The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การป้องกันการทุจริต ม.ปลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookchon, 2020-05-27 02:49:40

การป้องกันการทุจริต ม.ปลาย (สค32036)

การป้องกันการทุจริต ม.ปลาย

Keywords: การป้องกันการทุจริต,สค32036

1

หนงั สอื เรียน
สาระการพัฒนาสงั คม

รายวชิ า การปองกันการทจุ ริต

รหสั รายวชิ า สค32036
รายวิชาเลือก ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551

สาํ นักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
สํานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร
กระทรวงศึกษาธกิ าร



สารบัญ 3

คาํ นํา หนา
คําแนะนําการใชห นงั สือเรียน
โครงสรางรายวชิ า 1
แบบทดสอบกอ นเรยี น 2
บทที่ 1 การคิดแยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตนกบั ผลประโยชนส ว นรวม 5
14
เรื่องท่ี 1 สาเหตขุ องการทจุ ริตและทิศทางการปอ งกันและการทุจรติ ในประเทศไทย 28
เรอ่ื งท่ี 2 ทฤษฎี ความหมายและรูปแบบของการขดั กันระหวา งผลประโยชนสว นตน 38
48
และผลประโยชนสวนรวม (โลก) 49
เรื่องที่ 3 กฎหมายท่ีเกยี่ วขอ งกบั การขัดกันระหวา งผลประโยชนส ว นตน 63
77
กบั ผลประโยชนส ว นรวม 78
เรื่องท่ี 4 การคิดเปน 84
เรื่องท่ี 5 บทบาทของรัฐ/เจา หนาที่ของรฐั ท่ีเกี่ยวขอ งกบั การปองกนั 90

ปราบปรามเกยี่ วกับการทจุ รติ

บทท่ี 2 ความละอายและความไมทนตอ การทุจรติ
เรื่องท่ี 1 การทจุ รติ
เรอ่ื งท่ี 2 ความละอายและความไมทนตอ การทจุ รติ

บทท่ี 3 STRONG : จติ พอเพียงตานการทจุ ริต
เรือ่ งท่ี 1 จติ พอเพียงตานการทจุ รติ
เรือ่ งที่ 2 พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
(พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ในหลวงรชั กาลท่ี 9)
แบบอยางในเรอื่ งความพอเพียง
เรื่องที่ 3 กิจกรรมที่เก่ียวของ

สารบัญ (ตอ ) 4

บทท่ี 4 พลเมอื งกับความรบั ผดิ ชอบตอ สังคม หนา
เรื่องที่ 1 ความหมายและทม่ี าของคาํ ศพั ทท ่เี ก่ียวของกับพลเมอื ง
เรือ่ งท่ี 2 ความหมายและแนวคิดเก่ยี วกบั การศกึ ษาเพ่ือสรา งความเปนพลเมอื ง 96
เร่อื งท่ี 3 องคป ระกอบของการศึกษาความเปน พลเมือง 97
เรอ่ื งท่ี 4 แนวทางการปฏบิ ตั ติ นเปนพลเมอื งดี 106
เร่ืองที่ 5 แนวทางการสรา งเสริมสํานึกความเปนพลเมือง : กรณีศึกษาประเทศไทย 110
เรื่องที่ 6 การศึกษาเก่ยี วกับความเปนพลเมืองในบริบทตา งประเทศ 113
เรือ่ งที่ 7 กิจกรรมทเ่ี กย่ี วขอ ง 115
1. การเคารพสิทธหิ นาท่ตี นเองและผอู ่นื 121
2. ระเบียบ กฎ กตกิ า กฎหมาย 127
3. ความรบั ผดิ ชอบตอตนเองและผอู ่นื /สงั คม/โลก 127
4. ความเปน พลเมอื งของประเทศ/โลก 128
5. แนวทางการปฏบิ ัตติ นเปนพลเมืองทด่ี ี 130
6. พลโลกท่มี คี วามรบั ผดิ ชอบตอ การปอ งกันการทุจรติ 131
7. การยกยอ งเชดิ ชกู ับคนทท่ี ําความดี 133
134
แบบทดสอบหลังเรียน 136
เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน – หลงั เรยี น
แนวคาํ ตอบกิจกรรม 138
บรรณานกุ รม 143
คาํ สั่งสาํ นักงานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 144
การประชุมจดั ทาํ หนงั สอื เรยี นรายวิชาการปองกันการทุจรติ 153
คณะผจู ดั ทาํ 156
164
169

5

คําแนะนําการใชหนงั สือเรยี น
รายวิชา การปองกนั การทุจริต

รายวชิ าการปองกนั การทจุ ริต รหัสรายวิชา สค32036 รายวิชาเลือก ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบดวย โครงสรางของ
รายวิชา โครงสรางของบทเรียน เนื้อหา และกิจกรรมเรียงลําดับตามบทเรียน แบบทดสอบกอนเรียน กิจกรรม
การเรียนรู แบบทดสอบหลังเรียน เฉลยแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน เฉลย/แนวคําตอบกิจกรรม
เรียงลําดับตามบทเรียน

วิธกี ารใชรายวิชา

ใหผเู รียนดําเนนิ การตามขัน้ ตอน ดังน้ี
1. ศึกษารายละเอียดโครงสรางรายวิชาโดยละเอียด เพื่อใหผูเรียนทราบวาตองเรียนรูเนื้อหา
ในเรือ่ งใดบา ง
2. วางแผนกําหนดระยะเวลาและจัดเวลาท่ีผูเรียนมีความพรอมจะศึกษารายวิชา เพื่อใหสามารถ
ศกึ ษารายละเอยี ดของเนือ้ หาใหค รบทกุ บทเรียน และทาํ กิจกรรมตามท่กี าํ หนดใหทนั กอนสอบปลายภาค
3. ทาํ แบบทดสอบกอนเรียนของรายวชิ าตามท่กี ําหนด เพอื่ ทราบพ้ืนฐานความรูเดิมของผูเรียน
และตรวจสอบคําตอบจากแนวคาํ ตอบ/เฉลยทายเลม
4. ศึกษาเนื้อหาของแตละบทเรียนอยางละเอียดใหเขาใจ ท้ังในหนังสือเรียนและสื่อประกอบ
(ถา มี) และทาํ กจิ กรรมทีก่ าํ หนดไวใหค รบถว น
5. ทาํ แตละกจิ กรรมเรียบรอ ยแลว ผูเรียนสามารถตรวจสอบคาํ ตอบไดจ ากแนวคําตอบ/เฉลยทายเลม
หากผูเรียนยังทาํ กิจกรรมไมถูกตองใหผูเรียนกลับไปทบทวนเนื้อหาในเร่ืองน้ัน ๆ ซ้าํ จนกวาจะเขาใจ
6. หลังจากศกึ ษาเนื้อหาครบทกุ บทเรยี นแลว ใหผ เู รยี นทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน และตรวจสอบ
แนวคาํ ตอบจากเฉลยทายเลม วาผูเรียนสามารถทาํ แบบทดสอบไดถ กู ตอ งทกุ ขอ หรือไม หากขอใดยังไมถูกตอง
ใหผเู รยี นกลับไปทบทวนเนอ้ื หาในเรอ่ื งนนั้ ใหเ ขาใจอกี ครง้ั
ขอแนะนํา ผูเรียนควรทําแบบทดสอบหลังเรียน ใหไดคะแนนมากกวาแบบทดสอบกอนเรียน
และควรไดค ะแนนไมนอยกวา รอ ยละ 60 ของแบบทดสอบทงั้ หมด เพื่อใหม่ันใจวา จะสามารถสอบปลายภาคผา น
7. หากผูเรียนไดศึกษาเน้ือหาและทํากิจกรรมแลวยังไมเขาใจ ผูเรียนสามารถสอบถามและ
ขอคาํ แนะนาํ ไดจากครูหรือคนควา จากแหลง เรยี นรอู ่ืน ๆ เพมิ่ เตมิ ได

6

การศกึ ษาคน ควาเพม่ิ เตมิ

ผูเรียนอาจศกึ ษาหาความรเู พิ่มเตมิ ไดจากแหลงเรยี นรอู ่ืน ๆ ทเ่ี ผยแพรความรใู นเร่ืองที่เก่ียวของ
และศกึ ษาจากผรู ู

การวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน

การจัดใหมีการวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น ดงั นี้
1. ระหวา งภาค วดั ผลจากการทาํ กิจกรรมหรืองานทีไ่ ดร ับมอบหมายระหวางเรยี น
2. ปลายภาค วดั ผลจากการทําขอสอบวดั ผลสมั ฤทธป์ิ ลายภาค

7

โครงสรางรายวชิ า
การปองกนั การทุจริต

มาตรฐานการเรยี นรรู ะดับ

1. มีความรู ความเขาใจ ดาํ เนินชวี ติ ตามวิถปี ระชาธปิ ไตย กฎ ระเบยี บของประเทศตาง ๆ ในโลก
2. มีความรู ความเขา ใจหลกั การพัฒนาชุมชน สังคม สามารถวเิ คราะหขอ มลู และเปนผนู ําผูตาม
ในการพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม ใหส อดคลอ งกบั สภาพการเปล่ียนแปลงของเหตกุ ารณปจจบุ ัน

ตัวชี้วัด

1. อธิบายสาเหตขุ องการทุจริตและทิศทางการปอ งกันการทจุ ริตในประเทศไทย
2. อธบิ ายทฤษฎี ความหมายและรูปแบบของการขดั กนั ระหวา งผลประโยชนสวนตนและผลประโยชน
สวนรวม (โลก)
3. อธบิ ายกฎหมายท่ีเกี่ยวของกบั การขดั กันระหวางผลประโยชนส วนตนกบั ผลประโยชนสว นรวม
4. คดิ วิเคราะหก ระบวนการ “คดิ เปน ”
5. อธบิ ายบทบาทของรฐั /เจา หนาที่ของรฐั ทเ่ี ก่ยี วขอ งกบั การปองกนั ปราบปรามเก่ียวกับการทุจริต
6. สรปุ ผลกรณีตัวอยา งที่เกย่ี วของ
7. สามารถคิด วเิ คราะหในการทาํ กิจกรรมท่เี กยี่ วของ
8. อธิบายเก่ียวกับรายละเอยี ดการทจุ รติ ของประเทศไทย/โลกได
9. อธิบายความละอายและความไมทนตอการทจุ ริตได
10. สามารถคิด วิเคราะหในการทํากจิ กรรมทเี่ กี่ยวขอ งไดถูกตอง
11. อธบิ ายเก่ียวกับจิตพอเพยี งตอ ตา นการทุจรติ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
12. อธิบายแบบอยางความพอเพยี งของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช
มหาราช บรมนาถบพิตร (พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ในหลวงรชั กาลท่ี 9)
13. สามารถคิด วิเคราะหในการทาํ กจิ กรรมทีเ่ กี่ยวของไดถกู ตอง
14. อธบิ ายความหมายและทมี่ าของคําศัพททีเ่ ก่ยี วของกับพลเมือง
15 อธบิ ายความหมายและแนวคดิ เก่ียวกบั การศกึ ษาเพื่อสรา งความเปน พลเมือง
16. อธิบายองคป ระกอบของการศกึ ษาความเปน พลเมอื ง
17. บอกแนวทางการปฏบิ ัตติ นของการเปนพลเมืองดีได
18. อธบิ ายแนวทางการสรา งเสรมิ สาํ นกึ ความเปนพลเมือง : กรณีศึกษาประเทศไทย

8

19. บอกผลการศึกษาเก่ยี วกบั ความเปน พลเมืองในบรบิ ทตางประเทศ
20. สามารถคดิ วิเคราะหใ นการทํากจิ กรรมท่ีเกย่ี วของ

สาระสาํ คญั

การปองกันการทุจริต ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เปนการเรียนรูเกี่ยวกับการคิดแยกแยะ
ระหวางผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม ความละอายและความไมทนตอการทุจริต
STRONG : จิตพอเพียงตา นการทุจริต และพลเมืองกับความรับผิดชอบตอสังคม ซึ่งจะสรางความรู ความเขาใจ
ใหแกผูเรียนในเร่ืองดังกลาวขางตน เพ่ือรวมกันปองกันหรือตอตานการทุจริต ไมใหมีการทุจริตเกิดขึ้น
ในสงั คมไทย รวมกนั สรา งสังคมไทยทีไ่ มทนตอ การทุจรติ ตอไป

ขอบขายเนอ้ื หา

บทที่ 1 การคดิ แยกแยะระหวางผลประโยชนส ว นตนกับผลประโยชนสวนรวม
บทท่ี 2 ความละอายและความไมทนตอการทุจรติ
บทท่ี 3 STRONG : จติ พอเพียงตานการทุจริต
บทท่ี 4 พลเมอื งกบั ความรบั ผดิ ชอบตอ สงั คม

สื่อประกอบการเรยี นรู

1. รายวิชาการปองกันการทุจรติ รหัสรายวชิ า สค32036
2. สอ่ื เสรมิ การเรียนรูอน่ื ๆ

จาํ นวนหนวยกิต

จํานวน 3 หนว ยกิต

กจิ กรรมเรียนรู

1. ทําแบบทดสอบกอนเรยี น และตรวจสอบแนวคาํ ตอบจากเฉลยทายเลม
2. ศึกษาเน้อื หาในบทเรียนทุกบท
3. ทาํ กิจกรรมตามทก่ี าํ หนด และตรวจสอบแนวคาํ ตอบจากเฉลยทา ยเลม
4. ทาํ แบบทดสอบหลังเรียน และตรวจสอบแนวคําตอบจากเฉลยทายเลม

9

การประเมนิ ผล

1. ทาํ แบบทดสอบกอ นเรยี น และแบบทดสอบหลังเรยี น
2. ทํากจิ กรรมในแตล ะหนวยการเรยี นรู
3. เขารบั การทดสอบปลายภาค

10

แบบทดสอบกอ นเรยี น

1. ขอใดไมใ ชสาเหตขุ องการทุจรติ
ก. กฎหมาย ระเบียบ ขอกาํ หนดมชี อ งวา ง
ข. เจา หนาท่ีมีอํานาจสทิ ธิขาดในการใชด ุลพินจิ
ค. ไมมีกลไกท่มี ีประสิทธิภาพในการควบคมุ
ง. การเปลย่ี นตําแหนง ของผูปฏบิ ตั ิงาน

2. ขอ ใดไมเกี่ยวขอ งกับทศิ ทางการปอ งกันและการทุจรติ ในประเทศไทย
ก. แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)
ข. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศกั ราช 2560
ค. ยุทธศาสตรช าติระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580)
ง. พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ

3. ขอ ใดคือหลกั สําคัญในการควบคุมพฤติกรรมของเจา หนา ทขี่ องรัฐ
ก. หลกั ธรรม
ข. คติธรรม
ค. จริยธรรม
ง. มโนธรรม

4. บรษิ ัทใหข องขวัญเปน ทองคาํ แกเ จาหนา ที่ เจา หนา ทกี่ เ็ รง รัดคนื ภาษีใหก อนโดยวธิ ลี ดั ควิ
เพ่ือตองการ ไดข องขวัญอกี ครั้ง เปน การทุจรติ ในรปู แบบใด
ก. การรขู อมูลภายใน
ข. การรับผลประโยชน
ค. คสู ญั ญากบั เอกชน
ง. การสรา งถนนในชุมชน

11

5. ขอใดสําคญั ทสี่ ุดในการจดั กระบวนการคิดเปน
ก. ผูเรยี น
ข. ผสู อน
ค. กระบวนการ
ง. สภาพปญ หา

6. เม่อื นาํ ผลการตดั สินใจไปปฏบิ ตั แิ ลว ยงั ไมพ อใจ ควรทําอยางไร
ก. ทิง้ ไวระยะหนงึ่ เพ่ือใหส ภาพสงั คมมีการเปลี่ยนแปลง
ข. คน ควา หาขอมลู เพิม่ เตมิ แลวกลบั ไปดําเนนิ การตามกระบวนการใหม
ค. ยกเลิกผลการตดั สินใจนนั้ เพราะเหน็ วา ไมถ ูกตอ ง
ง. ใหกลบั ไปทบทวนกระบวนการใหม เพอ่ื หาขอ บกพรอ ง

7. กรณีใดเขา ขายการทุจริต
ก. การลกั ทรพั ย
ข. การซ้ือขายหวยใตด นิ
ค. หวั หนางานขมขพู นักงาน
ง. ลาปว ยโดยใชใบรบั รองแพทยป ลอม

8. สงิ่ ทท่ี ําใหเกิดการทจุ ริต
ก. โอกาส ความกดดันจติ ใจ ความเครยี ด
ข. แรงจูงใจ เหตผุ ล ความยากจน
ค. โอกาส แรงจงู ใจ ความยากจน
ง. โอกาส แรงจงู ใจ เหตุผล

9. ขอใดตรงกับความหมายคําวา ทุจรติ
ก. ลูกขอเงินไปเท่ียว
ข. ผเู รียน กศน. มาพบกลุม
ค. พนักงานบรษิ ทั ใหเ พอ่ื นลงช่อื ทาํ งานแทน
ง. ผปู กครองซอ้ื อปุ กรณการสอนใหโ รงเรียน

12

10. การปฏบิ ตั ิตนในขอใดแสดงถึงความมวี นิ ยั ในตนเอง
ก. การเขา คิวซอ้ื อาหาร
ข. การแบง ขนมใหเ พื่อน
ค. การทําความสะอาดบาน
ง. การมอบของขวญั ใหผูใหญ

11. ถาทานรวู าสง่ิ ท่ีกระทํานั้นไมดี ไมถกู ตองตรงกับความหมายขอ ใด
ก. ความไมท น
ข. ความละอาย
ค. ความไมก ลวั
ง. ความเกรงใจ

12. ความไมทนตอการทจุ รติ ตรงกับความหมายขอ ใด
ก. ใหเพ่อื นลอกการบา น
ข. มีคนแซงคิวกอนหนา จึงเขาไปเตอื น
ค. ใชรถยนตข องราชการไปเทย่ี วในวันหยดุ
ง. เห็นคนหยบิ สินคา แลวไมจา ยเงินกท็ ําเฉย ๆ

13. การทจุ รติ ขอใดกอ ใหเ กิดความเสยี หายตอ สงั คม
ก. คา ยาเสพตดิ
ข. ลกู พดู โกหกพอแม
ค. เพื่อนขอลอกขอ สอบ
ง. จา งเพอ่ื นทําชนิ้ งานสง ครู

14. ขอใดไมใ ชสาเหตุของการทุจริต
ก. โครงสรา งสังคมไทยระบบอปุ ถัมภ
ข. กระบวนการยุติธรรมไมเขม แขง็
ค. กระแสบรโิ ภคนยิ ม วตั ถนุ ิยม
ง. ความรเู ทาไมถงึ การณ

13

15. การทุจรติ ในดานศลี ธรรม ตรงตามขอใด
ก. การลกั ทรพั ย
ข. การโกหก
ค. การเหน็ แกต ัว
ง. การหลงผิด

16. ขอใดเปนความหมายของคําวา “พลเมอื ง”
ก. ปฏบิ ัตติ นตามหนาท่ีเทา นัน้
ข. ยอมรบั กฎหมาย นโยบาย กิจกรรมตาง ๆ ของรัฐ
ค. บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของสมาชิกสังคมที่มตี อ รัฐ
ง. อาํ นาจอันชอบธรรมทตี่ อ งทาํ ระหวางบคุ คล

17. ขอใดไมใ ชความหมายของ “พลเมอื งศกึ ษา”
ก. ใหม คี วามภาคภมู ใิ จในความเปนพลเมืองดี
ข. การจัดการศึกษาและประสบการณเรยี นรเู พ่ือพฒั นาใหเปน พลเมอื งดี
ค. ตนเองเปนเพียงผนู อยตอ งคอยรับการอปุ ถัมภจากผูอืน่
ง. สนใจเรียนรูเ กี่ยวกับรฐั บาล กฎหมาย ระบบการเมืองการปกครอง

18. ความเปน พลเมอื งไดแกขอ ใด
ก. ศกั ด์ศิ รคี วามเปนมนุษย
ข. เคารพหลักความเสมอภาค
ค. รับผิดชอบตอ สังคมและสว นรวม
ง. การรับรู เขาใจกับการนบั ถือความรู ความสามารถ

19. ขอใดเปน ลกั ษณะของการเปน พลเมอื งดี
ก. รบั ฟง ความคิดเหน็ ตางไดเ สมอ
ข. กระตือรือรน ที่จะมีสว นรว มแกปญหา
ค. เคารพกฎ ระเบยี บของชมุ ชน
ง. ถกู ทกุ ขอ

14

20. ขอ ใดเปนแนวทางในการสรา งสํานกึ ความเปน พลเมือง
ก. รับฟงความคดิ เหน็ ของผอู น่ื
ข. เขา ไปมสี วนรวมในกิจการของชมุ ชน
ค. เคารพกฎหมายของทุกประเทศ
ง. ถกู ทุกขอ

1

บทที่ 1
การคิดแยกแยะระหวา งผลประโยชนส วนตนกับผลประโยชนสวนรวม

สาระสําคัญ

การทีเ่ จาหนาทร่ี ัฐปฏิบัติหนา ทโ่ี ดยคาํ นงึ ถงึ ผลประโยชนสวนตนหรือพวกพองเปนหลัก ซึ่งเปนการ
กระทาํ ที่ขัดตอหลักคุณธรรม จริยธรรม และหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี (Good Governance)
ซึ่งจะนาํ ไปสูการทุจริตตอไป หากเจาหนาท่ีไมมีการแยกแยะวาอะไรคือผลประโยชนสวนตน หรืออะไร
เปนผลประโยชนส วนรวมแลว ยอ มจะเกิดปญ หาเก่ยี วกับผลประโยชนแ นนอน

ตัวช้วี ดั

1. อธิบายสาเหตุของการทจุ รติ และทิศทางการปอ งกันการทุจรติ ในประเทศไทย
2. อธิบายทฤษฎี ความหมายและรปู แบบของการขดั กันระหวา งผลประโยชนส วนตนกับ
ผลประโยชนสว นรวม (โลก)
3. อธบิ ายกฎหมายท่ีเก่ียวขอ งกับการขดั กนั ระหวา งผลประโยชนส วนตนกับผลประโยชนส วนรวม
4. คิด วเิ คราะหกระบวนการ “คิดเปน ”
5. อธบิ ายบทบาทของรฐั /เจาหนา ทข่ี องรัฐท่ีเกี่ยวของกบั การปอ งกนั ปราบปรามเกย่ี วกบั การทุจรติ
6. สรปุ ผลกรณีตัวอยา งทเี่ ก่ยี วของ
7. สามารถคดิ วเิ คราะหใ นการทํากจิ กรรมท่ีเกีย่ วของ

ขอบขา ยเน้ือหา

เรือ่ งที่ 1 สาเหตุของการทุจรติ และทศิ ทางการปองกันและการทจุ รติ ในประเทศไทย

เรอ่ื งท่ี 2 ทฤษฎี ความหมายและรูปแบบของการขัดกันระหวา งผลประโยชนส วนตน
และผลประโยชนส วนรวม (โลก)

เร่ืองท่ี 3 กฎหมายท่ีเกยี่ วของกับการขัดกันระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสวนรวม
เร่ืองที่ 4 การคดิ เปน
เรื่องท่ี 5 บทบาทของรัฐ/เจาหนาท่ขี องรัฐทเี่ ก่ียวขอ งกบั การปองกันปราบปรามเก่ียวกับการทุจริต

2

เรอ่ื งท่ี 1 สาเหตขุ องการทจุ รติ และทศิ ทางการปองกนั และการทจุ รติ ในประเทศไทย

การทุจริตเปนหน่ึงในปญหาใหญที่ทั่วโลกกังวลเปนอยางมาก เพราะเปนปญหาที่มีความซับซอน
ยากตอ การจัดการและเก่ียวของกับคนทุกคน องคกรทุกองคกร ซึ่งจะสงผลกระทบอยางมากกับการพัฒนา
ประเทศ

1. สาเหตขุ องการทุจรติ
สาเหตุของการทุจรติ อาจเกดิ ขน้ึ ไดในประเทศท่มี ีสถานการณด ังตอ ไปน้ี
1.1 มีกฎหมาย ระเบียบ หรือขอกําหนดจํานวนมากที่เกี่ยวของกับการดําเนินการทางธุรกิจ

หากมาตรการหรือขอกําหนดดังกลาวมีความซับซอน คลุมเครือ เลือกปฏิบัติเปนความลับหรือไมโปรงใส
จะสงผลใหเ ปนตนเหตุของการทุจรติ ได

1.2 มีสถานการณ โอกาส หรอื มีกฎ ระเบยี บตา ง ๆ ทน่ี าํ ไปสูการทจุ ริตได
1.3 กฎหมาย และกระบวนการยุตธิ รรมไมมีความเขมแขง็ ตลอดจนการพฒั นาใหทนั สมยั
2. ทิศทางการปองกันการทจุ ริตในประเทศไทย
ปจ จบุ ันประเทศไทยมหี ลายหนวยงานเกิดการตืน่ ตัวพยายามเขา มามีสวนรว มในการแกไขปญหา
การทุจริต โดยรวมกันสรางเคร่ืองมือ กลไก และกําหนดเปาหมายสําหรับการปฏิบัติงานดานการปองกันและ
ปราบปรามการทุจรติ
ในฐานะท่ีสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (สํานักงาน
ป.ป.ช.) เปนองคกรหลักดานการปองกันและปราบปรามการทุจริตไดบูรณาการการทํางานดานการตอตาน
การทจุ รติ เขากบั ทกุ ภาคสวน ดังน้ี
2.1 กําหนดเนือ้ หาเกยี่ วกบั เรื่องนใ้ี นรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2560 หมวด
ท่ี 4 หนาที่ของประชาชนชาวไทยวา “... บุคคลมีหนาที่ไมรวมมือหรือสนับสนุนการทุจริตและประพฤติ
มิชอบทุกรูปแบบ” หมวดท่ี 5 หนาท่ีของรัฐวา “รัฐตองสงเสริมสนับสนุนและใหความรูแกประชาชน
ถงึ อนั ตรายทีเ่ กดิ จากการทุจรติ และประพฤติมิชอบทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดใหมีมาตรการและกลไกท่ีมี
ประสทิ ธภิ าพ เพอื่ ปอ งกนั และขจัดการทจุ รติ อยา งเขมงวด รวมทั้งกลไกในการสง เสริมใหประชาชนรวมตัวกัน
เพื่อมสี ว นรว มในการรณรงคใ หค วามรตู อตานการทุจริต หรือช้ีเบาะแสโดยไดรับความคุมครองจากรัฐ ตามท่ี
กฎหมายบัญญัติ”
2.2 กําหนดใหมยี ุทธศาสตรการแกไ ขปญ หา 3 ยทุ ธศาสตร ประกอบดวย

1) ยทุ ธศาสตรการปลูกฝง “คนไทยไมโกง” เพื่อปฏริ ูป “คน” ใหมีจิตสาํ นึกและสรา งพลังรวม
เพื่อแกไขปญ หาทจุ รติ คอรรัปชนั

3

2) ยุทธศาสตรการปองกันดว ยการเสริมสรา งสงั คมธรรมาภิบาล เพอื่ ปฏิรูประบบและองคกร
เพือ่ สรา งธรรมาภบิ าลในทุกภาคสวน

3) ยุทธศาสตรการปราบปราม เพื่อปฏิรูประบบและกระบวนการจัดการตอกรณีการทุจริต
คอรร ัปชันใหม ีประสทิ ธภิ าพ

2.3 กําหนดไวในกรอบยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) โดยมีวิสัยทัศน “ประเทศไทย
มคี วามมั่นคง มงั่ คงั่ ยั่งยืน เปนประเทศพัฒนาแลวดว ยการพฒั นาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง”

2.4 กําหนดใหมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)
วาดว ยเร่ืองสงั คมไทยมีวนิ ัย โปรง ใส ยึดม่ันในความซือ่ สตั ย ยตุ ธิ รรม รวมท้ังสรางความเขมแข็งเปนภูมิคุมกัน
ในสังคมไทย ครอบคลุมภาครัฐ ภาคเอกชน องคกรพัฒนาเอกชน และภาคประชาชน พรอมทั้งสรางพลัง
การขับเคลือ่ นคานยิ มตอตา นการทจุ ริตโดยปลกู ฝง ใหคนไทยไมโกง

2.5 กําหนดใหมีโมเดลประเทศไทยสูความม่ันคง มั่งคั่ง และย่ังยืน (Thailand 4.0) เปนโมเดล
ทน่ี อ มนาํ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวคิดหลักในการบริหารประเทศ ถอดรหัสออกมาเปน
2 ยทุ ธศาสตรส ําคัญ คอื

1) การสรา งความเขมแขง็ จากภายใน (Strength From Within)
2) การเชอื่ มโยงกบั ประชาคมโลกในยุทธศาสตรการสรางความเขมแข็งจากภายในThailand 4.0
เนน การปรบั เปลีย่ น 4 ทิศทางและเนนการพัฒนาที่สมดุลใน 4 มิติ มิติท่ีหยิบยก คือ การยกระดับศักยภาพและ
คณุ คาของมนุษย (Human Wisdom) ดวยการพัฒนาคนไทยใหเปน “มนุษยที่สมบูรณ” ผานการปรับเปลี่ยน
ระบบนิเวศนการเรียนรูเพ่ือเสริมสรางแรงบันดาลใจบมเพาะความคิดสรางสรรค ปลูกฝงจิตสาธารณะ
ยึดประโยชนส ว นรวมเปน ทต่ี งั้ มคี วามซอ่ื สตั ย สุจรติ มีวินัย มีคุณธรรมจริยธรรม มีความรับผิดชอบ เนนการ
สรา งคณุ คา รวม และคา นิยมที่ดี คือ สงั คมทมี่ คี วามหวงั (Hope) สงั คมทเ่ี ปย มสุข (Happiness) และสังคมที่มี
ความสมานฉนั ท (Harmony)
2.6 กาํ หนดใหมียุทธศาสตรช าติวาดว ยการปองกันและปราบปรามการทุจริตระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 -
2564) โดยกาํ หนดวสิ ัยทศั น “ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติตานทุจริต” (Zero Tolerance & Clean Thailand)
หมายความวา ประเทศไทยในระยะ 5 ปขางหนา จะมุงสูการเปนประเทศท่ีมีมาตรฐานทางคุณธรรม จริยธรรม
เปนสังคมมิติใหมท่ีประชาชนไมเพิกเฉยตอการทุจริตทุกรูปแบบ โดยไดรับความรวมมือจากฝายการเมือง
หนว ยงานของรัฐ ตลอดจนประชาชน ในการพทิ กั ษร กั ษาผลประโยชนของชาติ และประชาชน เพอ่ื ใหป ระเทศไทย
มศี ักดิศ์ รแี ละเกียรตภิ มู ใิ นดานความโปรง ใสทดั เทยี มนานาอารยประเทศ

4

กจิ กรรม

คําช้แี จง ใหผ ูเรียนยกตัวอยา งกิจกรรมการเลอื กต้งั ในชมุ ชนท่สี ง ผลตอ การทจุ รติ พรอ มท้งั ระบแุ นวทาง
การปอ งกนั การทุจริตเร่อื งดงั กลา วได

5

เรือ่ งที่ 2 ทฤษฎี ความหมายและรูปแบบของการขัดกันระหวางผลประโยชนสวนตน
และผลประโยชนสว นรวม (โลก)

การขัดกันระหวางประโยชนสวนบุคคลกับประโยชนสวนรวมนั้น มีลักษณะทํานองเดียวกันกับกฎ
ศลี ธรรม ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี หลักคุณธรรม จรยิ ธรรม กลา วคอื การกระทําใด ๆ ที่เปนการขัดกัน
ระหวา งประโยชนสวนบุคคลกบั ประโยชนส ว นรวม เปน สิง่ ทีค่ วรหลีกเลย่ี ง ไมควรจะกระทาํ ซงึ่ บคุ คลแตละคน
แตล ะสังคม อาจเห็นวาเรื่องใดเปนการขัดกนั ระหวา งประโยชนสวนบคุ คลกบั ประโยชนสว นรวมแตกตางกันไป
หรือเมื่อเห็นวาเปนการขัดกันแลวยังอาจมีระดับความหนักเบาแตกตางกัน อาจเห็นแตกตางกันวาเรื่องใด
กระทําได กระทําไมไดแตกตางกันออกไปอีก และในกรณีที่มีการฝาฝนบางเร่ืองบางคนอาจเห็นวาไมเปนไร
เปนเรื่องเลก็ นอ ย หรอื อาจเห็นวา เปน เรอื่ งใหญตอ งถกู ประณาม ตาํ หนิ ติฉนิ นินทาวากลา ว ฯลฯ แตกตางกัน
ตามสภาพของสงั คม

1. ทฤษฎีของการขดั กันระหวา งผลประโยชนส ว นตนและผลประโยชนส วนรวม (โลก)
1.1 ทฤษฎอี ุปถมั ภ การขัดกนั แหง ผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวมจากโครงสราง

ของสังคม ซึง่ มคี วามสัมพันธใ นลกั ษณะการพง่ึ พาอาศัยในความเทาเทียมกัน โดยตางฝายตางมีผลประโยชน
ตางตอบแทนความสัมพันธน้ัน มีองคประกอบของความเปนมิตรรวมอยูดวย แตเปนมิตรภาพทีข่ าดดลุ ยภาพ
คือ อีกฝายหนึ่งมีอํานาจ ทําใหเกิดพวกพองในองคกรทําใหงายตอการเกิดการทุจริตและประพฤติมิชอบ
และยากตอ การตรวจสอบ

1.2 ทฤษฎกี ารทจุ ริต ทฤษฎที ุจริตเกิดข้ึนจากปจจัย 3 ประการ คอื
1) ความซื่อสัตย เมื่อมนุษยมีความตองการ ความโลภ แมถูกบังคับดวยจริยธรรม คุณธรรม

และบทลงโทษทางกฎหมายก็ตาม ความจําเปน ทางเศรษฐกิจมีสวนผลักดันใหบุคคลตัดสินใจกระทําความผิด
เพอื่ ใหตนเองอยูร อด

2) โอกาส ผูกระทําความผิด พยายามท่ีจะหาโอกาสที่เอื้ออํานวยตอการทุจริต โอกาส
ทเ่ี ยายวนตอ การทจุ รติ ยอ มกระตุนใหเกดิ การทจุ ริตไดงายขึ้นกวาโอกาสทไี่ มเปดชอ ง

3) การจูงใจ เปนมูลเหตุจูงใจใหบุคคลตัดสินใจกระทําการทุจริต และนําไปสูการหา
มาตรการในการปอ งกนั การทุจริตดวย การจูงใจในการกระทําการทุจริต เชน ความทะเยอทะยานอยางไมมี
ท่ีสิน้ สดุ ปรารถนาจะยกระดับใหท ัดเทยี มกบั บุคคลอน่ื ในสังคม ปญหาทางการเงิน การกระทําเพ่ืออยากเดน
เปน ตน

6

2. ความหมายของการขัดกนั ระหวา งประโยชนส วนตนและประโยชนสวนรวม (โลก)
การขัดกันของผลประโยชน คือ สถานการณที่บุคคลผูดํารงตําแหนงอยางที่ไววางใจ

(เชน ทนายความ นกั การเมอื ง ผูบริหาร หรือผูอํานวยการของบริษัทเอกชน หรือหนวยงานอ่ืน ๆ) เกิดความขัดแยง
ขึ้นระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนทางวิชาชีพ อันสงผลใหเกิดปญหาที่เขาไมสามารถปฏิบัติ
หนาที่ไดอยางเปนกลาง ไมลําเอียง ผลประโยชนทับซอนที่เกิดขึ้นอาจสงผลใหเกิดความไมไววางใจที่มี
ตอบุคคลผูน้ันวาเขาจะสามารถปฏิบัติงานตามตําแหนงใหอยูในครรลองของคุณธรรมจริยธรรมไดมากนอย
เพียงใด ผลประโยชนทับซอนอาจเรียกช่ือแตกตางกัน เชน ความขัดแยงกันระหวางผลประโยชนสวนตน
และผลประโยชนสวนรวม ผลประโยชนทบั ซอ น หรือผลประโยชนขัดกัน

คําวา ผลประโยชนสวนตน (Private Interests) หมายถึง ผลประโยชนที่บุคคลไดรับ
โดยอาศยั ตําแหนง หนา ทขี่ องตนหาผลประโยชนจ ากหนา ท่ขี องตนและหาผลประโยชนจากบุคคลหรือกลุมบุคคล
ผลประโยชนสว นตนมที ้ังเกี่ยวกบั เงนิ ทอง และไมไดเ ก่ียวกบั เงินทอง เชน ท่ดี นิ หนุ ตําแหนง หนา ที่ สมั ปทาน
สว นลด ของขวัญ หรอื สง่ิ ที่แสดงน้าํ ใจไมตรีอ่ืน ๆ การลําเอยี ง การเลือกปฏิบัติ เปน ตน

คําวา ผลประโยชนสวนรวม (PublicInterests)หมายถึง การท่ีบุคคลใดในสถานะที่เปน
เจาหนา ท่ีของรฐั (ผูด าํ รงตําแหนงทางการเมือง ขา ราชการ พนกั งานรัฐวสิ าหกจิ หรือเจา หนาท่ีของรัฐในหนวยงาน
ของรฐั ) ไดก ระทําการใด ๆ ตามหนาทีห่ รอื ไดป ฏิบัตหิ นาท่ีอันเปนการดําเนินการในอีกสว นหนึง่ ท่ีแยกออกมาจาก
การดําเนินการตามหนาที่ในสถานะของเอกชน การกระทําการใด ๆ ตามหนาท่ีของเจาหนาที่ของรัฐจึงมี
วตั ถปุ ระสงคหรอื มีเปา หมายเพอ่ื ประโยชนของสวนรวม หรอื การรักษาประโยชนสวนรวมที่เปนประโยชนของรัฐ
การทาํ หนา ที่ของเจา หนาทีข่ องรฐั จึงมคี วามเก่ียวเนื่องเช่ือมโยงกับอํานาจหนาท่ีตามกฎหมาย และจะมีรูปแบบ
ของความสัมพนั ธห รือมีการกระทําในลักษณะตาง ๆ กันที่เหมือนหรือคลายกับการกระทําของบุคคลในสถานะ
เอกชน เพียงแตก ารกระทาํ ในสถานะที่เปนเจา หนา ท่ขี องรฐั กบั การกระทําในสถานะเอกชน จะมีความแตกตางกัน
ทวี่ ตั ถุประสงค เปา หมาย หรือประโยชนสุดทายทแ่ี ตกตา งกัน

3. รูปแบบของการขัดกันระหวางผลประโยชนส วนตนและผลประโยชนส วนรวม (โลก)
การขดั กันระหวา งผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนส ว นรวม มไี ดห ลายรปู แบบไมจ าํ กดั เฉพาะ

ในรูปแบบของตวั เงนิ หรอื ทรพั ยสนิ เทา น้นั แตรวมถงึ ผลประโยชนอื่น ๆ ที่ไมไดอยูในรูปแบบของตัวเงินหรือ
ทรัพยสินดวย ท้ังนี้ John Langford และ Kenneth Kernaghan ไดจําแนกรูปแบบของการขัดกันระหวาง
ผลประโยชนสว นตนและผลประโยชนสว นรวมออกเปน 7 รปู แบบ คือ

7

3.1 การรบั ผลประโยชนต าง ๆ
การรบั ผลประโยชนต าง ๆ (Accepting Benefits) ซ่ึงผลประโยชนต า ง ๆ ไมว าจะเปนทรัพยสิน

ของขวัญ การลดราคา การรบั ความบันเทงิ การรับบริการ การรับการฝกอบรม หรอื สง่ิ อ่นื ใดในลักษณะเดียวกันน้ี
และผลจากการรบั ผลประโยชนอื่น ๆ นน้ั ไดส งผลใหก ารตัดสินใจของเจาหนาท่ีของรัฐในการดําเนินการตาม
อาํ นาจหนา ท่ี

ตวั อยา ง
1) นายสุจริต ขาราชการชั้นผูใหญ ไดเดินทางไปปฏิบัติราชการในพื้นที่จังหวัดราชบุรี
ซึง่ ในวันดังกลาว นายรวย นายกอบต. แหงหน่งึ ไดม อบงาชางจาํ นวนหนงึ่ คูใหแ กนายสจุ รติ เพอ่ื เปนของท่รี ะลึก
2) การท่ีเจาหนาที่ของรัฐรับของขวัญจากผูบริหารของบริษัทเอกชน เพ่ือชวยใหบริษัท
เอกชนรายน้ันชนะการประมูลรับงานโครงการขนาดใหญของรฐั
3) การทบี่ ริษัทแหง หนึ่งใหของขวญั เปนทองคําแกเจาหนาที่ในปที่ผานมา และปน้ีเจาหนาที่
เรงรัดคนื ภาษใี หกับบรษิ ทั นัน้ เปนกรณพี ิเศษ โดยลดั ควิ ใหกอนบริษทั อืน่ ๆ เพราะคาดวา จะไดรบั ของขวญั อกี
4) การที่เจาหนาที่ของรัฐไปเปนคณะกรรมการของบริษัทเอกชน หรือรัฐวิสาหกิจ
และไดรับความบันเทิงในรูปแบบตาง ๆ จากบริษัทเหลานั้น ซ่ึงมีผลตอการใหคําวินิจฉัยหรือขอเสนอแนะ
ท่เี ปน ธรรม หรอื เปน ไปในลักษณะที่เอ้อื ประโยชนตอบรษิ ัทผใู หน ัน้ ๆ
5) เจาหนาที่ของรัฐไดรับชุดไมกอลฟจากผูบริหารของบริษัทเอกชน เมื่อตองทํางาน
ที่เกี่ยวของกับบริษัทเอกชนแหงน้ันก็ชวยเหลือใหบริษัทนั้นไดรับสัมปทาน เนื่องจากรูสึกวาควรตอบแทน
ที่เคยไดรับของขวญั มา
3.2 การทาํ ธุรกจิ กับตนเองหรอื เปน คูส ัญญา
การทําธรุ กจิ กับตนเอง (Self - Dealing) หรือเปนคูสัญญา (Contracts) เปนการที่เจาหนาที่
ของรัฐ โดยเฉพาะผูมีอาํ นาจในการตัดสินใจเขาไปมีสวนไดสวนเสียในสัญญาที่ทํากับหนวยงานที่ตนสังกัด
โดยอาจจะเปนเจาของบริษัทท่ีทําสัญญาเอง หรือเปนของเครือญาติ สถานการณเชนนี้เกิดบทบาทท่ีขัดแยง
หรอื เรียกไดว าเปน ทัง้ ผซู อื้ และผขู ายในเวลาเดยี วกนั
ตวั อยาง
1) การที่เจาหนาที่ในกระบวนการจัดซื้อจัดจางทําสัญญา ใหหนวยงานตนสังกัด
ซ้ือเครอ่ื งคอมพวิ เตอรสํานกั งานจากบริษทั ของครอบครวั ตนเอง หรอื บรษิ ทั ที่ตนเองมีหนุ สว นอยู
2) ผูบริหารหนวยงาน ทําสัญญาเชารถไปสัมมนาและดูงานกับบริษัท ซึ่งเปนของเจาหนาท่ี
หรอื บริษัทท่ีผบู รหิ ารมีหนุ สว นอยู

8

3) ผูบริหารของหนวยงาน ทําสัญญาจางบริษัทที่ภรรยาของตนเองเปนเจาของมาเปน
ที่ปรึกษาของหนวยงาน

4) ผูบริหารของหนวยงานทําสัญญาใหหนวยงานจัดซ้ือที่ดินของตนเองในการสราง
สาํ นักงานแหงใหม

3.3 การทาํ งานหลงั จากออกจากตําแหนงหนาท่ีสาธารณะหรอื หลงั เกษยี ณ
การทาํ งานหลังจากออกจากตาํ แหนง หนาท่ีสาธารณะหรือหลงั เกษียณ (Post - employment)

เปนการที่เจาหนาที่ของรัฐลาออกจากหนวยงานของรัฐ และไปทํางานในบริษัทเอกชนที่ดําเนินธุรกิจ
ประเภทเดียวกัน หรือบริษัทที่มีความเกี่ยวของกับหนวยงานเดิม โดยใชอิทธิพลหรือความสัมพันธจากท่ีเคย
ดาํ รงตําแหนง ในหนว ยงานเดมิ น้ันหาผลประโยชนจากหนว ยงานใหก บั บริษัทและตนเอง

ตวั อยา ง
1) อดีตผูอํานวยการโรงพยาบาลแหงหน่ึง เพ่ิงเกษียณอายุราชการไปทํางานเปนที่ปรึกษา
ในบริษทั ผลิตหรือขายยา โดยใชอิทธิพลจากท่เี คยดํารงตําแหนง ในโรงพยาบาลดังกลาว ใหโรงพยาบาลซื้อยา
จากบริษัทที่ตนเองเปนที่ปรึกษาอยู พฤติการณเชนนี้ มีมูลความผิดทั้งทางวินัยและทางอาญาฐานเปน
เจาหนาท่ีของรัฐปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติในพฤติการณที่อาจทําใหผูอ่ืนเช่ือวาตนมีตําแหนงหรือหนาที่
ท้ังที่ตนมไิ ดม ตี าํ แหนงหรือหนาทนี่ ั้น เพื่อแสวงหาประโยชนท ่ีมิควรไดโดยชอบดว ยกฎหมายสําหรบั ตนเองหรือ
ผอู น่ื ตามพระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทจุ ริต พ.ศ. 2561 มาตรา171
2) การท่ีผูบริหารหรือเจาหนาที่ขององคกรดานเวชภัณฑและสุขภาพ ออกจากราชการ
ไปทาํ งานในบรษิ ัทผลติ หรอื ขายยา โดยใชความสัมพันธจากท่ีเคยทํางานในองคกร หาผลประโยชนใหบริษัท
ผลิตหรือขายยา
3) การที่ผบู ริหารหรือเจาหนาท่ีของหนวยงานที่เกษียณแลว ใชอิทธิพลที่เคยดํารงตําแหนง
ในหนวยงานรฐั รบั เปน ทปี่ รึกษาใหบริษัทเอกชนท่ีตนเคยตดิ ตอ ประสานงาน โดยอางวา จะไดต ดิ ตอกบั หนว ยงานรฐั
ไดอ ยางราบร่นื
4) การวา จางเจา หนา ทีผ่ เู กษียณมาทาํ งานในตําแหนงเดิมท่ีหนวยงานเดิมโดยไมคุมคากับ
ภารกิจที่ไดรับมอบหมาย
3.4 การทาํ งานพิเศษ
การทํางานพิเศษ (Outside employment or moonlighting) ในรูปแบบน้ีมีไดหลาย
ลักษณะ ไมวา จะเปนการท่เี จา หนาทข่ี องรัฐตงั้ บรษิ ัทดาํ เนนิ ธรุ กิจท่ีเปนการแขงขันกับหนวยงานหรือองคการ
สาธารณะท่ีตนสังกัด หรือการรับจางพิเศษเปนที่ปรึกษาโครงการโดยอาศัยตําแหนงในราชการสรางความ
นาเชื่อถือวา โครงการของผวู า จา งจะไมมปี ญ หาติดขดั ในการพจิ ารณาจากหนวยงานทที่ ปี่ รกึ ษาสังกัดอยู

9

ตวั อยาง
1) เจาหนาท่ีตรวจสอบภาษี 6 สํานักงานสรรพากรจังหวัดในสวนภูมิภาค ไดจัดตั้งบริษัท
รบั จา งทาํ บัญชีใหคาํ ปรกึ ษาเกี่ยวกบั ภาษีและมผี ลประโยชนเก่ยี วขอ งกับบรษิ ทั โดยรับจางทําบัญชี และยื่นแบบ
แสดงรายการใหผ ูเ สยี ภาษีในเขตจังหวัดทีร่ ับราชการอยูและจงั หวดั ใกลเ คียง มพี ฤติกรรมชวยเหลือผูเสียภาษี
ใหเสียภาษีนอยกวาความเปนจริงและรับเงินคาภาษีอากรจากผูเสียภาษีบางราย รวมท้ังมิไดนาํ ไปยื่นแบบ
แสดงรายการชําระภาษีให พฤติกรรมของเจาหนาท่ีดังกลาวเปนการไมปฏิบัติตามขอบังคับกรมสรรพากร
วาดวยจรรยาขาราชการกรมสรรพากร พ.ศ. 2559 ขอ9 (7) (8) และอาศัยตําแหนงหนาที่ราชการของตน
หาประโยชนใหแกตนเอง เปนความผิดวินัยอยางไมรายแรงตามมาตรา83 (3) แหงพระราชบัญญัติระเบียบ
ขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 อีกทั้งเปนการปฏิบัติหนาที่ราชการโดยมิชอบเพื่อใหเกิดความเสียหาย
แกท างราชการโดยรายแรง และปฏบิ ตั หิ นา ทีร่ าชการโดยทุจรติ และยงั กระทําการอันไดชื่อวาเปนผูประพฤติ
ชว่ั อยางรายแรง เปนความผดิ วินยั อยางรา ยแรง ตามมาตรา 85 (1) และ (4) แหงพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการ
พลเรอื น พ.ศ. 2551
2) ฝายกฎหมายและเรงรัดภาษีอากรคาง สํานักงานสรรพากรจังหวัดในสวนภูมิภาค
หารายไดพ ิเศษโดยการเปนตวั แทนขายประกันชวี ิตของบริษัทเอกชน ไดอาศัยโอกาสที่ตนปฏิบัติหนาท่ีเรงรัด
ภาษีอากรคางผูป ระกอบการรายหนงึ่ หาประโยชนใหแ กตนเอง ดว ยการขายประกันชวี ิตใหแ กหุนสวนผูจัดการ
ของผปู ระกอบการดังกลาว รวมทั้งพนักงานของผปู ระกอบการน้ันอีกหลายคน ในขณะที่ตนกําลังดําเนินการเรงรัด
ภาษีอากรคาง พฤติกรรมของเจาหนาที่ดังกลาว เปนการอาศัยตําแหนงหนาท่ีราชการของตนหาประโยชน
ใหแ กตนเอง เปนความผดิ วนิ ัยอยา งไมร ายแรงตามมาตรา 83 (3) ประกอบมาตรา 84 แหงพระราชบัญญัติระเบียบ
ขา ราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
3) การที่เจาหนาท่ีของรัฐอาศัยตําแหนงหนาที่ทางราชการ รับจางเปนท่ีปรึกษาโครงการ
เพื่อใหบรษิ ทั เอกชนทวี่ าจางน้นั มคี วามนา เชื่อถอื มากกวา บรษิ ัทคูแขง
4) การทเ่ี จาหนา ทข่ี องรฐั ไมท าํ งานทีไ่ ดรบั มอบหมายจากหนวยงานอยางเต็มท่ี แตใชเวลา
ไปรับงานพิเศษอืน่ ๆ ทอี่ ยนู อกเหนืออํานาจหนา ท่ที ี่ไดร บั มอบหมายจากหนวยงาน
5) การทผี่ ูตรวจสอบบัญชีภาครฐั รบั งานพเิ ศษเปน ทีป่ รึกษา หรือเปน ผูทาํ บัญชีใหก บั บริษัท
ท่ตี องถกู ตรวจสอบ
3.5 การรขู อ มลู ภายใน
การรขู อมูลภายใน (Inside information) เปน สถานการณท ่ีเจาหนา ที่ของรฐั ใชประโยชนจาก
การท่ีตนเองรับรูขอมูลภายในหนวยงาน และนําขอมูลน้ันไปหาผลประโยชนใหกับตนเองหรือพวกพอง
อาจจะไปหาผลประโยชนโดยการขายขอ มลู หรือเขาเอาผลประโยชนเ สียเอง

10

ตัวอยาง
1) นายชาง 5 แผนกชุมสายโทรศัพทเคลื่อนท่ีขององคการโทรศัพทแหงประเทศไทย
ไดนาํ ขอมูลเลขหมายโทรศัพทเคล่ือนท่ี ระบบ 470 MHZ และระบบปลดล็อคไปขายใหแกผูอื่น จํานวน 40
หมายเลข เพ่ือนําไปปรับจูนเขากับโทรศัพทเคลื่อนที่ที่นําไปใชรับจางใหบริการโทรศัพทแกบุคคลท่ัวไป
คณะกรรมการ ป.ป.ช. มมี ติชี้มูลความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 151 มาตรา 157 และมาตรา 164
และมคี วามผิดวนิ ยั ขอ บงั คับองคการโทรศพั ทแ หง ประเทศไทยวา ดว ยการพนกั งาน พ.ศ. 2536 ขอ 44 และขอ 46
2) การท่ีเจาหนาที่ของรัฐทราบขอมูลโครงการตัดถนนเขาหมูบาน จึงบอกใหญาติพ่ีนอง
ไปซื้อที่ดินบริเวณโครงการดงั กลา ว เพ่อื ขายใหกบั ราชการในราคาท่ีสูงขน้ึ
3) การที่เจาหนาท่ีหนวยงานผูรับผิดชอบโครงขายโทรคมนาคมทราบมาตรฐาน (Spec)
วัสดุอุปกรณที่จะใชในการวางโครงขายโทรคมนาคม แลวแจงขอมูลใหกับบริษัทเอกชนที่ตนรูจัก เพื่อให
ไดเปรยี บในการประมลู
4) เจา หนาทพ่ี สั ดขุ องหนว ยงานเปดเผยหรือขายขอมูลท่ีสําคัญของฝายท่ีมายื่นประมูลไว
กอ นหนา ใหแกผ ูประมลู รายอื่นทใ่ี หผลประโยชน ทาํ ใหฝายทีม่ ายื่นประมลู ไวก อนหนา เสียเปรียบ
3.6 การใชท รพั ยสนิ ของราชการเพื่อประโยชนสวนตวั
การใชทรัพยสินของราชการเพื่อประโยชนสวนตัว (Using your employer’sproperty
for private advantage) เปน การท่เี จาหนา ทข่ี องรัฐนําเอาทรพั ยสินของราชการ ซ่ึงจะตองใชเพื่อประโยชน
ของทางราชการเทา นน้ั ไปใชเพือ่ ประโยชนของตนเองหรอื พวกพอ ง หรอื การใชใ หผ ูใตบังคบั บญั ชาไปทาํ งานสว นตวั
ตัวอยาง
1) คณบดีคณะแพทยศาสตร ใชอํานาจหนาท่ีโดยทุจริต ดวยการสั่งใหเจาหนาท่ีนําเกาอี้
พรอมผาปลอกคลมุ เกาอี้ เคร่ืองถายวิดีโอ เครื่องเลนวิดีโอ กลองถายรูป และผาเต็นท นําไปใชในงานมงคล
สมรสของบุตรสาว รวมทั้งรถยนต รถตูส วนกลาง เพ่ือใชรับสงเจาหนาท่ีเขารวมพิธี และขนยายอุปกรณท้ังท่ี
บานพกั และงานฉลองมงคลสมรสท่โี รงแรม ซ่งึ ลวนเปน ทรัพยส นิ ของทางราชการ การกระทําของจําเลยนบั เปน
การใชอ าํ นาจโดยทุจรติ เพ่ือประโยชนสวนตนอันเปนการเสียหายแกรัฐ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ไดช้ีมูลความผิด
วนิ ัยและอาญา ตอมาเรื่องเขาสูกระบวนการในช้นั ศาล ศาลพิเคราะหพยานหลักฐานโจทกแลวเห็นวาการกระทํา
ของจาํ เลยเปน การทุจริตตอ ตําแหนงหนา ทฐี่ านเปนเจาพนักงานมหี นา ท่ซี อ้ื ทาํ จัดการ หรือรักษาทรพั ยใด ๆ
ใชอํานาจในตําแหนงโดยทจุ ริต อนั เปน การเสยี หายแกร ฐั และเปน เจาพนกั งานปฏิบตั ิหนาท่โี ดยมิชอบ จงึ พิพากษา
ใหจ าํ คุก 5 ป และปรบั 20,000 บาท คําใหก ารรบั สารภาพเปน ประโยชนแ กก ารพจิ ารณาคดี ลดโทษใหก่งึ หนงึ่
คงจําคุกจาํ เลยไว 2 ป 6 เดอื น และปรบั 10,000 บาท

11

2) การที่เจาหนาที่ของรัฐ ผูมีหนาที่ขับรถยนตของสวนราชการนําน้ํามันในรถยนตไปขาย
และนําเงินมาไวใชจายสวนตัว ทําใหสวนราชการตองเสียงบประมาณเพ่ือซ้ือน้ํามันรถมากกวาความเปนจริง
พฤตกิ รรมดังกลา วถือเปนการทจุ รติ เปน การเบยี ดบังผลประโยชนของสวนรวมเพ่ือประโยชนของตนเองและ
มีความผดิ ฐานลักทรพั ยตามประมวลกฎหมายอาญา

3) การท่ีเจาหนาที่รัฐ ผูมีอํานาจอนุมัติใหใชรถราชการ หรือการเบิกจายคานํ้ามันเช้ือเพลิง
นํารถยนตข องสวนราชการไปใชใ นกิจธรุ ะสว นตวั

4) การท่ีเจาหนาท่ีรัฐนําวัสดุครุภัณฑของหนวยงานมาใชที่บาน หรือใชโทรศัพทของ
หนวยงาน ติดตอธุระสว นตวั หรอื นาํ รถสวนตัวมาลางทีห่ นวยงาน

3.7 การนําโครงการสาธารณะลงในเขตเลือกต้ังเพ่ือประโยชนในทางการเมือง
การนาํ โครงการสาธารณะลงในเขตเลือกตง้ั เพ่อื ประโยชนท างการเมอื ง (Pork – Barreling)

เปน การท่ีผูด าํ รงตาํ แหนง ทางการเมอื ง หรือผูบริหารระดบั สงู อนุมัติโครงการไปลงพ้ืนที่ หรือบานเกิดของตนเอง
หรือการใชงบประมาณสาธารณะเพื่อหาเสียง

ตัวอยาง
1) นายกองคการบริหารสวนตําบลแหงหน่ึงรวมกับพวกแกไขเปลี่ยนแปลงรายละเอียด
โครงการปรับปรุงและซอมแซมถนนคนเดิน ในตาํ บลที่ตนมีฐานเสียงโดยไมผานความเห็นชอบจากสภาฯ
และตรวจรบั งานทั้งที่ไมถ ูกตองตามแบบรายการท่ีกําหนด รวมทั้งเมื่อดําเนินการแลวเสร็จไดติดปายช่ือของตน
และพวก การกระทําดังกลาวมีมูลเปนการกระทําการฝาฝนตอความสงบเรียบรอยหรือสวัสดิภาพของ
ประชาชน หรือละเลยไมปฏิบัติตาม หรือปฏิบัติการไมชอบดวยอํานาจหนาที่มีมูลความผิดทั้งทางวินัย
อยางรายแรง และทางอาญา คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีหนงั สอื แจง ผลการพิจารณาของคณะกรรมการ ป.ป.ช.
ใหผ ูม อี ํานาจแตง ต้งั ถอดถอน และสาํ นกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ทราบ
2) การท่ีนกั การเมืองในจังหวัด ขอเพิ่มงบประมาณเพื่อทําโครงการตัดถนนสรางสะพาน
ลงในจงั หวดั โดยใชช ่อื หรือนามสกุลของตนเองเปนช่ือสะพาน
3) การท่รี ฐั มนตรอี นมุ ตั โิ ครงการไปลงในพื้นทีห่ รือบา นเกดิ ของตนเอง
3.8 การใชต าํ แหนง หนา ทแี่ สวงหาผลประโยชนแ กเ ครอื ญาตหิ รอื พวกพอง
การใชตําแหนงหนาท่ีแสวงหาประโยชนแกเครือญาติหรือพวกพอง (Nepotism) หรือ
อาจจะเรยี กวา ระบบอุปถมั ภพเิ ศษ เปนการที่เจาหนา ท่ีของรัฐใชอิทธิพลหรือใชอํานาจหนาท่ีทําใหหนวยงาน
ของตนเขา ทาํ สัญญากบั บรษิ ัทของพน่ี อ งของตน

12

ตัวอยาง
พนักงานสอบสวนละเวนไมนาํ บันทึกการจับกุมที่เจาหนาที่ตํารวจชุดจับกุมทําขึ้น ในวัน
เกิดเหตรุ วมเขา สํานวน แตกลับเปลย่ี นบันทึกและแกไขขอ หาในบันทึกการจับกุม เพ่ือชวยเหลือผูตองหา ซ่ึงเปน
ญาตขิ องตนใหรับโทษนอยลง คณะกรรมการ ป.ป.ช. พจิ ารณาแลว มีมลู ความผิดทางอาญาและทางวนิ ยั อยา งรายแรง
3.9 การใชอ ทิ ธิพลเขาไปมผี ลตอการตัดสนิ ใจของเจาหนาทรี่ ฐั หรือหนวยงานของรฐั อ่นื
การใชอิทธิพลเขาไปมีผลตอการตัดสินใจของเจาหนาท่ีรัฐหรือหนวยงานของรัฐอื่น
(influence) เพ่ือใหเกิดประโยชนแกตนเองหรือพวกพอง โดยเจาหนาที่ของรัฐใชตําแหนงหนาที่ขมขู
ผูใตบ ังคบั บญั ชาใหห ยดุ ทําการตรวจสอบบรษิ ทั ของเครือญาตขิ องตน
ตวั อยาง
1) เจาหนาท่ีของรัฐใชตําแหนงหนาท่ีในฐานะผูบริหาร เขาแทรกแซงการปฏิบัติงานของ
เจา หนา ท่ใี หป ฏบิ ตั หิ นา ทโ่ี ดยมิชอบดว ยระเบียบ และกฎหมาย หรือฝาฝน จริยธรรม
2) นายเอเปนหัวหนาสวนราชการแหงหนึ่งในจังหวัด รูจักสนิทสนมกับนายบี เปนหัวหนา
สว นราชการอกี แหงหนงึ่ ในจังหวดั เดียวกนั นายเอ จึงใชความสมั พนั ธสวนตัวฝากลกู ชาย คอื นายซี เขารับราชการ
ภายใตส ังกัดของนายบี
3.10 การขดั กนั แหง ผลประโยชนสวนบคุ คลกับประโยชนสวนรวมประเภทอืน่ ๆ
1) การเดินทางไปราชการตา งจงั หวัดโดยไมคํานึงถึงจํานวนคน จํานวนงาน และจํานวนวัน
อยางเหมาะสม อาทิ เดินทางไปราชการจํานวน 10 วัน แตใชเวลาในการทํางานจริงเพียง 6 วัน โดยอีก 4 วัน
เปน การเดนิ ทางทอ งเทย่ี วในสถานท่ตี า ง ๆ
2) เจาหนาที่ผูปฏิบัติไมใชเวลาในราชการปฏิบัติงานอยางเต็มท่ี เน่ืองจากตองการ
ปฏบิ ตั ิงานนอกเวลาราชการ เพราะสามารถเบกิ เงนิ งบประมาณคาตอบแทนการปฏบิ ัติงานนอกเวลาราชการได
จากรปู แบบดงั กลา ว จะเห็นไดว า การขดั กันระหวา งผลประโยชนส ว นตนและผลประโยชน
สวนรวมน้ัน มีไดหลายรูปแบบไมจํากัดอยูในรูปตัวเงินหรือทรัพยสินเทานั้น แตรวมถึงผลประโยชนอื่น ๆ
ที่ไมใชรูปตัวเงินหรือทรัพยสินก็ได เชน การที่ นาย ก. ดํารงตําแหนงเปนที่ปรึกษาของรัฐมนตรี และมี
หนาที่ใหคําแนะนําแกรัฐมนตรีเกี่ยวกับการออกกฎ ระเบียบสําหรับบริษัทเอกชน ซึ่งในขณะเดียวกัน
นาย ก. มีธุรกิจสวนตัวโดยเปนผูถือหุนของบริษัทเอกชนท่ีจะไดรับผลกระทบจากกฎระเบียบน้ีดวยเชนกัน
หรอื กรณที ี่ นาย ข. ซึง่ เปน ขาราชการในหนวยงานของรฐั แหง หน่ึงรบั ขอ เสนอวาจะไดรับการวาจางงาน หลังจาก
ที่ นาย ข. ออกจากราชการแลวจากบริษัทท่ีกําลังย่ืนขอสัมปทานจากหนวยงานที่ นาย ข.สังกัดอยู หรือกรณีที่
นาย ค. เปนหนง่ึ ในคณะกรรมการท่ตี อ งพิจารณาตดั สนิ ใจเลอื กเสนทางท่ีจะตัดถนนเสนทางใหม ซึ่งมีเสนทาง
หนึ่งอาจจะสง ผลใหม ูลคาทดี่ ินในครอบครองของ นาย ค. สูงข้ึน เปนตน

13

กิจกรรม

คาํ ชแ้ี จง ใหผ ูเรียนคิดทบทวนวา ตนเองไดเ คยปฏบิ ัตเิ กีย่ วกับหวั ขอ ตอไปนบี้ า งหรอื ไม

1. ผลประโยชนส วนตน

เรื่องที่เคยปฏิบตั ิ แนวทางปอ งกัน

2. ผลประโยชนส ว นรวม แนวทางปองกัน
เรือ่ งทเ่ี คยปฏิบัติ

14

เรอื่ งที่ 3 กฎหมายทเ่ี กี่ยวของกบั การขัดกันระหวางผลประโยชนสว นตนกับผลประโยชนส วนรวม

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ไดบัญญัติหนาท่ีของปวงชนชาวไทย ไวใน
มาตรา 50 (10) ใหบุคคลไมรวมมือหรือสนับสนุนการทุจริตและประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ ดังนั้น ในฐานะ
ท่เี ราเปนประชาชนชาวไทย จึงมคี วามจําเปน ตอ งมีความรูเก่ียวกับกฎหมายท่ีเกี่ยวของกับการขัดกันระหวาง
ผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนส ว นรวม ดงั ตอไปน้ี

1. รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ไดบัญญัติไวในหมวด 9 การขัดกัน

แหงผลประโยชน (มาตรา 184 – 187) โดยบัญญัติขอหามสําหรับผูดํารงตําแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎร
และสมาชิกวุฒิสภา (มาตรา 184 – 185) ขอหามสําหรับผูดํารงตําแหนงรัฐมนตรี (มาตรา 186 – 187)
มีรายละเอยี ด ดงั น้ี

รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 หมวด 9 การขดั กนั แหงผลประโยชน
มาตรา 184 สมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชกิ วุฒสิ ภาตอง

(1) ไมด าํ รงตําแหนงหรอื หนาท่ใี ดในหนวยราชการ หนวยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจหรือตําแหนง
สมาชิกสภาทอ งถ่นิ หรอื ผบู รหิ ารทอ งถิ่น

(2) ไมรบั หรอื แทรกแซงหรอื กา วกายการเขารับสมั ปทานจากรฐั หนว ยราชการ หนวยงานของรัฐ
หรือรัฐวิสาหกจิ หรือเขาเปน คูส ญั ญากับรัฐ หนวยราชการ หนวยงานของรฐั หรอื รฐั วิสาหกจิ อนั มลี ักษณะเปน
การผูกขาดตัดตอน หรือเปนหุนสวนหรือผูถือหุนในหางหุนสวนหรือบริษัทที่รับสัมปทานหรือเขาเปน
คสู ัญญาในลักษณะดงั กลา ว ท้งั นี้ ไมว าโดยทางตรงหรอื ทางออ ม

(3) ไมร ับเงินหรอื ประโยชนใด ๆ จากหนว ยราชการ หนว ยงานของรัฐ หรือรฐั วิสาหกิจเปนพิเศษ
นอกเหนอื ไปจากทีห่ นวยราชการ หนว ยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจปฏิบัติตอบุคคลอ่ืน ๆ ในธุรกิจการงานปกติ

(4) ไมก ระทําการใด ๆ ไมว า โดยทางตรงหรือทางออม อนั เปนการขัดขวางหรือแทรกแซงการใช
สทิ ธหิ รอื เสรีภาพของหนงั สือพมิ พห รอื สอื่ มวลชนโดยมิชอบ

มาตรานมี้ ใิ หใ ชบงั คบั ในกรณที ส่ี มาชกิ สภาผูแทนราษฎร หรอื สมาชกิ วฒุ ิสภารบั เบีย้ หวดั บําเหน็จ
บํานาญ เงินปพระบรมวงศานุวงศ หรือเงินอื่นใดในลักษณะเดียวกัน และมิใหใชบังคับในกรณีท่ีสมาชิก
สภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภารับหรือดํารงตาํ แหนงกรรมาธิการของรัฐสภา สภาผูแทนราษฎร หรือ
วุฒิสภา หรอื กรรมการทไี่ ดรับแตง ตง้ั ในการบริหารราชการแผนดินท่ีเกี่ยวกับกิจการของสภา หรือกรรมการ
ตามท่ีมกี ฎหมายบัญญตั ิไวเปน การเฉพาะ

15

ใหน ํา (2) และ (3) มาบงั คบั ใชแกคูส มรสและบตุ รของสมาชิกสภาผแู ทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา
และบุคคลอ่ืนซึ่งมิใชคูสมรสและบุตรของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภานั้น ที่ดําเนินการ
ในลักษณะผถู กู ใช ผูรว มดาํ เนนิ การ หรือผูไดรับมอบหมายจากสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา
ใหกระทาํ การตามมาตราน้ดี วย

มาตรา 185 สมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาตองไมใชสถานะหรือตําแหนงการเปน
สมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชกิ วุฒิสภากระทําการใด ๆ อันมีลักษณะท่ีเปนการกาวกายหรือแทรกแซง
เพื่อประโยชนของตนเอง ของผูอ่ืน หรือของพรรคการเมอื ง ไมว า โดยทางตรงหรือทางออ ม ในเร่ืองดังตอ ไปน้ี

(1) การปฏบิ ตั ิราชการหรือการดําเนินงานในหนาที่ประจําของขาราชการ พนักงานหรือลูกจาง
ของหนว ยราชการ หนวยงานของรฐั รัฐวิสาหกิจ กิจการท่ีรฐั ถือหนุ ใหญ หรือราชการสว นทอ งถ่ิน

(2) กระทาํ การในลกั ษณะท่ีทําใหต นมีสว นรวมในการใชจายเงินงบประมาณหรือใหความเห็นชอบ
ในการจัดทําโครงการใด ๆ ของหนวยงานของรฐั เวน แตเ ปน การดําเนินการในกิจการของรฐั สภา

(3) การบรรจุ แตง ตั้ง โยกยาย โอน เล่ือนตําแหนง เล่ือนเงินเดือนหรือการใหพนจากตําแหนง
ของขาราชการซ่ึงมีตําแหนงหรอื เงนิ เดือนประจาํ และมใิ ชขาราชการการเมอื ง พนกั งาน หรอื ลูกจา งของหนวยราชการ
หนว ยงานของรฐั รฐั วสิ าหกจิ กิจการท่ีรัฐถอื หนุ ใหญ หรอื ราชการสวนทอ งถนิ่

มาตรา 186 ใหนําความในมาตรา 184 มาใชบังคบั แกร ฐั มนตรีดว ยโดยอนโุ ลม เวน แตก รณี ดงั ตอ ไปนี้
(1) การดํารงตําแหนงหรือการดาํ เนนิ การที่กฎหมายบัญญัติใหเปนหนาท่ีหรืออํานาจของรัฐมนตรี
(2) การกระทําตามหนาทแี่ ละอาํ นาจในการบรหิ ารราชการแผนดิน หรือตามนโยบายท่ีไดแถลง

ตอ รฐั สภา หรอื ตามที่กฎหมายบัญญตั ิ
นอกจากกรณตี ามวรรคหนง่ึ รัฐมนตรตี อ งไมใ ชสถานะหรือตําแหนงกระทําการใดไมวาโดยทางตรง

หรือทางออ ม อันเปน การกาวกา ยหรอื แทรกแซงการปฏิบตั ิหนา ที่ของเจาหนาท่ีของรัฐ เพื่อประโยชนของตนเอง
ของผูอ่ืน หรอื ของพรรคการเมอื งโดยมชิ อบตามทกี่ ําหนดในมาตรฐานทางจริยธรรม

มาตรา 187 รฐั มนตรตี อ งไมเปนหนุ สว นหรอื ผูถ อื หนุ ในหางหุน สว นหรอื บรษิ ทั หรอื ไมค งไว ซง่ึ ความเปน
หุนสวนหรือผูถือหุนในหางหุนสวนหรือบริษัทตอไปตามจํานวนที่กฎหมายบัญญัติ และตองไมเปนลูกจาง
ของบุคคลใด

ในกรณีที่รัฐมนตรีผูใดประสงคจะไดรับประโยชนจากกรณีตามวรรคหนึ่งตอไป ใหแจงประธาน
กรรมการปอ งกันและปราบปรามการทจุ รติ แหงชาติทราบภายในสามสบิ วนั นับแตวนั ท่ไี ดร ับแตงต้ัง และใหโ อนหุน
ในหางหุนสวนหรือบริษัทดังกลาวใหแกนิติบุคคลซึ่งจัดการทรัพยสินเพื่อประโยชนของผูอื่น ทั้งนี้ ตามที่
กฎหมายบญั ญตั ิ

16

รัฐมนตรีจะเขาไปเกี่ยวของกับการบริหารจัดการหุนหรือกิจการของหางหุนสวนหรือบริษัท
ตามวรรคสองไมว าในทางใด ๆ มไิ ด

มาตรานเ้ี ฉพาะในสวนท่ีเกี่ยวกับความเปน หนุ สวนหรือผูถือหุน ใหใชบังคับแกคูสมรสและบุตรที่ยัง
ไมบ รรลนุ ติ ิภาวะของรัฐมนตรี และการถือหนุ ของรัฐมนตรีท่ีอยูในความครอบครองหรือดแู ลของบคุ คลอน่ื ไมวา
โดยทางใด ๆ ดว ย

2. พระราชบัญญตั ิประกอบรัฐธรรมนญู วา ดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พทุ ธศกั ราช 2561
พระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561

ไดบ ัญญัติขอหา มสําหรับกรรมการ ผูดํารงตําแหนงในองคกรอิสระ และเจาพนักงานของรัฐท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช.
ประกาศกําหนดไวใ นมาตรา 126 – 129 มีรายละเอียด ดงั น้ี

พระราชบญั ญตั ิประกอบรฐั ธรรมนูญวาดว ยการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริต พ.ศ. 2561
หมวด 6 การขัดกนั ระหวางประโยชนสว นบุคคลกบั ประโยชนสว นรวม

มาตรา 126 นอกจากเจาพนักงานของรัฐที่รัฐธรรมนูญกําหนดไวเปนการเฉพาะแลว หามมิให
กรรมการ ผดู ํารงตาํ แหนงในองคกรอิสระ และเจาพนักงานของรัฐที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ประกาศกําหนด
ดาํ เนินกิจการดังตอ ไปน้ี

(1) เปนคสู ญั ญาหรือมีสวนไดเสียในสัญญาที่ทํากับหนวยงานของรัฐที่เจาพนักงานของรัฐผูน้ัน
ปฏิบัตหิ นา ท่ีในฐานะทีเ่ ปน เจาพนักงานของรัฐซึ่งมีอํานาจไมวาโดยตรงหรือโดยออมในการกํากับ ดูแล ควบคุม
ตรวจสอบหรอื ดําเนินคดี

(2) เปนหุนสวนหรือผูถือหุนในหางหุนสวนหรือบริษัทท่ีเขาเปนคูสัญญากับหนวยงานของรัฐ
ที่เจาพนกั งานของรัฐผนู ั้นปฏิบัติหนาที่ในฐานะทเ่ี ปน เจา พนักงานของรัฐ ซึ่งมีอาํ นาจไมว า โดยตรงหรอื โดยออ ม
ในการกํากับ ดแู ล ควบคุม ตรวจสอบหรือดําเนินคดี เวนแตจะเปนผูถือหุนในบริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชน
จํากัดไมเ กินจํานวนทคี่ ณะกรรมการป.ป.ช. กําหนด

(3) รับสัมปทานหรือคงถือไวซึ่งสัมปทานจากรัฐ หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ
หรอื ราชการสวนทอ งถิน่ หรอื เขาเปนคูสญั ญากับรัฐ หนว ยราชการ หนว ยงานของรฐั รัฐวสิ าหกิจ หรอื ราชการ
สวนทอ งถิ่น อันมีลักษณะเปน การผูกขาดตดั ตอน หรอื เปนหนุ สวนหรือผูถือหุนในหางหุนสวนหรือบริษัทท่ีรับ
สัมปทานหรือเขา เปนคูสญั ญาในลกั ษณะดังกลา ว ในฐานะท่ีเปนเจา พนักงานของรัฐซ่ึงมีอํานาจ ไมวาโดยตรง
หรือโดยออ มในการกํากบั ดูแล ควบคุม ตรวจสอบ หรือดําเนินคดี เวนแตจะเปนผูถือหุนในบริษัทจํากัดหรือ
บรษิ ทั มหาชนจาํ กัดไมเ กินจํานวนทค่ี ณะกรรมการป.ป.ช. กาํ หนด

(4) เขา ไปมีสว นไดเ สยี ในฐานะเปน กรรมการ ทีป่ รึกษา ตวั แทน พนกั งานหรือลูกจา งในธุรกจิ ของ
เอกชนซ่ึงอยูภายใตการกํากับ ดูแล ควบคุม หรือตรวจสอบของหนวยงานของรัฐที่เจาพนักงานของรัฐ

17

ผูน้ันสังกัดอยูหรือปฏิบัติหนาที่ในฐานะเปนเจาพนักงานของรัฐ ซึ่งโดยสภาพของผลประโยชนของธุรกิจ
ของเอกชนน้ันอาจขัดหรือแยง ตอ ประโยชนส ว นรวม หรือประโยชนทางราชการ หรือกระทบตอความมีอิสระ
ในการปฏิบตั ิหนา ท่ขี องเจาพนกั งานของรฐั ผูนน้ั

ใหนําความในวรรคหนึ่ง มาใชบังคับกบั คูส มรสของเจาพนกั งานของรัฐตามวรรคหน่ึงดวย โดยใหถือวา
การดําเนินกิจการของคูสมรสเปนการดําเนินกิจการของเจาพนักงานของรัฐ เวนแตเปนกรณีท่ีคูสมรสนั้น
ดําเนนิ การอยกู อ นที่เจาพนักงานของรฐั จะเขา ดาํ รงตาํ แหนง

คูสมรสตามวรรคสองใหห มายความรวมถึงผซู ึง่ อยูกนิ กนั ฉนั สามภี รยิ าโดยมไิ ดจดทะเบียนสมรสดวย
ทง้ั น้ี ตามหลกั เกณฑท่คี ณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด

เจาพนักงานของรัฐท่ีมีลักษณะตาม (2) หรือ (3) ตองดําเนินการไมใหมีลักษณะดังกลาว ภายใน
สามสิบวนั นับแตวันทเ่ี ขา ดาํ รงตาํ แหนง

มาตรา 127 หา มมใิ หกรรมการ ผดู าํ รงตําแหนง ในองคกรอิสระ ผดู ํารงตาํ แหนงระดับสูงและผูดํารง
ตาํ แหนง ทางการเมอื งทคี่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. กาํ หนด ดําเนนิ การใดตามมาตรา 126 (4) ภายในสองปนับแต
วนั ท่พี น จากตาํ แหนง

มาตรา 128 หามมิใหเจาพนักงานของรัฐผูใดรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดอันอาจคํานวณ
เปนเงินไดจากผูใด นอกเหนือจากทรัพยสินหรือประโยชนอันควรไดตามกฎหมาย กฎ หรือขอบังคับที่ออก
โดยอาศยั อํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย เวนแตการรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใด โดยธรรมจรรยา
ตามหลักเกณฑแ ละจาํ นวนท่คี ณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด

ความในวรรคหน่ึงมิใหใชบังคับกับการรับทรัพยสินหรือประโยชนอ่ืนใดจากบุพการี ผูสืบสันดาน
หรอื ญาติที่ใหตามประเพณี หรือตามธรรมจรรยาตามฐานานุรปู

บทบัญญตั ใิ นวรรคหนง่ึ ใหใ ชบังคบั กับการรับทรัพยส นิ หรอื ประโยชนอ่ืนใดของผูซึ่งพนจากการเปน
เจา พนกั งานของรฐั มาแลว ยงั ไมถงึ สองปด ว ยโดยอนโุ ลม

มาตรา 129 การกระทําอันเปนการฝาฝนบทบัญญัติในหมวดนี้ใหถือวาเปนการกระทําความผิด
ตอ ตําแหนงหนา ท่ีราชการหรอื ความผิดตอ ตาํ แหนงหนา ที่ในการยุตธิ รรม

เจาหนาที่ของรัฐ ตามความหมายในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและ
ปราบปรามการทุจรติ พ.ศ. 2561 เปน ไปตามนยิ ามในบทบัญญัติ มาตรา 4 ดังนี้

“เจาพนักงานของรัฐ หมายความวา เจาหนาที่ของรัฐ ผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ตุลาการศาล
รัฐธรรมนญู ผูดํารงตําแหนง ในองคกรอสิ ระ และคณะกรรมการ ป.ป.ช”

“เจาหนา ท่ีของรัฐ” หมายความวา ขา ราชการหรือพนกั งานสวนทองถ่ินซ่ึงมีตําแหนงหรือเงินเดือน
ประจํา ผูปฏิบัติงานในหนวยงานของรัฐหรือในรัฐวิสาหกิจ ผูบริหารทองถิ่น รองผูบริหารทองถ่ิน ผูชวย

18

ผูบริหารทองถ่ิน และสมาชิกสภาทองถิ่นขององคกรปกครองสวนทองถิ่น เจาพนักงานตามกฎหมายวาดวย
ลักษณะปกครองทองท่ี หรือเจาพนักงานอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ และใหหมายความรวมถึงกรรมการ
อนุกรรมการ ลูกจางของสวนราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ และบุคคลหรือคณะบุคคล ซึ่งมี
กฎหมายกาํ หนดใหใ ชอํานาจหรอื ไดร ับมอบใหใชอ าํ นาจทางปกครองที่จัดตั้งขึ้นในระบบราชการ รัฐวิสาหกิจ
หรอื กจิ การอนื่ ของรัฐดวย แตไมรวมถึงผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ตลุ าการศาลรัฐธรรมนูญ ผูดํารงตําแหนง
ในองคก รอิสระ และคณะกรรมการ ป.ป.ช.

3. ระเบยี บสํานักนายกรัฐมนตรวี าดวยการใหห รอื รับของขวญั ของเจา หนาท่ีของรัฐ พ.ศ. 2544
นายกรัฐมนตรี โดยความเหน็ ชอบของคณะรัฐมนตรี ไดวางระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวย

การใหห รือรับของขวญั ของเจาหนาทข่ี องรัฐ พ.ศ. 2544 มีรายละเอียด ดงั น้ี
โดยทผี่ านมาคณะรัฐมนตรีไดเคยมีมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติในการใหของขวัญ

และรบั ของขวัญของเจา หนา ทข่ี องรฐั ไวหลายคร้งั เพอื่ เปนการเสริมสรา งคา นิยมใหเกดิ การประหยัดมิใหมีการ
เบยี ดเบียนขา ราชการโดยไมจําเปนและสรา งทัศนคติที่ไมถ ูกตอ ง เนอ่ื งจากมกี ารแขงขันกนั ใหข องขวัญในราคา
แพง ท้ังยังเปนชองทางใหเกิดการประพฤติมิชอบอ่ืน ๆ ในวงราชการอีกดวย และในการกําหนดจรรยาบรรณ
ของเจา หนา ท่ขี องรัฐประเภทตา ง ๆ กม็ ีการกาํ หนดในเรอื่ งทาํ นองเดยี วกนั ประกอบกบั คณะกรรมการปองกัน
และปราบปรามการทุจริตแหงชาติไดประกาศกําหนดหลักเกณฑและจํานวนที่เจาหนาที่ของรัฐจะรับ
ทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดโดยธรรมจรรยาได ฉะนั้น จึงสมควรรวบรวมมาตรการเหลานั้นและกําหนด
เปนหลักเกณฑก ารปฏบิ ตั ิของเจา หนาทีข่ องรัฐในการใหของขวญั และรับของขวัญไวเ ปน การถาวร มีมาตรฐาน
อยางเดียวกัน และมีความชัดเจนเพื่อเสริมมาตรการของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต
แหง ชาติใหเปนผลอยางจริงจัง ท้ังน้ี เฉพาะในสวนท่ีคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ
ไมไดก ําหนดไว

อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา 11 (8) แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน
พ.ศ. 2534 นายกรัฐมนตรโี ดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี จึงวางระเบียบไวดังตอไปนี้

ขอ 3 ในระเบียบน้ี
"ของขวัญ" หมายความวา เงิน ทรัพยสิน หรือประโยชนอื่นใดที่ใหแกกัน เพ่ืออัธยาศัยไมตรี
และใหหมายความรวมถึงเงิน ทรัพยสิน หรือประโยชนอ ืน่ ใดทใ่ี หเ ปน รางวลั ใหโ ดยเสนห าหรอื เพื่อการสงเคราะห
หรือใหเ ปน สินนํ้าใจ การใหสิทธิพิเศษซ่ึงมิใชเปนสิทธิที่จัดไวสําหรับบุคคลทั่วไปในการไดรับ
การลดราคาทรพั ยสิน หรอื การใหสิทธพิ เิ ศษในการไดรับบรกิ ารหรือความบันเทิง ตลอดจนการออกคาใชจาย
ในการเดนิ ทางหรอื ทอ งเทยี่ วคา ท่พี กั คาอาหาร หรือสิ่งอื่นใดในลักษณะเดียวกันและไมวาจะใหเปนบัตร ต๋ัว
หรือหลักฐานอืน่ ใด การชําระเงนิ ใหล วงหนาหรือการคืนเงินใหใ นภายหลงั

19

"ปกตปิ ระเพณนี ิยม" หมายความวา เทศกาลหรือวันสําคญั ซึ่งอาจมีการใหของขวัญกันและให
หมายความรวมถึง โอกาสในการแสดงความยินดี การแสดง ความขอบคุณ การตอนรับ การแสดงความเสียใจ
หรอื การใหความชว ยเหลือตามมารยาท ทีถ่ ือปฏิบตั กิ ันในสังคมดวย

"ผูบงั คับบญั ชา" ใหห มายความรวมถงึ ผูซ่ึงปฏิบัติหนาที่หัวหนาหนวยงาน ท่ีแบงเปนการภายใน
ของหนวยงานของรัฐและผูซึ่งดํารงตําแหนงในระดับท่ีสูงกวา และไดรับมอบหมายใหมีอํานาจบังคับบัญชา
หรือกาํ กบั ดแู ลดวย

"บคุ คลในครอบครัว" หมายความวา คสู มรส บุตร บิดา มารดา พ่นี องรว มบดิ ามารดา หรือรวม
บิดาหรอื มารดาเดียวกัน

ขอ 4 ระเบียบนไ้ี มใ ชบังคับกับกรณกี ารรับทรัพยสนิ หรอื ประโยชนอื่นใดของเจาหนาที่ของรัฐ
ซึง่ อยูภายใตบังคบั กฎหมายประกอบรัฐธรรมนญู วาดวยการปองกนั และปราบปรามการทุจรติ

ขอ 5 เจาหนา ท่ีของรฐั จะใหของขวัญแกผูบังคับบัญชาหรือบุคคลในครอบครัวของผูบังคับบัญชา
นอกเหนอื จากกรณปี กตปิ ระเพณีนยิ มทีม่ ีการใหข องขวัญแกก นั มไิ ด

การใหข องขวัญตามปกติประเพณีนยิ มตามวรรคหนงึ่ เจาหนาท่ีของรัฐจะใหของขวัญท่ีมีราคา
หรอื มูลคาเกนิ จาํ นวนท่คี ณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหง ชาติกําหนดไว สาํ หรบั การรบั ทรพั ยส นิ
หรอื ประโยชนอ ่ืนใด โดยธรรมจรรยาของเจา หนา ท่ขี องรัฐตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนญู วา ดว ยการปองกนั
และปราบปรามการทจุ ริตมไิ ด

เจา หนาท่ีของรฐั จะทําการเร่ียไรเงนิ หรือทรพั ยส นิ อ่ืนใดหรือใชเงินสวัสดิการใด ๆ เพื่อมอบให
หรอื จัดหาของขวัญใหผบู ังคับบัญชาหรือบคุ คลในครอบครัวของผบู งั คับบญั ชาไมว ากรณใี ด ๆ มไิ ด41

ขอ 6 ผูบังคับบัญชาจะยินยอมหรือรูเห็นเปนใจใหบุคคลในครอบครัวของตนรับของขวัญ
จากเจา หนา ท่ีของรัฐซง่ึ เปนผอู ยใู นบงั คบั บัญชามิได เวนแตเ ปน การรบั ของขวญั ตามขอ 5

ขอ 7 เจาหนาที่ของรัฐจะยินยอมหรือรูเห็นเปนใจใหบุคคลในครอบครัวของตนรับของขวัญ
จากผทู ีเ่ กย่ี วขอ งในการปฏิบตั ิหนา ท่ีของเจาหนาท่ีของรัฐมิได ถามิใชเปนการรับของขวัญตามกรณีท่ีกําหนด
ไวใ นขอ 8

ผูที่เก่ียวของในการปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่ของรัฐตามวรรคหนึ่ง ไดแก ผูมาติดตองาน
หรือผูซึ่งไดรบั ประโยชนจากการปฏบิ ตั ิงานของเจา หนา ทขี่ องรัฐ ในลกั ษณะดังตอ ไปน้ี

(1) ผูซึ่งมีคําขอใหหนวยงานของรัฐดําเนินการอยางหนึ่งอยางใด เชน การขอใบรับรอง
การขอใหออกคาํ สงั่ ทางปกครอง หรอื การรองเรยี น เปนตน

(2) ผซู งึ่ ประกอบธุรกิจหรอื มสี วนไดเสียในธรุ กิจที่ทํากบั หนว ยงานของรฐั เชน การจัดซื้อจัดจาง
หรอื การไดร ับสมั ปทาน เปน ตน

20

(3) ผูซึ่งกาํ ลังดําเนินกิจกรรมใด ๆ ที่มีหนวยงานของรัฐเปนผูควบคุม หรือกํากับดูแล เชน
การประกอบกจิ การโรงงานหรือธุรกจิ หลักทรพั ย เปน ตน

(4) ผูซึ่งอาจไดรบั ประโยชนห รือผลกระทบจากการปฏิบตั ิหนาท่ีหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่
ของเจาหนา ทขี่ องรฐั

ขอ 8 เจาหนาท่ีของรัฐจะยินยอมหรือรูเห็นเปนใจใหบุคคลในครอบครัวของตนรับของขวัญ
จากผูที่เกี่ยวของในการปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่ของรัฐไดเฉพาะกรณี การรับของขวัญที่ใหตามปกติ
ประเพณีนิยม และของขวัญนั้นมีราคาหรือมูลคาไมเกินจํานวนที่คณะกรรมการปองกันและปราบปราม
การทจุ ริตแหงชาตกิ ําหนดไวส ําหรบั การรับทรพั ยส นิ หรือประโยชนอน่ื ใดโดยธรรมจรรยาของเจาหนาที่ของรัฐ
ตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนญู วาดว ยการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริต

ขอ 9 ในกรณที บ่ี คุ คลในครอบครัวของเจา หนา ที่ของรัฐรบั ของขวัญแลว เจาหนาท่ีของรัฐทราบ
ในภายหลงั วา เปนการรับของขวญั โดยฝาฝนระเบียบน้ี ใหเ จา หนาทข่ี องรัฐปฏิบตั ิตามหลักเกณฑท่ีคณะกรรมการ
ปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ แหงชาตกิ ําหนดไวส าํ หรบั การรับทรัพยส นิ หรือประโยชนอ น่ื ใด โดยธรรมจรรยา
ของเจาหนา ทีข่ องรฐั ที่มีราคาหรอื มูลคาเกนิ กวา ท่ีกําหนดไว ตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนญู วาดวยการปองกัน
และปราบปรามการทุจริต

ขอ 10 ในกรณีท่ีเจาหนาที่ของรัฐผูใดจงใจปฏิบัติเกี่ยวกับการใหของขวัญหรือรับของขวัญ
โดยฝา ฝน ระเบียบน้ี ใหดาํ เนินการดงั ตอ ไปน้ี

(1) ในกรณที ่เี จาหนาทีข่ องรฐั เปนขาราชการการเมือง ใหถือวาเจาหนาท่ีของรัฐผูนั้นประพฤติ
ปฏิบัติไมเปนไปตามคุณธรรมและจริยธรรม และใหดําเนินการตามระเบียบท่ีนายกรัฐมนตรีกําหนด โดยความ
เห็นชอบของคณะรฐั มนตรวี า ดวยมาตรฐานทางคณุ ธรรมและจริยธรรมของขา ราชการการเมอื ง

(2) ในกรณีท่ีเจาหนาที่ของรัฐเปนขาราชการประเภทอ่ืนนอกจาก (1) หรือพนักงานขององคกร
ปกครองสว นทอ งถน่ิ หรอื พนกั งานของรัฐวิสาหกิจใหถือวาเจาหนาที่ของรัฐผูน้ันเปนผูกระทําความผิดทางวินัย
และใหผูบ งั คบั บญั ชามหี นาทด่ี ําเนนิ การใหม กี ารลงโทษทางวนิ ยั เจาหนา ที่ของรฐั ผนู นั้

ขอ 11 ใหสาํ นกั งานปลดั สาํ นกั นายกรัฐมนตรีมีหนาที่สอดสองและใหคําแนะนําในการปฏิบัติ
ตามระเบียบน้แี กหนวยงานของรฐั ในกรณีที่มีผูรองเรียนตอสํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีวาเจาหนาท่ี
ของรัฐผูใดปฏิบัติในการใหของขวัญหรือรับของขวัญฝาฝนระเบียบนี้ ใหสํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี
แจง ไปยังผูบงั คบั บญั ชาของเจาหนา ที่ของรัฐผนู ั้นเพ่ือดาํ เนินการตามระเบียบนี้

ขอ 12 เพื่อประโยชนในการเสริมสรางใหเกิดทัศนคติในการประหยัดแกประชาชนทั่วไป
ในการแสดงความยนิ ดี การแสดงความปรารถนาดี การแสดงการตอนรับ หรือการแสดงความเสียใจในโอกาส

21

ตาง ๆ ตามปกติประเพณีนิยมใหเจาหนาท่ีของรฐั พยายามใชว ธิ ีการแสดงออก โดยใชบัตรอวยพร การลงนาม
ในสมดุ อวยพรหรือใชบัตรแสดงความเสยี ใจ แทนการใหข องขวญั

ใหผูบังคับบัญชามีหนาที่เสริมสรางคานิยมการแสดงความยินดี การแสดงความปรารถนาดี
การตอ นรับ หรือการแสดงความเสียใจดวยการปฏิบัติตนเปนแบบอยาง แนะนําหรือกําหนดมาตรการจูงใจ
ที่จะพฒั นาทัศนคติ จิตสาํ นึกและพฤตกิ รรมของผอู ยใู นบังคับบญั ชาใหเ ปน ไปในแนวทางประหยัด

4. ประกาศคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ แหง ชาติ เรอื่ ง หลักเกณฑการรบั
ทรัพยส นิ หรอื ประโยชนอ น่ื ใด โดยธรรมดาของเจาหนาทร่ี ัฐ พ.ศ. 2543

จากระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการใหหรือรับของขวัญของเจาหนาที่ของรัฐ พ.ศ. 2544
ไดว างระเบียบไวในขอ 8 ความวา “เจา หนาที่ของรฐั จะยนิ ยอมหรือรูเห็นเปนใจใหบุคคลในครอบครัวของตน
รับของขวัญจากผูท่ีเก่ียวของในการปฏิบัติหนาท่ีของเจาหนาที่ของรัฐไดเฉพาะกรณีรับของขวัญท่ีให
ตามประเพณีนิยม และของขวัญนั้นมีราคาหรือมูลคาไมเกินจํานวนที่คณะกรรมการปองกันและปราบปราม
การทุจริตแหงชาติกําหนดไวสําหรับการรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใด โดยธรรมจรรยาของเจาหนาที่รัฐ
ตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนญู วา ดว ยการปองกันและปราบปรามการทุจรติ ”

ในขณะที่มาตรา 128 แหงพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและ
ปราบปรามการทุจรติ พ.ศ. 2561 บัญญตั ิไววา

มาตรา 128 หามมิใหเจาพนักงานของรัฐผูใดรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดอันอาจคํานวณ
เปน เงนิ ไดจ ากผใู ด นอกเหนอื จากทรัพยส นิ หรอื ประโยชนอนั ควรไดต ามกฎหมาย กฎ หรือขอบังคับท่ีออกโดย
อาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย เวนแตการรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใด โดยธรรมจรรยา
ตามหลกั เกณฑแ ละจาํ นวนทคี่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด

ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับกับการรับทรัพยสินหรือประโยชนอ่ืนใดจากบุพการี ผูสืบสันดาน
หรือญาติทใี่ หต ามประเพณี หรอื ตามธรรมจรรยาตามฐานานรุ ูป

บทบัญญตั ิในวรรคหน่ึงใหใชบังคับกับการรับทรัพยสินหรือประโยชนอ่ืนใดของผูซึ่งพนจากการเปน
เจาพนักงานของรัฐมาแลว ยงั ไมถ ึงสองปด วยโดยอนุโลม

คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ จึงไดออกประกาศคณะกรรมการ
ปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ เร่ือง หลักเกณฑการรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดโดยธรรมจรรยา
ของเจาหนาท่ีรฐั พ.ศ. 2543 โดยมีรายละเอยี ด ดงั นี้

22

ขอ 3 ในประกาศน้ี
“การรบั ทรัพยสินหรือประโยชนอ่ืนใดโดยธรรมจรรยา” หมายความวาการรับทรัพยสินหรือ
ประโยชนอ ื่นใดจากญาติหรือจากบุคคลท่ีใหกันในโอกาสตาง ๆ โดยปกติตามขนบธรรมเนียม ประเพณีหรือ
วฒั นธรรม หรือใหกันตามมารยาทท่ปี ฏบิ ตั กิ ันในสังคม
“ญาติ” หมายความวา ผบู พุ การี ผสู บื สันดาน พน่ี อ งรวมบิดามารดา หรือรวมบิดาหรือมารดา
เดียวกัน ลุง ปา นา อา คูสมรส ผบู พุ การี หรอื ผูส ืบสนั ดานของคูสมรส บุตรบุญธรรม หรือผูรับบุตรบุญธรรม
“ประโยชนอน่ื ใด” หมายความวา ส่ิงทีม่ ีมลู คา ไดแ ก การลดราคา การรับความบันเทิง การรับ
บรกิ าร การรับการฝกอบรม หรอื ส่งิ อื่นใดในลักษณะเดยี วกัน
ขอ 4 หามมิใหเ จาหนาทีข่ องรัฐผูใด รับทรัพยสินหรือประโยชนอ่ืนใดจากบุคคล นอกเหนือจาก
ทรัพยสินหรือประโยชนอันควรไดตามกฎหมาย หรือกฎ ขอบังคับ ที่ออกโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติ
แหง กฎหมาย เวน แตการรบั ทรพั ยส ินหรอื ประโยชนอ่นื ใดโดยธรรมจรรยาตามท่ีกาํ หนดไวใ นประกาศน้ี
ขอ 5 เจา หนา ท่ีของรัฐจะรับทรพั ยส นิ หรือประโยชนอ นื่ ใดโดยธรรมจรรยาได ดังตอ ไปนี้
(1) รบั ทรพั ยสนิ หรือประโยชนอน่ื ใดจากญาติ ซง่ึ ใหโดยเสนห าตามจํานวนทเี่ หมาะสมตามฐานานุรปู
(2) รับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดจากบุคคลอื่นซึ่งมิใชญาติมีราคาหรือมูลคาในการรับ
จากแตละบคุ คล แตล ะโอกาสไมเ กินสามพันบาท
(3) รบั ทรพั ยสนิ หรือประโยชนอน่ื ใดท่กี ารใหน ้นั เปนการใหใ นลกั ษณะใหกับบุคคลทัว่ ไป
ขอ 6 การรับทรัพยสินหรอื ประโยชนอ ืน่ ใดจากตางประเทศซึ่งผูใหมิไดระบุใหเปนของสวนตัว
หรือมีราคาหรือมูลคาเกินกวาสามพันบาท ไมวาจะระบุเปนของสวนตัวหรือไม แตมีเหตุผลความจําเปน
ทจ่ี ะตอ งรบั ไวเพอื่ รักษาไมตรี มิตรภาพ หรือความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล ใหเจาหนาที่ของรัฐผูนั้นรายงาน
รายละเอียดขอเท็จจริงเก่ียวกับการรับทรัพยสิน หรือประโยชนดังกลาวใหผูบังคับบัญชาทราบโดยเร็ว
หากผูบงั คับบัญชาเห็นวา ไมม เี หตทุ ีจ่ ะอนญุ าตใหเจาหนา ทีผ่ ูนนั้ ยดึ ถือทรพั ยส นิ หรือประโยชนดงั กลา วนน้ั ไวเปน
ประโยชนส ว นบคุ คล ใหเจา หนา ทขี่ องรฐั ผูนัน้ สงมอบทรพั ยสนิ ใหหนวยงานของรฐั ท่ีเจา หนาทข่ี องรัฐผนู น้ั สงั กดั
ทนั ที
ขอ 7 การรับทรัพยสนิ หรือประโยชนอ่ืนใดท่ีไมเปนไปตามหลักเกณฑหรือมีราคาหรือมีมูลคา
มากกวา ทีก่ าํ หนดไวในขอ 5 ซ่ึงเจา หนาที่ของรัฐไดรับมาแลวโดยมีความจําเปนอยางยิ่งท่ีตองรับไวเพื่อรักษา
ไมตรี มติ รภาพ หรือความสมั พนั ธอ ันดรี ะหวา งบุคคล เจาหนาที่ของรัฐ ผูนั้นตองแจงรายละเอียดขอเท็จจริง
เกี่ยวกับการรับทรัพยสินหรือประโยชนน้ันตอผูบังคับบัญชา ซ่ึงเปนหัวหนาสวนราชการ ผูบริหารสูงสุดของ
รัฐวิสาหกิจ หรือผูบริหารสูงสุดของหนวยงาน สถาบัน หรือองคกรที่เจาหนาที่ของรัฐผูน้ันสังกัด โดยทันที

23

ทสี่ ามารถกระทาํ ได เพ่ือใหวินิจฉัยวา มเี หตุผลความจาํ เปน ความเหมาะสม และสมควรท่จี ะใหเ จาหนา ที่ของรัฐ
ผนู ้ันรับทรัพยส ินหรอื ประโยชนนั้นไวเ ปน สิทธิของตนหรือไม

ในกรณีท่ีผูบงั คบั บญั ชาหรือผูบ ริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจ หนวยงานหรือสถาบันหรือองคกร
ท่ีเจาหนาท่ีของรัฐผูนั้นสังกัด มีคําส่ังวาไมสมควรรับทรัพยสินหรือประโยชนดังกลาว ก็ใหคืนทรัพยสินหรือ
ประโยชนนั้นแกผูใหโดยทันที ในกรณีท่ีไมสามารถคืนใหได ใหเจาหนาที่ของรัฐผูนั้นสงมอบทรัพยสินหรือ
ประโยชนด งั กลา วใหเ ปนสทิ ธิของหนวยงานทีเ่ จา หนา ท่ขี องรฐั ผูนัน้ สังกดั โดยเรว็

เม่ือไดดาํ เนนิ การตามความในวรรคสองแลว ใหถือวาเจา หนาทีข่ องรัฐผูนั้น ไมเคยไดรับทรัพยสิน
หรือประโยชนด ังกลา วเลย

ในกรณีทเ่ี จา หนา ทขี่ องรัฐผไู ดรับทรพั ยสินไวตามวรรคหน่ึงเปนผูดํารงตําแหนงผูบังคับบัญชา
ซ่ึงเปนหัวหนาสว นราชการระดับกระทรวงหรือเทียบเทา หรือเปนกรรมการหรือผูบริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจ
หรือเปนกรรมการหรือผูบริหารสูงสุดของหนวยงานของรัฐ ใหแจงรายละเอียดขอเท็จจริงเกี่ยวกับการรับ
ทรัพยส นิ หรอื ประโยชนนัน้ ตอผูม ีอาํ นาจแตง ตงั้ ถอดถอน สว นผูที่ดํารงตําแหนงประธานกรรมการและกรรมการ
ในองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญหรือผูดํารงตําแหนงท่ีไมมีผูบังคับบัญชาที่มีอํานาจถอดถอนใหแจงตอ
คณะกรรมการ ป.ป.ช. ทงั้ นี้ เพือ่ ดําเนนิ การตามความในวรรคหน่ึงและวรรคสอง

ในกรณที ่ีเจา หนาทข่ี องรัฐผไู ดร ับทรัพยสินตามวรรคหน่ึง เปนผูดํารงตําแหนงสมาชิกสภาผูแทน
ราษฎร หรือสมาชกิ วฒุ สิ ภา หรอื สมาชิกสภาทองถ่ิน ใหแจงรายละเอียดขอเท็จจริงเกี่ยวกับการรับทรัพยสิน
หรอื ประโยชนเทา นัน้ ตอ ประธานสภาผูแทนราษฎร ประธานวฒุ ิสภา หรือประธานสภาทองถ่นิ ที่เจาหนาท่ีของ
รฐั ผนู ั้นเปนสมาชกิ แลว แตกรณี เพือ่ ดาํ เนินการตามวรรคหนง่ึ และวรรคสอง

ขอ 8 หลักเกณฑการรบั ทรัพยส ินหรือประโยชนอ่ืนใดของเจาหนา ที่ของรัฐ ตามประกาศฉบบั น้ี
ใหใ ชบ ังคับแกผูซ่งึ พน จากการเปนเจาหนา ทขี่ องรัฐมาแลวไมถึงสองปด ว ย

5. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา ดว ยการเรยี่ ไรของหนวยงานของรัฐ พ.ศ. 2544
ขอ 4 ในระเบยี บนี้
“การเรี่ยไร” หมายความวา การเก็บเงินหรือทรัพยสิน โดยขอรองใหชวยออกเงินหรือทรัพยสิน

ตามใจสมัคร และใหหมายความรวมถึงการซื้อขาย แลกเปลี่ยน ชดใชหรือบริการซ่ึงมีการแสดงโดยตรงหรือ
โดยปริยายวา มใิ ชเ ปนการซอ้ื ขาย แลกเปลย่ี น ชดใชหรือบริการธรรมดา แตเพื่อรวบรวมเงินหรือทรัพยสินท่ี
ไดม าทง้ั หมด หรือบางสว นไปใชใ นกจิ การอยางใดอยางหนึง่ นนั้ ดว ย

“เขา ไปมสี วนเกยี่ วขอ งกับการเรยี่ ไร” หมายความวา เขา ไปชวยเหลือโดยมสี วนรวมในการจัดให
มีการเรยี่ ไรในฐานะเปนผูรวมจัดใหมีการเรี่ยไร หรือเปนประธานกรรมการ อนุกรรมการ คณะทํางานท่ีปรึกษา
หรอื ในฐานะอน่ื ใดในการเรยี่ ไรนั้น

24

ขอ 6 หนวยงานของรัฐจะจดั ใหม กี ารเร่ยี ไรหรอื เขา ไปมสี วนเกีย่ วขอ งกบั การเร่ียไรมิได เวนแต
เปน การเรีย่ ไร ตามขอ 19 หรอื ไดร บั อนมุ ตั จิ ากคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรของหนวยงานของรัฐ (กคร.)
หรอื กคร.จงั หวดั แลว แตก รณี ทง้ั นี้ ตามหลกั เกณฑท่กี าํ หนดไวใ นระเบียบนี้

หนว ยงานของรัฐซึ่งจะตองไดรับอนุญาตในการเร่ียไรตามกฎหมายวาดวยการควบคุมการเร่ียไร
นอกจากจะตองปฏิบตั ติ ามกฎหมายวา ดว ยการควบคุมการเรีย่ ไรแลว จะตอ งปฏบิ ตั ติ ามหลกั เกณฑท่กี ําหนดไว
ในระเบียบนด้ี วย ในกรณนี ้ี กคร. อาจกาํ หนดแนวทางปฏบิ ตั ขิ องหนวยงานรฐั ดงั กลาวใหสอดคลอ งกบั กฎหมายวา
ดว ยการควบคุมการเรี่ยไรก็ได

ขอ 8 ใหมีคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรของหนวยงานของรัฐ เรียกโดยยอวา “กคร.”
ประกอบดวย รองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย เปนประธานกรรมการ ผูแทนสํานักนายกรัฐมนตรี
ผูแทนกระทรวงกลาโหม ผูแทนกระทรวงการคลัง ผูแทนกระทรวงมหาดไทย ผูแทนกระทรวงศึกษาธิการ
ผแู ทนกระทรวงสาธารณสุข ผูแทนสาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ผูแทนสํานักงานคณะกรรมการปองกัน
และปราบปรามการทุจรติ แหงชาติ ผแู ทนสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน และผูทรงคุณวุฒิซ่ึงนายกรัฐมนตรี
แตงตั้งอีกไมเกินสี่คนเปนกรรมการ และผูแทนสํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีเปนกรรมการและ
เลขานุการ กคร. จะแตง ตัง้ ขาราชการในสํานักงานปลดั สํานกั นายกรัฐมนตรจี าํ นวนไมเ กินสองคนเปนผูชว ยเลขานกุ าร
กไ็ ด

ขอ 18 การเร่ยี ไรหรอื เขา ไปมสี ว นเกย่ี วของกบั การเรย่ี ไรที่ กคร. หรอื กคร.จงั หวัด แลว แตก รณี
จะพิจารณาอนมุ ตั ิใหตามขอ 6 ไดนน้ั จะตอ งมลี กั ษณะและวัตถปุ ระสงคอยา งหนึง่ อยางใดดงั ตอ ไปนี้

(1) เปน การเร่ยี ไรท่หี นว ยงานของรัฐเปน ผูดาํ เนนิ การ เพ่ือประโยชนแ กหนวยงานของรัฐน้นั เอง
(2) เปน การเร่ยี ไรที่หนว ยงานของรฐั เปน ผูด ําเนินการ เพ่ือประโยชนแ กการปองกันหรือพัฒนา
ประเทศ
(3) เปนการเรี่ยไรทห่ี นวยงานของรฐั เปนผูดาํ เนนิ การ เพอ่ื สาธารณประโยชน
(4) เปน กรณีท่ีหนว ยงานของรัฐเขาไปมีสวนเก่ียวของกับการเร่ียไรของบุคคลหรือนิติบุคคลท่ีไดรับ
อนญุ าตจากคณะกรรมการควบคมุ การเรีย่ ไรตามกฎหมายวา ดว ยการควบคุมการเร่ยี ไรแลว
ขอ 19 การเร่ียไรหรือเขาไปมีสวนเกี่ยวของกับการเรี่ยไรดังตอไปนี้ใหไดรับยกเวน ไมตอง
ขออนมุ ตั จิ าก กคร. หรือ กคร.จังหวดั แลว แตก รณี
(1) เปนนโยบายเรง ดว นของรัฐบาล และมมี ตคิ ณะรัฐมนตรีใหเรีย่ ไรได
(2) เปนการเรย่ี ไรทรี่ ัฐบาลหรอื หนว ยงานของรฐั จําเปน ตอ งดําเนินการเพื่อชวยเหลือผูเสียหาย
หรือบรรเทาความเสียหายท่ีเกิดจากสาธารณภยั หรือเหตกุ ารณใ ดทสี่ าํ คัญ
(3) เปนการเรีย่ ไรเพือ่ รว มกันทําบญุ เนื่องในโอกาสการทอดผาพระกฐนิ พระราชทาน

25

(4) เปน การเร่ียไรตามขอ 18 (1) หรือ (3) เพ่ือใหไดเงินหรือทรัพยสินไมเกินจํานวนเงินหรือ
มูลคาตามท่ี กคร. กาํ หนดโดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา

(5) เปนการเขาไปมีสวนเก่ียวของกับการเรี่ยไรตามขอ 18 (4) ซึ่ง กคร. ไดประกาศในราชกิจจา -
นเุ บกษา ยกเวน ใหห นวยงานของรัฐดําเนนิ การไดโดยไมตอ งขออนมุ ตั ิ

(6) เปน การใหค วามรวมมอื กับหนวยงานของรฐั อน่ื ที่ไดร บั อนมุ ัติ หรือไดรับยกเวนในการขออนุมัติ
ตามระเบยี บนี้แลว

ขอ 20 ในกรณที ี่หนว ยงานของรัฐไดร ับอนมุ ตั หิ รือไดรบั ยกเวน ตามขอ 19 ใหจัดใหมีการเรี่ยไร
หรือเขาไปมีสวนเก่ยี วของกบั การเร่ยี ไร ใหหนวยงานของรัฐดาํ เนินการดังตอ ไปน้ี

(1) ใหกระทําการเรย่ี ไรเปนการทวั่ ไป โดยประกาศหรอื เผยแพรตอ สาธารณชน
(2) กําหนดสถานท่หี รือวิธีการทจี่ ะรับเงนิ หรอื ทรพั ยสินจากการเรี่ยไร
(3) ออกใบเสร็จหรือหลักฐานการรบั เงนิ หรือทรัพยส ินใหแกผบู รจิ าคทกุ คร้ัง เวน แตโดยลักษณะ
แหงการเรยี่ ไรไมสามารถออกใบเสรจ็ หรือหลกั ฐานดังกลาวได ก็ใหจดั ทําเปนบัญชกี ารรบั เงินหรือทรัพยสินนั้น
ไวเพอื่ ใหส ามารถตรวจสอบได
(4) จัดทาํ บัญชีการรับจายหรือทรัพยสินท่ีไดจากการเร่ียไรตามระบบบัญชีของทางราชการ
ภายในเกาสิบวันนับแตวนั ทส่ี นิ้ สดุ การเร่ยี ไรหรอื ทกุ สามเดือน ในกรณีท่ีเปนการเร่ียไรที่กระทําอยางตอเนื่อง
และปดประกาศเปดเผย ณ ที่ทําการของหนวยงานของรัฐท่ีไดทําการเร่ียไร ไมนอยกวาสามสิบวัน เพื่อให
บุคคลทั่วไปไดทราบ และจัดใหม เี อกสารเก่ียวกับการดําเนนิ การเรี่ยไรดังกลาวไว ณ สถานที่สําหรับประชาชน
สามารถใชใ นการคนหาและศึกษาขอ มูลขาวสารของราชการดวย
(5) รายงานการเงินของการเร่ียไรพรอมทั้งสงบัญชีตาม (4) ใหสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน
ภายในสามสิบวนั นับแตวนั ทีไ่ ดจัดทาํ บัญชตี าม (4) แลวเสร็จ หรือในกรณที ่ีเปนการเรยี่ ไรทีไ่ ดก ระทําอยา งตอเนื่อง
ใหรายงานการเงิน พรอ มท้ังสง บญั ชดี งั กลา วทุกสามเดอื น
ขอ 21 ในการเร่ียไรหรือเขาไปมสี ว นเกย่ี วขอ งกับการเรยี่ ไร หา มมใิ หหนวยงานของรัฐดําเนินการ
ดังตอไปน้ี
(1) กําหนดประโยชนที่ผูบริจาคหรือบุคคลอ่ืนจะไดรับ ซ่ึงมิใชประโยชนท่ีหนวยงานของรัฐ
ไดป ระกาศไว
(2) กําหนดใหผ ูบริจาคตองบริจาคเงินหรือทรัพยสินเปนจํานวนหรือมูลคาที่แนนอน เวนแต
โดยสภาพมีความจําเปน ตอ งกําหนดเปน จาํ นวนเงนิ ทแี่ นน อน เชน การจาํ หนายบตั รเขา ชมการแสดง หรือบัตร
เขา รว มการแขง ขนั เปนตน

26

(3) กระทําการใด ๆ ที่เปนการบังคับใหบุคคลใดทําการเรี่ยไรหรือบริจาค หรือกระทําการ
ในลกั ษณะท่ีทําใหบ ุคคลนน้ั ตองตกอยูในภาวะจํายอมไมสามารถปฏิเสธ หรือหลีกเลย่ี งท่จี ะไมชวยทาํ การเร่ียไร
หรือบรจิ าคไมว า โดยทางตรงหรอื ทางออม

(4) ใหเจาหนาที่ของรัฐออกทําการเร่ียไร หรือใช ส่ัง ขอรอง หรือบังคับใหผูใตบังคับบัญชา
หรือบุคคลอ่นื ออกทําการเร่ยี ไร

ขอ 22 เจาหนา ทข่ี องรัฐที่เขาไปมีสวนเกี่ยวของกับการเร่ียไรของบุคคลหรือนิติบุคคลท่ีไดรับ
อนุญาตจากคณะกรรมการควบคุมการเร่ียไรตามกฎหมายวาดวยการควบคุมการเรี่ยไร ซึ่งมิใชหนวยงาน
ของรัฐจะตองไมก ระทําการดงั ตอ ไปนี้

(1) ใชหรือแสดงตําแหนงหนาท่ีใหปรากฏในการดําเนินการเรี่ยไรไมวาจะเปนการโฆษณา
ดวยส่งิ พิมพตามกฎหมายวาดว ยการพมิ พหรอื สอ่ื อยา งอื่น หรือดว ยวธิ กี ารอนื่ ใด

(2) ใช ส่งั ขอรอ ง หรอื บังคบั ใหผ ใู ตบ งั คบั บญั ชา หรือบคุ คลใดชวยทําการเร่ียไรให หรือกระทํา
ในลกั ษณะทีท่ ําใหผ ใู ตบังคับบญั ชาหรือบุคคลอนื่ นั้นตอ งตกอยูในภาวะจาํ ยอมไมสามารถปฏเิ สธ หรือหลีกเล่ียง
ท่ีจะไมช วยทาํ การเรย่ี ไรใหไ ดไมว า โดยทางตรงหรือทางออม

27

กิจกรรม

คาํ ชีแ้ จง 1. ใหผูเ รยี นศกึ ษาเนอ้ื หาตามบทเรียน
2. ใหผ เู รยี นดูคลปิ วิดีโอ ตอน สนิ บน ตาม QR Code

3. ใหผ ูเรยี นตอบคาํ ถามตอ ไปนี้
3.1 ใหอธบิ ายความหมายของคําตอไปน้ี พรอมยกตัวอยางการกระทําของบุคคลในคลิปวิดีโอ

ทมี่ กี ารกระทาํ ดงั กลาว
3.1.1 สินบน
3.1.2 ติดสนิ บน
3.1.3 เรียกรับสนิ บน
3.1.4 สว ย
3.1.5 กินตามนํ้า

3.2 จากกรณตี ัวอยาง พฤตกิ รรมของนายกินมาก นายกินไมหยุด นายรีดไถ และนางสาวกินเรียบ
ขดั ตอ กฎหมายวา ดวยการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริตขอ ใด อยางไร

28

เร่อื งที่ 4 การคดิ เปน

ในชวี ิตประจําวนั ทกุ คนตอ งเคยพบกบั ปญหาตาง ๆ ไมวาจะเปนปญหาการเอารัดเอาเปรียบ การงาน
การเงนิ หรือแมแตก ารเลน กฬี าหรอื ปญ หาอ่ืน ๆ เชน ปญ หาขัดแยงของเด็ก หรือปญหาการแตงตัวไปงานตาง ๆ
เปนตน เม่ือเกิดปญหาก็เกิดทุกข แตละคนก็จะมีวิธีแกไขปญหา หรือแกทุกขดวยวิธีการที่แตกตางกันไป
ซงึ่ แตละคน แตล ะวธิ ีการอาจเหมอื นหรือตา งกัน และอาจใหผลลัพธท่ีเหมือนกันหรือตางกันก็ได ทั้งนี้ ข้ึนอยูกับ
พืน้ ฐานความเชื่อ ความรู ความสามารถและประสบการณของบุคคลนั้น หรืออาจะข้ึนอยูกับทฤษฎีและหลักการ
ของความเช่อื ทต่ี างกัน เหลา นน้ั

1. ปรัชญา “คิดเปน” อยูบนพื้นฐานความคิดที่วา ความตองการของแตละบุคคลไมเหมือนกัน
แตทุกคนมีจุดรวมของความตองการที่เหมือนกัน คือ ความสุข คนเราจะมีความสุขเม่ือตนเองและสังคม
ส่งิ แวดลอมประสมกลมกลนื กนั ได โดยการปรบั ตัวเราเองใหเ ขา กับสงั คมหรือส่ิงแวดลอม หรือโดยการปรับสังคม
และสิ่งแวดลอมใหเขากับตัวเรา หรือปรับทั้งตัวเราและส่ิงแวดลอมใหประสมกลมกลืนกัน หรือเขาไปอยูใน
ส่งิ แวดลอมท่เี หมาะสมกบั ตน คนที่สามารถทําไดเชนน้ีเพื่อใหตนเองมีความสุขน้ัน จําเปนตองเปนผูมีการคิด
สามารถคิดแกปญหา รูจักตนเอง รูจักสังคมและสิ่งแวดลอม และมีองคความรูที่จะนํามาคิดแกปญหาได
จงึ จะเรยี กไดวาผูนั้นเปนคนคดิ เปน

“คิดเปน” เปนคําไทยสัน้ ๆ งา ย ๆ ที่ ดร.โกวทิ วรพิพัฒน ใชเพื่ออธิบายถึงคณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค
ของคนในการดํารงชีวิตอยูในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว รุนแรงและซับซอนไดอยางปกติสุข
“คดิ เปน” มาจากความเชื่อพืน้ ฐานเบอื้ งตน ที่วา คนมีความแตกตางกันเปนธรรมดาแตทุกคนมีความตองการ
สูงสุดเหมือนกันคือความสุขในชีวิต อยางไรก็ตามสังคม สิ่งแวดลอมไมไดหยุดนิ่งแตจะมีการเปลี่ยนแปลง
อยา งรวดเรว็ และรุนแรงอยูตลอดเวลากอใหเกิดปญหา เกิดความทุกขความไมสบายกายไมสบายใจข้ึนไดเสมอ
กระบวนการปรับตนเองกบั สังคมสง่ิ แวดลอ มใหผสมกลมกลนื จึงตอ งดําเนินไปอยางตอเน่ืองและทันการ คนที่
จะทําไดเชนนีต้ องรจู ักคิด รูจักใชส ติปญญา รูจักตวั เองและธรรมชาติ สังคมส่งิ แวดลอ มเปน อยางดีสามารถแสวงหา
ขอมูลท่ีเก่ียวของอยางหลากหลายและพอเพียงอยางนอย 3 ประการ คือ ขอมูลทางวิชาการขอมูลทางสังคม
สงิ่ แวดลอ ม และขอมูลที่เกย่ี วขอ งกับตนเอง มาเปนหลักในการวิเคราะหป ญหา เพอ่ื เลอื กแนวทางการตดั สินใจทดี่ ี
ท่ีสุดในการแกปญหา หรือสภาพการณท่ีเผชิญอยูอยางรอบคอบ จนมีความพอใจแลวก็พรอมจะรับผิดชอบ
การตัดสินใจนั้นอยางสมเหตุสมผล เกิดความพอดีความสมดุลในชีวิตอยางสันติสุข เรียกไดวา“คนคิดเปน”
กระบวนการคิดเปน อาจสรุปตามผังไดดงั นี้

29

“คดิ เปน”

ปญ หา กระบวนการคิดเปน ความสุข

ขอ มลู ที่ตองนํามาพจิ ารณา

ไมพ อใจ ตนเอง สังคม วชิ าการ พอใจ
ลงมอื ปฏบิ ัติ
การวเิ คราะหแ ละสังเคราะหข อ มูล
ท่ีหลากหลายและเพยี งพออยา งละเอยี ดรอบคอบ
ประเมินผล
ประเมินผล

ลงมอื ปฏบิ ตั ิ การตัดสนิ ใจเลือกแนวทางปฏบิ ัติ

จากแผนภูมิดังกลา วน้ี จะเห็นวา คดิ เปนหรอื กระบวนการคิดเปนน้ันจะตองประกอบไปดวยองคประกอบตาง ๆ
ดงั ตอไปนี้

1. เปน กระบวนการเรียนรูที่ประกอบดวยการคิด การวิเคราะหและสังเคราะหขอมูลประเภทตาง ๆ
ไมใ ชก ารเรียนรจู ากหนงั สอื หรอื ลอกเลยี นจากตํารา หรอื รับฟง การสอนการบอกเลาของครูแตเพียงอยางเดียว

2. ขอ มลู ท่นี าํ มาประกอบการคิด การวเิ คราะหต า ง ๆ ตองหลากหลาย เพียงพอ ครอบคลุมอยางนอย
3 ดาน คือ ขอ มูลทางวชิ าการ ขอ มูลเกยี่ วกบั ตนเอง และขอมลู เก่ียวกบั สังคมส่ิงแวดลอ ม

3. ผูเรียนเปน คนสําคญั ในการเรยี นรู ครเู ปนผูจัดโอกาสและอํานวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู
4. เรียนรูจากวิถีชีวิตจากธรรมชาติและภูมิปญญา จากประสบการณและการปฏิบัติจริงซึ่งเปน
สวนหนึ่งของการเรยี นรูตลอดชวี ิต
5. กระบวนการเรียนรูเปนระบบเปดกวาง รับฟงความคิดของผูอื่นและยอมรับความเปนมนุษยท่ี
ศรทั ธาในความแตกตางระหวางบุคคล ดังนนั้ เทคนคิ กระบวนการท่ีนํามาใชในการเรียนรูจึงมักจะเปนวิธีการ
สานเสวนา การอภิปรายถกแถลง กลมุ สัมพันธเพือ่ กลมุ สนทนา

30

6. กระบวนการคิดเปนน้ัน เมื่อมีการตัดสินใจลงมือปฏิบัติแลวจะเกิดความพอใจ มีความสุข
แตถาลงมือปฏิบัติแลวยังไมพอใจก็จะมีสติ ไมทุรนทุราย แตจะกลับยอนไปหาสาเหตุแหงความไมสําเร็จ
ไมพงึ พอใจกับการตัดสินใจดงั กลา ว แลว แสวงหาขอ มลู เพ่ิมเติม เพื่อหาทางเลือกในการแกป ญหา แลวทบทวน
การตัดสนิ ใจใหมจ นกวา จะพอใจกับการแกปญ หาน้ัน

“คิดเปน” เปนคําเฉพาะท่ีหมายรวมทุกอยางไวในตัวแลว เปนคําที่บูรณาการเอาการคิด การกระทํา
การแกปญ หา ความเหมาะสม ความพอดี ความเชื่อวัฒนธรรม ประเพณี คุณธรรม จริยธรรม มารวมไวใ นคาํ วา
“คิดเปน ” หมดแลว น่ันคอื ตองคดิ เปน คิดชอบ ทําเปน ทําชอบ แกปญหาไดอยางมีคุณธรรมและความรับผิดชอบ
ไมใชเ พยี งแคค ดิ อยา งเดยี ว

กระบวนการเรยี นรูตามทิศทางของ “คิดเปน” น้ี ผูเรียนสําคัญที่สุด ผูสอนเปนผูจัดโอกาส จัดกระบวนการ
จัดระบบขอมูล และแหลงการเรียนรู รวมทั้งการกระตุน ใหกระบวนการคิด การวิเคราะหได ใชขอมูล
อยางหลากหลาย ลึกซ้ึง และพอเพียง นอกจากนั้น “คิดเปน” ยังครอบคลุมไปถึงการเคารพคุณคาของความ
เปนมนุษยของคนอยา งเทาเทียมกนั การทาํ ตัวเปนสามญั เรียบงาย ไมมมี มุ ไมมีเหล่ียม ไมมีอัตตา ใหเกียรติผูอ่ืน
ดวยความจริงใจ มองในดี - มเี สีย ในเสยี - มดี ี ในขาว - มดี ํา ในดาํ - มขี าว ไมมีอะไรทข่ี าวไปทั้งหมดและไมมีอะไร
ทด่ี าํ ไปท้งั หมด มองในสวนดขี องผูอ น่ื ไวเ สมอ

2. กระบวนการและขั้นตอนการแกปญหาของคนคิดเปน
คนคิดเปนเชื่อวาทุกขหรือปญหาเปนความจริงตามธรรมชาติที่เกิดขึ้นไดก็สามารถแกไขได

ถา รูจกั แสวงหาขอ มูลทีห่ ลากหลายและพอเพียงอยางนอย 3 ดาน คือ ขอมูลทางวิชาการ ขอมูลเก่ียวกับสภาวะ
แวดลอมทางสังคมในวิถีชีวิต วิถีวัฒนธรรมประเพณี วิถีคุณธรรมจริยธรรมและขอมูลที่เกี่ยวกับตนเอง รูจัก
ตนเองอยา งถองแท ซง่ึ ครอบคลมุ ถงึ การพง่ึ พาตนเองและความพอเพียง พอประมาณมาวิเคราะหและสังเคราะห
ประกอบการคิดและการตดั สนิ ใจแกปญหา คนคิดเปนจะเผชิญกับทุกขหรือปญหาอยางรูเทาทัน มีสติไตรตรอง
อยางละเอยี ดรอบคอบในการเลอื กวิธีการแกป ญหาและตัดสินใจแกป ญหาตามวธิ กี ารทเ่ี ลอื กแลว วา ดที สี่ ดุ กจ็ ะมี
ความพอใจและเตม็ ใจรับผิดชอบกับผลการตัดสินใจเชนนั้น อยางไรก็ตาม สังคมในยุคโลกาภิวัตนเปนสังคม
แหง การเปล่ยี นแปลงทรี่ วดเรว็ และรนุ แรง ปญ หาก็เปล่ยี นแปลงอยตู ลอดเวลา ทกุ ขก็เกิดข้ึน ดาํ รงอยูและดบั ไป
หรือเปลย่ี นโฉมหนา ไปตามกาลสมยั กระบวนทศั นใ นการดับทุกขก็ตองพัฒนารูปแบบใหทันตอการเปลี่ยนแปลง
เหลาน้ันอยตู ลอดเวลาใหเหมาะสมกบั สถานการณที่เปล่ียนแปลงไปดวย กระบวนการดับทุกขหรือแกปญหา
ก็จะหมนุ เวียนมาจนกวาจะพอใจอีกเปน เชนนอี้ ยอู ยา งตอเน่ืองตลอดชวี ติ

31

กระบวนการแกป ญ หาแบบคนคิดเปน อาจแบงไดดังน้ี
2.1 ข้ันทําความเขาใจกับทุกขและปญหา คนคิดเปนเช่ือวาทุกขหรือปญหาเปนเรื่องธรรมชาติ
ที่เกิดขน้ึ กแ็ กไขไดดว ยกระบวนการแกป ญหา

“ปญหา” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หมายถึง ขอสงสัย ความสงสัย
ส่ิงเขาใจยาก ส่ิงท่ีตนไมรูหรือคาํ ถาม อันไดแก โจทยในแบบฝกหัด หรือขอสอบเพื่อประเมินผล เปนตน
ปญ หา จะหมายรวมถงึ ปญหาสว นตัว ปญ หาครอบครัว ปญ หาเพื่อนรว มงาน ปญหาจากผูบังคับบญั ชา ปญหา
จากสภาวะส่ิงแวดลอ มและอ่ืน ๆ

ปญ หาเกดิ ขึน้ ได 2 ทาง คอื
1) ปญหาท่ีเกิดจากปจจัยภายนอก เชน เมื่อเศรษฐกิจทรงตัวหรือซบเซา ทําใหรายได
ของเราลดนอยลงคนในสังคมมีการดิ้นรนแกง แยง กัน เอาตัวรอด การลกั ขโมย จป้ี ลน ฆาตกรรม สงผลกระทบ
ตอความเปนอยูและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ปญหาหลายเรื่องสืบเนื่องมาจากสุขภาพอนามัย
ภัยจากสง่ิ เสพตดิ หรือปรากฏการณธ รรมชาติ เปนตน
2) ปญหาที่เกิดจากปจจัยภายใน คือปญหาท่ีเกิดจากกิเลสในจิตใจของมนุษย ซ่ึงมี 3
เรื่องสําคัญ คือ โลภะ ไดแก ความอยากได อยากมี อยากเปนมากขึ้นกวาเดิม มีการดิ้นรน แสวงหาตอไป
อยางไมมีที่สิ้นสุด ไมมีความพอเพียง เม่ือแสวงหาดวยวิธีสุจริตไมไดก็ใชวิธีการทุจริต ทําใหเกิดความไมสงบ
ไมสบายกาย ไมสบายใจ โทสะ ไดแก ความโกรธ ความอาฆาตพยาบาทคนอ่ืน ความคิดประทุษรายคนอื่น
โมหะ ไดแ ก ความไมร ู หรอื รไู มจรงิ หลงเชอ่ื คําโกหก หลอกลวง ชกั ชวนใหห ลงกระทําสิ่งท่ีไมถูกตอง ทําเรื่อง
เสียหาย หลงผิดเปนชอบ เห็นกงจักรเปนดอกบัว เปน ตน
2.2 ข้ันหาสาเหตขุ องปญหา ซ่งึ เปนข้ันตอนหน่ึงของกระบวนการแกปญหาเปนข้ันตอนท่ีจะ
วเิ คราะหข อมูลตาง ๆ ทอ่ี าจเปนสาเหตุของปญหา เปนตัวตนตอของปญหาท้ังท่ีเปนตนเหตุโดยตรง และท่ีเปน
สาเหตทุ างออ ม ทัง้ นี้ ตองวเิ คราะหจากสาเหตุที่หลากหลายและมีความเปนไปไดหลาย ๆ ทาง การวิเคราะห
หาสาเหตขุ องปญหาอาจทําไดงา ย ๆ ใน 2 วิธี คอื
1) การวิเคราะหข อมูล โดยการนําเอาขอมูลทีห่ ลากหลายดานตา ง ๆ มาแยกแยะ และจัด
กลุมของขอมลู สาํ คญั ๆ เชน ขอมูลดา นเศรษฐกจิ วฒั นธรรม สภาวะแวดลอม วิทยาการใหม ๆ นโยบายและ
ทศิ ทางในการบริหารจัดการ ปจ จัยทางดานเทคโนโลยีฯลฯ ขอมูลท่ีนํามาวิเคราะหนี้เม่ือจําแนกแลว สาเหตุ
ของปญ หาอาจมาจากขอ มูลอยา งนอ ย 3 ประการ คือ

(1) สาเหตุสําคญั มาจากตนเอง จากพน้ื ฐานของชีวติ ตนเองและครอบครัว ความไมสมดุล
ของการงานอาชีพท่ีพึงปรารถนา ปญหาดานเศรษฐกิจในครอบครัว ความโลภ โกรธ หลงในใจของตนเอง
ความคับขอ งใจในการรักษาคณุ ธรรม จริยธรรมของตนเอง ฯลฯ

32

(2) สาเหตสุ ําคญั มาจากสงั คม ชมุ ชนและสภาวะแวดลอ ม ความไมพึงพอใจตอพฤติกรรม
ไมพึงปรารถนาของเพื่อนรวมงาน การขาดแหลงเงินทุนในการประกอบอาชีพ ชุมชนมีการทะเลาะเบาะแวง
ขาดความสามคั คี ฯลฯ

(3) สาเหตุสําคญั มาจากการขาดแหลง ขอ มูล แหลง ความรคู วามเคลอ่ื นไหวท่ีเปนปจจุบัน
ของวชิ าการและเทคโนโลยที เ่ี ก่ียวขอ งขาดภมู ปิ ญ ญาที่จะชวยเติมขอ มูลทางปญญาในการบรหิ ารจัดการฯลฯ

2) การวิเคราะหสถานการณโดยการนําเอาสภาพเหตุการณตาง ๆ มาพัฒนาหาคําตอบ
โดยพยายามหาคําตอบในลักษณะตอไปนี้ใหมากที่สุด คืออะไร ที่ไหน เมื่อไรเพียงใด เชน วิธีการอะไร
ที่กอใหเกิดสภาพเหตุการณเชนนี้ ส่ิงแวดลอมอะไรที่กอใหเกิดสภาพเหตุการณเชนน้ี บุคคลใดที่กอใหเกิด
สภาพเหตุการณเ ชน นี้ ผลเสียหายเกดิ ข้ึนมาไดอ ยา งไร ทาํ ไมจงึ มีสาเหตเุ ชนนี้เกิดขน้ึ ฯลฯ

จากนั้นจึงกระทําการจดั ลําดับความสาํ คัญของสาเหตุตา ง ๆ คอื หาพลงั ของสาเหตุที่กอใหเกิด
ปญ หาทัง้ น้เี นอ่ื งจาก

(1) ปญหาแตล ะปญ หาอาจเปน ผลเนื่องมาจากสาเหตหุ ลายประการ
(2) ทุกสาเหตุยอ มมีอันดับความสําคัญหรือพลังของสาเหตุท่ีกอใหเกิดปญหาในอันดับ
แตกตา งกนั
(3) ทรพั ยากรมีจํากดั ไมว า จะเปนบคุ ลากร เงนิ เวลา วัสดุ ดงั น้ันจงึ ตองพิจารณาจัดสรร
การใชทรัพยากรใหต รงกับพลงั ท่กี อ ปญหาสงู สุด
2.3 ขั้นวิเคราะหเสนอทางเลือกของปญหา เปนข้ันตอนที่ตองศึกษาหาขอมูลท่ีเกี่ยวของ
อยางหลากหลายและทั่วถึง เพียงพอทั้งขอมูลดานบวกและดานลบ อยางนอย 3 กลุมขอมูล คือ ขอมูล
ทางวิชาการ ขอ มลู เกย่ี วกบั ตนเอง และขอมูลท่ีเกี่ยวของกับสังคมสิ่งแวดลอม แลวสังเคราะหขอมูลเหลานั้น
ขึน้ มาเปนทางเลือกในการแกไ ขปญหาหลาย ๆ ทางทมี่ คี วามเปนไปได
2.4 ข้ันการตัดสนิ ใจ เลือกทางเลือกในการแกป ญหาท่ีดีท่ีสุดจากทางเลือกทั้งหมดที่มีอยูเปนทางเลือก
ท่ไี ดวเิ คราะหและสังเคราะหจากขอมูลทงั้ 3 ดา นดงั กลาวแลวอยา งพรอมสมบูรณ บางครั้งทางเลือกที่ดีที่สุด
อาจเปนทางเลือกท่ีไดจากการพิจารณาองคประกอบที่ดีท่ีสุดของแตละทางเลือก นาํ มาผสมผสานกนั ก็ได
2.5 ข้นั นาํ ผลการตัดสนิ ใจไปสูการปฏิบัติ เมื่อไดตัดสินใจดวยเหตุผลและไตรตรองขอมูลอยาง
รอบคอบพอเพยี งและครบถวนทั้ง3 ประการแลว นบั วา ทางเลือกท่ตี ัดสินใจนั้นเปน ทางเลอื กทด่ี ีทส่ี ุดแลว
2.6 ข้นั ติดตามประเมนิ ผล เมื่อตัดสินใจดําเนินการตามทางเลือกที่ดีท่ีสุดแลว พบวามีความพอใจ
ก็จะมีความสุข แตถา นาํ ไปปฏิบตั แิ ลว ยังไมพอใจ ไมสบายใจ ยงั ขัดขอ งเปนทุกขอ ยูก็ตอ งกลับไปศึกษาคนควา
หาขอมูลเพิ่มเติมดานใดดานหน่ึงหรือทั้ง 3 ดานที่ยังขาดตกบกพรองอยูจนกวาจะมีขอมูลที่เพียงพอทําให
การตัดสนิ ใจคร้ังนน้ั เกิดความพอใจ และมีความสขุ กับการแกป ญหาน้นั

33

อยางไรก็ตาม สังคมในยุคโลกาภิวัตนเปนสังคมแหงการเปลี่ยนแปลงท่ีรวดเร็วและรุนแรง
ปญ หากเ็ ปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ทุกขก็เกิดข้ึน ดํารงอยู และดับไป หรือเปล่ียนโฉมหนาไปตามกาลสมัย
กระบวนทศั นในการดับทกุ ขก ็ตองพัฒนารปู แบบใหท นั ตอการเปลี่ยนแปลงเหลา นั้นอยตู ลอดเวลา ใหเ หมาะสม
กบั สถานการณทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปดว ยกระบวนการดับทุกขหรือแกปญหาก็จะหมุนเวียนมาจนกวาจะพอใจอีก
เปนเชนนอี้ ยูอ ยางตอ เน่อื งตลอดชีวติ

1. ปญ หา กระบวนการและขนั้ ตอนการแกป ญ หาของคนคดิ เปน 34
กระบวนการแกป ญหา ความสขุ

2. วเิ คราะหห าสาเหตขุ องปญ หาจากขอมลู ทห่ี ลากหลายและพอเพยี ง
อยางนอย 3 ประการ

ตนเอง สงั คมสง่ิ แวดลอ ม วิชาการ

6. ประเมินผล 3. วเิ คราะหห าทางเลือกในการแกป ญ หาจากขอ มูลทหี่ ลากหลาย 6. ประเมินผล
(ยังไมพ อใจ) อยา งนอย 3 ประการ (พอใจ)

ขอมลู ขอมูลดานสงั คม
เก่ยี วกบั ตนเอง สงิ่ แวดลอ ม

ขอมูล
ดานวชิ าการ

5. ปฏิบตั ิ 4. ตัดสินใจเลือกวธิ กี ารแกป ญ หาทด่ี ี 5. ปฏิบตั ิ

35

กจิ กรรม

กรณศี กึ ษา “ เงนิ ทอนวดั หริ โิ อตตัปปะที่หลน หาย ”

คาํ ชแ้ี จง ใหผูเ รียนอานบทความและตอบคําถาม ดังตอ ไปน้ี
-- สํานักขาวสยามรฐั --

ภาพแหงความลมเหลวในการปราบปรามการทุจริตคอรรัปชัน ซึ่งมีการปลอยปละละเลยมา
อยา งยาวนาน โดยเฉพาะขาวการทุจริตของสํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ(พศ.) ซึ่งมีเจาหนาที่ระดับสูงสุด
และขาราชการในสังกัดทุจริตงบประมาณแผนดิน ใชเลหเหลี่ยมเพทุบายหักเปอรเซ็นตจากการอนุมัติ
งบประมาณใหกบั วดั วาอารามตาง ๆ เขาพกเขาหอตัวเองและพรรคพวกชนิดเยยฟาทาดินไมยําเกรงตอบาป
บุญคณุ โทษ จนเปนท่มี าของ"เงินทอนวดั "

"เงนิ ทอนวัด" จริง ๆ แลว ไมใ ชเ ร่ืองแปลกใหม เพราะหากเปนคนในแวดวงจะรูกันดีวา การที่วัดใด
วัดหน่ึงจะของบสนับสนุนจากสํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ (พศ.) ตองมีเงิน"ปากถุง"ติดปลายนวม
ใหกับเจาหนาท่ี พศ. ถา พระสงฆองคเจา ไมเ ดินตามเกมตามน้าํ ก็อยา หวงั วาจะไดงบประมาณไปทํากิจการสงฆ
หรือทํานุบํารุงสรางศาสนสถานใหเปนท่ียึดเหน่ียวจิตใจของพุทธศาสนิกชน หมากเกมอัปรียนี้สงผลให
"พระสงฆ" บางรูปตกเปน "จําเลย" หรอื กาํ ลังจะกลายเปน "ผตู องหา" อยา งนอยประมาณ 4 รปู ดวยกนั

หากมองเจาะลึกลงไปจะพบวา พระสงฆ คือ ฝา ยท่ีถกู มัดมอื ชกไมมสี ิทธิออกเสียงออกขาว เปนอยางน้ี
มาชานานแลว คนไทยซึ่งสว นใหญนับถือศาสนาพทุ ธจะมใี ครรูล กึ ถึงปมประเด็นน้ีหรือไม ในขณะท่ีฝายปกครองสงฆ
สูงสุด คอื มหาเถรสมาคม (มส.) ที่มผี ูอ ํานวยการสํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ เปนเลขาธิการโดยตําแหนง
การเปนประหน่ึงแคสถาบัน "ตรายาง" ออนแอในเชิงโครงสรางอยางเห็นไดชัดเจน ถึงเวลาท่ีจะตองปฏิรูป
มหาเถรสมาคม เพอื่ ใหเปนท่ีพ่งึ ท่ีหวังของคณะสงฆไ ดอยา งแทจ รงิ ไมใชเ ปน โครงสรางท่ีมีผูอํานวยการสํานักงาน
พระพุทธศาสนาแหง ชาตเิ ปน เลขาธกิ าร เชนทกุ วนั นี้

การปรับโครงสรา งมหาเถรสมาคมจะเปนหนทางทที่ ําใหก ารทจุ ริตฉอโกงจากฝายขาราชการประจํา
กระทําไดย ากขน้ึ จาํ เปน ตอ งสรางกลไก "ถวงดุลอาํ นาจ" โดยตัง้ คณะทํางานหรือคณะอนกุ รรมการ ซึ่งสามารถ
สรรหาไดจากพระภิกษุที่มีความรูความสามารถการบริหารจัดการ ดานการเงินการคลัง มาตรวจสอบพิจารณา
จดั สรรงบประมาณใหก ับวดั ตา ง ๆ อยา งเหมาะสมเทา เทยี ม ตามความจาํ เปนเรง ดวน

นี่คือการปฏิรูปคณะสงฆ และเปนการทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาอยางย่ังยืน การไลเช็กบิลพระ
ทร่ี ว มกระทาํ หรือเจา หนาทโี่ กงกินเงนิ ทอนวดั คอื การแกปญ หาปลายน้ํา ถึงเวลาที่รัฐบาลจะตองปรับเปล่ียน
โครงสรางทั้งหมดโดยเฉพาะผูบริหาร พศ. จําเปนตองไดรับการกล่ันกรองเปนพิเศษ มีความรูความเขาใจ


Click to View FlipBook Version