The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น (ทร21001)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookchon, 2020-05-27 03:02:17

ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น (ทร21001)

วิชาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น (ทร21001)

Keywords: ทักษะการเรียนรู้,ทร21001

บทที่ 4
การคิดเปน

สาระสําคญั

ทบทวนทําความเขาใจกับความเชื่อพ้ืนฐานทางการศึกษาผูใหญ/การศึกษานอกระบบและเช่ือม
โยงไปสกู ารเรียนรเู รื่องของการคดิ เปน ศึกษาวิเคราะหล ักษณะของขอมลู ท้งั ดานวิชาการ ตนเอง และสังคม
ส่ิงแวดลอ ม เพอื่ นําไปใชในการเลือกเกบ็ ขอมูลดงั กลา วมาใชป ระกอบการคดิ ตดั สินใจอยา งคนคิดเปน

ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวงั

1. อธิบายทบทวนความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผูใหญ/การศึกษานอกโรงเรียนและการศึกษา
นอกระบบกบั ความเชื่อมโยงสูปรัชญาคิดเปนได

2. จาํ แนก เปรยี บเทียบ ตรวจสอบ ลักษณะของขอมูลดวยวชิ าการ ตนเอง และสังคมสง่ิ แวดลอ ม
ทจี่ ะนาํ มารใชป ระกอบการคิดและการวเิ คราะหข อ มูลได

ขอบขา ยเนื้อหา

1. ความเชอ่ื พน้ื ฐานทางการศกึ ษาผใู หญ/ การศกึ ษานอกโรงเรยี นและการเชอ่ื มโยงสปู รชั ญาคดิ เปน
2. ลักษณะและความแตกตา งของขอมลู ดา นวิชาการ ตนเอง และสังคมสง่ิ แวดลอ มที่จะนํามาใช
ประกอบการคดิ การตดั สนิ ใจ
3. กรณตี วั อยา งเพ่อื การฝก ปฏิบตั ิ

หนังสือเรียนสาระทักษะการเรยี นรู รายวิชาทกั ษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน 141

เรอ่ื งที่ 1
ทบทวนความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผูใหญ/การศึกษานอกโรงเรียน

และการเชื่อมโยงสูปรัชญาคิดเปน

ดร.โกวิท วรพิพฒั น และคณะ ไดเ ร่มิ นําแนวคดิ เรื่อง “ความเชือ่ พ้ืนฐานทางการศกึ ษาผใู หญห รือ
การศึกษานอกโรงเรยี นมาเปนเปา หมายสาํ คญั ในการจัดการศึกษาผใู หญต ั้งแตป พ.ศ. 2513 เปน ตนมา
เชน โครงการการศึกษาผูใหญแบบเบ็ดเสร็จระดับการอานออกเขียนได โครงการการศึกษาผูใหญแบบ
เบ็ดเสร็จระดบั 3-4-5 โครงการรณรงคเพ่อื การรหู นังสือแหงชาติ โครงการศึกษาประชาชนและการศกึ ษา
ตอ เน่ือง โครงการศึกษาเพื่อชมุ ชนในเขตภเู ขา ฯลฯ เปน ตน จากนน้ั จงึ ไดมกี ารประยุกตเชือ่ มโยงมาเปน
ปรชั ญาการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และการศึกษาตลอดชวี ิตในปจจบุ ัน

ความเชอ่ื พน้ื ฐานทางการศกึ ษาผใู หญต ง้ั อยบู นพน้ื ฐานความคดิ ทว่ี า คนเราทกุ คนมคี วามแตกตา งกนั
อยางหลากหลาย ความตองการของแตละบุคคลก็ไมเหมือนกัน แตทุกคนมีจุดรวมของความตองการ
ที่เหมอื นกัน คอื ทกุ คนตอ งการความสุข คนเราจะมีความสุขเมอ่ื ตัวเราและสังคมสง่ิ แวดลอมผสมผสาน
กลืนกนั ได โดยปรบั ตวั เราใหเขากบั สงั คมสิง่ แวดลอมทเี่ ปลีย่ นแปลงอยูต ลอดเวลา หรือโดยการปรบั สังคม
สง่ิ แวดลอมใหเ ขากับตวั เรา หรือปรบั ทั้งตัวเราและสงั คมส่งิ แวดลอมใหผสมกลมกลนื กันจนเกิดความพอดี
ไดก็จะมคี วามสุข

คนที่จะทําไดเ ชน นต้ี อ งรูจ กั คิดรจู กั ใชป ญญา วชิ าการ ความรู และเทคโนโลยีตา ง ๆ รูจ กั ตนเอง
และธรรมชาติ สังคมสิ่งแวดลอ มเปนอยางดจี ึงจะเรียกไดวาเปน “คนคิดเปน” นนั่ กค็ ือ เปน ผูร ูจ กั ปญหา
เรอ่ื งทุกข รจู ักสาเหตุแหง ทุกข ซงึ่ มีอยใู นตนและสภาพแวดลอ ม รจู ักการวิเคราะหห าวธิ ีดบั ทกุ ขจ ากวชิ าการ
และประสบการณ และใชก ลวธิ ีท่เี หมาะสมในการดบั ทกุ ขจึงจะเกดิ ความสุข ถา ยงั ไมเกิดความสุขกต็ องยอ
นกลบั ไปพจิ ารณาขอ มลู ทง้ั สามดา นคอื วิชาการ ตนเอง และสงั คมสงิ่ แวดลอ มใหมอีกคร้ังจนกวา จะพอใจ
การยอนกลับไปพิจารณาขอ มูลใหมน ้ี อาจตองไปศกึ ษาขอ มลู เพ่ิมเตมิ ทง้ั 3 ดา น หรือดา นใดดานหนง่ึ
ท่ยี ังขาดอยูจ นพอเพยี งท่จี ะมาประกอบการคิดการตัดสินใจ ผลการตดั สินใจที่ยงั ไมเ กิดความพอใจ ยัง
ไมสบายใจ และยงั ไมม ีความสุขน้ี เกดิ จกการมขี อมูลไมเ พยี งพอ ยงั ไมสมบูรณท ีจ่ ะตัดสินไดอ ยางเหมาะสม
ถูกตอ ง การศกึ ษาหาขอมูลเพ่ิมเตมิ อยางตอเนื่องดวยวธิ กี ารตา ง ๆ การรจู ักลกั ษณะของขอ มลู ดานตา ง ๆ
รูจักแหลง ทม่ี าของขอมลู ทั้ง 3 ดา น คือ ดานวิชาการ ความรู ดา นตนเอง และสงั คมสิง่ แวดลอ ม การรูจ กั
เก็บขอ มลู วเิ คราะห สังเคราะหขอ มูล เพอ่ื การเลือกใชข อ มูลที่เกีย่ วขอ งเชอ่ื มโยงและพอเพยี งเชนนคี้ อื
กระบวนการเรยี นรตู ลอดชวี ิตนน่ั เอง

สรุปความเชื่อพืน้ ฐานทางการศกึ ษาผใู หญแ ละการศึกษานอกโรงเรยี น

1. คนทกุ คนมีความแตกตางกนั อยา งหลากหลาย ความตอ งการของคนก็ไมเหมือนกัน
2. คนทกุ คนตองการความสุขเปนเปาหมายปลายทาง
3. ความสขุ ของแตละคนจงึ แตกตา งกนั
4. ความสุขของแตละคนจะเกิดข้ึนไดตอเมื่อมนุษยกับสภาวะแวดลอมท่ีเปนวิถีชีวิตของตน
สามารถปรับเขา หากันอยา งผสมกลมกลนื จนเกดิ คามพอดีและพอใจ
5. แตส ภาวะแวดลอ มในสังคมเปล่ยี นแปลงอยตู ลอดเวลา กอ ใหเ กดิ ปญ หา กอใหเกิดทกุ ข ความ
ไมสบายกายไมสบายใจขึ้นไดเ สมอ

142 หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู รายวชิ าทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน

6. คนคิดเปน เช่ือวาทกุ ขห รอื ปญ หาเปน เรื่องธรรมชาติที่เกิดข้นึ ไดกส็ ามารถแกไขได ถา รูจ ัก
แสวงหาขอ มลู หลายๆ ดา น รจู ักวิเคราะหข อ มูล รจู กั ใชข อมลู ในการตดั สินใจอยา งนอย 3 ประการ คอื
ขอมูลทางวชิ าการ ขอมลู เกย่ี วกับสภาวะแวดลอมทางสังคมในวิถีชวี ิต วิถวี ฒั นธรรมประเพณี และขอมลู ที่
เกย่ี วของกบั ตนเอง ซงึ่ ครอบคลมุ ถึงการพงึ พาตนเองและความพอเพยี งดว ย

7. เมื่อไดพัฒนาทักษะการตัดสินใจแกปญหาดวยการวิเคราะหขอมูลและไตรตรองขอมูลอยาง
รอบครอบทง้ั สามดานจนมคี วามพอใจแลว กพ็ รอมจะรับผดิ ชอบการตัดสินใจนนั้ อยา งสมเหตุสมผล เกดิ
ความพอดี ความสมดลุ ระหวา งชวี ติ กบั ธรรมชาตอิ ยา งสนั ติสุข

8. อยา งไรกต็ าม สงั คมในยคุ โลกาภวิ ตั นเปนสงั คมแหง การเปล่ียนแปลงที่รวดเรว็ และรนุ แรง
ปญหากเ็ ปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลา ทุกขก ็เกดิ ข้นึ ดํารงอยู และดบั ไป เปล่ียนโฉมหนาไปตามกาลสมัย
กระบวนทศั นใ นการดบั ทกุ ขก ต็ อ งพฒั นารปู แบบใหท นั ตอ การเปลย่ี นแปลงเหลา นน้ั อยตู ลอดเวลา ใหเ หมาะสม
กบั สถานการณท ีเ่ ปล่ยี นไปดว ย

9. กระบวนการดบั ทุกขห รอื แกป ญ หาก็จะหมุนเวียนมาจนกวาจะพอใจอกี เปน เชนน้อี ยูอยางตอ
เน่อื งตลอดชวี ิต

จากความเชอ่ื พน้ื ฐานดงั กลา วจงึ ไดน าํ ไปสกู ารประยกุ ตใ ชใ นกระบวนการแกป ญ หาของ “คนคดิ เปน ”
ตามข้นั ตอนตอไปนค้ี อื

หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าทักษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน 143

1. ข้นั สาํ รวจปญ หา เม่ือเกิดปญหา ยอมตอ งเกิดกระบวนการคดิ แกปญหา
2. ข้นั หาสาเหตขุ องปญหา เปนการหาขอมูลมาวเิ คราะหวาปญ หาทเี่ กิดข้ึนนั้นเกดิ ข้ึนไดอ ยางไร
มีอะไรเปนองคป ระกอบของปญหาบาง

- สาเหตจุ ากตนเอง พื้นฐานของชวี ิต ครอบครัว อาชพี การปฏิบัติตน คณุ ธรรม ฯลฯ
- สาเหตจุ ากสังคม บคุ คลท่อี ยแู วดลอ ม ตลอดจนความเชื่อ ประเพณี ฯลฯ
- สาเหตุจากการขาดวิชาการความรตู า ง ๆ ท่เี กยี่ วขอ งกบั ปญ หา
3. ข้นั วิเคราะหปญ หา หาทางแกปญหา เปน การวิเคราะหทางเลอื กในการแกป ญ หา โดยใชขอ มูล
ดา นตนเอง สังคม วชิ าการ มาประกอบในการวเิ คราะห
4. ขัน้ ตดั สนิ ใจ เม่ือไดทางเลอื กแลว จงึ ตดั สนิ ใจเลอื กแกปญ หาในทางที่มีขอมูลตาง ๆ พรอม
5. ขน้ั นาํ ผลการตดั สนิ ใจไปสกู ารปฏบิ ตั ิ เมอ่ื ตดั สนิ ใจเลอื กทางใดแลว ตอ งยอมรบั วา เปน ทางเลอื ก
ทด่ี ที ีส่ ดุ ในขอมลู เทาท่มี ขี ณะน้นั ในกาละนน้ั และในเทศะน้ัน
6. ขน้ั ตดิ ตามผลในการแกปญหา ในขนั้ นเ้ี ปนการประเมินผลพรอมกนั ไปดวยถาผลเปน ท่ี
- พอใจ กจ็ ะถือวาพบความสขุ เรียกวา “คิดเปน”
- ไมพ อใจ หรอื ผลออกมาไมไ ดเ ปน ไปตามทค่ี ดิ ไว หรอื ขอ มลู เปลย่ี นตอ งเรม่ิ ตน กระบวนการ
คิดแกป ญ หาใหม ดวยการศึกษาหาขอมูลเพม่ิ เติมจนพอเพยี งทกุ ดา นอยา งตอเนือ่ ง

หยดุ

เมอ่ื ไดท บทวนกันมาถึงตอนนี้แลว ใหผ สู อนและผเู รยี นหยดุ พักนิง่ ๆ สกั ระยะหน่งึ เพื่อรําลึกถึง
การเรยี นรแู ละประสบการณข องตน เกย่ี วกับเร่อื ง “คิดเปน ” และ “ความเชื่อพน้ื ฐานทางการศึกษาผใู หญ
และการศกึ ษานอกโรงเรยี น” ท่ผี านมา จากน้นั ท้ังผสู อนและผูเรยี น ตอ งใหเวลากบั ตวั เองกลบั ไปอา น
เอกสาร “สาระทักษะการเรยี นรู” ระดับประถมศกึ ษา บทที่ 4 วาดวย “การคิดเปน” แลวรว มกนั ทํากิจกรรม
ดงั ตอ ไปน้ี

กิจกรรมที่ 1

1. ใหผ เู รยี นแตล ะคนไดสรุปความเขาใจของตนเองสั้น ๆ ไมเกนิ 1 หนา กระดาษถงึ เรอื่ ง “มนษุ ย
และกระบวนการคดิ เปน ” จากเอกสารและประสบการณของตนเอง

2. ผูเรียนนําบทสรุปของตนมารวมกับครูทําการถกแถลงในกลุมเพ่ือทําเปนบทสรุปของกลุมถึง
เรือ่ ง การคดิ เปน และการเชอ่ื มโยงสูปรัชญาคิดเปน ในการพบกันคร้งั ตอ ไป

144 หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรียนรู รายวิชาทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน

บทสรปุ การทบทวนปรชั ญาการคิดเปน

“คดิ เปน” เปน คณุ ลกั ษณะพึงประสงคข องผูเ รยี น การศกึ ษาผูใหญและการศกึ ษานอกโรงเรียน
ที่จะทําใหบุคคลสามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วรวมกับผูอื่นไดอยางสันติสุข
และสมานฉันท คดิ เปน เปน ความเช่อื พืน้ ฐานของ กศน. ทีว่ ามนุษยทุกคนมีความแตกตา งกนั แตทกุ คน
ตองการความสุขในชวี ิต ความสุขของแตล ะคนกต็ า งกนั ดว ย ความพยายามในการสนองความตองการของ
บุคคลกต็ อ งแตกตา งกนั ความสุขจะเกิดข้ึนไดต องเนน ไปทกี่ ารปรบั ตวั และปรับสงั คมแวดลอ มใหเขาหากนั
จนเกิดความพอดแี ละพอใจ นอกจากน้ี คิดเปนยังเขามาเปนองคป ระกอบท่สี ําคญั ของการจดั การศึกษา
ผใู หญแ ละการศึกษานอกโรงเรียนทั้งในหลกั สตู ร วธิ ีการเรยี นรู ส่ือ การนเิ ทศ การพฒั นาบคุ ลากร
การประเมนิ ผล เชน การพัฒนาหลกั สตู รการศึกษาผูใ หญแ ละการศึกษานอกโรงเรียน จะเร่มิ ดว ยการสาํ รวจ
สภาพปญ หาและความตอ งการของบคุ คลและชมุ ชนเปา หมายกอ น เปด โอกาสใหน าํ ปญ หาและความตอ งการ
ของบุคคลและชุมชนมาเปนสาระการเรียนเพื่อเปนการหาคําตอบใหกับตนเองและชุมชน เปดโอกาสให
ผเู รยี นไดเ ลอื กเรยี นวชิ าเลอื กทตี่ องการดว ยวิธเี รยี นท่ีหลากหลายสอดคลองกับความสะดวก ความตอ งการ
และประสบการณข องผเู รยี นแตล ะคน ใหม แี ผนการเรยี นรายบคุ คลเพอ่ื ใหผ เู รยี นแตล ะคนไดว างแผนการเรยี น
ตามท่ีเหมาะสมกับตนเองไดเต็มที หลักสูตรยังแสดงใหเหน็ ถึงความเรยี บงา ยของสอ่ื ที่สอดคลอ งวถิ ชี วี ติ ของ
ผเู รียน เสนอขอมลู หลากหลายทง้ั ดานบวกและดา นลบ มปี ระเด็นใหผ ูเรียนไดน ําขอมูลทห่ี ลากหลายและ
พอเพียงมาชว ยกนั วเิ คราะห อภปิ ราย หาเหตุผล แกไขปญ หา หาคําตอบใหกบั ตนเองชมุ ชน กระบวนการ
เรียนรตู ามแนวทางของการคิดเปนนี้ ผเู รียนสําคัญทีส่ ดุ ผูสอนเปน ผจู ัดโอกาส จดั กระบวนการ จัดระบบ
ขอ มลู และแหลง การเรยี นรู รวมทง้ั การกระตนุ ใหก ระบวนการคดิ เปน และวเิ คราะหไ ดใ ชข อ มลู อยา งหลากหลาย
และลกึ ซึ้ง เปน ตน คิดเปน ยังครอบคลุมไปถงึ การพัฒนาจติ วิญญาณของคนทํางาน กศน. หลอ หลอม จาก
พส่ี นู องนบั สบิ ๆ ป เชน การเคารพในคุณคา ของความเปน มนุษยข องคน อยางเทาเทียมกัน การทําตัว
เปนสามญั เรียบงาย ไมม ีมุม ไมมเี หลยี่ ม ไมม ีอตั ตา ใหเกียรตผิ ูอ ่นื ดว ยความจริงใจ มองคนในแงบ วกอยู
ตลอดเวลา

“คดิ เปน” ดาํ รงความเปน ศกั ดเิ์ ปน ศรี ใหก ับงานการศกึ ษานอกโรงเรยี นอยหู ลายสิบป เปนที่
ยอมรบั ทง้ั ในดานความเช่อื พ้ืนฐานของมนษุ ย การเปนแกนเปนหลกั ของการพัฒนาหลกั สตู รและสาระการ
เรียนรู ตลอดจนเปน การพฒั นาจิตวญิ ญาณของคนในแวดวงของการศกึ ษาผูใหญ การศึกษานอกโรงเรยี น
และการศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศยั ใหถา ยทอดจากพส่ี นู องนบั สบิ ๆ ป “คิดเปน ” จงึ นบั
วา เปน ปรัชญาคดิ เปน ของผูคนในแวดวง กศน. อยางแทจ รงิ

หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการเรียนรู รายวชิ าทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน 145

เร่อื งท่ี 2
ลกั ษณะของขอมลู และการเปรียบเทยี บขอมลู ดา นวิชาการ ตนเอง และสงั คม
สิ่งแวดลอ ม และทักษะเบอ้ื งตน การวิเคราะห สงั เคราะหขอ มูลทง้ั สามดา นเพ่ือ

ประกอบการตัดสินใจแกปญหาแบบคนคิดเปน

ผูเรยี นไดเ รยี นรูถงึ “การคดิ เปน ” เวลา “ปรัชญาคดิ เปน ” และไดต รวจสอบความคดิ กบั เพอ่ื น
ในกลุมดว ยการถกและในกิจกรรมกันบา งแลว พฤตกิ รรมสําคญั ของการคิดเปน อยางหนึ่งคือการใชขอมูลที่
หลากหลายและพอเพยี งเพอ่ื ประกอบการคดิ และการตดั สนิ ใจ โดยเฉพาะขอ มลู ทเ่ี กย่ี วขอ งกบั วชิ าการ ตนเอง
สังคมสิง่ แวดลอ ม

ขอมูลคอื อะไร ?
ขอ มลู คอื ขา วสารรายละเอียดตาง ๆ ท่เี กิดขน้ึ ภายในองคการหรอื สิ่งแวดลอ มทางกายภาพ กอ น
ทจี่ ะมีการจดั ระบบใหเปนรูปแบบที่คนสามารถเขาใจ และนําไปใชไ ด เปน ขอเท็จจริงหรอื ตัวแทนของขอ
เทจ็ ริงของส่ิงที่เราสนใจทม่ี อี ยใู นชีวติ ประจําวัน ขอเท็จจริงทีเ่ ก่ียวกับเหตกุ ารณท ี่เกดิ ข้นึ อยา งตอ เนอ่ื ง เชน
จํานวนผูปวยทตี่ ดิ เชือ้ เอดสใ นหมูบ าน ราคาพืชผักผลไมตาง ๆ ขอ เท็จจรงิ ทเ่ี ปน สัญลกั ษณ ตวั เลขจํานวน
ลกู คา ตวั เลขทเ่ี กย่ี วกบั จาํ นวนชว่ั โมงทท่ี าํ งานในแตล ะสปั ดาห ตวั เลขเกย่ี วกบั สนิ คา คงคลงั เพอ่ื รายการสง่ั ของ
ตวั เลขทเ่ี ปนนา้ํ หนกั และสว นสูงของคน หรอื ตวั เลขที่เปนรายไดประจาํ เดือน ตวั เลขที่เปน คะแนนการสอบ
เปนตน ขอ มูลเปน ขอความหรอื รายละเอียดซง่ึ อาจอยูในรปู แบบตา ง ๆ เชน รูปภาพ เสยี ง วดี ีโอ คําอธบิ าย
พ้นื ฐานหรอื เหตกุ ารณท เ่ี ก่ียวของกบั สง่ิ ตาง ๆ เปนตน

ขอมูล (Data) กบั สารสนเทศ (Information)

ขอมูล และ สารสนเทศ มีความหมายท่ีแตกตา งกันแตม คี วามคลายคลึงและสัมพันธเ กย่ี วของกัน
อยูม าก

ขอ มูล หมายถงึ ขอ มลู ดบิ ท่ีเปนขอ เท็จจริง หรือเหตุการณ ตา ง ๆ ที่เกดิ ข้ึนในชีวิตประจําวันที่เก็บ
รวบรวมมาจากแหลงตา ง ๆ อาจเปน ตัวเลข ตัวอักษร หรอื สัญลักษณ รปู ภาพ และเสยี ง ถอื วาเปนขอมูล
ระดบั ปฏิบตั ิการ ขอมูลทดี่ ีจะตอ งมีวามถกู ตองแมน ยําและเปน ปจจบุ นั เชน ปริมาณ ระยะทาง ชอ่ื ท่ีอยู
เบอรโ ทรศพั ท คะแนนการสอบ บนั ทึก รายงาน ฯลฯ

สารสนเทศ คอื ขอ มูลทน่ี ํามาผา นกระบวนการประมวลผล วิเคราะหจ นสามารถนําไปใชใ นการ
ตดั สนิ ใจตอ ไปไดทันที

ตวั อยาง ขอแตกตางระหวางขอ มลู และสารสนเทศ
ขอมลู : ผูเรียนศนู ย กศน.อําเภอ ก. มีจาํ นวน 30,000 คน มีครผู สู อนจาํ นวน 30 คน
สารสนเทศ : อตั ราสว นครผู ูสอนตอ ผูเ รียนศนู ย กศน. อําเภอ ก. เทา กบั 30,000/30 = 1,000

146 หนังสอื เรียนสาระทักษะการเรยี นรู รายวชิ าทกั ษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน

ลักษณะของขอ มูล

ขอ มูลเมื่อจาํ แนกตามลกั ษณะแลวสามารถแบงออกได 2 ชนดิ คอื
1. ขอ มูลเชงิ คณุ ภาพ (Qualitative Data) หมายถงึ ขอ มูลที่ไมส ามารถบอกไดว า มีคามากหรอื
นอย แตจะสามารถบอกไดว าดหี รือไมดี หรอื บอกลักษณะความเปน กลมุ ของขอมูล เชน เพศ ศาสนา สผี ม
คณุ ภาพสนิ คา ความถึงพอใจ ฯลฯ
2. ขอมลู เชงิ ปรมิ าณ (Quantitative Data) หมายถึง ขอมูลทส่ี ามารถวัดคาไดวา มมี ากหรือนอ ย
ซงึ่ สามารถวัดคา ออกมาเปน ตัวเลขได เชน คะแนนสอบ อุณหภูมิ สวนสงู นา้ํ หนัก ปริมาณตาง ๆ ฯลฯ

ประเภทของขอมลู

ขอมลู เมือ่ จาํ แนกตามแหลงที่มาแลว สามารถแบงออกไดเ ปน 2 ชนดิ คือ
1. ขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data) หมายถงึ ขอ มูลท่ผี ใู ชเ ปนผเู ก็บรวบรวมขอมลู ขนึ้ เอง เชน การ
เก็บแบบสอบถาม การทดลองในหอ งทดลอง
2. ขอ มลู ทุติยภมู ิ (Secondary Data) หมายถงึ ขอมูลที่ผใู ชนาํ มาจากหนวยงานอน่ื หรือผูอ่ืนที่ได
ทาํ การเกบ็ รวบรวมมาแลวในอดตี เชน รายงานประจําปของหนวยงานตา ง ๆ ขอมลู ทองถิน่ ซึ่งแตล ะ อบต.
เปน ผูรวบรวมไว ฯลฯ

คุณสมบตั ทิ ่เี หมาะสมของขอ มูล

1. ความถูกตอ ง หากมีการเก็บรวบรวมขอ มูลแลว ขอมลู เหลานั้นเชื่อถอื ไมไดจะทําใหเกิดผลเสยี
อยางมาก ผูใชจะไมก ลา อางอิงหรือนาํ เอาไปใชป ระโยชน ซึ่งเปน เหตใุ หก ารตดั สินใจของผูบรหิ ารขาดความ
แมน ยํา และอาจมโี อกาสผิดพลาดได โครงสรา งขอ มูลทอี่ อกแบบตอ งคํานงึ ถึงกรรมวธิ กี ารดาํ เนนิ งานเพื่อ
ใหไ ดความถกู ตอ งแมน ยํามากทส่ี ดุ โดยปกติความผดิ พลาดของสารสนเทศสวนใหญมาจากขอ มูลที่ไมม ี
ความถกู ตองซ่งึ อาจมีสาเหตมุ าจาก คนหรือเคร่อื งจกั ร การออกแบบระบบจึงตองคํานงึ ถึงในเร่ืองน้ี

2. ความรวดเร็วและเปน ปจจบุ ัน การไดมาของขอ มูลจาํ เปนตองใหทันตอความตองการของผูใช
มีการตอบสนองตอ ผูใ ชไ ดเรว็ ตคี วามหมายสารสนเทศไดท ันตอเหตกุ ารณห รือความตองการ มีการออก
แบบระบบการเรยี กคืน และรายงานตามความตองการของผูใช

3. ความสมบรู ณ ความสมบูรณของสารสนเทศข้นึ กับการรวบรวมขอมูลและวธิ กี ารทางปฏิบัติ
ดว ย ในการดาํ เนนิ การจัดทําสารสนเทศตองสํารวจและสอบถามความตองการใชขอมูลเพอ่ื ใหไดขอมูลทม่ี ี
ความสมบรู ณในระดบั หน่ึงท่เี หมาะสม

4. ความชัดเจนและกะทดั รดั การจัดเก็บขอ มลู จาํ นวนมากจะตอ งใชพ้นื ทใี่ นการจดั เก็บขอ มูล
มากจงึ จาํ เปน ตองออกแบบโครงสรา งขอมูลใหกะทัดรัดสือ่ ความหมายได มกี ารใชร หัสหรอื ยนื ยอ ขอมลู ให
เหมาะสมเพื่อทจ่ี ะจัดเกบ็ เขาไวในระบบคอมพิวเตอร

5. ความสอดคลอง ความตองการเปน เรือ่ งที่สําคัญ ดังนั้น จงึ ตอ งมีการสาํ รวจเพอื่ หาความ
ตองการของหนวยงานและองคการ ดูสภาพการใชข อมูล ความลึกหรอื ความกวา งของขอบเขตของขอ มูลท่ี
สอดคลองกบั ความตองการ

หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวิชาทักษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน 147

การจดั การขอ มูลเพอื่ ใหเกดิ ประโยชนก บั การใชง าน

การทําขอ มูลใหเปน สารสนเทศท่จี ะเปนประโยชนตอการใชงาน จาํ เปน ตอ งอาศัยเทคโนโลยเี ขา มา
ชวยในการดาํ เนินการตามขนั้ ตอนดงั น้ี

1. การเก็บรวบรวมขอมูล เปน เร่อื งของการเก็บรวบรวมขอมลู ซึ่งมีจาํ นวนมาก และตอ งเก็บให
ไดอยา งทันเวลา เชน ขอมลู การลงทะเบยี นเรียนของนกั เรียน ขอมูลประวัตบิ คุ ลากร ปจจุบนั มีเทคโนโลยี
ชว ยในการจดั เก็บอยูเ ปนจาํ นวนมาก เชน การปอ นขอมูลเขาเคร่อื งคอมพิวเตอร การอา นขอ มูลจากรหสั
แทง การตรวจใบลงทะเบยี นทม่ี ีการฝนดินสอดาํ ในตําแหนง ตาง ๆ เปนวิธกี ารเก็บรวบรวมขอ มลู เชน กนั

2. การตรวจสอบขอมูล เม่ือมีการเก็บรวบรวมขอ มลู แลวจําเปน ตองมีการตรวจสอบขอ มูล เพือ่
ตรวจสอบความถูกตองขอ มลู ที่เก็บเขา ในระบบตอ งมีความเชอื่ ถือได หากพบท่ผี ิดพลาดตองแกไข การ
ตรวจสอบขอมลู มีหลายวิธี เชน การใชผ ูปอ นขอ มลู สองคนปอ นขอมลู ชุดเดียวกนั เขาคอมพวิ เตอรแ ลว
เปรยี บเทยี บกนั

3. การประมวลขอมูล
การดําเนินการประมวลขอ มูลใหก ลายเปนสารสนเทศ อาจประกอบดว ยกจิ กรรมดังตอไปน้ี
- การจดั แบง กลมุ ขอมูล ขอ มลู ที่เก็บจะตอ งมกี ารแบงแยกกลุม เพือ่ เตรยี มไวสําหรบั การ

ใชง าน การแบง แยกกลุมมวี ิธกี ารที่ชดั เจน เชน ขอมลู ในโรงเรียนมีการแบงเปน แฟมประวตั นิ กั เรยี น และ
แฟมลงทะเบยี น สมุดโทรศพั ทห นาเหลอื งมีการแบง หมวดสินคา และบริการเพอ่ื ความสะดวกในการคน หา

- การจดั เรยี งขอมลู เมือ่ จดั แบงกลมุ เปน แฟมแลว ควรมีการจดั เรียงขอ มูลตามลําดับ
ตัวเลข หรอื ตัวอักษร เพอ่ื ใหเ รียกใชงานไดงายประหยัดเวลา ตัวอยางการจดั เรยี งขอมลู เชน การจดั เรยี งบตั ร
ขอมูลผูแตงหนังสือในตูบัตรรายการของหองสมุดตามลําดับตัวอักษร การจัดเรียงชื่อคนในสมุดรายนาม
ผใู ชโ ทรศพั ท ทาํ ใหค น หาไดง าย

- การสรปุ ผล บางครงั้ ขอ มูลที่จัดเก็บมเี ปน จาํ นวนมาก จําเปน ตอ งมกี ารสรปุ ผลหรือสรา ง
รายงานยอ เพื่อนาํ ไปใชประโยชน ขอ มลู ทส่ี รปุ ไดน อี้ าจสื่อความหมายไดดกี วา เชน สถิติจํานวนนกั เรยี น
แยกตามชน้ั เรยี นแตล ะช้ัน

- การคํานวณ ขอมลู ท่ีเกบ็ มีเปน จาํ นวนมาก ขอมลู บางสว นเปน ขอมลู ตวั เลขทสี่ ามารถ
นําไปคาํ นวณเพ่ือหาผลลัพธบางอยา งได ดังนนั้ การสรางสารสนเทศจากขอมลู จึงอาศยั การคาํ นวณขอ มลู ท่ี
เกบ็ ไวด ว ย

4. การดแู ลรักษาสารสนเทศเพ่อื การใชงาน
- การเก็บรักษาขอ มลู การเกบ็ รกั ษาขอมลู หมายถงึ การนําขอ มลู มาบันทกึ เก็บไวในส่ือ

บันทึกตาง ๆ เชน แผน บนั ทึกขอมลู นอกจากนี้ยงั รวมถงึ การดูแล และทําสาํ เนาขอมูลเพอ่ื ใหใชงานตอ ไป
ในอนาคตได

- การคนหาขอมูล ขอ มลู ทีจ่ ดั เกบ็ ไวม ีจดุ ประสงคท จี่ ะเรยี กใชงานไดต อ ไป การคน หาขอมลู
จะตองคน ไดถ ูกตองแมน ยํา รวดเรว็ จึงมีการนาํ คอมพวิ เตอรเขา มามีสว นชวยในการทาํ งาน ทาํ ใหก ารเรียก
คนกระทําไดทนั เวลา

- การทําสําเนาขอ มลู การทําสําเนาเพื่อท่จี ะนําขอ มูลเก็บรักษาไว หรือนําไปแจกจายใน
ภายหลัง จึงควรจัดเกบ็ ขอมูลใหงายตอ การทาํ สําเนา หรือนําไปใชอ กี คร้ังไดโ ดยงาย

148 หนังสือเรียนสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าทกั ษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน

- การส่อื สาร ขอมลู ตองกระจายหรอื สงตอ ไปยงั ผใู ชงานทหี่ างไกลไดง า ย การส่ือสารขอ มูล
จึงเปน เรอื่ งสาํ คัญและมบี ทบาททสี่ าํ คัญย่ิงท่จี ะทาํ ใหก ารสงขา วสารไปยงั ผูใชท ําไดรวดเร็วและทันเวลา

เทคนคิ การรวบรวมขอมูล ผเู รียนสามารถรวบรวมขอ มลู ตา ง ๆ เชน ตาดู (สงั เกต) หฟู ง
(สนใจ ตอบรบั ) ปากถาม (กระตนุ ซักถาม ชวนคุย) สมองคิดจาํ (เชอ่ื มโยง สมเหตุสมผล) และมือจด
(สรปุ บนั ทกึ ) เพื่อจบั ประเด็นและสามารถทําการรวบรวมขอมลู ไดดวยวธิ ีการทางวชิ าการตาง ๆ พอสังเขป
ดงั นี้

1. การสังเกต ไดแก การคนหาขอมูลดวยตนเองโดยตรง เชน การสงั เกตพฤตกิ รรม หรือ
เหตุการณตา ง ๆในชีวิตประจําวนั สามารถเกบ็ รวบรวมขอมูลโดยใชท ีมงานหรือการไปสังเกตดวยตนเอง

2. การสัมภาษณ ไดแก การรวบรวมขอ มลู จากบคุ คลอ่นื ๆ โดยผูถามใชค ําพูดในการถามและ
ผูตอบใหค าํ พูดในการตอบจากครอบครัว ญาติ พน่ี อง เพอื่ นบาน ซึ่งสามารถเก็บรวบรวมขอมลู ดว ยตนเอง

3. การตอบแบบสอบถาม ไดแก แบบรายการคาํ ถามทีใ่ หผ ูอื่นตอบคาํ ถามตามทผ่ี ถู ามตอ งการ
การสอบถามทางโทรศัพท สามารถใหต อบและจัดรับสง ทางไปรษณยี 

4. การศกึ ษาเอกสารหรือแหลง ที่เก็บขอ มลู ไดแ ก ขอมลู จาก หนังสือพมิ พ วารสาร คอมพวิ เตอร
เทปบันทกึ ภาพ เทปบันทึกเสียง ขอ มลู สารสนเทศ ทางอเี มล ทางเวบ็ ไซต เพอ่ื ใชเปน หลักฐาน

5. การทดสอบ/ทดลอง และการสํารวจ ไดแก การทดสอบเรอื่ งตาง ๆ ทาํ การทดลองกบั สง่ิ ของ
และการสํารวจขอมลู รา นคาในบริเวณใกลเ คียง เชน อาหาร เครื่องดมื่ หรอื สนิ คา อะไรขายดที ่สี ุดในหมบู า น
หรอื ไปถงึ สถานท่ีจรงิ ๆ เปน ตน

การบันทึกขอมลู
เม่ือไดม ีการศึกษา จดั เกบ็ และรวบรวมขอมูลอยางหลากหลายแลว ก็ตอ งมกี ารบนั ทึกขอ มูลเหลา
นน้ั ไวเ พอ่ื การวิเคราะหและสังเคราะหต อ ไป การบนั ทึกขอมูลท่ีมีประสทิ ธภิ าพนัน้ เทคนคิ การเรยี งความ
ตคี วาม ยอความ สรปุ ความ ท่ไี ดศึกษาจากสาระวชิ าภาษาไทย และสาระวชิ าอ่ืน ๆ มาแลว สามารถนําทกั ษะ
เหลา น้นั มาประยกุ ตใชได และยงั สามารถนําไปบันทกึ ผลการวเิ คราะห สงั เคราะหขอมูล การจดั กระทําขอ มลู
เปน สารสนเทศไดอีกดวย หากมขี อ มลู จํานวนมากตอ งบันทึก หลักการยอ ความเปน เทคนคิ ท่ีควรฝก ฝนและ
นาํ ไปปฎบิ ตั ิดงั นี้
1. อานขอ ความท่ีจะยอใหเ ขาใจ หาใจความสําคัญของแตละยอ หนาและใจความรองท่ี สําคัญ ๆ
2. นาํ ใจความสาํ คัญและใจความรองมาเรยี บเรยี งดวยสํานวนของตนเอง
3. ถา ขอความทอ่ี านไมม ีช่ือเรอื่ งตอ งตง้ั ชอื่ ขึน้ เอง กรณีตัวเลขหรือจํานวนตองระบหุ นวยชดั เจน
4. ขอความรอ ยกรอง ตองเปล่ียนเปน รอยแลว ในความยอ

ขอ มูลเพอื่ การคิดเปน

การคดิ การตัดสินใจแกป ญ หาตามแนวทางของ “การคิดเปน ” น้ัน กระบวนการสําคญั
คอื การใชข อมลู อยา งนอ ย 3 ประการมาประกอบการคิดการตดั สนิ ใจ ขอ มลู 3 ประการดงั กลาวไดแ ก
ขอ มูลดา นวชิ าการ ขอมลู เกี่ยวกับตนเอง และขอ มลู เก่ียวกบั สงั คมและส่ิงแวดลอม ลกั ษณะของขอ มลู ท้งั
3 ประการดังกลาวอาจสรปุ เปน ตวั อยา งไดด งั ตอไปนี้

หนงั สือเรียนสาระทักษะการเรียนรู รายวชิ าทกั ษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 149

ขอ มูลเก่ียวกบั ตนเอง
พื้นฐานของชวี ิต ขอมูลภายในครวั เรอื น อาชีพ ญาตพิ น่ี อง ครอบครัว ความสมั พนั ธ ทัศนคติ

ทัศนะท่เี ก่ยี วขอ ง ความสามารถสวนบคุ คล ความเช่อื นสิ ัยใจคอ อารมณ บุคลิกภาพ คุณธรรม และ
พฤตกิ รรม สภาพภายในภายนอกของตนเอง เปนตน

ขอมลู ทางวิชาการ
หลกั วิชาการดานตาง ๆ ทเี่ กย่ี วขอ งกบั ปญ หาท้งั ท่ศี กึ ษาจากทฤษฎี เอกสาร ตําราของทกุ ศาสตร
ทุกสาขาวชิ า ทเ่ี รียนรูจากนกั ปราชญ ผูร ู ภูมิปญญา จากธรรมชาติ ผลงานวจิ ัย กฎหมาย ระเบยี บขอ บงั คับ
เทคโนโลยสี ารสนเทศ ธรรมะ ขอ มลู ทางอาหารและยา และการวนิ จิ ฉยั ของแพทย ขอ มลู ทางการเกษตร ฯลฯ
ขอมลู ทางสงั คมสง่ิ แวดลอม
ขอ มลู ทว่ั ไปเกย่ี วกับเศรษฐกิจและสงั คม วัฒนธรรมจารตี ประเพณี ขอ มลู พื้นฐานบริบททางสังคม
ชมุ ชน การปกครอง อนามัย กิจกรรมของชมุ ชน สภาพการบรโิ ภคทรพั ยากรธรรมชาติ โรงเรอื น บาน วดั
มสั ยดิ แหลงเรียนรู ขอมูลเกยี่ วกับบุคคลท่เี ก่ียวขอ งรอบ ๆ ขา ง

กจิ กรรมที่ 2
ใหผูเรียนและครูผูสอนรวมกันฝกการเก็บขอมูลเพื่อการแกปญหาดวยการคิดเปนอยางนอย

3 ประการ คือ ขอมลู ทางวิชาการ ขอ มูลเกี่ยวกับตนเอง และขอมูลเก่ียวกับสงั คมส่งิ แวดลอ ม จากกรณี
ตัวอยาง เรอื่ ง “สไู หม” ทกี่ ําหนดให โดยใหผูเรยี นไดศ ึกษากรณตี วั อยา งดังกลา ว แลว ใหม ีโอกาสพดู คุยกัน
ในกลุมยอย 2-3 กลมุ ดว ยประเดน็ ท่วี า

“ถา ทา นจะตดั สนิ ใจเพอ่ื แกป ญ หาวกิ ฤตใิ นกรณตี วั อยา ง “สไู หม” นท้ี า นสามารถระบขุ อ มลู ทง้ั 3 ดา น
ไดอยา งไรบา ง” ใหผเู รียนรวมบันทกึ ขอ มูลเพอ่ื การฝกปฏิบัติลงในสมุดบนั ทกึ ของแตล ะคนดวย

150 หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการเรยี นรู รายวิชาทักษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

ใบงานที่ 1

กรณีตวั อยาง “สูไหม”

ผมตกใจสะดุงตื่นขึ้นเมื่อเกิดเสียงเอะอะ พอลืมตาขึ้นมา เห็นทุกคนยืนกันเกือบหมดรถ
“ทุกคนน่งั ลงอยูนิง่ ๆอยา เคลอื่ นไหวไมงน้ั ยิงตายหมด”เสยี งตวาดล่ันออกมาจากปากของเจา ชายหนาเห้ยี ม
คอสั้นที่ยนื อยหู นารถ กําลงั ใชปนจออยูที่คอของคนขับ

ผมรทู นั ทวี า รถทัวรทีผ่ มโดยสารคันนี้ถูกเลนงานโดยเจาพวกวายรายแน หันไปดดู า นหลังเห็นไอ
วายรา ยอกี คนหนงึ่ ถอื ปน จงั กาอยู ผมใชมืออนั สั่งเทาลว งลงไปในกระเปากางเกง คลาํ .38 เหา ไฟของผมซึ่ง
ซื้อออกมาจากรา นเมอื่ บา ยนี้เอง นึกในใจวา “โธเพิ่งซอื้ เอามายังไมทันยงิ เลย เพยี งใสล กู เต็มเทานน้ั เองกจ็ ะ
ถูกคนอน่ื เอาไปเสยี แลว”

เสียงเจาตาพองหนา รถตะโกนขูบ อกคนขบั รถ “หยดุ รถเดยี วน้ี มึงอยากตายโหงหรือไง”
ผมนึกในใจวา เดี๋ยวพอรถหยุดมันคงตอ งใหเ ราลงจากรถแลว กวาดกันเกลย้ี งตวั แตผ มตอ งแปลก
ใจแทนทรี่ ถจะหยดุ มันกลับย่ิงเร็วขึน้ ทกุ ที ทกุ ที ยงิ่ ไปกวา นั้นรถกลบั สายไปมาเสยี ดว ย ไอพวกมหาโจรเซไป
เซมา แตเ จา ตาพองยังไมลดละ แมจ ะเซออกไปมนั ก็กลับวงิ่ ไปยนื ประชดุ คนขับอีก พรอ มตะโกนอยตู ลอด
เวลา “หยุดโวย หยดุ ไอน ่ี กลู งไปไดละมงึ จะเหยยี บใหค าสนทเี ดยี ว”
รถคงตะบงึ ไปตอ คนขบั บาเลอื ดเสยี แลว ผมไมแนใจวา เขาคิดอยา งไร ขณะน้ันผมกวาดสายตา
เห็นผูโดยสารสาวทน่ี ่งั ถัดไปทางมา น่งั ทางดานซาย เปน ตํารวจยศจา กาํ ลงั จองเขม็งไปท่ีไอวายรา ยและถดั ไป
อีกเปน ชายตัดผมสนั้ เกรียนอีก 2 คน ใสก างเกงสกี ากี และสขี ี้มา ผมเขา ใจวา คงจะเปน ตํารวจหรือทหารแน
กําลังเอามอื ลว งกระเปาเกงอยูทั้งสองคน
บรรยากาศตอนน้นั ชา งเครยี ดจริง ๆ ไหนจะกลัวปลน ถกู ยิง ไหนจะกลวั รถคว่ํา ทุกคนเกร็งไป
หมด ทุกส่ิงทกุ อยา งถงึ จดุ วิกฤตแลว

หนงั สือเรียนสาระทักษะการเรยี นรู รายวิชาทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน 151

แบบบันทกึ การจาํ แนกขอมูลประกอบการตดั สนิ ใจ

ขอ มลู ทางวชิ าการ ขอ มลู เก่ียวกบตนเอง ขอมูลเกยี่ วกบั สังคมสิ่งแวดลอ ม

152 หนงั สอื เรียนสาระทักษะการเรียนรู รายวชิ าทกั ษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน

ใบงานท่ี 2

กรณตี ัวอยา ง “เหตเุ กิดทโี่ นนหมากมนุ ”

ผมสิบตรีม่ัน มีเขยี นประจาํ อยู ร.พนั 11 ขณะนี้ปฏบิ ตั ิการอยทู ่อี รัญประเทศ คืนน้ันผมกบั เพอ่ื น
อยูหมวดลาดตระเวน เราจะตองแบงกนั ออกลาดตระเวนเปนหมู ๆ ในขณะทเ่ี รารออยใู นบงั เกอร บางคน
ก็น่งั บางคนก็เอนนอน ... คยุ กนั อยางกระซิบกระซาบ เสียงปน ดงั อยเู ปนจงั หวะไมไ กลนัก เราจะตอ งออก
ลาดตระเวนตรวจดูวา พวกขา ศึกทชี่ ายแดนจะรุกลา้ํ เขา มาหรอื ไม เราไมเคยนึกดอกครับวา ทหารญวนกับ
เขมรเสรีทก่ี ําลงั ตอสกู ันนน้ั จะรกุ ลาํ้ เขา มาในเขตของเราแมเขากาํ ลงั รบตดิ พันกันอยู

พอไดเ วลาหมูของเราตอ งออกไปลาดตระเวน เดือนกม็ ืด คันนาท่เี ราเหยยี บย่ํามานัน้ เราเหน็ เปน
เสนดํา ๆ ยืดยาว ... ขา งหนาคอื หมูบานโนนหมากมนุ

เราเดนิ อยางแนใ จวาจะไมม ีอะไรเกดิ ขึน้ เพราะเราไมไดอ ยทู ่เี สนก้นั เขตแดน ทนั ใดนน้ั เองเสียงปน
ดงั ขึ้น จากขา งซาย จากขางขวา ดูเหมือนจะมาทง้ั สามดาน อะไรกนั นี่ เกดิ อะไรขนึ้ ทบี่ านโนนหมากมุน… เรา
จะทาํ อยางไร ผมคิดวา เสยี งปนมาจากปนหลายกระบอกจํานวนมากมกวาปน เราหลายเทานัก ผมกระโดดลง
ในปลักควายขางทาง ลกู นอ งของผมก็กระโดดตาม ทุกคนคิดถงึ ตัวเองกอ น หลบกระสนุ เอา ตวั รอด มือผม
กมุ ปนไว ผมจะทําอยา งไร สั่งสูรึ อาจจะตายหมด ถอยรึ ไมได ไมไ ด เราจะถอยไมรอด มันมดื จนไมรวู าเรา
ตกอยใู นสถานการณอยา งไร เพอื่ นผมละ ผมเปน หัวหนาหมตู องรับผิดชอบลูกนอ งของผมดวย เราทุกคนมี
ปน คนละกระบอก มีกระสุนจํากดั จะสู หรอื จะถอย คา ยทหารอยูไมห า งไกลนกั ชว ยผมทีเถอะครบั ผมตอง
รบั ผดิ ชอบตอ หนา ที่ลาดตระเวน ผมตองรับผดิ ชอบชวี ติ ลูกนอ งผมทกุ คน ผมจะทําอยา งไร โปรดชวยผม
ตดั สนิ ใจวา ผมจะสงั่ สูหรือส่งั ถอย

ใหครูกับผูเ รียนศกึ ษากรณีตวั อยางเรือ่ ง “เหตเุ กดิ ท่ีโนนหมากมุน” แลว ครกู บั ผเู รียนรว มกนั ถก
แถลงถึงเหตผุ ลท่ีใชในการตัดสนิ ใจแกปญ หาวกิ ฤตติ ามประเดน็ ท่กี ําหนดให ครแู ละผเู รียนรว มกนั บันทึก
ขอ มูลลงในแบบบนั ทึกเพื่อฝก ปฏิบตั ิการจําแนกขอ มูลทงั้ 3 ดาน ที่จะนาํ มาใชป ระกอบการติดการตัดสนิ ใจ
แกป ญหา

หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการเรียนรู รายวิชาทกั ษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน 153

แบบฝกการจาํ แนกขอมลู ประกอบการตดั สินใจ

ขอ มลู ดา นวชิ าการ ขอ มูลเกย่ี วกบั ตนเอง ขอ มูลเก่ยี วกับสงั คมส่งิ แวดลอ ม

154 หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าทกั ษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน

การวิเคราะหแ ละสงั เคราะหขอมูลเพื่อนาํ มาใชป ระกอบการตดั สินใจ

การวิเคราะหขอมลู
การวิเคราะหขอมูลหมายถึงการแยกแยะขอมูลหรือสวนประกอบของขอมูลออกเปนสวนยอยๆ
ศกึ ษารายละเอียดของขอ มลู แตล ะเรื่องเพ่ือตรวจสอบขอมลู ใหไดม ากท่สี ดุ โดยเฉพาะขอมูลการคิดเปน
ท้ัง 3 ประการวา แตละดานมขี อ มลู อะไรบา ง เปน การหาคําตอบวา ใคร ทําอะไร ท่ีไหน อยา งไร ฯลฯ
การวเิ คราะหข อ มูลจะมีการศึกษาและตรวจสอบขอมูลรอบดานทั้งดา นบวกและดา นลบ ดูความหลากหลาย
และพอเพยี งเพอ่ื ใหไ ดข อ มลู ท่แี มนยํา เที่ยงตรง เชือ่ ถือได สมเหตสุ มผล การวิเคราะหข อ มลู มปี ระโยชน
ตรงทท่ี าํ ใหเ ราสามารถเขา ใจเรอ่ื งราวหรอื ปรากฏการณต า งๆ ทแ่ี ทจ รงิ ชว ยใหม กี ารแสวงหาขอ มลู หลากหลาย
โดยไมเชื่อคําบอกเลาหรือคํากลาวอางของใครงาย ๆ เปนการมองขอมูลหลากหลายมิติเกิดมุมมองเชิงลึก
และกวาง เพยี งพอ ครบถวน
การสงั เคราะหขอมลู
เปน การนาํ ขอ มูลท่เี กี่ยวขอ ง ถูกตอง ใกลเคียง กลุม เดียวกนั มารวบรวม จดั กลุม จัดระบบ
เปน กลมุ ใหญ ๆ ในเชงิ บรู ณาการโดยเฉพาะนาํ ขอ มลู การคิดเปนทั้ง 3 ดาน คอื ขอ มูลทางวชิ าการ ขอ มลู
เกี่ยวกับตนเอง และขอมลู ที่เกยี่ วกบั สงั คมสงิ่ แวดลอม ทีว่ ิเคราะหความแมน ยาํ เทยี่ งตรง หลากหลายและ
พอเพียงทั้งดานบวกและลบไวแลวมาจัดกลุมทางเลือกในการแกปญหาที่เปนขอมูลเชิงบูรณาการ ขอมูล
ทงั้ 3 ดา น หลาย ๆ ทางเลอื ก โดยแตล ะทางเลอื กจะมขี อ มลู ทงั้ 3 ดานมาสังเคราะหรวมเขาไวด ว ย เพ่ือให
เปนทางเลือกในการตดั สนิ ใจเลอื กทางเลอื กที่เหมาะสมเปนทยี่ อมรับและพอใจทส่ี ดุ นาํ มาแกปญหาตอไป

ใบงานที่ 3

กรณตี ัวอยางเรือ่ ง สม กับหนมุ

นกั ศกึ ษา กศน. เปนคนอยูใ นวยั รุนวยั ทํางานประกอบอาชพี เพอื่ เลย้ี งตนเองและครอบครวั เปน
สวนใหญ เปนคนในวยั ท่จี ะตองพบกบั ปญ หาท่ีตอ งแกไ ขอยตู ลอดเวลา ยง่ิ ในปจ จุบนั เทคโนโลยีกาวหนา
และหลง่ั ไหลเขามาอยา งไมม ีวนั หยดุ ยงั้ มที ําเรอื่ งดี เจริญกา วหนา สะดวกสบาย เปน ประโยชนตอ การ
พัฒนาคุณภาพชีวิตแตในเวลาเดียวกันก็กอใหเกิดความเดือดรอนไมปลอดภัยตอชีวิตและทรัพยสินทําให
ครอบครวั แตกแยกไมม ีความสขุ การศึกษาเลาเรียนท่ีลอกเรยี นจากตา งประเทศทั้งวิชาการและวฒั นธรรม
ทแี่ ตกตางโดยไมม ีการปรบั ใหสอดคลองกับความเปน ไทยทาํ ใหย ่งิ เรียนยิ่งมปี ญหาชวี ติ และสงั คม สมเปน
นักศกึ ษา กศน. ทาํ งานเปนพนักงานตอ นรับของหา งสรรพสนิ คาแหง หน่ึงรจู กั กบั หนมุ โดยการใชว ิธแี ชท็
ทางอนิ เตอรเ น็ต หนมุ ทํางานเปนพนักงานขายในบริษัทหนุม เปนคนรูปหลอ เจา ชมู หี ญงิ สาวมาสนใจหลาย
คน แตห นุมก็ทาํ ทชี อบสม เปน พเิ ศษกวาคนอืน่ คอยมารบั สง สรางความสนทิ สนมกับสมเปนพเิ ศษแตก็ยัง
ไมเ ลกิ ราจากสาว ๆ คนอน่ื มไี มตรใี หเ หน็ อยเู สมอ ทง้ั หนมุ แลสม คบหากนั มาหลายปเ ปน ทร่ี เู หน็ ของเพอ่ื นๆ
ทงั้ หนุมและสม ในระยะหลงั ๆ นี้ มีชายหนุม จากท่ีทาํ งานของสม มีฐานะการงานดมี าชอบสม อกี คน ถึงสม
จะไมช อบเทาหนมุ แตพอใจในความรักเดยี วใจเดยี วของเขาอยมู าก เขาไมใ ชค นรปู งามแตเ ปน คนนสิ ัยดี
รูจกั เก็บหอมรอบริบ เปน ทรี่ กั และไวว างใจของเพื่อน ๆ ทุกคน วนั หนึง่ หนุมมาขอสมแตง งาน สมมคี วาม
รูส กึ ลังเลวาจะยอมรับหนมุ หรือไม

หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวิชาทักษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน 155

ถาทานเปนสม ทานจะตัดสนิ ใจอยางไร จะยอมรับแตงงานกับหนมุ หรอื ไม เพราะอะไร ใหท าน
ระบขุ อ มูลทง้ั 3 ประการที่หลากหลายและพอเพียงประกอบการตัดสินใจของทานลงในแบบฟอรมท่ีกําหนด
แยกแยะใหเหน็ ทง้ั ขอมูลเชิงปรมิ าณและคุณภาพ และหากตองหาขอ มูลเพ่มิ เติมใหร ะบุใหช ัดเจนดวย

ขอมูลทางวชิ าการ ขอ มูลเกีย่ วกับตนเอง ขอ มูลสงั คมและสง่ิ แวดลอม

156 หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าทกั ษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน

ใบงานท่ี 4

กรณีตัวอยา งของผเู รียน

ใหค รูและผูเรียนรวมกนั เสนอกรณีตัวอยา ง การตดั สนิ ใจดว ยกระบวนการคิดเปน และรวมกนั
รวบรวมขอมูลทง้ั 3 ดาน บันทกึ ลงไวในแบบฟอรม จําแนกขอ มูล จากนัน้ ใหชวยกนั ฝกการวิเคราะหแ ละ
สงั เคราะหขอ มลู กาํ หนดทางเลือกในการตดั สนิ ใจ 2-3 ทางเลือกท่เี หมาะสมและเปนไปได แลวเลอื ก 1
ทางเลอื กในการตดั สนิ ใจ ใหเหตุผลประกอบการตัดสนิ ใจลงในแบบฟอรม ท่กี าํ หนด

แบบบนั ทกึ ขอ มลู

1. ชือ่ กรณตี วั อยา ง ..............................................................................................................
2. สาระของกรณีตวั อยา ง .......................................................................................................
..........................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
..........................................................................................................................................

หนังสอื เรียนสาระทักษะการเรยี นรู รายวิชาทักษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 157

3. ขอมูลท่ีจาํ แนกทงั้ 3 ดาน คือ ดานวชิ าการ ดา นตนเอง และดา นสงั คมและสง่ิ แวดลอ ม

ขอ มูลดา นวิชาการ ขอ มูลดา นตนเอง ขอมูลดา นสังคมและสิง่ แวดลอม

4. ทางเลือกทเ่ี สนอเพอื่ การพจิ ารณาตดั สนิ ใจ
1) ...............................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................

2) ...............................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................

3) .............................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
5. ทางเลอื กทตี่ ัดสนิ ใจแลว ลงมอื ปฏบิ ัติ

..................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................

158 หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการเรียนรู รายวชิ าทักษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน

บทสรุป

1. “คิดเปน” เปน ความเชอ่ื พ้นื ฐานทีค่ น กศน. เช่ือม่ันวา เปน ความจริงของชวี ติ เปน วิถขี อง
มนษุ ยทอ่ี ยูก บั มนษุ ยเชนเดียวกับการเกิด แก เจ็บ ตาย

2. คน กศน. เชื่อในความแตกตางของคน และยอมรับในความแตกตา งของแตล ะบคุ คล การ
จัดการศึกษานอกโรงเรียนกลับการศึกษานอกระบบจึงตองเปนไปเพ่ือสนองตามความตองการของบุคคล
กลมุ เปา หมายท่ีตา งกนั ผูเรียนจึงเปน ศูนยก ลางของการจดั การศกึ ษาเรยี นรทู ้ังมวล

3. การแกปญหาของคนคิดเปนอยูที่การปรับตัวเองและสังคมส่ิงแวดลอมใหเขาหากันอยางผสม
กลมกลืนจนเกิดความพอดี ซงึ่ จะกระทาํ ไดต องรูจักใชข อมลู วิเคราะหแ ละสังเคราะห ประกอบการคิดการ
ตัดสนิ ใจทหี่ ลากหลายและพอเพยี งอยา งนอ ย 3 ประการ คือ ขอ มลู ทางวิชาการ ขอ มลู เก่ียวกับตนเอง และ
ขอ มูลเก่ยี วกบั สงั คมสง่ิ แวดลอม

4. การจดั การขอมลู ทงั้ 3 ดานดงั กลา วนี้ จะตองทําความเขา ใจพนื้ ฐานท่วั ไปเพ่ือใหส ามารถได
มาซ่ึงขอ มลู ที่เทย่ี งตรง ถูกตอ ง แมนยาํ รวดเรว็ สมบรู ณ มีประสิทธภิ าพสูงสดุ การจัดการขอมลู ดังกลาว
มตี ัวอยา ง เชน ลกั ษณะของขอมลู ประเภทของขอ มลู คณุ ลกั ษณะท่ีเหมาะสมของขอมูล การประมวลผล
ขอมูล การดูแลรักษาสารสนเทศเพ่ือการใชงาน การรวบรวมขอมูล และการบนั ทกึ ขอ มลู เปนตน

5. การจดั การขอ มลู ทง้ั 3 ดา นทไ่ี ดน าํ เสนอไปนน้ั จาํ เปน ตอ งศกึ ษาถงึ ลกั ษณะของขอ มลู ทง้ั 3 ดา น
เพอ่ื ใหจ าํ แนกไดว า เปน อยา งไร การวเิ คราะหข อ มลู ไดร วดเรว็ ถกู ตอ งมากขน้ึ

6. การวิเคราะหและสังเคราะหข อมลู ทัง้ 3 ดา น เปน เรอ่ื งของทกั ษะท่จี ะตองมีการฝก ปฏบิ ตั เิ พื่อ
ใหเกิดความคลอ ง และเปน ยํา้ บทบาทการมสี วนรวมของผเู รยี นรวมทั้งวิธีการเรียนรูโ ดยการปฏบิ ตั ิจรงิ และ
ฝกกระบวนการคิดเปน ดว ย

หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการเรียนรู รายวิชาทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน 159

บรรณานกุ รม

ชัยยศ อ่มิ สุวรรณ. “คดิ เปน คอื คดิ พอเพียง”. วารสาร กศน., มนี าคม 2550, หนา 9-11
ชมุ พล หนสู ง และคณะ 2544. ปรัชญาคิดเปน (หนงั สือรวบรวมคําบรรยายและบทสัมภาษณ ดร.โกวทิ

วรพิพฒั น ในโอกาสตา งๆ) กรุงเทพฯ : โรงพมิ พอักษรไทย
ทองอยู แกวไทรฮะ. “คิดเปน : เพื่อนเรยี นรูสูอ นาคต”. วารสาร กศน. มนี าคม 2550, หนา 12-16.
“ ”, 2546. ใตร มไทร (หนงั สือเกษียณอายรุ าชการ ทองอยู แกว ไทรฮะ). กรุงเทพฯ :

โรงพมิ พอ งคการรับสง สินคาและพสั ดุภัณฑ( ร.ส.พ.)
สนอง โลหติ วเิ ศษ,2544. ปรัชญาการศกึ ษาผูใหญและการศึกษานอกระบบ.กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั

ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมติ ร.
หนว ยศกึ ษานเิ ทศก, 2552. คมั ภรี  กศน. เอกสารหลักการและแนวคดิ ประกอบการดําเนนิ งาน กศน.

กรงุ เทพฯ : หนว ยศกึ ษานเิ ทศก, สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั .
อนุ ตา นพคณุ , 2528. แนวคดิ ทางการศกึ ษานอกโรงเรยี นและการพฒั นาชมุ ชน เรอ่ื ง คดิ เปน . กรงุ เทพฯ :

กรงุ สยามการพมิ พ.

160 หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการเรียนรู รายวชิ าทกั ษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน

บทที่ 5

การวิจัยอยา งงายคืออะไร

สาระสาํ คัญ

การแสวงหาความรู ขอมลู ขอเทจ็ จริงอยางมรี ะบบเพ่อื ใหไ ดร บั คาํ ตอบหรือความรูใหมที่เชอื่ ถือได
สามารถทําไดโดยในกระบวนการวิจยั

ผลการเรยี นรูท่คี าดหวัง

ผเู รียนอธบิ ายความหมายของการวิจัย และระบถุ งึ ประโยชนของการวจิ ยั อยางงา ยได

ขอบขายเน้ือหา

เร่ืองที่ 1 ความหมายของการวจิ ยั และความหมายของการวจิ ยั อยา งงา ย
เรือ่ งที่ 2 ประโยชนของการวิจัยอยางงา ย
เรื่องท่ี 3 การเขยี นโครงการวจิ ยั อยา งงา ย
เรอื่ งท่ี 4 สถิตงิ าย ๆ เพือ่ การวิจัย
เร่อื งที่ 5 การสรางเครื่องมอื การวิจยั
เรือ่ งที่ 6 การเขียนรายงานการวิจัยอยางงา ยและการเผยแพรผลงานการวิจยั

หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน 161

เรอื่ งที่ 1 ความหมายของการวจิ ยั และความหมายของการวจิ ยั อยางงา ย

การวิจยั คืออะไร

การวิจยั หมายถงึ กระบวนการแสวงหาความรูอ ยา งมปี ระสทิ ธิภาพ และมจี ุดมงุ หมายที่แนนอน
ภายในขอบเขตทก่ี าํ หนดไว โดยใชวธิ ที างวทิ ยาศาสตร เพ่ือใหไดม าซ่ึงความรู ความจริงเปน ท่ยี อมรบั
การวจิ ยั จงึ เปน เครอ่ื งมอื ในการคน หาองคค วามรหู รอื ขอ คน พบในการแกป ญ หา หรอื พฒั นางานหรอื การเรยี น
ไดอยา งเปน ระบบ นา เช่อื ถอื มคี วามชดั เจน ตรวจสอบได

การวจิ ัยอยางงายคอื อะไร

การวจิ ยั อยางงาย เปนกระบวนการในการคน หาองคค วามรู หรือขอ คน พบในการแกป ญ หา หรอื
แนวทางพัฒนางานท่มี กี ระบวนการไมซ บั ซอนใชเวลาไมมาก สามารถทาํ ควบคไู ปกบั การใชชวี ติ ประจําวนั ได
เนนปรากฏการณท เ่ี กดิ ข้ึนจริง และสะทอ นความเปน เหตุเปนผล

ประโยชนของการวิจัยอยา งงาย

1. ปลกู ฝง ใหเปน คนมพี ้นื ฐานในการแสวงหาความรู หรอื ขอคน พบในการแกป ญ หา อยา งมีระบบ
2. ฝก ใหเ ปนคนท่คี ดิ อยางมรี ะบบและเปน เหตุเปน ผล
3. การวจิ ัยทาํ ใหเกิดองคความรใู หมๆ
4. การวจิ ัยทาํ ใหเ กดิ สิง่ ประดษิ ฐ และแนวคิดใหมๆ
5. การวจิ ัยชว ยตอบคาํ ถามทอ่ี ยากรู ทาํ ใหเ ขาใจปญ หา และชว ยในการแกไขปญหา
6. การวิจัยชว ยในการวางแผนและการตดั สนิ ใจ
7. การวิจัยชว ยใหท ราบผลและขอบกพรองจากการเรยี น / การทาํ ง

กิจกรรม ใหน ักศกึ ษาแบง กลุม ศึกษาความหมายของการวิจัยและประโยชนข องการวิจยั

จากเอกสาร หรอื Website แลวสรปุ เปน ความคิดเหน็ ของกลุม ทาํ เปนรายงานและนาํ เสนอ
ในการพบกลุม

162 หนงั สือเรียนสาระทักษะการเรียนรู รายวชิ าทกั ษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

เรื่องท่ี 2 ข้ันตอนการทําวิจัยอยางงา ย

ขน้ั ตอนท่ี 1 การทําวจิ ยั ข้ันตอนแรกมักจะเรมิ่ ตนจากผวุ จิ ยั อยากรูอะไร มีปญ หาขอ สงสยั อะไร ซง่ึ เปน
ขั้นตอนการกําหนดคาํ ถามวจิ ยั / ปญ หาวิจยั

ข้นั ตอนที่ 2 เมื่อกําหนดคําถามการวิจยั / ปญหาวจิ ัยแลว ข้ันตอนท่ี 2 คอื การเขยี นโครงการวิจัยซง่ึ ตอง
เขยี นกอนการทาํ การวิจยั จรงิ โดยเขียนใหค รอบคลมุ ดังนี้

1. ช่ือโครงการวจิ ยั (จะทาํ วจิ ยั เรอื่ งอะไร)
2. ความเปนมาและความสาํ คญั (ทาํ ไมจงึ ทาํ เรื่องน)้ี
3. วัตถุประสงคข องการวิจยั (อยากรอู ะไรบา งจากการวจิ ยั )
4. วิธดี าํ เนินการวจิ ยั (มแี นวทางขั้นตอนการดําเนนิ งานวจิ ยั อยางไร)
5. ปฏิทนิ ปฏิบัติงาน (ระยะเวลาการวิจัยและแผนการดําเนินงาน)
6. ประโยชนข องการวิจัยหรือผลทีค่ าดวา จะไดร บั (การวิจัยนี้จะเปน ประโยชนอยา งไร)
ขน้ั ตอนท่ี 3 ขนั้ ตอนที่ 3 คือการดําเนนิ งานตามแผน
ข้ันตอนที่ 4 การเขยี นรายงานรายวิชา ประกอบดวยหัวขอ ดังนี้
1. ชอื่ เรือ่ ง
2. ชอ่ื ผวู ิจัย
3. ความเปนมาของการวจิ ยั
4. วัตถุประสงคของการวจิ ยั
5. วธิ ีดําเนินการวิจัย
6. ผลการวิจัย
7. ขอเสนอแนะ
8. เอกสารอางอิง (ถา ม)ี
ข้นั ตอนท่ี 5 เปนข้นั ตอนสดุ ทายคือ การเผยแพรผ ลงานวจิ ัย เพื่อใหบ ุคคลหรือหนวยงานทเ่ี กี่ยวขอ งนาํ
ผลวิจัยนัน้ ไปใชประโยชนต อ ไป

หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการเรียนรู รายวิชาทกั ษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน 163

โดยสรปุ กระบวนการและขั้นตอนการทาํ วิจยั อยา งงาย เขียนเปนแผนภูมิได ดงั นี้

กาํ หนดคําถามวิจัย / ปญหาวจิ ยั
เขียนโครงการวิจัย

ดําเนนิ การตามแผนในโครงการวจิ ัย
เขียนรายงานการวจิ ยั
เผยแพรผ ลงานวจิ ยั

กจิ กรรม ใหน กั ศึกษาแบงกลมุ กําหนดคําถามวิจัย / ปญ หาวจิ ยั ตามความสนใจ และ

เขียนชือ่ โครงการวิจยั ท่สี นใจจะทํา นําเสนอเพ่ือแลกเปลี่ยนเรยี นรใู นกลมุ

164 หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวิชาทักษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน

เร่ืองที่ 3 การเขียนโครงการวจิ ัยอยางงาย

โครงการวิจยั คือ แผนการดาํ เนนิ วิจยั ทเี่ ขยี นขน้ึ กอนการทําวจิ ยั จริง มีความสาํ คญั คือเปนแนวทาง
ในการดาํ เนนิ การวิจัยสาํ หรับผูวิจยั เองและผเู กีย่ วของ เชน ครู อาจารย หรือผูใหทนุ สนับสนนุ การวจิ ยั
เพื่อใหคาํ ปรึกษาและติดตามความกา วหนา ของการดาํ เนินงานวจิ ัย

ถา จะเปรียบกบั การสรา งบา น ที่ตองมีแปลนหรือพิมพเ ขียว ทีร่ ะบุรายละเอยี ดของการสรา งบาน
ทกุ ขัน้ ตอน สาํ หรับเปนเครอื่ งมือในการควบคุม กํากับดแู ลของเจา ของบาน หรือผูรับเหมา เพ่ือใหก าร
สรา งบานเปน ไปตามแบบทก่ี าํ หนด โครงการวจิ ยั กเ็ ปรยี บเสมอื นแปลนหรอื พมิ พเ ขยี วเชน กนั คอื เปน ทศิ ทาง
แนวทางการดําเนินงานวจิ ยั ใหเปน ไปตามแผนการวจิ ยั ทีก่ ําหนด

องคป ระกอบของโครงการวจิ ัย

โดยทวั่ ไป โครงการวิจยั ประกอบดว ยหวั ขอ ดังตอไปน้ี
1. ชื่อโครงการวิจยั
2. ความเปนมาและความสาํ คญั
3. วตั ถปุ ระสงคของการวิจัย
4. ประโยชนท่คี าดวาจะไดรบั
5. การศึกษาเอกสารท่ีเกี่ยวของ
6. สมมตุ ิฐานการวิจัย
7. ขอบเขตการวจิ ยั
8. วิธดี ําเนินการวจิ ยั
9. นิยามศัพท
10. ระยะเวลาดําเนนิ การ
11. แผนการดาํ เนนิ การ
12. สถานทท่ี ําการวิจยั
13. ทรพั ยากรและงบประมาณ
14. ประวัตผิ วู จิ ัย / คณะวจิ ยั
อยา งไรกต็ าม การเขยี นโครงการวจิ ยั อาจมหี วั ขอ แตกตา งจาก 14 หวั ขอ ขา งตน ขน้ึ อยกู บั ขอ กาํ หนด
ของสถานศึกษา แหลงทุน หรอื ความตองการของผใู หท าํ โครงการวจิ ัย และอาจมีจํานวนหวั ขอ มากกวา
หรือนอ ยกวา 14 หวั ขอ ก็ได ข้ึนอยกู บั ประเภทของการวิจัย เชน งานวจิ ยั เชิงสํารวจ งานวจิ ัยเชิงคณุ ภาพ
ไมจําเปนตอ งมีสมมตฐิ านการวิจัย เปน ตน
เทคนิคการเขยี นโครงการวจิ ยั อยา งงา ย ประกอบดวยหัวขอและคําอธิบายการเขยี น ดงั ตอไปนี้
1. ชือ่ โครงการวจิ ัย ชอ่ื โครงการวจิ ัยควรกะทัดรดั ส่อื ความหมายไดชดั เจน มคี วามเฉพาะเจาะจง
ในสงิ่ ทีศ่ กึ ษา
2. ความเปน มาและความสาํ คญั เขยี นอธบิ ายใหเ หน็ ความสาํ คญั ของสง่ิ ทศ่ี กึ ษาเขยี นใหต รงประเดน็
กระชบั เปนเหตุเปนผล มีอางองิ เอกสารทศ่ี ึกษา ( ถา มี )
3. วตั ถุประสงคของการวิจยั เขยี นใหส อดคลอ งกบั ชอ่ื โครงการวจิ ัย ครอบคลุมเรื่องที่ศึกษา เขียน

หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการเรียนรู รายวชิ าทักษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน 165

ใหช ดั เจน อาจมีขอเดียว หรือหลายขอ ก็ได
4. วธิ ีดาํ เนินการวิจัย ระบถุ ึงวธิ กี ารดําเนินการวิจยั
ประชากรกลุมตัวอยา ง สิ่งทศ่ี กึ ษาคอื อะไร มีจํานวนเทาไร
วิธกี ารเกบ็ รวบรวมขอมูล ระบวุ ิธกี ารเกบ็ การบันทึกขอ มูล ระยะเวลา หรือชว งเวลา สถานท่ี
เครอ่ื งมือวิจยั ระบุชนดิ เคร่อื งมือท่ใี ชใ นการรวบรวมขอ มลู เชน แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ

แบบสํารวจ การวิเคราะหข อมลู ระบุวิธีการวิเคราะหขอ มูล สถติ ิทใี่ ช
5. ปฏิทินปฏบิ ตั ิงาน เขียนขนั้ ตอนการดําเนินการวิจัยโดยละเอยี ด และระยะเวลาการดําเนนิ การ

แตละขน้ั ตอน
6. ประโยชนท่คี าดวาจะไดร ับ เขยี นเปนขอ ๆ ถงึ ประโยชน ท่คี าดวาจะเกดิ ขึน้ จากการทําวจิ ัย

กจิ กรรม ใหน กั ศึกษาแบง เปน 2-3 แลว กลุม ชวยกันเขยี นโครงการวจิ ยั อยา งงา ย แลวมา

นําเสนอ ในการพบกลมุ

166 หนงั สือเรยี นสาระทักษะการเรียนรู รายวิชาทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

เร่ืองท่ี 4 สถิตงิ า ย ๆ เพ่อื การวจิ ัย

1. ความถ่ี (Frequency)

ความถ่ี (Frequency) คอื การแจงนบั จํานวนของส่งิ ทเี่ ราตอ งการศกึ ษาวามีจํานวนเทา ใด เชน
จํานวนผเู รียนในหองเรยี น จํานวนสง่ิ ของ จํานวนจาํ นวนคนท่ีไปใชส ทิ ธ์เิ ลือกต้ัง เปนตน

ตวั อยางที่ 1 ครู ศรช. ศูนยฯ กศน. อําเภอ มีท้ังหมด 40 คน เราตองการทราบวา ครู ศรช. ศูนยฯ กศน.
อาํ เภอ เปนเพศหญิงกีค่ น และเพศชายกี่คน เราสามารถแจงนับจํานวนไดด ังน้ี

ตารางที่ 1 การแจงนับจํานวนนกั ศึกษาแยกตามเพศ

เพศ การแจงนบั ความถี่ (คน)

ชาย //// //// //// 15

หญิง //// //// //////////// 25

รวม 40 40

ตัวอยางที่ 2 ผูเรียนในระดับ ม.ตน ของกลุมมีทั้งหมด 60 คน ตองการทราบวาผูเรียนมีอาชีพ
รบั ราชการ คาขาย เกษตรกรรม รับจาง และ อนื่ ๆ ก่คี น เราสามารถแจงนบั จาํ นวนไดดังนี้

เพศ การแจงนับ ความถี่ (คน)
รบั ราชการ 8
//// /// 14
คา ขาย //// //// //// 22
เกษตรกรรม //// //// ////////// 12
//// //// // 4
รบั จา ง //// 60
อน่ื ๆ
รวม 60

หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการเรียนรู รายวชิ าทกั ษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน 167

กิจกรรม ใหน ักศกึ ษาสํารวจรายไดของเพอื่ นในหองแตละคน และทําการแจงนบั จาํ นวน

เมื่อไดจ าํ นวนแลวใสใ นชองวา งตามชวงทก่ี าํ หนดให

ไมม รี ายได 500 – 1,500 บาท จํานวน ………………. คน
รายไดร ะหวาง 1,501 – 3,000 บาท จํานวน ………………. คน
รายไดร ะหวาง 3,001 – 6,000 บาท จํานวน ………………. คน
รายไดระหวาง 6,001 – 9,000 บาท จํานวน ………………. คน
รายไดร ะหวาง 9,001 – 12,000 บาท จาํ นวน ………………. คน
รายไดร ะหวา ง 12,001 – 15,000 บาท จาํ นวน ………………. คน
รายไดระหวาง 15,000 บาทขึน้ ไป จํานวน ………………. คน
รายได จํานวน ………………. คน
รวม จาํ นวน ………………. คน

2. รอยละ (Percentage)

รอยละ (Percentage) เปนสถติ ิที่ใชก นั มากในงานวจิ ยั เพราะคาํ นวณและทาํ ความเขาใจได
งา ย นยิ มเรียกวา เปอรเ ซ็น ใชสัญลักษณ % การใชสตู รในการคาํ นวณหาคา รอ ยละมดี งั นี้

รอยละ = ตวั เลขท่ตี อ งการเปรยี บเทยี บ x 100
จํานวนเตม็

ตวั อยางที่ 1 จากการสํารวจนกั ศกึ ษาในสถานศกึ ษาแหง หนึง่ มจี าํ นวนท้งั สน้ิ 30 คน เปน นักศกึ ษาชาย
จาํ นวน 18 คน เปนนกั ศกึ ษาหญงิ จํานวน 12 คน คิดเปนรอ ยละไดดงั นี้

นักศกึ ษาชาย 18 x 100 = 60.00 %
30

นักศกึ ษาหญิง 12 x 100 = 40.00 %
30

การคํานวณคารอยละ เมื่อรวมกลมุ หรือตวั เลขเปรยี บเทียบแลว จะได 100% เสมอ ยกเวน ถามี
จุดทศนยิ มและมกี ารปด เศษ ท่ีนอ ยกวา 0.50 เชน 7.01 – 7.49 ปรบั เปน 7.00 ถา ต้งั แต .50 ขึน้ ไปเปน
7.50 – 7.59 ปรบั เปน 8

168 หนงั สอื เรียนสาระทักษะการเรยี นรู รายวิชาทกั ษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

3. คาเฉลีย่ (Mean)

คา เฉล่ีย (Mean) เปนการนําคา ของขอ มลู ท้งั หมดมารวมกนั แลว หารดว ยจาํ นวนขอ มูลท่ีมีอยู
การใชส ตู รในการคํานวณหาคา เฉล่ยี ไดด ังนี้

คาเฉลยี่ = ผลรวมของขอมลู ทั้งหมด
จํานวนขอ มูลทมี่ อี ยู

ตัวอยา งท่ี 1 ถาเราอยากทราบวา เพอ่ื นในหองของเราจาํ นวน 30 คน ซึ่งมีอายุ 17 18 18 18 19 19
20 21 22 23 23 23 23 24 25 25 26 26 26 26 26 27 27 27 28 29 30 30 31
และ 32 เรียงตามลําดับ มอี ายเุ ฉลยี่ เทา ใด เราสามารถคํานวณไดด ังนี้

17 + 18 + 18 + 18 + 19 + 19 + 20 + 21 + 22 + 23 .................+32
30

= 729
30

= 24.30
กจ็ ะไดค าํ ตอบวา คา เฉลี่ยอายขุ องเพ่อื นในหอ งทั้ง 30 คน เทากบั 24.30 ป

กจิ กรรม ใหน กั ศกึ ษาสาํ รวจคะแนนปลายภาควชิ าภาษาไทยของเพอ่ื นในหอ ง และ
หาคา เฉลย่ี ของคะแนนทไ่ี ด

หนงั สอื เรียนสาระทักษะการเรียนรู รายวิชาทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน 169

เร่อื งท่ี 5 การสรา งเครอื่ งมอื การวจิ ัย

ความหมาย ความสําคญั ของเครือ่ งมือการวจิ ัย

ในการดําเนินงานวจิ ัย มีความจําเปนตอ งมกี ารรวบรวมขอ มลู เพือ่ นาํ มาวเิ คราะหหาคําตอบตาม
วัตถปุ ระสงคข องการวิจัยท่ีกําหนด เครอื่ งมอื การวิจัย เปนส่ิงสาํ คัญในการเกบ็ รวบรวมขอ มลู ส่ิงทีต่ อ งการ
ศกึ ษา เครื่องมอื ทีใ่ ชใ นการวิจยั มหี ลายประเภท แตไมวา จะเปนเคร่อื งมือการวิจยั แบบใด ลว นมีจดุ มงุ หมาย
เดียวกนั คือตองการไดข อมลู ท่ตี รงตามขอ เทจ็ จริง เพ่อื ทาํ ใหผลงานวจิ ัยเชื่อถอื ไดแ ละเกิดประโยชนม าก
ท่ีสุด

ประเภทของเครื่องมือการวิจยั ท่นี ิยมใชก ันมาก ไดแก การใชแบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ และ
แบบสงั เกต

การสรา งแบบสอบถาม

แบบสอบถามเปนเคร่อื งมอื การวิจยั ทีน่ ยิ มนาํ มาใชรวบรวมขอ มูลงานวจิ ัยเชงิ ปรมิ าณ เชน การวจิ ัย
เชงิ สาํ รวจ การวิจยั เชงิ อธิบาย เปน ตน

แบบสอบถามมที ั้งแบบสอบถามปลายปด และแบบสอบถามปลายเปด
แบบสอบถามปลายปด เปนแบบสอบถามท่รี ะบุคําตอบไวแลว ใหผ ตู อบเลือกตอบ
หรืออาจใหเติมคําหรอื ขอความสัน้ ๆ เทาน้นั
ตัวอยาง อาชพี ของทา นคืออะไร

ครู
พยาบาล
ทหาร
เกษตรกร
อน่ื ๆ ระบุ ...............................................
แบบสอบถามปลายเปด เปนแบบสอบถามท่ไี มไ ดก ําหนดคาํ ตอบไว แตใ หผูต อบไดเ ขียนแสดง
ความคดิ เห็นอยางอสิ ระ
ตัวอยาง แบบสอบถามปลายเปด
นกั ศกึ ษานิยมไปศึกษาคน ควา ขอ มลู ท่แี หลงการเรยี นรใู ด เพราะอะไร
การสรางแบบสอบถาม มขี น้ั ตอนดังน้ี
1. ศกึ ษาคน ควาขอ มูลท่เี กยี่ วขอ งกับเร่ืองทจี่ ะวจิ ยั และประชากรกลมุ ตัวอยา งท่ีศึกษา แลว ยกราง
แบบสอบถาม
2. นําไปใหผมู ีความรชู ว ยตรวจสอบ และใหข อเสนอแนะ
3. ปรับปรงุ แกไขตามขอ เสนอแนะ
4. นาํ ไปทดลองใชก อนเพื่อความเชือ่ มัน่ วา กลุมตัวอยาง (กลุม เลก็ ๆ ไมตอ งทกุ คน) เขาใจคาํ ถาม
และวธิ ีการตอบคําถาม แลว นําผลการทดลองมาปรับปรุงแกไขอกี ครั้งกอ นนาํ ไปใชจ ริง
5. นาํ ไปเกบ็ รวบรวมขอ มูลกบั กลมุ ตวั อยา งท้ังหมด

170 หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการเรียนรู รายวิชาทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

การสรา งแบบสมั ภาษณ

การสัมภาษณ เปน เคร่อื งมอื การวจิ ัยทีใ่ ชในการเก็บรวบรวมขอ มูลงานวจิ ัยทกุ ประเภท ทุกสาขา
แตท น่ี ยิ มคอื ใชกับการวิจยั เชิงคุณภาพ

การสัมภาษณ เปน การรวบรวมขอ มลู ในลักษณะเผชญิ หนากนั ระหวางผสู มั ภาษณ และผใู ห
สมั ภาษณ โดยผสู ัมภาษณเ ปนผูซ ักถามและผใู หส ัมภาษณเ ปนผูใหข อมูลหรือตอบคําถามของผสู มั ภาษณ

แบบสมั ภาษณม ที งั้ แบบสมั ภาษณแ บบไมม โี ครงสรา งคอื ผสู มั ภาษณใ ชค าํ ถามปลายเปด เปน คาํ ถาม
กวา งๆ ปรบั เปลย่ี นได ใหผ ใู หส มั ภาษณแ สดงความคดิ เหน็ ไดอ ยา งอสิ ระ และแบบสมั ภาษณแ บบมโี ครงสรา ง
ทีผ่ ูสัมภาษณกาํ หนดประเดน็ คําถาม หรือรายการคําถามเรยี งลาํ ดับไวแลวกอ นท่ีจะสมั ภาษณ

ตวั อยา งการสัมภาษณแบบไมม ีโครงสราง เชน ครูสมั ภาษณน กั ศึกษาเกย่ี วกบั ปญหาในการเรยี น
การสอน ครูจะตั้งคําถามอยางไรก็ไดเ พือ่ ใหน ักศกึ ษาแสดงความคดิ เห็นตอเรือ่ งท่คี รอู ยากรู

ตัวอยางการสัมภาษณแบบมีโครงสราง เชน คณะกรรมการสอบสัมภาษณนักศึกษาที่สอบเขา
มหาวิทยาลยั ได คณะกรรมการอาจจะตองเตรยี มแบบสําภาษณแบบมีโครงสรา งไวล วงหนา โดยกําหนด
รายการคาํ ถามเพอ่ื การสัมภาษณไวก อน แตอ าจปรับเปลีย่ นคําพดู ไดบ า งตามความเหมาะสม

การสรางแบบสงั เกต

แบบสงั เกตเปน เครือ่ งมอื การเก็บรวบรวมขอ มูล ทใ่ี ชไ ดก ับงานวจิ ยั ทกุ ประเภท โดยเฉพาะงานวจิ ยั
เชงิ คณุ ภาพ งานวจิ ยั เชงิ ทดลอง

แบบสังเกตแบงเปน แบบสงั เกตทีไ่ มม ีโครงรางการสงั เกต ซ่งึ เปน แบบทไ่ี มไดกาํ หนดเหตุการณ
พฤตกิ รรม หรอื สถานการณท ่ีจะสงั เกตไวชัดเจน และแบบสังเกตท่มี โี ครงรางการสังเกต เปนแบบท่กี าํ หนด
ไวล ว งหนา แลววา จะสงั เกตอะไร สังเกตอยา งไร เมื่อใด และจะบันทกึ ผลการสงั เกตอยางไร

ตวั อยา งแบบสงั เกตทไ่ี มม โี ครงรา งการสงั เกต เชน การสงั เกตพฤตกิ รรมในการพบกลมุ ของนกั ศกึ ษา
ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ศรช. วดั แจง ผสู ังเกตกจ็ ะบนั ทึกพฤตกิ รรมตา งๆของนกั ศกึ ษาตามที่เปนจริง

ตวั อยา งแบบสงั เกตทม่ี โี ครงรา งการสงั เกต เชน แบบสงั เกตพฤตกิ รรมในการพบกลมุ ของนกั ศกึ ษา
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ศรช.

คาํ ชแ้ี จง ใหผ ูสังเกตทําเครื่องหมาย  ใหต รงกบั พฤติกรรมนักศกึ ษาทพ่ี บ

พฤตกิ รรม พบ ไมพ บ
1. นอนหลับ
2. กินขนม
3. ทะเลาะกัน
4. ตั้งใจฟงครสู อน
5. ซกั ถามปญหา

หนังสอื เรยี นสาระทักษะการเรียนรู รายวชิ าทักษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน 171

กิจกรรม 1. ใหน กั ศึกษาทุกคนไปศึกษาตวั อยาง แบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ และแบบสงั เกต

เพม่ิ เติมจากเอกสาร หรือจาก Website ทีเ่ กี่ยวขอ ง
2. จบั ฉลากแบง กลมุ นกั ศึกษาเปน 3 กลมุ
กลุม ที่ 1 ใหส รางแบบสอบถาม เรอ่ื งนักรองในดวงใจของนกั ศกึ ษา ระดบั มธั ยมศกึ ษา

ตอนปลาย ศรช. วัดแจง
กลุมที่ 2 ใหสรางแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง เรื่องนักการเมืองในดวงใจ เพื่อ

สมั ภาษณนกั ศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ศรช. วดั แจง
กลุมท่ี 3 ใหสรางแบบสังเกตทมี่ โี ครงรางการสงั เกต เพือ่ สังเกตพฤตกิ รรมการทาํ งาน

กลมุ ของเพอ่ื นกลุมที่ 1 และ 2

172 หนังสือเรียนสาระทกั ษะการเรียนรู รายวิชาทกั ษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน

เรอ่ื งที่ 6 การเขียนรายงานการวจิ ยั อยา งงา ยและการเผยแพรผลงานการวจิ ัย

การเขยี นรายงานการวิจยั อยา งงาย

องคประกอบในการเขยี นรายงานการวจิ ยั อยางงา ย สวนใหญเ ปน การนําเสนอในหัวขอ ตอไปน้ี
1. ชือ่ เร่ือง
2. ชอื่ ผวู จิ ัย
3. ความเปน มาของการวิจยั
4. วัตถปุ ระสงคของการวจิ ยั
5. วิธดี าํ เนนิ การวิจยั
6. ผลการวิจัย
7. ขอ เสนอแนะ
8. เอกสารอางองิ (ถามี)
การเขียนรายละเอยี ดของรายงานการวิจัยอยางงาย มดี งั ตอไปนี้
1. ช่ือเรอื่ ง

การเขียนช่ือเรอ่ื งควรเขียนใหก ะทัดรัด ตอบคาํ ถามใหไดว า ใคร ทําอะไร กบั ใคร การเขียนช่อื
เรือ่ งทีส่ อ่ื ความหมายชดั เจน จะทาํ ใหเห็นประเด็นทจ่ี ะศึกษาอยใู นช่ือเรอื่ ง

2. ชือ่ ผูวิจยั
ระบชุ อ่ื ผเู รยี นซ่งึ เปน ผูทาํ การวจิ ัย พรอ มทัง้ สถานศึกษาท่ผี เู รียนกําลงั ศกึ ษาอยู

3. ความเปนมาของการวจิ ยั
การเขียนความเปน มาของการวจิ ัย คอื การระบุใหผอู า นไดท ราบวา ทาํ ไมจงึ ตองทาํ งานวจิ ยั ช้ินน้ี

มีท่ีมาทไี่ ปอยา งไร ดังนัน้ ผูวิจยั ควรจะกลา วถึงสภาพปญ หาหรอื สภาพทเ่ี ปน อยใู นปจ จบุ ัน ซงึ่ สภาพดงั กลาว
กอ ใหเ กดิ ปญ หาอะไรบา ง หรอื สภาพดงั กลา วถา ไดร บั การปรบั ปรงุ หรอื พฒั นาใหด ขี น้ึ กวา ทเ่ี ปน อยจู ะกอ ใหเ กดิ
ประโยชนอ ะไรบา ง และใครคอื ผไู ดร ับประโยชนดังกลา ว มแี นวคดิ อยางไรในการแกปญหา หรอื แนวทาง
การพัฒนาปรับปรุงแกไข และแนวคิดดังกลาวไดมาอยางไร (แนวคิดดังกลาวอาจไดมากจากการศึกษา
เอกสาร หรือจากประสบการณต รงท่ไี ดจากการสงั เกต การสัมภาษณ เปนตน) พรอมระบแุ หลง อา งองิ

4. วัตถุประสงคและเปา หมายของการวจิ ัย
การเขยี นวตั ถปุ ระสงคข องการวจิ ยั เปน การระบใุ หผ อู า นไดท ราบวา งานวจิ ยั ครง้ั นผ้ี วู จิ ยั ตอ งการ

ทาํ อะไรกบั ใคร และจดุ หมายปลายทางหรอื ผลลพั ธสุดทายทผี่ วู ิจยั ตองการคืออะไร

5. วิธดี ําเนนิ การวจิ ัย
การเขยี นวธิ ดี าํ เนินการวิจัย ควรครอบคลมุ หวั ขอดงั ตอ ไปน้ี
5.1 กลุม เปา หมายทีต่ องการทาํ การวิจยั ควรระบใุ หชัดเจนวาคือใคร
5.2 เครอื่ งมอื ที่ใชในการวิจัย ควรระบใุ หชัดเจนวา การวจิ ัยครงั้ น้ี ใชเ คร่อื งมอื อะไรบา งในการ

หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าทักษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน 173

เกบ็ รวบรวมขอ มลู หรอื แกไขปญหา เชน แบบสาํ รวจ การสัมภาษณ การสังเกต การจดบันทกึ เปน ตน
5.3 การเก็บรวบรวมขอมลู ควรระบุใหชัดเจนวา ผวู ิจัยดําเนนิ การวจิ ัย และรวบรวมขอ มลู

อยางไร
5.4 การวเิ คราะหขอมูล ควรระบุใหชัดเจนวา ผวู จิ ัยวิเคราะหข อมลู อยางไร ซึ่งอาจเปนการวเิ คราะห

ขอมูลในเชงิ ปริมาณหรือเชงิ คุณภาพก็ได

6. ผลการวิจยั
การเขียนผลการวิจยั ผูว ิจยั ตองสะทอ นใหเ ห็นวากวาที่จะบรรลเุ ปา หมายของการวิจัยน้ัน ผูวจิ ยั ตอ ง

ดาํ เนินการทัง้ หมดกี่รอบ ในแตละรอบมกี ารปรบั ปรุง
เปล่ียนแปลงอะไรบา ง และผลทเ่ี กิดขนึ้ เปนอยา งไร

7. ขอ เสนอแนะ
การเขยี นขอ เสนอแนะตอ งเปนขอเสนอแนะทเ่ี ปน ผลสบื เน่อื งจากขอ คนพบของการวจิ ยั ในคร้ังนี้

8. เอกสารอางอิง
เน้ือหาทมี่ กี ารนํามากลาวอางในรายงานการวิจัย ตองนาํ มาเขียนใหปรากฏอยใู นเอกสารอา งอิง

ตวั อยา งการเขียนรายงานการวจิ ยั อยางงา ย

1. ชอ่ื เร่ือง
การแกป ญหาการท้งิ ขยะในสถานท่พี บกลมุ ของนักศกึ ษา กศน. ศรช. บา นทงุ

2. ชอ่ื ผวู จิ ยั
นางสาววารี ศรีจันทร นักศึกษาระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนตน ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการ

ศกึ ษาตามอธั ยาศยั ปทุมรัตน จังหวัดรอ ยเอ็ด
3. ความเปน มาของการวิจัย
สภาพของสถานทีพ่ บกลุมของนักศกึ ษา กศน. ศูนยการเรยี นชุมชนบา นทุง จากการพบกลมุ

ทุกวนั อาทิตยในชวงเชาจนถงึ เท่ียง หลงั จากทน่ี กั ศึกษาแยกยา ยกันกลบั บาน พบวาสถานท่ีพลกลมุ สกปรก
มาก เต็มไปดวยกระดา ถงุ ขนม กระดาษชาํ ระ ถงุ พลาสติก ฯลฯ และโตะเกา อที้ ่ีใชน่ังเรียนกว็ างระเกะระกะ
ไมเปน ระเบียบเรยี บรอย ซ่ึงสาเหตุมาจากนักศกึ ษาขาดระเบียบวินยั หลอกลอกัน ไมม คี วามรบั ผิดชอบตอ
สว นรวมและขาดการฝกฝนเรอ่ื งความสะอาด ดงั น้นั จึงจดั ทาํ การวิจัยนข้ี ้นึ เพื่อใหน กั ศกึ ษามรี ะเบยี บวินัย มี
ทกั ษะในการปฏิบัติตนเม่อื อยูรว มกัน มีความรับผดิ ชอบและปฏบิ ัติตนตามขอ ตกลง

4. วัตถปุ ระสงคของการวจิ ัย
เพือ่ ใหน ักศึกษามีระเบียบวนิ ยั มีทักษะในการปฏบิ ตั ิตน มคี วามรับผดิ ชอบและปฏิบตั ิตนตาม

ขอตกลงตอ ไปน้ี
1. นักศกึ ษารูจักรกั ษาความสะอาดไมท ิ้งขยะในหองเรียน
2. นกั ศกึ ษารูจกั จดั โตะเกาอี้ใหเปนระเบยี บหลงั เลิกเรยี น
3. นกั ศึกษารูจกั มารยาทในการอยรู ว มกนั

174 หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการเรียนรู รายวิชาทกั ษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน

4. นกั ศึกษามคี วามกระตอื รอื รนในการทํางาน มีความภาคภูมิใจในผลงาน และสามารถทาํ งานรว ม
กับผอู น่ื ได

5. วิธีการดาํ เนนิ การวจิ ยั
1.1 กลมุ เปาหมายในการวจิ ยั ครง้ั นคี้ ือ นกั ศึกษา กศน. ระดับมัธยมศึกษาตอนตน กลมุ ศรช.

บา นทงุ ซึง่ เปน เพอื่ นรวมช้ันของผูว จิ ยั จํานวน 35 คน
1.2 เคร่ืองมอื ทใ่ี ชใ นการวิจยั เคร่ืองมือทีใ่ ชใ นการวิจัยครั้งนเี้ ปนแบบสังเกตเกี่ยวกับเรอื่ งการ

แกปญหาขยะในชัน้ เรยี น ซ่ึงประกอบดวย 3 ตอน ดังน้ี
1. ขอ มูลสว นบคุ คลของนักศึกษา ไดแก เพศ สถานภาพ
2. บนั ทึกสาเหตุทท่ี าํ ใหเ กดิ ปญ หา
3. บนั ทกึ ท่ีเก่ยี วกบั การแกปญหาขยะในช้ันเรยี น

1.3 การเกบ็ รวบรวมขอ มูล ผวู ิจยั เปน ผเู กบ็ ขอมูลในการสงั เกตพฤตกิ รรมของเพ่อื นรว มช้นั
และสรปุ ผลตามเครอ่ื งมอื การวิจัย

1.4 การวเิ คราะหข อมูล
1. นาํ ผลท่ีไดจากการบันทึกขอ มูลมาพิจารณาถงึ สาเหตุ และการแกป ญ หา
2. นําผลทไ่ี ดมาวิเคราะหเพื่อเปรียบเทยี บกอ นและหลังการดําเนินการวจิ ยั
3. นําผลที่ไดม าประมวลผล เพ่ือพจิ ารณาถึงพฒั นาการหรอื ความกาวหนาในการแกป ญ หา

การทิง้ ขยะในสถานทพ่ี บกลมุ ของ นศ.กศน. และสรปุ ภาพรวมจากผลท่ไี ดค ร้งั สดุ ทา ยตอนจบภาคเรยี นท่ี
2/2552 วาไดบรรลตุ ามวตั ถุประสงคท ่กี าํ หนดไวหรือไม ซ่งึ จะไดส รปุ ในผลการวจิ ยั ตอไป

1.5 วธิ ีดําเนินการวิจยั
1. แบงกลมุ ใหแ ตล ะกลุมมาพดู ถงึ ความรับผดิ ชอบตอ สว นรวม
2. ผูวจิ ยั ติดตามผลทกุ ๆ ระยะ
3. จดั แบงกลมุ และมีหัวหนา กลมุ ชวยดูแลติดตามอยางใกลช ดิ ตลอด
4. ใหนักศกึ ษาแบงเวรแตล ะกลมุ กวาดถูหอ งเรียน ปด หยากไย เก็บขยะ และลางมอื

ปฏิบตั กิ อ นและหลงั การเขา พบกลมุ ทกุ วันอาทิตย
5. ใหห ัวหนา กลมุ รายงานทุกสปั ดาห และรายงานติดตามนักเรียนท่ีไมมีความรับผิดชอบ

นาํ มาแกไ ขใหมีการเปลยี่ นแปลงทีด่ ีข้นึ
6. นกั ศกึ ษารบั ผดิ ชอบรกั ษาความสะอาดสภาพใตโตะ เกาอี้ และบรเิ วณความรับผิดชอบ

ของตนเอง
7. ใหแ ตล ะกลุมเขยี นคาํ ขวญั เก่ียวกบั การรกั ษาความสะอาด มาติดในบริเวณหอ งเรยี น

6. ผลการวิจัย
การวจิ ยั เรื่องการแกปญ หาการท้ิงขยะในสถานที่พบกลมุ ของนกั ศึกษา กศน.ศรช.บานทงุ เพือ่

แกป ญหาการขาดระเบียบวินัยของนักศกึ ษา กศน. เพอื่ นรว มชั้นของผวู จิ ัย ครง้ั นผ้ี จู ยั ไดกําหนดวตั ถปุ ระสงค
ของการวจิ ยั เพื่อใหน กั ศกึ ษามีระเบียบวนิ ยั มที กั ษะในการปฏบิ ตั ิตนเพอ่ื รกั ษาความสะอาดของหองเรียน
มีมารยาทในการอยรู ว มกนั มวึ ามกระตือรอื รนในการรักษาความสะอาดของหอ งเรยี น

การจดบันทึกขอ มลู บันทึกสาเหตุ/การแกป ญ หาและมีการสรางความเขา ใจขอตกลง รวมทง้ั ให

หนงั สอื เรียนสาระทักษะการเรยี นรู รายวิชาทกั ษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน 175

ทุกคนมสี ว นรว มโดยการทาํ กิจกรรมตามกาํ หนด หลงั จากน้นั ผูวิจัยไดเ ฝา สงั เกต โดยใชแบบบันทกึ โดยใช
แนวทางตามข้นั ตอน ผลปรากฏวา

1. หอ งเรยี นมคี วามสะอาดข้ึนอยางผิดตา
2. หอ งเรียนเปนระเบยี บเรยี บรอ ยขึ้นมาก
3. ความมีระเบียบวนิ ยั ของนักศึกษาดขี ้ึน
4. นกั ศกึ ษามคี วามรบั ผดิ ชอบมากขึน้
5. นักศกึ ษารูห นาท่ีและเอาใจใสใ นความสะอาดมากข้นึ

กจิ กรรม ใหนกั ศกึ ษาไปคน ควา ผลงานการวิจยั ท่ีตนเองสนใจใน Website แลวนํามาเขยี นสรปุ

รายงานการวิจัยอยา งงา ย ตามรปู แบบท่กี าํ หนด พรอมอา งอิงแหลงทมี่ าดว ย

การเผยแพรผ ลงานการวิจัย

ผลการวิจยั ท่ที าํ ขนึ้ ควรมกี ารเผยแพรเ พื่อใหผ ูเ กี่ยวขอ งนาํ ไปใชป ระโยชนไ ด
การเผยแพรผ ลงานการวิจัย ทาํ ไดห ลายวิธี เชน

1. นาํ เสนอในเวลาการพบกลุม หรือในที่ประชุมตา งๆ
2. เขียนลงวารสารตางๆ
3. ตดิ บอรด ของสถานศึกษา บอรด นทิ รรศการ
4. สง รายงานการวจิ ัยใหห นว ยงานตา งๆ
5. นํารายงานการวจิ ยั ข้ึน Website

176 หนังสอื เรียนสาระทักษะการเรียนรู รายวชิ าทกั ษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน

บรรณานกุ รม

กลุ ขณิษฐ ราเชนบุณขวัทน . เอกสารประกอบการบรรยายเร่อื งกระบวนการวจิ ยั . ในการประชุม
สัมมนางานวจิ ัยโครงการวิจยั พฒั นาคุณภาพ กศน. ปง บประมาณ 2552
(วนั ที่ 29-30 มถิ ุนายน 2552)

บญุ ใจ ศรสี ถติ นรากรู . ระเบียบวิธีการวิจัยทางพยาบาลศาสตร . พมิ พค รั้งท่ี 3 กรงุ เทพฯ:
บริบทั ยแู อนดไอ อินเตอรมเี ดยี จาํ กัด, 2547

พนติ เขม็ ทอง. เอกสารประกอบการบรรยายเรือ่ ง มโนทศั นการวจิ ัยในชนั้ เรียน. ในการประชมุ
สัมมนางานวิจัยโครงการวจิ ัยพฒั นาคณุ ภาพ กศน. ปงบประมาณ 2552
(วันที่ 29-30 มถิ นุ ายน 2552)

พิสณุ ฟองศร.ี วิจัยชน้ั เรยี น หลักการและเทคนคิ ปฏิบัต.ิ พิมพค รั้งที่ 7.
กรุงเทพฯ : ดา นสทุ ธาการพิมพ, 2551.

ไมตรี บุญทศ. คมู ือการทําวิจยั ในโรงเรยี น. กรงุ เทพฯ : สวุ ีริยาสาสน, 2549.
ศริ ริ ัตน วรี ชาตนิ านกุ ลู ความรเู บื้องตนเกีย่ วกบั สถิตแิ ละการวิจัย. กรุงเทพฯ:

มหาวิทยาลยั กรุงเทพ, 2545
สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา. วจิ ัยแผน เดียว : เสน ทางสูคุณภาพการ

อาชีวศกึ ษา. กรุงเทพฯ : สาํ นกั งานวจิ ยั และพัฒนาการอาชีวศึกษา, 2547.
สมเจตน ไวทยาการณ. หลักและการวิจัย. นครปฐม : โรงพิมพมหาวิทยาลัยศิลปากร, 2544

ส่ือประกอบการเรียนรูเพ่ิมเติม

นอกจากหนังสอื อา งองิ ตามบรรณานุกรมทรี่ ะบุขางตนแลว นกั ศกึ ษาสามารถ ศึกษาคน ควา เพมิ่
เตมิ ไดจ าก

1. บทเรียนวจิ ัยออนไลน (http://www.elearning.nrct.net/). ของสํานกั งานคณะกรรมการวจิ ยั
แหงชาติ

2. เขาไปคนขอ มลู โดยพมิ พหัวขอ เร่อื งวจิ ัยทตี่ องการศึกษา ใน http://www.google.co.th/
3. วารสาร เอกสาร งานวิจัย และวทิ ยานพิ นธ ตา งๆ

หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการเรียนรู รายวชิ าทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน 177

ผูเขารวมประชมุ ปฏบิ ัติการ จัดทาํ สอื่ หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู

ครง้ั ท่ี 1 การประชุมปฏบิ ตั ิการพัฒนาสอ่ื แบบเรียน
ตามหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551

ระหวา งวนั ท่ี 10 – 13 กุมภาพนั ธ 2552
ณ บา นทะเลสคี รมี รีสอรท จังหวดั สมทุ รสาคร

1. นางสาวสุรีพร เจรญิ นชิ ขาราชการบาํ นาญ
2. นายกญั จนโชติ สหพัฒนสมบัติ ผูอํานวยการ กศน. อ. บางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
3. นางอัชราภรณ โควคชาภรณ หนว ยศกึ ษานิเทศก
4. นายกติ ติเกษม ใจช่ืน หนวยศกึ ษานเิ ทศก
5. ดร.รุงอรณุ ไสยโสภณ กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

ครัง้ ท่ี 2 การประชมุ ปฎบิ ตั กิ ารเขียนตน ฉบับแบบเรียน
ตามหลกั สูตรการศึกษาระบบระดบั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ระหวางวันท่ี 29 มิถุนายน – 3 กรกฎาคม 2552
ณ โรงแรมแกรนด เดอวลิ ล กรงุ เทพมหานคร

1. นางศริ ิพรรณ สายหงส ขาราชการบาํ นาญ
2. นางณัฐพร เชอื้ มหาวนั สถาบันการศึกษาและพัฒนาตอ เน่อื งสริ ินธร
3. นางวารณุ ี เผอื กจนั ทกึ สถาบนั การศึกษาและพัฒนาตอ เนือ่ งสริ นิ ธร
4. นางพชิ ญาภา ปติวรา กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

คร้ังท่ี 3 การประชมุ ปฎบิ ตั กิ ารบรรณธิการสื่อแบบเรยี น
ตามหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551

ระหวางวนั ท่ี 7 – 10 กนั ยายน 2552
ณ โรงแรมอทู องอินน จงหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

1. ดร.ทองอยู แกวไทรฮะ ทป่ี รกึ ษา สาํ นกั งาน กศน.
2. นายกัญจนโชติ สหพัฒนสมบตั ิ ผอู ํานวยการ กศน. อ.บางปะกง จงั หวัดฉะเชิงเทรา
3. นางอชั ราภรณ โคว คชาภรณ หนว ยศกึ ษานเิ ทศก
4. นายกติ ตเิ กษม ใจช่นื หนวยศกึ ษานเิ ทศก
5. ดร.รงุ อรุณ ไสยโสภณ กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

178 หนงั สือเรียนสาระทักษะการเรียนรู รายวิชาทกั ษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน

คร้งั ที่ 4 การประชุมปฎิบตั ิการบรรณาธกิ ารสอ่ื แบบเรยี น
ตามหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ระหวางวนั ที่ 12 – 15 มกราคม 2553
ณ โรงแรมอูท องอินน จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา

1. ดร.ทองอยู แกวไทรฮะ ทป่ี รึกษา สํานกั งาน กศน.
2. นางศิริพรรณ สายหงส ขาราชการบํานาญ
3. นายกญั จนโชติ สหพฒั นสมบัติ ผอู าํ นวยการ กศน. อ.บางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
4. นางอชั ราภรณ โควคชาภรณ หนวยศึกษานิเทศก
5. นายธวชั ชัย ใจชาญสุกจิ รักษาการในตําแหนง ผอู ํานวยการ
สํานักงาน กศน. จังหวดั สมทุ รสงคราม
6. นางอจั ฉรา ใจชาญสกุ ิจ สํานกั งาน กศน. จงั หวดั สมทุ รสงคราม
7. นายวทิ ยา แกวเวียงเดช สํานกั งาน กศน. จังหวัดชัยนาท
8. นางณัฐพร เช้อื มหาวัน สถาบันการศกึ ษาและพฒั นาตอเน่อื งสริ ินธร
9. นางพิชญาภา ปต วิ รา กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
10. ดร.รุงอรุณ ไสยโสภณ กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน

หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการเรียนรู รายวชิ าทกั ษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 179

คณะผูจัดทาํ

ทีป่ รึกษา จรี ะวุฒิ เลขาธกิ าร กศน.
จาํ นงบตุ ร รองเลขาธกิ าร กศน.
1. นายอภิชาติ บญุ เรอื ง รองเลขาธกิ าร กศน.
2. นายวิมล แกวไทรฮะ ทปี่ รกึ ษาดานการพัฒนาหลักสูตร สํานักงาน กศน.
3. นายประเสรฐิ อมิ่ สุวรรณ ผเู ชย่ี วชาญเฉพาะดา นการพฒั นาหลกั สตู ร
4. ดร.ทองอยู กลา รบ ผอู าํ นวยการกลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
5. ดร.ชัยยศ
6. นางพรทพิ ย

ยกราง / เรียบเรียง

1. บทท่ี 1 การเรียนรดู ว ยตนเอง

ดร.รงุ อรณุ ไสยโสภณ กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน

2. บทที่ 2 การใชแหลง เรยี นรู

ดร.รงุ อรณุ ไสยโสภณ กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

3. บทท่ี 3 การจัดการความรู

ดร.รงุ อรณุ ไสยโสภณ กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน

4. บทท่ี 4 คดิ เปน แกว ไทรฮะ ทปี่ รึกษา สาํ นักงาน กศน.
ดร.ทองอยู

5. บทท่ี 5 การวจิ ยั อยา งงาย

นางศิริพรรณ สายหงส ขาราชการบํานาญ
กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
นางพชิ ญาภา ปติวรา

บรรณาธกิ าร

1. บทท่ี 1 การเรียนรูดวยตนเอง

ดร.รุง อรุณ ไสยโสภณ กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน

2. บทที่ 2 การใชแหลง เรยี นรู

นายวทิ ยา แกวเวียงเดช สาํ นักงาน กศน. จงั หวดั ชัยนาท

3. บทที่ 3 การจดั การความรู

นางอัจฉรา ใจชาญสกุ ิจ สาํ นักงาน กศน. จงั หวัดสมทุ รสงคราม
สถาบนั การศกึ ษาและพฒั นาตอ เนือ่ งสิรินธร
นางณัฐพร เชือ้ มหาวัน

4. บทท่ี 4 คิดเปน แกวไทรฮะ ทป่ี รกึ ษา สาํ นักงาน กศน.
ดร.ทองอยู สหพัฒนสมบัติ ผูอํานวยการ กศน. อ.บางปะกง จังหวดั ฉะเชิงเทรา
นายกัญจนโชติ

5. บทท่ี 5 การวจิ ัยอยางงา ย

นางพรทิพย กลารบ กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
ขาราชการบํานาญ
นางศริ ิพรรณ สายหงส กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

นางพิชญาภา ปต วิ รา

180 หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน

คณะทาํ งาน จนั ทนสคุ นธ กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
มัน่ มะโน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
1. นายววิ ฒั นไชย ศรีรตั นศลิ ป กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
2. นายสุรพงษ ปท มานนท กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
3. นายศภุ โชค ปตวิ รา กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น เลขานกุ าร
4. นางสาววรรณพร เหลืองจิตวฒั นา กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน ผูชวยเลขานกุ าร
5. นางพชิ ญาภา
6. นางสาว เพชรินทร คะเนสม กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
เหลอื งจิตวัฒนา กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
ผูพมิ พตน ฉบับ กววี งษพพิ ฒั น กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
ธรรมธิษา กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
1. นางสาวปยวดี บา นชี กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
2. นางสาวเพชรนิ ทร
3. นางสาวกรวรรณ
4. นางสาวชาลินี
5. นางสาวอลศิ รา

หนังสือเรียนสาระทักษะการเรยี นรู รายวชิ าทกั ษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน 181


Click to View FlipBook Version