The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การป้องกันการทุจริต ม.ปลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookchon, 2020-05-27 02:49:40

การป้องกันการทุจริต ม.ปลาย (สค32036)

การป้องกันการทุจริต ม.ปลาย

Keywords: การป้องกันการทุจริต,สค32036

136

7. การยกยองเชดิ ชกู ับคนท่ที ําความดี

กรณีศึกษา เรื่องที่ 7 บคุ คลตัวอยางพลเมอื งดีในแตละประเทศ

ประวัตพิ ลเมืองดขี องประเทศตา ง ๆ เพื่อสรางแรงบนั ดาลใจในการเปนพลเมอื งดี ดังนี้
1. ศาสตราจารยพ เิ ศษ เภสัชกรหญงิ ดร.กฤษณา ไกรสินธุ “อาจารย นักวิจัย เจาของฉายาเภสัชกร
ยิปซี” (ค.ศ. 1952 - ปจจบุ นั ) เปนผูคนพบและวจิ ัยยาตานเชื้อไวรัสเอดส ทาํ ใหสามารถผลิตยาตานเช้ือไวรัส
เอดสไดส ําเร็จเปนคร้งั แรกของโลก

ในป ค.ศ. 2002 ดร.กฤษณา ไกรสนิ ธุ ลาออกจากตําแหนง ผอู าํ นวยการสถาบนั วิจัยและพัฒนา
องคการเภสชั กรรม เพ่ือเดนิ ทางไปชว ยเหลอื ผปู ว ยทที่ วีปแอฟริกาดวยเงนิ ของตัวเอง โดยเขา ไปถา ยทอดความรู
ในการผลิตตัวยาตานไวรัสเอดส และยารักษาโรคมาลาเรียแกประเทศตาง ๆ เชน ประเทศรวันดา บุรุนดี
ไลบเี รีย ฯลฯในประเทศไทย ดร.กฤษณา ไกรสินธุ ไดกอตั้ง “มูลนิธิกฤษณา ไกรสินธุ” เพ่ือชวยเด็กกําพราท่ีพอแม
เสียชวี ติ จากโรคเอดสรวมถงึ เด็กท่ตี ดิ เชอื้ เอดสดวย ผลงานของทานแสดงถงึ ความมีจิตอาสาและจิตสาธารณะ
ที่ทุมเท เพ่ือประโยชนของคนในชาติและผูคนทั่วโลก ในป ค.ศ. 2009 ดร.กฤษณาไกรสินธุไดรับรางวัล
แมกไซไซ สาขาบริการสาธารณะ

2. เกลาศ สัตยารธี (Kailash Satyarthi) ประเทศอนิ เดีย “นักเคล่ือนไหวดา นสงั คมและเยาวชน”
(ค.ศ. 1954 - ปจ จุบัน) เปนเวลากวา 35 ป ที่ เกลาศ สัตยารธ ี มงุ มน่ั ใหผ คู นทัว่ โลกตนื่ ตัวเร่อื งปญหาแรงงานเด็ก
เขาพยายามเปลี่ยนแปลงคานิยมของคนในสังคมโลก โดยรณรงคคัดคานสินคาตาง ๆ ท่ีผลิตจากการ
เอารัดเอาเปรยี บแรงงานเดก็ แนนอนวาชวี ิตเขาเสี่ยงตอ การถกู ลอบทาํ รา ยจากผมู อี ิทธพิ ลตลอดเวลา

ป ค.ศ. 1994 ไดกอตั้งกลุม “กูดวีฟอินเตอรเนชั่นแนล (GoodWeave Internation)”
เพือ่ จดั ทาํ ระบบรับรองและติดฉลากบนพรมที่ปลอดแรงงานเด็ก กระท่ังสามารถมอบอิสรภาพใหแกเด็ก ๆ
จากการถูกใชแรงงานไดเ ปนจาํ นวนมาก และทําใหเ กดิ อนสุ ญั ญาแรงงานระหวางประเทศวาดวย การหามใช
แรงงานเดก็ ขึน้ ในป ค.ศ. 2014 เกลาศ สัตยารธี เปนชาวอนิ เดยี คนท่ี 8 ทไ่ี ดรบั รางวัลโนเบล สาขาสันติภาพ

3. มาลาลา ยูซาฟไซ (Malala Yousafzai) ประเทศปากีสถาน “นักเคล่ือนไหวดานสังคมและ
การศกึ ษา” (ค.ค. 1997 - ปจจุบนั ) สาวนอยวัย 17 ป ผูมีหัวใจอันกลาหาญ มาลาลา ยูซาฟไซ ลุกข้ึนตอสู
เพื่อเรียกรองสิทธิเสรีภาพทางการศึกษาของผูหญิง จากการคุกคามดวยความรุนแรงของกลุมตอลิบาน
มาลาลา ยูซาฟไซ กลาท่ีจะตอตานตอคาํ สั่งของกลุมตอลิบานท่ีไมอนุญาตใหผูหญิงเรียนหนังสือ โดยในป
ค.ศ. 2009 ไดเ ขยี นเรอ่ื งราวบอกเลา ชวี ิตผหู ญิงภายใตระบอบของตอลบิ านลงในเว็บไซตของบบี ีซี กระท่ังเร่ือง
การลิดรอนสิทธิการเรยี นหนังสอื ของผหู ญิงในปากีสถานเปน ท่รี กู ันในวงกวาง ทาํ ใหก ลุมตอลิบานไมพ อใจมาก

แมถกู ขูฆาหลายครงั้ แตเ ธอยังไมลมเลิกท่ีจะเรียกรองสิทธิในการศึกษา กระท่ังป ค.ศ. 2012
มาลาลาถกู กลุมตดิ อาวุธตอลิบานลอบยิงท่ีศีรษะจนอาการเปนตายเทากัน แตเธอก็รอดชีวิตมาได ปจจุบัน
มาลาลา อาศัยอยูใ นเมืองเบอรมิงแฮม ประเทศอังกฤษ เพอื่ ลภ้ี ยั จากการถูกคกุ คาม ในป ค.ศ. 2014 มาลาลา
ยูซาฟไซ คือ บคุ คลอายนุ อยท่ีสุดทีไ่ ดร ับรางวัลโนเบล สาขาสันตภิ าพ

ทมี่ า : ทสมลชนาดสิ ัย. อจั ฉรยิ ะ 100 หนา หนา ท่ีพลเมอื ง. 2558. กรงุ เทพฯ . อมรินทร พร้นิ ติ้งแอนดพ บั ลิซซ่งิ .

137

จากกรณีศึกษา เรื่องที่ 7 ใหผูเรียนคิด วิเคราะหหาบุคคลตัวอยางที่ไดรับรางวัลดวยลักษณะ
ความเปน พลเมืองดี อยา งไรบาง และกจิ กรรมทที่ าํ ประโยชนตอ คนระดบั ใด (ตนเอง/ครอบครวั /ชมุ ชน/สังคม/
ประเทศ/โลก)

1. ระบลุ ักษณะความเปน พลเมอื งดอี ยางไร
2. กิจกรรมท่ีทําเปนประโยชนต อ คนระดบั ใดบา ง

2.1 ระดบั ตนเอง
2.2 ระดับครอบครวั
2.3 ระดับชมุ ชน
2.4 ระดบั สงั คม
2.5 ระดบั ประเทศ
2.6 ระดับโลก

138

แบบทดสอบหลังเรียน

1. ขอใดสําคญั ทสี่ ดุ ในการจัดกระบวนการคดิ เปน
ก. ผเู รียน
ข. ผสู อน
ค. กระบวนการ
ง. สภาพปญ หา

2. บรษิ ทั ใหข องขวัญเปน ทองคําแกเจา หนา ที่ เจาหนาทีก่ เ็ รงรัดคืนภาษใี หก อ นโดยวธิ ลี ัดคิว เพื่อตองการ
ไดข องขวญั อีกครงั้ เปนการทจุ รติ ในรูปแบบใด
ก. การรขู อมลู ภายใน
ข. การรบั ผลประโยชน
ค. คสู ญั ญากบั เอกชน
ง. การสรา งถนนในชมุ ชน

3. เม่อื นําผลการตัดสนิ ใจไปปฏิบตั แิ ลวยังไมพอใจ ควรทาํ อยา งไร
ก. ทิ้งไวระยะหนงึ่ เพอื่ ใหส ภาพสังคมมกี ารเปลี่ยนแปลง
ข. คน ควาหาขอ มูลเพ่ิมเตมิ แลว กลบั ไปดําเนินการตามกระบวนการใหม
ค. ยกเลกิ ผลการตดั สนิ ใจนั้นเพราะเหน็ วาไมถ กู ตอง
ง. ใหกลบั ไปทบทวนกระบวนการใหม เพ่อื หาขอบกพรอง

4. ขอ ใดไมใชสาเหตุของการทุจริต
ก. กฎหมาย ระเบยี บ ขอกาํ หนดมีชองวา ง
ข. เจา หนาทีม่ ีอาํ นาจสทิ ธิขาดในการใชด ลุ พนิ จิ
ค. ไมม ีกลไกท่มี ปี ระสิทธภิ าพในการควบคมุ
ง. การเปล่ียนตาํ แหนงของผปู ฏิบตั งิ าน

139

5. การปฏิบัติตนในขอใดแสดงถึงความมวี ินัยในตนเอง
ก. การเขาควิ ซ้ืออาหาร
ข. การแบง ขนมใหเพ่อื น
ค. การทาํ ความสะอาดบาน
ง. การมอบของขวญั ใหผ ูใ หญ

6. กรณใี ดเขา ขา ยการทจุ ริต
ก. การลักทรพั ย
ข. การซอื้ ขายหวยใตดนิ
ค. หวั หนา งานขม ขูพนักงาน
ง. ลาปว ยโดยใชใ บรับรองแพทยปลอม

7. ความไมท นตอการทจุ ริตตรงกับความหมายขอใด
ก. ใหเพอื่ นลอกการบาน
ข. มคี นแซงควิ กอนหนาจึงเขาไปเตอื น
ค. ใชร ถยนตของราชการไปเที่ยวในวนั หยุด
ง. เห็นคนหยิบสนิ คา แลว ไมจายเงนิ ก็ทําเฉย ๆ

8. ขอ ใดไมใชสาเหตุของการทุจรติ
ก. โครงสรา งสงั คมไทยระบบอุปถมั ภ
ข. กระบวนการยุติธรรมไมเขมแขง็
ค. กระแสบริโภคนยิ ม วัตถุนยิ ม
ง. ความรเู ทาไมถงึ การณ

9. ขอใดไมใชความหมายของ “พลเมืองศึกษา”
ก. ใหม คี วามภาคภูมใิ จในความเปนพลเมอื งดี
ข. การจดั การศกึ ษาและประสบการณเ รยี นรูเพ่ือพฒั นาใหเปน พลเมอื งดี
ค. ตนเองเปนเพยี งผนู อ ยตองคอยรับการอุปถมั ภจากผูอนื่
ง. สนใจเรยี นรเู ก่ยี วกับรฐั บาล กฎหมาย ระบบการเมอื งการปกครอง

140

10. ขอ ใดเปนแนวทางในการสรางสาํ นกึ ความเปน พลเมอื ง
ก. รบั ฟงความคดิ เห็นของผอู ืน่
ข. เขาไปมีสวนรว มในกจิ การของชมุ ชน
ค. เคารพกฎหมายของทุกประเทศ
ง. ถกู ทกุ ขอ

11. ขอ ใดไมเกยี่ วของกบั ทศิ ทางการปองกันและการทจุ รติ ในประเทศไทย
ก. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาตฉิ บบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)
ข. รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทยพทุ ธศักราช 2560
ค. ยทุ ธศาสตรชาติระยะ20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580)
ง. พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแหง ชาติ

12. ขอใดคือหลกั สาํ คญั ในการควบคุมพฤตกิ รรมของเจา หนาทข่ี องรัฐ
ก. หลกั ธรรม
ข. คตธิ รรม
ค. จรยิ ธรรม
ง. มโนธรรม

13. สง่ิ ท่ีทําใหเกดิ การทุจรติ
ก. โอกาส ความกดดนั จิตใจ ความเครยี ด
ข. แรงจูงใจ เหตผุ ล ความยากจน
ค. โอกาส แรงจูงใจ ความยากจน
ง. โอกาส แรงจงู ใจ เหตุผล

14. การทุจริตขอ ใดกอใหเกิดความเสยี หายตอสงั คม
ก. คา ยาเสพตดิ
ข. ลกู พดู โกหกพอแม
ค. เพอื่ นขอลอกขอสอบ
ง. จางเพือ่ นทําชน้ิ งานสงครู

141

15. ถา ทา นรูวาสิ่งทีก่ ระทาํ นัน้ ไมดี ไมถ ูกตอ ง ตรงกบั ความหมายขอ ใด
ก. ความไมท น
ข. ความละอาย
ค. ความไมก ลัว
ง. ความเกรงใจ

16. ขอ ใดตรงกับความหมายคําวาทจุ ริต
ก. ลูกขอเงนิ ไปเที่ยว
ข. ผูเรียน กศน. มาพบกลุม
ค. พนักงานบรษิ ทั ใหเพ่อื นลงชอื่ ทาํ งานแทน
ง. ผปู กครองซอื้ อุปกรณก ารสอนใหโรงเรยี น

17. การทจุ รติ ในดานศลี ธรรม ตรงตามขอใด
ก. การลักทรัพย
ข. การโกหก
ค. การเห็นแกต ัว
ง. การหลงผดิ

18. ความเปน พลเมืองไดแ กข อ ใด
ก. ศกั ด์ิศรีความเปนมนษุ ย
ข. เคารพหลักความเสมอภาค
ค. รบั ผดิ ชอบตอ สงั คมและสว นรวม
ง. การรบั รู เขา ใจกับการนับถือความรูความสามารถ

19. ขอใดเปนความหมายของคําวา “พลเมือง”
ก. ปฏิบตั ิตนตามหนาท่ีเทา นัน้
ข. ยอมรบั กฎหมาย นโยบาย กจิ กรรมตาง ๆ ของรัฐ
ค. บทบาท หนาที่ และความรบั ผิดชอบของสมาชิกสงั คมทมี่ ตี อรฐั
ง. อํานาจอันชอบธรรมท่ตี องทําระหวา งบุคคล

142

20. ขอใดเปน ลกั ษณะของการเปน พลเมอื งดี
ก. รบั ฟงความคดิ เหน็ ตางไดเ สมอ
ข. กระตือรอื รนท่จี ะมีสว นรว มแกป ญ หา
ค. เคารพกฎ ระเบียบของชมุ ชน
ง. ถูกทกุ ขอ

143

เฉลยแบบทดสอบกอ นเรียน - หลงั เรียน

แบบทดสอบกอ นเรียน

1. ง 11. ข
2. ง 12. ข
3. ค 13. ก
4. ข 14. ง
5. ก 15. ค
6. ข 16. ค
7. ง 17. ค
8. ค 18. ข
9. ค 19. ง
10. ก 22. ข

แบบทดสอบหลงั เรยี น

1. ก 11. ง
2. ข 12. ค
3. ข 13. ค
4. ง 14. ก
5. ก 15. ข
6. ง 16. ค
7. ข 17. ค
8. ง 18. ข
9. ค 19. ค
10. ข 20. ง

144

แนวคาํ ตอบกิจกรรม

เฉลยกิจกรรมบทท่ี 2 ความละอายและความไมท นตอ การทุจรติ

กจิ กรรมเรอ่ื งที่ 1 การทจุ รติ
คาํ ช้แี จง ใหครู กศน. และผูเรียน รวมกันสนทนา อภิปราย และยกตัวอยาง เพ่ือใหผูเรียนสามารถอธิบาย

รายละเอียดตา ง ๆ ของการทุจรติ ได
แนวคําตอบ

ตําแหนง หนา ที่ของระบบราชการท่มี ีอาํ นาจในการอนมุ ัตกิ ารจดั ซอื้ จัดจา ง ผูประกอบการ มักจะติดสนิ บน
ใหแกเจา หนาท่ี เพื่อเปนการอํานวยความสะดวกในการจัดซื้อจัดจาง ถาเจาหนาท่ีตกลงรับสินบน เพื่อเปดทาง
อํานวยความสะดวกใหผ ปู ระกอบการ ถอื วาเปนการทจุ รติ คอรร ปั ชัน

กิจกรรมเรื่องท่ี 2 ความละอายและความไมทนตอการทจุ รติ
กิจกรรมท่ี 1
คําชแี้ จง ใหผูเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเหตุการณที่กอใหเกิดความละอายใจ แลวชวยกัน

วิเคราะหถ ึงผลเสยี ผลกระทบทีไ่ ดรบั และแนวทางแกไ ข
แนวคาํ ตอบ

เหตุการณ/ สถานการณ ผลเสยี /ผลกระทบที่ไดร บั แนวทางแกไ ข
1. สมชายลอกการบานเพอื่ น เปน การแสดงออกของความทุจรติ ใชว ิธวี ากลา วตกั เตือนสมชายให
ในการเรยี นของสมชาย รสู กึ ถงึ การถูกลงโทษจากสง่ิ ทท่ี ํา
2. นติ ยาขอรอ งใหส มจิตร ถาถกู จบั ไดจะไดรบั การลงโทษและ ชแ้ี จงใหเ พือ่ นเขา ใจและชว ยสอน
ทําการบานให ความเดอื ดรอนจากสงิ่ ทท่ี าํ ลงไป การบา นแทนการทําการบา นให
ผเู รียนจะไมไดร ับความรเู ก่ียวกบั พอ แมควรชน้ี าํ วิธกี ารทาํ ช้นิ งาน
3. พอแมชวยกนั ทาํ ชิ้นงาน ขัน้ ตอนการทําชน้ิ งานท่ีครูมอบหมา แกผูเรียนตามข้ันตอน เพ่ือใหผ ูเรยี น
ทค่ี รูมอบหมายใหผ ูเ รยี นทํา ใหท าํ สามารถไดร บั ความรูความเขาใจ
ในการทําช้นิ งาน
4. ครสู ัง่ ใหส มชายตอนกงิ่ มะมว ง สมชายมีความทจุ ริตในการเรยี น พอแมควรชีแ้ นะวิธีการตอน
แลว นําไปสงครู แตสมชาย และขาดความรคู วามเขาใจในการ กิ่งมะมวงใหส มชายมีความเขา ใจ
กลบั ไปซอ้ื กงิ่ มะมวงทีพ่ อ คา ตอนก่ิงมะมว งตามท่ีครูสอน และทดลองตอนกิง่ มะมวงตาม
ทําไวขายไปสง ครู ขัน้ ตอนทไ่ี ดเ รียนมาจากครผู สู อน

145

กิจกรรมท่ี 2 ประเด็นการแสดงบทบาทสมมุติ
1. นักแสดง (ผเู รียนสวนใหญ) พูดคุย ทกั ทายกันวา การสอบครั้งนี้เราไมไ ดเตรียมตวั
2. นกั แสดงจึงออกความคิดวา เราตองวางแผนลอกขอ สอบกัน
3. เพอ่ื นบางคนไมเ หน็ ดว ยตอความคิดของเพ่ือนสวนใหญ แสดงความคิดเห็นคัดคานตอการทุจริต

ของเพอ่ื น ๆ
แนวคาํ ตอบ

ชวนคดิ ชวนคยุ
1. ทาํ ไมผูเรียนจงึ คดิ ที่จะทจุ ริตการสอบ
2. เพอื่ นทีไ่ มท นตอ การทุจรติ มีความรสู ึกอยา งไร
3. ถา ทําการทุจรติ แลว ผลที่เกดิ ข้นึ จะมอี ะไรบาง
4. แนวทางแกไ ขการไมท ุจรติ

สรุปขอคดิ ที่ได ตองเตรยี มตวั ใหพ รอ มทกุ ครงั้ เมื่อมกี ารสอบโดย
1. ศกึ ษาหาความรใู นเน้ือหาทจี่ ะสอบ
2. เตรยี มวสั ดุ อปุ กรณใ นการสอบ
3. เพื่อนท่ีคดิ จะทุจรติ ในการสอบมคี วามละอายตอ การทุจรติ
4. เพ่ือนทไ่ี มท นตอ การทจุ ริตภูมใิ จในการคดั คานการทจุ รติ การสอบของเพือ่ น ๆ ได

กจิ กรรมที่ 3
คําชีแ้ จง 1. ครู กศน. ซักถามผูเรียนวาสถานศึกษามีกิจกรรมอะไรบาง ท่ีผูเรียนตองทํา เชน กิจกรรม
เขาคาย กิจกรรมพัฒนาผูเรยี น กจิ กรรมจติ อาสา ฯลฯ

2.ครู กศน. อธิบายเพ่ิมเติมเกี่ยวกับกิจกรรมที่ผูเรียนตอบจากขอ 1 วาแตละกิจกรรมลวนมี
ความสําคัญ เปน กจิ กรรมที่ชว ยพัฒนาผเู รียนดานตา ง ๆ ดงั นน้ั ผเู รยี นจะตองเขา รวมกิจกรรมทกุ คร้ัง

3. ใหผ ูเ รยี นแสดงความคิดเหน็ ตอสถานการณ กรณที ผ่ี เู รียนไมเขารวมกิจกรรมของสถานศึกษา
ผูเรยี นจะไดร ับผลกระทบ หรือผลเสียอยางไรบา ง และผูเรียนมวี ธิ ีการแกไขปญ หาการไมทาํ กจิ กรรมอยางไร

146

แนวคําตอบ

ผลกระทบหรือผลเสยี ทเ่ี กิดข้นึ แนวทางการแกไ ข

การทํากจิ กรรมในหอ งเรียนเปน สิง่ ที่ผเู รยี นตองทาํ หากผเู รียนคนใดละเลยไมยอมเขา รว มกิจกรรม
เน่อื งจากเปนกิจกรรมท่เี นน ถงึ การมีจิตอาสาและ ในหองเรียน เพ่ือรว มชัน้ เรียนตองอธบิ ายถงึ
ความสาํ นกึ ดีในชน้ั เรียน ประโยชนข องการทํากิจกรรม หากไมทําถือวา
เปน การเบียดบัง เอาเปรยี บผูอ ื่น

กจิ กรรมท่ี 4
แนวคําตอบ

ก. การแตงกาย
1. การแตง กาย หมายถึง การตกแตงรางกายดวยเสื้อผา และเครื่องประดับทุกอยาง ต้ังแตศีรษะ

จรดเทา การแตง กายของคนไทยน้นั มวี วิ ัฒนาการตงั้ แตอ ดีต มาจนถงึ ปจจบุ นั
2. ความสําคัญของการแตงกาย การแตงกายที่ดีจะชวยสรางความประทับใจใหเกิดแกผูพบเห็น

เพราะการแตงกายที่ดีนั้นเปนส่ิงแรกที่จะสรางความพอใจ ความสนใจ ความเช่ือถือ ความศรัทธาและความ
ไววางใจได

3. หลกั สาํ คญั ของการแตงกาย มีดังนี้
1. ถูกตองตามกาลเทศะ
2. มคี วามสะอาด
3. มคี วามสภุ าพเรียบรอย
4. มีความเหมาะสมกบั วยั
5. มคี วามเหมาะสมกับรูปราง
6. มคี วามเหมาะสมกบั ฐานะและความเปน อยู
7. มีความประหยดั

4. วิวัฒนาการของเคร่ืองแตง กายโบราณจนถึงปจจุบันของไทย มีทั้งการรับเอาวัฒนธรรมของตางชาติ
ชาวตะวันตกมาประยกุ ต เพื่อเปน สากลมากขึ้น และยังสวมไดเหมาะกับสภาพอากาศและการใชงาน แตยังคงไว
ซ่งึ ความสวยงาม และความสงา ของหญิงไทยไดท ุกยคุ

147
ข. การเขาคิว

ชมคลิปวดิ ีโอ “การไมเขา แถวซื้ออาหาร โดยการแซงคนอน่ื ถือเปน การกระทําท่ไี มถกู ตอง และคน
อื่น ๆ ไดแ สดงอาการไมพ อใจตอการกระทาํ นั้น”

แหลงสอ่ื https://www.youtube.com/watch?v=AyoRPq4t_lM โตไปไมโกง ตอน โดนัท

ค. ชวนคดิ ชวนคุย
ครู กศน. ชวนคิด ชวนคุย ตามประเด็นเรื่องจากวิดีโอ วาถาผูเรียนพบเห็นบุคคลที่ไมเขาคิว

หรือแซงคิว ผเู รียนจะมวี ธิ กี ารบอกกลา วบคุ คลนนั้ อยา งไร และหากบุคคลนั้นปฏิเสธ ผูเรียนจะมีวิธีแกไขอยางไร
เพ่อื ใหค นท่แี ซงคิวเกดิ ความละอาย

148

กิจกรรมท่ี 5
แนวคาํ ตอบ

1. ครู กศน. และผูเรียน รวมกันแสดงความคิดเห็นวาเราควรจะตองยึดกฎ ระเบียบของการเลือกต้ัง
ใหถ กู ตอง ไมสรา งความเดือดรอ นกบั สงั คม และประเทศชาติเพราะเหตใุ ด

ตอบ การเลือกต้ังแตละครั้ง ตองปฏิบัติตามกฎ ระเบียบของการเลือกตั้งอยางเครงครัดและ
ไมข ายเสยี งใหกบั ผูเสนอเขา รับการเลอื กต้ัง เพราะเปนการทจุ รติ

2. ครู กศน. แบงกลุมผเู รียนเปนกลมุ ๆ ละ 3 – 5 คน ไปศกึ ษาคน ควาหัวขอการเลอื กตั้งกับการทุจริต
จากแหลงเรียนรตู า ง ๆ เชน อนิ เทอรเ นต็ หอ งสมดุ ฯลฯ

ตอบ ใหศึกษา คน ควา หาขอ มูลดวยตนเองในเรอื่ งการเลอื กตง้ั กบั การทุจรติ จากแหลง เรยี นรูตาง ๆ

3. แตล ะกลมุ นาํ เสนอขอ มูลท่ไี ดจ ากการคน ควา ลงในกระดาษ Flip Chart พรอมนําเสนอตอกลุมใหญ
ตอบ จัดทํา Flip Chart ตามขอ มลู ท่ไี ปคนควา มาแลวนาํ เสนอในชัน้ เรียน

4. ครู กศน. และผูเรียน รวมกันสรุปขอดขี องการไมร บั สนิ บนจาการไปใชส ทิ ธในการเลือกตง้ั
ตอบ ถา เรารบั สนิ บน หรอื ขายเสยี งในการเลือกตั้ง อาจจะไดต ัวแทนที่ไมดีเขา ไปโกงกนิ

ทจุ ริตคอรร ปั ชนั

149

เฉลยกิจกรรมบทที่ 3 STRONG : จิตพอเพยี งตานการทุจรติ

กิจกรรมเร่อื งท่ี 3 กิจกรมทเี่ กย่ี วของ
กิจกรรมที่ 1 ความพอเพยี ง : คลปิ วดิ โี อเรอ่ื ง สาวนักชอ ป

ประเด็นอภปิ ราย
1. ผเู รยี นคิดอยางไรท่หี ญงิ ในคลิปพยายามจะซอื้ สนิ คาเพมิ่ เพ่ือใหค ุมกบั ระยะเวลาและราคา
คา จอดรถ
แนวคําตอบ หญิงในคลิป ไมมีความพอเพียง เดินซื้อสินคาที่ตัวเองไมมีความจําเปน ตองซื้อ
ตองมี แตเดนิ ซอ้ื เพอื่ ฆา เวลาใหค ุม กบั การเสียคา จอดรถเขา ทํานองทว่ี า เสยี นอ ยเสียยาก เสยี มากเสยี งา ย

2. ถา ผเู รียนเปน หญิงสาวในคลิปจะทาํ อยางไร
แนวคาํ ตอบ ยอมจา ยคาทจ่ี อดรถตามทเ่ี ปน จริง (แกไขเวลาจอดรถ)

3. ผเู รียนไดขอ คิดอะไรจากการชมคลิปน้ี
แนวคําตอบ การทําสิ่งท่ีไมถูกตอง ทําใหเราตองใชเวลาไปกับเรื่องท่ีไมเหมาะสมจํานวนมากและ
หลายคร้ัง พรอมทงั้ สรา งความเสียหายมากกวา เดมิ

กิจกรรมที่ 2 ความโปรงใสใจสะอาดตา นทุจริต
ประเดน็ อภิปราย
1. ใหผเู รยี นยกตวั อยา งเร่อื งราวของกฎ ระเบยี บทเี่ ออื้ ประโยชนใ หกับผูรา งกฎระเบียบนั้น
แนวคําตอบ แกก ฎหมาย ระเบียบ ขอ บังคบั ตา ง ๆ ที่เอ้ือประโยชนต อ ตนเองและพวกพอง

2. ถาผเู รยี นเปนบคุ คลทย่ี กตัวอยา งในขอ 1 ผเู รียนจะปฏบิ ัตติ นอยางไร
แนวคาํ ตอบ 1. คดั คาน/ตอตา น กฎหมายทเ่ี อ้ือประโยชนตอการทุจรติ

2. ใหข อ มลู ท่ีถูกตองกบั ประชาชน/บุคคลอืน่
3. ไมยอมปฏิบัตใิ นสิง่ ที่สนับสนนุ และเอือ้ ประโยชนใ หก บั กลมุ ผูทจุ ริต

3. ผูเรียนไดขอคดิ อะไรจากการชมคลิปนี้
แนวคําตอบ 1. ทกุ คนตอ งมจี ิตพอเพยี งท่ีรวมกันตอ ตา นการทจุ ริต

2. มีสวนรว มชว ยกันทํา/ปฏิบตั เิ ปนผูไ มกระทําการทุจริต

150

กิจกรรมท่ี 3 ความตน่ื รู ตา นทุจริต
ประเดน็ อภิปราย
1. ถาผเู รยี นไดร บั ธนบตั รปลอมมาโดยไมร ูต วั ผเู รยี นจะทําอยา งไร
แนวคําตอบ 1. เกบ็ ไวก ับตวั /ฉีกทง้ิ
2. แจง ความกบั ตาํ รวจ

2. ผูเรียนคิดวาการตัดสินใจและการกระทําของหญิง ชาย ในคลิปท่ีตัดสินใจเก็บธนบัตรปลอม
ไวก ับตนเองจะชว ยตอ ตานการทจุ รติ อยางไร

แนวคาํ ตอบ ดีมาก เพราะเปน ผูทมี่ ีความละอาย และไมก ลา ทําผิด

3. ผเู รยี นไดขอ คดิ อะไรจากการชมคลปิ น้ี
แนวคําตอบ ไมควรสงตอ สิง่ ทีไ่ มถูกตอ งไปใหค นอน่ื ๆ

กิจกรรมที่ 4 การมงุ ไปขางหนา
ประเด็นอภปิ ราย

1. ผูเรยี นเคยทาํ หรือเคยพบเห็นพฤติกรรมการทงิ้ ขยะแบบนีห้ รอื ไม ถาทําผูเรียนทําเพราะอะไร
แนวคําตอบ เคยทาํ เพราะ ………………………………………………

ไมเคยทํา เพราะ……………………………………………….

2. เราจะสรางพฤติกรรมที่พงึ ประสงค เชน ทิ้งขยะใหเ ปน ทใ่ี หเกิดขึ้นในตวั เราไดอ ยา งไร
แนวคําตอบ เร่ิมจากการฝกตัวเอง และคิดวาอยางนอยมีเราหนึ่งคนท่ีดูแลสังคมน้ีอยู
ถา ทกุ คนคิดแบบน้ี กเ็ ทา กับทกุ คนชวยกันดูแลสังคม

3. การกระทาํ แบบใดเปน “จติ อาสา” แบบใดเปน “จิตสาธารณะ”“จิตสํานึก”
แนวคาํ ตอบ จติ อาสา เชน การหยบิ นา้ํ 1 ขวดของชาวญ่ปี นุ เมอ่ื เกดิ สึนามิ เพราะคิดถงึ คนอนื่ วา
จะไมไ ด

จติ สาธารณะ เชน ชว ยเหลอื คนตาบอดขา มถนน ชวยเหลือผูอื่นเม่ือเขาเดือดรอน
โดยไมหวงั ผลตอบแทน เปน ตน

จิตสํานึก เชน เมื่อซ้ือของแลวคนขายทอนเงินเกินก็เอาไปคืนเขา ปฏิบัติหนาที่
ทไี่ ดร ับมอบหมายดวยความซ่อื สตั ย

151

4. ผูเรียนไดข อคิดอะไรจากการชมคลปิ น้ี
แนวคาํ ตอบ หองพักอยูได 2 คน แตอยู 4 คน พฤติกรรมเชนน้ี สอเจตนาท่ีไมสุจริต เพราะไม
ตอ งการเสยี คา เชาหอ งพักเพ่มิ เปนการกระทาํ ท่ีไมเ หมาะสม มเี จตนาไมซื่อสัตย

กจิ กรรมท่ี 5 ความเออ้ื อาทร
ประเดน็ อภิปราย
1. ในคลปิ เดก็ หนุมประพฤติตนไดเ หมาะสมหรอื ไมเหมาะสมในพฤติกรรมใด เพราะอะไร
แนวคําตอบ เหมาะสม : ในชวงแรกทตี่ องพาแมไปหาหมอ เพราะเปน เหตุสดุ วสิ ยั แมปวย
ไมเหมาะสม 1. ไมมีใบขบั ขี่
2. ผดิ กฎหมาย/ผิดระเบียบ
3. อาจทําใหเ กดิ ความเสยี หายตอ ทรัพยส ินและชวี ติ ของบุคคลอื่น

2. พฤตกิ รรมในคลปิ ของบุคคลใดทแี่ สดงใหเ ห็นถงึ ความเอื้ออาทรและไมยดื ม่ันในกฎกตกิ า
จนลมื นึกถงึ มนุษยธรรม

แนวคําตอบ ตาํ รวจ

3. ผเู รยี นไดขอคดิ อะไรจากการชมคลปิ นี้
แนวคําตอบ 1. ทกุ คนตองปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย เชน ทกุ คนตอ งปฏิบตั ติ ามกฎจราจร

ระเบียบวินัย
2. ตาํ รวจ/ผูปฏิบตั กิ ฎทด่ี ี : จะตองไมล ะเวน ตอ การรักษากฎกตกิ า
3. การปลูกฝงทดี่ ี เรมิ่ จากครอบครวั

กิจกรรมท่ี 6 การเรียนรเู ทาทันปอ งกันการทจุ รติ
ประเดน็ อภปิ ราย
1. ในชีวติ ประจาํ วนั ผูเรียนเคยเขา ใจอะไรผิดหรือรีบแสดงความคิดเห็นผา น Social Media โดยท่ี

ยงั ไมร คู วามจรงิ หรอื ไม
แนวคําตอบ เคย/และทาํ เพราะ …………………………………………..
ไมเคย/ไมท ํา เพราะ …………………………………………..

152

2. อะไรคือผลกระทบทีเ่ กิดจากการเขา ใจผิด
แนวคาํ ตอบ 1. วางแผนผิดพลาด

2. ทําใหไ มสามารถไปถงึ เปา หมายชัยชนะได
3. ไมไ ดรางวลั

3. ผเู รยี นคิดวาการตัดสินของครูดนตรีถกู ตอ งหรอื ไม เพราะเหตใุ ด
แนวคําตอบ ถูก เพราะ…………………………………………..

ไมถ ูก เพราะ…………………………………………..

4. ผเู รยี นไดข อคิดอะไรจากการชมคลปิ น้ี
แนวคาํ ตอบ 1. ไมควรตดั สินวา ถกู หรือผดิ เพยี งแคภาพทเ่ี หน็

2. ใหมขี อ ผดิ พลาดนอ ยท่ีสุดในการแขง ขนั

153

บรรณานุกรม

ALT TELECOM PUBLIC COMPANY LIMITE. การตอตา นการทจุ รติ คอรร ปั ช่นั . [ออนไลน] . เขาถงึ ไดจาก :
https://www.alt.co.th/csr/the-quality-of-the-csr-report สืบคน เมื่อวันท่ี 12 มิถนุ ายน 2562.

ทสมล ชนาติศัย และอรณัญธ สุขเกษม. อัจฉริยะ 100 หนา หนาที่พลเมือง. กรุงเทพฯ : อมรินทร
อมรนิ ทรพร้นิ ติง้ แอนดพ บั ลชิ ชิ่ง. 2558, 104 หนา.

ทิพยพ าพร ตันตสิ ุนทร สถาบนั นโยบายการศึกษา. การศึกษาสรางสาํ นกึ พลเมืองปอ งกันคอรรัปช่ัน. [ออนไลน].
เขา ถึงไดจาก : http://www.fpps.or.th/news.php?detail=n1367173359.news สืบคนเม่อื วันที่

9 มิถนุ ายน 2562.

ไทยพลับลิกา . ดชั นชี ้ีวัดภาพลกั ษณค อรรัปชันป 2561. [ออนไลน]. เขา ถงึ ไดจาก : https://thaipulica.
org/2019/01/thailand-corruption-perception-index-no-progress-weakening-democracy/
สบื คนเมอื่ วันที่ 12 มถิ ุนายน 2562.

นวลนอย ตรีรัตน และคณะ. การมีสวนรวมของประชาชนในการตรวจสอบการดําเนินงานขององคกร
บริหารสวนตําบล ในการกระจายอํานาจและปกครองทองถิ่นในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร :
สถาบันพระปกเกลา, 2545.

[ออนไลน]. เขา ถงึ ไดจ าก : http://nakhonphanom.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/21/2017/07/
การนอมนาํ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช-Way-of-Life.pdf สืบคนเมื่อวันท่ี 10 มิถุนายน
2562.

บา นจอมยทุ ธ. แนวคิดและความหมายของชุมชนและการพฒั นาชมุ ชน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :
https://www.baanjomyut.com/library_3/theories_and_principles_of_community_dev
elopment/04_5.html สบื คนเมือ่ วันท่ี 12 มถิ นุ ายน 2562.

ปริญญา เทวานฤมติ รกลุ . การศกึ ษาเพ่อื สรา งพลเมอื ง = Civic Education. กรุงเทพฯ : 2555, 112 หนา .

154

พจนานุกรมแปลไทย – องั กฤษ LEXITRON [ออนไลน]. เขา ถงึ ไดจ าก :https://dictionary.sanook.com/
search/dict-th-en-lexitron สบื คน เมือ่ วนั ที่ 9 มถิ นุ ายน 2562.

พิชัย ผกากอง 2547 : 10. สังคม. [ออนไลน] . เขา ถงึ ไดจาก : https://www.im2market.com/2015/11/13/2017
สืบคนเม่ือวนั ท่ี 12 มถิ ุนายน 2562.

มณวี รรณ คาเรง. ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง. [ออนไลน] . เขาถึงไดจ าก : https://sites.google.com/site/
Prachyasersthkicphxpheiyng12/-site-Prachyasersthkicphxpheiyng12 สบื คน เม่อื วันท่ี
12 มถิ ุนายน 2562.

[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :http:www.royin.go.thdictionary. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พ.ศ. 2554. ทจุ ริต. สบื คนเม่ือวันท่ี 10 มิถุนายน 2562.

รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560. กรงุ เทพมหานคร : 2560[ออนไลน] . เขาถงึ ไดจ าก :
https://th.wikisource.org/wiki/ สบื คน เมื่อวันท่ี12 มถิ นุ ายน 2562.

ราชกิจจานุเบกษา เลม 135 ตอน 52 ก วันท่ี 21 กรกฎาคม 2561. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
ปองกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง ชาติ พทุ ธศักราช 2561.

เรียนรูวิชาสังคมศึกษากับครูพันธกร (ครูเบน). [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :https://sites.google.com/a/
thoengwit.ac.th/Reiyn-ru-kab-khru-ben/maryath-thiy-reuxng-kar-snthna สืบคนเม่ือวันท่ี
12 มถิ ุนายน 2562.

ศุภณัฐ เพมิ่ พนู ววิ ฒั น. การสรา งสาํ นึกพลเมือง. กรงุ เทพฯ : สถาบนั พระปกเกลา . 2558,252 หนา .

ศูนยปฏิบัติการตอตานการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข.จิตพอเพียงตานทุจริต. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :
https://www.google.co.th/search?q สืบคน เมอื่ วันท่ี 12 มถิ นุ ายน 2562.

155
สถาบันพระปกเกลา. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :

http://wiki.kpi.ac.th/index.php สบื คนเมอื่ วนั ที่ 12 มิถนุ ายน 2562.

สิทธิ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www.im2market.com/2017/09/11/4551. สืบคนเม่ือวันที่
12 มถิ นุ ายน 2562.

สาํ นกั งานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุ ริตแหงชาตริ ว มกับสํานกั งานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพนื้ ฐาน. หลักสตู รรายวชิ าเพม่ิ เติม “การปองกันการทุจริต”.นนทบุรี : เอกสารอัดสําเนา. 2561,
127 หนา.

สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติรวมกับสํานักงานคณะกรรมการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน. หลักสูตรรายวิชาเพ่ิมเติม “การปองกันการทุจริต” ชุดหลักสูตรตานทุจริตศึกษา
(Anti- Corruption Education). กรงุ เทพมหานคร, 2561.

สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.สภาปฏริ ปู แหง ชาติ. [ออนไลน] . เขาถึงไดจ าก :
https://www.parliment.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/download/parcy/
017.pdf สบื คน เม่อื วนั ที่ 12 มิถนุ ายน 2562.

สํานักตานทุจริตศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ 2561.
แผนการจัดการเรียนรู “รายวิชาเพิ่มเติม การปองกันการทุจริต “ระดับมัธยมศึกษาปท่ี 5.
กรุงเทพมหานคร.

สาํ นกั ตานทจุ ริตศกึ ษา คูมือแนวทางปฏิบัติสําหรับการขับเคล่ือนหลักสูตรตานทุจริตศึกษาในพ้ืนที่สําหรับ
บุคลากรสํานักงาน ป.ป.ช. ทัง้ สว นกลางและสว นภมู ภิ าค2562. กรุงเทพมหานคร.

156

คาํ ส่ังสํานกั งานสง เสริมการศกึ ษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอัธยาศัย

1. คาํ ส่งั สํานกั งานสง เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ท่ี 116/2562
เรอ่ื ง แตงตง้ั คณะทํางานจดั ทาํ สอ่ื ประกอบการเรียนรู ดานการปองกนั การทจุ ริต
หลกั สตู รตา นทุจริตศกึ ษา (Anti – Corruption Education)

2. คาํ สั่งสาํ นักงานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ท่ี 166/2562
เรอื่ ง แตง ตั้งคณะทาํ งานบรรณาธิการสอ่ื ประกอบการเรยี นรู ดา นการปอ งกันการทุจริต
หลักสตู รตานทุจริตศกึ ษา (Anti – Corruption Education)

157

158

159

160

161

162

163

164

การประชมุ จดั ทําหนังสอื เรยี น
รายวชิ าการปอ งกันการทุจรติ

1. การประชุมเชงิ ปฏิบตั กิ ารจัดทําสื่อประกอบการเรียนรู ดานการปองกันการทุจริต
หลักสูตรตา นทจุ รติ ศึกษา (Anti – Corruption Education)
ระหวา งวันที่ 10 – 14 มถิ ุนายน 2562 ณ โรงแรมรอยัลซิตี้ กรุงเทพมหานคร

2. การประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารบรรณาธิการสอ่ื ประกอบการเรียนรู ดานการปอ งกนั การทจุ รติ
หลกั สูตรตา นทุจรติ ศึกษา (Anti-Corruption Education)
ระหวา งวนั ที่ 30 กรกฎาคม - 2 สงิ หาคม 2562 ณ โรงแรมเบลลา บี จงั หวดั นนทบุรี

165

การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารจดั ทาํ สือ่ ประกอบการเรยี นรู ดานการปอ งกันการทจุ รติ
หลักสตู รตา นทุจรติ ศกึ ษา (Anti – Corruption Education)
ระหวางวันท่ี 10 – 14 มถิ นุ ายน 2562
ณ โรงแรมรอยลั ซิตี้ กรงุ เทพมหานคร

คณะทาํ งานตน ฉบบั บทที่ 1 การคดิ แยกแยะระหวา งผลประโยชนส ว นตน

กบั ผลประโยชนสว นรวม

1. นางสาวพรทพิ ย จองทองหลาง เจา พนักงานปอ งกนั การทจุ รติ ชํานาญการสํานักตานทจุ รติ ศึกษา

สํานกั งานคณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการทุจรติ แหงชาติ

2. นางดษุ ฎี ศรีวฒั นาโรทยั ขา ราชการบาํ นาญ

3. นายอนนั ต คงชมุ รองผูอาํ นวยการ สาํ นักงาน กศน.จังหวัดสุโขทยั

4. นางสาวจริ าภรณ ตนั ตถิ าวร ผอู ํานวยการ กศน.เขตบางกอกใหญ กรุงเทพมหานคร

5. นางอําพรศลิ ป ลมิ าภิรักษ ผอู ํานวยการ กศน.เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร

6 นางวนั เพ็ญ แจมอนงค ผอู ํานวยการ กศน.เขตคลองสามวา กรงุ เทพมหานคร

7. นายมงคล พลายชมพนู ทุ ผูอ ํานวยการ กศน.อําเภอไทรงาม จังหวัดกําแพงเพชร

8. นายศุภโชค ศรีรตั นศลิ ป หวั หนา กลมุ งานพฒั นาสือ่ การเรียนรู
9. นางเยาวรัตน ปนมณีวงศ กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
10. นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน หวั หนา กลมุ งานเทยี บระดบั การศกึ ษา
กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
นักวชิ าการศกึ ษา
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั

166

คณะทํางานทาํ ตน ฉบับ บทท่ี 2 ความละอายและความไมทนตอการทจุ รติ

1. นางสาวชดิ ชนก สีนอง เจาพนกั งานปองกนั การทจุ ริตชาํ นาญการสาํ นกั ตานทุจริตศกึ ษา

สํานกั งานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหง ชาติ

2. นางนพรตั น เวโรจนเ สรวี งศ ขาราชการบาํ นาญ

3. นางสาวอรณุ ี พนั ธพุ าณิชย ผูอาํ นวยการ กศน.อําเภอสงู เมน จงั หวัดแพร

4. นางสาวอาํ ภรณ ชางเกวยี น ผูอ ํานวยการ กศน.อําเภอแจห ม จงั หวดั ลาํ ปาง

5. นางสาวพัชรา จงโกรย ศกึ ษานิเทศก สํานกั งาน กศน. จังหวดั ลพบรุ ี

6. นางสาวนิตยา มขุ ลาย ศกึ ษานิเทศก สาํ นักงาน กศน. จังหวดั ลพบุรี

7. นางนสุ รา สกลนุกรกิจ หัวหนา กลุมงานพัฒนาการเรียนการสอน

กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

8. นางสาวชัญญากาญจน โคตรพฒั น นักจัดการงานทัว่ ไปชํานาญการ

กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั

9. นางสาวชาลินี ธรรมธิษา นักวชิ าการศกึ ษา

กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

คณะทํางานตนฉบับ บทที่ 3 STRONG: จิตพอเพียงตา นการทจุ ริต

1. นายศภุ วัฒน สอนลา เจา พนกั งานปองกนั การทจุ รติ ปฏิบตั ิการสํานกั ตานทจุ รติ ศกึ ษา

สาํ นกั งานคณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหง ชาติ

2. นางสาววิไล แยม สาขา ขา ราชการบํานาญ

3. นางสาววิมลรตั น ภรู คิ ุปต ผูอ ํานวยการ กศน.เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร

4. นางสาวพัชยา ทบั ทิม ผูอ าํ นวยการ กศน.เขตพระโขนง กรงุ เทพมหานคร

5. นางสาววาสนา โกสยี ว ฒั นา ครเู ช่ยี วชาญ ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา

ตามอธั ยาศยั กลุมเปา หมายพเิ ศษ

6. นายมงคลชัย ศรีสะอาด นักวชิ าการศกึ ษาชํานาญการพเิ ศษ

ศนู ยว งเดอื นอาคมสรุ ทัณฑ จงั หวดั อทุ ยั ธานี

7. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาํ ไพศรี หวั หนากลุมงานประกันคณุ ภาพศึกษา

กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

8. นางสาวฐิติมา วงศบ ณั ฑวรรณ นกั วชิ าการศึกษาชาํ นาญการพิเศษ

กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

9. นางสกุ ญั ญา กุลเลิศพทิ ยา 167
10. นางสาวชมพนู ท สังขพ ิชยั
เจา พนักงานธรุ การชาํ นาญงาน
กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
นกั วชิ าการศึกษา
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

คณะทาํ งานตนฉบบั บทที่ 4 พลเมืองกับความรบั ผิดชอบตอ สังคม

1. นายภัทรพล หงสจ ันทกานต เจา พนักงานปอ งกนั การทจุ ริตปฏบิ ัตกิ ารสาํ นักตานทุจรติ ศกึ ษา

สาํ นักงานคณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง ชาติ

2. นางสาวพมิ พาพร อินทจักร ขา ราชการบํานาญ

3. นายจริ พงศ ผลนาค ผอู ํานวยการ กศน.อําเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทยั

4. นางมณั ฑนา กาศสนุก ผอู าํ นวยการ กศน.อาํ เภอเมืองแมฮองสอน จังหวัดแมฮ องสอน

5. นางสาวอนงค ชูชัยมงคล ครเู ชยี่ วชาญ ศนู ยว งเดอื นอาคมสรุ ทัณฑ จงั หวดั อทุ ยั ธานี

6. นางสาวอนงค เชอื้ นนท ครชู ํานาญการพเิ ศษ กศน.เขตบางเขน กรงุ เทพมหานคร

7. นางสาวพจนยี  สวัสด์ริ ัตน ครูชํานาญการพเิ ศษ กศน.อําเภอเมืองกาํ แพงเพชร

จงั หวดั กาํ แพงเพชร

8. นางสาววรรณพร ปทมานนท หวั หนากลุมงานพฒั นาหลกั สตู ร

กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

9. นางสาวทิพวรรณ วงคเรอื น นกั วชิ าการศึกษาชาํ นาญการ

กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย

10. นางสาวขวัญฤดี ลิวรรโณ นกั วชิ าการศึกษา

กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

168

การประชมุ เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารบรรณาธกิ ารสอื่ ประกอบการเรยี นรดู า นการปอ งกนั การทจุ ริต
หลักสตู รตานทจุ รติ ศกึ ษา (Anti-Corruption Education)
ระหวางวันที่ 30 กรกฎาคม - 2 สิงหาคม 2562
ณ โรงแรมเบลลา บี จงั หวดั นนทบุรี

คณะบรรณาธกิ าร ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

1. นางรุงอรุณ ไสยโสภณ ผอู าํ นวยการกลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบ

และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

2. นางนพรตั น เวโรจนเ สรีวงศ ขาราชการบํานาญ

3. นายววิ ัฒนไชย จนั ทนส ุคนธ ขาราชการบํานาญ

4. นายเจรญิ ศักด์ิ ดแี สน ผูอ ํานวยการศนู ยวิทยาศาสตรเพ่ือการศกึ ษาจังหวัดลาํ ปาง

5. นายมงคล พลายชมพนู ุท ผอู าํ นวยการ กศน. อาํ เภอไทรงาม จงั หวดั กาํ แพงเพชร

6. นางสาววรรณพร ปทมานนท นักวชิ าการศกึ ษาชาํ นาญการพเิ ศษ

กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

7. นางนุสรา สกลนุกรกจิ นกั วชิ าการศกึ ษาชาํ นาญการพเิ ศษ

กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

8. นายศุภโชค ศรีรัตนศิลป นักวิชาการศึกษาชํานาญการพิเศษ

กลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

9. นางสาวชญั ญากาญจน โคตรพัฒน นักจัดการงานทวั่ ไปชาํ นาญการ

กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั

169

คณะทํางาน

ทป่ี รกึ ษา พระประชาธรรม เลขาธกิ าร กศน.
ลีสุวรรณ รองเลขาธิการ กศน.
1. นายศรีชยั ไสยโสภณ ผูอาํ นวยการกลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบ
2. นางสาววิเลขา และการศกึ ษาตามอัธยาศัย
3. นางรงุ อรุณ

คณะทาํ งาน ไสยโสภณ ผอู ํานวยการกลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบ
และการศึกษาตามอธั ยาศัย
1. นางรุงอรณุ หัวหนา กลมุ งานพัฒนาสอื่ การเรยี นรู
กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
2. นายศภุ โชค ศรรี ัตนศิลป นกั จดั การงานท่วั ไปชํานาญการ
กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
3. นางสาวชัญญากาญจน โคตรพัฒน นกั วิชาการศกึ ษาชํานาญการ
กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
4. นางสาวทพิ วรรณ วงคเรือน นกั วชิ าการศึกษา
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
5. นางสาวชมพูนท สังขพชิ ัย

ออกแบบปก ศรีรตั นศลิ ป หวั หนา กลุมงานพฒั นาส่อื การเรียนรู
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
นายศุภโชค


Click to View FlipBook Version