86
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
(พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช ในหลวงรัชกาลท่ี 9) ทรงดินสอไมธรรมดา ๆ โดยมีบันทึกวา
ในปหนึ่ง ๆ ทรงเบิกดินสอใชเพียง 12 แทง โดยทรงใชดินสอเดือนละ 1 แทงเทานั้น เมื่อดินสอส้ันจะทรงใช
กระดาษมามว นตอปลายดินสอใหยาวเพื่อใหเขียนไดถนัดมือ จนกระทั่งดินสอนั้นกุดใชไมไดแลว เน่ืองจาก
พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (พระบาทสมเด็จพระปรมินทร
มหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลท่ี 9) ทรงมีแนวพระราชดําริที่เปนเหตุ เปนผล ดินสอ 1 แทง ทานไมได
มองวาเราตองประหยัดเงินในกระเปา แตทานมองวาดินสอ 1 แทง ตองใชทรัพยากรหรือพลังงานเทาไหร
ตอ งใชทรัพยากรธรรมชาติ คือ ไม แรธาตุที่ทําไสดินสอ การนําเขาวัตถุดิบที่นําเขาจากตางประเทศ พลังงาน
ในกระบวนการผลิตและขนสง ดังน้ัน การผลติ ดนิ สอทุกแทงมผี ลตอการรายรับรายจายของประเทศ เปน สว นหนึง่
มูลคาสินคานําเขาดานวัตถุดิบและ เปนการนําทรัพยากรธรรมชาติที่มีจํากัดมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด
ความประหยัดไมใชหมายถึง การไมใช แตยังรวมถึงการใชสิ่งตาง ๆ อยางมีสติและมีเหตุผลอันเปนส่ิง
สําคญั ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
“ดร.สเุ มธ ตนั ตเิ วชกลุ ” เขียนไวในหนังสอื “ใตเ บ้อื งพระยุคลบาท”
“ทานผูหญงิ บุตรี” บอกผมมาวาปหน่ึงทานทรงเบิกดินสอ 12 แทง เดือนละแทง ใชจนกระท่ังกุด
ใครอยาไดไ ปท้งิ ของพระองคทานนะ จะทรงกร้ิว ทรงประหยัดทุกอยาง ทรงเปนตนแบบทุกอยาง ของทุกอยาง
มคี า สาํ หรับพระองคทา นท้ังหมดทุกบาท ทุกสตางค จะทรงใชอยางระมัดระวัง ทรงสั่งใหเราปฏิบัติงานดวย
ความรอบคอบ
3. หลอดยาสีพระทนต
หลอดยาสีพระทนตของพระบาทสมเด็จ
พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร (พระบาทสมเด็จพระปรมินทร
มหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลท่ี 9)
มีลักษณะแบนราบเรียบ คลายแผนกระดาษ
โดยเฉพาะบรเิ วณคอหลอดยิ่งปรากฏรอยบมุ ลกึ ลง
ไปจนถึงเกลียวคอหลอด สาเหตุท่ีเปนเชนนี้
เพราะพระองคทานทรงใชดามแปรงสีพระทนต ที่มา : https://www.google.co.th/search?q=หลอดยาสีพระทนต
ชวยรีดและกดจนเปนรอยบุม ศาสตราจารยพิเศษ ทันตแพทยหญิง ทานผูหญิงเพ็ชรา เตชะกัมพุช
ทันตแพทยประจําพระองค อดีตคณบดีคณะทันตแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดเขียนเลาวา
87
“คร้ังหน่ึงทันตแพทยประจาํ พระองค กราบถวายบังคมทูลเร่ืองศิษยทันตแพทย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
บางคนมีคานยิ มในการใชของตางประเทศและมีราคาแพง รายท่ีไมมีทรัพยพอซื้อหา ก็ยังขวนขวายเชามาใช
เปนการชั่วคร้ังชั่วคราว ซึ่งเทาที่ทราบมา มีความแตกตางจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ทรงนิยมใชกระเปาที่ผลิตภายในประเทศเชนสามัญชนท่ัวไป ทรงใช
ดินสอสั้นจนตองตอดาม แมยาสีพระทนตของพระองคทานก็ทรงใชดามแปรงพระทนตรีดหลอดยาจนแบน
จนแนใจวาไมม ียาสีพระทนตหลงเหลืออยใู นหลอดจรงิ ๆ” เมอ่ื กราบบังคมทลู เสร็จ พระบาทสมเด็จพระบรม
ชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร (พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช
ในหลวงรชั กาลท่ี 9) ทรงรับส่งั วา “ของพระองคท า นก็เหมือนกนั ” และยงั ทรงรบั สง่ั ตอไปอีกดวยวา “เมื่อไมนาน
มานี้เองมหาดเล็กหอ งสรง เหน็ วา ยาสีพระทนตของพระองคคงใชห มดแลว จึงไดนําหลอดใหมมาเปล่ียนใหแทน
เมื่อพระองคไดทรงทราบ ก็ไดขอใหเขานาํ ยาสีพระทนตหลอดเกามาคืนและพระองคทานยังทรงสามารถใช
ตอไปไดอีกถึง 5 วัน จะเห็นไดวาในสวนของพระองคทานเองนั้นทรงประหยัดอยางยิ่งซึ่งตรงกันขามกับ
พระราชทรัพยสวนพระองคท่ีทรงพระราชทานเพ่ือราษฎรผูยากไรอยูเปนนิจ” “พระจริยวัตรของพระองค
ไดแสดงใหเหน็ อยางแจมชัดถึงพระวิรยิ ะ อตุ สาหะ ตลอดจนความประหยัดในการใชของอยางคุมคา หลังจากนั้น
ทันตแพทยป ระจาํ พระองคไดก ราบพระบาททูลขอพระราชทานหลอดยาสีพระทนตหลอดน้ัน เพ่ือนําไปใหศิษย
ไดเหน็ และรบั ใสเ กลาเปนตัวอยา งเพอ่ื ประพฤตปิ ฏิบตั ิในโอกาสตอ ๆ ไป” “ประมาณหนึ่งสัปดาหหลังจากนั้น
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (พระบาทสมเด็จพระปรมินทร
มหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9) ไดพระราชทานสงหลอดยาสีพระทนตเปลาหลอดนั้นมาใหถึงบาน
ทันตแพทยประจาํ พระองค รูสึกซาบซ้ึงในพระมหากรุณาธิคุณเปนลนเกลายิ่ง เมื่อไดพิจารณาถึงลักษณะ
ของหลอดยาสีพระทนตเ ปลา หลอดน้ันแลว ทําใหเกิดความสงสยั วา เหตุใดหลอดยาสีพระทนตหลอดน้ีจึงแบน
ราบเรียบโดยตลอด คลา ยแผน กระดาษ โดยเฉพาะบรเิ วณคอหลอดยังปรากฏรอยบุมลึกลงไปเกือบถึงเกลียว
คอหลอด เมอื่ ไดม โี อกาสเขา เฝา ฯ อกี คร้ังในเวลาตอ มา จึงไดร บั คาํ อธิบายจากพระองควาหลอดยาสีพระทนต
ที่เห็นแบนเรียบนั้นเปนผลจากการใชดามแปรงสีพระทนตชวยรีดและกดจนเปนรอยบุมที่เห็นน่ันเอง และ
เพื่อท่จี ะขอนําไปแสดงใหศ ิษยท นั ตแพทยไ ดเ ห็นเปนอุทาหรณ จึงไดขอพระราชานุญาต ซึ่งพระองคทานก็ได
ทรงพระเมตตาดวยความเต็มพระราชหฤทัย”
88
4. รถยนตพ ระท่ีน่ัง
ทีม่ า : https://www.google.co.th/search?q=รถยนตพ ระท่ีนง่ั
นายอนันต รมรื่นวาณิชกิจ ชางดูแลรถยนตพระที่นั่ง ไดใหสัมภาษณรายการตีสิบ เมื่อวันท่ี
27 พฤศจิกายน 2552 โดยมีใจความวา “คร้ังหน่ึงผมตองซอมรถตูเชฟโรเลต ซึ่งเปนรถที่พระบาทสมเด็จ
พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล
อดุลยเดช ในหลวงรัชกาลท่ี 9) พระราชทานแกสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี สมัยทานเรียนจบท่ีจุฬาฯ และเปนคันโปรดของทานดวย กอนซอมขางประตูดานที่ทาน
ประทับเวลาฝนตกจะมนี ํ้าหยด แตหลงั จากท่ีซอมแลววันหน่ึงทานก็รับส่ังกับสารถีวา วันน้ีรถดูแปลกไป น้ําไมหยด
อยางนี้ก็ไมเย็นนะสิ แตก็ดีเหมือนกันไมตองเอากระปองมารอง” นายอนันตเปดเผยวา ภายในรถยนต
พระท่ีน่ังของแตละพระองคน้ัน เรียบงายมากไมมีอะไรเลยที่เปนส่ิงอํานวยความสะดวก มีแตถังขยะเล็ก ๆ
กับที่ทรงงานเทานั้น สวนการไดมีโอกาสดูแลรถยนตพระที่นั่งทําใหไดเห็นถึงพระราชกรณียกิจของ
พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ดวยนั้น นายอนันตกลาววา
ครงั้ หน่ึงมีรถยนตพระทน่ี งั่ ท่เี พ่ิงทรงใชในพระราชกรณียกจิ มาทาํ ความสะอาด เหน็ วาพรมใตรถมีน้ําแฉะขังอยู
และมกี ลิ่นเหมน็ ดว ย แสดงวาพระองคทา นทรงนาํ รถไปทรงพระราชกรณียกจิ ในทท่ี ี่นา้ํ ทวม แถมน้าํ ยังซึมเขา ไป
ในรถพระท่ีนั่งดวย แสดงวาน้ําก็ตองเปยกพระบาทมาตลอดทาง จึงถามสารถีวา ทําไมไมรีบเอารถมาซอม
ก็ไดคําตอบวาตองรอใหเสร็จพระราชกรณียกิจกอน เมื่อพิธีกรถามวา จากการที่ไดมีโอกาสรับใชเบ้ือง
พระยุคลบาท ไดเห็นถงึ ความพอเพียงของพระองคอ ยางไร นายอนันต ตอบวา “ปกตถิ า ทรงงานสว นพระองคท านก็
ใชรถคันเล็กเพ่ือประหยัดนํา้ มัน และเมื่อเราสังเกตสีรถพระที่นั่ง จะเห็นวามีรอยสีถลอกรอบคันรถกวาท่ี
ทานจะนํามาทําสใี หมกร็ อบคนั แลว แตค นใชรถอยา งเราแครอยนิดเดยี วก็รบี เอามาทาํ สีแลว และคร้ังหน่ึงระหวาง
89
ที่ผมกําลังประสานงานไปรับรถพระท่ีนั่งของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี ก็มีวิทยุของขาราชบริพารบอกกันวารถติดมาก สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ ฯ ขึน้ รถไฟฟา ไปแลว”
5. หอ งทรงงาน
หองทรงงานพระตําหนักจิตรลดา
รโหฐานไมไดหรูหราประดับดวยของแพง
แตอยางใด เวลาทรงงาน จะประทับบนพ้ืน
พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน มิไดประทับ
พระเกา อี้เวลาทรงงาน เพราะทรงวางสิ่งของ
ตาง ๆ ไดสะดวก หองทรงงานเปนหองเล็ก ๆ
ขนาด 3 x 4 เมตร ภายในหองทรงงานจะมีวิทยุ ทีม่ า : https://www.google.co.th/search?q=หอ งทรงงาน
โทรทัศนโทรสารโทรศพั ท คอมพิวเตอร
เทเล็กซเ ครอื่ งบันทกึ เสียง เครือ่ งพยากรณอากาศ เพื่อจะไดทรงสามารถแกปญหาตาง ๆ ไดทันทวงที โดยผนัง
หองทรงงานโดยรอบมแี ผนทีท่ างอากาศแสดงถึงพน้ื ทีป่ ระเทศ หอ งทรงงานของพระองคก ็เปน อีกสง่ิ หนึ่งทเี่ ตอื นสติ
คนไทยไดอยางมาก โตะทรงงานหรือเกาอ้ีโยกรูปทรงหรูหราไมเคยมีปรากฏในหองนี้ ดังพระราชดํารัสของ
สมเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีตอนหน่ึง ที่วา “...สํานักงาน
ของทาน คือหองกวาง ๆ ไมมีเกาอ้ี มีพ้ืนและทานก็กมทรงงานอยูกับพ้ืน...” นั่นเองนับเปนแบบอยางของ
ความพอดี ไมฟุงเฟอ โดยแท
6. เครอื่ งประดับ
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
(พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9) ฉลองพระองคธรรมดา หอยกลอง
ถายภาพไวทพี่ ระศอ มิทรงโปรดการสวมใสเคร่อื งประดับอน่ื เชน แหวน สรอยคอหรือของมีคาตาง ๆ เวนแต
นาฬิกาบนขอพระกรเทานั้น ซ่ึงก็ไมไดมีราคาแพงแตอยางใด “...เคร่ืองประดับ พระองคก็มิทรงโปรดที่จะสวมใส
สักช้ิน นอกเสียจากวาจะทรงแตงองคเพ่ือเสด็จฯ ไปงานพระราชพิธีตาง ๆ หรือตอนรับแขกบานแขกเมือง
เทาน้ัน...”
90
เรื่องท่ี 3 กจิ กรรมทีเ่ กย่ี วของ
ตวั อยา ง ผูเรียนดคู ลปิ วิดีโอตอ ไปนแี้ ละอภปิ รายแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ พรอมสรุปสาระขอ คดิ เห็น
กจิ กรรมที่ 1 ความพอเพยี ง : คลิปวดิ โี อเรือ่ ง สาวนักชอ ป ความยาว 9.48 นาที
เร่อื งยอ : หญงิ สาวผใู ชเวลาเดินหา งสรรพสนิ คา และพยายามหาวธิ ีการเสยี คา จอดรถใหน อยทสี่ ดุ
สดุ ทายความพยายามทงั้ หมดกลบั ทาํ ใหเธอพบกบั ความยุงยากมากขน้ึ
คลปิ วดิ ีโอเร่ือง สาวนักชอป
แหลง สอื่ https://www.youtube.com/watch?v=_5wOaLZrrow
ประเดน็ อภิปราย
1. ผเู รยี นคดิ อยา งไรทหี่ ญิงในคลิปพยายามจะซือ้ สนิ คา เพมิ่ เพ่อื ใหคมุ กับระยะเวลา และราคาคา จอดรถ
2. ถา ผเู รียนเปนหญงิ สาวในคลปิ จะทาํ อยา งไร
3. ผูเรยี นไดขอคดิ อะไรจากการชมคลิปนี้
91
กจิ กรรมที่ 2 ความโปรงใสใจสะอาดตา นทจุ รติ : คลปิ วิดโี อเรอ่ื ง ทจุ รติ เชงิ นโยบาย ความยาว 3.00 นาที
เรอื่ งยอ : เปนกลโกงทจุ รติ เชิงนโยบายทผ่ี มู อี าํ นาจแสวงหาประโยชนใ หก บั ตนเองและพวกพอง
โดยการแกไขเพม่ิ เตมิ กฎหมาย ระเบยี บขอ บังคบั เพ่ือเออื้ ประโยชนในเรอ่ื งตา ง ๆ
เปน การสรา งประโยชนต นและพวกพองบนความสูญเสยี ของสว นรวม
คลิปวิดีโอเรอื่ ง ทุจรติ เชงิ นโยบาย
แหลง สอื่ https://www.youtube.com/watch?v=UBA7F5gA_Yk&t=11s
ประเด็นอภปิ ราย
1. ใหผ เู รียนยกตวั อยา งเรื่องราวของกฎ ระเบยี บทีเ่ อ้อื ประโยชนใหก บั ผูรา งกฎ ระเบียบน้นั
2. ถา ผเู รียนเปน บุคคลที่ยกตวั อยา งในขอ 1 ผเู รยี นจะปฏบิ ัตติ นอยางไร
3.ผเู รยี นไดข อคิดอะไรจากการชมคลิปน้ี
92
กิจกรรมท่ี 3 ความตืน่ รู ตา นทจุ รติ : คลิปวิดีโอเรือ่ ง คณุ หมู ตัวเล็ก ธนบตั รปลอม ความยาว 16.35 นาที
เรอื่ งยอ : หญิงสาวผูห นึ่งไดร บั ธนบัตรปลอม ราคา 500 บาท มา 1 ใบ เธอพยายามจะจัดการกับธนบัตร
ปลอมใบน้ัน แตส ดุ ทา ยเธอตัดสนิ ใจเก็บธนบัตรปลอมไวกบั ตวั เอง
คลิปวดิ ีโอเร่ืองคุณหมู ตัวเล็ก ธนบตั รปลอม
แหลงสอื่ https://www.youtube.com/watch?v=CzBUxDHHf08
ประเด็นอภปิ ราย
1. ถา ผเู รยี นไดร ับธนบตั รปลอมมาโดยไมร ูตวั ผูเรยี นจะทําอยา งไร
2.ผเู รยี นคิดวา การตดั สนิ ใจ และการกระทาํ ของหญิง ชาย ในคลิปท่ีตดั สนิ ใจเกบ็ ธนบัตรปลอมไวกับตนเอง
จะชว ยตอ ตา นการทจุ รติ อยางไร
3.ผเู รยี นไดข อคดิ อะไรจากการชมคลปิ น้ี
93
กจิ กรรมท่ี 4 การมุงไปขางหนา : คลิปวิดีโอเรื่อง ระหวา งทาง ความยาว 10.33 นาที
เรื่องยอ : บทสนทนาระหวางการเดินทางของชาย 4 คน สะทอนพฤติกรรมในการอยูรวมกันในรถ
บางคนหลับในขณะที่เพื่อนขับรถ บางคนท้ิงขยะออกนอกรถ เพ่ือนก็จะพูดเตือนวาทําให
คนอื่นเดือดรอน พูดคุยเร่อื งจติ อาสา จิตสาธารณะ การไมเอาเปรยี บคนอ่ืน
คลปิ วดิ โี อเรอื่ ง ระหวางทาง
แหลง ส่ือ https://www.youtube.com/watch?v=A-4hAkG4U1w&t=12s
ประเด็นอภปิ ราย
1. ผเู รียนเคยกระทาํ หรอื เคยพบเหน็ พฤตกิ รรมการทิง้ ขยะแบบน้หี รอื ไม ถาเคยกระทําผูเรยี นอธิบายวา
กระทําเพราะเหตใุ ด
2.เราจะสรางพฤตกิ รรมที่พงึ ประสงค เชน ทิง้ ขยะใหเ ปนท่ีใหเ กดิ ขน้ึ ในตัวเราไดอยา งไร
3. การกระทําแบบใดเปน “จติ อาสา” แบบใดเปน “จติ สาธารณะ”“จิตสาํ นกึ ”
4. ผูเรียนไดข อคดิ อะไรจากการชมคลิปนี้
94
กิจกรรมที่ 5 ความเออ้ื อาทร : คลปิ วิดโี อเรอื่ ง 18 ปบรบิ ูรณ ความยาว 13.24 นาที
เร่อื งยอ
แมเปนขาราชการตํารวจอยูกับลูกชายวัยรุน สอนใหลูกชายหัดขับรถยนต แตส่ังวาไมให
ลูกชายนํารถไปขับโดยลําพัง เพราะลกู ชายไมมีใบขบั ข่ี แตล ูกชายแอบนาํ รถยนตไปขบั ในซอยใกล ๆ บาน
เมอ่ื กลบั มาบานจงึ ถกู แมดแุ ละส่ังไมใ หทําอยางน้ันอกี
วันหน่งึ ลูกชายเห็นแมน อนหมดสติอยบู นพน้ื บา น จงึ ไดข บั รถยนตเพ่ือนําแมไปสงโรงพยาบาล
ระหวา งทาง ถกู ตํารวจเรยี กตรวจใบขบั ขร่ี ถยนต จงึ บอกตาํ รวจวา ไมม ีใบขบั ขี่แตจําเปนตองขบั รถยนต
พาแมไปโรงพยาบาล ตํารวจจึงอนุญาตใหลูกชายขับรถพาแมไปโรงพยาบาลได ตอมาเมื่อชายหนุม
มอี ายุครบ 18 ปบ ริบรู ณ สามารถทําใบขับขรี่ ถยนตและขับรถไดตามกฎหมาย มีอยูวันหนึ่งชายหนุม
ถูกตํารวจคนเดิมจับเพราะขับรถไมด ี ทงั้ นี้ชายหนมุ จะทาํ อยา งไร
คลปิ วดิ ีโอเรื่อง 18 ปบ รบิ ูรณ
แหลงสือ่ https://www.youtube.com/watch?v=0_UBLgnJ6jI
ประเดน็ อภปิ ราย
1. ในคลปิ เดก็ หนุมประพฤติตนไดเหมาะสมหรือไมเหมาะสมในพฤติกรรมใด เพราะอะไร
2. พฤตกิ รรมในคลิปของบคุ คลใดทแ่ี สดงใหเหน็ ถงึ ความเอ้อื อาทร และไมย ืดมน่ั ในกฎกติกาจนลืมนกึ ถึงมนุษยธรรม
3.ผูเรียนไดขอ คดิ อะไรจากการชมคลปิ น้ี
95
กิจกรรมท่ี 6 การเรยี นรเู ทา ทันปองกนั การทุจริต : คลปิ วดิ โี อเรอ่ื ง ผตู ดั สิน ความยาว 13.19 นาที
เรอื่ งยอ : ครูสอนดนตรี ไดร บั การแตง ตัง้ ใหเ ปนกรรมการตดั สินการประกวดรองเพลงของนกั เรยี น
แตค รูถูกเขา ใจผดิ คิดวา ลําเอยี งเขาขา งนกั เรยี นทพ่ี อ ของเธอนํากตี ารมาใหครู
คลิปวดิ ีโอเร่ือง ผูต ดั สิน
แหลง สือ่ https://www.youtube.com/watch?v=4A7xpbbjm9Q&t=137s
ประเด็นอภิปราย
1. ในชีวติ ประจําวนั ผเู รยี นเคยเขาใจอะไรผดิ หรอื รีบแสดงความคิดเห็นผา น Social Media โดยที่ยังไมร ู
ความจริงหรอื ไม
2. อะไรคอื ผลกระทบทเี่ กิดจากการเขา ใจผดิ
3. ผเู รียนคดิ วาการตัดสินของครดู นตรีถกู ตองหรือไม เพราะเหตุใด
4. ผูเรยี นไดขอคดิ อะไรจากการชมคลิปนี้
96
บทที่ 4
พลเมอื งกบั ความรบั ผิดชอบตอ สังคม
สาระสําคญั
พลเมือง เปนองคประกอบที่สําคัญของสังคมไทยเชนเดียวกับสังคมอื่น ๆ ทุกสังคมยอมตองการ
พลเมืองที่มีคุณภาพ ซงึ่ หมายถงึ ความมรี า งกายจิตใจดี คดิ เปน ทําเปน แกป ญหาได มีประสิทธิภาพ และเปน
กําลงั สําคญั ในการพฒั นาความเจริญกา วหนา ความมน่ั คงใหก ับประเทศชาติ การเปนพลเมอื งท่ีดีนั้น ยอมตอง
มกี ารปฏิบัติตามบรรทดั ฐานและขนบธรรมเนียมประเพณีของสังคม มีคุณธรรมเปนแนวปฏิบัติในการดําเนิน
ชีวติ เพอ่ื การพัฒนาสงั คมใหย ง่ั ยนื
ตวั ช้ีวดั
1. อธิบายความหมายและทมี่ าของคําศัพทท่เี กย่ี วขอ งกับพลเมอื ง
2. อธิบายความหมายและแนวคดิ เกี่ยวกบั การศกึ ษาเพ่ือสรา งความเปน พลเมือง
3. อธิบายองคประกอบของการศกึ ษาความเปนพลเมอื ง
4. บอกแนวทางการปฏบิ ตั ิตนการเปนพลเมอื งดีได
5. แนวทางการสรา งเสริมสาํ นกึ ความเปน พลเมอื ง : กรณีศกึ ษาประเทศไทย
6. บอกผลการศกึ ษาเกยี่ วกบั ความเปนพลเมืองในบรบิ ทตางประเทศ
7. สามารถคดิ วเิ คราะหใ นการทํากจิ กรรมที่เกยี่ วของ
ขอบขายเนอื้ หา
เรอ่ื งที่ 1 ความหมายและทีม่ าของคําศพั ททเ่ี กีย่ วของกับพลเมือง
เร่ืองที่ 2 ความหมายและแนวคิดเกยี่ วกบั การศึกษาเพือ่ สรางความเปน พลเมอื ง
เรื่องที่ 3 องคประกอบของการศกึ ษาความเปน พลเมือง
เรอ่ื งท่ี 4 แนวทางการปฏิบตั ิตนเปน พลเมอื งดี
เรอ่ื งที่ 5 แนวทางการสรางเสริมสํานกึ ความเปนพลเมอื ง : กรณศี กึ ษาประเทศไทย
เรอ่ื งที่ 6 การศึกษาเกยี่ วกับความเปน พลเมอื งในบรบิ ทตา งประเทศ
เรื่องท่ี 7 กจิ กรรมที่เกย่ี วของ
97
เร่ืองที่ 1 ความหมายและทมี่ าของคําศัพททเ่ี กี่ยวของกบั พลเมือง
พลเมืองคําวา “พลเมือง” เกิดข้ึนคร้ังแรกเม่ือเกิดการปฏิวัติใหญในฝรั่งเศสเร่ิมตนเมื่อป ค.ศ. 1789
ชาวฝร่ังเศสลกุ ฮอื กันข้ึนมาลมลา งระบอบการปกครองของพระเจา หลยุ สท ี่ 16 ลมลางระบบชนชนั้ ตาง ๆ ขณะนัน้
ไดแ ก พระราชวงศ ขนุ นางขา ราชการ สมณะ นกั พรต นักบวช และไพร ประกาศความเสมอภาคของชาวฝร่ังเศส
ทุกคนตอ มาคาํ วา "Citoyen" จงึ แปลเปน "Citizen" ในภาษาองั กฤษ
สาํ หรับประเทศไทย คําวา “พลเมือง” ถูกนํามาใชสมัยหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
เนื่องจากผนู าํ คณะราษฎรบางทา นเคยเรียนที่ประเทศฝรง่ั เศส จงึ ไดน ําเอาคาํ น้มี าใสไวในรฐั ธรรมนญู ฉบับถาวร
ซ่ึงประกาศใชเมื่อวันท่ี 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 ตอมากลายเปนวิชาบังคับท่ีนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาจะตอง
เรียนควบคกู ับวิชาศีลธรรม กลายเปน วิชา “หนาท่ีพลเมืองและศีลธรรม”
ในสวนที่เปนหนาที่พลเมืองก็ลอกมาจากบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ฉบับป 2475 เรื่อยมาจนถึง
รัฐธรรมนูญ ฉบับป 2475 แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2495 และเลิกใชเมื่อจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ทําการ
รฐั ประหาร เม่อื วนั ท่ี 16 กันยายน 2500 แตว ิชาหนา ท่พี ลเมืองก็ยังคงเรยี นและสอนกันตอมาอีกหลายป จึงเลิกไป
พรอม ๆ กับคําวา “พลเมือง” โดยตอมาก็ใชคําวา “ปวงชน” แทนคําวา “ราษฎร” คงเปนการใชแทนคําวา
“ประชาชน” หรอื คาํ วา People ในภาษาองั กฤษ อาจจะมาจากอทิ ธพิ ลของอเมริกาสบื เนอื่ งมาจากสุนทรพจน
ณ เกตตสี เบิรก ของประธานาธบิ ดีอับราฮัม ลินคอลน ท่ีใหคําจํากัดความของรัฐบาลประชาธิปไตยไววา เปน
“รฐั บาลของประชาชน โดยประชาชน และเพือ่ ประชาชน” แตแทนที่เราจะใชคําวา “ประชาชน” แทนคําวา
“ราษฎร” เรากลับใชคําวา “ปวงชน” แทนอยางไรก็ตาม คําวา ปวงชน ก็ใชแตในรัฐธรรมนูญฉบับตาง ๆ
เทานั้น แตไมติดปากที่จะใชกันท่ัวไปในท่ีอ่ืน ๆ ไมวาในหนาหนังสือพิมพหรือในสื่ออื่น ๆ ยังนิยมใชคําวา
“ประชาชน”มากกวาคําวา“ปวงชน”
สาํ หรับคาํ วา “พลเมือง” มีนักวิชาการใหความหมายสรปุ ไดพอสงั เขป
พจนานุกรมนักเรียนฉบับราชบัณฑิตยสถาน ใหความหมาย “พลเมือง” หมายถึง ชาวเมือง
ชาวประเทศ ประชาชน “วิถี” หมายถึง สาย แนว ทาง ถนน และ “ประชาธิปไตย” หมายถึง แบบการปกครอง
ท่ถี ือมติปวงชนเปน ใหญ ดังน้นั คาํ วา “พลเมืองดีในวิถีชีวิตประชาธิปไตย” จึงหมายถึง พลเมืองท่ีมีคุณลักษณะ
ท่ีสําคัญ คือ เปนผูท่ียึดม่ันในหลักศีลธรรม และคุณธรรมของศาสนา มีหลักการทางประชาธิปไตยในการ
ดาํ รงชีวิตปฏบิ ตั ติ นตามกฎหมายดํารงตนเปน ประโยชนต อสังคม โดยมกี ารชว ยเหลือเกอ้ื กูลกันอนั จะกอ ใหเกิด
การพฒั นาสังคมและประเทศชาติ ใหเ ปนสงั คมและประเทศประชาธปิ ไตยอยา งแทจ ริง
วราภรณ สามโกเศศ อธบิ ายวา ความเปนพลเมือง หมายถึง การเปนคนท่ีรับผิดชอบไดดวยตนเอง
มีความสํานกึ ในสันติวิธี มกี ารยอมรบั ความคิดเห็นของผอู ืน่
98
ปริญญา เทวานฤมิตรกุล กลาววา ความเปนพลเมืองของระบอบประชาธิปไตย หมายถึง การที่
สมาชกิ มอี ิสรภาพ ควบคกู บั ความรับผิดชอบ และมีอิสรเสรภี าพควบคกู บั “หนา ท่ี ”
จากความหมายของนกั วชิ าการตาง ๆ พอสรปุ ไดว า “พลเมือง” หมายถึง ประชาชนที่นอกจากเสีย
ภาษแี ละปฏิบัติตามกฎหมายบานเมืองแลว ยงั ตองมีบทบาทในทางการเมือง คือ อยางนอยมีสิทธิไปเลือกตั้ง
แตย่ิงไปกวาน้ัน คือ มีสิทธิในการแสดงความคิดเห็นตาง ๆ ตอทางการหรือรัฐได ทั้งยังมีสิทธิเขารวม
ในกิจกรรมตาง ๆ กับรฐั และอาจเปนฝา ยรุกเพื่อเรียกรองกฎหมาย นโยบายและกิจกรรมของรัฐตามท่ีเห็นพอง
พลเมืองน้ันจะเปนคนท่ีรูสึกเปนเจาของในส่ิงสาธารณะ มีความกระตือรือรนอยากมีสวนรวม เอาใจใส
การทํางานของรัฐ และเปนประชาชนที่สามารถแกไขปญหาสวนรวมไดในระดับหนึ่ง โดยไมตองรอใหรัฐ
มาแกไขใหเทา น้ัน
ประชาธิปไตย (Democracy) หมายถึง ระบอบการปกครองท่ีถือมติปวงชนเปนใหญ การถือเสียง
ขางมากเปนใหญ นอกจากนยี้ งั มีความหมายวา ประชาธปิ ไตย เปนรูปแบบการปกครองตามอุดมการณสากล
ท่ีผูนําประเทศไดรับอํานาจและความชอบธรรมในการบริหารประเทศจากประชาชน ผูเปนเจาของอํานาจ
อธิปไตยโดยตรง บนพื้นฐานของสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาค และการเคารพศักด์ิศรีแหงความเปนมนุษย
โดยมีการแบงอํานาจในการปกครองประเทศอยางชัดเจน ผานการกระจายอํานาจ และการถวงดุลอํานาจ
ระหวา ง 3 ฝา ย คอื ฝายบรหิ าร ฝายนิติบัญญัติ และฝายตุลาการ เพื่อปองกันการใชอํานาจหนาที่โดยมิชอบ
ของผูปกครองประเทศ
การทุจริต (Corruption) หมายถึง ความประพฤติชั่ว ถาเปนความประพฤติชั่วทางกาย เรียกวา
กายทจุ ริต ถา เปน ความประพฤตชิ ่ัวทางวาจา เรียกวา วจที ุจรติ ถา เปน ความประพฤติชัว่ ทางใจ เรยี กวา มโนทุจริต
และมีผูใหความหมายอีกวา หมายถึง การใชอํานาจที่ไดมาหรือการใชทรัพยสินที่มีอยูในทางมิชอบ
เพอื่ ประโยชนสวนตนหรอื กอใหเกิดความเสียหายตอประโยชนของผูอื่น การทุจริตอาจเกิดไดหลายลักษณะ
อาทิ การติดสินบนเจาพนกั งานดวยการชักชวน การเสนอ การให หรือการรับสินบน ท้ังที่เปนเงินและส่ิงของ
การมีผลประโยชนทับซอน การฉอฉล การฟอกเงิน การยักยอก การปกปดขอเท็จจริง การขัดขวาง
กระบวนการยุติธรรม การคาภายใตแรงอิทธิพล ทั้งนี้ การทุจริตดังกลาวมิไดหมายความถึงเพียง
ความสัมพนั ธร ะหวา งเอกชนกับหนวยงานของรัฐเทานั้น แตยังครอบคลุมถึงธุรกรรมระหวางบุคคลหรือกิจการ
ในระหวางภาคเอกชนดวยกนั เองดว ย
สิทธิ สิทธิ์ (Rights) หมายถึง อํานาจอันชอบธรรม เชน บุคคลมีสิทธิและหนาที่ตามรัฐธรรมนูญ
เขามีสิทธ์ิในท่ีดินแปลงน้ี และมีผูใหความหมายวา “สิทธิ” คือ ประโยชนหรืออํานาจของบุคคลท่ีกฎหมาย
รับรองและคุมครองมิใหมีการละเมดิ รวมท้ังบงั คบั การใหเ ปนไปตามสิทธิในกรณที มี่ ีการละเมดิ ดวย เชน สิทธิ
99
ในครอบครวั สทิ ธิความเปนอยสู ว นตวั สิทธใิ นเกียรตยิ ศ ชอื่ เสียง สทิ ธิในการเลือกอาชีพ ถ่ินท่ีอยูการเดินทาง
สทิ ธิในทรัพยสนิ เปน ตน
เสรีภาพ (Liberty) หมายถึง ความสามารถท่ีจะกระทาํ การใด ๆ ไดตามที่ตนปรารถนาโดยไมมี
อุปสรรคขัดขวาง เชน เสรภี าพในการพูด เสรีภาพในการนับถอื ศาสนา ความมสี ิทธทิ ่ีจะทําจะพูดได โดยไมละเมิด
สิทธิของผอู น่ื
เสรีภาพ หมายถึง อํานาจตัดสินใจดวยตนเองของมนุษยที่จะเลือกดําเนินพฤติกรรมของตนเอง
โดยไมม บี ุคคลอืน่ ใดอา งหรอื ใชอํานาจสอดแทรกเขา มาเก่ยี วขอ งการตดั สินใจนัน้
เสรีภาพ ตามความหมายในทางกฎหมาย หมายความถงึ อํานาจของคนเราที่จะตัดสินใจดวยตนเอง
ท่จี ะกระทาํ การหรือไมกระทาํ การสิ่งหนง่ึ สิ่งใดอันไมเปน การฝา ฝนตอกฎหมาย
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 หมวด 3 ไดกําหนดสิทธิและเสรีภาพ
ของปวงชนชาวไทย ดังตอไปนี้
มาตรา 25 ไดอธิบายวา สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย นอกจากที่บัญญัติคุมครองไวเปน
การเฉพาะในรฐั ธรรมนญู แลว การใดทมี่ ิไดหามหรือจาํ กัดไวใ นรฐั ธรรมนูญหรอื ในกฎหมายอ่ืนบุคคลยอมมสี ทิ ธิ
และเสรภี าพที่จะทาํ การนั้นได และไดรับความคุมครองตามรัฐธรรมนูญ ตราบเทาท่ีการใชสิทธิหรือเสรีภาพ
เชนวา นน้ั ไมกระทบกระเทือนหรือเปน อันตรายตอความมน่ั คงของรัฐความสงบเรียบรอ ยหรือศีลธรรมอันดีของ
ประชาชน และไมล ะเมดิ สทิ ธหิ รอื เสรภี าพของบุคคลอื่น
มาตรา 27 ถึงมาตรา 49 ไดก ลาวถงึ เรือ่ งสิทธิและเสรภี าพ ไวดังนี้
1. บุคคลยอมเสมอกันในกฎหมาย มีสิทธิและเสรีภาพและไดรับความคุมครองตามกฎหมาย
เทา เทียมกันชายและหญิงมสี ทิ ธิเทา เทยี มกนั
2. บคุ คลยอมมีสทิ ธิและเสรีภาพในชีวติ และรา งกาย
3. บุคคลยอ มมเี สรภี าพบริบูรณในการนบั ถือศาสนาและยอมมเี สรภี าพในการปฏิบัติหรือประกอบ
พิธีกรรมตามหลักศาสนาของตน แตตองไมเปนปฏิปกษตอหนาที่ของปวงชนชาวไทย ไมเปนอันตราย
ตอ ความปลอดภัยของรัฐ และไมข ดั ตอความสงบเรยี บรอยหรอื ศลี ธรรมอันดขี องประชาชน
4. บุคคลยอมมีเสรีภาพในเคหสถานการเขาไปในเคหสถานโดยปราศจากความยินยอม
ของผูครอบครอง หรือการคนเคหสถานหรือที่รโหฐานจะกระทํามิได เวนแตมีคําส่ังหรือหมายของศาลหรือ
มเี หตอุ ยางอืน่ ตามทีก่ ฎหมายบญั ญัติ
5. บุคคลยอมมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การพูด การเขียน การพิมพ การโฆษณา
และการสื่อความหมายโดยวิธีอื่น การจํากัดเสรีภาพดังกลาวจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจ
ตามบทบัญญัติแหงกฎหมายที่ตราข้ึนเฉพาะเพื่อรักษาความม่ันคงของรัฐ เพื่อคุมครองสิทธิหรือเสรีภาพ
100
ของบุคคลอื่น เพื่อรักษาความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือเพื่อปองกันสุขภาพ
ของประชาชน
เสรีภาพทางวิชาการยอมไดรับความคุมครอง แตการใชเสรีภาพนั้นตองไมขัดตอหนาที่
ของปวงชนชาวไทย หรอื ศลี ธรรมอันดขี องประชาชน และตอ งเคารพและไมปดก้นั ความเหน็ ตา งของบุคคลอน่ื
6. บุคคลซึ่งประกอบวิชาชีพสื่อมวลชนยอมมีเสรีภาพในการเสนอขาวสารหรือการแสดง
ความคิดเห็นตามจริยธรรมแหงวิชาชีพ การสั่งปดกิจการหนังสือพิมพหรือสื่อมวลชนอื่นเพ่ือลิดรอนเสรีภาพ
ตามวรรคหนึ่งจะกระทาํ มิได
7. บคุ คลยอ มมีเสรภี าพในการตดิ ตอ สือ่ สารถึงกันไมวาในทางใด ๆ
8. บคุ คลยอ มมีสิทธใิ นทรัพยส ินและการสืบมรดกขอบเขตแหงสิทธิและการจํากัดสิทธิเชนวาน้ี
ใหเปน ไปตามทก่ี ฎหมายบญั ญตั ิ
9. บคุ คลยอมมีเสรีภาพในการเดินทางและการเลือกถ่ินท่ีอยูการจํากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่ง
จะกระทํามไิ ด เวน แตโดยอาศัยอาํ นาจตามบทบัญญัตแิ หงกฎหมายทตี่ ราขน้ึ เพือ่ ความม่ันคงของรัฐ ความสงบ
เรียบรอยหรือสวัสดิภาพของประชาชน หรือการผังเมือง หรือเพื่อรักษาสถานภาพของครอบครัว หรือเพื่อ
สวสั ดิภาพของผูเ ยาว
10. บุคคลยอมมเี สรภี าพในการประกอบอาชพี
11.บคุ คลและชุมชนยอมมสี ทิ ธิ
(1) ไดร บั ทราบและเขาถึงขอ มูลหรอื ขาวสารสาธารณะในครอบครองของหนวยงานของรัฐ
ตามทกี่ ฎหมายบญั ญตั ิ
(2) เสนอเรือ่ งราวรองทุกขตอหนวยงานของรัฐและไดรับแจงผลการพิจารณาโดยรวดเร็ว
(3) ฟองหนว ยงานของรัฐใหร บั ผิด เน่ืองจากการกระทําหรือการละเวนการกระทําของขาราชการ
พนกั งาน หรอื ลูกจางของหนวยงานของรฐั
12. บคุ คลยอ มมีเสรีภาพในการรวมกันเปนสมาคม สหกรณ สหภาพ องคกร ชมุ ชน หรือหมูคณะอื่น
การจํากัดเสรีภาพตามวรรคหน่ึงจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติ
แหงกฎหมายที่ตราข้ึนเพ่ือคุมครองประโยชนสาธารณะ เพื่อรักษาความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของ
ประชาชน หรือเพอื่ การปองกนั หรือขจดั การกีดกันหรือการผูกขาด
13. บคุ คลและชุมชนยอมมสี ทิ ธิ
(1) อนุรกั ษฟ น ฟูหรือสง เสริมภมู ปิ ญญา ศลิ ปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมและจารีตประเพณี
อันดงี ามทั้งของทองถนิ่ และของชาติ
101
(2) จัดการ บาํ รุงรักษา และใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอมและความหลากหลาย
ทางชวี ภาพอยา งสมดลุ และย่ังยืนตามวธิ กี ารท่กี ฎหมายบญั ญตั ิ
(3) เขาชื่อกันเพ่ือเสนอแนะตอหนวยงานของรัฐใหดําเนินการใดอันจะเปนประโยชน
ตอประชาชนหรือชมุ ชน หรอื งดเวนการดาํ เนนิ การใดอนั จะกระทบตอ ความเปนอยอู ยางสงบสุขของประชาชน
หรือชุมชน และไดรับแจงผลการพิจารณาโดยรวดเร็ว ท้ังนี้ หนวยงานของรัฐตองพิจารณาขอเสนอแนะนั้น
โดยใหป ระชาชนท่เี กยี่ วขอ งมสี ว นรวมในการพจิ ารณาดว ยตามวิธกี ารทีก่ ฎหมายบญั ญตั ิ
(4) จดั ใหม ีระบบสวสั ดกิ ารของชมุ ชนสิทธิของบุคคลและชุมชนตามวรรคหน่ึง หมายความ
รวมถึง สิทธิที่จะรวมกับองคก รปกครองสวนทอ งถนิ่ หรอื รฐั ในการดาํ เนนิ การดังกลา วดวย
14. บุคคลยอมมเี สรีภาพในการชมุ นมุ โดยสงบและปราศจากอาวุธ
15. บุคคลยอมมีเสรีภาพในการรวมกันจัดตั้งพรรคการเมืองตามวิถีทางการปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท รงเปน ประมุข ตามที่กฎหมายบัญญตั ิ
16. สิทธขิ องผบู ริโภคยอ มไดร ับความคุมครองบุคคลยอมมีสิทธิรวมกันจัดต้ังองคกรของผูบริโภค
เพือ่ คุม ครองและพิทักษส ิทธขิ องผูบ รโิ ภค
17. บุคคลยอมมีสิทธิไดรับบริการสาธารณสุขของรัฐบุคคลผูยากไร ยอมมีสิทธิไดรับบริการ
สาธารณสุขของรัฐ โดยไมเสียคาใชจายตามที่กฎหมายบัญญัติบุคคลยอมมีสิทธิไดรับการปองกันและขจัด
โรคตดิ ตอ อนั ตรายจากรัฐโดยไมเ สยี คา ใชจาย
18. สิทธิของมารดาในชวงระหวางกอนและหลังการคลอดบุตรยอมไดรับความคุมครองและ
ชว ยเหลอื ตามทกี่ ฎหมายบัญญตั ิ
19. บุคคลจะใชสิทธหิ รอื เสรีภาพ เพือ่ ลมลา งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย
ทรงเปนประมุขมิได
หนาท่ี (Role) หมายถึง กิจที่จะตองทําดวยความรับผิดชอบ (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พ.ศ. 2554) นอกจากน้ียังมีความหมายดังนี้ หนาที่ (Duty) ตามความหมายใน Dictionary of Education
หมายถึง ส่ิงท่ีทุกคนตองทาํ โดยปกติแลวภาวะจํายอมจะเปนไปตามหลักศีลธรรมแตบางครั้งก็เปนไป
ตามกฎหมาย หรือขอตกลงนอกจากน้ียังมีความหมายวา หนาที่ หมายถึงกิจที่ตองกระทํา หรือส่ิงที่บุคคล
จําเปนตองกระทํา ทั้งนี้อาจเปนความจําเปนตามหลักศีลธรรม กฎหมาย หรือดวยความสํานึกที่ถูกตอง
เหมาะสม
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 หมวด 4 ไดกําหนดใหบุคคลมีหนาที่
ดงั ตอไปนี้
102
1. พิทักษรักษาไวซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษตั รยิ ทรงเปน ประมขุ
2. ปองกันประเทศ พิทักษรักษาเกียรติภูมิผลประโยชนของชาติและสาธารณสมบัติของแผนดิน
รวมทั้งใหความรวมมอื ในการปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั
3. ปฏิบัตติ ามกฎหมายอยางเครง ครัด
4. เขา รับการศึกษาอบรมในการศึกษาภาคบงั คบั
5. รบั ราชการทหารตามที่กฎหมายบญั ญตั ิ
6. เคารพและไมละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น และไมกระทําการใดที่อาจกอใหเกิด
ความแตกแยกหรอื เกลยี ดชงั ในสงั คม
7. ไปใชสทิ ธิเลือกต้ังหรือลงประชามติอยางอิสระ โดยคํานึงถึงประโยชนสวนรวมของประเทศ
เปนสําคัญ
8. รวมมือและสนับสนุนการอนุรักษและคุมครองสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติความหลากหลาย
ทางชีวภาพ รวมท้งั มรดกทางวฒั นธรรม
9. เสียภาษีอากรตามทกี่ ฎหมายบัญญตั ิ
10. ไมรวมมอื หรือสนับสนุนการทุจริตและประพฤติมิชอบทกุ รูปแบบ
สงั คม (Social) มหี ลายความหมาย ดงั น้ี
1. คนจํานวนหนึ่งที่มีความสัมพันธตอเนื่องกันตามระเบียบ กฎเกณฑ โดยมีวัตถุประสงคสําคัญ
รวมกนั เชน สังคมชนบท
2. วงการหรือสมาคมของคนกลมุ ใดกลมุ หน่ึง เชน สังคมชาวบา น
3. ทเี่ กยี่ วกบั การพบปะสงั สรรคหรือชมุ นมุ ชน เชน วงสังคม งานสังคม
4. วถิ ชี วี ติ ของมนุษยห รือลกั ษณะตามธรรมชาติของมนษุ ย กค็ อื การอยรู วมกนั เปนกลมุ และจาํ เปน
ทจี่ ะตอ งพึง่ พาอาศยั บุคคลอน่ื ๆ เชน เมือ่ แรกเกดิ ตองอาศยั พอ แมพ่นี องคอยเลยี้ งดู และเม่ือเติบโตเปนผูใหญ
กจ็ ะตอ งมีสัมพนั ธกบั เพอ่ื น ครูอาจารย และบุคคลอนื่ ทเี่ ก่ียวขอ งหรือทเ่ี รยี กวากนั โดยทัว่ ไปวา “สงั คม”
5. กลุมคนตั้งแตสองคนขึ้นไป อาศัยอยูรวมกันเปนระยะเวลายาวนานอยางตอเน่ืองในบริเวณ
หรือพ้ืนท่ีแหงใดแหงหน่ึง มีอาณาเขตที่ชัดเจน และมีการปฏิสัมพันธตอกันอยางมีระเบียบและแบบแผน
ภายใตวิถีชีวิตและขนบธรรมเนยี มท่ีสอดคลอ งกัน ตลอดจนสามารถเลยี้ งตนเองไดตามสมควรแกอัตภาพ
103
ชมุ ชน (Community) หมายถงึ กลุมคนที่อยูรวมกันเปนสังคมขนาดเล็ก อาศัยอยูในอาณาบริเวณ
เดียวกัน และมีผลประโยชนรวมกันท่ีที่มีคนอาศัยอยูมาก เชน ขับรถเขาเขตชุมชนตองชะลอความเร็ว
นอกจากนีย้ งั มีผูใหความหมายไวด ังน้ี
กาญจนา แกว เทพ (2538) กลา วถงึ “ชุมชน” วา “ชมุ ชน” หมายถึง กลุม คนท่อี าศัยอยใู นอาณาเขต
บริเวณเดียวกัน มีความสัมพันธใกลชิด มีฐานะและอาชีพที่คลายคลึงกัน มีลักษณะของการใชชีวิตรวมกัน
มีความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ต้ังแตระดับครอบครัวไปสูระดับเครือญาติ จนถึงระดับหมูบานและระดับ
เกนิ หมูบานและผทู อี่ าศัยในชมุ ชนมีความรสู ึกวาเปนคนชุมชนเดียวกัน นอกจากน้ี ยังมีการดํารงรักษาคุณคา
และมรดกทางวัฒนธรรมและศาสนาถา ยทอดไปยงั ลกู หลานอกี ดวย
จิตติ มงคลชัยอรัญญา (2540) กลาวถึง “ชุมชน” โดยสรุปวา “ชุมชน” ประกอบไปดวยระบบ
ความสัมพันธของคน ความเชื่อ ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม ระบบเศรษฐกิจ อาชีพ ระบบการเมือง ระบบ
การปกครอง โครงสรางอํานาจ รวมถงึ ระบบนเิ วศนวิทยา สิ่งแวดลอ ม และเทคโนโลยีดานตาง ๆ ซ่ึงระบบเหลานี้
มคี วามสมั พนั ธระหวางกนั หรือเรยี กอกี อยา งหน่ึงวา มีความเชอ่ื มโยงกนั ชนิดท่ีไมสามารถแยกออกจากกนั ได
ประเวศ วะสี (2540) ไดใ หความหมายของ “ชมุ ชน” โดยเนน “ความเปน ชุมชน” หมายถึง การที่คน
จํานวนหนึ่งเทาใดก็ได มีวัตถุประสงครวมกัน มีการติดตอสื่อสารหรือรวมกลุมกัน มีความเอ้ืออาทรตอกัน
มกี ารเรียนรูร วมกนั ในการกระทาํ มกี ารจดั การเพื่อใหเกิดความสาํ เร็จตามวัตถุประสงคร ว มกนั
รัฐบาล (Government) หมายถึง องคกรปกครองประเทศคณะบุคคลที่ใชอํานาจบริหารในการ
ปกครองประเทศ
กฎหมาย (Laws) หมายถึง กฎเกณฑท่ีผูมีอํานาจตราขึ้นเพ่ือใชบังคับบุคคลใหปฏิบัติตามเปนการ
ทั่วไป ผใู ดไมป ฏิบตั ิตามยอ มไดรบั ผลรา ย กฎหมายอาจตราขึ้นเพื่อกําหนดระเบียบแหงความสัมพันธระหวาง
บุคคลหรือระหวางบุคคลกับรัฐ หรือเพ่อื ใชในการบริหารประเทศ กฎหมายอาจเกิดจากจารีตประเพณีอันเปน
ท่ียอมรบั นบั ถอื กนั ก็ได
104
กจิ กรรม
คําชแ้ี จง ใหผ ูเรยี นหาความหมายของคําตอ ไปนม้ี าพอสังเขป
1. พลเมือง หมายถงึ
2. ประชาธปิ ไตย หมายถงึ
3. การทุจริต หมายถึง
4. สทิ ธิ หมายถงึ
5. หนาท่ี หมายถึง
6. เสรภี าพ หมายถึง
7. สังคม หมายถงึ
105
8. ชุมชน หมายถงึ
9. รฐั บาล หมายถงึ
10. กฎหมาย หมายถงึ
106
เร่อื งที่ 2 ความหมายและแนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาเพอ่ื สรางความเปน พลเมอื ง
การใหค วามสําคญั ของการพฒั นาความเปน พลเมืองใหเ กดิ ขน้ึ สาํ หรับคนไทยมีมาอยางตอเนื่องและ
ยาวนาน ซ่ึงสะทอนไดจ ากพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศ มหาภูมิพลอดุลยเดช
บรมนาถบพิตร (พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลท่ี 9) ที่พระราชทาน
ในโอกาสสําคัญหลายครั้ง อาทิ
“การศึกษาเปนเรื่องใหญและสําคัญยิ่งของมนุษย คนเราเมื่อเกิดมาก็ไดรับการส่ังสอนจากบิดา
มารดา อนั เปนความรเู บอื้ งตน เมอ่ื เจรญิ เติบโตขน้ึ ก็เปน หนาทข่ี องครแู ละอาจารยส่ังสอนใหไดรับวิชาความรู
สูงและอบรมจิตใจใหถึงพรอมดวยคุณธรรม เพ่ือจะไดเปนพลเมืองดีของชาติสืบตอไป”พระบรมราโชวาท
ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศ มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร (พระบาทสมเด็จ
พระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลท่ี 9) ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแกนิสิตและผูเรียน
วทิ ยาลัยวชิ าการศกึ ษา วันพฤหสั บดี 13 ธนั วาคม 2505)
“สงั คมและบา นเมืองใด ใหก ารศกึ ษาท่ีดแี กเยาวชนไดอยางครบถวน ลวนพอเหมาะกันทุก ๆ ดาน
สังคมและบา นเมืองนน้ั ก็จะมีพลเมอื งทมี่ คี ุณภาพ ซ่ึงสามารถธํารงรกั ษาความเจริญม่ันคงของประเทศชาติไว
และพัฒนาใหกาวหนาตอไปไดโดยตลอด ผูมีหนาที่จัดการศึกษาทุก ๆ คนจึงตองถือวา ตัวของทานมี
ความรบั ผิดชอบตอชาตบิ านเมืองอยูอยา งเต็มท่ใี นอันทจ่ี ะตอ งปฏิบัติหนา ท่ีใหเท่ียงตรง ถูกตอง สมบูรณโดยเต็ม
กําลังจะประมาทหรอื ละเลยมิได” พระบรมราโชวาท ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศ มหาภูมิพล
อดุลยเดช บรมนาถบพิตร (พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลท่ี 9)
พระราชทานแกคณะครูและนกั เรียนท่ีไดรับพระราชทานรางวัลฯ ณ ศาลาดุสิดาลัย วันจันทร 27 กรกฎาคม
2524
“...การศึกษาเปนเครื่องมืออันสําคัญในการพัฒนา ความรูความคิด ความประพฤติ ทัศนคติ
คานิยม และคุณธรรมของบุคคล เพ่ือใหเปนพลเมืองดีมีคุณภาพและประสิทธิภาพ เมื่อบานเมืองประกอบ
ไปดว ยพลเมอื งทีม่ ีคุณภาพและประสิทธิภาพ การพัฒนาประเทศชาติก็ยอมทําใหไดโดยสะดวกราบร่ืนไดผล
ท่ีแนนอนและรวดเร็ว...”พระราชดาํ รัสของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศ มหาภูมิพลอดุลยเดช
บรมนาถบพติ ร (พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9) พระราชทานแกครู
ผูใหญแ ละนกั เรยี น ณ ศาลาดุสิดาลัย พระราชวงั ดสุ ติ วนั ที่ 22 กรกฎาคม 2520
จากพระบรมราโชวาทขางตนแสดงใหเ หน็ ถึงพระอัจฉริยภาพของพระองคท่ีทรงตระหนักและทรงมี
วิสยั ทัศนด า นการศึกษาเพ่ือสรา งความเปน พลเมอื ง ซึ่งเนอ้ื ความยังคงเปนสาระท่มี คี วามทนั สมัย และเปนเรอ่ื ง
สําคัญ เนื่องจากผลของการขัดเกลาและพัฒนาความเปนพลเมืองท่ีตองใชเวลานาน หากไมเรงลงมือพัฒนา
107
แกไขอยางจริงจัง อนาคตของประเทศอาจตกอยูในสภาวการณท่ีนาเปนหวงในการท่ีจะยืนหยัดอยูรอด
ปลอดภัยไดอ ยา งมัน่ คง
ในการสรา งความเปนพลเมืองใหเกิดข้ึนกบั ประชาชนเปน เรื่องทที่ กุ ประเทศในโลกพยายามใหเ กดิ ขนึ้
และใหความสําคัญมาโดยตลอด เพราะตองตระหนักถึงความจําเปนและคุณคาของความเปนพลเมือง
ท่ีจะเปนเครื่องมือนาํ พาประเทศใหอยูรอดและกาวพนวิกฤตตาง ๆ ไดเปนอยางดี รวมทั้งเมื่อประชาชน
เปนพลเมืองที่มีคุณภาพแลวยอมสงผลตอการสรางสรรคสังคมท่ีมีคุณภาพ และนําไปสูการพัฒนาใหเกิด
รากฐานของสังคมท่ีเขมแข็ง นับวาเปนการพัฒนาท่ีย่ังยืนอยางแทจริง หลายประเทศที่พัฒนาแลวมีความ
ตระหนักดีในเร่ืองดังกลาว จึงใหความสําคัญตอกระบวนการพัฒนาคนต้ังแตระดับเยาวชนและขับเคล่ือน
การศกึ ษาเพอ่ื สรา งความเปนพลเมือง (Civic Education)
ความหมายของพลเมืองศกึ ษา
พลเมืองศกึ ษา (Civic Education) หมายถึง การจัดการศึกษาและประสบการณเรียนรูเพื่อพัฒนา
ผูเรียนใหเปนพลเมืองดีของประเทศ มีความภาคภูมิใจในความเปนพลเมืองตนเอง มีสิทธิมีเสียง สนใจ
ตอสวนรวม และมีสวนรวมในกิจการบานเมืองตามระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย หรือการเรียนรู
เก่ียวกับรัฐบาล รัฐธรรมนูญ กฎหมาย ระบบการเมืองการปกครองสิทธิและความรับผิดชอบของพลเมือง
ระบบการบริหารจัดการสาธารณะและระบบตุลาการ
ดังน้ัน การจะทําใหพลเมืองตระหนักรูในสิทธิและหนาที่จําเปนตองใหการศึกษาท่ีมีคุณภาพ
กับพลเมือง เพือ่ สรา งความเปน พลเมืองท่ีดีโดยเฉพาะในสังคมระบอบประชาธิปไตยท่ีประเทศตาง ๆ ยึดถือ
เปนแนวทางปกครองประเทศ โดยประชาชนตองมีความรู ทักษะ และขอมูล ความรู และทักษะ ซ่ึงเปนผล
มาจากการศกึ ษาเพื่อความเปน พลเมือง
คณุ ลกั ษณะของพลเมอื ง
การเปนพลเมอื งดจี ะมลี กั ษณะอยางไร สังคมจะเปนผูกําหนดลักษณะที่พึงประสงคเพื่อไดพลเมือง
ท่ีดี ดงั น้ัน พลเมืองของระบอบประชาธิปไตยจึงไมเหมือนกับพลเมืองของการปกครองระบอบอื่น ประเทศ
ทีป่ กครองโดยระบอบประชาธปิ ไตย จะมีการกําหนดคุณลักษณะของความเปน พลเมอื งท่ีประกอบดว ยลักษณะ
6 ประการ ดังน้ี
1. มีอสิ รภาพและพึง่ ตนเองได หมายความวา ประชาธิปไตย คือ ระบอบการปกครองท่ีประชาชน
เปนเจาของอาํ นาจสูงสุดในประเทศ ประชาชนจึงมีฐานะเปนเจาของประเทศ เปนเจาของชีวิตและมีสิทธิ
เสรีภาพในประเทศของตนเอง ระบอบประชาธิปไตยจึงทําใหเกิดหลักสิทธิเสรีภาพ และทําใหประชาชน
มีอิสรภาพ คือ เปนเจาของชีวิตตนเอง “พลเมือง” ในระบอบประชาธิปไตยจึงเปนไท คือ เปนอิสระชน
ทพ่ี ึ่งตนเองและสามารถรบั ผิดชอบตนเองไดแ ละไมย อมตกอยูภายใตอทิ ธิพลอาํ นาจหรอื “ระบบอปุ ถมั ภ” ของผูใด
108
2. เห็นคนเทาเทียมกัน หมายความวา ประชาธิปไตย คือ ระบอบการปกครองที่อํานาจสูงสุด
ในประเทศเปน ของประชาชน ดังนน้ั ไมวา ประชาชนจะแตกตา งกันอยางไร ทกุ คนลว นแตเทา เทยี มกันในฐานะ
ที่เปนเจาของประเทศ “พลเมอื ง” จึงตอ งเคารพหลกั ความเสมอภาคและจะตองเห็นคนเทาเทียมกัน คือ เห็นคน
เปน แนวระนาบ (Horizontal) เห็นตนเทา เทียมกบั คนอนื่ ทุกคนลวนมีศักดิ์ศรีของความเปนเจาของประเทศ
อยางเสมอกนั ถงึ แมจ ะมีการพ่งึ พาอาศยั แตจะเปนไปอยา งเทาเทยี ม
3. ยอมรับความแตกตาง หมายความวา ประชาธิปไตย คือ ระบอบการปกครองที่ประชาชน
เปนเจาของประเทศ ประชาชนจึงมเี สรภี าพ ระบอบประชาธิปไตยจึงใหเสรีภาพและยอมรับความหลากหลาย
ของประชาชน ประชาชนจึงแตกตางกันไดไมวาจะเปนเรื่องการเลือกอาชีพ วิถีชีวิต ความเช่ือทางศาสนา
หรือความคิดเห็นทางการเมือง ดังนั้น เพ่ือมิใหความแตกตางนํามาซึ่งความแตกแยกในสังคม “พลเมือง”
ในระบอบประชาธิปไตยจงึ ตองยอมรบั และเคารพความแตกตางของกันและกัน เพ่ือใหสามารถอยูรวมกันได
และจะตอ งไมมีการใชความรุนแรงตอผูทเ่ี หน็ แตกตางไปจากตนเอง
4. เคารพสิทธิผูอื่น หมายความวา ในระบอบประชาธิปไตยทุกคนเปนเจาของประเทศทุกคน
จึงมีสิทธิ แตถาทุกคนใชสิทธิโดยคาํ นึงถึงแตประโยชนของตนเองหรือเอาแตความคิดของตนเองเปนที่ตั้ง
โดยไมคาํ นึงถึงสิทธิผูอ่ืนหรือไมสนใจวาจะเกิดความเดือดรอนแกผูใด ยอมจะทําใหเกิดการใชสิทธิท่ีกระทบ
ซงึ่ กนั และกนั สทิ ธใิ นระบอบประชาธปิ ไตยจงึ จําเปน ตองมีขอบเขต คือ มีสิทธแิ ละใชสทิ ธไิ ดเ ทาท่ีไมละเมิดสทิ ธิ
ผูอ่นื “พลเมอื ง” ในระบอบประชาธปิ ไตยจงึ ตอ งเคารพสทิ ธิผูอ ่ืนและจะตองไมใชสิทธิเสรีภาพของตนไปละเมิด
สิทธิของผอู น่ื
5. รบั ผดิ ชอบตอ สังคม หมายความวา ประชาธปิ ไตยมิใชระบอบการปกครองตามอําเภอใจหรือใคร
อยากจะทาํ อะไรก็ทาํ โดยไมคาํ นึงถึงสวนรวม ดังน้ัน “พลเมือง” ในระบอบประชาธิปไตยยังจะตองใชสิทธิ
เสรภี าพของตนโดยรบั ผิดชอบตอ สังคมดวย ดวยเหตุที่สังคมหรือประเทศชาติมิไดดีข้ึนหรือแยลง โดยตัวเอง
หากสังคมจะดีข้นึ ไดก ด็ ว ยการกระทาํ ของคนในสังคม
6. เขาใจระบอบประชาธิปไตยและมีสวนรวม หมายความวา ประชาธิปไตย คือ การปกครอง
โดยประชาชนใชกติกาหรือกฎหมายท่ีมาจากประชาชนหรือผูแทนประชาชนระบอบประชาธิปไตย จะประสบ
ความสําเร็จไดก็ตอเมื่อมี “พลเมือง” ที่เขาใจหลักการพื้นฐานของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
ตามสมควร ทั้งในเรื่องหลักประชาธิปไตยหรือการปกครองโดยประชาชนและหลักนิติรัฐหรือการปกครอง
โดยกฎหมาย ถามีความขดั แยง ก็เคารพกตกิ าและใชวิถีทางประชาธิปไตยในการแกปญหาโดยไมใชกําลังหรือ
ความรนุ แรง
คุณสมบัตขิ องพลเมืองทง้ั 6 ประการ จงึ มีความมงุ หมายทจ่ี ะสรางความสามารถใหแกพลเมืองไทย
ในอนาคต ทจ่ี ะแสดงความรบั ผดิ ชอบตอ สงั คมดวยการสรางสังคมท่สี งบและสนั ตสิ ุข
109
กจิ กรรม
คาํ ชี้แจง ใหผเู รียนตอบคําถามตอไปนี้
1. พระบรมราโชวาท ของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศ มหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร
(พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรชั กาลที่ 9) ทรงใหความสําคัญกับการเปน
พลเมอื งดีของชาตอิ ยา งไร
2. พลเมืองศกึ ษา มีความหมายวา อยา งไร
3. คุณลกั ษณะของพลเมอื งดี ประกอบดวยอะไรบา ง
4. ใหผูเรียนยกตัวอยางบุคคลที่เปนพลเมืองดีอยางละ 2 คน โดยจัดทําเปนรูปแบบรายงาน
พรอ มรูปภาพ
4.1 ระดบั ชุมชน ทองถ่นิ
4.2 ระดับจังหวัด
4.3 ระดบั ประเทศ
110
เรือ่ งที่ 3 องคประกอบของการศกึ ษาความเปน พลเมือง
หากมกี ารดําเนินการศกึ ษาเพอ่ื ความเปน พลเมอื งอยางจริงจัง ในเวลาไมนานประเทศจะมีพลเมือง
มากพอจนถึงจดุ ทจ่ี ะเปลี่ยนแปลงได ประชาธปิ ไตยของประเทศจะเปล่ียนเปน ประชาธปิ ไตยทเ่ี ปน การปกครอง
โดยประชาชนอยางแทจรงิ สงั คมจะกลายเปนสังคมพลเมือง (Civic Society) เม่ือถึงจุดน้ันสังคมจะเขมแข็ง
ปญหาการเมอื ง ปญหาสังคม ปญหาศีลธรรม ปญหาเยาวชน ปญหาส่ิงแวดลอม แมกระท่ังปญหาเศรษฐกิจ
ก็จะแกไขไดทั้งสิน้ การสราง “พลเมอื ง” หรือเปล่ียนแปลงประชาชนใหเปน “พลเมอื ง” จงึ เปน หนทางในการ
พฒั นาประชาธปิ ไตยท่ีรากฐาน ทตี่ อ งดาํ เนินการเพอื่ ใหป ระเทศมีประชาธิปไตยทม่ี ่ันคง และเปน ประชาธปิ ไตย
ที่เปนการปกครองโดยประชาชน ของประชาชน และเพือ่ ประชาชน อยางแทจ รงิ
การสรางพลเมือง มีหลักการพ้ืนฐานของการจัดการศึกษาเพื่อสราง “ความเปนพลเมือง” ใหเกิด
ความตระหนกั เรยี นรู และพฒั นาคุณสมบัตติ า ง ๆ ของความเปนพลเมือง ในระบอบประชาธปิ ไตย เราสามารถ
สรปุ หลกั การพ้ืนฐานของการศึกษาเพื่อสรา งความเปนพลเมอื ง ไดดงั ตอ ไปนี้
1) ผูสอนจะพฒั นาผูเรียนใหเ ปน พลเมอื ง ไมใชผูสอน แตคือ ตัวผูเรียนเอง โดยผูสอนทําหนาท่ี
เปน “วิทยากรกระบวนการ” ในการจัดกระบวนการเรียนรูใหผูเรียนคิดได และ “พัฒนาตนเอง” ใหมี
คุณสมบัตคิ วามเปน พลเมอื งไดดวยตนเอง
2) การเรียนการสอนเพื่อสรา งความเปน “พลเมือง” ในระบอบประชาธิปไตย จึงเปน “แนวระนาบ”
มิใช “แนวด่ิง” ที่มีอาจารยมี “อํานาจ” เปนผูผูกขาด “ความรู” โดยผูเรียนมี “หนาท่ี” ตองจดจําและทํา
ตามท่อี าจารยบ อกและวดั ผลวาถา ใคร “จํา” และตอบตามท่ีอาจารย “สอน” ไดมากเทา ไรจึงไดคะแนนดีมาก
เทาน้ัน หากเปนการเรียนการสอน “แนวระนาบ” ทีผ่ สู อนจะเรียนรูร วมกบั ผเู รียนและเรียนรูจ ากผเู รียนไดด วย
3) การพัฒนาตนเองใหม ีความเปน พลเมืองในขอ ตา ง ๆ ไมไดเ กดิ จากการฟงบรรยาย หากตองใช
กจิ กรรมและการลงมอื ปฏิบตั ิ
4) การเรียนการสอนเพอ่ื สรางความเปน “พลเมือง” จะตองติดตามประเมินผลการพัฒนาตนเอง
โดยใหมีกระบวนการเรียนรอู ยา งตอเน่ืองและสรุปบทเรียนการเรียนรู (Reflection) โดยใหผูเรียนไดแลกเปลี่ยน
เรียนรซู ึ่งกนั และกนั และแลกเปลยี่ นเรียนรูร วมกบั ผสู อนอยา งสมาํ่ เสมอ
การเรยี นรูวิธนี ีจ้ ะเปน การเปด พน้ื ที่ใหส ติปญ ญาและเหตุผล ผูท่ียังคิดไมไดจะไดคิดจากผูเรียนที่คิด
ไดแลว คนท่ียังทําไมไดจะเรียนรูและควบคุมตนเองจากผูที่ทําไดแลว และเม่ือคนสวนใหญเปน “พลเมือง”
แลวคนที่ยังไมเปนพลเมืองจะกลายเปนสวนนอยที่ตองปฏิบัติตามคนสวนใหญ และตองเรียนรูท่ีจะเปน
“พลเมือง” ในทายทีส่ ุด
111
ประเทศที่มกี ารปกครองโดยระบอบประชาธิปไตย อาจมีการใหนํ้าหนักคุณสมบัติของ “ความเปน
พลเมือง” แตกตางกัน ซ่ึงโดยสรปุ แลวประกอบดวยลกั ษณะ 6 ประการ คือ
1) รบั ผิดชอบตนเองและพง่ึ พาตนเองได
2) เคารพสทิ ธิผอู ื่น
3) เคารพความแตกตา ง
4) เคารพหลกั ความเสมอภาค
5) เคารพกติกา
6) รบั ผดิ ชอบตอ สงั คมและสว นรวม
การศึกษาความเปนพลเมือง ประกอบดวย 4 อยา ง คือ
1) ประชาสงั คมและระบบ
2) องคป ระกอบขอ ปฏบิ ตั พิ ลเมอื ง
3) การมสี ว นรว มพลเมอื ง
4) อตั ลักษณพ ลเมือง
รปู แบบกจิ กรรมเพ่อื สรา ง “ความเปน พลเมือง” เราสามารถใชกิจกรรมรูปแบบตาง ๆ ในกระบวนการเรียน
การสอนเพ่อื ใหผเู รียนไดพ ฒั นาตนเอง ใหม ีคณุ สมบัตคิ วามเปน พลเมอื งในขอตา ง ๆ ท้ัง 6 ขอ
112
กิจกรรม
คาํ ชี้แจง ใหผูเรียนเลือกทํารายงาน 2 หัวขอจากทั้งหมด 4 หัวขอ พรอมนาํ เสนอผลการทาํ รายงาน
ตอ ผูเรียนกลมุ ใหญ คนละ 5 นาที และจดั สงรายงานที่ทําใหครู กศน. ตอไป
1. ประชาสังคมและระบบ
2. องคป ระกอบขอปฏิบตั ิพลเมอื ง
3. การมสี ว นรวมพลเมือง
4. อัตลกั ษณพลเมือง
113
เรื่องท่ี 4 แนวทางการปฏิบตั ิตนเปน พลเมอื งดี
การปกครองในระบบประชาธิปไตย นอกจากมีกติกาท่ีใชในการปกครองแลว คน หรือ ประชาชน
ผูเ ปน เจาของประเทศ ตองมคี วามสามารถทจ่ี ะปกครองตนเอง มีสิทธิ เสรีภาพ อยางเสมอภาคกัน จึงจะประสบ
ความสําเร็จได ความเปนพลเมอื งของระบอบประชาธิปไตย จึงมีอิสรภาพในการเลือกวิถีชีวิต มีสิทธิเสรีภาพ
อยางเสมอภาคกัน แตอิสรภาพของพลเมืองไมใชอิสรภาพตามอําเภอใจ หากเปนอิสรภาพที่ควบคูกับ
ความรับผดิ ชอบ คอื รบั ผิดชอบตอ ตนเอง ผอู น่ื และสังคม
“ความเปน พลเมอื ง (Citizenship) ของระบอบประชาธปิ ไตย จงึ หมายถงึ การเปน สมาชิกของสังคม
ท่มี อี สิ รภาพควบคกู ับความรับผดิ ชอบ และมีสทิ ธิเสรีภาพควบคูกับหนาที่ สามารถยอมรับความแตกตางและ
เคารพกตกิ าในการอยูรว มกนั พรอ มทั้งมีสว นรว มตอ ความเปนไปและการแกป ญหาในสงั คมของตนเอง”
พลเมอื งทด่ี ี หมายถงึ พลเมอื งผสู ามารถปฏบิ ตั ิ “กจิ ที่ตองทาํ ” และ “กจิ ทค่ี วรทํา” ไดอ ยางสมบูรณ
โดยประพฤติตนตามหลักกฎหมาย ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ศีลธรรม และจริยธรรมอันดีงาม
เพือ่ เสริมสรา งความเจริญรุงเรืองแกตนเอง ครอบครวั สังคม และประเทศชาติ
พลเมืองดมี คี ณุ ลักษณะ ดังนี้
1. เคารพกฎหมายของประเทศ
2. เคารพสิทธแิ ละเสรีภาพของผอู นื่
3. มีความรบั ผิดชอบตอหนา ทีข่ องตนเอง ครอบครวั ชุมชน ประเทศชาติ และสงั คมโลก
4. มีเหตผุ ล ใจกวา ง และรบั ฟง ความคดิ เหน็ ทีแ่ ตกตางของผูอืน่ ไดเสมอ
5. มคี ุณธรรมและจรยิ ธรรมในการดําเนนิ ชวี ติ ประจําวนั
6. มีความกระตอื รือรน ที่จะมสี ว นรว มในการแกไ ขปญ หาของชุมชน ประเทศชาติ และสังคมโลก
หรือองคก รท่ีตนเองสังกดั อยู
7. มคี วามกระตอื รอื รน ทจี่ ะรวมกิจกรรมตาง ๆ ทางการเมืองการปกครอง เชน การเลือกตั้ง เปน ตน
แนวทางการปฏิบตั ติ นเปน พลเมืองทด่ี ี สามารถสรา งสรรคป ระโยชนแ กป ระเทศ ดงั น้ี
1. ดานการเมอื งการปกครอง เพราะพลเมอื งดจี ะใชส ิทธิและหนา ท่ขี องตนเองอยางเต็มท่ีตามท่ี
กฎหมายและรฐั ธรรมนูญบัญญัติไวโดยมีสวนรวมทางการเมือง เชน ไปใชสิทธิเลือกต้ัง เพื่อใหประเทศคงไว
ซ่งึ ระบบการปกครองน้นั ๆ และทําใหป ระเทศขบั เคล่ือนไปขางหนา
2. ดานสังคม เพราะพลเมืองดีจะไมกอความวุนวายหรือสรางความเดือดรอนแกผูอื่น เพ่ือรักษา
ความเปนระเบยี บเรยี บรอยและสงบสุขแกสงั คม นอกจากน้ีพลเมืองดจี ะตกั เตือนและปฏิบัติตนใหเปนแบบอยาง
ทีด่ แี กบ ุคคลบางสวนทย่ี ังหลงผดิ ประพฤตไิ มด อี ยู
114
3. ดา นเศรษฐกจิ เพราะพลเมืองดจี ะประกอบอาชีพสุจรติ และใชชีวติ ตามหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง
ซึ่งจะทาํ ใหต นเองมีฐานะมั่นคงและทําใหครอบครัวเขมแข็ง พลเมืองบางคนอาจนําทรัพยบางสวนไปบริจาค
ชวยเหลือผูยากไรหรือต้งั มลู นิธิ เพ่อื พัฒนาสังคมใหดขี ้ึน
กิจกรรม
คาํ ชแ้ี จง ใหผูเรียนแบงกลมุ และอภปิ รายในหวั ขอ ความเปนพลเมืองดขี องขา พเจา พรอ มยกตวั อยา งของ
กิจกรรมและผลทีเ่ กดิ ขึ้นตามตัวอยา งตอไปนี้
1. คณุ ลกั ษณะพลเมืองดีของขาพเจา
2. ความเปน พลเมอื งดีของขา พเจา
2.1 ดานการเมอื งการปกครอง
2.2 ดานสังคม
2.3 ดานเศรษฐกจิ
115
เรือ่ งท่ี 5 แนวทางการเสรมิ สรา งสํานกึ ความเปน พลเมือง : กรณศี กึ ษาประเทศไทย
พลเมือง มีความสําคัญอยางย่ิงตอสังคมและประเทศชาติ หากบานเมืองใดประชาชนขาดความรู
และขาดความสนใจความเปน ไปของบานเมอื ง ยอมมีแตปญหาไมส้ินสุดและไมสามารถพัฒนาได การสรางเสริม
และยกระดับ “ประชาชน” สู “พลเมือง” ใหม าก ๆ จึงเปน ทางออกทท่ี ุกฝายใหความสําคญั
สํานึกพลเมือง คือ ความตระหนักของผูคนของประชาชนที่มีหนาที่ตอประเทศชาติและสังคม
ในฐานะผทู ่จี ะเปน พละกําลังของประเทศ เพราะพลเมือง มาจากคําวา “พละ + เมือง” ในการชวยกันเปนหู
เปน ตาและไมน ่งิ ดูดายตอ ความเปนไปของสังคมและประเทศชาติ และพรอ มทจี่ ะใหค วามรว มมอื ในการทําตาม
กตกิ าของสังคม และรว มแกไ ขปรบั ปรุงพัฒนาชมุ ชน สังคม และประเทศชาตใิ หดีขน้ึ ดวยตนเอง
การสรางสํานึกพลเมือง สามารถทําไดหลายวิธี เชน การเขาไปมีสวนรวมในการคิด ตัดสินใจ
รวมดําเนินการและรว มรับผิดชอบในกิจการของชุมชน สังคม และภาครัฐ การมีสวนรว มทางการเมือง ก็ทําได
หลายรูปแบบ เชน การจดั ทาํ ขอเสนอเชิงนโยบาย เปนรูปแบบหนึ่งท่ีเริ่มมีใหเห็นมากข้ึน กระบวนการสราง
สาํ นึกพลเมอื ง เปนการใหค วามสําคัญในการเสริมสรา งความรู ทักษะ และเจตคติ และการมีสวนรวมของภาค
พลเมืองในการจัดทาํ ขอเสนอเชิงนโยบายสาธารณะเพื่อแกป ญ หาของตัวเอง กระบวนการสรางสํานึกพลเมือง
เปนเพียงแคจดุ เรมิ่ ตนเลก็ ๆ ทีจ่ ะเปด มุมมองและเปลี่ยนทัศนคติ ใหเล็งเห็นศักยภาพของคนในการพ่ึงพาตนเอง
ของคนในสงั คม และชุมชน
กระบวนการสรางสาํ นึกพลเมือง มีทงั้ สิ้น 6 ข้นั ตอน ประกอบดว ย
ข้นั ที่ 1 ระบุปญ หา
ขนั้ ท่ี 2 เลอื กปญหา
ขนั้ ที่ 3 ลงพื้นทเ่ี กบ็ ขอมลู
ขั้นที่ 4 การจัดทาํ ขอ เสนอนโยบายสาธารณะ
ขน้ั ท่ี 5 การนําเสนอผลงานหรือนโยบายสาธารณะ
ขั้นท่ี 6 การสะทอ นประสบการณก ารเรียนรู
นโยบายสาธารณะ คือ แนวทางท่ีภาครัฐใชอํานาจตัดสินใจที่จะกระทําหรือไมกระทําสิ่งหนึ่งสิ่งใด
และกําหนดขึน้ โดยตรง โดยอาจเปนคาํ พูดหรอื ลายลกั ษณอักษร มีวตั ถปุ ระสงคเ พอื่ ใชเ ปนกรอบในการปฏิบัติงาน
ตั้งแตก ารวางแผน การตัดสินใจ การจัดทําโครงการ บงช้ีทิศทางและเง่ือนไขของการกระทําดานการบริหาร
จดั การท่ีจะชว ยใหบรรลุผลตามตอ งการ
116
กรณตี ัวอยา งของกิจกรรมเพอ่ื เสริมสรางสาํ นึกความเปนพลเมือง
กรณีภาคเหนอื : จงั หวัดลาํ ปาง
1. กจิ กรรมเพ่ือเสริมสรางสาํ นกึ ความเปน พลเมืองแกเยาวชนในจงั หวัดลําปาง
ภาพรวมของการจดั กจิ กรรมสรา งเสรมิ สาํ นึกความเปน พลเมอื งแกเ ยาวชนและภาพรวมของการ
สนับสนุนสงเสริมจากภาคสวนตาง ๆ ในการจัดกิจกรรมสรางเสริมสาํ นึกความเปนพลเมืองแกเยาวชน
ในจังหวัดลาํ ปาง สวนใหญเปนการดาํ เนินการจัดกิจกรรมเพ่ือการแกไขปญหาและพัฒนาเด็กและเยาวชน
ไมไ ดต ้ังวตั ถปุ ระสงคเพื่อสรางเสริมสํานึกความเปนพลเมืองแกเยาวชนโดยตรง เหมือนเชนโครงการท่ีไดรับ
การสนบั สนนุ จากสถาบนั พระปกเกลา ทไ่ี ดด ําเนนิ การในโรงเรยี นบางแหงของจังหวัดลําปาง แตอยางไรก็ตาม
การจดั กิจกรรมการพัฒนาเดก็ และเยาวชนตาง ๆ ทไ่ี ดดําเนินการในจังหวดั ลาํ ปางนนั้ ทายที่สุดแลวก็จะสงผล
หนุนเสริมเติมเต็มสํานึกความเปนพลเมืองของเด็กและเยาวชนไดเชนกันในขณะเดียวกันภาคสวนตาง ๆ
ท่ดี ําเนินการสนับสนุนสงเสริมกิจกรรมการพัฒนาเด็กและเยาวชน หรือกิจกรรมสรางเสริมสํานึกความเปน
พลเมอื งแกเยาวชน ซึ่งประกอบไปดว ย กลมุ ผปู ฏบิ ัตกิ าร กลุม ผสู นบั สนนุ งบประมาณ กลุมผสู นับสนุนวิชาการ
องคค วามรู กลุมผสู นับสนุนบคุ ลากรวิทยากร กลมุ ผูส นบั สนนุ อาคารสถานที่วัสดุอุปกรณ และกลุมผูมีสวนได
สวนเสียกบั การจดั กจิ กรรมตา ง ๆ มีความรวมมอื ระหวางกันตามภาระหนาทพี่ ันธกจิ และตามความสัมพนั ธของ
ภาคสว นตา ง ๆ เหลานี้
2. ปญหาอปุ สรรคและปจ จยั สูความสาํ เร็จในการสรา งเสรมิ สํานึกความเปนพลเมืองแกเด็กและ
เยาวชน
การดําเนินกิจกรรมสรางเสริมสํานึกความเปนพลเมืองแกเยาวชนในจังหวัดลําปาง มีปญหา
อุปสรรคและความสาํ เรจ็ เกิดขึน้ มาก จากการศกึ ษาขอ มูลผานเวทสี ะทอนในการประชุมกลมุ ยอย สามารถสรปุ
ปจจยั สําคัญที่เปน ปจ จยั ปญหา อปุ สรรคของการดําเนนิ งาน สรา งเสรมิ สาํ นกึ ความเปน พลเมอื งแกเยาวชนเกดิ จาก
3 ปจจยั คอื ปจ จัยครอบครัว พอแม ผปู กครอง ปจ จัยการสนบั สนนุ ของหนว ยงานองคกรท่ีเก่ียวของกับงานดาน
เดก็ และเยาวชน และปจจัยโอกาสการเขาถึงกิจกรรมของเด็กและเยาวชน สวนปจจัยสําคัญที่เปนปจจัยแหง
ความสําเร็จนัน้ เกิดจาก 4 ปจจัย คือ ปจ จยั พลังเดก็ และเยาวชน ปจจยั ครอบครัว พอแม ผูปกครอง ปจจัยบุคคล
หนว ยงานองคกรชมุ ชน และปจ จัยเครอื ขา ยการทาํ งาน
3. แนวทางในการพฒั นารปู แบบกจิ กรรมเพ่ือเสรมิ สรา งสาํ นึกความเปน พลเมอื งแกเดก็ และเยาวชน
การพัฒนาเด็กและเยาวชนเปนงานท่ีตองอาศัยเวลาและตองมีรูปแบบกิจกรรมท่ีเหมาะสม
สอดคลอ งกับบริบทการทํางานของแตละพ้ืนท่ี ซ่ึงจําเปนตองมีการพัฒนารูปแบบกิจกรรมอยูอยางตอเนื่อง
เพ่อื ใหเหมาะสมทนั ตอสภาวการณข องเดก็ และเยาวชนและสภาพการเปลย่ี นแปลงทางสงั คมทส่ี ง ผลกระทบตอ
117
เด็กและเยาวชนอยางรวดเร็ว จากการศึกษาพบวาแนวทางการพัฒนารูปแบบกิจกรรมเพื่อสรางเสริมสาํ นกึ
ความเปนพลเมืองแกเยาวชนในจังหวัดลําปาง ควรพัฒนารูปแบบกิจกรรมโดยเนนการมีสวนรวมของเด็กและ
เยาวชนการบูรณาการกิจกรรมในพ้ืนที่ระดับตําบลการพัฒนาเครือขายการทํางานดานเด็กและเยาวชน
และการสื่อสารสรา งความรคู วามเขา ใจในพน้ื ท่ีอยางท่ัวถงึ
กรณีภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื : จงั หวัดสกลนคร
1. กจิ กรรมการสรางเสริมสาํ นึกความเปน พลเมอื งแกเด็กและเยาวชนในจังหวัดสกลนคร
ในรอบ 3 ปท่ีผานมาเปนการดําเนินกิจกรรมของหนวยงานทั้งภาครัฐ องคกรพัฒนาเอกชน
ที่ทํางานขับเคล่ือนการพัฒนาเด็กและเยาวชน แตพบวาเปนกิจกรรมที่มักจะพัฒนาแนวคิดการดําเนินงาน
ท่ีเปนลักษณะนโยบายสวนกลาง เพอื่ รองรบั งบประมาณ เชน สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย
แตถ าเปน กิจกรรมเดน ๆ ท่ีเกิดจากมุมมองในปญหาของเด็กและเยาวชนและผูที่ทํางานกับเด็กและเยาวชน
จรงิ ๆ จะเห็นวายังไมไ ดเกิดในหนว ยงานภาครฐั กจิ กรรมที่สามารถสรา งสาํ นึกพลเมืองเด็กและเยาวชนที่เห็น
ผลของการพัฒนาการสรางสํานึกความเปนพลเมืองแกเด็กและเยาวชนที่มีเสียงจากกลุมเด็กและเยาวชน
คือ กิจกรรมคายท่ีใหโอกาสเด็กและเยาวชนไดคิดสรางสรรคกิจกรรมดี ๆ และหลากหลาย โดยอยูภายใต
การดแู ลใหค ําแนะนําและไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากผูใหญใจดี เชน กิจกรรมของชมรมคนรักศิลป
กจิ กรรมของกลมุ เดก็ ฮกั ถ่ิน สรปุ ภาพรวมผลการสนทนากลุมยอยในการสรางสํานึกความเปนพลเมืองแกเด็ก
และเยาวชนในจังหวัดสกลนคร มีสาระสําคัญ คือ การใหนิยามความหมายของเด็กเยาวชนและผูใหญไมได
แตกตางกนั สวนสํานึกพลเมืองเด็กและเยาวชนในปจจุบันควรจะมีตนแบบสํานึกพลเมืองจากผูใหญสวนสํานึก
พลเมืองของเดก็ และเยาวชนนนั้ ไดเรียนรผู า นกิจกรรมคา ยที่มุงเนนการพฒั นาจติ อาสา
2. ปญ หาและอปุ สรรคในการดําเนนิ กิจกรรม เพือ่ เสริมสรา งสาํ นกึ ความเปนพลเมืองแกเยาวชน
ในจังหวดั สกลนคร
ปจ จัยทเ่ี ปน ปญ หาและอปุ สรรคในการเสรมิ สรางสาํ นึกพลเมืองแกเดก็ และเยาวชนในพน้ื ทจี่ งั หวดั
สกลนคร สรุปไดดังนี้
2.1 การขาดโอกาสในการเรยี นรคู วามเปนพลเมืองของเดก็ และเยาวชน
2.2 พอ แม ผปู กครอง ผูใหญใ นสังคม ไมเปน ตน แบบท่ีดแี กลูกหลานขาดตน แบบผูใหญทดี่ ี
2.3 สถาบันการศึกษาขาดความเขา ใจในการสรางสาํ นกึ พลเมอื งแกเด็กและเยาวชน
ผานหลกั สตู รการจัดการเรียนการสอน
118
2.4 หนว ยงานทดี่ แู ลดา นเดก็ และเยาวชนขาดการประสานงาน ขาดความรู ความเขาใจในเรื่อง
ของการสรางสาํ นกึ พลเมือง และทํางานซํ้าซอ น
3. แนวทางในการพัฒนารูปแบบกิจกรรมเพ่ือเสริมสรางสํานึกความเปนพลเมืองแกเด็กและ
เยาวชนจงั หวัดสกลนครมี 2 มมุ มอง คอื มมุ มองของผใู หญ และมุมมองของเด็กและเยาวชน
มุมมองของผูใหญ การสรางตนแบบใหกับเด็กและเยาวชนผานสื่อตาง ๆ การสงเสริมตนแบบ
คนดี โดยมีเวทีแสดงความดีเชิงประจักษ เชิดชูความดี คนดีเพื่อเปนกําลังใจแกคนทําดี โดยเร่ิมจากระดับ
ครอบครวั และการพฒั นาแบบผสมผสานหลักธรรมคาํ สอนกบั กจิ กรรมในชวี ิตประจาํ วัน รวมท้งั การบรรจุหลกั สตู ร
การเสริมสรา งสาํ นึกพลเมอื งแกเด็กและเยาวชนในทกุ ระดบั การศึกษาทคี่ รอบคลมุ เนอื้ หาทกุ วชิ าทุกมิติ
มุมมองของเด็กและเยาวชน รูปแบบกิจกรรมเพื่อเสริมสรางสํานึกพลเมืองที่อยากเห็นและ
ตองการ คือ การใหโอกาสไดเขารวมกาํ หนดกรอบแนวทางเพ่ือสรางสาํ นึกพลเมืองกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ
โดยสอดแทรกกิจกรรมจติ อาสาพฒั นาสาธารณะใหแ กเ ดก็ และเยาวชนอยางตอ เนอื่ งและยง่ั ยนื
กรณภี าคใต : จงั หวดั ยะลา
บริบทปญหาสวนใหญที่คุกคามหรือสงเสริมการสรางสํานึกพลเมืองจังหวัดยะลา คือ เยาวชน
วางงาน เยาวชนเลนการพนัน เยาวชนติดยาเสพติด เยาวชนขับรถซิ่ง เยาวชนขาดการศึกษา ขาดทุนทรัพย
ในการศึกษา แตที่สาํ คัญจากผลการวิจัยพบวาปญหาสําคัญในจังหวัดยะลา คือ เยาวชนติดยาเสพติด
และเยาวชนไดร บั การศกึ ษานอย
สาํ หรับทีผ่ านมาการดําเนินงานดา นการพัฒนาเยาวชนในจังหวัดยะลา จากขอมูลประเด็นยุทธศาสตร
ของจังหวัดยะลาสรุปไดวา โครงการพัฒนาเยาวชนเพื่อสรางงาน โครงการจางงานนักเรียนผูเรียนในชวงปด
ภาคฤดรู อ น โครงการฝกอาชีพแกเยาวชนในสถาบันการศึกษาปอเนาะ โครงการมหกรรมเปดโลกการศึกษา
และอาชพี เพ่ือการมงี านทํา โครงการศนู ยย ะลาสันติสุขคนื คนดสี สู งั คม โครงการมวลชนสานสัมพันธสานฝนสู
อามานดามัน และโครงการครอบครัวปองกันภัยแกไขปญหายาเสพติด ตลอดจนมีโครงการพัฒนาเยาวชน
ในถ่นิ ทุรกันดาร โครงการทูบนี ับเบอรวนั เปนตน อาจกลาวไดวาการสรางเยาวชนใหมีสํานึกพลเมืองเริ่มตน
จากการอบรม ดูแล เอาใจใส ศึกษาใหความรูของครอบครัว พอแม และญาติพี่นอง การไดรับการศึกษา
จากสถาบันท่ีเยาวชนศึกษา และหนวยงานภาครัฐที่มีหนาที่เกี่ยวกับเยาวชน คือ สํานักงานพัฒนาสังคม
และความม่ันคงของมนุษย จงั หวดั ยะลา และสํานักงานพัฒนาชุมชน จังหวดั ยะลา
119
1. กจิ กรรมการสรางเสรมิ สํานึกความเปน พลเมืองแกเด็กและเยาวชนในระดับพ้นื ทจี่ งั หวดั ยะลา
1.1 จดั โครงการสอนภาษาไทยใหผ ูไมร ูห นังสือหรือผูอา นภาษาไทยไมไ ด เพ่อื สรางความภาคภูมิใจ
ในความเปน คนไทยมีความเปน เจาของประเทศมากขึน้
1.2 โครงการสอนภาษามลายใู หแกท หารพราน เพื่อใหสามารถสือ่ สารสรางความเขา ใจกบั ประชาชน
1.3 โครงการสํานึกรักษทองถิ่นเสริมสรางความสมานฉันท เพื่อใหเยาวชนทํากิจกรรมรวมกัน
และเปนโครงการท่ีสง เสริมปลกู จติ สาํ นกึ ใหเ ยาวชนรกั บานเกดิ รสู กึ ความเปน เจา ของ
1.4 โครงการนาํ เยาวชนสูส ันติ เพื่อเรยี นรวู ธิ กี ารสรางสันตภิ าพการจัดการความขัดแยง
1.5 โครงการคายเอดสและยาเสพตดิ
1.6 จัดตั้งศูนยบ รกิ ารทเี่ ปน มิตรแกเยาวชน เพ่ือใหเยาวชนมีความพอใจมีความประทับใจรูสึกวา
ตนเองมีความสําคัญทาํ ใหมคี วามรักตอประเทศชาติ
1.7 จัดเวทปี ระชาคมหมูบาน เพื่อใหเยาวชนมสี ว นรวมกับทุกฝายในการพฒั นาหรือแกไขปญ หา
ในชมุ ชนทําใหเ ยาวชนภูมิใจและมีความรักตอ ชมุ ชน
1.8 โครงการสง เสรมิ อาชพี แกเ ยาวชน เพื่อใหเยาวชนเห็นชองทางอาชีพในอนาคตใชเวลาวาง
ใหเ ปนประโยชนม ีความคดิ สรา งสรรคม คี วามรบั ผิดชอบมากข้นึ
1.9 กิจกรรมนันทนาการเชนกิจกรรมฟุตบอลภาคฤดูรอนและกิจกรรมออเครสตรา
เพอื่ สะทอ นการอยูรว มกัน
1.10 โครงการสานพลังเยาวชนนําสงั คมเขม แข็ง
1.11 โครงการสงเสริมอาชพี ใหเ ดก็ และเยาวชนเชนปลูกผักเลย้ี งไกซอ มรถจักรยานยนต
2. ปญหาและอุปสรรคในการดําเนินกิจกรรมเพื่อเสริมสรางสํานึกความเปนพลเมืองแกเยาวชน
ในจังหวัดยะลา
ปญหาสวนใหญท่ีคุกคามหรือสงเสริมการสรางสํานึกพลเมือง จังหวัดยะลา คือ เยาวชน
ขาดความรับผิดชอบในการรวมกจิ กรรมเพื่อการพฒั นาศักยภาพ และในการทําโครงการปญหาความไมเขาใจ
ในวัตถุประสงคของการทาํ กิจกรรม เยาชนขาดจิตอาสา จิตสาธารณะ ปญหาดานยาเสพติด งบประมาณ
ในการพฒั นาศกั ยภาพของเยาชนในการทําโครงการไมต อเนอื่ ง การใชงบประมาณไมโ ปรง ใส ขาดความเปน อิสระ
3. แนวทางในการพัฒนารูปแบบกิจกรรมการสรางเสริมสํานึกความเปนพลเมืองแกเด็กและ
เยาวชนในระดับพนื้ ทจ่ี งั หวดั ยะลา
3.1 กิจกรรมการสรา งเสรมิ สํานึกความเปนพลเมืองแกเ ด็กและเยาวชน ควรดาํ เนนิ การทั้งในระบบ
และนอกระบบโรงเรยี น เนนกิจกรรมการมีสว นรว ม และสรุปบทเรยี นรว มกัน เพื่อกอ ใหเ กิดการเรียนรูและยํ้า
สํานึกพลเมอื งบอย ๆ เพอ่ื ใหกลายเปนวัฒนธรรมของชุมชนตอไป
120
3.2 กิจกรรมนอกหลักสูตรที่ทํานอกเหนือกิจกรรมในชั้นเรียน นอกจากนี้ยังรวมทั้งการให
หนว ยงานราชการภาคีที่มีหนา ทเี่ กย่ี วกบั โครงการที่เยาวชนดําเนินการหรือบุคคลที่มีบทบาทในชุมชนมารวม
รบั รเู ปน สกั ขพี ยานการทํางานของโครงการ โดยเนน วางระบบการทํางานแบบเปนทางการ และลายลักษณอักษร
มีกําหนดการทาํ งานท่ชี ัดเจน และมคี ณะบุคคลทม่ี หี นา ทเี่ ก่ยี วของมารว มติดตาม
กิจกรรม
คาํ ชี้แจง ใหผูเรียนแบงกลุมออกเปน 3 กลุม โดยเลือกกรณีตัวอยางของแตละภาคของกิจกรรม
เพ่ือเสริมสรางสาํ นกึ ความเปน พลเมอื งในพน้ื ท่จี ากกรณีศึกษาทีเ่ รียนรมู าแลว โดยใชก ระบวน
การสรา งสาํ นึกพลเมอื ง 6 ขัน้ ตอน ดงั น้ี
ขั้นท่ี 1 ระบปุ ญ หา
ขน้ั ท่ี 2 เลือกปญ หา
ขั้นที่ 3 ลงพืน้ ท่เี ก็บขอมลู
ขัน้ ท่ี 4 การจดั ทาํ ขอ เสนอนโยบายสาธารณะ
ขัน้ ท่ี 5 การนาํ เสนอผลงานหรอื นโยบายสาธารณะ
ขน้ั ที่ 6 การสะทอนประสบการณการเรยี นรู
121
เรื่องท่ี 6 การศกึ ษาเกีย่ วกบั ความเปน พลเมอื งในบริบทตางประเทศ
ในหลายประเทศมีการสงเสริมเร่ืองการศึกษาเร่ืองความเปนพลเมือง ซ่ึงแตละประเทศมีแนวคิด
และประเด็นในการศึกษาที่แตกตางกัน โดยเอกสารนี้จะนาํ เสนอแนวคิด พรอมทั้งประเด็นการปฏิบัติ
ที่นาสนใจที่เกดิ ข้ึนจากการสง เสรมิ ดา นความเปนพลเมือง ซง่ึ มีประเทศท่ีนา สนใจ ดังน้ี
ประเทศญี่ปนุ
ญี่ปุนเปนประเทศท่ีอยูในทวีปเอเชียมีรูปแบบของรัฐเปนรัฐเดี่ยวและปกครองดวยระบอบ
ประชาธิปไตย ในระบบรัฐสภามีองคพระจักรพรรดิ หรือกษัตริยทรงเปนประมุข มีนายกรัฐมนตรีเปนผูนํา
ในการบริหารประเทศ เชนเดียวกับประเทศไทย ในป ค.ศ. 2013 ไดรับการจัดอันดับดานความเปน
ประชาธปิ ไตย (Democracy Ranking) เปนอันดับ 20 ของโลก นับเปนประเทศประชาธิปไตยในฝงเอเชยี เพียง
ไมกป่ี ระเทศทีไ่ ดรบั การประเมนิ อยูในอันดบั ตน ๆ ของโลก
การศึกษาเพ่ือความเปนพลเมืองในประเทศญ่ีปุน คือ การพัฒนาพลเมืองผูซึ่งจะสรางสังคม
ประชาธปิ ไตยในอนาคต ซ่ึงประชาธิปไตยมีท้ังทางตรงและทางออม ความเปนพลเมืองมีท้ังรูปแบบเสรีนิยม
และรัฐนิยม จึงมีความหลากหลายและความยากที่จะนิยามคํานี้ใหมีความหมายที่ครอบคลุมไดในระดับ
นโยบายเรอื่ งการศกึ ษาเพือ่ ความเปน พลเมืองน้นั อยภู ายใตค วามรบั ผดิ ชอบของกระทรวงหลัก 2 กระทรวง คือ
กระทรวงสาธารณสุขแรงงานและสวัสดิการ และกระทรวงศึกษาธิการวัฒนธรรมวิทยาศาสตรกีฬาและ
เทคโนโลยี
โดยทร่ี ัฐบาลมกี ารกาํ หนดแผนนโยบายการพัฒนาเด็กและเยาวชนข้ึน ในป ค.ศ. 2003 โดยไดกลาวถึง
หลกั การสาํ คัญ 4 ขอ สําหรับการจัดการศกึ ษาเพอื่ ความเปนพลเมอื งของญี่ปุน ประกอบดว ย
1) สนับสนนุ ความเปนอสิ ระทางสงั คม
2) สนบั สนุนใหไดร ับประสบการณต ามความตองการของแตล ะบคุ คล
3) ปรบั เปล่ยี นมุมมองของเยาวชนในฐานะสมาชิกท่ีกระตอื รือรนของสังคม
4) กระตุนใหเ กดิ บรรยากาศทีเ่ ปนอสิ ระและมกี ารอภิปรายไดอ ยางเปดกวา งในสังคม
ในป ค.ศ. 2006 มีการปฏริ ปู พระราชบัญญัติการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของญี่ปุน ซึ่งนับตั้งแตป ค.ศ. 1947
ที่ยงั ไมเคยมีการปฏิรูป แตห ลกั การทสี่ ําคัญประการหนึ่งทย่ี ังคงไวอ ยูในพระราชบัญญัติโดยที่มิไดมีการเปล่ียนแปลง
มีใจความสาํ คญั ในวรรคแรกวา เปาหมายของการศึกษาท่ีสาํ คญั คอื การศกึ ษาจะกอใหเกิดการพัฒนาบุคลิกภาพ
โดยสมบูรณ พยายามอยางหนักในการสั่งสอนขัดเกลาบุคคล มีจิตใจที่สดใสรางกายที่สมบูรณเปนผูซึ่งรัก
ในความถูกตองและความยุติธรรม เคารพในคุณคา ของตนเอง เคารพผูใชแรงงาน มีความตระหนักตอความสํานึก
122
รับผดิ ชอบอยา งลึกซงึ้ ซมึ ซับจิตวิญญาณท่ีเปนอสิ ระในฐานะเปนผูสรางสันติภาพแหงรัฐและสังคม ซึ่งเปาหมาย
ท่กี าํ หนดขน้ึ น้นั เปน ประเดน็ สําคัญทจี่ ะสนบั สนุนใหประชาชนเปน พลเมอื งอยางแทจรงิ
มีการสงเสริมเรื่องจิตสาธารณะซึ่งนําไปสูการมีสวนรวมอยางอิสระในการสรางสังคม พรอมทั้ง
การพัฒนาทัศนคติทมี่ ีตอ ความตอ งการรับผดิ ชอบตอ การเติบโตของสังคม ซึ่งปจจุบันทําใหประชาชนในประเทศ
มจี ิตสาธารณะสามารถเห็นไดในหลาย ๆ เหตกุ ารณท ่เี กดิ ขน้ึ ในประเทศญีป่ นุ
การศึกษาความเปนพลเมืองถูกบรรจุในหลักสูตรการเรียนการสอนต้ังแตในระดับประถมศึกษา
เนือ้ หาวิชาพลเมืองเปนศูนยกลางของการสรา งความเปน พลเมอื ง โดยอาศยั ฐานของการตระหนกั ในประชาธิปไตย
และความรู ความเขาใจในสิทธิมนุษยชน และความหมายและแนวคิดในเรื่องความสัมพันธระหวางประเทศ
“สรางความเช่ือมโยงกับครอบครวั และชุมชน สรางใหน ักเรยี นมีความตระหนักวามนุษยเปน จดุ เริ่มตน ท่สี าํ คัญ
ของสังคม สรางใหนักเรียนมีความคิดเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางเรื่องสวนตัวและสังคมความมีศักดิ์ศรี
ของตนเองในระบบครอบครวั แบบรว มสมัย ความเทาเทยี มทางเพศ และสรางใหเยาวชนตระหนักถึงความสําคัญ
ของแบบแผนประเพณีของชวี ติ ในสงั คม การรกั ษาขนบธรรมเนียมและความสาํ นกึ รับผิดชอบของแตละบุคคล”
ประเด็นศึกษาเก่ียวกบั หนา ที่พลเมืองในประเทศญ่ปี นุ
สาํ หรับประเทศญี่ปุนเปนประเทศท่ีเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติบอยครั้ง แตละครั้งมีความรุนแรง
และสรา งความเสียหายตอ ชีวติ และทรพั ยส นิ เปน จาํ นวนมาก แตจ ากความยากลําบากจากส่ิงที่เกิดขึ้นก็ไดเกิด
สงิ่ ท่นี า สนใจจากพฤตกิ รรมที่แสดงออกถึงความเปนพลเมือง ทั้งในสวนของความรับผิดชอบตอสังคม จิตสาธารณะ
ความมวี ินยั และอื่น ๆ
กรณีท่ี 1 ท่ีสวนสนุกแหงหน่ึง เกิดเหตุการณซึ่งทําใหนักทองเท่ียวจํานวนมากไมสามารถออกไป
ขางนอกได และทางรานขายของก็ไดเอาขนมมาแจกนักทองเที่ยว มีนักเรียนช้ันมัธยมปลายหญิงกลุมหน่ึง
ไปเอามาเปน จํานวนมาก ซงึ่ มากเกนิ กวา ทจ่ี ะบริโภคหมด คนเขียนรูสกึ ทันทีวา “ทําไมเอาไปเยอะ” แตวินาที
ตอ มากลายเปนความรูส กึ ตืน้ ตันใจเพราะ “เดก็ กลมุ นั้นเอาขนมไปใหเด็ก ๆ ซึ่งพอแมไมสามารถไปเอาเองได
เนือ่ งจากตองอยูดูแลลกู
จากเหตุการณนี้แสดงใหเห็นถึงความเอ้ือเฟอ การชวยเหลือซึ่งกันและกัน และมีความรับผิดชอบ
ตอผอู ่ืน
กรณีท่ี 2 ในซปุ เปอรมารเกต็ แหง หนงึ่ มขี องตกระเกะระกะเต็มพ้นื เพราะแรงแผนดินไหว แตคนที่เขา
ไปซ้อื ของไดชวยกนั เกบ็ ของขึ้นไวบ นชัน้ แลวกห็ ยิบสวนที่ตนอยากซอื้ ไปตอ คิวจา ยเงิน
จากเหตุการณน้ีแสดงใหเห็นถึงความเปนระเบียบเรียบรอย การชวยเหลือซึ่งกันและกัน และมี
ความรบั ผดิ ชอบตอ ผอู ่ืน
123
กรณีที่ 3 ในจังหวัดจิบะเกิดแผนดินไหวบานเรือนพังเสียหาย คุณลุงคนหนึ่งที่หลบภัยอยูก็ได
เปรยออกมาวา ตอจากนี้ไปจะเปนอยางไร เด็กหนุม ม.ปลายก็ตอบกลับไปวา “ไมเปนไรครับ ไมตองหวง
ตอ จากน้ไี ปเมอ่ื เปนผใู หญ พวกผมจะทําใหมนั กลับมาเหมือนเดิมแนน อน
จากเหตุการณน แ้ี สดงใหเ ห็นถงึ ความรบั ผดิ ชอบตอชุมชนบานเกิด มีความคิดที่จะสรางชุมชนบานเกิด
กลับมาใหเ หมอื นเดิมไมยอ ทอ ตอ ความยากลําบาก
กรณีที่ 4 หลังจากเกิดเหตุการณสึนามิคร้ังใหญ อาคารบานเรือนพังเสียหาย ประชาชนไมมีท่ีอยู
อาศัย และอาหารไมเพียงพอตอการบริโภค มีการแจกจายอาหาร ประชาชนไมมีการแยงอาหารกันประชาชน
ตอแถวเพือ่ รบั อาหารอยางเปนระเบยี บเรยี บรอย
จากเหตุการณนี้แสดงใหเห็นถึงความเปนระเบียบเรียบรอย ไมเห็นแกตัว และความมีสิทธิและ
ความเทาเทยี มกัน
ประเทศสาธารณรฐั เกาหลใี ต
สาธารณรฐั เกาหลใี ต ตัง้ อยทู างใตข องคาบสมทุ รเกาหลีมรี ะบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
โดยมีประมุขของประเทศ คือ ประธานาธิบดี ซึ่งไดรับการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนใหเปนหัวหนา
ฝายบริหาร และมีนายกรัฐมนตรี ซ่ึงไดรับการแตงต้ัง โดยประธานาธิบดีผานความเห็นชอบจากรัฐสภา
เกาหลีใตเปนประเทศในเอเชียเพียงไมกี่ประเทศท่ีไดรับการจัดอันดับดานความเปนประชาธิปไตย
(Democracy Ranking) ตดิ 1 ใน 30 ของโลก โดยไดเ ปนอันดับ 26 จากการประเมนิ ป ค.ศ. 2013 อาจกลา ว
ไดวา ประเทศเกาหลใี ตมีพัฒนาการของความเปนประชาธิปไตยดีข้ึนมาเปนลาํ ดับ ทั้งความกาวหนาในดาน
ระบบการเลือกตั้งและความเจริญทางวัฒนธรรม ดัชนีความเปนประชาธิปไตยขยับเพ่ิมข้ึนทุกป มีคะแนนสูง
ในทุกดาน โดยเฉพาะอยางย่ิงดานสิทธิทางการเมืองและดานเสรีภาพของพลเมืองจ นไดรับการจัดอันดับ
ใหอยูในกลุมประเทศที่เปนประชาธิปไตยสมบูรณเต็มใบ ในดานการพัฒนาเยาวชนดานการศึกษา
เพ่ือความเปนพลเมืองนั้น มีการดําเนินการมาอยางตอเนื่องมีการกําหนดคานิยม/ส่ิงท่ีดีงามพื้นฐานที่เปน
องคประกอบของทักษะชีวติ 4 ดา นดา นละ 5 ลักษณะยอ ย ไดแก
1) การใชชีวิตสวนตัว : การเคารพตนเอง ความจริงใจ ความซื่อสัตย ความเปนอิสระและการ
ยับยั้งชั่งใจ
2) การใชชีวิตรวมกนั ในครอบครัว เพ่อื นบาน และโรงเรยี น : การปฏิบัติตนตามศาสนา การปฏิบัติ
หนาที่ของลูกตอ พอ แม จรรยามารยาทการอยูรวมกนั และความรักตอโรงเรยี นและบา นเกิด
3) การใชชีวติ ในสงั คม : การปฏบิ ตั ติ นตามกฎหมาย การสนใจตอผูอ่ืน การอนุรักษสิ่งแวดลอม
ความยตุ ิธรรม และการสรางจติ สํานึกสาธารณะ
124
4) การใชชีวิตในระดับชาติและชาติพันธุ : ความรักในรัฐความรักในชาติ การมีจิตใจที่มั่นคงมี
สติสมั ปชัญญะ การสรา งความสนั ตภิ ายหลังการแบง แยก และความรักในมนษุ ยชาติ
ลักษณะสําคัญ 4 ประการน้ี ถูกปลูกฝงมาตั้งแตในระดับช้ันประถมศึกษาและยังสงเสริมการปลูกฝง
ทกั ษะการคิด และการตดั สินใจเชิงจริยธรรม (moral thinking and judgment) หรือทักษะท่ีจําเปนตอการ
แกไขเชงิ จริยธรรมในชีวติ ประจําวันอยางถกู ตอ งและมเี หตุผล
โดยสรุป แนวคิดสําหรับการศึกษาเพ่ือสรางความเปนพลเมืองของเกาหลีใต หมายถึง การฝกฝน
ความสามารถในการคิดตัดสินใจในสถานการณท่ีเกี่ยวของกับการเมือง และมีวัตถุประสงคที่จะใหความรู
เก่ียวกับปรากฏการณทางการเมืองระดับชาติและทองถิ่น ในฐานะที่เปนพลเมืองผูถืออํานาจอธิปไตย
(Sovereign Citizen) และสาํ หรับการใหการศึกษาแกเยาวชนเก่ียวกับการมีสวนรวมทางการเมือง จะให
ความสําคัญกับการฝกฝนทักษะและสอนใหรูบทบาทหนาที่ในฐานะพลเมืองท่ีมีความสํานึกรับผิดชอบ
(Responsible Citizen)
วัฒนธรรมของคนเกาหลีใตสอนใหคนมีระเบียบวินัย หากไดเคยสัมผัสหรือสังเกตคนเกาหลีใต
จะรับรูไดไมวาจะเปนทั้งทางดานการศึกษา กีฬา หรือการใชชีวิต และหากดูวิวัฒนาการของเกาหลีใตนั้น
ประสบความสาํ เร็จในหลากหลายดานในเวลาอันรวดเร็ว เพราะเกาหลีใตสอนใหมีการตื่นตัวกับสิ่งตาง ๆ
อยูเสมอมีการปลกู ฝงความรกั ชาติ ซ่ึงเปน วฒั นธรรมที่สบื ทอดกนั มาอยางยาวนาน
ประเดน็ ศึกษาเก่ยี วกับหนา ที่พลเมืองในประเทศสาธารณรัฐเกาหลี
กรณีท่ี 1 กรณีการอัปปางของเรือเฟอรร่ีของเกาหลีใตท่ีชื่อเซวอล ซึ่งจมลงระหวางการเดินทาง
จากกรุงโซลไปยังเกาะเซจู ท้ังสาเหตุของการลมของเรือ ความรับผิดชอบของกัปตันเรือ นายลี จูนเซี๊ยก
(Lee Joon-seok) และผูชวยกัปตันเรือ การปฏิบัติการ และการกระจายคําสั่งของลูกเรือหลังเกิดอุบัติเหตุ
รวมท้ังการกูภยั ทยี่ ังคงดําเนนิ อยู ซง่ึ พบศพผูโ ดยสาร 54 คน สูญหาย 248 คน รอดชีวิต 174 คน จากจํานวน
ผูโดยสารและลูกเรือทั้งหมด 476 คน ผูเสียชีวิตและสูญหายสวนใหญเปนนักเรียนมัธยมจากโรงเรียน
Danwon High School ในเมืองอันซัน ชานกรุงโซล ท่ไี ปทศั นศกึ ษาถงึ 350 คน
รอยเอก นายแพทยยงยุทธ มัยลาภ ไดเขียนเรื่องที่นาสนใจประเด็นหนึ่งไว คือ การปฏิบัติ
ของนักเรียนที่อยูบนเรือ หลังจากมีคําสั่งจากลูกเรือไปยังผูโดยสารเมื่อเกิดเหตุแลวก็คือ “ใหนั่งอยูกับที่
หามเคล่ือนไหวไปไหนขณะท่ีเจาหนาที่กําลังดําเนินการแกไขปญหากันอยู ซ่ึงผูโดยสารจํานวนมากก็ปฏิบัติ
ตามคําสง่ั น้”ี จนกระทัง่ เรอื เอยี งและจมลง แมว า จะมเี วลาถงึ กวา 2 ชัว่ โมงกอ นทเี่ รือจะจม ซง่ึ ผโู ดยสารนาจะมี
เวลาเพียงพอที่จะสามารถชวยเหลือตัวเองออกมาจากเรือได ซ่ึงสะทอนใหเห็นถึงวินัยของเด็ก ๆ นักเรียน
ท่ีฟงคาํ ส่ังของ “ผูใหญ” และสะทอนถึงความมีระเบียบวินัยของคนเกาหลีที่เชื่อฟงคําสั่งแมตนทราบดีวา
125
อนั ตรายใกลต วั เขา มามากแลว แตครงั้ นี้ “ผใู หญ” คงประเมนิ สถานการณผ ดิ พลาดอยา งรายแรง มีรายงานวา
ลูกเรือไดพยายามกระจายคําสั่งสละเรือในชวงคร่ึงช่ัวโมงตอมาหลังจากเกิดอุบัติเหตุ แตเขาใจวาคําสั่งน้ี
กระจายไปไมท ว่ั ถึง และเชอื่ วา ผโู ดยสารจํานวนมากโดยเฉพาะเด็กๆก็ยงั คงนัง่ อยกู ับที่
กรณีที่ 2 ประเด็นเรื่องของความรับผิดชอบ เห็นไดจากการลาออกและฆาตัวตายของขาราชการ
นักการเมืองในประเทศหลายคนทั้ง ๆ ที่อาจจะไมเกี่ยวกับความผิดที่เกิดข้ึนโดยตรง แตอยูในภาระหนาท่ี
ทดี่ ูแลเชน
การลาออกของนายกรัฐมนตรี ชอง ฮง วอน เพือ่ รับผดิ ชอบตอการลมของเรือเซลวอน และไมสามารถ
ชวยเหลือไดอยา งรวดเร็ว ท้งั ๆ ท่ีนายกรัฐมนตรีไมใชคนขับเรอื และกไ็ มใ ชค นที่เขาไปชว ยเหลือ
เดอื นธนั วาคม 2548 นายฮหู จุนยัง ผูบัญชาการตาํ รวจเกาหลใี ต ไดยื่นหนังสือลาออกจากตําแหนง
เพอ่ื รับผดิ ชอบกรณที ตี่ ํารวจปราบปรามกลมุ ผปู ระทวงจนถึงแกค วามตาย กรณีเจาหนาท่ีตํารวจทบุ ตกี ลมุ เกษตรกร
ที่มารวมตัวประทวงเร่ืองการเปดเสรีขาวในกรุงโซล จนเปนเหตุใหมีชาวนาเสียชีวิต 2 คน พรอมกับขอโทษ
ตอกรณีดงั กลาว
เดอื นมีนาคม 2549 นายกรฐั มนตรี ลี เฮชอน แหงเกาหลีใต ประกาศลาออกจากตําแหนงภายหลัง
จากท่ีเขาแอบไปรวมตีกอลฟกับกลุมนักธุรกิจ ท่ีเมืองปูซาน เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2549 แมจะเปนวันหยุด
ของเกาหลใี ตแตก ็ฟง ไมข นึ้ ในขณะท่ีทั้งประเทศกาํ ลังประสบปญหาเน่อื งจากการประทวงของพนกั งานรถไฟ
126
กจิ กรรม
คาํ ชแ้ี จง ใหผูเ รยี นสรุปผลการศกึ ษาเก่ียวกบั ความเปนพลเมอื งในบริบทตา งประเทศของประเทศญ่ปี นุ
และประเทศเกาหลีใต เปน Mind Map
127
เรื่องที่ 7 กจิ กรรมทเ่ี กย่ี วของ
ความรู ความเขาใจที่ถูกตองในการเปนพลเมืองและความรับผิดชอบตอสังคมที่เกี่ยวของกับ
การเปนพลเมืองดีหรือพลเมืองของประเทศ ของพลโลก ผานการสรางเด็ก เยาวชน และประชาชน โดยใช
การศึกษาเพื่อสรา งความเปนพลเมอื งในระดับครอบครวั ชุมชน สงั คม และระดับโลก ใหม คี วามสามารถในการคิด
วเิ คราะห ตระหนกั ในการคิด ตัดสินใจในสถานการณท ี่เก่ยี วกบั การเมืองการปกครอง ปรากฏการณทางการเมือง
ระดบั ชาตแิ ละทอ งถ่นิ ในฐานะท่เี ปน พลเมือง
ตัวอยางการจัดทํากจิ กรรมที่ทาํ ใหเ กิดการคดิ วิเคราะหเกยี่ วกับเรอ่ื งพลเมอื งกับความรับผิดชอบตอ
สังคม
1. การเคารพสิทธหิ นา ทีต่ นเองและผอู ่ืน
กรณีศึกษา เร่อื งที่ 1 เด็ก ป.3 เกบ็ กระเปาสตางค
เด็กชายภาวัต ตุลา นักเรียนช้ัน ป.3 โรงเรียนบานสันตนดู เก็บกระเปาสตางคได ในกระเปา
สตางคมีธนบตั รและมเี อกสารตา ง ๆ รวมเปนเงนิ 100,000 กวา บาท แลวนาํ คืนเจาของครบทุกบาททุกสตางค
เจา ของใหเ งินคาตอบแทนเปนคาขนม แตเด็กชายภาวัตก็ไมรับ จึงตองนําใสมือใหทางโรงเรียนขอช่ืนชม
เปนตวั อยางใหค นอนื่ และนกั เรียนในโรงเรยี นวา เปน เด็กที่มคี วามซ่ือสตั ย สจุ ริต มวี ินัย
จากกรณีศึกษา เร่ืองที่ 7.1 ใหผูเรียนคิด วิเคราะห กรณีขางตนเกี่ยวกับการเคารพสิทธิ หนาท่ี
ของตนเองผอู น่ื และนาํ เสนอแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน
128
2. ระเบียบ กฎ กติกา กฎหมาย
การมีวินัย มีความสามคั คี และรจู กั หนาที่ ถือกันวาเปนคุณสมบัติสําคัญประจําตัวของคนทุกคน
แตใ นการสรางเสรมิ คณุ สมบัติ 3 ขอน้ี จะตองไมลืมวา วินัย สามัคคี และหนาที่นั้น เปนไดท้ังในทางบวกและ
ทางลบ ซง่ึ ยอ มใหค ณุ หรือใหโ ทษไดมากเทา ๆ กนั ทั้ง 2 ทาง เพราะฉะนนั้ เมื่อจะอบรมจําเปนตองพิจารณา
ใหถ อ งแทแนช ัดกอนวา เปนวนิ ยั สามัคคี และหนาทท่ี ีด่ ี คอื ปราศจากโทษ เปนประโยชน เปนธรรม
กติกา คอื สง่ิ ที่บุคคลหรือคณะบคุ คลสรางข้ึน เพ่ือใหเปนแบบแผนปฏิบัติในเร่ืองใดเรื่องหนึ่ง
เมอ่ื กตกิ านนั้ ไดร บั การยอมรับในสงั คมมากขนึ้ กติกานั้นกจ็ ะกลายเปน กตกิ าสากล กติกาการแขงขนั กีฬา เปน ตน
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (พระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ในหลวงรชั กาลที่ 9) พระราชทานแกผูบังคับบัญชาลูกเสือ ในวันอังคารที่
12 กรกฎาคม 2526
ระเบยี บ หมายถงึ แบบแผนทีว่ างไวเปนแนวปฏิบตั ิหรือดําเนนิ การ เชน ระเบียบวินัย ระเบียบ
ขอ บงั คับ ตอ งปฏิบัติตามระเบยี บ วนิ ัย ถูกลําดับ ถูกที่ เปนแถวเปนแนว มีลักษณะเรียบรอย เชน เขาทํางาน
อยางมีระเบยี บ
กฎ ตามพระราชบัญญัติ หมายถึง วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 มาตรา 5(2)
หมายความวา พระราชกฤษฎกี า กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ขอบัญญัติทองถิ่น ระเบียบ ขอบังคับ หรือ
บทบญั ญตั อิ นื่ ท่ีมผี ลบงั คบั เปนการทวั่ ไป โดยไมมงุ หมายใหใ ชบังคับแกกรณใี ดหรอื บคุ คลใดเปนการจําเพาะ
กฎ หมายถึง ทกุ อยางท่กี ลา วมาแตตน ออกโดยหนวยงานทางปกครอง โดยมีผลบังคับเชนเดียวกับ
กฎหมาย อาจมีระยะเวลาหรือไมกไ็ ด ท่เี รยี กวา กฎ กเ็ พราะวา กฎ ไมไดอ อกโดยรัฐสภาหรือฝายนติ ิบญั ญัติ
มีศักด์ิทางกฎหมายตามลําดับขั้นอยูในชั้น กฎ ถึงแมระเบียบขอบังคับทองถิ่นจะออกโดยสภานิติบัญญัติ
ทอ งถน่ิ ก็มศี กั ดเ์ิ ปนเพียง กฎ
กฎหมาย หรอื พระราชบญั ญตั ิ ถกู ตราขนึ้ โดยฝายนิติบัญญัติหรือรัฐสภาในประเทศท่ีใชระบบ
สองสภา สว นในประเทศทีใ่ ชสภาเดยี ว ก็ทําหนา ทีเ่ ปนรัฐสภา
การเสนอกฎหมาย ถึงแมโดยหลักการจะออกโดยรัฐสภา แตกฎหมายสวนใหญถูกเสนอขึ้น
โดยฝายบริหาร หรอื รัฐบาล (ในรปู แบบรฐั สภา) ในรูปแบบอื่นจะตางไปจากน้ี กฎหมาย สมาชิกสภาผูแทนฯ
สามารถเสนอเขา สสู ภาได โดยมีผูเขา ชอ่ื รับรองในการเสนอรางกฎหมายนั้น 20 คน แตกฎหมายใดเปนกฎหมาย
ท่ีเกย่ี วกบั การเงนิ คือ เกี่ยวขอ งกับงบประมาณแผนดิน เชน แยกกระทรวง แยกจงั หวัด เปนตน รา งกฎหมาย
ฉบับนน้ั ตอ งใหน ายกรัฐมนตรีเซน็ รับรองกอนเสนอเขา สูส ภา
129
ดังนั้น กฎหมายจึงมีศักดิ์สูงกวากฎ โดยลําดับชั้นทางกฎหมาย รัฐธรรมนูญมีศักดิ์สูงสุด
การแกไ ขรัฐธรรมนูญหรือยกเลิกจะตองตราเปนรัฐธรรมนูญฉบับใหม หรือรัฐประหารที่เปนวิธีนอกข้ันตอน
กฎหมายถา หากวา จะยกเลิกกต็ อ งตรากฎหมายใหมขึน้ มายกเลิกเชนกัน
กรณีศกึ ษา เรอ่ื งท่ี 2 ไมก ลายเปนทองคาํ
นายมานะ เปนพอคาท่ีมีอิทธิพลในวงการธุรกิจและวงการทางการเมือง รวมไปถึงวงการ
ราชการไทย ครั้งหน่ึงเขาไดพานักการเมืองและขาราชการชั้นผูใหญ จํานวน 10 คน ไปเท่ียวประเทศ
แถบอเมริกาใต โดยออกคา เดนิ ทางและคาใชจ า ยทั้งหมด เม่ือถึงวันเดินทางกลับ เขาไดนําทองคําเถ่ือน
เขามาโดยบอกวาเปนไมแ กะสลักของผูเดินทางท้ังหมด เพื่อหลบเลี่ยงการตรวจประเมินราคาจัดเก็บภาษี
ของเจาหนา ท่ีผูตรวจ ซ่งึ เขาไดรับยกเวน การตรวจ เน่ืองจากนายมานะมีความสนิทสนมคุนเคยและให
สิ่งของแกเจาหนาที่เปนประจํา ในครั้งน้ีเจาหนาที่คํานวณเก็บภาษีโดยไมไดเปดลังตรวจตามขั้นตอน
ปกติ เปน เงนิ 2,000 บาท หลงั จากนั้น เจาหนา ท่รี กั ษาความปลอดภยั พบพิรุธจงึ ไมใหน ําสินคาออกนอก
สนามบิน ขณะที่พลเมืองดีก็โทรศัพทแจงสํานักงานปองกันและปราบปรามการทุจริตแหง ชาติ (ป.ป.ช.)
วาเขาแจงนําสินคาไมตรงกับรายการที่ไดรับแจง ดังนั้น ป.ป.ช. จึงประสานระงับการนําสินคาออกไป
เพอื่ รอการตรวจพสิ ูจน เม่ือทาํ การตรวจพสิ จู นแ ลว พบวา จากท่ีนายมานะแจงวาเปนไมแกะสลักกลับ
กลายเปน ทองคํามูลคา หลายสิบลา นบาท เม่ือหลักฐานการสบื คนชัดเจนจงึ ไดดําเนินการสงฟองจําเลย คือ
เจาหนาท่ีผูจัดเก็บภาษีฐานะละเลยการปฏิบัติหนาที่ และนายมานะฐานะสนับสนุนการทําความผิด
ของเจาหนาท่ี ในคดีน้ีศาลไดพิพากษาวา จําเลย คือ เจาหนาท่ีผูจัดเก็บภาษีละเลยการปฏิบัติหนาท่ี
สวนนายมานะ ศาลลงโทษจําคกุ และปรับเปนเงิน 4 เทาของราคาประเมนิ บวกอากร รวมเปนเงินหลาย
สบิ ลานบาท
จากกรณีศึกษาเรื่องที่ 2 ใหผูเรียนแบงกลุมคิด วิเคราะห กรณีขางตนเกี่ยวของกับ
1. ระเบียบ
2. กฎ
3. กติกา
4. กฎหมาย
130
3. ความรับผิดชอบตอตนเองและผอู ื่น/สังคม/โลก
กรณศี กึ ษา เรอื่ งท่ี 3 ชาวบา นจังหวัดประจวบคีรขี ันธ
จิตอาสารวมเก็บขยะตลอดแนวชายหาดหวั หิน
นายกิตติกรณ เทพอยูอํานวย หัวหนาสํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.)
จังหวดั ประจวบครี ีขันธ พรอ มดวย นายอุทัย ขันทอง หัวหนากลุมงานยุทธศาสตรและการจัดการปองกันภัย
จังหวัด นายจีรวัฒน พราหมณี ปลดั เทศบาลเมืองหัวหิน เจาหนาทีท่ หารรอ ย รส. อ.หัวหิน รวมกันจัดการ
เก็บซากขยะกวา 10 ตัน ท่ีถูกพัดขึ้นมาบริเวณชายหาดหัวหิน ตั้งแตหนาโรงแรมนาวีภิรมยทาเทียบ
เรือสะพานปลาหัวหิน โรงแรมฮิลตัน หัวหินโรงแรมเซนทารา หัวหินชายหาดเขาตะเกียบ และชายหาด
หัวดอน ตลอดแนวระยะทางกวา 10 กโิ ลเมตร ตอเนอ่ื งเปน วันท่ีสอง โดยคาดวาจะใชเวลาเก็บประมาณ 3 วัน
เพื่อใหชายหาดตลอดแนวคนื สสู ภาพปกติ และไมสงผลกระทบตอ การทอ งเท่ยี ว
พรอมกันนี้ทางสํานักงานปองกันภัยจังหวัด ไดประสานขอกําลังสนับสนุนเจาหนาที่ทหารจาก
ศูนยการทหารราบ คายธนะรัชต อ.ปราณบุรี เพื่อชวยเก็บซากขยะบริเวณดังกลาว เนื่องจากขยะ
มปี รมิ าณมาก สาํ หรบั ขยะดงั กลา วเกิดจากลมมรสุมพัดเขามาเกยหาดเปนประจําทุกป โดยเทศบาลเมือง
หัวหินไดออกดูแลใหชายหาดสะอาด สวยงาม และปลอดภัย เพื่อให หัวหิน เปนสถานที่ทองเท่ียวที่มี
ช่ือเสยี งของประเทศ และประทับใจแกนักทองเทยี่ วทั้งชาวไทยและชาวตา งประเทศตลอดไป
ที่มา : https://www.thairath.co.th/news/local/central/1397193
จากกรณีศึกษา เรอ่ื งท่ี 3 ใหผเู รียนแบง กลุมแลว สะทอ นความคิดเห็นจากกรณศี กึ ษา ในดา น
1. ความรับผดิ ชอบของตวั เอง
2. ความรบั ผดิ ชอบของตัวเอง
3. ความรบั ผดิ ชอบตอ สว นรวม
4. ความรับผิดชอบตอ โลก
131
4. ความเปนพลเมืองของประเทศ/โลก
กรณีศึกษา เร่ืองท่ี 4 ตาํ นานพอ เฒาปลูกตน ไม 37 ป กลายเปนปา ทึบ
ลุงสงัด อินมะตูม ตาํ นานคนปลูกปาบานทาไชย กวา 37 ปแลว ที่พ้ืนท่ีปาบานทาไชย เติบโต
เปนปาชุมชน บนเนื้อที่ 36 ไร มีตนไมหลากหลาย 17 ชนิด ราว 5,000 ตน จากนํ้าพักนํ้าแรงของลุงสงัด
โดยไมเ คยตอ งการคา ตอบแทน ดวยตระหนักวา การปลกู ตนไม คอื การทําบญุ
ปาชมุ ชนวัดทาไชย ต.มะตูม อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก ถือเปนความสําเร็จในเร่ืองการปลูกปาและ
สรา งแรงบนั ดาลใจแกคนรกั ปา ท่ีตอ งการปลูกปา รวมท้งั ยังใหค วามรมร่ืน ชมุ ชน้ื แกพนื้ ทีบ่ า นทา ไชยซึ่งปาแหงน้ี
เกิดจากนํ้าพักน้ําแรงของลุงสงัด อินมะตูม ชายชราวัย 98 ป อยูบานเลขที่ 25 หมู 2 ต.มะตูม
อ.พรหมพริ าม จ.พิษณุโลก แตช วงเวลานไี้ มไดไ ปบอย ๆ เนื่องจากสภาพรา งกายไมแข็งแรงทําใหลุงสงัดไมได
ออกไปปลกู ปา เหมอื นแตกอน
โดยลุงสงัด เลาวา ท่ีเร่ิมมาปลูกปา ชวงน้ันอายุราว ๆ 60 ป เม่ือป 2524 ครอบครัวมีฐานะมั่นคง
พออยูพอกนิ และลูก ๆ ชวยตัวเองไดแลว จึงเขาวัดอีกครั้งเพ่ือศึกษาธรรมะท่ีเคยบวชเรียนและชวยงานวัด
ดูแลพ้ืนทข่ี องวดั ทาไชยทีอ่ ยใู กลบ าน ซึง่ ขณะนัน้ พระอาจารยสาม เปน เจาอาวาสวัดทาไชย มีความรูความสนใจ
และรักตน ไม จึงซึมซบั ความรสู ึก จนกระทั่งเอาจริงจังกับการปลูกตนไม การเพาะตนไมและดูแลรักษาตนไม
ในพ้ืนท่ีของวัด โดยเฉพาะสวนที่เปนธรณีสงฆที่บรรพบุรุษลุงสงัดถวายใหแกวัดทาไชยบนเน้ือท่ีกวา 36 ไร
ตอมาพระอาจารยสาม ขอใหลุงสงัดดูแลพ้ืนที่วัดทาไชยใหมีปามีตนไมตอไปตราบเทาจะทําได ดวยสัจจะ
สญั ญาระหวางพระอาจารยส ามกบั ลงุ สงัด ตามสัญญาทใ่ี หไ ว ทีจ่ ะดูแลปา วดั ทา ไชย
อีกทง้ั ทคี่ วามคดิ ที่วา "ทเ่ี ปนของวดั ปา เปน ของพระราชนิ "ี จึงทําดว ยความสุข ไมม สี ่ิงตอบแทนจึงดูแล
ปาวัดทาไชยเรื่อยมาและขยายพันธุไมในกระปองนม สูวัดใกลเคียงและผูสนใจทั่วไปปละเปนหมื่นตน
ซ่งึ ปลูกปา มาไดจนอายุ 92 ป ดวยวัยทช่ี ราไมส ามารถปลกู ปาตอ ไดแตก็ยงั หวังใหท กุ คนคอยดูแลและรกั ษาปา
ตอไป
ที่ผานมาลุงสงัด เคยไดรับรางวัล เม่ือป 2536 รางวัลบุคคลดีเดนในการรวมปลูกตนไมโครงการ
คืนธรรมชาติสูแผนดิน อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลกและป 2548 โลเกียรติคุณสาขาการสงเสริมและพัฒนาปา
ชุมชน กรมปาไม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม
ทีม่ า : https://www.sanook.com/news/6634362/
132
จากกรณีศึกษา เรื่องที่ 4 ใหผูเรียนคิด วิเคราะห กรณีขางตนเกี่ยวกับความเปนพลเมืองที่ดี
ของประเทศ (โลก) อยา งไรบาง
133
5. แนวทางการปฏิบัติตนเปนพลเมอื งท่ดี ี
จากการเรียนรเู กย่ี วกับการปฏบิ ตั ติ นเปน พลเมืองดที ่ีผานมาแลว ใหผ เู รยี นนําเสนอกรณีตัวอยาง
การเปนพลเมืองที่ดีของตนเองวามีอะไรบาง และส่ิงที่ปฏิบัติน้ันสงผลดีหรือไม อยางไร
134
6. พลโลกท่มี ีความรับผดิ ชอบตอการปองกนั การทุจรติ
พลโลก หมายถึง ทกุ คน ทกุ บาน ทกุ ตําบล ทุกอาํ เภอ และทกุ ประเทศ ทุกชน ทุกเผา ทกุ ชั้น
วรรณะ ไมมีแบง แยก เราทุกคนอยใู นบานหลังเดียวกันเปนบา นหลังใหญ
คณุ ลักษณะพลเมอื งทีด่ ขี องประเทศชาติและสงั คมโลก
1. เคารพกฎหมายและปฏิบัติตามกฎระเบียบขอบังคับของสังคม เมื่อพลเมืองทุกคนปฏิบัติ
ตามกฎระเบยี บ ขอ บงั คบั ของสงั คม และบทบญั ญตั ขิ องกฎหมาย เชน ไมล วงละเมิดสิทธิของผูอื่น หรือไมกระทํา
ความผดิ ตามทีก่ ฎหมายกาํ หนดก็จะทาํ ใหรัฐไมตองเสียงบประมาณในการปองกันปราบปราม และจับกุมผูท่ี
กระทาํ ความผดิ มาลงโทษ นอกจากนี้ยังทําใหสงั คมมคี วามเปนระเบียบสงบสุขทุกคน อยูรวมกันอยางสมานฉันท
ไมห วาดระแวงคิดรา ยตอกัน
2. เปนผูมีเหตุผล และรับฟงความคิดเห็นของผูอื่นทุกคนยอมมีอิสรภาพ เสรีภาพในการ
แลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ ระหวางกนั ซ่ึงการรูจักการใชเหตุผลในการดําเนินงาน จะทําใหชวยประสานความสัมพันธ
ทาํ ใหเ กิดความเขา ใจอนั ดีงามตอกัน
3. ยอมรับมติของเสียงสวนใหญ เมื่อมีความขัดแยงกันในการดําเนินกิจกรรมอันเกิดจาก
ความคดิ เห็นทแี่ ตกตางกัน และจําเปนตอ งตัดสินปญ หา ดวยการใชเ สียงขางมากเขา ชว ย และมติสว นใหญ
ตกลงวาอยา งไร ถึงแมวา จะไมตรงกบั ความคิดของเรา เราก็ตองปฏบิ ตั ติ ามเพราะเปน มตขิ องเสยี งสว นใหญน นั้
4. เปน ผูน ํามีนาํ้ ใจประชาธิปไตย และเห็นแกประโยชนสวนรวม ผูที่มีความเปนประชาธิปไตยนั้น
จะตองมีความเสียสละในเรื่องท่ีจําเปนเพื่อผลประโยชนของสวนรวม และรักษาไวซ่ึงสังคมประชาธิปไตย
เปน การสง ผลตอความม่ันคงและความกาวหนาขององคกร ซงึ่ สดุ ทายแลว ผลประโยชนด งั กลา วก็ยอนกลบั มาสู
สมาชิกของสงั คม เชน การไปใชส ทิ ธ์ิเลอื กต้ัง ถงึ แมว าเราจะมีอาชพี บางอยางท่มี รี ายไดตลอดเวลา เชน คาขาย
แตก็ยอมเสียเวลาคาขายเพอื่ ไปลงสทิ ธิ์เลอื กต้ัง บางคร้งั เราตองมีน้ําใจชวยเหลือกิจกรรมสวนรวม เชน การสมัคร
เปนกรรมการเลอื กต้ังหรอื สมาคมบาํ เพญ็ ประโยชนสว นรวม เปน ตน
5. เคารพในสิทธิเสรีภาพของผูอื่น ควรรูจักเคารพในสิทธิเสรีภาพของผูอื่น เชน บุคคล
มเี สรีภาพในการแสดงความคิดเห็นการพูด แตตองไมเปนการพูดแสดงความคิดเห็นท่ีใสรายผูอ่ืนใหเสียหาย
6. มคี วามรับผิดชอบตอ ตนเอง สังคม ชมุ ชน ประเทศชาติ ในการอยรู ว มกันในสังคมยอมตองมีการ
ทํางานเปน หมคู ณะจึงตองมกี ารแบงหนาทีค่ วามรบั ผิดชอบในงานน้นั ๆ ใหสมาชิกแตละคนนําไปปฏิบัติตามที่
ไดรบั มอบหมายไวอยา งเตม็ ที่
7. มีสวนรวมในกิจกรรมการเมืองการปกครอง ในสังคมประชาธิปไตยนั้น สมาชิกทุกคนตอง
มีสวนรว มในกิจกรรมการเมอื งการปกครอง เชน การเลือกตั้ง เปนตน
135
8. มีสวนรวมในการปองกัน แกไขปญหาเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครอง ชวยสอดสอง
พฤติกรรมม่ัวสุมของเยาวชนในสถานบนั เทิงตา ง ๆ ไมห ลงเชื่อขาวลอื คาํ กลาวรา ยโจมตี ไมมองผูที่ไมเห็นดวย
กบั เราเปน ศัตรู รวมถงึ สง เสรมิ สนบั สนุนการแกไ ขปญหาความขัดแยงตาง ๆ ดว ยสนั ติวิธี
9. มีคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตนตามหลักธรรม ทุกคนควรมีศีลธรรมไวเปนหลักในการ
ควบคุมพฤติกรรมของบุคลใหดาํ เนินไปอยางเหมาะสม ถึงแมจ ะไมมีบทลงโทษใด ๆ ก็ตาม
กรณีศึกษา เรือ่ งที่ 6 พลโลกที่มคี วามรับผดิ ชอบตอ การปองกนั การทจุ ริต
สําหรับประเทศเกาหลี การตอตานคอรรัปช่ันเขมแข็งมากจากภาคประชาชน นําโดย
ปก วาน ชุน (Pak Whan Chun) นักกฎหมายจากฮารวาด รณรงคใหมีการตอตานการคดโกงของขาราชการ
นักการเมอื ง และนักธุรกิจ มีประชาชนใหการสนบั สนนุ จากจาํ นวนสบิ เปน จํานวนหลายหม่ืน เปน สมาชกิ และ
บริจาคเงินมูลนิธิดวยการจํากัดจํานวน เพื่อไมใหมีการครอบงําจากอิทธิพลใด ไมรับเงินชวยเหลือจาก
รัฐบาล และนักการเมือง การทํางานเปนไปอยางโปรงใส ไดรับขอมูลเบาะแสการประพฤติมิชอบของ
ขาราชการ นักการเมือง จากสมาชิกทั่วประเทศ และมีทีมงานนักกฎหมายตรวจสอบกล่ันกรองแลว
เปด เผยใหส าธารณชนทราบ รวมท้ังผลกั ดนั ใหมีการออกกฎหมายปองกันพยานไดสําเร็จ ทําใหเกิดพลัง
สังคมท่ีเขมแข็ง เพ่ือตอตานคอรรัปชัน ประสบความสําเร็จในระดับที่ทําใหประธานาธิบดีของเกาหลี
ถูกพิพากษาจําคุก และบางคนเพียงถูกสงสัยก็ฆาตัวตาย เพราะเกิดความละอาย และพรอมแสดงตน
ปกปอ งความดีเพื่อสงั คม
ที่มา : ทิพยพ าพร ตนั ติสนุ ทร
สถาบนั นโยบายการศึกษา http://www.fpps.or.th/news.php?detail=n1367173359.news
จากกรณศี ึกษา เร่อื งท่ี 6 ใหผ ูเ รียนคิด วิเคราะห ในฐานะพลเมอื งของโลกน้ี เราจะมคี วามรบั ผิดชอบ
ตอการปอ งกันการทจุ รติ อยา งไร