเกณฑก์ ารอนุมัติเลอ่ื นช้นั เรยี น สถานศกึ ษาจะต้องจดั ใหเ้ รยี นซ้ำช้ัน
ในกรณีที่ผู้เรียนขาดคุณสมบัติข้อใดข้อหน่ึง สถานศึกษาอาจใช้ดุลพินิจให้เล่ือนช้ันได้หากพิจารณา
เหน็ ว่า
1) ผู้เรยี นมเี วลาเรยี นไมถ่ ึงรอ้ ยละ 80 อนั เนือ่ งจากสาเหตจุ ำเป็นหรือเหตุสดุ วิสัย
แต่มคี ุณสมบตั ติ ามขอ้ อื่นๆ ครบถว้ น
2) ผ้เู รยี นผา่ นมาตรฐานและตัวชวี้ ดั ไม่ถงึ เกณฑต์ ามท่สี ถานศกึ ษากำหนดในแต่ละ
รายวิชาและเหน็ วา่ สามารถสอนซอ่ มเสรมิ ได้ในปีการศึกษาถัดไปและมีคุณสมบัติข้ออื่น ๆ ครบถ้วน
3) ผ้เู รยี นช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 – 3 มีผลการประเมินกลมุ่ สาระการเรียนรู้
ภาษาไทยและคณิตศาสตร์อยู่ในเกณฑ์พอใช้และผู้เรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 มีผลการประเมินกลุ่มสาระการ
เรียนรภู้ าษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมอยใู่ นเกณฑ์ผ่าน

1.5 การสอนซ่อมเสริม
การสอนซ่อมเสรมิ เปน็ สว่ นหนึง่ ของกระบวนการจัดการเรยี นรู้และเปน็ การให้

โอกาสแก่ผู้เรียนได้มีเวลาเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ เพ่ิมขึ้น จนสามารถบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัดท่ีกำหนดไว้ การ
สอนซ่อมเสริมเป็นการสอนกรณีพิเศษนอกเหนอื ไปจากการสอนตามแผนจัดการเรียนรู้ปกติเพื่อแก้ไขขอ้ บกพรอ่ งท่ีพบ
ในผ้เู รียน โดยจดั กระบวนการเรียนรทู้ ่ีหลากหลายและคำนงึ ถงึ ความแตกต่างระหว่างบคุ คลของผูเ้ รียน

1.6 การรายงานผลการเรียน
การรายงานผลการเรยี น เป็นการสื่อสารให้ผูป้ กครองและผู้เรียนทราบ

ความก้าวหน้าในการเรยี นรู้ของผู้เรียน ซง่ึ สถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินและจัดทำเอกสารรายงานให้ผู้ปกครอง
รบั ทราบเปน็ ระยะ ๆ หรืออย่างนอ้ ยภาคเรยี นละ 1 คร้ัง

การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็นระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียนท่ีสะท้อน
มาตรฐานการเรียนรู้กลมุ่ สาระการเรียนรู้

๒. เกณฑ์การจบการศกึ ษา
ระดับประถมศึกษา
1) ผเู้ รยี นเรียนรายวชิ าพ้นื ฐานและรายวิชา / กิจกรรมเพิม่ เติมตามโครงสร้างเวลาเรียนท่ี

หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานกำหนด
2) ผ้เู รียนต้องมผี ลการประเมินรายวชิ าพ้นื ฐานผ่านเกณฑก์ ารประเมินตามทีส่ ถานศึกษากำหนด

3) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผา่ นเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา
กำหนด

4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ีสถานศึกษา
กำหนด

5) ผู้เรยี นเข้าร่วมกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนและมผี ลการประเมนิ ผา่ นเกณฑ์การประเมินตามทสี่ ถานศึกษากำหนด

3. เอกสารหลักฐานการศกึ ษา
เอกสารหลักฐานการศึกษาเป็นเอกสารสำคัญที่บันทึกผลการเรียนข้อมูลและสารสนเทศที่เก่ียวข้องกับ

พฒั นาการของผเู้ รียนในดา้ นตา่ ง ๆ แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท ดังนี้
1. เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาทกี่ ระทรวงศกึ ษาธิการกำหนด
1.1 ระเบียนแสดงผลการเรียน เป็นเอกสารแสดงผลการเรียนและรับรองผลการเรียนของผู้เรียนตาม

รายวิชา ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา
และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษาจะต้องบันทึกข้อมูลและออกเอกสารนี้ให้ผู้เรียนเป็นรายบุคคล
เมื่อผู้เรียนจบการศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา (ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6) จบการศกึ ษาภาคบงั คบั

1.2 ประกาศนียบัตร เป็นเอกสารแสดงวุฒิการศึกษา เพ่ือรับรองศักดิ์และสิทธ์ิของผู้จบการศึกษาที่
สถานศึกษาให้ไว้แก่ผู้จบการศึกษาภาคบังคับและผู้จบการศึกษาข้ันพื้นฐานตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พนื้ ฐาน

1.3 แบบรายงานผู้สำเรจ็ การศึกษา เป็นเอกสารอนุมตั ิการจบหลักสตู รโดยบันทึกรายชื่อและข้อมูลของ
ผูจ้ บการศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา (ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6)

2. เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาท่ีสถานศึกษากำหนด
เป็นเอกสารท่ีสถานศึกษาจัดทำขึ้นเพื่อบันทึกพัฒนาการผลการเรียนรู้และข้อมูลสำคัญเก่ียวกับผู้เรียน

เช่น แบบรายงานประจำตัวนักเรียน แบบบันทึกผลการเรียนประจำรายวิชา ระเบียบสะสม ใบรับรองผลการเรียนและ
เอกสารอืน่ ๆ ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการนำเอกสารไปใช้

4. การเทียบโอนผลการเรยี น
สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผู้เรียนในกรณีต่าง ๆ ได้แก่ การย้ายสถานศึกษา การเปลี่ยน

รปู แบบการศกึ ษา การย้ายหลกั สูตร การออกกลางคันและขอกลบั เข้ารบั การศกึ ษาต่อ การศึกษาจากต่างประเทศและ
ขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากนี้ยังสามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จากแหล่งเรียนรู้อ่ืน ๆ เช่น
สถานประกอบการ สถาบนั ศาสนา สถาบนั การฝึกอบรมอาชพี การจัดการศกึ ษาโดยครอบครวั

การเทียบโอนผลการเรียน ควรดำเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียน หรือต้นภาคเรียนท่ีสถานศึกษารับผู้ขอ
เทียบโอนเป็นผู้เรียน ทั้งน้ี ผู้เรียนท่ีได้รับการเทียบโอนผลการเรียนต้องศึกษาต่อเนื่องในสถานศึกษาท่ีรับเทียบโอน

อย่างน้อย 1 ภาคเรียน โดยสถานศึกษาที่รับผู้เรียนจากการเทียบโอนควรกำหนดรายวิชา / จำนวนหน่วยกิจท่ีจะรับ
เทยี บโอนตามความเหมาะสมการพิจารณาการเทียบโอน สามารถดำเนินการได้ ดงั นี้

1. พิจารณาจากหลกั ฐานการศกึ ษาและเอกสารอ่ืน ๆ ท่ใี หข้ อ้ มูลแสดงความรู้ ความสามารถของผเู้ รียน
2. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียนโดยการทดสอบด้วยวิธีการต่าง ๆ ท้ั งภาคความรู้และ
ภาคปฏิบัติ
3. พจิ ารณาจากความสามารถและการปฏิบัตใิ นสภาพจริง

การเทียบโอนผลการเรียนให้เป็นไปตามประกาศหรือแนวปฏิบัติของกระทรวงศึกษาธิการ สำหรับการเทียบ
โอนเข้าสู่การศึกษาในระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ให้ดำเนินการตามแนวปฏิบัติเก่ียวกับการเทียบโอนผลการ
เรยี นเข้าสกู่ ารศึกษาในระบบระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน


Click to View FlipBook Version