The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือหลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by This's Sasi, 2022-09-06 04:27:40

คู่มือหลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือหลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ช้นั ตวั ชีว้ ัดท่ี สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิ่น

ป.6 ๑. ใช้เหตุผลเชิงตรรกะใน • การแกป้ ญั หาอยา่ งเป็นข้ันตอนจะช่วยให้ -

การอธิบายและออกแบบ แก้ปญั หาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ

วธิ กี ารแก้ปญั หาที่พบใน • การใช้เหตุผลเชิงตรรกะเป็นการนำกฎเกณฑ์ หรือ

ชวี ติ ประจำวัน เงอ่ื นไขท่ีครอบคลมุ ทุกกรณีมาใชพ้ จิ ารณาในการ

แก้ปญั หา

• แนวคดิ ของการทำงานแบบวนซำ้ และเง่ือนไข

• การพจิ ารณากระบวนการทำงานท่ีมีการทำงาน

แบบวนซำ้ หรือเงื่อนไขเปน็ วธิ ีการที่จะช่วยให้การ

ออกแบบวิธกี ารแกป้ ัญหาเป็นไปอยา่ งมี

ประสิทธิภาพ

• ตวั อยา่ งปญั หา เช่น การคน้ หาเลขหนา้ ทตี่ อ้ งการ

ใหเ้ ร็วทสี่ ดุ การทายเลข ๑-๑,๐๐๐,๐๐๐ โดยตอบ

ให้ถกู ภายใน ๒๐ คำถาม การคำนวณเวลาในการ

เดนิ ทาง โดยคำนึงถงึ ระยะทาง เวลาจุดหยุดพกั

๒. ออกแบบและเขียน • การออกแบบโปรแกรมสามารถทำไดโ้ ดยเขยี น -

โปรแกรมอยา่ งงา่ ย เพ่ือ เปน็ ข้อความหรือผังงาน

แกป้ ัญหาในชวี ิตประจำวนั • การออกแบบและเขยี นโปรแกรมท่ีมีการใช้ตวั

ตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดของ แปร การวนซำ้ การตรวจสอบเงื่อนไข

โปรแกรมและแก้ไข • หากมขี ้อผิดพลาดใหต้ รวจสอบการทำงานทลี ะ

คำสง่ั เมอ่ื พบจดุ ท่ีทำใหผ้ ลลัพธไ์ ม่ถูกตอ้ งให้ทำการ

แกไ้ ขจนกว่าจะไดผ้ ลลัพธ์ที่ถูกต้องการฝึกตรวจหา

ขอ้ ผดิ พลาดจากโปรแกรมของผ้อู ื่นจะช่วยพฒั นา

ทักษะการหาสาเหตุของปัญหาไดด้ ยี ่ิงข้นึ

• ตัวอย่างโปรแกรม เชน่ โปรแกรมเกม โปรแกรม

หาคา่ ค.ร.น. เกมฝึกพิมพ์

• ซอฟต์แวรท์ ี่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น

Scratch, logo

๓. ใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตในการ • การค้นหาอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ เปน็ การคน้ หา -

คน้ หาข้อมูลอยา่ งมี ข้อมูลที่ไดต้ รงตามความต้องการในเวลาทรี่ วดเรว็

ประสทิ ธิภาพ จากแหล่งข้อมลู ท่ีนา่ เช่ือถือหลายแหล่ง และข้อมูล

มคี วามสอดคลอ้ งกนั

• การใช้เทคนิคการค้นหาข้นั สงู เชน่ การใชต้ วั

ดำเนินการ การระบรุ ูปแบบของข้อมูลหรือชนิดของ

ไฟล์

ช้นั ตัวชี้วดั ที่ สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถน่ิ

• การจัดลำดับผลลพั ธ์จากการคน้ หาของโปรแกรม

ค้นหา

• การเรียบเรียง สรุปสาระสำคญั (บรู ณาการกับ

วชิ าภาษาไทย)

๔. ใชเ้ ทคโนโลยี • อนั ตรายจากการใช้งานและอาชญากรรมทาง

สารสนเทศทำงานรว่ มกนั อนิ เทอร์เน็ต แนวทางในการป้องกนั

อย่างปลอดภัย เขา้ ใจสิทธิ • วิธีกำหนดรหสั ผ่าน

และหน้าท่ขี องตน เคารพ • การกำหนดสทิ ธก์ิ ารใช้งาน (สิทธใิ์ นการเข้าถึง)

ในสิทธขิ องผู้อนื่ แจง้ • แนวทางการตรวจสอบและปอ้ งกันมลั แวร์

ผเู้ กีย่ วข้องเม่ือพบข้อมลู • อันตรายจากการตดิ ตง้ั ซอฟต์แวร์ที่อยบู่ น

หรือบคุ คลท่ีไมเ่ หมาะสม อินเทอรเ์ นต็

คณุ ภาพผู้เรยี น

จบช้ันประถมศึกษาปีที่ 3

• เข้าใจลกั ษณะทวั่ ไปของส่ิงมชี ีวติ และการดำรงชีวติ ของสิ่งมีชวี ิตรอบตัว

• เขา้ ใจลักษณะท่ปี รากฏ ชนิดและสมบัติบางประการของวัสดทุ ีใ่ ช้ทำวัตถแุ ละการเปลย่ี นแปลงของวัสดุ
รอบตวั

• เขา้ ใจการดึง การผลัก แรงแม่เหลก็ และผลของแรงท่ีมตี ่อการเปลี่ยนแปลง การเคล่ือนที่ของวัตถุ
พลังงานไฟฟา้ และการผลติ ไฟฟ้า การเกดิ เสยี ง แสงและการมองเหน็

• เขา้ ใจการปรากฏของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาว ปรากฏการณข์ ้นึ และตกของดวงอาทิตย์ การเกิด
กลางวันกลางคืน การกำหนดทศิ ลกั ษณะของหนิ การจำแนกชนิดดิน และการใชป้ ระโยชน์ ลกั ษณะและความสำคัญ
ของอากาศ การเกิดลม ประโยชน์และโทษของลม

• ตงั้ คำถามหรือกำหนดปญั หาเก่ียวกบั สิง่ ที่จะเรยี นรตู้ ามท่ีกำหนดให้หรือตามความสนใจ สังเกต สำรวจ
ตรวจสอบโดยใชเ้ คร่ืองมืออย่างง่าย รวบรวมข้อมูล บันทึก และอธบิ ายผลการสำรวจตรวจสอบด้วยการเขยี นหรือวาด
ภาพ และส่อื สารส่งิ ทเี่ รียนรูด้ ้วยการเล่าเรือ่ ง หรอื ดว้ ยการแสดงท่าทางเพ่ือใหผ้ อู้ ืน่ เข้าใจ

• แกป้ ญั หาอยา่ งง่ายโดยใชข้ นั้ ตอนการแก้ปัญหา มีทักษะในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร
เบ้ืองต้น รกั ษาข้อมูลสว่ นตวั

• แสดงความกระตือรอื รน้ สนใจทจ่ี ะเรียนรู้ มีความคดิ สร้างสรรค์เกยี่ วกับเรอื่ งท่ีจะศึกษาตามท่ีกำหนดให้
หรือตามความสนใจ มสี ว่ นร่วมในการแสดงความคดิ เห็น และยอมรับฟงั ความคดิ เหน็ ผู้อ่ืน

• แสดงความรบั ผิดชอบด้วยการทำงานท่ีได้รบั มอบหมายอย่างมงุ่ มนั่ รอบคอบ ประหยัด ซื่อสตั ย์ จนงาน
ลุล่วงเป็นผลสำเรจ็ และทำงานร่วมกับผอู้ ืน่ อย่างมีความสขุ

• ตระหนักถึงประโยชนข์ องการใชค้ วามรู้และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ในการดำรงชีวติ ศกึ ษาหา
ความรูเ้ พม่ิ เติม ทำโครงงานหรือชน้ิ งานตามที่กำหนดให้หรือตามความสนใจ

จบชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

• เข้าใจโครงสรา้ ง ลกั ษณะเฉพาะและการปรับตัวของสง่ิ มชี วี ิต รวมทง้ั ความสมั พนั ธข์ องสิ่งมชี วี ิตในแหลง่ ท่ี
อยู่ การทำหนา้ ที่ของสว่ นตา่ งๆ ของพืช และการทำงานของระบบย่อยอาหารของมนุษย์

• เข้าใจสมบัติและการจำแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะและการเปลยี่ นสถานะของสสาร การละลาย
การเปลีย่ นแปลงทางเคมี การเปลยี่ นแปลงทผี่ นั กลับได้และผันกลับไม่ได้ และการแยกสารอย่างง่าย

• เข้าใจลักษณะของแรงโนม้ ถว่ งของโลก แรงลัพธ์ แรงเสยี ดทาน แรงไฟฟ้าและผลของแรงตา่ งๆ ผลที่เกดิ
จากแรงกระทำต่อวัตถุ ความดนั หลกั การทม่ี ตี ่อวตั ถุ วงจรไฟฟา้ อย่างงา่ ย ปรากฏการณ์เบื้องต้นของเสยี ง และแสง

• เข้าใจปรากกฎการณ์การขน้ึ และตก รวมถงึ การเปลย่ี นแปลงรปู รา่ งปรากฏของดวงจันทร์ องค์ประกอบ
ของระบบสรุ ยิ ะ คาบการโคจรของดาวเคราะห์ ความแตกต่างของดาวเคราะหแ์ ละดาวฤกษ์ การขึ้นและตกของกลมุ่
ดาวฤกษ์ การใชแ้ ผนทด่ี าว การเกิดอุปราคาพฒั นาการและประโยชนข์ องเทคโนโลยีอวกาศ

• เข้าใจลักษณะของแหล่งนำ้ วัฎจกั รน้ำ กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำคา้ ง นำ้ ค้างแขง็ หยาดน้ำฟ้า
กระบวนการเกดิ หนิ วัฎจักรหนิ การใช้ประโยชนห์ นิ และแร่ การเกดิ ซากดึกดำบรรพ์ การเกดิ ลมบก ลมทะเล มรสมุ
ลักษณะและผลกระทบของภยั ธรรมชาติ ธรณพี บิ ตั ิภัย การเกดิ และผลกระทบของปรากฏการณ์เรือนกระจก

• ค้นหาขอ้ มลู อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและประเมินความน่าเช่ือถือ ตัดสนิ ใจเลอื กข้อมูลใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะใน
การแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารในการทำงานรว่ มกนั เข้าใจสิทธิและหนา้ ที่ของตน เคารพสทิ ธิ
ของผู้อ่ืน

• ตงั้ คำถามหรอื กำหนดปัญหาเกีย่ วกับสิ่งท่ีจะเรยี นรตู้ ามท่ีกำหนดใหห้ รอื ตามความสนใจ คาดคะเนคำตอบ
หลายแนวทาง สรา้ งสมมตฐิ านทส่ี อดคล้องกับคำถามหรอื ปัญหาท่ีจะสำรวจตรวจสอบ วางแผนและสำรวจตรวจสอบ
โดยใช้เครือ่ งมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศท่เี หมาะสม ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ทง้ั เชงิ ปริมาณและคุณภาพ

• วเิ คราะหข์ ้อมูล ลงความเหน็ และสรปุ ความสมั พันธ์ของข้อมูลที่มาจากการสำรวจตรวจสอบในรูปแบบที่
เหมาะสม เพ่ือสื่อสารความรูจ้ ากผลการสำรวจตรวจสอบได้อย่างมเี หตุผลและหลกั ฐานอ้างองิ

• แสดงถึงความสนใจ มงุ่ ม่ัน ในสิง่ ท่ีจะเรยี นรู้ มคี วามคิดสรา้ งสรรคเ์ กย่ี วกับเรอื่ งที่จะศกึ ษาตามความสนใจ
ของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรบั ในขอ้ มลู ทม่ี หี ลักฐานอ้างอิง และรับฟังความคดิ เห็นผูอ้ ่ืน

• แสดงความรับผิดชอบด้วยการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมุ่งมน่ั รอบคอบ ประหยดั ซ่ือสตั ย์ จนงาน
ลลุ ่วงเป็นผลสำเรจ็ และทำงานรว่ มกับผอู้ ืน่ อย่างสร้างสรรค์

• ตระหนกั ในคุณค่าของความรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ใชค้ วามรแู้ ละกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรใ์ น
การดำรงชีวิต แสดงความชืน่ ชม ยกยอ่ ง และเคารพสทิ ธใิ นผลงานของผ้คู ดิ คน้ และศึกษาหาความรเู้ พ่ิมเติม ทำ
โครงงานหรือชนิ้ งานตามทกี่ ำหนดใหห้ รอื ตามความสนใจ

• แสดงถึงความซาบซง้ึ หว่ งใย แสดงพฤตกิ รรมเก่ียวกบั การใช้ การดูแลรักษาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ
สิ่งแวดล้อมอย่างรคู้ ุณคา่

รายวชิ าพ้นื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระดบั ประถมศึกษา

รายวชิ าพ้ืนฐาน จำนวน 80 ชว่ั โมง
ว11101 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน 80 ชั่วโมง
ว12101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน 80 ชั่วโมง
ว13101 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน 120 ช่วั โมง
ว14101 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน 120 ชั่วโมง
ว15101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
จำนวน 120 ชวั่ โมง
ว16101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวชิ าเพ่มิ เติม จำนวน ๔0 ชว่ั โมง
ว11๒01 คอมพิวเตอร์ จำนวน ๔0 ชั่วโมง
ว12๒01 คอมพวิ เตอร์ จำนวน ๔0 ชว่ั โมง
ว13๒01 คอมพวิ เตอร์ จำนวน ๔0 ชั่วโมง
ว14๒01 คอมพิวเตอร์ จำนวน ๔0 ชว่ั โมง
ว15๒01 คอมพิวเตอร์
จำนวน ๔0 ชวั่ โมง
ว16๒01 คอมพิวเตอร์

คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน

ว11101 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 เวลา 80 ชว่ั โมง

*************************************************************************************

ระบุช่ือพืชและสตั วท์ ่อี าศยั อยู่บริเวณตา่ งๆ จากข้อมลู ทร่ี วบรวมได้ บอกสภาพแวดล้อมท่เี หมาะสมกบั การ

ดำรงชีวติ ของสัตวใ์ นบริเวณที่อาศัยอยใู่ นท้องถ่ินจงั หวัดสระแกว้ ระบุชอื่ บรรยายลักษณะและบอกหน้าที่ของสว่ น

ตา่ งๆ ของรา่ งกายมนุษย์ สตั ว์และพืช การทำหนา้ ที่ร่วมกันของส่วนตา่ งๆ ของร่างกายมนษุ ยใ์ นการทำกจิ กรรมตา่ งๆ

จากข้อมูลท่ีรวบรวมได้ ตระหนกั ถึงความสำคญั ของส่วนต่างๆ ของร่างกายตนเอง โดยการดูแลสว่ นต่างๆ อย่างถูกต้อง

ให้ปลอดภยั และรักษาความสะอาดอยูเ่ สมอ อธบิ ายสมบัติทส่ี ังเกตไดข้ องวสั ดุท่ใี ชท้ ำวัตถุซง่ึ ทำจากวสั ดุชนิดเดียวหรอื

หลายชนิดประกอบกันโดยใช้หลักฐานเชงิ ประจักษ์ ระบชุ นดิ ของวสั ดแุ ละจัดกลุม่ วสั ดตุ ามสมบตั ทิ สี่ ังเกตได้บรรยาย

การเกดิ เสียงและทิศทางการเคลื่อนท่ีของเสียงจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ระบุดาวทีป่ รากฏบนท้องฟ้าในเวลากลางวนั

และกลางคนื จากข้อมลู ทร่ี วบรวมได้ อธิบายสาเหตทุ ี่มองไมเ่ ห็นดาวสว่ นใหญใ่ นเวลากลางวนั จากหลกั ฐานเชิง

ประจักษ์ อธบิ ายลักษณะภายนอกของหนิ จากลกั ษณะ เฉพาะตัวทีส่ งั เกตไดจ้ ากหินในท้องถิ่นของจังหวัดสระแกว้

แก้ปญั หาอย่างงา่ ยโดยใช้การลองผดิ ลองถูก การเปรยี บเทียบแสดงลำดบั ข้นั ตอนการทำงานหรือการแกป้ ัญหาอย่าง

งา่ ยโดยใชภ้ าพ สญั ลกั ษณ์ หรือข้อความเขยี นโปรแกรมอยา่ งงา่ ย โดยใช้ซอฟต์แวร์ หรือสอ่ื ใชเ้ ทคโนโลยีในการสรา้ ง

จัดเก็บ เรยี กใชข้ อ้ มูลตามวัตถปุ ระสงค์ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั ปฏบิ ตั ิ ตามขอ้ ตกลงในการใช้

คอมพิวเตอรร์ ว่ มกัน ดแู ล รกั ษาอุปกรณเ์ บ้ืองต้นใช้งานอย่างเหมาะสม

โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูล บนั ทึก

จดั กล่มุ ข้อมลู และการอภิปราย เพื่อให้เกดิ ความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถนำเสนอ สอื่ สารสงิ่ ทเ่ี รียนรู้

มคี วามสามารถในการตัดสินใจ เห็นคณุ คา่ ของการนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจำวัน มจี ติ วิทยาศาสตร์

มีคุณธรรมจริยธรรมและคา่ นิยมท่เี หมาะสม

รหัสตัวช้ีวัด
ว 1.1 ป.1/1 , ป.1/2
ว 1.2 ป.1/1 , ป.1/2
ว 2.1 ป.1/1 , ป.1/2
ว 2.3 ป.1/1
ว 3.1 ป.1/1 , ป.1/2
ว 3.2 ป.1/1
ว 4.2 ป.1/1, ป.1/2 , ป.1/3 , ป.1/4 , ป.1/5

รวมท้ังหมด 15 ตวั ชว้ี ดั

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม

ว11201 คอมพิวเตอร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ เวลา 40 ชั่วโมง

*****************************************************************************************************

ศกึ ษา ความหมายของข้อมลู แหล่งข้อมูล ลักษณะข้อมูล การเก็บรกั ษาข้อมูล ประโยชนข์ องขอ้ มูล

ความหมาย ส่วนประกอบ หน้าที่ และประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ การควบคมุ เมาส์ แป้นพิมพ์ การวางมือบน

แปน้ พิมพ์ สว่ นประกอบของโปรแกรม WordPad โปรแกรม Paint แถบเครื่องมือ การพิมพข์ ้อความ การกำหนดแบบ

อักษร ขนาดอักษร การจัดรปู แบบข้อความ สขี ้อความ การกำหนดขนาดกระดาษ การบันทกึ ข้อมูล การเปิด

แฟม้ ขอ้ มูล และการพิมพเ์ อกสาร

โดยสืบคน้ รวบรวมขอ้ มลู จากแหล่ข้อมูลใกลต้ ัว และการอภิปรายเพ่อื ใหเ้ กดิ ความรู้ ความเข้าใจ ตลอดจน

สามารถอธบิ ายสงิ่ ทเ่ี รยี นรู้ สรา้ งสรรค์ผลงานทจ่ี ากการเรยี น สามารถนำไปไปใช้ให้เกดิ ประโยชนใ์ นชีวิตประจำวนั

และเหน็ คณุ คา่ ความสำคัญของช้ินงานท่ีสรา้ งข้นึ

ผลการเรยี นรู้
1. บอกความหมายของข้อมูล แหล่งขอ้ มูล ลักษณะข้อมลู วธิ ีการเกบ็ รักษาข้อมลู ประโยชนข์ องข้อมลู
2. บอกความหมาย ประโยชน์ การใชค้ อมพิวเตอร์อย่างถกู ต้อง ชื่อหนา้ ที่ของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
3. บอกความหมาย การใชง้ าน และการดูแลรักษาเมาส์อย่างง่าย
4. บอกสว่ นตา่ งตา่ งๆของแป้นพิมพ์ การวางมือ และการใชง้ านแป้นพมิ พอ์ ย่างถูกต้อง
5. อธิบายการใช้งานโปรแกรม WordPad บอกชอ่ื และหนา้ ท่ีของแถบเครื่องมือ และใชง้ านโปรแกรม
WordPad
6. อธบิ ายการใชง้ านโปรแกรม paint บอกช่ือและหนา้ ที่ของแถบเคร่ืองมือ และการใชโ้ ปรแกรม Paint
7. เห็นคุณค่า ความสำคญั ของช้ินงาน

รวมท้ังหมด 7 ผลการเรยี นรู้

คำอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน

ว12101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 2 เวลา 80 ชั่วโมง

**************************************************************************************

ระบุวา่ พืชต้องการแสงและนำ้ เพื่อการเจริญเติบโต โดยใช้ข้อมูลจากหลกั ฐานเชิงประจักษ์

ตระหนักถึงความจำเปน็ ทพ่ี ืชตอ้ งไดร้ ับน้ำและแสงเพื่อการเจริญเติบโตโดยดูแลพชื ให้ไดร้ ับสง่ิ ดังกลา่ วอยา่ งเหมาะสม

สรา้ งแบบจำลองทบ่ี รรยายวฏั จกั รชีวิตของ พชื ดอก เปรียบเทยี บลกั ษณะของสง่ิ มชี วี ิตและ สิง่ ไม่มชี ีวติ จากขอ้ มลู ท่ี

รวบรวมได้ เปรียบเทียบสมบัติการดดู ซับนำ้ ของวัสดโุ ดยใช้หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ และระบกุ ารนำสมบตั ิ การดูดซบั

น้ำของวัสดไุ ปประยุกตใ์ ช้ในการทำวัตถุในชีวติ ประจำวนั อธิบายสมบตั ิทีส่ งั เกตได้ของวัสดุท่เี กดิ จาก การนำวสั ดมุ าผสม

กันโดยใช้หลักฐานเชิงประจกั ษ์ เปรียบเทียบสมบตั ิทีส่ งั เกตไดข้ องวัสดุ เพ่ือนำ มาทำเป็นวตั ถุในการใช้งานตาม

วัตถุประสงคแ์ ละอธิบายการนำวสั ดทุ ่ใี ชแ้ ล้วกลับมาใชใ้ หม่ โดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจักษ์ ตระหนกั ถึงประโยชนข์ องการ

นำวัสดทุ ีใ่ ชแ้ ล้วกลับมาใช้ใหม่ โดยการนำวสั ดทุ ี่ใชแ้ ลว้ กลบั มาใชใ้ หม่ บรรยายแนวการเคล่ือนท่ีของแสงจาก

แหล่งกำเนิดแสง และอธิบายการมองเห็นวัตถุ จากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ ตระหนักในคุณค่าของความรขู้ องการ

มองเหน็ โดยเสนอแนะแนวทางการป้องกนั อันตรายจากการมองวตั ถุทอ่ี ยู่ในบริเวณทมี่ ีแสงสวา่ งไมเ่ หมาะสม ระบุ

สว่ นประกอบของดนิ และจำแนกชนดิ ของดินโดยใชล้ กั ษณะเนื้อดนิ และการจบั ตวั เป็นเกณฑ์อธบิ ายการใช้ประโยชน์

จากดนิ จากขอ้ มูลท่ีรวบรวมไดแ้ สดงลำดบั ขน้ั ตอนการทำงานหรอื การแกป้ ัญหาอยา่ งง่ายโดยใชภ้ าพสญั ลกั ษณ์หรือ

ข้อความ เขยี นโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์ หรอื สอื่ และตรวจหาข้อผดิ พลาดของโปรแกรมใช้เทคโนโลยีใน

การสร้างจดั หมวดหมู่ ค้นหา จดั เกบ็ เรยี กใชข้ ้อมูลตามวัตถุประสงค์ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั ปฏิบตั ิ

ตามข้อตกลงในการใชค้ อมพิวเตอรร์ ่วมกัน ดแู ล รักษาอุปกรณ์เบื้องตน้ ใชง้ านอย่างเหมาะสม

โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบคน้ ข้อมลู บนั ทึก

จดั กลมุ่ ข้อมูลและการอภปิ ราย เพ่อื ให้เกดิ ความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถนำเสนอ ส่ือสารสงิ่ ทเี่ รียนรู้

มีความสามารถในการตัดสินใจ เหน็ คุณคา่ ของการนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจำวนั

มีจิตวทิ ยาศาสตร์ มีคุณธรรมจริยธรรมและค่านยิ มท่เี หมาะสม

รหัสตัวชี้วดั
ว 1.2 ป.2/1 , ป.2/2 , ป.2/3
ว 1.3 ป.2/1
ว 2.1 ป.2/1 , ป.2/2 , ป.2/3 , ป.2/4
ว 2.3 ป.2/1 , ป.2/2
ว 3.2 ป.2/1 , ป.2/2
ว 4.2 ป.2/1 , ป.2/2 , ป.2/3 , ป.2/4

รวมท้ังหมด 16 ตัวชี้วดั

คำอธิบายรายวชิ าเพิ่มเตมิ

ว1๒201 คอมพิวเตอร์ กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ เวลา 40 ช่วั โมง

*****************************************************************************************************

ศึกษา ความหมายของข้อมลู แหล่งข้อมูล คณุ สมบัตขิ องขอ้ มูล ประเภทของข้อมูล การเก็บรักษาข้อมลู

ประโยชนข์ องข้อมูล ความหมาย หลักการทำงาน สว่ นประกอบ หน้าท่ี ประโยชน์ การดแู ลรักษาของคอมพวิ เตอร์

ความหมาย สว่ นประกอบ และหน้าตา่ งโปรแกรมวินโดวส์ ความหมาย ประโยชน์และโทษ การใชง้ านอนิ เทอร์เน็ต

โปรแกรม Microsoft Word ชอ่ื และหน้าทข่ี องแถบเครื่องมอื การพิมพ์ขอ้ ความ การกำหนดแบบอักษร ขนาดอักษร

การจัดรูปแบบข้อความ สขี ้อความ การกำหนดขนาดกระดาษ การบนั ทกึ ข้อมูล การเปดิ แฟ้มข้อมูล และการพมิ พ์

เอกสาร

โดยการสืบค้น รวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลใกล้ตัว และการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ

ตลอดจนสามารถอธิบายส่ิงท่ีเรียนรู้ สร้างสรรค์ผลงานจากส่ิงที่ได้เรียน สามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ใน

ชวี ติ ประจำวัน และเหน็ คุณค่า ความสำคัญของชิน้ งานทส่ี ร้างขน้ึ

ผลการเรยี นรู้
1. บอกความหมายของขอ้ มูล แหลง่ ขอ้ มูล คณุ สมบัติ ประเภท วธิ กี ารเก็บรักษาขอ้ มูล ประโยชน์ของขอ้ มูล
2. บอกความหมาย หลักการทำงาน ประโยชน์ ชอ่ื และหน้าทีข่ องอปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์
3. บอกวธิ ีการดแู ลรกั ษาคอมพิวเตอร์ และประโยชน์ของการดูแลรกั ษาเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์
4. บอกความหมาย ส่วนประกอบ และหน้าต่างโปรแกรมวนิ โดวส์
5. บอกความหมาย ประโยชน์และโทษของอนิ เทอรเ์ นต็ วิธกี ารใช้งานเว็บไซต์
6. อธบิ ายการใช้งาน บอกชื่อ หน้าทีข่ องแถบเคร่ืองมอื และใช้โปรแกรม Microsoft Word พิมพข์ ้อความ
7. เห็นคณุ ค่า ความสำคญั ของชิ้นงาน
รวมทั้งหมด 7 ผลการเรยี นรู้

คำอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน

ว13101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 เวลา 80 ชั่วโมง

*****************************************************************************************************

บรรยายส่ิงทจี่ ำเปน็ ตอ่ การดำรงชีวิต และการ เจรญิ เตบิ โตของมนษุ ยแ์ ละสัตว์โดยใช้ข้อมูล ทีร่ วบรวมได้

ตระหนกั ถึงประโยชนข์ องอาหาร น้ำและอากาศ โดยการดูแลตนเองและสตั วใ์ หไ้ ดร้ ับส่งิ เหลา่ นอ้ี ยา่ งเหมาะสม สร้าง

แบบจำลองทบ่ี รรยายวัฏจักรชีวิตของสตั ว์และเปรยี บเทียบวัฏจกั รชวี ิตของสัตวบ์ างชนิด ตระหนกั ถึงคณุ คา่ ของชวี ติ

สัตว์ โดยไมท่ ำใหว้ ัฏจักรชวี ติ ของสัตว์เปลย่ี นแปลง อธบิ ายว่าวัตถปุ ระกอบข้นึ จากชิน้ ส่วนยอ่ ยๆ ซ่ึงสามารถแยกออก

จากกันไดแ้ ละประกอบกนั เป็นวัตถชุ ้ินใหมไ่ ด้ โดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ อธบิ ายการเปลยี่ นแปลงของวสั ดุเม่ือทำให้

รอ้ นข้ึนหรอื ทำให้เยน็ ลง โดยใช้หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ ระบุผลของแรงท่มี ีต่อการเปล่ยี นแปลง การเคลือ่ นที่ของวตั ถุ

จากหลักฐานเชิงประจักษ์เปรียบเทียบและยกตวั อย่างแรงสัมผสั และแรงไม่สัมผสั ทม่ี ีผลต่อการเคลอ่ื นท่ีของวัตถโุ ดยใช้

หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ จำแนกวัตถโุ ดยใช้การดึงดูดกับแมเ่ หล็กเปน็ เกณฑ์จากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ ระบุข้ัวแมเ่ หล็ก

และพยากรณ์ผลทเ่ี กดิ ข้นึ ระหว่างข้ัวแม่เหล็กเม่ือนำมาเขา้ ใกล้กันจากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ จำแนกวตั ถุเปน็ ตวั กลาง

โปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสงและวัตถทุ บึ แสง จากลักษณะการมองเหน็ ส่ิงต่างๆ ผ่านวตั ถุนั้นเป็นเกณฑ์ โดยใชห้ ลกั ฐาน

เชงิ ประจักษ์ บรรยายการทำงานของเคร่ืองกำเนิดไฟฟ้าและระบแุ หล่งพลังงานในการผลิตไฟฟ้า จากข้อมูล ที่

รวบรวมได้ ตระหนักในประโยชนแ์ ละโทษของไฟฟ้าโดยนำเสนอวธิ กี ารใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัด และปลอดภยั อธบิ าย

แบบรปู เสน้ ทางการข้ึนและตกของดวงอาทติ ย์โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ อธบิ ายสาเหตกุ ารเกิดปรากฏการณ์การข้นึ

และตกของดวงอาทิตย์ การเกดิ กลางวนั กลางคืนและการกำหนดทิศ โดยใชแ้ บบจำลองตระหนักถึงความสำคัญของ

ดวงอาทิตย์ โดย บรรยายประโยชน์ของดวงอาทิตยต์ อ่ สิง่ มชี วี ติ ระบสุ ว่ นประกอบของอากาศ บรรยายความ สำคัญ

ของอากาศ และผลกระทบของมลพษิ ทาง อากาศตอ่ สงิ่ มีชวี ติ จากข้อมลู ที่รวบรวมได้ ตระหนักถงึ ความสำคัญของ

อากาศ โดยนำเสนอ แนวทางการปฏบิ ตั ติ นในการลดการเกิดมลพษิ ทางอากาศ อธิบายการเกดิ ลมจากหลักฐานเชงิ

ประจกั ษ์ บรรยายประโยชนแ์ ละโทษของลม จากข้อมลู ท่ีรวบรวมได้ แสดงอลั กอรทิ ึมในการทำงานหรือการแก้ปญั หา

อยา่ งงา่ ยโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรอื ข้อความ เขียนโปรแกรมอยา่ งง่าย โดยใชซ้ อฟตแ์ วรห์ รอื สอื่ และตรวจหา

ขอ้ ผดิ พลาดของโปรแกรมใช้อินเทอรเ์ นต็ ค้นหาความรู้รวบรวม ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล โดยใชซ้ อฟตแ์ วร์ตาม

วตั ถุประสงค์ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย ปฏบิ ัติ ตามข้อตกลงในการใช้อนิ เทอร์เน็ต

โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสบื ค้นข้อมูล บันทกึ

จัดกล่มุ ข้อมูลและการอภิปรายเพือ่ ใหเ้ กิดความร้คู วามคดิ ความเขา้ ใจ สามารถนำเสนอสื่อสารสงิ่ ที่เรียนรู้

มคี วามสามารถในการตดั สนิ ใจ เหน็ คณุ คา่ ของการนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ ประจำวนั มจี ติ วิทยาศาสตร์

มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมและค่านิยมทเ่ี หมาะสม

รหสั ตัวช้ีวัด

ว 1.2 ป.3/1 , ป.3/2 , ป.3/3 , ป.3/4

ว 2.1 ป.3/1 , ป.3/2

ว 2.2 ป.3/1 , ป.3/2 , ป.3/3 , ป.3/4

ว 2.3 ป.3/1 , ป.3/2 , ป.3/3

ว 3.1 ป.3/1 , ป.3/2 , ป.3/3

ว 3.2 ป.3/1 , ป.3/2 , ป.3/3 , ป.3/4

ว 4.2 ป.3/1 , ป.3/2 , ป.3/3 , ป.3/4 , ป.3/5

รวมทั้งหมด 25 ตวั ช้ีวัด

คำอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเตมิ

ว1๓201 คอมพิวเตอร์ กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เวลา 40 ชั่วโมง

*****************************************************************************************************

ศกึ ษา การคน้ หาขอ้ มลู อย่างมีข้ันตอนและนำเสนอข้อมูลในรปู แบบต่างๆ ความหมายของเทคโนโลยี

สารสนเทศ ข้อมลู กบั เทคโนโลยีสมัยใหม่ องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ การทำงานของคอมพวิ เตอร์ อปุ กรณร์ ับ

ขอ้ มูล อุปกรณ์แสดงผลข้อมูล วิธดี ูแลรกั ษาอปุ กรณเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศ การบันทึกข้อมูล การเปดิ แฟ้มข้อมูล การ

พมิ พ์เอกสาร การใชอ้ ินเตอร์เน็ต โปรแกรม Microsoft Word ในการจัดทำเอกสาร สร้างชิ้นงาน และประยุกต์ใช้

โปรแกรมให้สอดคลอ้ งกบั กลุ่มสาระตา่ งๆ

โดยสบื คน้ รวบรวมข้อมูลจากแหลข่ ้อมลู ใกล้ตวั และการอภิปรายเพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ ตลอดจน

สามารถอธิบายสงิ่ ท่เี รียนรู้ สร้างสรรค์ผลงานทจี่ ากการเรียน สามารถนำไปไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนใ์ นชีวิตประจำวนั

และเห็นคณุ ค่า ความสำคญั ของชิ้นงานทสี่ รา้ งขนึ้

ผลการเรยี นรู้
1. ค้นหาขอ้ มลู อยา่ งมขี นั้ ตอนและนำเสนอข้อมลู ในรูปแบบตา่ งๆ
2. บอกความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ องคป์ ระกอบของเทคโนโลยสี ารสนเทศ ข้อมูลกบั เทคโนโลยี
สมัยใหม่
3. อธิบายถึงองค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ได้
4. อธิบายถงึ การทำงานของคอมพิวเตอร์ได้
5. บอกถึงอปุ กรณ์รับข้อมูล อุปกรณแ์ สดงผลข้อมลู
6. บอกวธิ กี ารดูแลรักษาอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
7. สามารถบนั ทึกข้อมลู เปดิ แฟ้มขอ้ มูล และพิมพเ์ อกสารได้
8. ใช้งานโปรแกรม Microsoft Word ในการจัดทำเอกสาร สร้างชิ้นงาน และประยุกต์ใชโ้ ปรแกรมสอดคลอ้ งกับ
กลุ่มสาระ
9. เหน็ คณุ คา่ ความสำคญั ของช้ินงาน

คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน

ว14101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 เวลา 120 ช่วั โมง

***************************************************************************************

บรรยายหนา้ ทขี่ องราก ลำตน้ ใบ และดอก ของพชื ดอก โดยใช้ขอ้ มูลทีร่ วบรวมได้ จำแนกส่ิงมชี ีวติ โดยใช้

ความเหมือนและความแตกต่างของลักษณะของส่งิ มีชีวติ ออกเปน็ กล่มุ พืช กลุ่มสตั วแ์ ละกล่มุ ที่ไม่ใช่พืชและสตั ว์

จำแนกพชื ออกเปน็ พชื ดอกและพืชไม่มดี อกโดยใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลท่รี วบรวมได้ จำแนกสตั ว์

ออกเป็นสตั วม์ ีกระดกู สนั หลังและสัตวไ์ ม่มีกระดูกสันหลังโดยใชก้ ารมกี ระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมลู ท่รี วบรวม

ได้บรรยายลกั ษณะเฉพาะที่สังเกตได้ของสตั ว์มีกระดูกสันหลงั ในกลุม่ ปลา กล่มุ สตั วส์ ะเทนิ น้ำ สะเทินบก กลุ่ม

สตั ว์เลือ้ ยคลาน กลมุ่ นก และกลมุ่ สตั ว์เลี้ยงลกู ด้วยนำ้ นมและยกตัวอย่างสิง่ มชี วี ติ ในแตล่ ะกลมุ่ เปรียบเทยี บสมบตั ิทาง

กายภาพดา้ นความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนำความร้อนและการนำไฟฟา้ ของวสั ดโุ ดยใช้หลกั ฐานเชิงประจกั ษจ์ ากการ

ทดลองและระบุการนำสมบตั ิเรอ่ื งความแข็ง สภาพยดื หย่นุ การนำความร้อนและการนำไฟฟา้ ของวัสดุไปใช้ใน

ชวี ติ ประจำวนั ผ่านกระบวนการออกแบบชนิ้ งานแลกเปลย่ี นความคดิ กบั ผอู้ นื่

โดยการอภิปรายเกยี่ วกับสมบัตทิ างกายภาพของวัสดุอยา่ งมีเหตผุ ลจากการทดลองเปรียบเทยี บสมบัติของสสาร ท้ัง ๓

สถานะจากข้อมูลที่ไดจ้ ากการสงั เกตมวลการต้องการทอี่ ยู่ รูปรา่ งและปริมาตรของสสาร ใชเ้ ครือ่ งมอื เพื่อวัดมวลและ

ปรมิ าตรของสสารทงั้ ๓ สถานะ ระบผุ ลของแรงโน้มถ่วงท่ีมีต่อวตั ถจุ ากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ใช้เครือ่ งชง่ั สปรงิ ในการ

วดั นำ้ หนกั ของวัตถุบรรยายมวลของวตั ถุที่มผี ลตอ่ การเปลี่ยนแปลง การเคลอ่ื นทีข่ องวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์

จำแนกวตั ถเุ ป็นตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปรง่ แสงและวตั ถุทึบแสง จากลกั ษณะการมองเห็นสง่ิ ต่างๆ ผ่านวตั ถนุ ้ันเปน็

เกณฑ์โดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ อธิบายแบบรปู เสน้ ทางการขึ้นและตกของดวงจนั ทร์ โดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจักษ์

สรา้ งแบบจำลองที่อธบิ ายแบบรูปการเปลย่ี นแปลงรปู รา่ งปรากฏของ ดวงจนั ทร์และพยากรณร์ ปู ร่างปรากฏของดวง

จนั ทรส์ รา้ งแบบจำลองแสดงองค์ประกอบของระบบสุรยิ ะและอธิบายเปรียบเทียบคาบการโคจรของดาวเคราะหต์ ่างๆ

จากแบบจำลองใช้เหตผุ ลเชงิ ตรรกะในการแก้ปญั หา การอธบิ าย การทำงาน การคาดการณผ์ ลลัพธ์ จากปัญหาอย่าง

งา่ ย ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างงา่ ย โดยใชซ้ อฟต์แวรห์ รือสื่อและตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดและแก้ไขใช้อินเทอรเ์ นต็

ค้นหาความรแู้ ละประเมินความน่าเชอ่ื ถือ ของข้อมูลรวบรวม ประเมิน นำเสนอข้อมลู และสารสนเทศ โดยใช้

ซอฟตแ์ วร์ทีห่ ลากหลาย เพ่ือแก้ปัญหาในชีวติ ประจำวันใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย เข้าใจ สทิ ธิและหนา้ ท่ี

ของตน เคารพในสิทธิของผ้อู ่ืน แจง้ ผู้เก่ียวข้องเมื่อพบข้อมลู หรอื บุคคลท่ีไม่เหมาะสม

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสบื ค้นข้อมูล บนั ทึก

จดั กลุ่มข้อมูลและการอภิปราย เพอื่ ให้เกดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนำเสนอ สอื่ สารส่งิ ทเี่ รยี นรู้ มี

ความสามารถในการตดั สินใจ เหน็ คณุ คา่ ของการนำความรู้ไปใช้ประโยชนใ์ นชวี ิตประจำวนั มจี ิตวิทยาศาสตร์ มี

คณุ ธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นิยมท่เี หมาะสม

รหสั ตัวชี้วัด

ว 1.2 ป.4/1

ว 1.3 ป.4/1 , ป.4/2 , ป.4/3 , ป.4/4

ว 2.1 ป.4/1 , ป.4/2 , ป.4/3 , ป.4/4

ว 2.2 ป.4/1 , ป.4/2 , ป.4/3

ว 2.3 ป.4/1

ว 3.1 ป.4/1 , ป.4/2 , ป.4/3

ว 4.2 ป.4/1 , ป.4/2 , ป.4/3 , ป.4/4 , ป.4/5

รวมท้ังหมด 21 ตัวช้ีวัด

คำอธิบายรายวชิ าเพิ่มเติม

ว1๔201 คอมพิวเตอร์ กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ เวลา 40 ชัว่ โมง

***************************************************************************************

ศึกษาความหมายของข้อมลู แหลง่ ข้อมูล ประเภทข้อมลู ประโยชนข์ องข้อมลู รวบรวมข้อมูล ชอ่ื และหน้าที่

ของอุปกรณ์ องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ การใช้งานคอมพวิ เตอร์อยา่ งถูกวิธี การใชอ้ นิ เตอรเ์ น็ต โปรแกรม

Microsoft Powerpoint ในการนำเสนอ จัดรูปแบบ ภาพนิ่ง แทรกตารางและแผนภูมใิ นงานนำเสนอ นำเสนอภาพนิ่ง

โดยสบื คน้ รวบรวมข้อมูลจากแหล่ข้อมูลใกล้ตวั และการอภิปรายเพื่อใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ ตลอดจน

สามารถอธบิ ายสงิ่ ที่เรยี นรู้ สรา้ งสรรค์ผลงานท่ีจากการเรยี น สามารถนำไปไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชนใ์ นชวี ิตประจำวัน

และเห็นคณุ ค่า ความสำคัญของชิ้นงานท่ีสรา้ งขนึ้

ผลการเรยี นรู้
1. บอกความหมายของข้อมลู แหล่งขอ้ มลู ประเภทข้อมูล ประโยชน์ของข้อมลู และรวบรวมขอ้ มลู ได้
2. บอกหน้าท่ขี องอุปกรณ์ องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์และใช้งานคอมพิวเตอร์ได้อยา่ งถูกวธิ ี
3. สบื คน้ ข้อมูลโดยใชค้ อมพวิ เตอรไ์ ด้
4. ใช้งานโปรแกรม Microsoft Powerpoint ในการนำเสนอ จัดรปู แบบ ภาพน่งิ ได้
5. แทรกตารางและแผนภูมิในการนำเสนอได้
6. นำเสนอภาพนิง่ ได้
7. เหน็ คณุ ค่า ความสำคัญของช้ินงาน

รวมท้ังหมด 7 ผลการเรยี นรู้

คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน

ว15101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 เวลา 120 ชวั่ โมง

***************************************************************************************

บรรยายโครงสร้างและลักษณะของสงิ่ มีชวี ติ ท่เี หมาะสมกบั การดำรงชวี ติ ซ่งึ เปน็ ผลมาจากการปรับตวั ของสงิ่ มีชวี ิตในแตล่ ะ

แหลง่ ที่อยูอ่ ธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหว่างสง่ิ มีชวี ิตกบั สง่ิ มีชวี ติ และความสมั พันธร์ ะหวา่ งสิง่ มชี ีวิต กบั ส่ิงไมม่ ชี ีวติ เพื่อประโยชน์ต่อการ

ดำรงชวี ติ เขยี นโซอ่ าหารและระบบุ ทบาทหนา้ ที่ของสง่ิ มชี ีวติ ท่เี ป็นผผู้ ลิตและผู้บรโิ ภคในโซ่อาหาร ตระหนักในคณุ ค่าของสง่ิ แวดลอ้ มท่ี

มีต่อการ ดำรงชวี ิตของส่งิ มีชวี ิต โดยมสี ่วนร่วมในการดูแล รักษาสง่ิ แวดลอ้ ม อธบิ ายลกั ษณะทางพันธกุ รรมท่ีมีการถา่ ยทอด จากพ่อแม่

สู่ลูกของพชื สตั วแ์ ละมนษุ ย์ แสดงความอยากรู้อยากเหน็ โดยการถามคำถาม เกี่ยวกบั ลกั ษณะทค่ี ล้ายคลงึ กนั ของตนเองกบั พอ่ แม่

อธิบายการเปล่ยี นสถานะของสสาร เมอ่ื ทำให้สสารรอ้ นขึน้ หรอื เยน็ ลง โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ อธิบายการละลายของสารในน้ำ

โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ วเิ คราะหก์ ารเปลย่ี นแปลงของสารเมอ่ื เกดิ การ เปลย่ี นแปลงทางเคมี โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจักษ์ วเิ คราะห์

และระบุการเปลย่ี นแปลงท่ีผันกลบั ได้ และการเปลยี่ นแปลงท่ีผันกลบั ไมไ่ ด้ อธิบายวธิ กี ารหาแรงลัพธข์ องแรงหลายแรงในแนวเดียวกนั

ทก่ี ระทำต่อวัตถใุ นกรณีทว่ี ัตถุอยนู่ ง่ิ จากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ เขยี นแผนภาพแสดงแรงทก่ี ระทำต่อวตั ถทุ อ่ี ยู่ใน แนวเดียวกันและ

แรงลพั ธท์ ก่ี ระทำตอ่ วตั ถุ ใช้เครือ่ งชง่ั สปริงในการวัดแรงท่ีกระทำตอ่ วัตถุ ระบผุ ลของแรงเสยี ดทานทม่ี ีต่อการเปลีย่ นแปลงการเคลือ่ นท่ี

ของวตั ถุจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ เขียนแผนภาพแสดงแรงเสยี ดทานและแรงที่อยู่ในแนวเดยี วกนั ทีก่ ระทำตอ่ วัตถุ อธิบายการได้ยิน

เสียงผา่ นตวั กลางจากหลักฐาน เชงิ ประจกั ษ์ ระบตุ วั แปร ทดลองและอธบิ ายลักษณะและการเกิดเสียงสงู เสยี งตำ่ ออกแบบการทดลอง

และอธบิ ายลกั ษณะและการเกดิ เสยี งดัง เสียงค่อย วดั ระดบั เสยี งโดยใชเ้ ครอ่ื งมือวดั ระดับเสยี ง ตระหนักในคณุ คา่ ของความรเู้ รื่อง

ระดับเสยี งโดยเสนอแนะแนวทางในการหลกี เลยี่ งและลดมลพษิ ทางเสียง เปรยี บเทียบความแตกตา่ งของดาวเคราะห์ และดาวฤกษ์

จากแบบจำลอง ใชแ้ ผนทด่ี าวระบตุ ำแหน่งและเสน้ ทางการข้นึ และตกของกลุม่ ดาวฤกษบ์ นทอ้ งฟ้า และอธบิ ายแบบรปู เสน้ ทางการข้ึน

และตกของกลมุ่ ดาวฤกษ์ บนทอ้ งฟ้าในรอบปี เปรยี บเทียบปรมิ าณน้ำในแตล่ ะแหลง่ และระบุ ปริมาณนำ้ ท่มี นษุ ยส์ ามารถนำมาใช้

ประโยชนไ์ ด้ จากขอ้ มลู ท่ีรวบรวมได้ ตระหนักถงึ คุณค่าของนำ้ โดยนำเสนอแนวทางการใชน้ ้ำอยา่ งประหยัดและการอนรุ ักษน์ ำ้ สรา้ ง

แบบจำลองท่ีอธบิ ายการหมนุ เวยี นของนำ้ ในวัฎจกั รน้ำ เปรยี บเทียบกระบวนการเกิดเมฆหมอกน้ำคา้ งและน้ำคา้ งแข็งจากแบบจำลอง

เปรยี บเทยี บกระบวนการเกดิ ฝน หมิ ะ และลกู เหบ็ จากขอ้ มลู ทรี่ วบรวมได้ ใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะในการแกป้ ัญหาการอธิบาย การทำงาน

การคาดการณผ์ ลลพั ธ์ จากปญั หาอยา่ งงา่ ยออกแบบและเขยี นโปรแกรมท่ีมีการใช้เหตผุ ลเชงิ ตรรกะอย่างง่ายตรวจหาข้อผดิ พลาดและ

แก้ไข ใชอ้ ินเทอร์เนต็ คน้ หาขอ้ มลู ติดตอ่ สอ่ื สาร และทำงานร่วมกนั ประเมนิ ความนา่ เชอื่ ถอื ของขอ้ มลู รวบรวม ประเมิน นำเสนอ

ขอ้ มูลและสารสนเทศ ตามวตั ถปุ ระสงค์โดยใชซ้ อฟต์แวรห์ รือบริการ บนอินเทอรเ์ น็ตทหี่ ลากหลาย เพอ่ื แก้ปญั หาในชวี ติ ประจำวนั ใช้

เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั มมี ารยาทเข้าใจสทิ ธิและหน้าท่ีของตนเคารพในสทิ ธขิ องผอู้ ืน่ แจ้งผู้เกย่ี วขอ้ งเมื่อพบข้อมูลหรือ

บคุ คล ท่ีไมเ่ หมาะสม

โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสบื คน้ ขอ้ มูล บนั ทกึ จดั กลุ่ม

ข้อมลู และการอภิปราย เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สามารถนำเสนอ สอื่ สารสง่ิ ท่ีเรยี นรู้ มคี วามสามารถในการ

ตดั สนิ ใจ เหน็ คณุ คา่ ของการนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจำวัน มีจติ วทิ ยาศาสตร์ มคี ุณธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นิยมที่

เหมาะสม

รหสั ตวั ชี้วดั
ว 1.1 ป.5/1 , ป.5/2 , ป5/3 , ป.5/4
ว 1.3 ป.5/1 , ป.5/2
ว 2.1 ป.5/1 , ป.5/2 , ป.5/3 , ป.5/4
ว 2.2 ป.5/1 , ป.5/2 , ป.5/3 , ป.5/4 , ป.5/5
ว 2.3 ป.5/1 , ป.5/2 , ป.5/3 , ป.5/4 , ป.5/5
ว 3.1 ป.5/1 , ป.5/2
ว 3.2 ป.5/1 , ป.5/2 , ป.5/3 , ป.5/4 , ป.5/5
ว 4.2 ป.5/1 , ป.5/2 , ป.5/3 , ป.5/4 , ป.5/5

รวมทั้งหมด 32 ตัวชีว้ ัด

คำอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ

ว1๕201 คอมพิวเตอร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๕ เวลา 40 ช่วั โมง

***************************************************************************************

ศกึ ษาความหมาย บทบาทและประโยชนข์ องเทคโนโลยีสารสนเทศ ช่อื และหน้าทขี่ องอปุ กรณ์ องค์ประกอบ

ของคอมพิวเตอร์ ความหมาย ประโยชนแ์ ละโทษของอนิ เตอร์เน็ตและสบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ใช้โปรแกรม

Microsoft Excel เบ้ืองต้น จัดรูปแบบของข้อมลู บนเวริ ์กชีตใชส้ ตู รและฟงั กชนั นการคำนวณ อธบิ ายการใชง้ าน

ออกแบบและสรา้ ง E-book ด้วยโปรแกรม Flip Album

โดยสืบค้น รวบรวมข้อมลู จากแหลข่ ้อมูลใกลต้ วั และการอภิปรายเพอ่ื ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ตลอดจน

สามารถอธบิ ายส่งิ ท่ีเรียนรู้ สร้างสรรคผ์ ลงานท่ีจากการเรียน สามารถนำไปไปใช้ใหเ้ กิดประโยชนใ์ นชวี ติ ประจำวัน

และเหน็ คณุ คา่ ความสำคญั ของช้นิ งานที่สร้างข้ึน

ผลการเรยี นรู้
1. บอกความหมาย บทบาทและประโยชน์ของเทคโนโลยสี ารสนเทศได้
2. บอกชอื่ และหนา้ ทข่ี องอุปกรณ์ และองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ได้
3. บอกความหมาย ประโยชนแ์ ละโทษของอนิ เตอรเ์ น็ตและการสบค้นข้อมูลจากอนิ เตอรเน็ตได้
4. ใชง้ านโปรแกรม Microsoft Excel เบ้ืองต้นได้
5. จัดรูปแบบของข้อมูลบนเวิรก์ ชีสได้
6. ใชส้ ตู รและฟังกช์ นั ในการคำนวณได้
7. อธิบายการใชง้ าน ออกแบบและสร้าง E-book ด้วยโปรแกรม Flip Ablum ได้
8. ประยกุ ตเ์ พ่อื ใชง้ านได้และเห็นความสำคญั ของชิ้นงาน

รวมท้ังหมด 8 ผลการเรยี นรู้

คำอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน

ว16101 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 เวลา 120 ช่ัวโมง

**************************************************************************************

ระบุสารอาหารและบอกประโยชน์ของ สารอาหารแตล่ ะประเภทจากอาหารทต่ี นเอง รับประทาน บอก

แนวทางในการเลือกรบั ประทานอาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วน ในสดั ส่วนท่เี หมาะสม กบั เพศและวยั รวมทงั้

ความปลอดภัยต่อสุขภาพ ตระหนักถึงความสำคัญของสารอาหารโดยการเลอื กรับประทานอาหารที่มีสารอาหาร

ครบถว้ น ในสัดสว่ นทีเ่ หมาะสมกับเพศและวัยรวมท้งั ปลอดภยั ตอ่ สขุ ภาพ สร้างแบบจำลองระบบย่อยอาหารและ

บรรยายหน้าที่ของอวัยวะในระบบย่อยอาหาร รวมทัง้ อธิบายการยอ่ ยอาหารและการดูดซึมสารอาหาร ตระหนักถงึ

ความสำคัญของระบบย่อยอาหาร โดยการบอกแนวทางในการดูแลรกั ษาอวัยวะ ในระบบย่อยอาหารให้ทำงานเปน็

ปกติ อธบิ ายและเปรยี บเทยี บการแยกสารผสม โดยการหยิบออก การร่อน การใช้แม่เหล็กดงึ ดดู การรนิ ออก การ

กรองและการตกตะกอน โดยใช้หลักฐานเชงิ ประจักษ์ รวมท้ังระบุวิธีแกป้ ัญหาในชวี ติ ประจำวันเกย่ี วกับการแยก

สาร อธิบายการเกดิ และผลของแรงไฟฟา้ ซึ่งเกดิ จาก วตั ถทุ ่ีผ่านการขดั ถู โดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจักษ์ ระบุ

สว่ นประกอบและบรรยายหน้าทีข่ องแต่ละ สว่ นประกอบของวงจรไฟฟา้ อย่างงา่ ยจาก หลักฐานเชิงประจักษ์

เขียนแผนภาพและต่อวงจรไฟฟา้ อย่างงา่ ยออกแบบการทดลองและทดลองดว้ ยวิธีท่เี หมาะสมในการอธบิ ายวธิ กี าร

และผลของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนกุ รม ตระหนักถงึ ประโยชน์ของความรู้ของการต่อเซลลไ์ ฟฟ้าแบบอนกุ รมโดย

บอกประโยชน์และการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวนั ออกแบบการทดลองและทดลองดว้ ยวธิ ที ี่ เหมาะสมในการ

อธิบายการต่อหลอดไฟฟา้ แบบอนุกรมและแบบขนาน ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของการตอ่ หลอดไฟฟ้า

แบบอนกุ รมและแบบขนาน โดย บอกประโยชน์ ข้อจำกัดและการประยุกต์ใช้ ในชีวติ ประจำวนั อธบิ ายการเกดิ เงา

มืดเงามวั จากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ เขียนแผนภาพรังสขี องแสงแสดงการเกิด เงามดื เงามัวสรา้ งแบบจำลองที่

อธบิ ายการเกดิ และ เปรียบเทียบปรากฏการณส์ ุริยปุ ราคาและจันทรุปราคา อธบิ ายพัฒนาการของเทคโนโลยี

อวกาศและ ยกตวั อย่างการนำเทคโนโลยีอวกาศมาใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจำวนั จากข้อมลู ทรี่ วบรวมได้เปรยี บ

เทียบกระบวนการเกิดหินอคั นี หินตะกอนและหินแปรและอธิบายวฏั จักรหนิ จากแบบจำลองบรรยายและ

ยกตวั อย่างการใช้ประโยชน์ของหิน และแร่ในชวี ิตประจำวันจากข้อมลู ที่รวบรวมได้ สร้างแบบจำลองท่ีอธบิ ายการ

เกิดซากดึกดำบรรพ์ และคาดคะเนสภาพแวดล้อมในอดีตของ ซากดึกดำบรรพเ์ ปรยี บเทียบการเกดิ ลมบก ลมทะเล

และมรสุม รวมท้ังอธิบายผลท่ีมตี อ่ ส่งิ มชี ีวติ และสง่ิ แวดล้อมจากแบบจำลองอธบิ ายผลของมรสมุ ต่อการเกิดฤดูของ

ประเทศไทย จากข้อมลู ท่รี วบรวมได้ บรรยายลักษณะและผลกระทบของน้ำท่วม การกดั เซาะชายฝงั่ ดินถลม่

แผน่ ดินไหว สึนามิ ตระหนักถงึ ผลกระทบของภัยธรรมชาติและ ธรณีพิบตั ภิ ยั โดยนำเสนอแนวทางในการเฝ้าระวัง

และปฏิบัติตนใหป้ ลอดภยั จากภัยธรรมชาติและธรณพี บิ ตั ภิ ัยท่อี าจเกิดในท้องถนิ่ ของจงั หวดั สระแก้ว สรา้ ง

แบบจำลองท่ีอธบิ ายการเกิดปรากฏการณ์ เรือนกระจก และผลของปรากฏการณ์เรอื นกระจกตอ่ สิง่ มีชีวติ

ตระหนักถึงผลกระทบของปรากฏการณเ์ รือนกระจก โดยนำเสนอแนวทางการปฏบิ ัตติ นเพือ่ ลดกิจกรรมท่ีก่อให้เกิด

แก๊สเรอื นกระจกใช้เหตผุ ลเชิงตรรกะในการอธิบายและออกแบบวิธีการแก้ปญั หาทีพ่ บในชวี ติ ประจำวัน ออกแบบ

และเขียนโปรแกรมอย่างง่าย เพอื่ แก้ปัญหาในชวี ติ ประจำวนั ตรวจหาข้อผดิ พลาดของโปรแกรมและแก้ไขใช้

อินเทอรเ์ น็ตในการค้นหาข้อมูลอย่างมี ประสิทธภิ าพ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกันอยา่ งปลอดภยั เขา้ ใจ

สทิ ธแิ ละหนา้ ท่ีของตน เคารพในสทิ ธิของผู้อนื่ แจง้ ผ้เู กยี่ วข้องเม่อื พบข้อมลู หรือบุคคลที่ไมเ่ หมาะสม

โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสบื คน้ ขอ้ มลู บันทึก
จัดกลุ่มข้อมลู และการอภปิ ราย เพอ่ื ใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถนำเสนอ สอ่ื สารสงิ่ ที่เรยี นรู้
มคี วามสามารถในการตดั สนิ ใจ เหน็ คณุ คา่ ของการนำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจำวัน มีจติ วทิ ยาศาสตร์
มีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมทเ่ี หมาะสม

รหัสตวั ชี้วัด
ว 1.2 ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3 ,ป.6/4 , ป.6/5
ว 2.1 ป.6/1
ว 2.2 ป.6/1
ว 2.3 ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3 , ป.6/4 , ป.6/5 , ป.6/6 , ป.6/7 , ป.6/8
ว 3.1 ป.6/1 , ป.6/2
ว 3.2 ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3 , ป.6/4 , ป6/5 , ป.6/6 , ป.6/7 , ป.6/8 , ป.6/9
ว 4.2 ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3 , ป.6/4

รวมท้ังหมด 30 ตัวช้ีวัด

คำอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ

ว1๖201 คอมพิวเตอร์ กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๖ เวลา 40 ช่ัวโมง

***************************************************************************************

ศึกษาและฝกึ ทักษะทางดา้ นตารางการทำงานดว้ ยการพฒั นาเว็บเพจดว้ ยโปรแกรมสำเร็จรปู Macromedia

Dreamweaver 8 การประยุกต์การสรา้ งเวบ็ ไซต์ การจดั และการตกแต่งขอ้ ความ การแทรกรปู ภาพลงนเวบ็ เพจ การ

สรา้ งตาราง การสร้างการเชอื่ มโยงในแต่ละหนา้ เวบ็ เพจ เว็บไซต์ การแบง่ หน้าเวบ็ เพจเป็นส่วนๆ การสร้างฟอร์มเพื่อ

รองรบั ข้อมลจากผู้ใช้ การประยุกตใช้ การประยุกตส์ รา้ งเลเยอรน์ การตกแตง่ เอกสารเวบ็ เพจ การแทรกมัลติมเิ ดียสอ่

ต่างๆ ลงในเว็บเพจ การจัดการเวบ็ ไซต์ เชน่ การขอพน้ื ที่เพ่ือรองรับเวบ็ ไซตของเรา การขอขอใช้บรกิ ารเสริมต่างๆ

การนำเว็บไซต์ขนึ้ สอู่ นิ เตอรเ์ น็ตเพือ่ การตกแต่งเวบ็ เพจให้สวยงาม

เพ่ือให้ผเู้ รียนศกึ ษา กระบวนการสรา้ งความคดิ รวบยอด กระบวนการฝกึ ปฏิบตั ิ กระบวนการออกแบบ

กระบวนการจดั การ กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการคิดวเิ คราะห์ มนี สิ ัยรกั การทำงานรกั การค้นคว้า มคี วาม

รบั ผดิ ชอบ ทำงานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุขมสี มาธิในการทำงานจนสามารถนำทกั ษะการปฏบิ ตั งิ านไปใชใ้ น

ชีวิตประจำวนั ได้

ผลการเรียนรู้
1. บอกความหมายของโปรแกรม ตดิ ต้ังโปรแกรม เข้าสรู่ ะบบ เขา้ ส่โู ปรแกรม และแนะนำส่วนประกอบของ
โปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8
2. บอกวิธกี ารกำหนดไฟลแ์ ละโฟลเดอร์ภายในเว็บไซต์สร้างหน้าเวบ็ เพจ็ และกำหนดคุณสมบตั ิใหเ้ ว็บเพจ็
3. ปฏบิ ตั ิการเลอกรปู แบบตวั อักษร(Font)ปรบั ขนาดและเปลี่ยนสตี วั อักษร
4. ปฏิบตั ิจดั การเก่ียวกับรูปภาพได้ จดั วางภาพประกอบข้อความและใส่รปู ภาพเปน็ ฉากหลงั
5. บอกวธิ กี ารสรา้ งตารางกำหนดคุณสมบัติของตาราง
6. สามารถบอกสว่ นประกอบของไฮเปอรลิงก์ ปฏบิ ัติการสร้างไฮเปอรล์ งิ ก์เชื่อมโยงระหวา่ งเว็บ
7. ปฏบิ ัติการใชภ้ าพเคล่ือนไหว การคน้ ข้อมลู การสรา้ งเมนู Pop up
8. สรา้ งเว็บไซต์ของตนเอง

รวมทั้งหมด 8 ผลการเรียนรู้

โครงสร้างรายวชิ าวิทยาศาสตร์

ว 11101 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 เวลา 80 ช่ัวโมง

ลำดับท่ี หนว่ ยการ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา น้ำหนกั

เรยี นรู้ ตัวชวี้ ัด (ชัว่ โมง) คะแนน

๑ สิ่งต่าง ๆ ว ๑.๑ (ป.๑/๑, ป.๑/๒) กระบวนการวทิ ยาศาสตร์ เป็นกระบวนการ ๑๕ ๑๓
รอบตัวเรา ทผ่ี ้เู รียน ใชค้ ้นคว้าหาองคค์ วามรู้ ทกั ษะ ๑๐
ว ๑.๒ (ป.๑/๑) กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ ทักษะ

สำคัญประการหนึ่งของกระบวนการ

วิทยาศาสตร์ ทตี่ ้องพฒั นาผู้เรยี นใหม้ คี วามรู้

ความเขา้ ใจ ตระหนกั เห็นความสำคญั และ

มคี วามชำนาญเพอื่ สามารถคน้ หาความรู้ด้วย

ตนเองได้ การแสวงหาความรู้ ความเขา้ ใจ

ธรรมชาติของมนษุ ย์นั้น จะเกดิ จากการ

สงั เกตธรรมชาตแิ ละปรากฏการณท์ าง

ธรรมชาติ แลว้ รวบรวมข้อมูลผา่ นทาง

ประสาทสัมผสั นำข้อมูลท่ีได้ไปจัดจำแนก

และคิดพิจารณาเหตแุ ละผล เกิดเป็น

ความคดิ และความเชอ่ื นำความคดิ และความ

เช่อื ไปปฏิบัติกอ่ ใหเ้ กดิ การสังเกต การ

รวบรวมข้อมูล และการคิดเป็นวฏั จกั รอย่าง

นเ้ี รื่อย ๆ

๒ ตัวเรา สัตว์ ว ๑.๒ (ป.๑/๑, ๑/๒) - อวยั วะภายนอกของมนษุ ย์มีลกั ษณะและ ๑๐

และพชื รอบตวั หน้าทแ่ี ตกตา่ งกนั อวัยวะเหล่าน้มี ี

ความสำคัญต่อการดำรงชวี ติ จึงตอ้ งดแู ล

รักษาและปอ้ งกนั ไม่ใหอ้ วยั วะเหล่าน้ันไดร้ ับ

อันตราย

- พืชและสัตวม์ ีลกั ษณะของส่วนต่างๆ

ภายนอกทแ่ี ตกต่างกนั ไป โดยโครงสรา้ งแต่

ละส่วนของพชื และสตั ว์ทำหนา้ ทแ่ี ตกตา่ งกัน

เพ่ือให้เหมาะสมตอ่ การดำรงชีวติ

๓ สิง่ ตา่ งๆ ว ๒.๑ (ป.๑/๑, ๑/๒) - วัสดุท่ใี ช้ทำของเล่นของใชใ้ น 1๔ ๑๒

รอบตัวเรา ว ๒.๓ (ป.๑/๑) ชวี ติ ประจำวนั อาจมรี ูปรา่ ง สี

ขนาด พนื้ ผิว ความแขง็

เหมือนกนั หรือแตกต่างกนั โดย

ลกั ษณะหรือสมบัติต่างๆ ของวัสดุ

สามารถนำมาใชเ้ ป็นเกณฑใ์ น

การจำแนกวสั ดุที่ใชท้ ำของเล่น

ของใชใ้ นชวี ิตประจำวัน

ทดสอบกลางปี ๑ 1๕

๔ โลกและท้องฟ้า ว ๓.๑ (ป.๑/๑, ป.๑/๒) ใ น ท้ อ ง ฟ้ า มี ด ว ง อ า ทิ ต ย์ ๑๙ ๒๐

ของเรา ว ๓.๒ (ป.๑/๑) ดวงจันทร์และดวงดาว โดยจะ

ม อ ง เห็ น ท้ อ ง ฟ้ า มี ลั ก ษ ณ ะ เป็ น ๕

ครึง่ ทรงกลมครอบแผน่ ดนิ ไว้

๕ วิทยาการ ว ๔.๒ (ป.๑/๔,๑/๕) การใช้งานอุปกรณเ์ ทคโนโลยี ๗

คำนวณ เบื้องตน้ เชน่ การใชเ้ มาส์

(การใช้งาน คีย์บอร์ด จอสัมผสั ซีพียู การรู้จกั

เทคโนโลยี หน้าท่ขี องอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ทำให้

เบอื้ งตน้ ) เราสามารถใช้งานไดอ้ ย่างถูกต้อง

เหมาะสมกับลกั ษณะของอุปกรณ์

การเปดิ -ปิดอุปกรณเ์ ทคโนโลยี

อยา่ งถูกต้อง ทำให้สามารถใช้งาน

อุปกรณ์เทคโนโลยเี หล่านี้ เพื่อ

อำนวยความสะดวก สร้าง

ประโยชนใ์ นชวี ิตประจำวันและ

การเรียนได้

๖ วิทยาการ ว ๔.๒ (ป.๑/๑,๑/๒) ปญั หาแตล่ ะปัญหามีวิธกี ารแก้ท่ี ๗

คำนวณ แตกตา่ งกนั การลองผดิ ลองถูก

(การแกป้ ญั หา และการเปรยี บเทยี บเปน็ วธิ ีการ

อย่างเป็น หนึง่ ทนี่ ำไปสู่การแกป้ ัญหา

ขัน้ ตอน)

๗ การเขยี น ว ๔.๒ (ป.๑/๓) การเขียนโปรแกรมเป็นการสร้าง ๖

วิทยาการ ลำดบั คำส่ังใหค้ อมพวิ เตอร์ทำงาน

คำนวณ การเขียนโปรแกรมเพื่อสง่ั ให้ตัว

(โปรแกรม ละครย้ายตำแหน่ง ย่อขยาย

เบ้อื งตน้ ) ขนาด หรือเปลยี่ นรปู ร่างทำให้

เขา้ ใจระบบการทำงานของ

คอมพวิ เตอร์และการเขยี น

โปรแกรม การเขียนโปรแกรมโดย

ใชบ้ ัตรคำสงั่ และใช้สือ่ ในเวบ็ ไซต์

ทำให้เข้าใจระบบการทำงานของ

คอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรม

การวิเคราะหป์ ัญหา และการ

วางแผนแกป้ ัญหา สามารถ

แกป้ ัญหาท่ีพบในชวี ติ จริงอย่าง ๑ ๑๕
เป็นขัน้ ตอนและเป็นระบบ และ ๘๐ ๑๐๐
สามารถใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
และการส่ือสารในการเรยี นรู้ การ
ทำงาน และการแก้ปญั หาไดอ้ ย่าง
มีประสทิ ธภิ าพ
ทดสอบปลายปี
รวมตลอดปีการศกึ ษา

อตั ราสว่ นคะแนน
คะแนนระหว่างปีการศึกษา : สอบปลายปกี ารศกึ ษา = ๗๐ : ๓๐

โครงสร้างรายวชิ าวิทยาศาสตร์

ว 1๒101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ เวลา 80 ชั่วโมง

ลำดบั ช่อื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั / เวลา น้ำหนกั
เรียนรู้ เรยี นร/ู้ ตัวชว้ี ัด ความคดิ รวบยอด ชัว่ โมง คะแนน

1 เรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ - นำเข้าสบู่ ทเรยี น ๒๕

- เข้าใจกระบวนการและความสำคญั ของการ

ถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรมสารพนั ธกุ รรม

การเปล่ยี นแปลงทางพนั ธุกรรมทีม่ ผี ลตอ่

สงิ่ มีชีวิตความหลากหลายทางชีวภาพและ

ววิ ฒั นาการของส่งิ มชี ีวิตรวมท้ังนำความรู้ไปใช้

ประโยชน์

2 สิ่งรอบตัวเรา ว ๓.๒ ป.๒/๑ - สง่ิ ที่อยู่รอบตัวเรามีทงั้ ทเี่ ป็นสิ่งมีชีวติ และ ๑๔ ๑๓

สง่ิ ไม่มีชีวติ สง่ิ มชี วี ิตตอ้ งการอาหาร มีการ

หายใจ

เจริญเตบิ โต ขบั ถา่ ย เคลื่อนไหว ตอบสนองต่อ

สิง่ เร้า และสืบพันธไุ์ ดล้ ูกทีม่ ีลักษณะคล้ายคลึง

กบั พ่อแม่ ส่วนส่ิงไม่มชี ีวติ จะไมม่ ลี กั ษณะ

ดังกลา่ ว

- เขา้ ใจสมบตั ขิ องส่ิงมชี วี ติ หน่วยพ้นื ฐานของ

สิ่งมีชวี ติ การลำเลยี งสารเขา้ และออกจากเซลล์

ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าทีข่ อง

3 ชวี ติ พชื ว ๑.๒ ป.๒/๑, ระบบตา่ ง ๆของสตั ว์และมนุษยท์ ีท่ ำงาน ๑๕ ๑๒
ป.๒/๒ สมั พันธ์กัน ความสัมพนั ธข์ องโครงสรา้ งและ

หนา้ ทขี่ องอวัยวะตา่ ง ๆ ของพชื ทที่ ำงาน

สมั พนั ธ์กนั รวมท้งั นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

- พืชตอ้ งการน้ํา แสง เพื่อการเจรญิ เติบโต

- เขา้ ใจสมบัติของสง่ิ มีชวี ิต หนว่ ยพ้ืนฐานของ

สิ่งมชี วี ติ การลำเลียงสารเขา้ และออกจากเซลล์

ความสมั พนั ธข์ องโครงสร้างและหน้าที่ของ

ระบบต่าง ๆของสตั วแ์ ละมนุษย์ท่ที ำงาน

4 การสบื พันธ์ขุ องพชื ว ๑.๒ ป.๒/๓ สมั พันธก์ ัน ความสมั พนั ธข์ องโครงสร้างและ ๘ ๕

หนา้ ที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพชื ท่ที ำงาน

สัมพันธก์ นั รวมทัง้ นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

- สร้างแบบจำลองที่บรรยายวัฏจกั รชวี ิตของ

พืชดอก

สรุปทบทวนภาพรวม (สอบกลางปี) ๑ ๑๕

5 การเปลี่ยนแปลง ว 2.2(ป.๓/๑, - เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวติ ประจำวัน ผล ๙ ๑๐
ของวัสดุ ป.๓/๒,ป.๓/๓, ของแรงทกี่ ระทำต่อวตั ถุ ลกั ษณะการเคล่ือนท่ี

ป.๓/๔) แบบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมทงั้ นำความรู้ไปใช้

ประโยชน์

- วสั ดแุ ต่ละชนิดมสี มบตั ิการดดู ซับนา้ํ แตกต่าง

กนั

จึงนำไปทำวัตถเุ พื่อใช้ประโยชนไ์ ดแ้ ตกตา่ งกนั

เชน่ ใช้ผา้ ทดี่ ูดซับน้ําไดม้ ากทำผ้าเช็ดตวั

ใชพ้ ลาสตกิ ซึ่งไม่ดดู ซบั น้ําทำร่ม

- วัสดุบางอยา่ งสามารถนำมาผสมกันซง่ึ ทำให้

ไดส้ มบตั ิท่ีเหมาะสม เพ่ือนำไปใช้ประโยชน์

ตามต้องการ เช่น แป้งผสมน้าํ ตาลและกะทิ

ใชท้ ำขนมไทย ปูนปลาสเตอรผ์ สมเยอื่ กระดาษ

ใชท้ ำกระปุกออมสนิ ปนู ผสมหนิ ทราย และนา้ํ

ใช้ทำคอนกรตี

- การนำวสั ดมุ าทำเป็นวัตถใุ นการใช้งานตาม

วตั ถปุ ระสงค์ขนึ้ อยู่กบั สมบัติของวสั ดุ วัสดทุ ่ี

ใช้แล้วอาจนำมาทำเปน็ จรวดกระดาษ ดอกไม้

ประดิษฐ์ถุงใส่ของ

- เขา้ ใจความหมายของพลงั งาน การ

เปลย่ี นแปลงและการถา่ ยโอนพลงั งาน

ปฏสิ ัมพันธ์ระหวา่ ง

สสารและพลังงาน พลงั งานในชวี ิตประจำวนั

ธรรมชาติของคลน่ื ปรากฏการณ์ทเ่ี กยี่ วข้องกับ

เสยี ง แสง และคลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้งนำ

ความรู้ไปใช้ประโยชน์

- แสงเคลื่อนที่จากแหลง่ กำเนดิ แสงทกุ ทศิ ทาง

6 แสงและการ ว ๒.๓ ป.๒/๑, เป็นแนวตรง เม่อื มีแสงจากวัตถุมาเข้าตาจะ ๘ ๑๐
มองเห็น ทำใหม้ องเห็นวัตถุนั้น การมองเห็นวัตถุทเี่ ปน็
ป.๒/๒ แหลง่ กำเนิดแสง แสงจากวตั ถุนนั้ จะเขา้ สู่ตา

โดยตรง สว่ นการมองเหน็ วตั ถุทไ่ี มใ่ ชแ่ หลง่

กำเนดิ แสง ต้องมแี สงจากแหล่งกำเนิดแสงไป

กระทบวัตถุแล้วสะท้อนเข้าตา ถ้ามีแสงสวา่ ง

มาก ๆ เข้าส่ตู า อาจเกดิ อนั ตรายต่อตาได้ จึงตอ้ ง

หลกี เล่ยี งการมองหรอื ใช้แผ่นกรองแสงที่มี

คุณภาพเม่อื จำเป็น และต้องจดั ความสว่างให้

เหมาะสมกบั การทำกิจกรรมตา่ ง ๆ เชน่ การอา่ น

หนงั สือ การดจู อโทรทัศน์ การใช้โทรศัพท์

เคลอ่ื นท่ีและแทบ็ เลต็

ลำดบั ชอื่ หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด เวลา น้ำหนัก
เรยี นรู้ เรียนรู้/ตวั ช้ีวัด ชว่ั โมง คะแนน

7 ดินในทอ้ งถ่นิ ของ ว ๓.๒ ป.๒/๑, - เขา้ ใจองค์ประกอบและความสัมพนั ธ์ของ ๒๕

เรา ป.๒/๒ ระบบโลก กระบวนการเปล่ยี นแปลงภายในโลก

และ

บนผิวโลก ธรณพี บิ ตั ภิ ัย กระบวนการ

เปลยี่ นแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก

รวมท้ังผลตอ่

ส่งิ มชี วี ิตและสงิ่ แวดลอ้ ม

- ดินประกอบดว้ ยเศษหิน ซากพชื ซากสตั ว์

ผสมอย่ใู นเนือ้ ดนิ มอี ากาศและนํา้ แทรกอยู่

ตามช่องว่างในเนื้อดิน ดินจำแนกเป็น ดินรว่ น

ดินเหนียวและดนิ ทราย ตามลักษณะเนื้อดิน

และการจบั ตัวของดิน ซึ่งมผี ลต่อการอุ้มนาํ้

ทแี่ ตกต่างกนั

- ดนิ แตล่ ะชนดิ นำไปใช้ประโยชนไ์ ด้แตกตา่ งกัน

ตามลักษณะและสมบตั ิของดิน

- เข้าใจและใช้แนวคิดเชงิ คำนวณในการ

๘ วิทยาการคำนวณ ว ๔.2 (ป.๒/๑, แก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจรงิ อย่างเปน็ ข้นั ตอนและ ๒๐ ๑๐
ป.๒/๒,ป.๒/๓, เปน็ ระบบ ใช้
ป.๒/4) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในการ ๑ ๑๕
เรยี นรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ๘๐ 100

ประสทิ ธภิ าพ รเู้ ท่าทัน และมีจรยิ ธรรม

สรุปทบทวนภาพรวม (สอบปลายปี)

รวม

หมายเหตุ อตั ราสว่ นคะแนนระหวา่ งเรียน : ปลายปี = ๗๐ : ๓๐

โครงสร้างรายวชิ าวิทยาศาสตร์

ว 1๓101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ เวลา 80 ช่ัวโมง

ลำดับ ช่อื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั / เวลา น้ำหนกั
เรยี นรู้ เรียนรู/้ ตัวชีว้ ดั ความคิดรวบยอด ช่ัวโมง คะแนน

1 เรยี นรู้ - นำเขา้ สบู่ ทเรียน 45
วทิ ยาศาสตร์

- เข้าใจสมบัตขิ องสงิ่ มีชวี ติ หน่วยพื้นฐานของ

สิ่งมีชวี ติ การลำเลยี งสารเขา้ และออกจากเซลล์

2 เรยี นรสู้ งิ่ ตา่ งๆ ว ๑.๒(ป.๓/ ความสัมพนั ธข์ องโครงสร้างและหน้าที่ของ 1๐ ๗
รอบตัวเรา ๑,ป.๓/๒,ป.๓/ ระบบต่าง ๆของสัตวแ์ ละมนุษย์ทที่ ำงาน
สมั พนั ธ์กนั ความสมั พนั ธ์ของโครงสร้างและ
๓,ป.๓/๔)

หนา้ ทีข่ องอวัยวะต่าง ๆ ของพืชท่ที ำงาน

สัมพนั ธก์ ัน รวมทัง้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

- เข้าใจสมบัติของสงิ่ มชี วี ิต หนว่ ยพ้นื ฐานของ

ส่ิงมชี วี ติ การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์

ว ๑.๒(ป.๓/ ความสัมพนั ธข์ องโครงสรา้ งและหน้าทขี่ อง

3 ชวี ิตสัตว์ ๑,ป.๓/๒,ป.๓/ ระบบต่าง ๆของสัตว์และมนุษยท์ ่ีทำงาน ๑๐ ๘

๓,ป.๓/๔) สมั พันธก์ ัน ความสมั พนั ธ์ของโครงสร้างและ

หนา้ ท่ีของอวยั วะตา่ ง ๆ ของพชื ที่ทำงาน

สมั พันธ์กัน รวมทง้ั นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

- เขา้ ใจสมบัตขิ องสสารองค์ประกอบของสสาร

ความสัมพันธ์ระหว่างสมบตั ิของสสารกบั

4 วตั ถุรอบตัว ว 2.1(ป.๓/ โครงสร้างและแรงยึดเหนยี่ วระหว่างอนภุ าค ๕ ๕
เรา ๑,ป.๓/2) หลักและธรรมชาตขิ องการเปลยี่ นแปลงสถานะ

ของสสารการเกิดสารละลายและการ

เกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี

5 แรงกับการ ว 2.2(ป.๓/ - เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวนั ผล ๑๐ 10
เคลื่อนที่ของ ๑,ป.๓/๒,ป.๓/ ของแรงที่กระทำตอ่ วัตถุลักษณะการเคล่อื นท่ี

วตั ถุ ๓,ป.๓/๔) แบบต่างๆของวตั ถรุ วมทง้ั นำความร้ไู ปใช้
ประโยชน์

สรปุ ทบทวนภาพรวม (สอบกลางป)ี 1 ๑๕

ลำดับ ช่ือหน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ/ เวลา นำ้ หนัก
เรียนรู้ เรยี นรู้/ตวั ช้วี ดั ความคดิ รวบยอด ชว่ั โมง คะแนน

6 แหลง่ พลังงาน ว 2.3(ป.๓/ เข้าใจความหมายของพลังงาน การ ๙ ๑๐
และไฟฟ้า ๑,ป.๓/๒,ป.๓/ เปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลงั งาน

๓) ปฏสิ มั พันธ์ระหวา่ งสสารและพลังงาน พลังงาน

ในชีวิตประจำวนั ธรรมชาตขิ องคล่ืน

ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และ

คลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟ้ารวมทั้งนำความร้ไู ปใช้

ประโยชน์

- เข้าใจองคป์ ระกอบ ลกั ษณะ กระบวนการ

การเคล่อื นที่ ว 3.1(ป.๓/ เกิด และวิวฒั นาการของเอกภพกาแล็กซี ดาว

7 ของดวง ๑,ป.๓/๒,ป.๓/ ฤกษ์ และระบบสรุ ยิ ะ รวมท้ังปฏสิ มั พนั ธ์ ๕ ๕

อาทิตย์ ๓) ภายในระบบสรุ ยิ ะที่สง่ ผลต่อส่งิ มีชวี ิต และการ ๕

ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีอวกาศ ๑๕
๑๕
- เขา้ ใจองค์ประกอบและความสัมพนั ธ์ของ 100

๘ อากาศรอบตวั ว 3.2(ป.๓/ ระบบโลก กระบวนการเปลยี่ นแปลงภายใน ๕
เรา ๑,ป.๓/๒,ป.๓/ โลกและบนผวิ โลก ธรณพี บิ ตั ิภยั กระบวนการ
เปลีย่ นแปลงลมฟา้ อากาศและภูมิอากาศโลก
๓,ป.๓/๔)

รวมท้งั ผลตอ่ สง่ิ มชี ีวติ และสงิ่ แวดล้อม

- เขา้ ใจและใชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณในการ

แก้ปัญหาที่พบในชีวติ จรงิ อย่างเปน็ ขน้ั ตอน

๙ วิทยาการ ว ๔.2(ป.๓/3-ป และเป็นระบบ ใช้ ๒๐

คำนวณ 3/5) เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารในการ

เรียนรู้ การทำงาน และการแกป้ ัญหาได้อยา่ งมี

ประสิทธิภาพ รู้เทา่ ทนั และมีจรยิ ธรรม

สรุปทบทวนภาพรวม (สอบปลายปี) ๑

รวม ๘๐

หมายเหตุ อตั ราสว่ นคะแนนระหว่างเรียน : ปลายปี = ๗๐ : ๓๐

โครงสร้างรายวชิ าวิทยาศาสตร์

ว 1๔101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ประถมศึกษาปีท่ี ๔ เวลา ๑๒0 ช่ัวโมง

ลำดบั ชอื่ หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ/ เวลา นำ้ หนกั
เรียนรู้ เรยี นรู้/ตวั ชว้ี ัด ความคดิ รวบยอด ชั่วโมง คะแนน

1 เรยี นรู้ - - 45
วทิ ยาศาสตร์

เขา้ ใจกระบวนการและความสำคญั ของการ

ถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม สาร

ความ ว ๑.3 (ป.๔/๑,ป. พันธกุ รรม 18 15
2 หลากหลาย ๔/๒,ป.๔/๓,ป.๔/ การเปลีย่ นแปลงทางพนั ธกุ รรมท่ีมีผลต่อ

ส่ิงมชี ีวิต 4) ส่งิ มีชวี ิต ความหลากหลายทางชีวภาพและ

ววิ ฒั นาการของสง่ิ มีชีวิต รวมท้งั นำความรู้ไป

ใช้ประโยชน์

- เขา้ ใจสมบัติของสง่ิ มีชวี ิต หน่วยพน้ื ฐานของ

สง่ิ มีชวี ิต การลำเลียงสารเข้าและออกจาก

เซลล์

ความสมั พนั ธข์ องโครงสรา้ ง และหนา้ ท่ขี อง

ระบบต่าง ๆ ของสตั ว์และมนุษยท์ ี่ทำงาน

สมั พันธ์กนั ความสัมพนั ธข์ องโครงสรา้ ง และ

3 พชื และการ ว ๑.2 (ป.4/1) หนา้ ทีข่ องอวัยวะตา่ ง ๆ ของพืชทท่ี ำงำน 12 5
จำแนกประเภท ว 1.3 (ป.4/2) สัมพันธก์ นั รวมท้งั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์
ของพืช - เขา้ ใจกระบวนการและความสำคัญของการ

ถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม สาร

พันธุกรรม

การเปลย่ี นแปลงทางพันธกุ รรมทมี่ ผี ลตอ่

ส่ิงมชี วี ติ ความหลากหลายทางชีวภาพและ

วิวัฒนาการของสิง่ มชี วี ิต รวมทง้ั นำความรู้ไป

ใชป้ ระโยชน์

เขา้ ใจกระบวนการและความสำคัญของการ

ถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม สาร

4 สัตว์และการ ว 1.3 (ป.4/3,ป. พันธกุ รรม 12 5
จำแนกประเภท ๔/๔) การเปลย่ี นแปลงทางพันธุกรรมท่มี ผี ลตอ่
ของสัตว์ ส่ิงมชี ีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและ

วิวฒั นาการของสิ่งมชี ีวติ รวมท้งั นำความรู้ไป

ใชป้ ระโยชน์

เขา้ ใจสมบัติของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร

สมบัตขิ องวสั ดุ ว 2.๑ (ป.๔/๑,ป. ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสมบตั ิของสสารกับ 10
และสสาร ๔/๒)
๕ โครงสรา้ งและแรงยดึ เหนย่ี วระหว่างอนุภาค 14
หลกั และธรรมชาตขิ องการเปลย่ี นแปลง

สถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการ

เกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี 1 10
สรุปทบทวนภาพรวม (สอบกลางป)ี

เข้าใจธรรมชาตขิ องแรงในชีวติ ประจำวนั ผล

๖ แรงและการ ว 2.2 (ป.๔/๑, ของแรงทก่ี ระทำตอ่ วตั ถุ ลักษณะการ 14 5
เคล่ือนท่ี ป.๔/3) เคลือ่ นท่ี แบบต่าง ๆ ของวตั ถุ รวมท้งั นำ 5
5
ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ 5

เขา้ ใจความหมายของพลังงาน การ

เปลย่ี นแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน

7 แสงและ ว 2.3 (ป.๔/๑) ปฏิสัมพันธร์ ะหว่าง 16
ตัวกลางของ สสารและพลังงาน พลังงานในชีวติ ประจำวัน
แสง ธรรมชาตขิ องคลน่ื ปรากฏการณ์ท่ีเก่ียวข้อง
กบั

เสยี ง แสง และคลนื่ แม่เหล็กไฟฟา้ รวมท้ังนำ

ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

เขา้ ใจองคป์ ระกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด

8 ระบบสรุ ิยะและ ว 3.1 (ป.๔/๑,ป. และววิ ัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาว 18
ปรากฏการณ์ ๔/๒,ป.๔/๓) ฤกษ์
ดาราศาสตร์ และระบบสรุ ิยะ รวมทง้ั ปฏิสัมพันธ์ภายใน
ระบบสรุ ิยะท่ีสง่ ผลต่อสง่ิ มชี วี ติ และการ

ประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีอวกาศ

เขา้ ใจและใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณในการ

9 วิทยาการ ว 4.2 ป.๕/๑,ป. แก้ปัญหาที่พบในชีวติ จริงอย่างเปน็ ข้ันตอน 10
คำนวณ ๕/๒,ป.๕/๓,ป.๕/ และเป็นระบบ ใช้
๔) เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารในการ
เรียนรู้ การทำงาน และการแกป้ ัญหาได้อยา่ ง

มปี ระสทิ ธิภาพ รเู้ ทา่ ทัน และมีจริยธรรม

สรปุ ทบทวนภาพรวม (สอบปลายปี) 1 30

รวม 120 100

หมายเหตุ อัตราส่วนคะแนนระหว่างเรียน : ปลายปี = ๗๐ : ๓๐

โครงสรา้ งรายวิชาวิทยาศาสตร์

ว 1๕101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ประถมศึกษาปีท่ี ๕ เวลา ๑๒0 ช่ัวโมง

ลำดบั ช่อื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ/ เวลา น้ำหนัก
เรียนรู้ เรยี นร/ู้ ตัวช้วี ดั ความคดิ รวบยอด ชัว่ โมง คะแนน

1 เรยี นรู้ - - 45
วทิ ยาศาสตร์

เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ

ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสงิ่ ไม่มีชวี ิตกับ

สิ่งมีชีวติ และ

ความสัมพนั ธร์ ะหว่างส่งิ มีชวี ติ กับสงิ่ มีชีวิต

2 สิ่งมีชีวติ กับ ว ๑.๑ (ป.๕/๑,ป. ตา่ ง ๆ ในระบบนเิ วศ การถ่ายทอดพลังงาน 18 10
สิ่งแวดลอ้ ม ๕/๒,ป.๕/๓,ป.๕/ การเปลีย่ นแปลงแทนทใ่ี นระบบนเิ วศ
4) ความหมายของประชากร ปัญหาและ

ผลกระทบที่มตี ่อทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ

ส่ิงแวดล้อม แนวทางในการอนรุ กั ษ์

ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหา

ส่งิ แวดล้อมรวมท้ังนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

เขา้ ใจกระบวนการและความสำคัญของการ

ถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม สาร

3 ลกั ษณะทาง ว ๑.3 (ป.๕/5,ป. พนั ธุกรรม 10 5
พนั ธุกรรมของ ๕/6) การเปลย่ี นแปลงทางพนั ธุกรรมที่มีผลตอ่
สง่ิ มชี ีวติ สิ่งมีชวี ติ ความหลากหลายทางชีวภาพและ

ววิ ัฒนาการของสง่ิ มชี ีวติ รวมท้งั นำความรู้

ไปใช้ประโยชน์

เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของ

สสาร ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสมบตั ขิ องสสาร

4 สารใน ว 2.1 (ป.๕/๑,ป. กับ 16 10
ชวี ิตประจำวนั ๕/๒,ป.๕/3,ป.๕/ โครงสร้างและแรงยดึ เหนีย่ วระหว่างอนุภาค
4) หลกั และธรรมชาตขิ องการเปลยี่ นแปลง

สถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และ

การเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี

๕ แรงใน ว 2.2 (ป.๕/๑,ป. เข้าใจธรรมชาตขิ องแรงในชีวติ ประจำวนั 14 10
ชีวิตประจำวัน ๕/๒,ป.๕/๓,ป.๕/ ผลของแรงท่ีกระทำต่อวตั ถุ ลักษณะการ
๔, เคล่อื นที่
ป.๕/5) แบบตา่ ง ๆ ของวตั ถุ รวมท้ังนำความรไู้ ปใช้
ประโยชน์

สรปุ ทบทวนภาพรวม (สอบกลางปี) 1 10

ว 2.3 (ป.๕/1,ป. เข้าใจความหมายของพลังงาน การ

๖ เสยี งและการได้ ๕/2,ป.๕/3,ป.๕/ เปล่ยี นแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน 12 5
ยิน 4, ปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหวา่ ง

ป.๕/5) สสารและพลงั งาน พลงั งานใน

ชวี ิตประจำวัน ธรรมชาติของคลนื่

ปรากฏการณ์ท่ีเกีย่ วข้องกับ

เสยี ง แสง และคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมทั้ง

นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

เขา้ ใจองค์ประกอบ ลกั ษณะ กระบวนการ

ว 3.1 (ป.๕/2,ป. เกิด และววิ ัฒนาการของเอกภพ กาแลก็ ซี

7 ดาราศาสตรแ์ ละ ๕/๒,ป.๕/๓,ป.๕/ ดาวฤกษ์ 16 5
18
อวกาศ ๔) และระบบสรุ ิยะ รวมท้งั ปฏิสัมพันธภ์ ายใน 10 5

ระบบสรุ ิยะท่สี ง่ ผลต่อสง่ิ มีชีวิตและการ 5
30
ประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีอวกาศ 100

เข้าใจองคป์ ระกอบและความสมั พันธ์ของ

8 รจู้ กั น้ำและวัฏ ว 3.๒ (ป.๕/1,ป. ระบบโลก กระบวนการเปลีย่ นแปลงภายใน
จักรของน้ำ ๕/2,ป.๕/3,ป.๕/ โลก และ
4, บนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการ
ป.๕/5) เปลี่ยนแปลงลมฟา้ อากาศและภูมิอากาศ
โลก รวมทง้ั ผลต่อ

ส่ิงมีชีวิตและสิง่ แวดล้อม

เขา้ ใจและใช้แนวคดิ เชงิ คำนวณในการ

แก้ปญั หาที่พบในชีวิตจริงอย่างเปน็ ขัน้ ตอน

9 วิทยาการคำนวณ ว 4.2 ป.๕/๑,ป.๕/ และเป็นระบบ ใช้
๒,ป.๕/๓,ป.๕/๔) เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการ
เรยี นรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้

อยา่ งมีประสิทธิภาพ รเู้ ท่าทนั และมี

จริยธรรม

สรปุ ทบทวนภาพรวม (สอบปลายปี) 1

รวม 120

หมายเหตุ อัตราสว่ นคะแนนระหว่างเรียน : ปลายปี = ๗๐ : ๓๐

โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์

ว 1๖101 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ประถมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๑๒0 ชั่วโมง

ลำดับ ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ/ เวลา นำ้ หนกั
เรียนรู้ เรยี นรู้/ตวั ชว้ี ดั ความคดิ รวบยอด ชวั่ โมง คะแนน

1 เรียนรู้วิทยาศาสตร์ - - 4 5
๒๒ 10
เข้าใจสมบัติของสง่ิ มชี วี ิต หนว่ ยพืน้ ฐานของ
14 10
2 ว 1.2 (ป.๖/ สง่ิ มีชีวติ การลำเลียงสารเขา้ และออกจาก
อาหารและการย่อย ๑,ป.๖/๒,ป.๖/ เซลล์ ความสมั พนั ธ์ของโครงสรา้ ง และหน้าที่ 28 15
อาหาร ๓,ป.๖/๔,ป.๖/ ของระบบต่าง ๆ ของสตั วแ์ ละมนุษย์ท่ีทำงาน
สัมพันธ์กนั ความสัมพนั ธ์ของโครงสรา้ ง และ 1 10
๕) หนา้ ทข่ี องอวัยวะต่าง ๆ ของพชื ทที่ ำงำน 12 5
28 10
สัมพันธก์ ัน รวมทั้งนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

เข้าใจสมบตั ิของสสาร องค์ประกอบของสสาร

ความสมั พันธร์ ะหวา่ งสมบตั ิของสสารกับ

3 การแยกสารใน ว ๒.1 (ป.๖/๑) โครงสรา้ งและแรงยึดเหน่ยี วระหว่างอนภุ าค
ชีวติ ประจำวัน หลักและธรรมชาติของการเปลย่ี นแปลง

สถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการ

เกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี

- เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน

ผลของแรงทกี่ ระทำต่อวตั ถุ ลักษณะการ

เคล่ือนที่ แบบตา่ ง ๆ ของวัตถุ รวมทง้ั นำ

ความรู้ไปใช้ประโยชน์

4 ไฟฟ้าน่ารู้ ว 2.2 (ป.๖/๑) - เขา้ ใจความหมายของพลงั งาน การ
ว 2.3 (ป.๖/๑ เปลีย่ นแปลงและการถ่ายโอนพลงั งาน
– ป.๖/๘) ปฏิสัมพนั ธร์ ะหว่าง
สสารและพลังงาน พลงั งานในชีวติ ประจำวัน

ธรรมชาติของคลน่ื ปรากฏการณท์ ่ีเกีย่ วข้อง

กับ

เสยี ง แสง และคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า รวมท้ังนำ

ความรู้ไปใช้ประโยชน์

สรปุ ทบทวนภาพรวม (สอบกลางปี)

เขา้ ใจองคป์ ระกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด

5 ดาราศาสตร์และ ว 3.1 (ป.๖/ และววิ ัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาว
การเปลี่ยนแปลง ๑,ป.๖/๒) ฤกษ์
ของอวกาศ และระบบสุรยิ ะ รวมทั้งปฏิสัมพันธภ์ ายใน
ระบบสรุ ิยะทส่ี ่งผลต่อสิ่งมีชีวิตและการ

ประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยีอวกาศ

6 ปรากฏการณ์การ ว 3.2 (ป.๖/4 เข้าใจองคป์ ระกอบและความสมั พันธ์ของ
เกดิ หินและการ – ป.๖/9) ระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลงภายใน
เปล่ยี นแปลงของ โลก และ

โลก บนผิวโลก ธรณพี บิ ัตภิ ยั กระบวนการ

เปลยี่ นแปลงลมฟา้ อากาศและภูมอิ ากาศโลก

รวมทงั้ ผลต่อ

สิง่ มชี ีวิตและสง่ิ แวดลอ้ ม

เขา้ ใจและใช้แนวคิดเชงิ คำนวณในการ

แกป้ ัญหาท่ีพบในชวี ิตจรงิ อย่างเปน็ ขั้นตอน

7 วิทยาการคำนวณ ว 4.2 (ป.๖/๒) และเปน็ ระบบ ใช้ 10 5
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารในการ
30
เรยี นรู้ การทำงาน และการแกป้ ัญหาได้อยา่ ง 100

มีประสิทธภิ าพ รเู้ ท่าทนั และมจี รยิ ธรรม

สรปุ ทบทวนภาพรวม (สอบปลายปี) 1

รวม 120

หมายเหตุ อตั ราสว่ นคะแนนระหว่างเรียน : ปลายปี = ๗๐ : ๓๐

โครงสร้างรายวชิ าคอมพิวเตอร์

ว 1๑๒01 คอมพิวเตอร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประถมศึกษาปีที่ ๑
ลำดบั ท่ี หนว่ ยการ เวลา ๔0 ชั่วโมง

มาตรฐานการ สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด เวลา นำ้ หนกั

เรียนรู้ เรียนร/ู้ ตัวช้วี ัด (ช่ัวโมง) คะแนน

๑ การใชง้ าน ว ๔.๒ ป.๑/๔ อปุ กรณ์เทคโนโลยแี ละซอฟตแ์ วร์ มี ๘ ๒๐
เทคโนโลยี บทบาทสำคัญมากในชีวิตประจำวนั คือ
เบอื้ งต้น อำนวยความสะดวกในการเรียน การทำงาน
และกิจกรรมอื่นๆ

๒ การแก้ปัญหา ว ๔.๒ ป.๑/๒ เม่อื คนเราประสบปัญหาแลว้ รจู้ ักวิธี ๑๐ ๒๐
อย่างเปน็ แกป้ ญั หาทห่ี ลากหลายและเลอื กใชไ้ ด้
ข้นั ตอน เหมาะสม กม็ โี อกาสแกป้ ญั หาได้ การ
แก้ปัญหามหี ลายวธิ ี เช่น การลองผดิ ลองถูก

การเปรยี บเทยี บ การแสดงขน้ั ตอนการ

แก้ปัญหาโดยการเขยี นบอกเลา่ วาดภาพ

และการใชส้ ญั ลกั ษณ์ การแกป้ ญั หาอยา่ งง่าย

ทดสอบกลางปี ๒ 1๐

๓ การเขียน ว ๔.๒ ป.๑/๓ การทำงานคอมพิวเตอรต์ ้องใช้โปรแกรม ๑๐ ๒๐
โปรแกรม ตา่ งๆ ตามความต้องการในการใชง้ าน
เบื้องตน้ นกั เรยี นสามารถเรียนรทู้ ำความเขา้ ใจโดยเรม่ิ
เรียนรเู้ รือ่ งหลกั การเขียนโปรแกรมเบอื้ งตน้

และการเขยี นโปรแกรมโดยใชบ้ ัตรคำสัง่ หรอื

ส่ือในเวบ็ ไซต์ เพือ่ เป็นพืน้ ฐานของการเขยี น

โปรแกรมอน่ื ๆ ต่อไป

๔ ระบบปฏบิ ัติการ ว ๔.๒ ป.๑/๕ ในปัจจุบันผูค้ นสามารถเขา้ ถึงเทคโนโลยี ๘ ๒๐
วินโดวส์ สารสนเทศได้มากขึ้นแต่ภัยจากการใช้งาน
เทคโนโลยสี ารสนเทศกเ็ ขา้ ถงึ ผใู้ ชไ้ ด้อย่าง

รวดเรว็ เชน่ กัน ผู้ใชจ้ งึ ควรรเู้ ทา่ ทนั และ

ตระหนกั ถงึ ความปลอดภับในการใช้งาน

รวมทั้งวิธีดแู ลรกั ษาและใชง้ านอปุ กรณ์

เทคโนโลยีเพอ่ื ใหใ้ ชง้ านได้ยาวนานและค้มุ ค่า

มากท่สี ดุ

ทดสอบปลายปี ๒ ๑๐

รวมตลอดปีการศกึ ษา ๔๐ ๑๐๐

อัตราสว่ นคะแนน

คะแนนระหว่างปีการศกึ ษา : สอบปลายปีการศกึ ษา = ๘๐ : ๒๐

ว 1๒๒01 คอมพิวเตอร์ โครงสรา้ งรายวชิ าคอมพวิ เตอร์
ประถมศึกษาปที ่ี ๒ กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ที่ ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ เวลา ๔0 ชั่วโมง
1. ข้อมลู นา่ รู้
ผลการเรยี นรู้ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก
2. คอมพิวเตอร์ (ช่วั โมง) คะแนน

3. การดูแลรักษา 1. บอกความหมายของ 1. ความหมาย ประเภท 3
คอมพิวเตอร์ ข้อมูล แหลง่ ขอ้ มลู วธิ ีการเกบ็ รกั ษา และ
คณุ สมบตั ิ ประเภท ประโยชนข์ องข้อมลู
4. ระบบปฏบิ ตั กิ าร วธิ กี ารเกบ็ รกั ษาข้อมลู
วินโดวส์ ประโยชน์ของข้อมูล

5. อินเทอรเ์ น็ตเบ้อื งตน้ 2. บอกความหมาย 2. ความหมาย หลกั การ 5
หลกั การทำงาน ทำงาน ประโยชนข์ อง
6. โปรแกรม Microsoft ประโยชน์ ชอื่ และหน้าที่ คอมพิวเตอร์ ช่อื และ
Word ของอปุ กรณ์ หนา้ ท่ีของอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ คอมพวิ เตอร์

3. บอกวธิ กี ารดแู ลรักษา 3. วธิ ีการดแู ลรกั ษา และ 5

คอมพวิ เตอร์ และ ประโยชนข์ องการดแู ล

ประโยชนข์ องการดูแล รักษาคอมพิวเตอร์
รกั ษาเคร่ืองคอมพิวเตอร์

4. บอกความหมาย 4. ความหมาย 4
สว่ นประกอบ และ ส่วนประกอบ และ
หนา้ ต่างโปรแกรม หน้าต่างโปรแกรม
วนิ โดวส์ วินโดวส์

5. บอกความหมาย 5. ความหมาย ประโยชน์ 10
ประโยชน์และโทษของ และโทษของ
อนิ เทอร์เนต็ วธิ ีการใช้ อินเทอรเ์ น็ต และ
งานเว็บไซต์ วิธีการใช้งานเบ้ืองต้น

6. อธบิ ายการใช้งาน บอก 6. การใชง้ านโปรแกรม 13

ช่ือ หนา้ ที่ของแถบ Microsoft Word

เครื่องมือ และใช้

โปรแกรม Microsoft

Word พิมพ์ข้อความ
7. เหน็ คุณคา่ ความสำคญั

ของชนิ้ งาน

รวม 40

โครงสร้างรายวชิ าคอมพิวเตอร์

ว 1๓๒01 คอมพิวเตอร์ กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ประถมศึกษาปีท่ี ๓ เวลา ๔0 ช่ัวโมง

ลำดับที่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด เวลา น้ำหนกั

เรียนรู/้ ตวั ชว้ี ดั (ชวั่ โมง) คะแนน

๑ การใชเ้ ทคโนโลยี ว 4.2 ป.3/5 - การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ ง 5 10

สารสนเทศอยา่ ง ปลอดภัย

ปลอดภยั - ขอความชว่ ยเหลอื จากครูหรือ

ผปู้ กครองเมอื่ เกิดปญั หาจาก การใช้

งาน เมือ่ พบข้อมูลหรือบุคคลท่ที ำให้

ไมส่ บายใจ

- การปฏบิ ัติตามข้อตกลงในการใช้

อินเทอร์เน็ตจะทำให้ ไมเ่ กดิ ความ

เสียหายต่อตนเองและผู้อนื่

- ข้อดีและข้อเสยี ในการใชเ้ ทคโนโลยี

สารสนเทศและการสื่อสาร

2 ใชอ้ นิ เทอร์เนต็ ใน ว 4.2 ป.3/3 - อนิ เทอรเ์ นต็ เป็นเครือขา่ ยขนาดใหญ่ 5 10

การคน้ หาความรู้ ชว่ ยใหก้ ารตดิ ต่อสื่อสารทำได้สะดวก

และรวดเร็ว เปน็ แหล่งข้อมูลความรูท้ ่ี

ชว่ ย ในการเรยี นและการดำเนินชีวติ

- เว็บเบราวเ์ ซอรเ์ ปน็ โปรแกรมสำหรบั

อา่ นเอกสารบนเว็บเพจ

- การสบื คน้ ข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตทำ

ไดโ้ ดยใชเ้ วบ็ ไซตส์ ำหรบั สืบค้นและ

ต้องกำหนดคำคน้ ทเ่ี หมาะสมจงึ จะได้

ข้อมลู ตามตอ้ งการ

- ข้อมูลความรู้ เชน่ ขน้ั ตอนการ

ทำอาหาร

- การใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตอย่างปลอดภยั

ควรอยู่ในการดูแลของครู หรือ

ผปู้ กครอง

3 รวบรวม ว 4.2 ป.3/4 - การรวบรวมข้อมลู ทำได้โดยกำหนด 8 20

ประมวลผล และ หัวขอ้ ทต่ี ้องการเตรยี มอุปกรณ์ในการ

นำเสนอข้อมลู จดบันทึก

- การประมวลผลอย่างง่าย

- การนำเสนอข้อมลู ทำไดห้ ลาย

ลกั ษณะตามความเหมาะสม

สรปุ ทบทวน/สอบกลางปี ๒ ๑0

ลำดับท่ี หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา นำ้ หนกั
คะแนน
เรียนร้/ู ตวั ชวี้ ัด (ช่วั โมง)
10
4 การใชซ้ อฟต์แวร์ ว 4.2 ป.3/3 - การสบื คน้ ข้อมลู บนอนิ เทอร์เนต็ ทำ 5
10
ทำงานตาม ว 4.2 ป.3/4 ได้โดยใชเ้ ว็บไซตส์ ำหรบั สืบค้นและ
20
วัตถปุ ระสงค์ ตอ้ งกำหนดคำคน้ ที่เหมาะสมจงึ จะได้
10
ข้อมูลตามต้องการ 100

- การรวบรวมข้อมลู

- การประมวลผลอย่างงา่ ย

- การนำเสนอข้อมูลทำไดห้ ลาย

ลกั ษณะตามความเหมาะสม

- การใช้ซ้อฟแวรท์ ำงานตาม

วัตถุประสงค์

5 แสดงอลั กอริทมึ ว 4.3 ป.3/1 - อลั กอรทิ ึมเปน็ ขั้นตอนที่ใช้ในการ 5

ในการทำงานหรือ แก้ปัญหา

แกป้ ัญหาอย่าง - การแสดงอลั กอริทึมทำได้โดยการ

งา่ ย เขียน บอกเล่า วาดภาพหรือใช้

สัญลกั ษณ์

6 เขียนโปรแกรม ว 4.2 ป.3/2 - การเขียนโปรแกรมเป็นการสรา้ ง 10

อย่างง่าย โดยใช้ ลำดบั ของคำส่งั ให้ คอมพวิ เตอร์

โปรแกรม ทำงาน

Scratch - การตรวจหาข้อผิดพลาดทำไดโ้ ดย

ตรวจสอบคำสัง่ ท่แี จง้ ขอ้ ผดิ พลาด

หรือหากผลลัพธไ์ ม่เปน็ ไปตามท่ี

ตอ้ งการให้ ตรวจสอบการทำงานทีละ

คำสง่ั

สรปุ ทบทวน/สอบปลายปี

รวมตลอดปี 40

หมายเหตุ อัตราส่วนคะแนนระหว่างเรยี น : ปลายปี = 80 : 20

ว 1๔๒01 คอมพิวเตอร์ โครงสร้างรายวิชาคอมพวิ เตอร์
ประถมศึกษาปที ่ี ๔ กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เวลา ๔0 ชั่วโมง

ลำดบั ที่ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด เวลา น้ำหนกั
1 เรยี นร้/ู ตวั ชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน
การใชเ้ ทคโนโลยี - การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ ง
สารสนเทศอยา่ ง ว 4.2 ป.4/5 ปลอดภยั เขา้ ใจสทิ ธิ 4 10
ปลอดภัย และหน้าทข่ี องตน เคารพ
ในสทิ ธิของผู้อ่นื 4 10
2 การใชง้ าน ว 4.2 ป.4/3 - การสื่อสารอยา่ งมมี ารยาทและรู้
อนิ เทอร์เนต็ กาลเทศะ
- การปกปอ้ งข้อมลู ส่วนตวั
- การนำเสนอข้อมูลจะตอ้ ง
นำข้อมลู มาเรียบเรียง
สรปุ เปน็ ภาษาของตนเอง
ทเ่ี หมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมายและ
วิธกี ารนำเสนอ
- การใช้คำคน้ ท่ีตรงประเด็น
กระชับ จะทำใหไ้ ดผ้ ลลัพธ์
ที่รวดเร็วและตรงตาม
ความตอ้ งการ
- การประเมนิ ความนา่ เช่อื ถอื ของ
ขอ้ มูล
- เม่อื ได้ขอ้ มลู ท่ตี ้องการ
จะตอ้ งนำเนือ้ หามาพจิ ารณา
เปรยี บเทียบ แลว้ เลือกข้อมูล
ทม่ี คี วามสอดคล้อง
และสัมพันธ์กนั
- การนำเสนอข้อมลู จะต้อง
นำข้อมลู มาเรียบเรยี ง สรุป
เป็นภาษาของตนเอง
ทเ่ี หมาะสมกบั กลุ่มเปา้ หมายและ
วิธกี ารนำเสนอ

ลำดบั ที่ หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด เวลา น้ำหนกั
3 เรยี นรู้/ตัวช้วี ัด (ช่วั โมง) คะแนน

4 การนำเสนอ ว 4.2 ป.4/4 - การรวบรวมขอ้ มลู ทำได้โดย 10 20
5
ข้อมูลให้น่าสนใจ กำหนดหัวข้อท่ีต้องการ ๒ ๑0

เตรยี มอปุ กรณ์ในการจดบันทึก 10 10
- การประมวลผลอย่างงา่ ย
เชน่ เปรยี บเทยี บ จดั กลุม่ 10 30

เรยี งลำดบั การหาผลรวม
- วิเคราะหผ์ ลและสร้างทางเลือกที่
เป็นไปได้ ประเมินทางเลือก

(เปรียบเทียบ ตดั สนิ )
- การนำเสนอข้อมูลทำไดห้ ลาย
ลักษณะตามความเหมาะสม เชน่

การบอกเล่า รายงาน โปสเตอร์
โปรแกรมนำเสนอ

- การใชซ้ อฟตแ์ วรเ์ พอ่ื แก้ปัญหาใน

ชีวิตประจำวนั

สรุปทบทวน/สอบกลางปี

อลั กอริทึมและ ว 4.2 ป.4/1 - การใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะเป็นการ

การแกป้ ัญหา นำกฎเกณฑ์ หรอื เงื่อนไข
เชงิ ตรรกะ ทคี่ รอบคลุมทุกกรณีมาใช้พิจารณา
ในการแกป้ ญั หา

การอธิบายการทำงาน หรือการ
คาดการณผ์ ลลัพธ์

- สถานะเร่มิ ตน้ ของการทำงานที่

แตกต่างกันจะใหผ้ ลลัพธ์
ท่แี ตกต่างกัน

การเขยี น ว 4.2 ป.4/2 - การออกแบบโปรแกรม
อยา่ งง่าย เชน่ การออกแบบ
โปรแกรม โดยใช้ storyboard หรอื การ
ออกแบบอลั กอริทึม
เพ่ือชว่ ยแก้ปัญหา - การเขียนโปรแกรมเป็นการสรา้ ง

ในชวี ิตประจำวนั

ลำดับของคำส่ังให้คอมพิวเตอร์
ทำงาน เพื่อให้ได้ผลลพั ธต์ ามความ
ต้องการ

หากมีข้อผิดพลาดใหต้ รวจสอบการ
ทำงานทีละคำสง่ั
เมอื่ พบจดุ ท่ีทำใหผ้ ลลพั ธ์ไม่ถูกต้อง

ใหท้ ำการแก้ไขจนกว่า 40 10
จะไดผ้ ลลพั ธท์ ี่ถูกต้อง 100

สรปุ ทบทวน/สอบปลายปี

รวมตลอดปี

หมายเหตุ อัตราส่วนคะแนนระหวา่ งเรียน : ปลายปี = 80 : 20

โครงสรา้ งรายวิชาคอมพิวเตอร์

ว 1๕๒01 คอมพิวเตอร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ประถมศึกษาปที ี่ ๕ เวลา ๔0 ช่ัวโมง

ลำดับ หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด เวลา นำ้ หนกั

ที่ เรยี นรู้/ตวั ชีว้ ดั (ชั่วโมง) คะแนน

1 การใช้เทคโนโลยี ว 4.2 ป.5/5 - อันตรายจากการใชง้ านและ 5 10

สารสนเทศอยา่ ง อาชญากรรมทางอินเทอร์เนต็

ปลอดภัยและมี - มารยาทในการติดตอ่ สื่อสารผ่าน

มารยาท อนิ เทอรเ์ น็ต

2 ขอ้ มลู สารสนเทศ ว 4.2 ป.5/4 - การรวบรวมขอ้ มลู ประมวลผล 5 15

สร้างทางเลอื ก ประเมินผลจะทำให้

ไดส้ ารสนเทศเพ่ือใชใ้ นการแก้ปัญหา

หรือการตดั สินใจได้อยา่ งมี

ประสิทธภิ าพ

- การใชซ้ อฟแวรห์ รอื บริการบน

อนิ เตอร์เน็ตที่หลากหลายในการ

รวบรวม ประมวลผล สรา้ งทางเลือก

ประเมนิ ผล นำเสนอจะช่วยให้การ

แกป้ ัญหาทำได้อย่างรวดเร็ว ถกู ต้อง

และแมน่ ยำ

3 การใช้ประโยชน์ ว 4.3 ป.5/3 - การค้นหาข้อมลู ในอนิ เทอร์เนต็ 8 15

จากอินเทอรเ์ นต็ และการพจิ ารณาผลการคน้ หา

- การตดิ ต่อส่ือสารผ่านอนิ เทอรเ์ น็ต

- การเขียนจดหมาย

- การใช้อนิ เทอร์เน็ตในการ

ตดิ ตอ่ สือ่ สารและทำงานรว่ มกนั

- การประเมินความน่าเชอ่ื ถือของ

ข้อมูล

- ขอ้ มลู ทด่ี ีต้องมรี ายละเอียดครบทกุ

ด้าน เชน่ ข้อดแี ละข้อเสีย ประโยชน์

และโทษ

สรปุ ทบทวน/สอบกลางปี ๒ ๑0

ลำดบั หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด เวลา นำ้ หนัก
คะแนน
ที่ เรียนรู้ เรยี นรู้/ตวั ช้ีวดั (ชั่วโมง)
10
4 5 เส้นทางของ ว 4.3 ป.5/1 - การใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะเป็นการนำ 3 10

ความคดิ เชงิ กฎเกณฑ์ หรอื เง่ือนไขท่คี รอบคลุมทุกกรณี 20

ตรรกะ มาใช้พจิ ารณาในการแกป้ ญั หาการอธบิ าย 40
100
การทำงาน หรือการคาดการณผ์ ลลพั ธ์

- สถานะเรม่ิ ตน้ ของการทำงานทแ่ี ตกต่างกนั

จะให้ผลลพั ธ์ทแี่ ตกตา่ งกัน

5 Program ว 4.2 ป.5/1 - การใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะเป็นการนำ 7

design ว 4.2 ป.5/2 กฎเกณฑ์ หรือเงื่อนไขท่คี รอบคลุมทุกกรณี

ออกแบบ มาใชพ้ จิ ารณาในการแกป้ ัญหาการอธิบาย

โปรแกรม การทำงาน หรือการคาดการณ์ผลลัพธ์

- สถานะเริ่มต้นของการทำงานท่ีแตกต่างกนั

จะใหผ้ ลลัพธ์ที่แตกต่างกัน

- การออกแบบโปรแกรมสามารถทำได้โดย

เขยี นเป็นข้อความหรือผังงาน

- การออกแบบและเขยี นโปรแกรมทม่ี ีการ

ตรวจสอบเงื่อนไขที่ครอบคลุมทกุ กรณี

เพื่อใหไ้ ดผ้ ลลัพธ์ท่ีถกู ต้องตรงตามความ

ตอ้ งการ

- หากมขี ้อผดิ พลาดใหต้ รวจสอบการทำงาน

ทีละคำส่ังเมอื่ พบจุดที่ทำใหผ้ ลลัพธไ์ ม่

ถูกต้อง ใหท้ ำการแก้ไขจนกว่าจะได้ผลลพั ธ์

ท่ีถกู ต้อง

6 program ว 4.2 ป.5/2 - การออกแบบโปรแกรมสามารถทำได้โดย 12

development เขียนเป็นข้อความหรือผงั งาน

สร้างเกมแบบมี - การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการ

เง่อื นไข ตรวจสอบเง่อื นไขที่ครอบคลมุ ทุกกรณี

เพื่อให้ได้ผลลัพธท์ ี่ถกู ต้องตรงตามความ

ตอ้ งการ

- หากมขี อ้ ผดิ พลาดใหต้ รวจสอบการทำงาน

ทลี ะคำส่ังเมอ่ื พบจุดที่ทำให้ผลลพั ธไ์ ม่

ถกู ต้อง ให้ทำการแก้ไขจนกว่าจะได้ผลลพั ธ์

ท่ีถูกต้อง

สรุปทบทวน/สอบปลายปี

รวมตลอดปี 40

หมายเหตุ อัตราส่วนคะแนนระหว่างเรยี น : ปลายปี = 80 : 20

โครงสรา้ งรายวชิ าคอมพวิ เตอร์

ว 1๖๒01 คอมพิวเตอร์ กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ เวลา ๔0 ช่ัวโมง

ลำดบั ท่ี หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด เวลา นำ้ หนกั

เรียนร/ู้ ตัวชว้ี ดั (ช่ัวโมง) คะแนน

1 การใช้งาน ว 4.2 ป.6/3 - การค้นหาอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เป็น 8 20

อินเทอร์เน็ต การคน้ หาข้อมูลที่ไดต้ รงความตอ้ งการ

อย่างมี ในเวลารวดเร็วจากแหลง่ ขอ้ มูลที่

ประสิทธิภาพ นา่ เชื่อถือหลายแหลง่ และข้อมูลมีความ

สอดคลอ้ งกนั

- การใช้เทคนคิ การค้นหาขนั้ สูง

- การจดั ลำดบั การค้นหาของโปรแกรม

คน้ หา

- การเรียบเรยี งสรุปสาระสำคัญ(บูรณา

การกบั วชิ าภาษาไทย)

2 ความปลอดภยั ใน ว 4.2 ป.6/4 - อันตรายจากการใชง้ านและ 10 20

การใช้งาน อาชญากรรมทางอนิ เทอร์เน็ตแนวทาง

เทคโนโลยี ในการป้องกนั

สารสนเทศ - วิธกี ำหนดรหัสผ่าน

- การกำหนดสทิ ธ์กิ ารใชง้ าน(สิทธใ์ิ นการ

เข้าถึง)

- แนวทางการตรวจสอบและ

ป้องกันมัลแวร์

- อันตรายจากการตดิ ตั้งซอฟตแ์ วรท์ ีอ่ ยู่

บนอนิ เทอรเ์ นต็ แมน่ ยำ

สรปุ ทบทวน/สอบกลางปี ๒ ๑0

3 การแกป้ ัญหาโดย ว 4.3 ป.6/1 - การแกป้ ัญหาอย่างเปน็ ข้ันตอนจะชว่ ย 20 20

ใชเ้ หตผุ ลเชิง ให้แกป้ ัญหา

ตรรกะ ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

- การใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะเป็นการนำ

กฎเกณฑ์ หรอื เง่ือนไข ท่คี รอบคลุม

ทกุ กรณมี าใช้พจิ ารณาในการแก้ปญั หา

- แนวคิดของการทำงานแบบวนซำ้ และ

เง่อื นไข

- การพจิ ารณากระบวนการทำงานท่มี ี

การทำงานแบบ

วนซ้ำหรอื เงือ่ นไขเป็นวิธีการทีจ่ ะชว่ ยให้

การออกแบบวธิ กี ารแก้ปัญหาเปน็ ไป

อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

4 การออกแบบและ ว 4.3 ป.6/2 - การออกแบบโปรแกรมสามารถทำได้ 20 20
40
เขยี นโปรแกรม โดยเขียน 10
100
อย่างง่าย เป็นขอ้ ความหรือผังงาน

- การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มี

การใชต้ วั แปร

- การวนซำ้ การตรวจสอบเง่ือนไข

- หากมีข้อผิดพลาดใหต้ รวจสอบการ

ทำงานทลี ะคำสง่ั

เม่อื พบจุดทท่ี ำใหผ้ ลลัพธ์ไม่ถูกตอ้ ง ให้

ทำการแก้ไขจนกว่าจะไดผ้ ลลัพธท์ ่ี

ถูกต้อง

- การฝึกตรวจหาข้อผิดพลาดจาก

โปรแกรมของผอู้ ืน่

จะชว่ ยพัฒนาทักษะการหาสาเหตุของ

ปญั หาไดด้ ยี ่งิ ขึ้น

สรุปทบทวน/สอบปลายปี

รวมตลอดปี

หมายเหตุ อัตราส่วนคะแนนระหวา่ งเรยี น : ปลายปี = 80 : 20

สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้

ส่ือการเรียนรูเปนเครอื่ งมอื สงเสริมสนบั สนนุ การจดั การกระบวนการเรียนรู ใหผูเรียนเขาถงึ ความรู ทักษะ
กระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสตู รไดอยางมปี ระสิทธภิ าพ สือ่ การเรียนรู มหี ลากหลายประเภท
ทง้ั ส่ือธรรมชาติ สอ่ื สิง่ พิมพ ส่อื เทคโนโลยี และเครือขายการเรยี นรูตาง ๆ ท่มี ใี นทองถน่ิ การเลอื กใชสือ่ ควรเลือกใหมี
ความเหมาะสมกบั ระดบั พัฒนาการ และลีลาการเรยี นรูท่หี ลากหลายของผูเรียน การจดั หาสอื่ การเรยี นรู ผูเรยี นและผู
สอนสามารถจดั ทำและพฒั นาขึ้นเอง หรือปรับปรงุ เลอื กใชอยางมีคณุ ภาพ จากสอ่ื ตาง ๆ ที่มีอยูรอบตัวเพ่ือนำมาใช
ประกอบในการจัดการเรียนรูทสี่ ามารถสงเสริมและสื่อสารใหผูเรยี น เกดิ การเรยี นรู โดยสถานศกึ ษาควรจดั ใหมอี ยา
งพอเพียง เพ่อื พัฒนาใหผูเรียน เกดิ การเรียนรูอยางแทจรงิ สถานศึกษาเขตพ้ืนที่การศึกษา หนวยงานทีเ่ กี่ยวของและผู
มหี นาทจ่ี ดั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ควรดำเนินการดงั นี้

๑. จดั ใหมีแหลงการเรยี นรู ศูนยส่ือการเรียนรู ระบบสารสนเทศการเรยี นรู และเครือขายการเรียนรู ทีม่ ี
ประสทิ ธภิ าพท้ังในสถานศึกษาและในชมุ ชน เพ่ือการศกึ ษาคนควาและการแลกเปลีย่ นประสบการณ การเรียนรูระหว
างสถานศึกษา ทองถิ่น ชุมชน สังคมโลก

๒. จดั ทำและจัดหาสือ่ การเรยี นรูสำหรับการศึกษาคนควาของผูเรียน เสริมความรูใหผูสอน รวมทงั้ จดั หาสิง่
ที่มีอยูในทองถน่ิ มาประยุกตใชเปนสือ่ การเรยี นรู

๓. เลือกและใชสือ่ การเรียนรูที่มคี ณุ ภาพ มีความเหมาะสม มคี วามหลากหลาย สอดคลองกับวิธกี าร เรยี นรู
ธรรมชาตขิ องสาระการเรียนรู และความแตกตางระหวางบุคคลของผูเรยี น

๔. ประเมนิ คณุ ภาพของสื่อการเรียนรูท่เี ลอื กใชอยางเปนระบบ
๕. ศกึ ษาคนควา วิจัย เพ่ือพัฒนาสือ่ การเรียนรูใหสอดคลองกบั กระบวนการเรยี นรูของผูเรยี น
๖. จัดใหมีการกำกับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธภิ าพเก่ียวกับส่ือและการใชสือ่ การเรยี นรู เปนระ
ยะ ๆ และสมำ่ เสมอ ในการจัดทำ การเลอื กใช และการประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรูที่ใชในสถานศกึ ษาควรคำนึงถงึ
หลกั การสำคญั ของสือ่ การเรียนรู เชน ความสอดคลองกับหลักสตู ร วตั ถุประสงคการเรยี นรู การออกแบบ กจิ กรรม
การเรียนรู การจดั ประสบการณใหผูเรยี น เน้อื หามีความถูกตองและทนั สมยั ไมกระทบความม่นั คง ของชาติ ไมขดั ต
อศลี ธรรม มีการใชภาษาทถี่ ูกตอง รูปแบบการนาํ เสนอทีเ่ ขาใจงายและ
นาสนใจ

การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พ.ศ. 2551

การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เป็น
กระบวนการการเก็บรวบรวม ตรวจสอบ ตีความผลการเรียนรแู้ ละพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของผเู้ รยี นตามมาตรฐานการ
เรียนรู้ / ตัวชี้วัดของหลักสูตร นำผลไปปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนรู้และใช้เป็นข้อมูลสำหรับการตัดสินผลการ
เรียน สถานศึกษาต้องมีกระบวนการจัดการท่ีเป็นระบบ เพื่อให้การดำเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นไป
อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ผลการประเมินตรงตามสภาพความรู้ ความสามารถท่ีแท้จริงของผู้เรียน ถูกต้อง
ตามหลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้รวมทั้งสามารถรองรับการประเมินภายในและการประเมินภายนอก ตาม
ระบบประกันคุณภาพการศึกษาได้ สถานศึกษาจึงควรกำหนดหลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เพื่อเป็นแนวทาง
ในการตดั สนิ ใจเกย่ี วกบั การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ของสถานศึกษา ดงั นี้

1. สถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้องมี
สว่ นร่วม

2. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ต้องสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวช้ีวัดตามกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ที่กำหนดในหลักสูตรและจัดให้มีการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ ตลอดจนกจิ กรรมการพฒั นาผู้เรียน

3. การประเมนิ ผเู้ รยี นพิจารณาจากการพัฒนาการของผ้เู รียน ความประพฤติ การสังเกต
พฤติกรรมการเรยี นรู้ การรว่ มกิจกรรมและการทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอน ตามความเหมาะสมของ
แต่ละระดับและรูปแบบการศึกษา

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการจัดการเรียนการสอน ต้องดำเนินการด้วย
เทคนิควิธีการที่หลากหลาย เพ่ือให้สามารถวัดและประเมินผลผู้เรียนได้อย่างรอบด้าน ท้ังด้านความรู้ ความคิด
กระบวนการ พฤติกรรมและเจตคติ เหมาะสมกับส่ิงที่ต้องการวัด ธรรมชาติวิชาและระดับช้ันของผู้เรียน โดยต้ังอยู่บน
พน้ื ฐานความเทยี่ งตรง ยุติธรรมและเชอ่ื ถือได้

5. การประเมินผลการเรยี นรู้ มีจุดมุ่งหมายเพ่ือปรับปรงุ พัฒนาผู้เรียน พัฒนาการจัดการเรียนรู้และตัดสินผล
การเรียน

6. เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รียนและผู้มีส่วนเก่ยี วข้อง ตรวจสอบผลการประเมนิ ผลการเรยี นรู้
7. ให้มีการเทยี บโอนผลการเรียนระหวา่ งสถานศกึ ษาและรปู แบบการศึกษาตา่ ง ๆ
8. ใหส้ ถานศึกษาจดั ทำเอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา เพอื่ เป็นหลกั ฐานการประเมินผลการ
เรียนรู้ รายงานผลการเรยี น แสดงวุฒกิ ารศกึ ษาและรองรบั ผลการเรยี นของผูเ้ รยี น

องคป์ ระกอบของการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

2. การจดั สรรอตั รากำลังขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา

หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 กำหนดจุดหมาย สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียนและ
มาตรฐานการเรียนรเู้ ปน็ เป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาผู้เรียนใหเ้ ปน็ คนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตทดี่ ีและมี
ขีดความสามารถในการแข่งขนั ในเวทรี ะดับโลก กำหนดให้ผเู้ รียนไดเ้ รียนรูต้ ามมาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ช้ีวัดทก่ี ำหนด
ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ มีความสามารถด้านการอ่าน คิดวิเคราะหแ์ ละเขียน มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
และเขา้ ร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นและการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้

1. การวดั และประเมินผลการเรียนร้ตู ามรายกลุ่มสาระการเรยี นรู้ 8 กลุ่มสาระ

มเี กณฑ์ดงั น้ี
1.1 ผเู้ รียนต้องมีเวลาเรียนไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 ของเวลาเรยี นทง้ั หมด
1.2 ผูเ้ รียนต้องไดร้ บั การประเมนิ ทกุ ตัวช้ีวดั และผ่านตามเกณฑ์ คือ รอ้ ยละ 60 ของตัวชวี้ ดั
1.3 ผู้เรียนต้องได้รบั การตัดสินผลการเรยี นทกุ รายวิชา คือ ต้องไดร้ ะดบั ผลการเรียนต้ังแต่ 1 ข้นึ ไป

ระดับผลการเรียน ระดับผลการเรยี น ความหมายของผลการประเมนิ
4 ดเี ยี่ยม
คะแนนรอ้ ยละ 3.5 ดีมาก
80 - 100 3 ดี
75 – 79 2.5 คอ่ นข้างดี
70 – 74 2 ปานกลาง
65 – 69 1.5 พอใช้
60 – 64 1
55 – 59 0 ผ่านเกณฑ์ข้นั ต่ำ
50 – 54 ตำ่ กว่าเกณฑ์
0 – 49

1.4 แผนการประเมินผลการเรยี นรตู้ ามกล่มุ สาระการเรยี นรูท้ ้งั 8 กลมุ่ สาระเปน็ การประเมินผลการเรยี นรู้

ตามตัวชี้วัดในหลักสูตร ดงั น้ี

สาระการเรยี นรู้

ชนั้ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมฯ สขุ ศึกษา ศลิ ปะ การงาน ฯ ภาษาองั กฤษ

ระ ปลาย ระ ปลาย ระ ปลาย ระ ปลาย ระ ปลาย ระ ปลาย ระ ปลาย ระ ปลาย
หวา่ ง ภาค หวา่ ง ภาค หวา่ ง ภาค หวา่ ง ภาค หวา่ ง ภาค หว่าง ภาค หว่าง ภาค หวา่ ง ภาค
เรียน เรียน เรยี น เรยี น เรยี น เรียน เรียน เรยี น

ป.1 70 30 70 30 70 30 70 30 80 20 80 20 80 20 70 30

ป.2 70 30 70 30 70 30 70 30 80 20 80 20 80 20 70 30

ป.3 70 30 70 30 70 30 70 30 80 20 80 20 80 20 70 30

ป.4 70 30 70 30 70 30 70 30 80 20 80 20 80 20 70 30

ป.5 70 30 70 30 70 30 70 30 80 20 80 20 80 20 70 30

ป.6 70 30 70 30 70 30 70 30 80 20 80 20 80 20 70 30

2. การประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน เป็นการประเมินศักยภาพของผู้เรยี นในการอ่าน การฟัง การดูและ
การรับรู้ จากหนังสือ เอกสารและส่ือต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง แล้วนำมาคิดวิเคราะห์เน้ือหาสาระที่นำไปสู่การแสดง
ความคิดเห็น การสังเคราะห์สร้างสรรค์ในเรื่องต่าง ๆ และถ่ายทอดความคิดนั้นด้วยการเขียนซึ่งสะท้อนถึงสติปัญญา
ความรู้ ความเขา้ ใจ ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ แก้ปญั หาและสร้างสรรคจ์ ินตนาการอย่างเหมาะสมและมีคุณค่า
แก่ตนเอง สังคมและประเทศชาติ พร้อมด้วยประสบการณ์และทักษะในการเขียนที่มีสำนวนภาษาถูกต้อง มีเหตุผล
และลำดับขั้นตอนในการนำเสนอ สามารถสร้างความเข้าใจแก่ผู้อ่านได้อย่างชัดเจนตามระดับความสามารถในแต่ละ
ระดับช้ัน การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน สรุปผลเป็นรายปี / รายภาค เพื่อวินิจฉัยและใช้เป็นข้อมูลเพ่ือ
ประเมินการเลอ่ื นชัน้ เรียนและการจบการศึกษาระดบั ตา่ ง ๆ

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน มเี กณฑด์ งั นี้

คะแนนร้อยละ ระดับคุณภาพ ความหมายของผลการประเมิน
80 - 100 ดเี ยย่ี ม ดีเยยี่ ม หมายถงึ สามารถจบั ใจความสำคญั ได้ครบถว้ น เขียน
วพิ ากษว์ จิ ารณ์ เขียนสรา้ งสรรค์ แสดงความคิดเหน็ ประกอบอยา่ งมี
65 - 79 ดี เหตุผลได้ถกู ต้องและสมบูรณ์ ใชภ้ าษาสุภาพและเรียบเรียงได้
50 - 64 ผ่าน สละสลวย
0 - 49 ไม่ผ่าน ดี หมายถึง สามารถจับใจความสำคญั ได้ เขียนวิพากษ์วจิ ารณ์ และ
เขียนสรา้ งสรรคไ์ ด้โดยใช้ภาษาสุภาพ
ผ่าน หมายถงึ สามารถจับใจความสำคัญและเขียนวิพากษ์วิจารณ์
ไดบ้ า้ ง
ไม่ผา่ น หมายถึง ไม่มคี วามสามารถจับใจความสำคญั และเขียน
วิพากษ์วจิ ารณ์

๓. การประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 และ
ตามที่สถานศึกษากำหนดเพิ่มเติม เป็นการประเมินรายคุณลักษณะแล้วรวบรวมผลการประเมินจากผู้ประเมินทุกฝ่าย
นำมาพิจารณาสรุปผลเป็นรายปี / รายภาค เพ่ือใช้เป็นข้อมูลเพื่อประเมินการเล่ือนชั้นเรียนและการจบการศึกษา
ระดับตา่ ง ๆ

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หมายถึง ลักษณะที่ต้องการให้เกิดข้ึนกับผู้เรียนอันเป็นคุณลักษณะท่ีสังคม
ต้องการ ในด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสำนึก สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ทั้งในฐานะ
พลเมืองไทยและพลโลก ตามทห่ี ลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดซ่ึงมอี ยู่ 8 คณุ ลกั ษณะ ไดแ้ ก่

1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซอื่ สัตย์สจุ รติ
3. มีวินยั
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง
6. ม่งุ มั่นในการทำงาน
7. รกั ความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

การประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ มเี กณฑ์ดงั น้ี

คะแนนรอ้ ยละ ระดบั คุณภาพ ความหมายของผลการประเมนิ
80 - 100 ดีเยี่ยม ดีเย่ียม หมายถงึ ผู้เรยี นมีคณุ ลกั ษณะในการปฏบิ ัตจิ นเปน็ นสิ ยั
และนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวันเพ่อื ประโยชน์สขุ ของตนเองและ
65 - 79 ดี สงั คม
50 - 64 ผ่าน ดี หมายถึง ผู้เรยี นมคี ุณลักษณะในการปฏบิ ตั ติ ามเกณฑ์ เพื่อให้
0 - 49 ไมผ่ า่ น เป็นที่ยอมรับของสงั คม
ผา่ น หมายถึง ผเู้ รียนรับรแู้ ละปฏิบตั ติ ามเกณฑแ์ ละเงื่อนไขที่
สถานศกึ ษากำหนด
ไมผ่ ่าน หมายถึง ผเู้ รียนไม่รบั รแู้ ละไม่ปฏิบตั ิตามเกณฑ์และ
เงอ่ื นไขที่สถานศึกษากำหนด

4. การประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นกิจกรรมที่สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกระดับชั้น เพ่ือส่งเสริมพัฒนา
ความสามารถของตนตามความถนัด ความสนใจ ให้เต็มศักยภาพ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาองค์รวมของความเป็นมนุษย์
ท้ังด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม สร้างเยาวชนของชาติให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย
ปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกของการทำประโยชน์เพื่อสังคมและสามารถบริหารหารจัดการตนเองได้ กิจกรรมพัฒนา
ผู้เรยี น แบง่ เป็น 3 ลักษณะ ได้แก่

1. กิจกรรมแนะแนว
2. กิจกรรมนกั เรยี น ได้แก่ กจิ กรรมลกู เสือ – ยุวกาชาด และกจิ กรรมชุมนมุ
3. กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์

การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน มหี ลกั เกณฑ์ ดงั นี้
1. เวลาการเขา้ ร่วมกิจกรรมของผู้เรียน คือ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80
2. ผลการปฏิบัตกิ จิ กรรมและผลงานของผู้เรียน โดยจัดใหผ้ ู้เรียนแสดงผลงาน แฟ้มสะสมงานหรือจัดนิทรรศการ

3. ผู้เรยี นทุกคนต้องมีผลการประเมินระดับผ่าน ท้ังเวลาการเข้ารว่ มกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน

ของผเู้ รียนจึงจะได้ผลการประเมินเป็นผ่าน (ผ) เพอ่ื บนั ทกึ ในระเบียนแสดงผลการเรียน

4. กรณีท่ผี ู้เรยี นไมผ่ ่านกจิ กรรม (มผ) ใหเ้ ป็นหนา้ ท่ขี องครจู ะตอ้ งซ่อมเสริม โดยให้ผ้เู รยี นทำ

กิจกรรมจนครบตามเวลาท่ีขาดหรือปฏิบัติกิจกรรมให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรมน้ันแล้วจึงประเมินให้ผ่าน

กจิ กรรม เพ่ือบันทกึ ในระเบยี นแสดงผลการเรียน

กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธเกาณรณฑปก์ ราะรโวยัดชแนล์ ะประเมนิ ผลการ
เรียน

1. การตัดสนิ การใหร้ ะดับและการรายงานผลการเรียน
1.1 การตัดสินผลการเรยี น
ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ การอ่าน คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขียน คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

และกิจกรรมการพัฒนาผู้เรยี นนั้น ผูส้ อนตอ้ งคำนึงถงึ การพัฒนาผ้เู รียนแต่ละคนเป็นหลักและต้องเก็บขอ้ มูลของผ้เู รยี น
ทกุ ด้านอย่างสมำ่ เสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรยี นรวมทงั้ สอนซ่อมเสรมิ ผ้เู รียนให้พัฒนาจนเต็มตามศักยภาพ

ระดับประถมศึกษา
1) ผ้เู รียนต้องมีเวลาเรยี นไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 80 ของเวลาเรียนท้ังหมด
2) ผ้เู รยี นต้องไดร้ บั การประเมินทุกตวั ชีว้ ัดและผ่านตามเกณฑท์ ่ีสถานศกึ ษากำหนดคือ ตอ้ ง

ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 60 ของแต่ละรายวิชา
3) ผู้เรยี นต้องไดร้ บั การตัดสนิ ผลการเรยี นทุกรายวชิ า คือ ต้องได้ระดับผลการเรยี นตัง้ แต่ 1

ขน้ึ ไป
4) ผู้เรียนตอ้ งได้รบั การประเมินและมีผลการประเมนิ ผา่ นตามเกณฑท์ ่ีสถานศึกษากำหนด

ในการอ่าน คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน
1.2 การให้ระดบั ผลการเรียน

ระดับประถมศึกษา
การตัดสนิ ผลการเรียนรายวิชาของกลุ่มสาระการเรยี นรู้สถานศึกษา สามารถให้ระดับผลการเรยี น 8
ระดบั คือ 4 , 3.5 , 3 , 2.5 , 2 , 1.5 , 1 , 0
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้นให้ระดับผลการ
ประเมนิ เปน็ ดีเยี่ยม ดี ผ่านและไม่ผ่าน
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาท้ังเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมการปฏิบัติกิจกรรม
และผลงานของผูเ้ รยี น และให้ผลการเขา้ ร่วมกิจกรรมเปน็ ผ่านและไม่ผา่ น

1.3 การเลอื่ นชน้ั

สถานศกึ ษาสามารถกำหนดเกณฑก์ ารเลื่อนช้นั โดยพิจารณาใหส้ อดคลอ้ งกบั เกณฑ์
การตัดสินผลการเรียน ตลอดจนกำหนดเกณฑ์เกี่ยวกับการผ่านตัวช้ีวัดให้ชัดเจนและประกาศให้ทราบทั่วกัน
สถานศกึ ษาสามารถกำหนดเกณฑ์การเล่ือนชน้ั ไดด้ งั นี้

1) ผู้เรยี นตอ้ งมีเวลาเรยี นไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 ของเวลาเรียนทงั้ หมด
2) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทกุ ตวั ชว้ี ัดและผ่านตามเกณฑ์ทส่ี ถานศกึ ษากำหนดคอื ต้องไมน่ ้อย
กว่าร้อยละ 60 ของแต่ละรายวิชา
3) ผู้เรยี นตอ้ งไดร้ ับการตัดสินผลการเรยี นทกุ รายวชิ า คอื ต้องได้ระดบั ผลการเรียนตงั้ แต่ 1 ขนึ้ ไป
4) ผเู้ รียนต้องไดร้ ับการประเมินและมีผลการประเมนิ ผ่านตามเกณฑท์ ส่ี ถานศึกษากำหนดในการ
อา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขยี น คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์และกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน
1.4 การเรียนซ้ำช้นั


Click to View FlipBook Version