The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น (ทร21001)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookchon, 2020-05-27 03:02:17

ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น (ทร21001)

วิชาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น (ทร21001)

Keywords: ทักษะการเรียนรู้,ทร21001

บทที่ 3

การจัดการความรู

สาระสําคัญ

การจดั การความรเู ปน เครอ่ื งมือของการพฒั นาคณุ ภาพของงาน หรอื สรางนวัตกรรมในการทํางาน
การจดั การความรูจึงเปนการจดั การกบั ความรแู ละประสบการณท่ีมอี ยใู นตวั คน และความรูเ ดน ชดั นํามา
แบงปนใหเกิดประโยชนตอตนเองและองคกร ดวยการผสมผสานความสามารถของคนเขาดวยกันอยาง
เหมาะสม มเี ปาหมายเพือ่ การพฒั นางาน พัฒนาคน และพัฒนาองคก รใหเ ปน องคก รแหงการเรยี นรู

ผลการเรยี นรูทค่ี าดหวัง

1. วิเคราะหผลทีเ่ กดิ ข้ึนของขอบขายความรู ตัดสินคุณคา กาํ หนดแนวทางพฒั นา
2. เหน็ ความสัมพนั ธของกระบวนการจดั การความรู กบั การนาํ ไปใชใ นการพฒั นาชมุ ชนปฏิบตั ิการ
3. ปฏบิ ตั ติ ามกระบวนการจัดการความรไู ดอ ยา งเปนระบบ

หวั ขอบทเรยี น

เร่อื งท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญ และหลกั การในการจดั การความรู
เร่ืองท่ี 2 รปู แบบและกระบวนการในการจดั การความรู
เรอื่ งท่ี 3 การรวมกลมุ เพือ่ ตอ ยอดความรู
เรอื่ งที่ 4 การฝกทกั ษะและกระบวนการจัดการความรู

หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการเรียนรู รายวชิ าทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 91

แบบทดสอบกอนเรยี น

แบบทดสอบเรื่องการจัดการความรู

คําชแ้ี จง จงกาบาท x เ ลอื กขอ ที่ทา นคิดวาถกู ตอ งทส่ี ดุ
1. การจัดการความรเู รยี กส้ัน ๆ วาอะไร
ก. MK
ข. KM
ค. LO
ง. QA
2. เปาหมายของการจดั การความรคู อื อะไร
ก. พฒั นาคน
ข. พัฒนางาน
ค. พฒั นาองคก ร
ง. ถูกทุกขอ
3. ขอ ใดถกู ตอ งมากทสี่ ดุ
ก. การจดั การความรหู ากไมท าํ จะไมร ู
ข. การจัดการความรคู ือการจัดการความรขู องผเู ชีย่ วชาญ
ค. การจัดการความรูถือเปน เปาหมายของการทาํ งาน
ง. การจดั การความรคู อื การจัดการความรูที่มใี นเอกสาร ตาํ รา มาจดั ใหเ ปนระบบ
4. ขน้ั สงู สุดของการเรยี นรูคอื อะไร
ก. ปญ ญา
ข. สารสนเทศ
ค. ขอ มลู
ง. ความรู
5. ชมุ ชนนกั ปฏิบตั ิ (CoP) คอื อะไร
ก. การจดั การความรู
ข. เปาหมายของการจัดการความรู
ค. วธิ กี ารหนง่ึ ของการจัดการความรู
ง. แนวปฏบิ ัตขิ องการจัดการความรู

92 หนงั สือเรียนสาระทักษะการเรียนรู รายวิชาทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน

6. รูปแบบการจัดการความรูตามโมเดลปลาทู สว น “ทองปลา” หมายถึงอะไร
ก. การกาํ หนดเปาหมาย
ข. การแลกเปลีย่ นเรยี นรู
ค. การจดั เก็บเปน คลงั ความรู
ง. ความรทู ีช่ ัดแจง

7. ผูทที่ ําหนาท่กี ระตนุ ใหเ กิดการแลกเปลยี่ นเรยี นรูคอื ใคร
ก. คุณเออ้ื
ข. คณุ อาํ นวย
ค. คุณกจิ
ง. คุณลิขิต

8. สารสนเทศเพอื่ เผยแพรค วามรใู นปจ จบุ ันมอี ะไรบา ง
ก. เอกสาร
ข. วซี ีดี
ค. เวบ็ ไซต
ง. ถูกทุกขอ

9. การจัดการความรดู ว ยตนเองกบั ชมุ ชนแหง การเรยี นรมู คี วามเก่ยี วของกนั หรือไม อยา งไร
ก. เกี่ยวขอ งกัน เพราะการจัดการความรใู นบคุ คลหลายๆคน รวมกนั เปนชมุ ชน
เรยี กวา เปน ชมุ ชนแหงการเรยี นรู
ข. เกยี่ วของกนั เพราะการจดั การความรใู หกบั ตนเองกเ็ หมือนกบั จัดการความรใู หชมุ ชนดว ย
ค. ไมเก่ยี วขอ งกัน เพราะจัดการความรดู ว ยตนเองเปนปจเจกบุคคล สว นชมุ ชนแหง
การเรยี นรเู ปน เรื่องของชมุ ชน
ง. ไมเก่ยี วขอ งกนั เพราะชุมชนแหงการเรยี นรูเปน การเรยี นรูเฉพาะกลุม

10. ปจ จยั ทีท่ ําใหการจดั การความรูการรวมกลุมปฏบิ ัตกิ ารประสบผลสาํ เรจ็ คืออะไร
ก. พฤติกรรมของคนในกลมุ
ข. ผูนํากลุม
ค. การนําไปใช
ง. ถูกทุกขอ

เฉลย 1) ข 2) ง 3) ก 4) ก 5) ค 6) ข 7) ข 8) ง 9) ก 10) ง

หนงั สือเรียนสาระทักษะการเรยี นรู รายวิชาทกั ษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน 93

เร่อื งท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญ และหลักการในการจดั การความรู
ความหมายของการจัดการความรู

การจัดการ (Management) หมายถึง กระบวนการในการเขา ถึงความรู และการถายทอด
ความรูทีต่ อ งดําเนนิ การรว มกันกับผปู ฏบิ ตั ิงาน ซงึ่ อาจเร่มิ ตนจากการบง ช้คี วามรทู ต่ี อ งการใช การสรา ง
และแสวงหาความรู การประมวลเพอื่ กล่นั กรองความรู การจดั การความรใู หเปนระบบ การสรางชอ งทาง
เพอื่ การส่อื สารกบั ผเู กี่ยวของ การแลกเปลีย่ นความรู การจัดการสมยั ใหมใ ชก ระบวนการทางปญ ญาเปนส่งิ
สาํ คญั ในการคดิ ตัดสินใจ และสงผลใหเ กิดการกระทาํ การจัดการจงึ เนนไปที่การปฏบิ ตั ิ

ความรู (Knowledge) หมายถึง ความรูที่ควบคูก ับการปฏิบัติ ซึง่ ในการปฏบิ ตั จิ ําเปน ตอ งใช
ความรูท่หี ลากหลายสาขาวชิ ามาเชอ่ื มโยงบรู ณาการเพอ่ื การคดิ และตดั สินใจ และลงมือปฏิบัติ จดุ กาํ เนดิ
ของความรูคือสมองของคน เปนความรทู ีฝ่ ง ลึกอยูในสมอง ชี้แจงออกมาเปนถอ ยคําหรือตัวอักษรไดยาก
ความรนู ัน้ เมอื่ นาํ ไปใชจะไมหมดไป แตจะยิง่ เกดิ ความรเู พม่ิ พนู มากขึ้นอยใู นสมองของผูปฏบิ ตั ิ

ในยคุ แรกๆ มองวา ความรู หรอื ทนุ ทางปญ ญา มาจาก การจัดระบบและการตคี วามสารสนเทศ
ซ่ึงสารสนเทศก็มาจากการประมวลขอมลู ขั้นของการเรียนรู เปรยี บดังปร ะมิดตามรูปแบบนี้

94 หนงั สือเรยี นสาระทักษะการเรียนรู รายวชิ าทักษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน

ความรแู บงไดเปน 2 ประเภท คอื

1. ความรเู ดนชดั (Explicit Knowledge) เปนความรูทเ่ี ปน เอกสาร ตาํ รา คูมือปฏบิ ัตงิ าน สอ่ื
ตา งๆ กฎเกณฑ กตกิ า ขอตกลง ตารางการทํางาน บนั ทึกจากการทํางาน ความรูเ ดนชัดจึงมชี อ่ื เรียกอีก
อยางหนึ่งวา “ความรูใ นกระดาษ”

2. ความรซู อ นเรน/ ความรูฝงลกึ (Tacit Knowledge) เปน ความรูท ่แี ฝงอยูในตวั คน พัฒนา
เปน ภูมิปญญา ฝงอยใู นความคดิ ความเชอื่ คา นิยม ทีค่ นไดม าจากประสบการณส งั่ สมมานาน หรอื เปน
พรสวรรคอันเปนความสามารถพิเศษเฉพาะตวั ที่มมี าแตก าํ เนิด หรอื เรียกอกี อยางหนงึ่ วา “ความรูใ นคน”
แลกเปลยี่ นความรูกนั ไดยาก ไมส ามารถแลกเปลี่ยนมาเปน ความรูท่เี ปด เผยไดท้งั หมด ตอ งเกิดจากการ
เรยี นรูรว มกนั ผา นการเปนชุมชน เชน การสงั เกต การแลกเปล่ียนเรียนรรู ะหวา งการทํางาน

หากเปรยี บความรเู หมือนภูเขาน้ําแข็ง จะมลี กั ษณะดังนี้

ความรเู ดน ชดั

ความรฝู ง ลึก

สว นของน้ําแขง็ ท่ลี อยพนนํ้า เปรยี บเหมือนความรูท่เี ดน ชัด คือความรูท ีอ่ ยูในเอกสาร ตํารา ซีดี
วีดโี อ หรือสือ่ อน่ื ๆ ทีจ่ บั ตองได ความรูนม้ี ีเพียง 20 เปอรเซ็น

สวนของนาํ้ แข็งท่จี มอยูใตน ํา้ เปรยี บเหมือนความรูที่ยังฝงลึกอยูในสมองคน มคี วามรจู ากสง่ิ ท่ี
ตนเองไดปฏบิ ตั ิ ไมส ามารถถายทอดออกมาเปน ตวั หนังสอื ใหคนอ่นื ไดร ับรูได ความรูท ่ฝี งลึกในตวั คนนม้ี ี
ประมาณ 80 เปอรเ ซน็

หนังสือเรยี นสาระทักษะการเรยี นรู รายวชิ าทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน 95

ความรู 2 ยคุ

ความรูยคุ ท่ี 1 เนน ความรูในกระดาษ เนนความรูของคนสวนนอย ความรทู ส่ี รา งขนึ้ โดยนัก
วชิ าการที่มีความชํานาญเชี่ยวชาญเฉพาะดาน เรามกั เรียกคนเหลา น้นั วา “ผูมีปญญา” ซง่ึ เชอื่ วา คนสวน
ใหญไมม คี วามรู ไมมีปญญา ไมส นใจที่จะใชค วามรูของคนเหลา นั้น โลกทัศนใ นยุคท่ี 1 เปน
โลกทัศนท ่คี บั แคบ

ความรยู คุ ท่ี 2 เปน ความรใู นคน หรอื อยใู นความสมั พนั ธร ะหวา งคน เปน การคน พบ “ภมู ปิ ญ ญา”
ทอ่ี ยใู นตวั คน ทุกคนมีความรเู พราะทกุ คนทาํ งาน ทกุ คนมีสมั พนั ธกบั ผอู ืน่ จึงยอ มมีความรทู ี่ฝงลึกในตัว
คนท่ีเกิดจากการทาํ งาน และการมคี วามสมั พนั ธกนั น้ัน เรียกวา “ความรอู นั เกิดจากประสบการณ” ซง่ึ
ความรยู ุคที่ 2 น้ี มีคณุ ประโยชน 2 ประการ คอื ประการแรก ทําใหเ ราเคารพซึ่งกนั และกนั วา ตา งก็มีความรู
ประการท่ี 2 ทาํ ใหหนว ยงานหรอื องคก รท่ีมีความเช่อื เชน นี้ สามารถใชศ กั ยภาพแฝงของทุกคนในองคกร
มาสรางผลงาน สรา งนวัตกรรมใหก ับองคกร ทาํ ใหองคก รมกี ารพัฒนามากขน้ึ

การจัดการความรู

การจดั การความรู (Knowledge Management) หมายถึง การจดั การกับความรแู ละประสบการณ
ท่ีมีอยใู นตวั คน และความรูเดน ชัด นาํ มาแบง ปน ใหเ กดิ ประโยชนต อตนเองและองคกร ดวยการผสมผสาน
ความสามารถของคนเขา ดวยกันอยางเหมาะสม มีเปาหมายเพื่อการพฒั นางาน พฒั นาคน และพฒั นา
องคก รใหเปน องคก รแหง การเรยี นรู

ในปจ จุบันและในอนาคต โลกจะปรับตวั เขา สูก ารเปนสังคมแหงการเรียนรู ซ่ึงความรกู ลายเปน
ปจจยั สาํ คัญในการพฒั นาคน ทาํ ใหคนจาํ เปน ตองสามารถแสวงหาความรู พัฒนาและสรา งองคความรู
อยา งตอ เนอ่ื ง เพือ่ นาํ พาตนเองสคู วามสําเร็จ และนําพาประเทศชาติไปสูการพัฒนา มีความเจรญิ กา วหนา
และสามารถแขง ขันกับตางประเทศได

คนทกุ คนมีการจัดการความรใู นตนเอง แตย ังไมเ ปน ระบบ การจัดการความรูเกิดขึ้นไดใ น
ครอบครวั ท่ีมกี ารเรียนรูตามอธั ยาศยั พอ แมสอนลูก ปูยา ตายาย ถา ยทอดความรแู ละภูมปิ ญญาใหแ ก
ลูกหลานในครอบครวั ทาํ กันมาหลายชัว่ อายุคน โดยใชวธิ ีธรรมชาติ เชน พูดคุย ส่ังสอน จดจํา ไมมี
กระบวนการท่ีเปน ระบบแตอยา งใด วธิ กี ารดงั กลาวถอื เปนการจัดการความรูรูปแบบหน่ึง แตอยา งไรกต็ าม
โลกในยคุ ปจจุบันมีการเปลีย่ นแปลงอยางรวดเรว็ ในดา นตาง ๆ การใชวิธีการจดั การความรแู บบธรรมชาติ
อาจกา วตามโลกไมท นั จงึ จําเปน ตองมีกระบวนการท่เี ปนระบบ เพ่อื ชวยใหองคกรสามารถทําใหบุคคล
ไดใ ชค วามรตู ามทตี่ อ งการไดท ันเวลา ซงึ่ เปนกระบวนการพฒั นาคนใหม ศี กั ยภาพ โดยการสรางและใช
ความรใู นการปฏบิ ัตงิ านใหเกดิ ผลสัมฤทธิ์ดขี ้ึนกวาเดิม การจดั การความรหู ากไมปฏิบตั ิจะไมเขา ใจเรอ่ื ง
การจดั การความรู น่ันคือ “ไมท าํ ไมร”ู การจดั การความรจู งึ เปนกจิ กรรมของนกั ปฏบิ ตั ิ กระบวนการ
จัดการความรูจึงมีลกั ษณะเปน วงจรเรยี นรูที่ตอเนื่องสมํา่ เสมอ เปาหมายคอื การพัฒนางาน และพฒั นาคน
การจัดการความรทู ี่แทจ ริง เปน การจัดการความรูโดยกลุม ผปู ฏบิ ตั ิงาน เปนการดําเนนิ กจิ กรรมรว มกันใน
กลุมผูท าํ งาน เพือ่ ชวยกันดึง “ความรูในคน” และควาความรูภายนอกมาใชใ นการทาํ งาน ทาํ ใหไ ดร ับ
ความรมู ากขน้ึ ซึง่ ถอื เปนการยกระดบั ความรแู ละนาํ ความรทู ่ไี ดรับการยกระดบั ไปใชในการทาํ งานเปนวงจร

96 หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการเรยี นรู รายวชิ าทักษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน

ตอเนอื่ งไมจ บส้นิ การจดั การความรจู ึงตอ งรว มกันมอื กันทําหลายคน ความคิดเหน็ ทแ่ี ตกตางในแตล ะ
บุคคลจะกอใหเ กิดการสรา งสรรคด วยการใชก ระบวนการแลกเปลยี่ นเรยี นรู มีปณธิ านมุง มนั่ ท่ีจะทํางานให
ประสบผลสาํ เร็จ ดขี น้ึ กวา เดิม เม่ือดําเนินการจัดการความรแู ลวจะเกดิ นวตั กรรมในการทาํ งาน นั่นคือเกิด
การตอ ยอดความรู และมอี งคความรเู ฉพาะเพ่อื ใชในการปฏบิ ตั งิ านของตนเอง การจดั การความรมู ิใชก าร
เอาความรูท ม่ี ีอยูใ นตําราหรอื จากผูเ ชีย่ วชาญมากองรวมกนั และจดั หมวดหมู เผยแพร แตเปนการดงึ เอา
ความรูเฉพาะสว นท่ใี ชใ นงานมาจดั การใหเกิดประโยชนกบั ตนเอง กลุม หรอื ชมุ ชน

การจัดการความรูเปนการเรียนรูจากการปฏิบัติ นําผลจากการปฏิบัติมาแลกเปลี่ยนเรียนรูกัน
เสริมพลังของการแลกเปล่ียนเรียนรดู ว ยการช่ืนชม ทําใหเ ปน กระบวนการแหงความสุข ความภูมิใจ และ
การเคารพเหน็ คุณคาซง่ึ กันและกัน ทักษะเหลา นนี้ าํ ไปสูก ารสรางนิสัยคดิ บวกทําบวก มองโลกในแงด ี และ
สรางวัฒนธรรมในองคกรทผ่ี ูค นสัมพันธกันดว ยเรอื่ งราวดี ๆ ดวยการแบงปน ความรู และแลกเปล่ยี นความ
รจู ากประสบการณซงึ่ กนั และกัน โดยที่กิจกรรมเหลาน้สี อดคลองแทรกอยใู นการทํางานประจําทกุ เร่ือง ทุก
เวลา.....

ศ.นพ.วิจารณ พานิช

หนังสอื เรยี นสาระทักษะการเรียนรู รายวชิ าทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน 97

ความสําคญั ของการจดั การความรู

หวั ใจของการจดั การความรคู ือ การจดั การความรูท่อี ยใู นตวั บคุ คล โดยเฉพาะบุคคลท่ีมี
ประสบการณในการปฏบิ ตั งิ านจนงานประสบผลสาํ เร็จ กระบวนการแลกเปลยี่ นเรยี นรรู ะหวา ง คนกบั คน
หรือกลุมกับกลุม จะกอใหเ กิดการยกระดบั ความรทู สี่ งผลตอเปา หมายของการทํางานนั่นคือเกดิ การพฒั นา
ประสทิ ธภิ าพของงาน คนเกดิ การพฒั นา และสง ผลตอ เนือ่ งไปถงึ องคกรเปนองคกรแหง การเรยี นรู ผลท่ี
เกิดขึ้นกบั การจัดการความรูจ งึ ถือวา มีความสาํ คญั ตอ การพัฒนาบคุ ลากรในองคกร ซงึ่ ประโยชนทจี่ ะเกดิ ขึ้น
ตอ บคุ คล กลมุ หรอื องคกร มีอยางนอย 3 ประการ คือ

1. ผลสมั ฤทธขิ์ องงาน หากมกี ารจัดการความรูในตนเอง หรือในหนว ยงาน องคก ร จะเกิดผล
สําเร็จท่ีรวดเรว็ ยิ่งข้นึ เน่อื งจากความรเู พื่อใชในการพฒั นางานน้ันเปน ความรูทไี่ ดจากผูท ี่ผานการปฏิบัติ
โดยตรง จงึ สามารถนํามาใชใ นการพัฒนางานไดท นั ที และเกิดนวตั กรรมใหมใ นการทาํ งาน ทง้ั ผลงานท่ีเกดิ
ข้นึ ใหม และวฒั นธรรมการทํางานรว มกนั ของคนในองคก รท่มี ีความเอื้ออาทรตอกนั

2. บคุ ลากร การจดั การความรูในตนเองจะสง ผลใหค นในองคก รเกดิ การพัฒนาตนเอง และสง ผล
รวมถึงองคก ร กระบวนการเรยี นรจู ากการแลกเปล่ียนความรูรวมกนั จะทําใหบคุ ลากรเกิดความมั่นใจใน
ตนเอง เกดิ ความเปน ชุมชนในหมูเพอื่ นรว มงาน บุคลากรเปนบคุ คลเรยี นรูและสง ผลใหอ งคกรเปน องคก ร
แหง การเรยี นรอู ีกดว ย

3. ยกระดบั ความรูข องบคุ ลากรและองคกร การแลกเปลยี่ นเรียนรู จะทําใหบุคลากรมีความรเู พิ่ม
ข้ึนจากเดมิ เหน็ แนวทางในการพัฒนางานท่ชี ัดเจนมากข้ึน และเมื่อนาํ ไปปฏบิ ัติจะทําใหบ คุ คลและองคก ร
มีองคความรูเพอ่ื ใชในการปฏบิ ตั งิ านในเร่ืองท่ีสามารถนําไปปฏบิ ัตไิ ด มีองคค วามรูทจี่ ําเปน ตอ การใชง าน
และจัดระบบใหอ ยูในสภาพพรอมใช

การทีเ่ รามกี ารจัดการความรูในตวั เอง จะพบวา ความรูในตัวเราท่คี ิดวา เรามเี ยอะแลว นั้น จรงิ ๆ
แลวยงั นอ ยมากเม่อื เทยี บกบั บุคคลอ่นื และหากเรามีการแบงปน แลกเปล่ียนความรกู บั บุคคลอน่ื จะพบวา
มีความรูบางอยา งเกดิ ขนึ้ โดยทเี่ ราคาดไมถงึ และหากเราเหน็ แนวทางมีความรแู ลวไมนําไปปฏบิ ัติ ความ
รนู ั้นกจ็ ะไมมคี ณุ คาอะไรเลย หากนําความรนู ้ันไปแลกเปล่ียน และนาํ ไปสกู ารปฏบิ ตั ทิ ่เี ปน วงจรตอเนื่อง
ไมร จู บ จะเกดิ ความรเู พิม่ ขน้ึ อยางมาก หรือทเี่ รียกวา “ยง่ิ ให ย่งิ ไดรับ”

98 หนังสอื เรียนสาระทักษะการเรียนรู รายวชิ าทักษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน

หลกั การของการจัดการความรู

การจัดการความรู ไมมสี ูตรสําเรจ็ ในวิธีการของการจดั การเพื่อใหบรรลุเปา หมายในเรอ่ื งใดเรอ่ื ง
หนงึ่ แตข ัน้ อยกู บั ปณิธานความมุงมั่นท่ีจะทาํ งานของตนหรอื กิจกรรมของกลุมตนใหด ขี ึ้นกวา เดิม แลวใช
วธิ กี ารจัดการความรูเปนเคร่ืองมอื หน่ึงในการพัฒนางานหรอื สรา งนวัตกรรมในงาน มหี ลกั การสาํ คัญ 4
ประการ ดงั นี้

1. ใหคนหลากหลายทกั ษะ หลากหลายวิธีคิด ทํางานรวมกันอยางสรา งสรรค การจดั การ
ความรูท่ีมีพลงั ตอ งทาํ โดยคนทีม่ พี ืน้ ฐานแตกตา งกัน มคี วามเชอื่ หรอื วธิ คี ิดแตกตางกัน (แตมจี ุดรวมพลงั
คือ มเี ปาหมายอยทู ง่ี านดวยกัน) ถากลมุ ท่ดี าํ เนินการจดั การความรปู ระกอบดวยคนทีค่ ิดเหมือนๆ กัน การ
จดั การความรจู ะไมม ีพลังในการจัดการความรู ความแตกตา งหลากหลาย มคี ุณคามากกวาความเหมอื น

2. รว มกันพฒั นาวธิ ีการทาํ งานในรูปแบบใหม ๆ เพื่อบรรลุประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลที่
กาํ หนดไว ประสทิ ธิผลประกอบดวยองคประกอบ 4 ประการ คือ

2.1 การตอบสนองความตอ งการ ซึ่งอาจเปนความตอ งการของตนเอง ผรู ับบริการ ความตอง
การของสังคม หรือความตอ งการทกี่ ําหนดโดยผูนาํ องคกร

2.2 นวัตกรรม ซึง่ อาจเปน นวตั กรรมดานผลิตภัณฑใ หม ๆ หรือวธิ ีการใหม ๆ ก็ได
2.3 ขดี ความสามารถของบุคคล และขององคกร
2.4 ประสิทธิภาพในการทาํ งาน
3. ทดลองและการเรยี นรู เนื่องจากกจิ กรรมการจัดการความรเู ปนกจิ กรรมทีส่ รางสรรค จึงตอ ง
ทดลองทําเพียงนอ ย ๆ ซ่งึ ถาลม เหลวก็กอ ผลเสยี หายไมม ากนัก ถาไดผ ลไมดีกย็ กเลกิ ความคิดนน้ั ถา
ไดผ ลดจี งึ ขยายการทดลองคือปฏิบตั มิ ากขึ้น จนในทสี่ ุดขยายเปน วธิ ีทํางานแบบใหม หรอื ทเ่ี รียกวา ไดวิธี
การปฏิบัติทส่ี ง ผลเปน เลิศ (best practice) ใหมน่นั เอง
4. นาํ เขาความรูจ ากภายนอกอยางเหมาะสม โดยตองถอื วาความรูจากภายนอกยงั เปน ความรูท ี่
“ดบิ ” อยู ตองเอามาทาํ ให “สกุ ” ใหพ รอ มใชตามสภาพของเรา โดยการเตมิ ความรูท ่ีมีตามสภาพของเรา
ลงไป จึงจะเกิดความรูท ่ีเหมาะสมกับทีเ่ ราตองการใช
หลกั การของการจดั การความรู จงึ มุง เนนไปท่กี ารจดั การที่มปี ระสทิ ธภิ าพ เพราะการจัดการ
ความรเู ปน เคร่อื งมือระดมความรูในคน และความรใู นกระดาษทัง้ ทีเ่ ปนความรจู ากภายนอก และความ
รูของกลุม ผูร วมงาน เอามาใชแ ละยกระดับความรูของบคุ คล ของผูรว มงานและขององคกร ทําใหงานมี
คุณภาพสงู ข้นึ คนเปน บุคคลเรยี นรูแ ละองคกรเปน องคกรแหง การเรียนรู การจัดการความรูจ ึงเปนทกั ษะ
สบิ สว น เปน ความรูเชิงทฤษฎีเพยี งสว นเดียว การจัดการความรจู งึ อยใู นลักษณะ “ไมทาํ -ไมร ”ู

หนังสือเรียนสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าทักษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน 99

กิจกรรม

กิจกรรมท่ี 1 ใหอ ธิบายความหมายของ “การจัดการความร”ู มาพอสงั เขป
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

กจิ กรรมท่ี 2 ใหอ ธบิ ายความสําคัญของ “การจัดการความรู” มาพอสังเขป
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

กิจกรรมท่ี 3 ใหอธิบายหลกั การของ “การจดั การความรู” มาพอสังเขป
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

100 หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรียนรู รายวชิ าทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน

เรอ่ื งที่ 2 รปู แบบและกระบวนการในการจัดการความรู

1. รปู แบบการจดั การความรู

การจดั การความรูนัน้ มีหลายรปู แบบ หรอื ทเี่ รยี กกันวา “โมเดล” มหี ลากหลายโมเดล หัวใจ
ของการจัดการความรูคือ การจดั การความรทู ่ีอยูใ นตัวคนในฐานะผูป ฏิบตั ิและเปน ผมู ีความรู การจดั การ
ความรูท ท่ี าํ ใหคนเคารพในศกั ดิ์ศรขี องคนอื่น การจัดการความรนู อกจากการจัดการความรูในตนเองเพ่ือให
เกดิ การพัฒนางานและพัฒนาตนเองแลว ยงั มองรวมถงึ การจัดการความรูในกลุมหรือองคกรดว ยรูปแบบ
การจดั การความรูจ ึงอยูบนพน้ื ฐานของความเช่อื ท่วี า ทุกคนมคี วามรู ปฏิบตั ิในระดบั ความชํานาญทีต่ า งกัน
เคารพความรูท่ีอยใู นตวั คน

ดร.ประพนธ ผาสุกยืด ไดค ดิ คนรูปแบบการจัดการความรไู ว 2 รูปแบบ คอื รูปแบบปลาทูหรอื
ท่เี รยี กวา “โมเดลปลาท”ู และรูปแบบปลาตะเพียน หรือทเ่ี รยี กวา “โมเดลปลาตะเพียน” แสดงใหเห็น
ถึงรูปแบบการจัดการความรูใ นภาพรวมของการจัดการทคี่ รอบคลมุ ท้ังความรูทช่ี ัดแจง และความรูท ่ฝี งลึก
ดงั น้ี

โมเดลปลาทู
เพอ่ื ใหการจัดการความรู หรือ KM เปนเรื่องทีเ่ ขาใจงา ย จึงกาํ หนดใหก ารจดั การความรเู ปรยี บ
เหมือนกบั ปลาทูตวั หนงึ่ มสี ิ่งทีต่ องดําเนนิ การจัดการความรูอยู 3 สวน โดยกาํ หนดวา สว นหัว คือการ
กาํ หนดเปาหมายของการจดั การความรูท่ีชัดเจน สว นตวั ปลาคือการแลกเปล่ียนความรซู ึ่งกันและกัน และ
สวนหางปลาคอื ความรูท่ีไดร บั จากการแลกเปลีย่ นเรยี นรู
รปู แบบการจัดการความรูต าม “โมเดลปลาท”ู

หนงั สือเรยี นสาระทักษะการเรียนรู รายวิชาทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน 101

สว นที่ 1 “หัวปลา” หมายถงึ “Knowledge Vision” หรอื KV คือเปาหมายของการจดั การความรู
ผูใ ชต อ งรูวา จะจัดการความรูเพอ่ื บรรลเุ ปาหมายอะไร เกยี่ วของหรอื สอดคลอ งกับวิสัยทัศน พันธกจิ
และยุทธศาสตรขององคกรอยางไร เชน จัดการความรเู พอื่ เพ่มิ ประสิทธิภาพของงาน จัดการความรูเพ่ือ
พฒั นาทกั ษะชีวติ ดา นยาเสพตดิ จดั การความรูเ พ่อื พัฒนาทกั ษะชวี ิตดานสงิ่ แวดลอ ม จัดการความรเู พือ่
พฒั นาทกั ษะชวี ติ ดานชวี ติ และทรพั ยสนิ จัดการความรูเพอ่ื ฟน ฟขู นบธรรมเนยี มประเพณดี ้งั เดมิ ของคนใน
ชมุ ชน เปน ตน

สวนท่ี 2 “ตัวปลา” หมายถึง “Knowledge Sharing” หรอื KS เปน การแลกเปลี่ยนเรยี นรหู รอื
การแบงปน ความรทู ฝ่ี งลกึ ในตวั คนผปู ฏิบัติ เนน การแลกเปล่ยี นวิธีการทํางานท่ีประสบผลสาํ เรจ็ ไมเ นน ที่
ปญ หา เครือ่ งมือในการแลกเปลย่ี นเรียนรูมีหลากหลายแบบ อาทิ การเลา เรอ่ื ง การสนทนาเชิงลกึ การ
ชนื่ ชมหรอื การสนทนาในเชงิ บวก เพ่อื นชวยเพอื่ น การทบทวนการปฏิบัติงาน การถอดบทเรียน การถอด
องคค วามรู

สวนท่ี 3 “หางปลา” หมายถงึ “knowledge Assets” หรอื KA เปนขมุ ความรทู ี่ไดจากการแลก
เปลี่ยนเรียนรู มเี ครอ่ื งมอื ในการจัดเก็บความรทู ่ีมีชีวิตไมหยุดนิ่ง คอื นอกจากจดั เก็บความรูแลว ยังงาย
ในการนําความรอู อกมาใชจ ริง งา ยในการนําความรอู อกมาตอยอด และงา ยในการปรับขอ มลู ไมใหล าสมัย
สวนน้จี ึงไมใ ชสว นที่มีหนา ทเ่ี กบ็ ขอมูลไวเ ฉยๆ ไมใ ชห องสมดุ สาํ หรบั เก็บสะสมขอมลู ทีน่ าํ ไปใชจ รงิ ไดย าก
ดงั นัน้ เทคโนโลยกี ารสอื่ สารและสารสนเทศ จึงเปนเครอื่ งมอื จัดเก็บความรูอ ันทรงพลงั ยิ่งในกระบวนการ
จัดการความรู
ตวั อยา งการจัดการความรูเรอ่ื ง “พัฒนากลุม วสิ าหกิจชุมชน” ในรปู แบบปลาทู

102 หนงั สือเรียนสาระทักษะการเรียนรู รายวิชาทักษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน

โมเดลปลาตะเพยี น

แมป ลา คือ เปาหมายใหญ

ลกู ปลา คือ เปา หมายยอ ย
พฒั นาไปในทิศทางเดยี วกบั เปา
หมายใหญ

จากโมเดล“ปลาท”ู ตวั เดยี วมาสโู มเดล“ปลาตะเพยี น” ทเ่ี ปน ฝงู โดยเปรยี บแมป ลา“ปลาตวั ใหญ”
ไดกับวิสยั ทศั น พนั ธกจิ ขององคกรใหญ ในขณะทีป่ ลาตวั เล็กหลาย ๆ ตัว เปรียบไดก ับเปาหมายของ
การจดั การความรูท่ตี อ งไปตอบสนองเปา หมายใหญขององคก ร จงึ เปนปลาท้ังฝงู เหมอื น “โมบายปลา
ตะเพยี น” ของเลนเด็กไทยสมัยโบราณท่ผี ใู หญส านเอาไวแ ขวนเหนือเปลเดก็ เปนฝูงปลาท่หี นั หนาไปใน
ทิศทางเดยี วกนั และมีความเพยี รพยายามท่จี ะวายไปในกระแสน้าํ ท่เี ปลีย่ นแปลงอยตู ลอดเวลา

ปลาใหญอาจเปรียบเหมอื นการพัฒนาอาชีพตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ในชมุ ชน
ซ่ึงการพฒั นาอาชพี ดังกลาว ตอ งมีการแกป ญ หาและพฒั นารวมกนั ไปทง้ั ระบบเกิดกลุมตา งๆ ข้ึนในชมุ ชน
เพ่อื การเรียนรูรว มกนั ทง้ั การทาํ บัญชีครัวเรือน การทําเกษตรอินทรยี  การทาํ ปยุ หมกั การเลี้ยงปลา การ
เล้ยี งกบ การแปรรปู ผลิตภัณฑเ พอ่ื ใชในครอบครัวหรือจําหนา ยเพอื่ เพม่ิ รายได เปนตน เหลา น้ถี อื เปน ปลา
ตวั เล็ก หากการแกปญหาที่ปลาตวั เล็กประสบผลสําเร็จ จะสง ผลใหป ลาใหญห รือเปา หมายในระดบั ชุมชน
ประสบผลสาํ เร็จดว ยเชน น่นั คอื ปลาวายไปขา งหนา อยา งพรอ มเพรยี งกัน

ทส่ี ําคญั ปลาแตละตวั ไมจาํ เปนตองมีรปู รางและขนาดเหมอื นกัน เพราะการจดั การความรขู อง
แตละเรอ่ื ง มสี ภาพของความยากงา ยในการแกป ญ หาทีแ่ ตกตางกนั รูปแบบของการจดั การความรูของแตล ะ
หนว ยยอ ยจงึ สามารถสรา งสรรค ปรับใหเขา กบั แตละท่ีไดอ ยา งเหมาะสม ปลาบางตวั อาจมที องใหญ เพราะ
อาจมีสว นของการแลกเปลีย่ นเรยี นรูมาก บางตวั อาจเปนปลาทห่ี างใหญเดนในเรอื่ งของการจัดระบบคลงั
ความรเู พื่อใชในการปฏบิ ตั มิ าก แตท ุกตวั ตอ งมีหัวและตาที่มองเหน็ เปาหมายทจ่ี ะไปอยางชัดเจน

หนังสอื เรียนสาระทักษะการเรียนรู รายวชิ าทกั ษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน 103

วิสาหกจิ ชุมชน บานทุงรวงทอง

กลุมเกษตรอินทรีย
กลมุ เล้ยี งหมูหลมุ

กลุมสจั จะออมทรพั ย กลุมเล้ียงปลา เลย้ี งกบ
กลุม รา นคาชมุ ชน

การจัดการความรไู ดใ หความสาํ คัญกบั การเรยี นรูท ี่เกิดจากการปฏิบัตจิ ริง เปน การเรยี นรใู นทกุ ข้นั
ตอนของการทาํ งาน เชน กอ นเร่มิ งานจะตอ งมกี ารศกึ ษาทําความเขา ใจในสิง่ ท่ีกาํ กลงั จะทาํ จะเปน การ
เรียนรูดวยตัวเองหรอื อาศยั ความชวยเหลอื จากเพ่อื นรว มงาน มีการศึกษาวธิ กี ารและเทคนคิ ตาง ๆ ทใี่ ช
ไดผ ล พรอ มทง้ั คนหาเหตุผลดวยวา เปน เพราะอะไร และจะสามารถนําสิง่ ที่ไดเรยี นรูนนั้ มาใชง านท่กี าํ ลงั
จะทํานไี้ ดอยางไร ในระหวางท่ที าํ งานอยูเชน กัน จะตอ งมีการทบทวนการทาํ งานอยตู ลอดเวลา เรียกไดว า
เปน การเรียนรทู ่ไี ดจ ากการทบทวนกจิ กรรมยอ ยในทกุ ๆ ขัน้ ตอน หมนั่ ตรวจสอบอยเู สมอวาจดุ มุง หมาย
ของงานทท่ี ําอยนู คี้ ืออะไร กาํ ลงั เดินไปถกู ทางหรอื ไมเพราะเหตุใด ปญหาคืออะไร จะตอ งทาํ อะไรให
แตกตางไปจากเดิมหรือไม และนอกจากนั้นเมอื่ เสร็จส้นิ การทํางานหรอื เมื่อจบโครงการ กจ็ ะตองมกี าร
ทบทวนสงิ่ ตาง ๆ ที่ไดม าแลววามีอะไรบา งท่ที ําไดดี มีอะไรบางท่ตี อ งปรบั ปรุงแกไขหรอื รบั ไวเ ปนบทเรยี น
ซงึ่ การเรียนรูตามรูปแบบปลาทูน้ี ถือเปน หวั ใจสําคญั ของกระบวนการเรยี นรทู ่เี ปน วงจรอยสู ว นกลางของรูป
แบบการจดั การความรูน่นั เอง

104 หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าทักษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน

กระบวนการจดั การความรู

กระบวนการจดั การความรู เปน กระบวนการแบบหนง่ึ ทจ่ี ะชว ยใหอ งคก รเขา ถงึ ขน้ั ตอน ทท่ี าํ ใหเ กดิ
การจัดการความรู หรอื พฒั นาการของความรู ท่ีจะเกดิ ข้นึ ภายในองคกร มขี ้ันตอน 7 ข้ันตอน ดงั น้ี

1. การบงชคี้ วามรู เปนการพจิ ารณาวา เปาหมายการทาํ งานของเราคอื อะไร และเพอ่ื ใหบรรลุ
เปาหมายเราจาํ ตอ งรอู ะไร ขณะน้ีเรามีความรูอะไร อยูในรปู แบบใด อยกู ับใคร

2. การสรา งและแสวงหาความรู เปนการจัดบรรยากาศและวัฒนธรรมการทาํ งานของคนใน
องคก รเพือ่ เอ้อื ใหค นมคี วามกระตือรือรนในการแลกเปล่ยี นความรูซ ึ่งกนั และกนั ซงึ่ จะกอ ใหเกิดการสราง
ความรูใหมเพ่ือใชในการพัฒนาอยูตลอดเวลา

3. การจดั การความรูใหเ ปนระบบ เปน การจดั ทําสารบญั และจดั เก็บความรปู ระเภทตา ง ๆ เพอ่ื
ใหก ารเกบ็ รวบรวมและการคนหาความรู นํามาใชไดง า ยและรวดเรว็

4. การประมวลและกลนั่ กรองความรู เปน การประมวลความรใู หอ ยใู นรปู เอกสารหรือรูปแบบ
อน่ื ๆ ทมี่ ีมาตรฐาน ปรับปรุงเน้อื หาใหสมบรู ณ ใชภาษาท่ีเขา ใจงา ยและใชไ ดง า ย

5. การเขา ถงึ ความรู เปนการเผยแพรความรเู พื่อใหผอู ่ืนไดใชประโยชน เขา ถงึ ความรูไดง าย
และสะดวก เชน ใชเทคโนโลยี เว็บบอรด หรอื บอรด ประชาสมั พันธ เปน ตน

6. การแบงปน แลกเปลีย่ นความรู ทาํ ไดหลายวิธกี าร หากเปนความรูเ ดนชดั อาจจัดทําเปน
เอกสาร ฐานความรูทใ่ี ชเทคโนโลยสี ารสนเทศ หากเปนความรฝู งลึกท่ีอยูในตัวคน อาจจดั ทาํ เปนระบบ
แลกเปลย่ี นความรเู ปน ทมี ขา มสายงาน ชมุ ชนแหง การเรยี นรู พเ่ี ลย้ี งสอนงาน การสบั เปลย่ี นงาน การยมื ตวั
เวทแี ลกเปล่ยี นเรียนรู เปนตน

7. การเรยี นรู การเรยี นรขู องบุคคลจะทําใหเ กดิ ความรใู หม ๆ ขึ้นมากมาย ซงึ่ จะไปเพิม่ พูน
องคความรูขององคกรทมี่ อี ยูแลว ใหมากขนึ้ เร่อื ย ๆ ความรูเ หลา น้จี ะถูกนําไปใชเพ่ือสรา งความรูใหม ๆ
เปนวงจรทีไ่ มส ิน้ สดุ เรียกวา เปน “วงจรแหง การเรียนร”ู

หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการเรียนรู รายวิชาทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน 105

ตัวอยางของกระบวนการจดั การความรู
“วิสาหกจิ ชุมชน” บานทุง รวงทอง

1. การบง ช้คี วามรู
หมบู านทงุ รวงทองเปน หมูบ า นหน่งึ ทอ่ี ยใู นอําเภอจุนจังหวดั พะเยา จากการที่หนว ยงานตาง ๆ

ไดไ ปสง เสรมิ ใหเกิดกลุมตาง ๆ ข้ึนในชมุ ชน และเหน็ ความสาํ คัญของการรวมตัวกัน เพอ่ื เกอ้ื กลู คนใน
ชมุ ชนใหม ีการพึ่งพาอาศยั ซึง่ กันและกนั จงึ มีเปา หมายจะพฒั นาหมูบ านใหเปน วิสาหกจิ ชมุ ชน จึงตองมี
การบง ชีค้ วามรทู ีจ่ ําเปนท่ีจะพัฒนาหมูบานใหเปน วิสาหกิจชมุ ชน นนั่ คือหาขอมูลชมุ ชนในประเทศไทยมี
ลักษณะเปนวสิ าหกจิ ชุมชน และเมื่อศกึ ษาขอ มูลแลวทาํ ใหร วู าความรเู รื่องวิสาหกิจชมุ ชนอยูท ่ไี หน นั่นคอื
อยทู เี่ จาหนา ทหี่ นว ยงานราชการท่ีมาสง เสรมิ และอยใู นชุมชนทีม่ ีการทําวสิ าหกจิ ชุมชนแลวประสบผลสาํ เร็จ

2. การสรางและแสวงหาความรู

จากการศึกษาหาขอมลู แลววา หมบู านทที่ าํ เรือ่ งวสิ าหกจิ ชมุ ชนประสบผลสําเรจ็ อยทู ไี่ หน ได
ประสานหนวยงานราชการ และจัดทําเวทีแลกเปล่ยี นเรยี นรเู พือ่ เตรียมการในการไปศกึ ษาดูงาน เมอ่ื ไป
ศกึ ษาดงู านไดแลกเปลีย่ นเรยี นรู ทําใหไ ดร บั ความรูเ พ่ิมมากขนึ้ เขาใจรปู แบบ กระบวนการของการทํา
วิสาหกจิ ชมุ ชน และแยกกนั เรยี นรูเฉพาะกลมุ เพื่อนาํ ความรทู ีไ่ ดร บั มาปรับใชใ นการทําวสิ าหกจิ ชมุ ชนใน
หมูบานของตนเอง เมอื่ กลบั มาแลว มกี ารทาํ เวทีหลายครั้ง ทงั้ เวทีใหญที่คนทั้งหมูบานและหนว ยงานหลาย
หนวยงานมาใหคาํ ปรึกษา ชุมชนรวมกนั คดิ วางแผน และตัดสนิ ใจ รวมท้งั มีเวทียอยเฉพาะกลุม จากการ
แลกเปลี่ยนเรียนรผู านเวทชี าวบานหลายครั้ง ทาํ ใหช มุ ชนเกดิ การพัฒนาในหลายดาน เชน ความสัมพันธ
ของคนในชุมชน การมีสว นรวม ทัง้ รวมคดิ รว มวางแผน รว มดาํ เนินการ รว มประเมนิ ผล และรว มรับ
ผลประโยชนท่ีเกิดข้ึนในชุมชน

3. การจัดการความรูใหเปนระบบ

การทําหมูบา นใหเ ปน วิสาหกิจชุมชน เปน ความรใู หมของคนในชมุ ชน ชาวบา นไดเรียนรูไป
พรอ มๆ กัน มีการแลกเปลยี่ นเรียนรกู นั อยา งเปน ทางการและไมเปน ทางการ โดยมสี ว นราชการและองคก ร
เอกชนตา งๆ รวมกนั หนนุ เสริมการทํางานอยางบูรณาการ และจากการถอดบทเรยี นหลายคร้ัง ชาวบา นมี
ความรูเ พ่มิ มากขนึ้ และบนั ทึกความรอู ยางเปนระบบนัน่ คือ มคี วามรเู ฉพาะกลมุ สว นใหญจ ะบันทกึ ในรูป
เอกสาร และมีการทาํ วิจัยจากบุคคลภายนอก

4. การประมวลและกลั่นกรองความรู
มีการจัดทาํ ขอมูล ซงึ่ มาจากการถอดบทเรียน และการจดั ทาํ เปน เอกสารเผยแพรเฉพาะกลมุ
เปน แหลงเรยี นรูใหกบั นกั ศกึ ษา กศน.และนักเรยี นในระบบโรงเรียน รวมทั้งมีนําขอ มลู มาวิเคราะหเพ่ือจดั
ทําเปนหลกั สตู รทองถนิ่ ของ กศน.อําเภอจุนดวย

106 หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวิชาทกั ษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

5. การเขาถงึ ความรู
นอกจากการมีขอ มลู ในชุมชนแลว หนวยงานตา ง ๆ โดยเฉพาะองคการบรหิ ารสว นตาํ บล ไดจัด

ทาํ ขอ มูลเพอ่ื ใหค นเขา ถึงความรไู ดงา ย ไดนาํ ขอ มลู ใสไ วอ ินเตอรเนต็ และในแตล ะตําบลจะมอี นิ เตอรเ น็ต
ตําบลใหบ รกิ าร ทาํ ใหค นภายนอกเขาถงึ ขอมูลไดง าย และมกี ารเขาถึงความรูจากการแลกเปล่ยี นเรียนรรู ว
มกันจากการมาศึกษาดงู านของคนภายนอก

6. การแบงปนแลกเปล่ียนความรู
ในการดาํ เนนิ งานกลมุ ชุมชน ไดมีการแลกเปล่ยี นเรยี นรกู นั ในหลายรูปแบบ ท้ังการไปศึกษา

ดูงาน การศึกษาเปน การสว นตัว การรวมกลมุ ในลักษณะชมุ ชนนกั ปฏบิ ตั ิ (CoP) ท่แี ลกเปลย่ี นเรยี นรรู ว
มกนั ท้ังเปน ทางการและไมเ ปนทางการ ทําใหกลุม ไดรบั ความรมู ากขนึ้ และบางกลุมเจอปญ หาอุปสรรคโดย
เฉพาะเร่ืองการบริหารจดั การกลมุ ทาํ ใหกลุมตองมาทบทวนรว มกันใหม สรางความเขาใจรวมกัน และเรยี น
รเู ร่ืองการบริหารจัดการจากกลุมอ่นื เพ่มิ เติม ทาํ ใหก ลุม สามารถดํารงอยไู ดโดยไมล ม สลาย

7. การเรยี นรู
กลมุ ไดเรียนรหู ลายอยางจากการดาํ เนนิ การวิสาหกจิ ชมุ ชน การทีก่ ลุมมีการพัฒนาขนึ้ นั่นแส

ดงวา กลุมมคี วามรูม ากข้นึ จากการลงมอื ปฏิบตั ิและแลกเปลีย่ นเรียนรรู ว มกนั การพัฒนานอกจากความรทู ี่
เพมิ่ ขน้ึ ซ่งึ เปนการยกระดับความรูของคนในชุมชนแลว ยงั เปน การพัฒนาความคดิ ของคนในชมุ ชนดวย
ชมุ ชนมีความคดิ ที่เปลีย่ นไปจากเดมิ มกี ารทาํ กิจกรรมเพอ่ื เรยี นรรู วมกนั บอ ยขนึ้ มีความคิดในการพงึ่ พา
ตนเอง และเกดิ กลุมตา งๆ ข้นึ ในชุมชน โดยการมสี ว นรว มของคนในชมุ ชน

หนงั สือเรยี นสาระทักษะการเรียนรู รายวชิ าทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน 107

กิจกรรมทายบท

กิจกรรมท่ี 1 รูปแบบของการจดั การความรมู อี ะไรบาง และมลี ักษณะอยา งไร
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

กจิ กรรมที่ 2 กระบวนการจดั การความรูมีก่ีข้นั ตอน อะไรบาง
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

กิจกรรมที่ 3 ใหผ เู รยี นยกตัวอยา งกลุม หรือชุมชนทมี่ กี ารจดั การความรปู ระสบผลสําเรจ็ และอธิบาย
ดว ยวา สําเรจ็ อยางไร เพราะอะไร

..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

108 หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวิชาทักษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน

เร่ืองท่ี 3 การรวมกลมุ เพ่อื ตอ ยอดความรู

บุคคลและเครอื่ งมอื ท่เี กี่ยวขอ งกบั การจดั การความรู

บคุ คลท่เี กยี่ วของกบั การจดั การความรู
ในการจดั การความรดู วยวิธีการรวมกลมุ ปฏิบัติการเพอ่ื ตอ ยอดความรู การแลกเปลย่ี นเรยี นรู

เพื่อดึงความรูทฝ่ี ง ลกึ ในตัวบคุ คลออกมาแลว สกัดเปนขุมความรู หรอื องคค วามรเู พอื่ ใชในการปฏบิ ตั งิ าน
นนั้ จะตอ งมบี คุ คลทสี่ งเสริมใหเ กิดการแลกเปล่ยี นเรยี นรู ในบรรยากาศของการมีใจในการแบง ปน ความ
รู รวมทัง้ ผูท่ที ําหนา ท่ีกระตนุ ใหค นอยากท่จี ะแลกเปล่ยี นเรยี นรซู ึง่ กันและกัน บุคคลทส่ี ําคญั และเกย่ี วของ
กับการจัดการความรู มีดังตอ ไปน้ี

“คณุ เออ้ื ” ชอ่ื เต็มคอื “คณุ เออื้ ระบบ” เปนผูนาํ ระดับสงู ขององคกร หนา ท่ีสาํ คัญคือ 1)
ทาํ ใหการจดั การความรู เปน สวนหนึ่งของการปฏิบตั งิ านตามปกตขิ ององคกร 2) เปดโอกาสใหทุกคนใน
องคกรเปน “ผูนาํ ” ในการพฒั นาวธิ กี ารทํางานทีต่ นรับผดิ ชอบ และนําประสบการณมาแลกเปล่ยี นเรยี น
รูกบั เพื่อนรว มงาน สรางวัฒนธรรมการเออ้ื อาทรและแบงปน ความรู และ 3) หากศุ โลบายทาํ ใหค วาม
สาํ เรจ็ ของการใชเ ครอื่ งมอื การจัดการความรมู กี ารนาํ ไปใชม ากข้นึ

“คณุ อาํ นวย” หรือผอู ํานวยความสะดวกในการจดั การความรู เปนผกู ระตุนสงเสริมใหเ กดิ การ
แลกเปลี่ยนเรยี นรู และอํานวยความสะดวกตอ การแลกเปลีย่ นเรียนรู นําคนมาแลกเปลย่ี นประสบการณ
การทํางานรว มกนั ชวยใหค นเหลา นั้นส่อื สารกันใหเ กิดความเขา ใจ เหน็ ความสามารถของกันและกัน เปน
ผเู ช่อื มโยงคนหรือหนว ยงานเขามาหากัน โดยเฉพาะอยางย่ิงเชือ่ มระหวางคนทมี่ คี วามรูห รอื ประสบการณ
กับผูต อ งการเรียนรู และนําความรนู ั้นไปใชประโยชน คณุ อาํ นวยตองมีทกั ษะท่สี าํ คญั คอื ทกั ษะการสอื่ สาร
กับคนท่แี ตกตางหลากหลาย รวมทั้งตองเหน็ คณุ คา ของความแตกตา งหลากหลาย และรูจักประสานความ
แตกตางเหลา นัน้ ใหม คี ณุ คา ในทางปฏิบตั ิ ผลกั ดันใหเ กดิ การพฒั นางาน และติดตามประเมินผลการดําเนิน
งาน คนหาความสาํ เร็จ หรอื การเปล่ียนแปลงที่ตองการ

“คุณกิจ” คือ เจา หนา ที่ ผูปฏบิ ัตงิ าน คนทาํ งานทีร่ ับผดิ ชอบงานตามหนา ท่ขี องตนในองคก ร
ถอื เปน ผจู ัดการความรูตวั จรงิ เพราะเปนผูดําเนนิ กจิ กรรมการจดั การความรู มปี ระมาณรอ ยละ 90 ของ
ทั้งหมด เปนผูรวมกันกาํ หนดเปา หมายการใชก ารจดั การความรขู องกลมุ ตน เปน ผูค น หาและแลกเปลี่ยน
เรยี นรภู ายในกลมุ และดําเนนิ การเสาะหาและดูดซับความรูจากภายนอกเพ่ือนาํ มาประยกุ ตใ ชใ หบ รรลเุ ปา
หมายรวมทีก่ าํ หนดไว เปนผดู ําเนนิ การจดบันทกึ และจดั เก็บความรใู หห มนุ เวียนตอ ยอดความรไู ป
ไมร ูจบ

“คุณลิขิต” คือ คนท่ีทาํ หนา ที่จดบนั ทกึ กิจกรรมจัดการความรูตาง ๆ เพ่ือจดั ทาํ เปน คลังความ
รขู ององคกร

หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู รายวชิ าทกั ษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน 109

ในการจดั การความรทู อี่ ยูใ นคน โดยการแลกเปล่ยี นเรียนรรู ว มกนั จากการเลา เรอ่ื งสูก นั ฟง บคุ คล
ท่ีสงเสรมิ สนับสนนุ ใหมีการรวมตัวกันเพอ่ื เลา เรอื่ งคอื ผูนาํ สูงสดุ หรอื ทีเ่ รยี กวา “คณุ เอ้อื ” เมื่อรวมตัวกัน
แลว แตละคนไดเ ลา เรื่องท่ปี ระสบผลสําเรจ็ จากการปฏบิ ัติของตนเองออกมาใหเ พ่ือนฟง คนทเี่ ลา เรื่องแตละ
เรอ่ื งนัน้ เรยี กวา “คณุ กิจ” และในระหวางทเี่ ลาจะมกี ารซักถามความรู เพอื่ ใหเ ห็นแนวทางของการปฏิบตั ิ
เทคนิค เคล็ดลบั ในการทํางานใหป ระสบผลสําเร็จ ผูที่ทาํ หนาทีน้เี รยี กวา “คณุ อาํ นวย” และในขณะทเ่ี ลา
เรื่องจะมีผูคอยจดบนั ทึก โดยเฉพาะเคล็ดลบั วิธีการทํางานใหประสบผลสาํ เร็จ น่นั คือ “คุณลิขิต” ซึง่ ก็
หมายถึง คนทค่ี อยจดบันทึกน่นั เอง เมอื่ ทกุ คนเลาจบ ไดฟงเร่อื งราว วิธีการทํางานใหป ระสบผลสําเร็จแลว
ทกุ คนชว ยกนั สรุป ความรูท ่ไี ดจ ากการสรปุ นี้ เรยี กวา “แกนความรู” นน่ั เอง

เครือ่ งมือท่เี กย่ี วขอ งกบั การจัดการความรู

การจดั การความรู หัวใจสาํ คัญคอื การจัดการความรทู ีอ่ ยใู นตัวคน เครอื่ งมอื ท่ีเก่ียวขอ งกบั การ
จดั การความรูเพือ่ การแลกเปล่ียนเรียนรูจึงมีหลากหลายรปู แบบ ดังน้ี

1. การประชุม (สัมมนา ปฏบิ ตั ิการ) ทงั้ ท่ีเปนทางการและไมเ ปน ทางการ เปนการแลกเปลยี่ น
เรยี นรูรว มกนั หนวยงานองคกรตา ง ๆ มกี ารใชเ ครือ่ งมอื การจดั การความรใู นรปู แบบนกี้ ันมาก โดยเฉพาะ
หนว ยงานราชการ

2. การไปศกึ ษาดูงาน นน่ั คอื แลกเปลย่ี นเรียนรูจากการไปศกึ ษาดงู าน มีการซกั ถาม หรอื จดั ทํา
เวทีแสดงความคดิ เหน็ ในระหวางไปศึกษาดูงาน ก็ถือเปนการแลกเปลีย่ นความรูรวมกนั คอื ความรูยา ยจาก
คนไปสูคน

3. การเลาเรือ่ ง (Storytelling) เปน การรวมกลุมกันของผูปฏบิ ัติงานทมี่ ลี ักษณะคลายกนั
ประมาณ 8-10 คน แลกเปล่ยี นเรยี นรโู ดยการเลา เรื่องสูกันฟง การเลาเรอ่ื งผฟู ง จะตอ งนั่งฟงอยางมสี มาธิ
หรอื ฟงอยางลึกซ้งึ จะทาํ ใหเขา ใจในบริบทหรอื สภาพความเปน ไปของเร่ืองทีเ่ ลา เม่ือแตละคนเลา จบ จะมี
การสกัดความรู ทเ่ี ปน เทคนคิ วธิ ีการท่ที าํ ใหงานประสบผลสําเร็จออกมา งานที่ทําจนประสบผลสาํ เร็จเรยี ก
วา best practice หรอื การปฏบิ ัตงิ านท่ีเลศิ ซึง่ แตละคนอาจมวี ธิ กี ารท่แี ตกตา งกนั ความรูทีไ่ ดถอื เปน การ
ยกระดับความรใู หก ับคนทีย่ งั ไมเ คยปฏบิ ตั ิ และสามารถนาํ ความรูท ไี่ ดรบั ประยุกตใ ชเ พอ่ื พัฒนางานของตน
เองได

4. ชมุ ชนนกั ปฏบิ ตั ิ (Community of Practice : CoPS) เปน การรวมตวั กันของคนทสี่ นใจเรือ่ ง
เดยี วกนั รวมตวั กนั เพ่ือแลกเปล่ยี นเรยี นรทู ัง้ เปนทางการและไมเ ปน ทางการ ผา นการส่ือสารหลาย ๆ ชอง
ทาง อาจรวมตัวกันในลักษณะของการประชุม สมั มนา และแลกเปล่ียนความรูกัน หรือการรวมตวั ในรปู
แบบอ่นื เชน การตง้ั เปนชมรม หรอื ใชเ ทคโนโลยใี นการแลกเปล่ยี นความรูก นั ในลกั ษณะของเว็บบล็อก ซึ่ง
สามารถแลกเปลีย่ นเรียนรูกับไดท กุ ท่ี ทุกเวลา และประหยัดคา ใชจ า ยอีกดวย การแลกเปลี่ยนเรยี นรจู ะ
ทาํ ใหเกิดการพฒั นาความรู และตอยอดความรู

110 หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการเรียนรู รายวิชาทกั ษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน

5. การสอนงาน หมายถงึ การถา ยทอดความรหู รอื บอกวิธีการทํางาน การชว ยเหลือ ใหคาํ
แนะนาํ ใหกําลงั ใจแกเ พ่อื นรวมงาน รวมท้งั การสรางบรรยากาศเพอ่ื ถายทอดและแลกเปลย่ี นความรูจากคน
ท่ีรมู าก ไปสคู นทีร่ นู อยในเร่อื งนน้ั ๆ

6. เพ่อื นชวยเพอ่ื น (Peer Assist) หมายถงึ การเชิญทีมอ่นื มาแบงปนประสบการณดี ๆ ท่ีเรียก
วา best practice ใหเรา มาแนะนํา มาสอน มาบอกตอ หรอื มาเลาใหเ ราฟง เพอ่ื เราจะไดนาํ ไปประยุกตใช
ในองคก รของเราได และเปรียบเทียบเปน ระยะ เพ่อื ยกระดบั ความรแู ละพัฒนางานใหดีย่ิงขึ้นตอไป

7. การทบทวนกอนการปฏิบตั ิงาน (Before Action Review : BAR) เปนการทบทวนการทาํ งาน
กอ นการปฏิบัตงิ าน เพ่ือดคู วามพรอ มกอ นเรมิ่ การอบรม ใหความรู หรือทํากจิ กรรมอ่นื ๆ โดยการเชิญ
คณะทํางานมาประชุมเพ่อื ตรวจสอบความพรอม แตละฝา ยนาํ เสนอถงึ ความพรอ มของตนเองตามบทบาท
หนาที่ท่ไี ดรับ การทบทวนกอ นการปฏิบตั ิงานจึงเปนการปอ งกันความผดิ พลาดทจี่ ะเกิดขนึ้ กอ นการทํางาน
นัน่ เอง

8. การทบทวนขณะปฏบิ ตั งิ าน (During Action Review : DAR) เปน การทบทวนในระหวา งที่
ทํางาน หรือจดั อบรม โดยการสังเกตและนาํ ผลจากการสังเกตมาปรึกษาหารอื และแกปญหาในขณะทํางาน
รว มกัน ทาํ ใหล ดปญหา หรืออปุ สรรคในระหวา งการทํางานได

9. การทบทวนหลงั การปฏิบัตงิ าน (After Action Review : AAR) เปน การติดตามผลหรือ
ทบทวนการทํางานของผเู ขา รว มกิจกรรม หรอื คณะทาํ งานหลงั เลกิ กิจกรรมแลว โดยการนง่ั ทบทวนสิง่ ทไี่ ด
ปฏิบัตไิ ปรวมกัน ผานการเขียนและการพดู ดว ยการตอบคําถามงา ยๆ วา คาดหวงั อะไรจากการทาํ กิจกรรม
นี้ ไดตามทค่ี าดหวังหรือไม ไดเพราะอะไร ไมไ ดเ พราะอะไร และจะทําอยา งไรตอไป

10. การจดั ทําดัชนผี รู ู คอื การรวบรวมผูที่เช่ียวชาญ เกงเฉพาะเรอ่ื ง หรอื ภูมิปญญา มารวบรวม
จดั เก็บไวอ ยา งเปน ระบบ ท้ังรปู แบบท่เี ปน เอกสาร สื่ออิเลก็ ทรอนิกส เพอ่ื ใหคนไดเ ขาถึงแหลง เรยี นรไู ด
งา ย และนาํ ไปสกู ิจกรรมการแลกเปลย่ี นรตู อ ไป

เคร่ืองมือในการแลกเปล่ียนเรียนรูน้ีเปนเพียงสวนหนึ่งของเคร่ืองมืออีกหลายชนิดท่ีนําไปใชใน
การจัดการความรู เครอ่ื งมือทมี่ ผี ูน าํ มาใชม ากในการแลกเปลีย่ นเรียนรใู นระดับตนเองและระดับกลุม คือ
การแลกเปลย่ี นเรียนรูโดยเทคนคิ การเลา เรอ่ื ง การเลา เรือ่ งเปน การแลกเปล่ียนเรยี นรูจากวิธีการทาํ งาน
ของคนอืน่ ท่ปี ระสบผลสาํ เร็จ หรือทเ่ี รียกวา best practice เปน การเรียนรทู างลดั นั่นคือเอาเทคนิควิธีการ
ทํางานทค่ี นอ่นื ทําแลว ประสบผลสําเรจ็ มาเปน บทเรียน และนําวิธีการนั้นมาประยกุ ตใ ชกบั ตนเอง เกดิ วธิ ี
การปฏบิ ัตใิ หมที่ดีข้นึ กวาเดมิ เปน วงจรเรอื่ ยไปไมสิ้นสดุ การแลกเปลี่ยนเรยี นรูจากการเลา เรอื่ ง มลี ักษณะ
ดังน้ี

หนังสือเรยี นสาระทักษะการเรียนรู รายวชิ าทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน 111

การเลาเรอ่ื ง

การเลา เร่ือง หรือ Storytelling เปนเคร่อื งมอื อยา งงายในการจดั การความรู ซึง่ มวี ธิ กี ารไมย ุง
ยากซับซอน สามารถใชไดก ับทกุ กลมุ เปา หมาย เปนการเลาประสบการณในการทํางานของแตละคนวา มวี ิธี
การทําอยางไรจึงจะประสบผลสําเร็จ
กิจกรรมเลา เรื่อง ตอ งทาํ อะไรบาง

กิจกรรมจดั การความรู โดยใชเ ทคนิคการเลาเรือ่ ง ประกอบดวยกจิ กรรมตาง ๆ ดังนี้
1. ใหคณุ กิจ (สมาชิกทุกคน) เขยี นเรอื่ งเลา ประสบการณค วามสําเร็จในการทํางานของตนเอง
เพือ่ ใหค วามรูฝง ลกึ ในตัว (Tacit Knowledge) ปรากฏออกมา เปน ความรชู ัดแจง (Expicit Knowledge)
2. เลาเรือ่ งความสําเรจ็ ของตนเอง ใหส มาชิกในกลุมยอ ย ฟง
3. คุณกจิ (สมาชิก) ในกลุม ชวยกนั สกดั ขุมความรู จากเรอื่ งเลา เขยี นบนกระดาษฟลปิ ชารต
4. ชว ยกนั สรุปขมุ ความรทู ่ีสกัดไดจ ากเร่ือง ซึง่ มีจาํ นวนหลายขอ ใหก ลายเปนแกน ความรู ซงึ่
เปนหวั ใจทที่ าํ ใหงานประสบผลสาํ เรจ็
5. ใหแ ตล ะกลุม คดั เลือกเร่ืองเลาทดี่ ที ่ีสดุ เพอื่ นาํ เสนอในทปี่ ระชุมใหญ
6. รวมเรื่องเลาของทุกคน จัดทําเปน เอกสารคลงั ความรขู ององคกร หรือเผยแพรผ านทาง
เวบ็ ไซต เพอื่ แบง ปน แลกเปลีย่ นความรู และนาํ มาใชป ระโยชนใ นการทาํ งาน

ขมุ ความรู คือ วธิ ีการแกปญหา หรอื พัฒนางาน
แกนความรู คอื บทสรุปของขุมความรู (เรื่องนส้ี อนใหรูวา )

112 หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวิชาทกั ษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน

ตัวอยางเร่ืองเลา ประสบการณค วามสําเรจ็

เร่อื ง “เดก็ ทค่ี รูไมต องการ”

“...แซน อกี แลว ! ทําไม เธอถึงเกเรอยา งนี้
นีเ่ ปน คร้งั ทเี่ ทาไหรล ะ ทช่ี อบรงั แกเด็ก
ครเู อือมระอาเธอเหลอื เกิน”
เสียงครเู วรประจาํ วัน ซงึ่ สภุ าพสตรีวัยกลางคน กลา วตําหนิ ด.ช.แซน ผกู ําพรา พอ แม
ตอหนา เพ่อื นๆ ทีห่ นาเสาธง
จากนน้ั กห็ ันมาใสอารมณกบั ขา พเจาท่ียืนดูอยูขา ง ๆ
“ครสู มชาย ชวยจัดการใหพี่ทีเถอะ
พี่ไมร จู ะทาํ อยา งไร กับเดก็ เกเรคนน้แี ลว”
ขาพเจาตอบรับไปสัน้ ๆ ดวยคําวา “ครับ” พรอมกับความรหู ลายอยางทีอ่ ัดแนน อยูใ นใจ ที่
ยากจะอธิบาย
ขา พเจา ไปหาแซน ซ่งึ อาศยั อยูก บั ยายในเยน็ วันหนง่ึ พรอ มของฝากเลก็ ๆ นอยๆ พูดคุย
สาระทุกขสขุ ดบิ แบบคนคุน เคยกนั ตามประสาครบู านนอก ทําใหทราบขอมูลเชงิ ลกึ วา พอ และแมข อง
แซนเสียชวี ิต ดวยโรคภูมิคุน กนั บกพรอง และตอนทีย่ ังมชี ีวติ อยู ก็มกั ทะเลาะตบตกี นั ใหลกู เห็นเปน
ประจํา ขา พเจา กลับบานพรอมโจทยข อ ใหญ
รุง ขึน้ ขาพเจา เรยี กแซนมาคยุ ชวนใหมาชว ยทํางานในวันเสารอาทิตย เพ่ือหารายไดเสริม
เชน ปลกู ผกั สวนครัว เพาะชาํ กลาไม ซึง่ ขา พเจาเปน ผูรับซอื้ เอง
จากวันนัน้ วนั ทแ่ี ซนเรียนอยูชั้น ม.1 มพี ฤตกิ รรม คอื ...เกเร...ไมต ัง้ ใจเรียน...
จนถงึ วันน้ี 23 มนี าคม 2551 แซนจบ ชั้น ม.3 ดวยเกรดเฉล่ยี 3.68 สอบเขา เรยี นตอ
ชนั้ ม.4 โรงเรียนมัธยมประจาํ อําเภอ ในโปรแกรมวิทย- คณิตได มีรายไดสะสมเปนตวั เลขเงนิ ในบญั ชี
ธนาคารจากการหารายไดพิเศษระหวางเรยี น เปน จาํ นวนเงนิ หมนื่ กวา บาท
หลงั เสร็จพิธรี ับประกาศนยี บตั ร ชน้ั ม.3 แซนมากราบที่ตักของขา พเจา พรอมพดู ดว ยนาํ้
เสยี งทสี่ ่ันเครอื และนํ้าตาของความปลมื้ ปติวา ...
“ครูครับ! ถาไมม ีครผู มคงไมมีวันนี้ครบั ”
นํา้ ตาของขา พเจาไหลซมึ โดยไมรูตวั
ตบไหลแ ซนแรงๆ
กอดซ้าํ อกี ทหี นง่ึ เหมอื นกอดลูกชาย
ดีใจดว ยจรงิ ๆ วะ
สูตอ ไปนะ....นะ....แซน...

หนงั สือเรยี นสาระทักษะการเรียนรู รายวิชาทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน 113

ชุมชนนักปฏบิ ัตหิ รือชุมชนแหง การเรยี นรู (CoPs)

ในชุมชนมีปญ หาซบั ซอน ทคี่ นในชมุ ชนตองรวมกนั แกไ ข การจดั การความรูจ ึงเปน เรื่องท่ีทุกคน
ตองใหค วามรวมมือ และใหข อ เสนอแนะในเชิงสรางสรรค การรวมกลมุ เพือ่ แกป ญ หาหรือรวมมอื กัน
พฒั นาโดยการแลกเปลย่ี นเรยี นรรู วมกัน เรยี กวา “ชมุ ชนนกั ปฏบิ ตั ”ิ บคุ คลในกลุมจึงตอ งมีเจตคติท่ดี ี
ในการแบง ปน ความรู นําความรูทมี่ ีอยูมาพัฒนากลุมจากการลงมือปฏบิ ัติ และเคารพในความคดิ เห็นของ
ผอู ่นื

ชมุ ชนนกั ปฏบิ ัติคืออะไร

ชมุ ชนนักปฏิบัติ คอื คนกลุมเล็ก ๆ ซ่ึงทาํ งานดวยกนั มาระยะหนง่ึ มเี ปา หมายรว มกนั และตอง
การทจี่ ะแบง ปน แลกเปลี่ยนความรู ประสบการณจากการทาํ งานรวมกัน กลุม ดังกลา วมักจะไมไ ดเกิด
จากการจัดตั้งโดยองคก ร หรือชุมชน เปน กลุมที่เกดิ จากความตอ งการแกปญ หา พัฒนาตนเอง เปนความ
พยายามที่จะทาํ ใหความฝน ของตนเองบรรลุผลสาํ เร็จ กลุม ทเี่ กดิ ขึน้ ไมมอี ํานาจใดๆ ไมมกี ารกาํ หนดไวใน
แผนภมู โิ ครงสรางองคก ร ชุมชน เปา หมายของการเรยี นรขู องคนมหี ลายอยา ง ดงั นน้ั ชุมชนนักปฏิบัติจึง
มิไดม เี พียงกลุมเดียว แตเกดิ ขึ้นเปน จํานวนมาก ทั้งน้อี ยูท ีป่ ระเดน็ เน้ือหาท่ตี อ งการจะเรยี นรรู ว มกนั นัน่ เอง
และคนคนหน่งึ อาจจะเปน สมาชิกในหลายชมุ ชนกไ็ ด

ชมุ ชนนกั ปฏบิ ัติมคี วามสาํ คญั อยางไร

ชมุ ชนนักปฏบิ ตั ิเกิดจากกลุมคนทม่ี ีเครือขายความสัมพนั ธท่ีไมเปน ทางการมารวมตวั กนั เกดิ
จากความใกลช ดิ ความพอใจจากการมีปฏิสัมพนั ธร วมกัน การรวมตวั กันในลักษณะท่ไี มเ ปนทางการจะ
เอ้ือตอ การเรียนรู และการสรา งความรใู หม ๆ มากกวา มากกวาการรวมตัวกันอยางเปน ทางการ มจี ดุ เนน
คอื ตอ งการเรียนรรู วมกันจากประสบการณการทาํ งานเปนหลัก การทํางานในเชงิ ปฏิบตั ิ หรือจากปญ หาใน
ชวี ิตประจําวัน หรอื เรยี นรูเคร่อื งมือใหม ๆ เพอื่ นํามาใชในการพฒั นางาน หรอื วธิ ีการทาํ งานทไี่ ดผล และ
ไมไ ดผ ล การมีปฏสิ ัมพนั ธร ะหวา งบคุ คล ทาํ ใหเกิดการถายทอดแลกเปลย่ี นความรฝู ง ลึก สรา งความรู และ
ความเขา ใจไดม ากกวา การเรยี นรจู ากหนังสือ หรือการฝกอบรมตามปกติ เครอื ขา ยทไ่ี มเ ปน ทางการ ในเวที
ชมุ ชนนกั ปฏบิ ตั ซิ ง่ึ มีสมาชกิ จากตางหนว ยงาน ตางชมุ ชน จะชวยใหองคก รหรอื ชมุ ชนประสบความสําเรจ็ ได
ดีกวา การสือ่ สารตามโครงสรางท่เี ปนทางการ

ชมุ ชนนกั ปฏิบัตเิ กดิ ข้นึ ไดอ ยางไร

การรวมกลมุ ปฏบิ ัตกิ าร หรอื การกอ ตัวข้ึนเปนชมุ ชนนกั ปฏิบตั ิได ลวนเปน เร่ืองท่ีเกี่ยวกบั คน
คนตองมี 3 สงิ่ ตอไปนเี้ ปน เบอ้ื งตน คือ

1. ตองมเี วลา คอื มเี วลาที่จะมาแลกเปล่ียนเรยี นรู มารวมคดิ รว มทาํ รว มแกปญหา ชว ยกัน
พฒั นางาน หรือสรา งสรรคส ิง่ ใหม ๆ ใหเกิดขน้ึ หากคนท่ีมารวมกลุมไมม เี วลา หรือไมจ ดั สรรเวลาไวเพอ่ื
การน้ีกไ็ มม ีทางท่จี ะรวมกลุมปฏบิ ตั ิการได

2. ตอ งมเี วทหี รอื พ้ืนท่ี การมเี วทหี รือพน้ื ท่ีคอื การจดั หาหรอื กําหนดสถานที่ที่จะใชในการพบ
กลมุ การชมุ ชน พบปะพดู คยุ สนทนาแลกเปล่ียนความคิด แลกเปล่ียนประสบการณตามทีก่ ลมุ ไดชว ยกัน
กําหนดขึน้ เวทดี ังกลา วน้อี าจมีหลายรปู แบบ เชน การจัดประชุม การจัดสัมมนา การจดั เวทีประชาคม
เวทขี างบา น การจัดเปนมมุ กาแฟ มุมอานหนงั สือ เปนตน

114 หนังสอื เรยี นสาระทักษะการเรียนรู รายวชิ าทกั ษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน

การจัดใหมีเวทีหรือพน้ื ทดี่ ังกลา ว เปน การทําใหค นไดมีโอกาสแลกเปลย่ี นเรียนรูใ นบรรยากาศ
สบาย ๆ เปด โอกาสใหคนท่สี นใจเรื่องคลาย ๆ กัน หรอื คนทที่ าํ งานดา นเดยี วกันมโี อกาสจบั กลุม ปรึกษา
หารือกันไดโ ดยสะดวก ตามความสมัครใจ ในภาษาองั กฤษเรยี กการชุมนมุ ลักษณะนว้ี า “Community of
Practices” หรือเรยี กยอ วา CoPs ในภาษาไทยเรยี ก “ชุมชนนักปฏิบตั ”ิ

ชมุ ชนนักปฏิบัตเิ ปนคําทีใ่ ชก นั โดยทว่ั ไป และมคี าํ อืน่ ๆ ทมี่ คี วามหมายเดยี วกนั น้ี เชน ชุมชน
แหงการเรียนรู ชมุ ชนปฏิบตั ิการ หรือเรยี กคํายอ ในภาษาองั กฤษวา CoPs กเ็ ปนทเ่ี ขาใจกนั

3. ตองมีไมตรี คนตองมไี มตรีตอ กนั เมอื่ มาพบปะกัน การมไี มตรเี ปนเรื่องของใจ การมีนํา้ ใจ
ตอกนั มีใจใหก ันและกนั เปน ใจทเี่ ปด กวา ง รับฟง ความคดิ เห็นของผอู ่นื พรอมรับส่ิงใหมๆ ไมตดิ ยึดอยู
กับส่งิ เดมิ ๆ มคี วามเอื้ออาทร พรอ มท่จี ะชวยเหลอื เกอื้ กลู ซ่งึ กนั และกนั

การรวมกลุม ปฏิบัตกิ าร จะดําเนินไปไดด ว ยดี บรรลุตามเปา หมายที่ตง้ั ไว จะตองมเี วลา เวที
ไมตรี เปน องคประกอบที่ชว ยสรา งบรรยากาศทเ่ี ปดกวา ง และเออื้ อํานวยตอ การแสดงความคิดเหน็ ทห่ี ลาก
หลายในกลมุ จะทาํ ใหไดมมุ มองทีก่ วางขวางยิ่งข้ึน

รูปแบบของเวทีชมุ ชนนักปฏบิ ตั ิ

การแลกเปลย่ี นเรียนรูผานเวทีชมุ ชนนักปฏิบตั ิมีหลากหลายรปู แบบ เชน การมารวมกลมุ กันเพอื่
แลกเปลี่ยนความรูระหวางกนั ในรปู แบบตา ง ๆ เชน การประชมุ การสมั มนา การจัดเวทีประชาคม
เวทขี า งบาน การจดั เปน มมุ กาแฟ มุมอา นหนังสอื แตใ นปจ จุบนั มีการใชเทคโนโลยีมาใชใ นการสื่อสาร
ทาํ ใหเ กิดการแลกเปลีย่ นเรียนรรู วมกันผานทางอินเตอรเ นต็ ดงั นนั้ รูปแบบของการแลกเปลยี่ นเรียนรูท่ี
เรียกวา “เวทชี มุ ชนนักปฏบิ ัต”ิ จึงมี 2 รูปแบบ ดงั น้ี

1. เวทีจรงิ เปนการรวมตัวกนั เปน กลุมหรอื ชมุ ชน และมาแลกเปลยี่ นเรยี นรูร ว มกนั ดว ยการ
เห็นหนากนั พดู คุย แลกเปล่ยี นความคดิ เห็น ท้ังแบบเปน ทางการและไมเ ปน ทางการ แตการแลกเปลย่ี น
ในลกั ษณะน้ีจะมีขอ จาํ กดั ในเร่อื งคาใชจ ายในการเดนิ ทางมาพบกนั แตส ามารถแลกเปล่ยี นเรียนรูรว มกันได
ในเชิงลึก

หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการเรียนรู รายวิชาทกั ษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน 115

2. เวทเี สมือน เปนการรวมตัวกันเช่อื มเปน เครือขา ยเพ่ือแลกเปลี่ยนเรยี นรรู วมกนั ผา นทาง
อินเตอรเน็ต ซ่ึงในปจจบุ นั มีการใชอนิ เตอรเ น็ตในการสอื่ สารหรือคนควาหาขอ มูลกันอยางแพรห ลายทัง้ ใน
ประเทศและตา งประเทศ การแลกเปลย่ี นเรยี นรใู นลกั ษณะนเ้ี ปน การแลกเปลย่ี นเรยี นรแู บบไมเ ปน ทางการ มี
ปฏิสัมพนั ธกันผานทางออนไลนจะเห็นหนา กนั หรอื ไมเห็นหนากนั ก็ได และจะมีความรสู กึ เหมอื นอยูใ กลกัน
จงึ เรยี กวา “เวทีเสมือน” นัน่ คอื เสมือนอยใู กลก นั น่นั เอง การแลกเปล่ยี นเรียนรูจะใชว ธิ กี ารบันทึกผา นเว็บ
บลอ็ กซง่ึ เหมือนสมุดบันทึกเลม หนง่ึ ท่อี ยใู นอินเตอรเ นต็ สามารถบนั ทกึ เพอ่ื แลกเปลีย่ นเรียนรแู ละสงขอ มูล
หากนั ไดท กุ ท่ี ทกุ เวลา และประหยัดคา ใชจายเนื่องจากไมตอ งเดินทางมาพบกนั

ชมุ ชนแหง การเรียนรู

ชุมชนแหงการเรยี นรู คือการทีค่ นในชุมชนเขารว มในกระบวนการเรียนรู พรอ มท่ีจะเปนผูให
ความรูและรบั ความรู จากการแบงปน ความรทู ั้งในตนเองและความรใู นเอกสารใหแกกนั และกัน ชมุ ชนแหง
การเรียนรูจงึ มที ั้งระบบบคุ คลและระดับกลุม เช่อื มโยงกันเปน เครอื ขายเพื่อเรยี นรรู ว มกนั

การสงเสรมิ ใหชุมชนเปนชมุ ชนแหงการเรยี นรูจงึ ตองเริม่ ท่ตี ัวบุคคล เริม่ ตนจากการทําความ
เขาใจ สรา งความตระหนกั ใหก ับคนในชุมชนเปนบคุ คลแหงการเรยี นรู เหน็ ความสําคัญของการมีนสิ ัยใฝ
เรียนรู สงเสริมใหเ กิดการเรยี นรูจากกจิ กรรมทีร่ ฐั บาลหรือองคกรชุมชนจัดให จากการพบปะ พดู คยุ แลก
เปลย่ี นเรียนรูรว มกนั อยางสมาํ่ เสมอ จนเกิดเปนความเคยชนิ และเห็นประโยชนจ ากความรทู ไี่ ดร ับเพมิ่ ข้ึน

การสรางนสิ ัยใฝเรยี นรขู องบคุ คล คอื การใหป ระชาชนในชุมชนไดร ับบริการตาง ๆ ทส่ี นใจอยาง
ตอ เนอื่ งสมํ่าเสมอ กระตนุ ใหเกิดความอยากรูอยากเห็นเปน อนั ดับแรก เกิดความตระหนกั ถึงความสาํ คญั
ของการศกึ ษาหาความรู เกิดการเรียนรูอยางตอ เน่ือง เปน ผนู ําในการพฒั นาดานตาง ๆ ทัง้ การเรยี นรจู าก

116 หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าทกั ษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน

หนังสือ เรียนรูเพือ่ พัฒนาอาชีพและการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ดังนนั้ บคุ คลถือเปน สว นหนง่ึ ของชมุ ชนหรือสังคม การสงเสริมใหบุคคลเปน ผใู ฝเ รยี นรู ยอ มสง

ผลใหชุมชนเปนชมุ ชนแหงการเรียนรูด ว ย การสง เสริมใหชุมชนมีสวนรว มในการแลกเปล่ียนเรียนรรู วมกัน
อยา งสมํ่าเสมอ ท้งั เปน ทางการและไมเปนทางการ จะทาํ ใหเกดิ การหมนุ เกลยี วของความรู หากบคุ คลใน
ชุมชนเกิดความคุนเคยและเห็นความสําคัญของการเรียนรอู ยเู สมอ จะเปน กา วตอไปของการพัฒนาชุมชน
และสังคมใหเ ปนสงั คมแหง การเรียนรู

ตวั ชี้วัดระดับกลมุ

1. มเี วทชี มุ ชนแลกเปลีย่ นเรยี นรใู นหลายประเด็น
2. มีกลมุ องคก ร เครอื ขายท่ีมีการเรยี นรูรว มกนั อยา งตอเนือ่ ง
3. มีชุดความรู องคความรู ภูมปิ ญญา ทป่ี รากฏเดนชัดและเปน ประสบการณเรียนรูของชุมชน
ถกู บนั ทกึ และจัดเกบ็ ไวในรูปแบบตา ง ๆ

การพฒั นาขอบขา ยความรขู องกลมุ

ขอบขายมาตรฐานสินคา การบริหารจัดการกลมุ

กลมุ พัฒนาอาชพี

การตลาด การพฒั นาผลติ ภณั ฑ

ขอบขายความรูจะกวางขวางเพียงใดขึ้นอยูกับเปาหมายและประโยชนของความรูท่ีกลุมตองการ
ในกลมุ พัฒนาอาชพี ตา งๆ ในชุมชนนัน้ เปาหมายของการจดั ตง้ั กลมุ กเ็ พือ่ สรางงานสรางอาชพี ใหก บั คนใน
ชุมชน เพ่มิ รายไดลดรายจา ย ลดปญหาการวา งงาน และสรางความสามคั คีในชุมชน แตกลมุ อาชพี ท่ดี ําเนนิ
การอยไู ดในปจจบุ นั มีปจ จยั หลายอยา งทส่ี ง ผลใหกลุมเขม แข็งยง่ั ยืน และกลมุ ลมสลายไมสามารถดาํ เนิน
การตอไปได กลุม ทดี่ ําเนินการอยไู ดถือวากลุม มกี ารจดั การความรูในกลมุ ไดเปน อยา งดี ความรทู เี่ ก่ียวของ
ในการพฒั นากลมุ นั้นมขี อบขายความรทู จ่ี าํ เปนและสําคญั ตอการพัฒนากลุม ซึง่ นําเสนอไวพ อสงั เขป ดงั น้ี

1. ความรเู รือ่ งการบรหิ ารจดั การกลุม เปน ความรทู ่จี ําเปน สําหรับกลมุ หากกลมุ มีการบริหาร
จดั การไมโ ปรงใส จัดทําระบบบญั ชไี มเปนปจ จุบัน ไมมรี ะบบการตรวจสอบทีด่ ี จะทําใหก ลมุ ขาดความ
ไวว างใจกนั เกิดความขัดแยง กันเองภายในกลุม สง ผลใหสมาชิกกลมุ ไมใ หความรว มมือในการทํากจิ กรรม
ตา ง ๆ และกลุม ไมส ามารถพฒั นาตอ ไปได

2. ความรูเรื่องการพัฒนาผลติ ภัณฑ กลมุ จดั ต้ังขน้ึ เพือ่ ตอ งการพฒั นาอาชพี ใหคนในชุมชน
เปนการเพมิ่ รายไดและลดรายจาย หากกลุมไมม คี วามรูเ ร่อื งการพฒั นาผลติ ภณั ฑ ก็จะทาํ ใหส ินคาไมไ ดรบั
ความนิยม ไมเปน ท่ตี องการของตลาด และจาํ หนา ยไมไดในท่สี ุด ดังน้นั กลุมจึงตองมกี ารพฒั นาผลติ ภัณฑ

หนงั สือเรียนสาระทักษะการเรยี นรู รายวชิ าทักษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน 117

อยางตอเนือ่ ง ใหมคี วามทันสมยั และตรงกบั ความตองการของลูกคาหรอื ผใู ชบรกิ าร
3. ความรเู รือ่ งการตลาด กลุม จะตองมีความรูเรอ่ื งการจาํ หนาย นั่นคือ การตงั้ ราคา ทาํ เลที่

ตัง้ กลุมเปา หมายท่ีใชบ ริการ การทาํ ความเขาใจเรื่องการตลาดจะทําใหกลุมมชี อ งทางในการจําหนายและ
ขยายตลาดไดม ากข้นึ สงผลใหกลุมมกี ําไรจากการขาย สมาชกิ กลุม ดํารงอยูไดจ ากผลกําไรที่กลุมไดรบั
นน่ั เอง

4. การรักษามาตรฐานของสนิ คา สินคาโดยเฉพาะสินคาท่เี ปน เครือ่ งบริโภคทีผ่ ลติ ขน้ึ ในชุมชน
จะมีมาตรฐานของชุมชนมาเปน เคร่อื งกํากบั บอกถึงคุณภาพของสนิ คา ดังนน้ั กลมุ จะตอ งมีความรูความ
เขาใจในการผลติ สนิ คา ใหมีมาตรฐานสนิ คาจึงจะไดรบั การยอมรับ และขยายตลาดได

ในการพฒั นากลมุ อาชีพนนั้ กลมุ จาํ เปนตองรวู า ขอบขา ยความรทู จี่ ําเปนตอการพัฒนากลุม อาชีพ
นั้นคอื อะไร อยทู ีไ่ หน และจะคนหาความรเู หลา นน้ั ไดอ ยา งไร กลมุ อาจประชุมรว มกันเพอ่ื ศกึ ษาปญ หาท่ี
เกิดขน้ึ จริงในกลุมมาเปนองคความรูของกลุม ตรวจสอบความรทู ี่จําเปน ตอการแกปญหาหรือพฒั นากลุม
สงเสริมใหม ีการแลกเปลย่ี นเรยี นรูรวมกนั ทั้งภายในกลมุ และนอกกลุม ความรทู กุ ความรูที่จําเปนในการ
แกป ญ หาหรือพัฒนากลุม ถอื เปน ขอบขา ยความรขู องกลุมที่กลุมตอ งเรง ดําเนนิ การแสวงหา เพอ่ื นาํ ความรู
นัน้ มาสูก ารปฏบิ ัติ เปน การยกระดบั ความรแู ละตอยอดองคค วามรเู ดมิ ทีก่ ลมุ มีอยู สง ผลใหก ลมุ ไดร ับการ
พฒั นา และหากกลมุ ดาํ เนินการจดั การความรูในขอบขา ยความรขู องกลมุ ตอ ไปอยางเปนวงจรไมม ีทสี่ น้ิ สดุ
แลว กลุม จะเกดิ ความเขมแข็งและดาํ รงอยใู นชมุ ชนอยา งยัง่ ยนื ได

การจัดทําสารสนเทศเผยแพรความรู

สารสนเทศ

คือ ขอ มูลตาง ๆ ท่ีผานการกลนั่ กรองและประมวลผลแลว บวกกบั ประสบการณ ความเชีย่ วชาญที่
สะสมมาแรมป มีการจัดเก็บหรือบันทึกไว พรอมในการนํามาใชง าน

การจดั ทาํ สารสนเทศ

ในการจัดการความรู จะมกี ารรวบรวมและสรา งองคค วามรทู ีเ่ กิดจากการปฏบิ ัติข้นึ มากมาย การ
จดั ทําสารสนเทศจงึ เปนการสรา งชอ งทางใหคนที่ตองการใชความรูสามารถเขาถงึ องคความรไู ด และกอให
เกดิ การแบง ปน ความรูรว มกันอยางเปนระบบ ในการจัดเกบ็ เพื่อใหค น หาความรคู ือไดงา ยนน้ั องคกรตอ ง
กาํ หนดส่ิงสําคัญที่จะเกบ็ ไวเ ปน องคความรู และตองพิจารณาถึงวิธกี ารในการเกบ็ รักษา และนาํ มาใชใหเ กดิ
ประโยชนต ามตองการ องคกรตองเกบ็ รกั ษาส่งิ ท่ีองคกรเรยี กวาเปน ความรไู วใ นดีที่สดุ

การจัดทําสารสนเทศ ควรจัดทําอยา งเปน ระบบ และ ควรเปนระบบทส่ี ามารถคนหาและสงมอบ
ไดอ ยางถูกตองและรวดเรว็ ทนั เวลาและเหมาะสมกบั ความตอ งการ และจัดใหม ีการจาํ แนกรายการตาง ๆ
ท่อี ยบู นพ้นื ฐานตามความจาํ เปน ในการเรยี นรู องคกรตอ งพิจารณาถึงความแตกตางของกลมุ คนในการคน
คนื ความรู องคกรตองหาวธิ ีการใหพ นกั งานทราบถึงชองทางการคนหาความรู เชน การทาํ สมดุ จดั เก็บราย
ชอ่ื และทักษะของผเู ชยี่ วชาญ เครอื ขา ยการทาํ งานตามลําดับช้นั การประชมุ การฝก อบรม เปนตน ส่งิ
เหลานจ้ี ะนาํ ไปสกู ารถา ยทอดความรใู นองคก ร

118 หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการเรยี นรู รายวิชาทกั ษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน

วตั ถุประสงคการจดั ทําสารสนเทศ

1. เพ่ือใหม ีระบบการจัดเก็บขอมูลและองคค วามรู อยา งเปน หมวดหมู และเหมาะสมตอ การ
ใชงาน สามารถคน หาไดต ลอดเวลา สะดวก งาย และรวดเรว็

2. เพ่ือใหเกดิ ระบบการส่ือสาร การแลกเปล่ียน แบง ปน และถา ยทอดองคความรรู ะหวางกนั
ผา นส่อื ตา ง ๆ อยา งมีประสทิ ธภิ าพ

3. เพอ่ื ใหเกิดการเขาถงึ และเชื่อมโยงองคค วามรู ระหวางหนว ยงานท้งั ภายในและภายนอกอยา ง
เปนระบบ สะดวกและรวดเรว็

4. เพ่อื รวบรวม และจดั เกบ็ ความรูจากผูมีประสบการณ รวมถงึ ผูเชย่ี วชาญในรูปแบบตา ง ๆ
ใหเปน รปู ธรรม เพ่ือใหทุกคนสามารถเขาถึงความรูและพัฒนาตนเองใหเ ปนผูรูได

5. เพอื่ นําเทคโนโลยสี ารสนเทศ มาใชเ ปนเคร่ืองมือในการถายทอดระหวา งความรฝู งลึกกับ
ความรชู ดั แจง ท่สี ามารถเปล่ียนสถานะระหวางกนั ตลอดเวลา ทาํ ใหเ กดิ ความรใู หม ๆ

การถายทอดความรู

เปน การนาํ ความรทู ีไดร บั มาถา ยทอดใหบุคลากรในองคกรไดร ับทราบ และใหม คี วามรูเพยี งพอ
ตอ การปฏบิ ตั งิ าน การเผยแพรความรูจ งึ เปน องคประกอบหน่งึ ของการจดั การความรู การเผยแพรความรู
มกี ารปฏิบตั กิ นั มานานแลว สามารถทําไดห ลายทางคือ การเขยี นบนั ทกึ รายงาน การฝกอบรม การประชุม
การสัมมนา จัดทําเปนบทเรยี นท้ังในรปู แบบของหนังสือ บทความ วดิ ิทศั น การอภปิ รายของเพือ่ นรว ม
งานในระหวา งการปฏบิ ัตงิ าน การอบรมพนกั งานใหมอยา งเปนทางการ หอ งสมุด การฝกสอนอาชพี และ
การเปน เลี้ยง การแลกเปลีย่ นเรียนรใู นรปู แบบอืน่ ๆ เชน ชมุ ชนนกั ปฏิบตั ิ เร่อื งเลาแหงความสําเรจ็
การสัมภาษณ การสอบถาม เปน ตน การถา ยทอดหรอื เผยแพรความรู มกี ารพฒั นารูปแบบโดยอาศัย
เทคโนโลยเี พอ่ื การสื่อสาร และเทคโนโลยมี กี ารกระจายไปอยางกวา งขวาง ทําใหกระบวนการถา ยทอด
ความรผู านเทคโนโลยโี ดยเฉพาะอินเตอรเ นต็ ไดความนิยมอยา งแพรห ลายมากขนึ้

การเผยแพรค วามรแู ละการใชประโยชน มคี วามจาํ เปนสาํ หรบั องคกร เนือ่ งจากองคกรจะเรียนรู
ไดด ขี น้ึ เมือ่ มีความรู มกี ารกระจายและถายทอดไปอยางรวดเร็ว และเหมาะสมทว่ั ท้ังองคกร การเคล่ือนท่ี
ของสารสนเทศและความรรู ะหวา งบุคคลหน่งึ ไปอีกบุคคลหนงึ่ นน้ั จึงเปนไปไดโดยตง้ั ใจและไมตัง้ ใจ

หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการเรยี นรู รายวชิ าทกั ษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน 119

กจิ กรรมทา ยบท

กิจกรรมที่ 1 ทานสามารถเปน “คุณอํานวย” ไดหรือไม เพราะเหตุใด
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

กจิ กรรมท่ี 2 ทา นเคยเขา รว มแลกเปลย่ี นเรียนรใู นลกั ษณะ “ชมุ ชนนกั ปฏบิ ตั ิ CoPs”
เรอื่ งอะไร และชมุ ชนนักปฏบิ ตั ิทท่ี า นเขา รว มมีลกั ษณะอยางไร

..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

กิจกรรมที่ 3 ความรทู ี่จาํ เปนในการแกปญ หาหรือพัฒนาตวั ทานคืออะไร และขอบขา ยความรูนั้น
มอี ะไรบาง

..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

กจิ กรรมที่ 4 การจัดทาํ สารสนเทศเพือ่ เผยแพรค วามรู ทา นวาวิธีใดดีทสี่ ดุ เพราะเหตุใด
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

120 หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าทักษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน

เรอ่ื งที่ 4 การฝก ทกั ษะกระบวนการจัดการความรู

กระบวนการจัดการความรดู วยตนเอง

การจัดการความรดู วยตนเอง

การจดั การความรดู วยตนเอง จะทาํ ใหผ เู รยี นเรยี นรหู ลักการอันแทจรงิ ในการพฒั นาตนเอง และ
จงู ใจตนเองใหกาวไปสกู ารพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ และคุณภาพในการทาํ งาน เปนผูมีสมั ฤทธผิ์ ลสงู สุด
โดยการนําองคความรูทเี่ ปน ประโยชนไปประยุกตใชในชีวติ จรงิ และการทาํ งานไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ และ
สามารถปรบั ตัวทันตอ โลกยคุ โลกาภวิ ัตน มโี อกาสแลกเปลยี่ นเรียนรปู ระสบการณช วี ติ และประสบการณ
การทาํ งานรว มกัน มีทศั นคติท่ดี ีตอชวี ิตตนเองและผูอ่นื มคี วามกระตอื รอื รนและเสรมิ สรา งทศั นคตทิ ด่ี ี
ตอการทาํ งาน นําไปสกู ารเห็นคณุ คา ของการอยูรว มกันแบบพึ่งพาอาศยั กัน ชวยเก้อื กูลกัน เรียนรซู ึง่ กนั
และกนั กอ ใหเ กิดการเปน ชมุ ชนแหงการเรยี นรู ในลกั ษณะของทีมท่มี ปี ระสิทธภิ าพ

การจดั การความรูเปน เร่ืองทเี่ ริม่ ตน ที่คน เพราะความรูเปนสงิ่ ทเ่ี กิดมาจากคน มาจากระบวนการ
เรยี นรูการคิดของคน คนจงึ มีบทบาททั้งในแงของผูสรางความรู และเปนผทู ี่ใชค วามรู ซงึ่ ถาจะมองภาพ
กวางออกไปเปน ครอบครัว ชมุ ชน หรือแมแตใ นหนวยงาน ก็จะเห็นไดว าท้ังครอบครวั ชมุ ชน หนว ยงาน
ลวนประกอบขนึ้ มาจากคนหลาย ๆ คน ดังนัน้ หากระดบั ปจ เจกบุคคลมคี วามสามารถในการจัดการความรู
ยอมสงผลตอ ความสามารถในการจดั การความรูข องกลมุ ดว ย

วธิ ีการเรยี นรูท ่เี หมาะสมเพอ่ื ใหเกดิ การจัดการความรดู ว ยตนเอง คอื ใหผเู รียนไดเริม่ กระบวนการ
เรยี นรูต ้ังแตการเรมิ่ คดิ คิดแลวลงมือปฏบิ ัติ และเม่ือปฏิบตั ิแลวจะเกิดความรจู ากการปฏบิ ัติ ซง่ึ ผูป ฏิบัติ
จะจดจําทัง้ สวนทีเ่ ปนความรูฝ ง ลกึ และความรทู เี่ ปดเผย มีการบนั ทึกความรใู นระหวางเรียนรูกิจกรรมหรือ
โครงการลงในสมดุ บนั ทกึ ความรปู ฏบิ ัตทิ ่ีบนั ทึกไวในรปู แบบตา ง ๆ จะเปน ประโยชนส ําหรบั ตนเองและ
ผอู ่ืนในการนาํ ไปปฏบิ ัตแิ กไขปญ หาทชี่ มุ ชนประสบอยใู หบ รรลเุ ปาหมาย และขนั้ สุดทายคอื ใหผเู รยี นได
พัฒนาปรบั ปรุงสงิ่ ท่ีกาํ ลงั เรยี นรอู ยูตลอดเวลา ยอ นดูวา ในกระบวนการเรยี นรูน ้ัน มีความบกพรอ งในขน้ั
ตอนใด กล็ งมอื พฒั นาตรงจดุ นัน้ ใหดี

ทักษะการเรยี นรู เพอ่ื จดั การความรใู นตนเอง

ผูเ รียนจะตองพฒั นาตนเอง ใหม ีความสามารถและทกั ษะในการจดั การความรูด วยตนเองใหม ี
ความรูทสี่ งู ขึ้น ซึ่งสามารถฝกทกั ษะเพ่ือการเรียนรูไดดังนี้

ฝก สงั เกต ใชส ายตาและหเู ปนเครอื่ งมอื การสังเกตจะชวยใหเขา ใจในเหตุการณหรือปรากฏการณ
น้ัน ๆ

ฝก การนําเสนอ การเรียนรจู ะกวางขน้ึ ไดอ ยา งไร หากรอู ยูค นเดยี ว ตอ งนาํ ความรไู ปสูก ารแลก
เปลีย่ นเรียนรูกับคนอ่นื การนําเสนอใหค นอนื่ รับทราบ จะทําให เกิดการแลกเปลี่ยนความรูกนั อยา งกวาง
ขวาง

ฝกตง้ั คาํ ถาม คําถามจะเปน เครอ่ื งมืออยางหน่ึงในการเขา ถึงความรไู ด เปนการตง้ั คําถามให
ตนเองตอบ หรือจะใหใครตอบกไ็ ด ทาํ ใหไดข ยายขอบขายความคดิ ความรู ทาํ ใหรูลึก และรูก วางยิ่งขน้ึ ไป

หนงั สอื เรียนสาระทักษะการเรียนรู รายวิชาทกั ษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน 121

อกี อนั เน่ืองมาจากการที่ไดศ กึ ษาคน ควาในคาํ ถามทีส่ งสัยนน้ั คําถามควรจะถามวา ทําไม อยา งไร ซง่ึ เปน
คาํ ถามระดบั สูง

ฝก แสวงหาคาํ ตอบ ตอ งรวู าความรู หรือคําตอบที่ตอ งการน้นั มีแหลงขอ มลู ใหคนควาไดจากท่ี
ไหนบา ง เปนความรูที่อยใู นหองสมดุ ในอินเตอรเ น็ต หรือเปน ความรูท่ีอยใู นตัวคน ทต่ี องไปสมั ภาษณ ไป
สกดั ความรอู อกมา เปน ตน

ฝก บูรณาการเชอื่ มโยงความรู เนอ่ื งจากความรเู รื่องหนง่ึ เรือ่ งใดไมม ีพรมแดนกัน้ ความรนู น้ั
สมั พนั ธเชือ่ มโยงกันไปหมด จงึ จําเปนตองรูความเปนองคร วมของเร่ืองน้ัน ๆ อยางยกตวั อยา งปยุ หมกั
ไมเ ฉพาะแตมีความรเู รื่องวิธที ําเทา น้ัน แตเชือ่ มโยงการกาํ หนดราคาไวเพ่ือจะขาย โยงไปทวี่ ิธีใชถ า จะนาํ
ไปใชเอง หรือแนะนําใหผอู ่ืนใช โยงไปถึงบรรจภุ ณั ฑว าจะบรรจกุ ระสอบแบบไหน ทกุ อยางบรู ณาการกัน
หมด

ฝก บนั ทกึ จะบนั ทกึ แบบจดลงสมดุ หรอื เปน ภาพ หรอื ใชเ ครอ่ื งมอื บนั ทกึ ใด ๆ กไ็ ด ตอ งบนั ทกึ ไว
บันทกึ ใหปรากฏรองรอยหลักฐานของการคดิ การปฏิบตั ิ เพื่อการเขาถึงและการเรียนรูของบุคคลอ่ืนดวย

ฝกการเขียน เขียนงานของตนเองใหเ ปน ประโยชนตอ การเรยี นรขู องตนเองและผอู ื่น งานเขยี น
หรอื ขอเขยี นดงั กลาวจะกระจายไปเพอื่ แลกเปล่ยี นเรยี นรกู บั ผูคนในสงั คมทมี่ าอานงานเขยี น

ข้ันตอนการจัดการความรูดวยตนเอง

ในการเรียนรูเ พ่ือจดั การความรใู นตวั เอง นอกจากวิเคราะหต นเองเพอ่ื กําหนดองคค วามรทู ่ี
จาํ เปน ในการพัฒนาตนเองแลวนัน้ การแลกเปลี่ยนเรยี นรูเพื่อใหไ ดม าซึง่ ความรู เปนวิธีการคน หาและเขา
ถงึ ความรูทงี่ า ยเปนการเรยี นรูทางลดั น่ันคอื ดูวาทอ่ี ่นื ทําอยา งไร เลยี นแบบ best practice และทําใหด ีกวา
เมื่อปฏบิ ตั ิแลวเกดิ ความสาํ เรจ็ แมเพียงเลก็ นอยกถ็ ือวาเปน best practice ในขณะน้นั กระบวนการเรยี นรู
เพอ่ื พฒั นาตนเองสามารถดาํ เนินการตามข้ันตอนตา ง ๆ ได ดังน้ี

1. ขนั้ การบงช้ีความรู ผเู รียนวิเคราะหต นเอง เพอ่ื รจู ดุ ออน จุดแข็งของตนเอง กาํ หนด
เปา หมายในชวี ติ กาํ หนดแนวทางเดนิ ไปสจู ดุ หมาย และรวู า ความรทู ี่จะแกปญหาและพฒั นาตนเองคอื
อะไร

2. ข้นั สรางและแสวงหาความรู ผูเ รียนจะตองตระหนกั และเหน็ ความสาํ คญั ของการแสวง
หาความรู เขา ถงึ ความรทู ต่ี องการดว ยวธิ กี ารทหี่ ลากหลาย แหลงเรยี นรูทใ่ี ชในการแสวงหาความรู ไดแก
การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ การแสวงหาความรจู ากผเู ชยี่ วชาญ ภูมิปญ ญาทอ งถน่ิ และเพ่ือน โดย
ยอมรับในความรูความสามารถซึ่งกันและกนั และตองใชทกั ษะตาง ๆ เพอื่ ใชในการสรางความรู เชน ฝก
สงั เกต ฝก การนาํ เสนอ ฝกการตั้งคําถาม ฝกการแสวงหาคําตอบ ฝกบรู ณาการเชอื่ มโยงความรู ฝก
บันทึก และฝก การเขียน

3. การจัดการความรใู หเปนระบบ จัดทําสารบญั จดั เก็บความรูประเภทตาง ๆ ทจี่ าํ เปน ตองรู
และนําไปใชเพอื่ การพัฒนาตนเอง การจัดการความรูใหเ ปนระบบจะทาํ ใหเก็บรวบรวม คน หา และ นํามา
ใชไ ดง าย รวดเรว็

4. ขัน้ การประมวลและกลน่ั กรองความรู ความรทู ี่จาํ เปนอาจตอ งมกี ารคนควา และแสวงหา
เพมิ่ เตมิ เพอื่ ใหค วามรูม ีความทนั สมยั นําไปปฏิบัตไิ ดจริง

122 หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวิชาทกั ษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

5. การเขา ถงึ ความรู เมื่อมคี วามรูจากการปฏิบัตแิ ลว มีการเก็บความรู ในรปู แบบตางๆ เชน
สมดุ บันทกึ ความรู แฟมสะสมงาน วารสาร หรือใชเ ทคโนโลยใี นการจดั เกบ็ รูปแบบเวบ็ ไซต วีดทิ ศั น
แถบบนั ทกึ เสียง และคอมพวิ เตอร เพือ่ ใหตนเองและผอู ่ืนเขา ถึงไดงายอยา งเปน ระบบ

6. ข้นั การแบงปนแลกเปลย่ี นความรู ผูเ รยี นตองเขา รว มกิจกรรมแลกเปลยี่ นเรียนรกู บั เพื่อน
ๆ หรือชมุ ชน เพือ่ เรียนรูรวมกัน อาจเปน ลักษณะของการสัมมนา เวทเี รอื่ งเลา แหงความสาํ เรจ็ การศึกษา
ดงู าน หรือแลกเปลย่ี นเรยี นรผู า นทางอนิ เทอรเนต็ เปน ตน

7. ขน้ั การเรียนรู ผเู รียนจะตองนําเสนอความรูใ นโอกาสตา ง ๆ เชน การจัดนทิ รรศการ การพบ
กลุม การเขา คาย หรอื การประชมุ สัมมนา รวมท้งั มกี ารเผยแพรความรผู า นชองทางตาง ๆ เชน วารสาร
เวบ็ ไซต จดหมายขาว เปนตน

ความสาํ เร็จของการจดั การความรูดวยตนเอง

1. ผูเ รียนเกดิ การเรียนรตู ามแผนพฒั นาตนเองทีไ่ ดก ําหนดไว
2. ผูเรียนตระหนกั ถึงความรับผิดชอบในการพฒั นาตนเองเพ่อื เรียนรูวชิ าตางๆ อยางเขาใจ และ
นาํ ไปใชป ระโยชนในชีวิตประจําวนั ได
3. ผูเรียนมคี วามรูท ที่ ันสมัย เหมาะสมกับสถานการณปจจบุ นั สามารถปรบั ตวั ใหอยใู นสังคมได

ตัวอยางตาพรํากับการจดั การความรู

สรุ ินทร กจิ นิตยช ีว

ตาพรํา เสนานาท อายุ 55 ป ราษฎรตาํ บลบานหลวง อําเภอเสนา จังหวดั พระนครศรีอยุธยา
พาครอบครัวไปหากินทก่ี รุงเทพฯ เมื่อหลายปมาแลว แตสุดทายก็ตองตดั สนิ ใจกลบั บา นเพราะครอบครัวมี
แตความทกุ ขยาก กินอยูแบบอดๆ อยากๆ

เขามีทีด่ นิ เหลืออยู 3 งาน จงึ ขุดรอ งสวนและปลกู ผกั โดยใชส ารเคมี ทั้งปยุ และยาปราบศตั รูพืช
ใหภ รรยานาํ ไปขายท่ีตลาด และเขายงั รบั จา งฉดี ยาฆาหญา ใหแ กเพ่ือนบา นอกี ดว ย

มชิ ามินานเขาเร่ิมเจบ็ ปวย ตวั ซดี เหลอื ง จึงตอ งไปหาหมอท่ีสถานอี นามยั ขา งบา นไมไ ดห ยุด ถึง
หมอจะบอกตน เหตขุ องความเจบ็ ปวย แตเ ขากเ็ ลกิ ไมได เพราะลูกท้งั 4 คน ตอ งกนิ ใชมากขน้ึ และไป
โรงเรียนกนั

หนีส้ ินพอกพูนขึน้ ตัวเขาเจบ็ ออดแอดมากข้ึน รายจายสารพดั แตร ายไดมี 2 ทาง คือ ขายผัก
กบั รับจา งฉดี ยาฆา หญา ไมร จู ะจดั การกับครอบครัวอยา งไร หาทางออกไมไ ดกก็ ลมุ ใจ เร่มิ มีปากเสียงกับ
สมาชกิ ในครอบครวั ทพี่ ึ่งของเขาคอื เหลากับบหุ ร่ี

วนั หน่งึ นายเชิด พันธุเพ็ง นกั จัดการความรูของชุมชนวัฒนธรรมคลองขนมจนี ไปพบเขาจึง
ไตถ ามสารทกุ ขส ุกดิบในฐานะเพอื่ นบา น เขาไดเ ลาเรอ่ื งโครงการชมุ ชนเปนสุขใหฟง และชวนตาพรําเขา
เปนสมาชกิ เพ่ือแกไ ขปญ หาทเ่ี ผชญิ อยู

ตาพราํ ฟง นายเชดิ อธบิ ายถงึ การปลูกผักแบบยง่ั ยนื ดว ยการจดั การความรู เพอ่ื ครอบครวั และ
ชมุ ชนเปนสขุ ไปพรอ มกัน เปน การจดั การดว ยสตปิ ญ ญาเพือ่ พฒั นาปากทอง คอื เศรษฐกิจ จติ ใจ ครอบครัว
ชมุ ชน สังคม วัฒนธรรม สง่ิ แวดลอ ม และความสุข ไปพรอมกนั แบบองครวม ไมแ ยกสว น

หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน 123

ทุกเร่อื งทุกประเดน็ ท่ีนายเชดิ ชแี้ จงเปนเรือ่ งใหมส ําหรบั ตาพรํา และตาตราํ กไ็ มสูเขาใจนัก แตที่
ตัดสินใจเขา รว มทนั ทีเพราะเขาอยากออกจากความทกุ ขท่ปี ระสบอยู และเขากไ็ มม ีทางเลอื กอ่ืน

ในชวงตน ของการเขาโครงการ ตาพราํ แทบจะลาออกเสียหลายคร้งั เพราะเขาตองแบง เวลาทาํ กิน
ไปเรยี นรกู บั สงิ่ ท่เี ขากไ็ มคอยจะเช่ือนัก แตเขากส็ นใจเรื่องที่จะทาํ ใหเขาไมเ จ็บปว ย นอกจากนัน้ การเขา กลมุ
ทาํ ใหเ ขาไดร บั ความเห็นใจจากเพือ่ น ๆ

เชิดไดพ าตาพราํ ไปเรียนรเู ร่ืองเกษตรยง่ั ยืนจากเครอื ขายในตางจงั หวดั พรอมกบั เพ่ือนๆ ตาพรํา
เรียนรเู รือ่ งการจัดการทรพั ยากรเชิงระบบ เขาใหค วามสนใจกับการทํานํ้าสมควันไมจากถา นไม เพอ่ื นาํ ไป
ทดแทนสารเคมีกําจดั ศัตรพู ืช และในหมบู า นของเขากม็ ีเศษตนไม กิง่ ไม ที่ชุมชนตดั ท้ิงไวมากมาย เขา
สามารถนาํ มาจัดการใชป ระโยชนไ ดโดยไมตอ งซ้ือหา

เมื่อกลับมาถึงบาน ตาพรําลงมือทําเตาเผาถานแบบใหมท ันที เปนเตาทส่ี ามารถใหท ้ังถานและ
นา้ํ สม ควนั ไม เขาทําแลวทําอีกจนสาํ เรจ็ ซึ่งนอกจากเขาจะไดนํ้าสมควันไมไปใชในสวนผักแลว ยังไดถานไว
ใชใ นครัวเรอื นอกี ดวย

เมื่อเหลือใชแลวตาพรําก็ขายใหกับเพื่อนบาน เขาขายดีจนผลิตไมทัน ตองเพิ่มจํานวนเตาขึ้น
เด๋ียวน้ีเขาไมตองไปรับจางฉีดยาฆาหญา แลว วนั ๆ หน่งึ เขาทาํ สวนผกั ใชน ้าํ สม ควนั ไมแ ทนสารเคมีกําจัด
ศัตรพู ืช กรองน้ําสมควนั ไมใสขวดขายขวดละ 50 บาท กรอกถานใสถุงขายถงุ ละ 15 บาท ซึ่งนอกจากเขา
จะลอดรายจายในครัวเรอื นไดจริงแลว เขายังมีรายไดเพม่ิ ข้นึ ดว ย

วันๆ หนงึ่ ตาพราํ ขลกุ อยูกับสวนผกั ขลกุ อยูกับเตาถา น วางแผนงานในวนั รงุ ขนึ้ วา จะจดั การกบั
ผกั อะไรบา ง อยา งไร จะจดั การกบั การตลาดของถา นและนาํ้ สมควันไมอยา งไร จนลืมเรื่องเหลาบหุ รี่ไป ปจ
จบุ ันเขาเกอื บจะไมไดแ ตะตอ งมัน จะมีบางก็กบั เพอื่ น ๆ และสมาชกิ เครอื ขายบางคน เปนครัง้ คราวเทา นั้น
หนสี้ นิ จึงลดลงไปมาก แมจ ะยงั ไมหมดแตก ็มคี วามหวังเพราะเขาจดั การได ความทกุ ขหลายดา นลดลง ทง้ั
โรคภยั ไขเจ็บและความสุขของครอบครวั ลูกคนหนงึ่ ลาออกจากโรงงานทาํ รองเทา ชว ยพอ แม ทุกคนกนิ อมิ่
นอนหลบั

ชวงหลงั นตี้ าพราํ เปน ทีย่ อมรบั ของเพื่อนบา น ของสมาชิกกลมุ และเครอื ขา ยเกษตรยัง่ ยืน เขา
เปนวทิ ยากรเร่ืองน้าํ สมควันไมด วยความมั่นใจ เขาสรางความรเู รอ่ื งนี้ดวยหนึง่ สมองกบั สองมือ และถา ย
ทอดถึงมรรควิธีการจัดการทรัพยากร รวมทั้งการจัดการกับปญหาตาง ๆ ซึ่งเปนทุกขของครอบครัวดวย
ใบหนา ยิม้ แยม ดวยน้ําใจและเปนสขุ ปจจบุ ันเขาสรา งเครือขายเรอื่ งน้ีถงึ 4 อําเภอในจงั หวดั พระนครศรี
อยธุ ยา

เมื่อวางจากงานเขานั่งมองดูสวน และคิดทบทวนสาระตาง ๆ ในสิ่งที่นายเชิดพูดคุยกับเขาใน
วันแรก ออ! การจัดการความรูเปน อยา งนี้เอง มนั คือการเรียนรู เอาความรูม าจัดการเชงิ ระบบ สรา งความ
รูใหมเพ่ือปรับตัวใหส อดคลอ งกบั โลกยคุ ใหมดว ยสติปญ ญา ปรับรปู แบบการพัฒนาแตร กั ษาความสมดลุ
ของระบบความสมั พนั ธระหวางมนุษยก บั มนษุ ย มนษุ ยกับสงิ่ แวดลอ ม เพ่ือใหเกดิ การยัง่ ยนื สบื ไป

นคี่ อื การสรุปเรอ่ื งการจัดการความรขู องตาพราํ !!!

124 หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าทกั ษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน

การสรปุ องคค วามรแู ละการจัดทําสารสนเทศ
การจดั การความรดู ว ยตนเอง

การสรปุ องคค วามรู

การจดั การความรู เรามุงหา “ความสําเรจ็ ” มาแลกเปลีย่ นเรยี นรู เรามงุ หาความสาํ เรจ็ ในจุด

เล็ก ๆ จุดนอ ยตางจุดกนั นาํ มาแลกเปลี่ยนเรียนรู เพื่อใหเกิดการขยายผลไปสูค วามสําเร็จท่ีใหญข ้ึน

องคค วามรเู ปน ความรจู ากการปฏิบัติเรียกวา “ปญ ญา” กระบวนการเรยี นรูเปด โอกาสใหผ ูเรยี น

เปนผสู รางความรูดว ยตนเอง สังเกตส่ิงทีต่ นอยากรู ลงมือปฏิบตั ิจริง คน ควา และแสวงหาความรูเพม่ิ จน

คน พบความรู สรา งสรรคเ กิดเปน องคความรแู ละเกิดประสบการณใ หม การเรียนรแู บบน้ีจะสง เสริมให

ผเู รยี นไดพ ฒั นาความสามารถในการคดิ สกู ารปฏบิ ตั ิ และเกดิ “ปญ ญา” หรอื องคค วามรเู ฉพาะของตนเอง

องคความรมู ีอยอู ยา งมากมาย การปฏิบตั ิงานจนประสบผลสําเรจ็ รวมทัง้ การแกปญ หาตาง ๆ ท่ี

เกิดขึ้นในระหวา งการทาํ งานที่สง ผลใหงานสาํ เร็จลลุ ว งตามเปา ประสงค ถือวาเปนองคค วามรูท่ีเกดิ ขนึ้ ทง้ั ส้นิ

และเปนองคค วามรูท่ีมคี าตอการเรยี นรทู ้ังส้นิ

การสรปุ องคค วามรมู ีความสําคญั ตอกระบวนการจัดการความรเู ปน อยา งยิง่ เพราะการสรุป

องคความรูจะเปน การตอยอดความรใู หก ับตนเองและผูอน่ื หากบคุ คลอื่นตองการความชว ยเหลอื ในการ

แกปญหาบางเร่อื ง เราจะใชความรูทม่ี อี ยูชวยเหลือเพื่อนไดอยางไร และเม่ือเราจะเริม่ ตนทําอะไร เรารบู าง

ไหมวา มใี ครทาํ เรือ่ งนมี้ าบา ง อยูที่ไหนในชมุ ชนของเรา เพ่ือทีเ่ ราจะทาํ งานใหส าํ เร็จไดงา ยข้นึ และไมท ําผดิ

ซ้าํ ซอ น การดําเนนิ การจดั การองคความรู อาจตองดําเนนิ การตามขัน้ ตอนตาง ๆ ดังนี้

1. การกาํ หนดความรหู ลกั ท่ีจาํ เปนหรอื สําคญั ตองาน หรือกิจกรรมของกลมุ หรือองคก ร

2. การเสาะหาความรูทต่ี อ งการ

3. การปรบั ปรงุ ดดั แปลง หรอื สรางความรูบางสวนใหเ หมาะตอ การใชงานของตน

4. การประยุกตใชค วามรใู นกจิ กรรมงานของตน

5. การนําประสบการณจากการทํางาน และการประยกุ ตใชความรูมาแลกเปลย่ี นเรยี นรูและสกดั

ขมุ ความรู ออกมาบนั ทึกไว

6. การจดั บันทกึ “ขุมความรู” และ “แกน ความร”ู สําหรับไวใ ชงาน และปรบั ปรงุ เปน ชุดความ

รูท่ีครบถว น ลมุ ลึก และเชื่อมโยงมากข้นึ เหมาะตอการใชง านมากขึ้น

การจัดการความรเู พอ่ื ใหเ กดิ องคค วามรทู ต่ี องการ เร่ิมจากการกาํ หนด “เปา หมายของงาน”

นั่นคือ การบรรลุผลสมั ฤทธ์ิ ในการดําเนินการตามทีก่ าํ หนดไว คอื

1. การตอบสนอง คอื การสนองตอบความตองการของทกุ คนท่ีเกยี่ วของ

2. การมีนวัตกรรม คอื 1) นวตั กรรมในการทํางาน

2) นวตั กรรมทางผลงาน

3. ขีดความสามารถ คอื การมีสมรรถนะ ทเ่ี กิดจากการเรียนรขู องตนเอง

4. ประสทิ ธภิ าพ คอื องคความรู หรือ คลังความรู

หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู รายวิชาทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน 125

การจดั ทาํ สารสนเทศการจดั การความรูดว ยตนเอง

การจัดการความรูดว ยตนเอง องคความรกู ย็ งั อยูในสมองคนในรปู ของประสบการณจากการ
ทาํ งานทป่ี ระสบผลสาํ เรจ็ นนั้ เราตอ งมีการถอดองคความรูซ่งึ อาจไหลเวยี นองคความรจู ากคนสูคน หรอื
จากคนมาจัดทาํ เปนสารสนเทศในรปู แบบตาง ๆเพือ่ ใหคนเขาถงึ ความรูไดงา ยและนําไปสูก ารปฏบิ ัติได
โดยการนาํ ความรทู ี่ไดมาจดั เก็บ เปนหมวดหมขู องความรู การชแ้ี หลง ความรู การสรางเคร่ืองมือในการ
เขาถงึ ความรู การกรองความรู การเชือ่ มโยงความรู การจัดระบบองคความรยู ังหมายรวมถงึ การทาํ ให
ความรลู ะเอยี ดชัดเจนขนึ้ องคค วามรอู าจจดั เก็บไวใ นรูปแบบตาง ๆ เชน บันทกึ ความรู แฟมสะสมงาน
เอกสารจากการถอดบทเรยี น แผน ซีดี เวบ็ ไซต เวบ็ บลอ็ ก เปนตน

กระบวนการจดั การความรูด ว ยการรวมกลมุ ปฏิบัติการ

กระบวนการจัดการความรูดว ยกลุม ปฏิบตั กิ าร

ในยคุ ของการเปลย่ี นแปลงท่ีรวดเร็วนั้น ปญ หาจะมีความซบั ซอ นมากขน้ึ เราจําเปน ตอ งมคี วาม
รทู หี่ ลากหลาย ความรูสว นหนงึ่ อยใู นรปู ของเอกสาร ตาํ รา หรืออยใู นรปู ของสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส เชน เทป วิดี
โอ แตค วามรูทมี่ ีอยูมากทส่ี ุดคืออยูในสมองคน ในรูปแบบของประสบการณ ความจํา การทํางานที่ประสบ
ผลสาํ เรจ็ การดาํ รงชวี ติ อยูในสงั คมปจ จบุ นั จําเปนตอ งใชค วามรูอยา งหลากหลาย นําความรูหลายวิชามา
เชื่อมโยง บูรณาการ ใหเกดิ การคดิ วิเคราะห สรางความรใู หมจากการแกป ญหาและพฒั นาตนเอง ความรู
บางอยางเกดิ ขน้ึ จากการรวมกลุมเพอ่ื แกปญ หา หรือพัฒนาในระดบั กลุม องคก ร หรือชมุ ชน ดงั น้นั จงึ ตอ ง
มกี ารรวมกลุมเพื่อจัดการความรูร ว มกัน

ปจจยั ทีท่ าํ ใหการจัดการความรูด ว ยการรวมกลุม ปฏบิ ัตกิ ารประสบผลสําเร็จ

1. วัฒนธรรมและพฤตกิ รรมของคนในกลุม คนในกลุมตองมีเจตคติท่ีดใี นการแบง ปน ความรู
ซึง่ กันและกัน มคี วามไวเน้อื เช่ือใจกนั ใหเ กียรตกิ นั และเคารพความคดิ เห็นของคนในกลมุ ทุกคน

2. ผนู าํ กลมุ ตองมองวาคนทุกคนมคี ุณคา มีความรูจากประสบการณ ผูน ํากลมุ ตองเปนตน
แบบในการแบงปนความรู กําหนดเปา หมายของการจดั การความรูในกลมุ ใหชดั เจน หาวธิ ีการใหคนใน
กลมุ นาํ เรอ่ื งทต่ี นรอู อกมาเลา สกู นั ฟง การใหเ กยี รตกิ บั ทกุ คนจะทาํ ใหท กุ คนกลา แสดงออกในทางสรา งสรรค

3. เทคโนโลยี ความรูท่เี กดิ จากการรวมกลุม ปฏิบัติการเพือ่ ถอดองคความรู ปจจุบนั มีการใช
เทคโนโลยีมาใชเพอื่ การจัดเกบ็ เผยแพรความรกู ันอยางกวางขวาง จดั เกบ็ ในรูปของเอกสารในเว็บไซต วดิ ิ
โอ VCD หรือจดหมายขาว เปน ตน

4. การนําไปใช การตดิ ตามประเมนิ ผล จะชว ยใหทราบวา ความรทู ีไ่ ดจากการรวมกลุมปฏบิ ตั ิ
การมีการนําไปใชหรอื ไม การติดตามผลอาจใชวิธกี ารสังเกต สมั ภาษณ หรือถอดบทเรยี นผูเก่ียวขอ ง
ประเมนิ ผลจากการเปลย่ี นแปลงทเี่ กิดขึ้นในกลมุ เชน การเปล่ียนแปลงทางดานความคิดของคนในกลุม
พฤติกรรมของคนในกลุม ความสัมพันธ ความเปน ชุมชนทร่ี วมตัวกนั เพ่ือแลกเปล่ียนความรูก นั อยา ง
สมํ่าเสมอ รวมท้งั การพัฒนาดานอ่นื ๆ ที่สง ผลใหก ลมุ เจริญเตบิ โตขนึ้ ดว ย

126 หนังสอื เรียนสาระทักษะการเรยี นรู รายวิชาทกั ษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน

ตัวอยางกลุม หอมทองยดั เยยี ด

บา นปางปอ มกลาง ตาํ บลลอ อําเภอจุน จงั หวัดพะเยา เปน พน้ื ทีท่ ่ปี ลูกกลวยกนั มาก ราคา
กลวยตกต่าํ และมีกลวยชนดิ หนึง่ ท่ชี าวบา นเรียกวา “กลว ยสม ” ชาวบานไมคอ ยนิยมรับประทานเนื่องจาก
เม่อื สุกแลวจะมีรสออกเปรี้ยว จะนําไปใหไ กก นิ เน้ือกลว ยทั้งทย่ี งั ดบิ หรอื สุกจะมสี เี หลอื งนวล นางอชริ า
ปญญาฟู ซงึ่ เปนหัวหนา กลุมไดศ กึ ษาวิธกี ารทาํ กลวยฉาบจากกลุมสตรอี ําเภอแมใ จ และทดลองทํากลวย
ฉาบจากกลว ยสม หรอื เรียกอีกชอื่ หนงึ่ วา “กลวยหอมทอง” ทดลองหลายครัง้ และนําเนยมาเปน สวนผสม
ของเครือ่ งปรุง ทําใหส ีกลว ยฉาบสวยเปนธรรมชาติ มีความกรอบและมรี สชาติทีก่ ลมกลอมเนื่องจากมี
ความเปรี้ยวอยูในตัว ทําใหไ ดสตู รในการทาํ กลว ยฉาบเฉพาะกลุม จากน้นั สมาชิกกลุมสตรีไดร วมตัวกนั
9 คน ลงหุนกนั คนละ 200 บาท เมอื่ ป 2544 จดั ตั้งกลมุ เพอื่ ผลิตกลวยฉาบขาย และไดนาํ กลวยฉาบ
ไปเสนอขายใหค นที่รจู ักและเจาหนา ท่ีจากสวนราชการตาง ๆ ซ่งึ ทกุ คนมองวา “รสชาติกค็ งเหมือนกลวย
ฉาบธรรมดา” แตเม่อื ทดลองชมิ แลว จงึ เห็นถงึ ความแตกตา งระหวางรสชาดของกลวยฉาบจากกลวยนา้ํ
วากับกลวยฉาบจากกลวยหอมทอง จงึ ใหค วามสนใจสงั่ ซ้ือมากขึ้น และรูจ ักในนาม “กลว ยยดั เยยี ด” ซึ่ง
เปนทมี่ าของการนาํ ไปเสนอขายดวยการขอรองกึ่งบงั คับใหค นซอื้ น่นั เอง

ตอมาสว นราชการในอําเภอไดใหการสนบั สนนุ มากขึ้น เสนอใหม ีการทาํ ปา ยผลติ ภัณฑใ หม และ
ใหเปลีย่ นชื่อเปน “กลวยหอมทองเมอื งจนุ ” แตเ มอ่ื นาํ ไปขายแลว ไมม คี นรจู ัก และไมแ นใจในคณุ ภาพ
ของสนิ คา จงึ ขายไดไมด ี ทําใหต อ งกลับมาใชช่ือเหมอื นเดมิ วา “กลว ยหอมทองยัดเยียด” จนถึงปจ จุบัน

ในการบริหารจดั การของกลมุ ไดมกี ารแบง หนา ที่สมาชกิ กลมุ ใหร บั ผดิ ชอบเปนฝา ยตา ง ๆ ประ
กอบดวย ประธานกลมุ กรรมการฝายตา ง ๆ ฝา ยการตลาด ฝา ยผลิต ฝา ยการเงนิ บัญชี และมเี ลขานกุ าร
กลุม มสี มาชิกเพมิ่ ขน้ึ เปน 20 คน มกี ารลงหนุ เพม่ิ และมีเงนิ ทุนหมนุ เวียนใหสมาชกิ กลมุ ไดก ยู ืม กลุม ได
สรางงานใหก บั คนในชมุ ชนนนั่ คอื สง เสริมใหป ลูกกลว ยขายใหกบั กลุม และเม่ือมีกลวยเขา มาเปน จํานวน
มาก จะจา งแรงงานจากคนในชมุ ชนมาปอกกลว ยเพ่ือทอดไว และจะฉาบเม่อื มลี ูกคาสัง่ สนิ คาเขามา ทําให
ไดกลวยทใี่ หมและกรอบอยตู ลอดเวลา

การพฒั นาผลติ ภณั ฑ กลุมไดม ีการประชุมแลกเปลีย่ นความคิดเห็นรวมกันทุกเดอื น และมี
การนาํ สมาชิกกลมุ ไปศึกษาดงู านกลมุ อาชีพอืน่ ๆ เพื่อนาํ ความรูใหมๆมาพฒั นาผลติ ภัณฑ และมีการ
เช่อื มโยงกับเครอื ขา ยซึง่ เปน กลุมสตรีอน่ื ๆ ในการหาตลาดรวมกัน แลกเปล่ียนความรเู รอ่ื งการบริหาร
จัดการกลุมใหยงั่ ยืน และจากการที่กลมุ ไดไปศกึ ษาดงู านการผลติ กลวยฉาบทีจ่ ังหวัดสโุ ขทัย ทําใหกลุมได
เครอื ขายในการแลกเปลี่ยนเรยี นรูก ารพัฒนาผลิตภณั ฑก วางขนึ้ ความรูจ ากการไปศึกษาดงู านทาํ ใหกลมุ
ไดแนวคดิ เกย่ี วกับการฝานกลวยฉาบใหไ ดใ นปรมิ าณมาก ๆ ไดเรยี นรแู ละขยายการผลติ สนิ คา ชนิดอื่นๆ
เพมิ่ เชน การทาํ เผอื กฉาบ มนั ฝร่งั ทอด และการพฒั นารดชาดของผลติ ภัณฑใ หมีความหลากหลายมาก
ขนึ้ ทาํ ใหก ลมุ ไดร ับการพฒั นา มีใบอนุญาต ท่เี รยี กวา อย.มาเปนเครื่องกํากบั ถงึ คุณภาพของผลติ ภณั ฑ
มีการขยายตลาดไปตางจังหวดั และตางประเทศ กลุม จึงเปน ท่ีรจู ักและดํารงอยูไดม าจนถงึ ทุกวนั นี้

หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการเรียนรู รายวชิ าทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน 127

จากตัวอยา งการดําเนนิ การกลมุ กลวยหอมยดั เยียด ไดม ีการนําการจัดการความรมู าใชเพอ่ื การพฒั นากลมุ
กระบวนการจดั การความรขู องกลุมเปน ดังน้ี

1. การบงชค้ี วามรู เปาหมายของการรวมกลมุ กลว ยหอมยดั เยยี ด คอื สรา งรายไดใ หกับสมาชิก
กลุมอาชพี และพัฒนากลมุ อาชีพใหเ ขมแขง็ ย่ังยืน มรี ายไดอ ยา งตอเนอื่ ง กลุมตองมคี วามรูในเรอ่ื ง
วัตถดุ ิบ กระบวนการผลติ การตลาด การรวมกลุม การสรางเครือขา ย

2. การสรางและแสวงหาความรู เมอ่ื กาํ หนดองคค วามรทู จี่ าํ เปนในการพัฒนากลมุ อาชพี แลว
กลมุ มกี ารสํารวจหาแหลงความรูทดี่ าํ เนินการเกยี่ วกับการทาํ กลวยฉาบ ซ่ึงกอนดําเนินการแสวงหาความรู
ไดม ีการปรกึ ษาหารอื กนั ในกลุม รวมทัง้ สวนราชการทใี่ หการสนบั สนุน จากนั้นไดรวบรวมรายชอื่ กลุม อาชีพ
ที่ทาํ เรือ่ งกลวยในจงั หวดั พะเยา เพอ่ื เปนขอ มลู ในการวางแผนการแลกเปลย่ี นเรยี นรูรวมกนั

3. การจดั การความรูใหเ ปน ระบบ เมือ่ มกี ารแสวงหาความรแู ลว ไดม ีการจดั ทําทาํ เนยี บกลุม
อาชีพตา ง ๆ ท้ังที่อยใู นจงั หวัดพะเยา และนอกจังหวัดพะเยา เพ่ือการแลกเปลยี่ นเรยี นรรู วมกันตอไป

4. การประมวลและกลัน่ กรองความรู ความรทู ีไ่ ดจ ากกลมุ ตา ง ๆ กลมุ ไดม ีการแยกแยะถงึ
ปญหา และจุดเดน ของการดําเนนิ การพัฒนากลุมอาชีพในแตล ะกลุม และนาํ มาจัดทําเวทเี พื่อใหส มาชกิ ลมุ
รว มกนั วิเคราะหถ งึ จดุ เดน จุดดอยของกลมุ เพอื่ การพฒั นากลมุ ใหดียิ่งข้ึนตอ ไป

5. การเขาถงึ ความรู กลุมได สรางเครอื ขา ยเพ่ือการเรยี นรใู นองคค วามรทู ี่จาํ เปนตอ การพฒั นา
กลมุ รว มกนั ทั้งความรูในเรอ่ื งวตั ถุดิบ กระบวนการผลติ การตลาด การบรหิ ารจดั การกลมุ

6. การแบงปน แลกเปล่ียนความรู กลุม มกี ารแลกเปลีย่ นเรียนรรู ว มกันอยูตลอด สรา งความ
สามคั คีภายในกลมุ แลกเปล่ยี นเรียนรูกบั กลมุ อ่นื ๆ ทง้ั กลุม ทีอ่ ยใู นจงั หวัดพะเยา และกลมุ ทอ่ี ยูในจังหวัด
อ่นื จากการศึกษาดูงาน และประชมุ สัมมนา รวมทง้ั การแลกเปลยี่ นเรียนรอู ยางไมเ ปนทางการจากการพบ
เจอกนั ในการออกรา นในงานตา ง ๆ ทสี่ ว นราชการเปนผูจัด

7. การเรียนรู สมาชกิ ในกลมุ เกดิ การเรียนรรู ว มกัน ยกระดับความรใู นเร่ืองวัตถุดบิ ทําใหม ี
วตั ถดุ บิ เพอื่ ใชในการผลติ ตลอดทัง้ ป มีกระบวนการผลิตทง่ี า ยไมยงุ ยากและเปน อันตราย ผลิตไดจ าํ นวน
มาก ๆ เพยี งพอตอ ความตองการ มกี ารขยายตลาดเพิ่ม มีการรวมหุนในกลุมเพ่ือเปน เงินทนุ ของกลมุ และ
ชว ยเหลอื สมาชกิ ท่เี ดือดรอน

128 หนังสือเรียนสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวิชาทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน

การสรปุ องคค วามรูและการจัดทาํ สารสนเทศการจดั การความรู
ดวยการรวมกลุมปฏิบตั ิการ

ในการปฏบิ ตั งิ านแตล ะครงั้ กลมุ จะตองมีการสรปุ องคค วามรูเพื่อจดั ทําเปนสารสนเทศเผยแพร
ความรูใ หก บั สมาชิกกลุม และกลุมอ่นื ๆ ท่ีสนใจในการเรยี นรู และเมื่อมกี ารดําเนินการจดั หาหรือสราง
ความรใู หมจากการพฒั นาข้นึ มา ตอ งมกี ารกาํ หนดส่งิ สาํ คัญท่จี ะเก็บไวเปน องคความรู และตอ งพิจารณา
ถึงวิธกี ารในการเก็บรักษาและนํามาใชใหเ กิดประโยชนตามความตอ งการ ซึง่ กลุมตองจัดเกบ็ องคความรูไ ว
ใหดีที่สุด ไมวาจะเปน ขอ มูลขา วสารสนเทศ การวิจยั การพัฒนา โดยตอ งคํานึงถงึ โครงสรางและสถานท่ี
หรือฐานของการจัดเก็บ ตอ งสามารถคน หาและสง มอบไดอ ยา งถกู ตอ ง มกี ารจําแนกหมวดหมขู องความรู
ไวอ ยา งชดั เจน

การสรปุ องคความรดู ว ยการรวมกลุมปฏิบตั กิ าร

การการจัดการความรูกลมุ ปฏบิ ัตกิ าร เปน การจัดการความรูข องกลุมท่รี วมตวั กนั มีจุดมุงหมาย
ของการทาํ งานรว มกันใหป ระสบผลสาํ เรจ็ ซ่งึ มีกลุมปฏบิ ตั กิ าร หรอื ท่เี รียกวา “ชมุ ชนนกั ปฏิบตั ”ิ เกิดข้ึน
อยา งมากมาย เชน กลุม ฮักเมอื งนา น กลุมเลยี้ งหมู กลมุ เล้ียงกบ กลุมเกษตรอินทรีย กลุม สจั จะออม
ทรพั ย หรอื กลมุ อาชพี ตา ง ๆ ในชุมชน กลมุ เหลานพ้ี รอ มทจี่ ะเรียนรแู ละแลกเปล่ยี นประสบการณซง่ึ กนั
และกนั

องคค วามรูจ งึ เปน ความรูและปญญาท่แี ตกตา งกันไปตามสภาพและบริบทของชมุ ชน การสรา ง
องคความรูหรอื ชุดความรูของกลมุ ไดแ ลว จะทําใหส มาชกิ กลมุ มอี งคค วามรูห รอื ชุดความรูไวเ ปนเครื่องมอื
ในการพัฒนางาน และแลกเปลี่ยนเรยี นรูกบั คนอนื่ หรอื กลุม อนื่ อยางภาคภูมิใจ เปน การตอ ยอดความรู
และการทาํ งานของตนตอไปอยา งไมม ีที่สน้ิ สุด อยางที่เรียกวา เกดิ การเรียนรูแ ละพฒั นากลุม อยางตอเน่ือง
ตลอดชีวติ

ในการสรุปองคความรูข องกลุม กลุมจะตองมีการถอดองคความรทู ่เี กิดจากการปฏบิ ัติ การถอด
องคค วามรจู ึงมีลกั ษณะของการไหลเวยี นความรู จากคนสูค น และจากคนสูกระดาษ นัน่ คือการองคค วาม
รูมาบันทกึ ไวใ นกระดาษ หรอื คอมพวิ เตอรเพือ่ เผยแพรใ หกับคนทสี่ นใจไดศ กึ ษาและพฒั นาความรูตอไป
ปจ จัยที่สงผลสําเร็จตอ การรวมกลุม ปฏบิ ตั ิการคอื

1. การสรางบรรยากาศของการทํางานรวมกัน กลมุ มีความเปนกันเอง
2. ความไวว างใจซึง่ กนั และกัน เปนหัวใจสําคัญของการทํางานเปน ทมี สมาชิกทุกคนควร
ไวว างใจกัน ซอื่ สัตยตอกัน ส่ือสารกนั อยางเปด เผย ไมม ีลับลมคมใน
3. การมอบหมายงานอยา งชัดเจน สมาชกิ ทกุ คนงานเขาใจวัตถุประสงค เปาหมาย และยอมรับ
ภารกิจหลักของทีมงาน
4. การกําหนดบทบาทใหกบั สมาชิกทกุ คน สมาชิกแตล ะคนเขาใจและปฏิบตั ิตามบทบาทของ
ตนเอง และเรยี นรเู ขา ใจในบทบาทของผูอนื่ ในกลมุ ทกุ บทบาทมีความสาํ คญั รวมท้งั บทบาทในการชวย
รักษาความเปนกลุมใหมั่นคง เชน การประนีประนอม การอาํ นวยความสะดวก การใหก ําลงั ใจ เปน ตน

หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวิชาทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 129

5. วิธกี ารทาํ งาน สิง่ สําคญั ทีค่ วรพจิ ารณา คือ
1) การสอ่ื ความ การทาํ งานเปน กลมุ ตอ งอาศัยบรรยากาศ การส่อื ความท่ชี ดั เจน เหมาะสม

ซึ่งจะทาํ ใหท กุ คนกลาเปดใจ แลกเปลย่ี นความคดิ เห็น และแลกเปลยี่ นเรียนรูซง่ึ กนั และกันจนเกดิ ความ
เขา ใจ และนาํ ไปสกู ารทาํ งานที่มีประสิทธภิ าพ

2) การตดั สินใจ การทํางานเปนกลุมตอ งใชค วามรกู ารตัดสินใจรว มกนั เมื่อเปด โอกาสให
สมาชกิ ในกลมุ แสดงความคิดเห็น และรว มตดั สินใจแลว สมาชกิ ยอมเกิดความผกู พนั ทจ่ี ะทําใหส ิ่งทต่ี นเอง
ไดมีสวนรวมต้ังแตตน

3) ภาวะผูน าํ คอื บุคคลที่ไดรบั การยอมรบั จากผูอนื่ การทาํ งานเปน กลุมควรสงเสริมให
สมาชกิ ในกลมุ ทุกคนไดมีโอกาสแสดงความเปน ผนู าํ เพอื่ ใหท ุกคนเกดิ ความรูสกึ วาไดร บั การยอมรับ จะ
ไดรสู ึกวา การทาํ งานรว มกันเปน กลมุ นน้ั มคี วามหมาย ปรารถนาทจ่ี ะทําอีก

4) การกาํ หนดกตกิ าหรอื กฎเกณฑต า ง ๆ ท่ีจะเอ้ือตอการทํางานรว มกนั ใหบ รรลเุ ปาหมาย
ควรเปด โอกาสใหส มาชกิ ไดมีสวนรว มในการกาํ หนดกติกา หรอื กฎเกณฑทจ่ี ะนาํ มาใชร วมกัน

6. การมสี ว นรว มในการประเมนิ ผลการทาํ งานของกลมุ ควรมกี ารประเมนิ ผลการทาํ งานเปน ระยะ
ในรูปแบบท้ังไมเปนทางการและเปนทางการ โดยสมาชิกทุกคนมสี ว นรว มในการประเมนิ ผลงาน ทาํ ให
สมาชิกไดร บั ทราบความกา วหนาของงาน ปญ หาอปุ สรรคทเี่ กดิ ขนึ้ รวมท้งั พฒั นากระบวนการทํางาน หรือ
การปรับปรงุ แกไ ขรวมกัน ซงึ่ ในที่สดุ สมาชกิ จะไดทราบวาผลงานบรรลุเปาหมาย และมคี ุณภาพมากนอ ย
เพยี งใด

ตวั อยา งการสรุปองคค วามรูกลุมกลวยหอมยัดเยียด

เนื้อหาความรู ขอดี/จุดเดน ปญ หา แนวทางแกไ ขปญ หา แหลงความรูบ ุคคล

1. ดา นวัตถดุ ิบ 1. กลวยหอม หากมีการสั่งซ้อื 1. สง เสริมการปลูก นางอชริ า ปญญาฟู

1.1 การปลูกกลวย ทองเปนกลวยพื้น ในปริมาณมาก ๆ โดยรับประกนั ราคา นางซวิ่ สงวนชื่อ

- เลอื กพ้ืนที่ เมืองทไี่ มมีผูนยิ ม กลว ยในพืน้ ที่จะ ซือ้ และประสานกับ นายเหมอื น สมศรี

- เตรียมพน้ื ที่ รบั ประทาน และ แกไ มท ัน ทําให สาํ นักงานเกษตรให

- ปลกู หนอ เกดิ ขนึ้ อยูทว่ั ไป ขาดแคลนกลวย ความรเู ร่ืองการปลูก

- บํารุงรกั ษา ในพ้นื ที่ภาค ในบางครั้ง กลวย

1.2. การกําหนด เหนือ 2. ซอื้ สํารวจการ

ราคา กลว ย 2. กลวยมสี ี ปลกู กลวยในพน้ื ท่ี

เหลอื งนวล และ อาํ เภอ หรอื จังหวัด

มีความกรอบ อน่ื ๆ และทําขอตกลง

เหมาะแกการนํา เพอื่ รบั ซอ้ื กลว ย

มาทํากลวยฉาบ 3. ออกไปรับซอ้ื ใน

3. กลว ยมรี าคา พน้ื ที่ โดยผูปลกู ไม

ไมแพงเนอื่ งจาก ตองเสียคา ใชจายใน

ไมต องดแู ลรกั ษา การขนสง

มาก

130 หนงั สือเรยี นสาระทักษะการเรยี นรู รายวิชาทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน

เน้อื หาความรู ขอ ดี/จดุ เดน ปญหา แนวทางแกไ ขปญ หา แหลง ความรูบคุ คล

2. ดา นกระบวนการ 1. กลวยหอม 1. ขาดความรู 1. ประชมุ แลก นางอชิรา ปญ ญาฟู

ผลติ ยดั เยียดมีความ ในการออกแบบ เปลย่ี นเรยี นรูอยา ง นางรกั ตน ยม

2.1 การปอกกลวย หอม กรอบ ผลิตภณั ฑ ตอ เนอ่ื ง

2.2 การทอดกลว ย ปลอดสารเคมี 2. ลอกเลียนแบบ 2. สรา งฐานขอมูล

2.3 การฉาบกลวย 2. ไมใ ชส ใี นการ จากทอี่ ่ืน ผลติ ภัณฑ

2.4 การบรรจุ ผลติ เพราะกลวย 3. ขาดบรรจุ 3. สรา งเครอื ขายเพ่ือ

มสี เี หลอื งงาม ภัณฑท ที่ ันสมยั พัฒนาและเผยแพร

ตามธรรมชาตอิ ยู และหากใช ความรู

แลว เม่อื บรรจุ บรรจุภัณฑจะทาํ 4. เพิ่มเตมิ เทคนิค

ใสบ รรจภุ ณั ฑจ ะ ใหร าคาสินคาสงู วิธกี ารผลิตใหได

ใหสีทส่ี วยงาม ขน้ึ ผลิตภัณฑใ หมๆ

นาซอื้ 4. ความชนื้ ใน หลากหลายรปู แบบ

3. การพัฒนา ผลิตภณั ฑ 5. ศกึ ษาและ

ผลติ ภัณฑใน 5. ขาดบนั ทกึ พัฒนาผลติ ภัณฑ

รูปแบบท่ีหลาก ขอ มูลผลิตภัณฑ ใหไดม าตรฐาน

หลาย จะชว ยเพิม่ 6. รปู แบบเดมิ ๆ ผลติ ภณั ฑช ุมชน

มูลคาของสนิ คา ไมท ันสมยั 6. ศึกษาแนวทางการ

4. บรรจภุ ณั ฑ 7. ขาดฐานขอมลู ลดปรมิ าณความช้ืน

ทส่ี วยงาม และ การผลิต ในผลติ ภณั ฑ

ดึงดูดความสนใจ 8. ตนทนุ การ

ชวยเพมิ่ มูลคา ผลิตสูง

ผลติ ภณั ฑ

3. ดานการตลาด 1. การขายใน 1. ขาดความรู 1. พฒั นาผลติ ภณั ฑ นางอชริ า ปญ ญาฟู
ดา นกลยุทธ การ กลวยใหมรี สชาติ นางนอ ง แปน นอก
3.1 การขาย พ้ืนที่ ชมุ ชน ชวย ตลาด และชอ ง ตาง ๆ นางลดั ดา เฟองฟู
ทางการจัดจาํ 2. ศึกษาความตอง
- ขายทบี่ า น สรางงาน สรา ง หนาย ใหตรงกับ การของตลาด กลุม
กลุมเปา หมาย เปาหมายที่นิยมรับ
- ขายท่ีกลุม เงนิ และชาว 2. ผลิตสนิ คา ประทาน
ไมท ันกับความ 3. ศกึ ษาแนวทางการ
- ขายตามที่สวน บานยังคงใชชวี ติ ตอ งการของ ขายตลาดท้ังในและ
ตลาดในบางครั้ง ตา งประเทศ
ราชการจดั งาน อยูใ นชุมชนได เพราะขาดแคลน 4. ระดมความคดิ
กลวย กาํ หนดกลยุทธก าร
3.2 การโฆษณา อยา งเปน สุข ตลาด
5. การพัฒนา
- ประชาสัมพันธ ตามแนวทาง ผลิตภัณฑให
ไดมาตรฐาน
ผา นบุคคล กลุม เศรษฐกจิ พอ ผลิตภณั ฑ OTOP
เพ่ือเพิ่มมลู คาสินคา
- เอกสาร เพยี ง

3.3 ลกู คา 2. การขาย

- นกั ทัศนาจร วางขายตาม

- ผูศ ึกษาดงู าน รานคาตาง ๆ

- ลกู คา ท่วั ไป เปนประจํา ทาํ ให

- นักเรยี น มีลูกคา ประจาํ ซอ้ื

ไปรับประทาน

และซ้อื เปน ของ

ฝาก

หนังสอื เรียนสาระทักษะการเรยี นรู รายวิชาทักษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน 131

4. ดา นการรวมกลมุ 1. ระบบเครือ 1. มกี ารประสาน 1. ใหค วามรูแก นางอชริ า ปญ ญาฟู
และสรางเครอื ขา ย คนในชมุ ชน เก่ียวกบั นางนอ ย มสุ ิกะ
การรวมกลุม ขายจะเปน การ งานระหวางกลมุ เรอ่ื งเครือขายชมุ ชน
- คณะทาํ งาน ใหต ระหนกั ถึงความ
เครือขายกลุม คือ แบง ปนความ เฉพาะการจดั หา สําคัญและประโยชน
- กลุมกลว ยจันดี ของเครอื ขาย
- กลมุ ผลติ ไวท รู และรวมกนั หา ตลาดรว มกนั 2. หนว ยงานราชการ
- กลมุ สมนุ ไพรสระ ชวยประสาน เสริม
เกา แนวทางแกไข 2. มกี ารเผย สรา งกาํ ลังใจ และ
- กลุม ทอผาลายขิต ใหคําปรึกษาปญหา
- กลุมจกั สาน ปญ หา แพรห รือแบงปน ตา ง ๆ
- กลุมผกั ปลอดสาร
พษิ 2. สามารถ ขอ มลู ระหวา ง

จัดการองคค วาม กลุมกนั นอย

รูไ ดอยา ง 3. ขาดศรทั ธาใน

เปนระบบ องคกรและหัว

3. แสดงถงึ หนาเครอื ขา ย

ความเขมแข็งของ

ชมุ ชน

4. มีพลังสรา ง

สรรค และพลงั

ตอ รอง

5. เสริมสราง

กลยทุ ธก าร

ตลาดและพัฒนา

ผลติ ภัณฑอยางมี

ทศิ ทางทช่ี ัดเจน

สารสนเทศการจัดการความรูดวยการรวมกลุม ปฏิบตั ิการ

สารสนเทศการจัดการความรูด ว ยการรวมกลมุ ปฏบิ ตั ิการ หมายถงึ การรวบรวมขอ มูลทเ่ี ปน
ประโยชนตอการพฒั นางาน พฒั นาคน หรอื พัฒนากลุม ซ่ึงอาจจดั ทาํ เปน เอกสารคลงั ความรขู องกลมุ
หรือเผยแพรผ า นทางเวบ็ ไซต เพื่อแบงปน แลกเปลี่ยนความรู และนาํ มาใชป ระโยชนใ นการทาํ งาน

ตวั อยางของสารสนเทศจากการรวมกลุมปฏิบัตกิ ารไดแก
1. บนั ทึกเรอื่ งเลา เปนเอกสารทีร่ วบรวมเรอื่ งเลา ท่แี สดงใหเ หน็ ถึงวิธกี ารทํางานใหป ระสบผล
สาํ เรจ็ อาจแยกเปน เรื่อง ๆ เพื่อใหผ ทู สี่ นใจเฉพาะเรือ่ งไดศึกษา
2. บันทึกการถอดบทเรียนหรอื การถอดองคค วามรู เปน การทบทวน สรุปผลการทาํ งาน ทจ่ี ดั
ทาํ เปนเอกสาร อาจจัดทาํ เปนบันทกึ ระหวา งการทํางาน และหลังจากทาํ งานเสร็จแลว เพ่ือใหเ หน็ วธิ ีการ
แกป ญ หาในระหวา งการทาํ งาน และผลสําเร็จจากการทํางาน
3. วซี ีดเี รือ่ งสัน้ เปน การจดั ทําฐานขอมูลความรูที่สอดคลองกบั สังคมปจ จุบนั ทมี่ กี ารใชเ ครือ่ ง
อเิ ลก็ ทรอนกิ สก นั อยางแพรห ลาย การทําวซี ีดเี ปน เรือ่ งสน้ั เปนการเผยแพรใ หบ ุคคลไดเรยี นรู และนาํ ไปใช
ในการแกป ญหา หรือพฒั นางานในโอกาสตอ ไป
4. คมู อื การปฏิบัตงิ าน การจดั การความรูทีป่ ระสบผลสาํ เร็จจะทาํ ใหเ หน็ แนวทางของการทาํ งาน
ท่ชี ดั เจน การจดั ทาํ เปน คมู อื เพอื่ การปฏบิ ัตงิ าน จะทําใหงานมมี าตรฐาน และผเู กีย่ วของสามารถนําไป
พฒั นางานได

132 หนังสอื เรยี นสาระทักษะการเรียนรู รายวิชาทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน

5. อนิ เตอรเนต็ ปจจบุ นั มกี ารใชอินเตอรเน็ตกนั อยา งแพรหลาย และมีการสื่อสารแลกเปลี่ยน
ความรผู า นทางอนิ เตอรเ นต็ ในเวบ็ ไซตตาง ๆ มีการบันทึกความรทู ้ังในรูปแบบของเวบ็ บลอ็ ก เว็บบอรด
และรูปแบบอื่นๆ อินเตอรเน็ตจงึ เปนแหลง เกบ็ ขอมลู จํานวนมากในปจ จุบัน เพราะคนสามารถเขา ถงึ ขอ มลู
ไดอยา งรวดเร็ว ทุกท่ี ทกุ เวลา

กิจกรรม

กิจกรรมท่ี 1 การจดั การความรดู วยตนเองตองอาศยั ทกั ษะอะไรบาง และผูเรยี นมวี ิธกี ารจัดการความรู
ดว ยตนเองอยา งไร ยกตวั อยา ง

..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

กจิ กรรมท่ี 2 องคความรทู ่ผี ูเรียนไดร บั จากการจัดการความรดู วยตนเองคอื อะไร (แยกเปนขอ ๆ)
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

หนงั สอื เรียนสาระทักษะการเรยี นรู รายวิชาทกั ษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน 133

กิจกรรมที่ 3 ใหผ ูเรยี นเขียนเรอ่ื งเลา แหงความสําเร็จ และรวมกลุม กบั เพื่อนทม่ี ีเรือ่ งเลา ลกั ษณะ
คลา ยกัน ผลดั กนั เลาเร่อื ง สกัดความรูจากเรอ่ื งเลาของเพอื่ น ตามแบบฟอรม นี้

แบบฟอรมการบนั ทึกขุมความรจู ากเร่ืองเลา

ชอ่ื เร่อื ง ...................................................................................................................................
ช่ือผูเลา .................................................................................................................................

1. เนอื้ เรื่องยอ
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

2. การบันทึกขุมความรูจ ากเรอ่ื งเลา
2.1 ปญ หา ................................................................................................................

..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................

2.2 วิธีแกป ญหา (ขุมความร)ู .......................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

134 หนังสือเรียนสาระทกั ษะการเรียนรู รายวิชาทักษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน

2.3 ผลทเ่ี กิดข้นึ ........................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

2.4 ความรูสกึ ของผูเลา / ผเู ลา ไดเรียนรอู ะไรบาง จากการทํางานน้ี
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

3. แกน ความรู
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการเรียนรู รายวิชาทกั ษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน 135

กจิ กรรมที่ 4 ใหผเู รียนจบั กลมุ 3-5 คน ไปถอดองคค วามรูก ลุมอาชีพตา งๆ ในชมุ ชน
และนาํ มาสรุปเปน องคค วามรู ตามแบบฟอรม น้ี

สรุปองคค วามรกู ลมุ ..........................................................

ท่ีอยูกลมุ ................................................................................................................................
ชอ่ื ผถู อดองคค วามรู 1.............................................................................................................

2.............................................................................................................
3.............................................................................................................
เน้ือหาความรู ขอ ดี/จุดเดน ปญหา แนวทางแกไ ขปญ หา แหลงความรูบ คุ คล

136 หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการเรียนรู รายวชิ าทักษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน

แบบทดสอบหลงั เรียน

แบบทดสอบเรื่องการจัดการความรู

คําชแี้ จง จงกาบาท x เ ลอื กขอท่ที านคิดวาถกู ตองทีส่ ดุ

1. การจัดการความรเู รียกส้นั ๆ วา อะไร
ก. MK
ข. KM
ค. LO
ง. QA

2. เปา หมายของการจดั การความรคู ืออะไร
ก. พฒั นาคน
ข. พัฒนางาน
ค. พัฒนาองคก ร
ง. ถกู ทกุ ขอ

3. ขอ ใดถูกตอ งมากทีส่ ดุ
ก. การจดั การความรหู ากไมท ํา จะไมร ู
ข. การจัดการความรคู ือการจดั การความรขู องผเู ช่ยี วชาญ
ค. การจดั การความรูถ อื เปนเปา หมายของการทํางาน
ง. การจัดการความรูคือการจดั การความรทู ่มี ใี นเอกสาร ตาํ รา มาจดั ใหเ ปน ระบบ

4. ข้นั สูงสดุ ของการเรยี นรคู อื อะไร
ก. ปญ ญา
ข. สารสนเทศ
ค. ขอมูล
ง. ความรู

5. ชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) คอื อะไร
ก. การจัดการความรู
ข. เปาหมายของการจัดการความรู
ค. วธิ กี ารหนึง่ ของการจัดการความรู
ง. แนวปฏบิ ตั ขิ องการจดั การความรู

หนงั สอื เรียนสาระทักษะการเรยี นรู รายวิชาทักษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน 137

6. รูปแบบการจดั การความรตู ามโมเดลปลาทู สว น “ทองปลา” หมายถงึ อะไร
ก. การกาํ หนดเปา หมาย
ข. การแลกเปลยี่ นเรียนรู
ค. การจดั เก็บเปน คลังความรู
ง. ความรทู ่ชี ดั แจง

7. ผทู ี่ทาํ หนาทก่ี ระตนุ ใหเ กดิ การแลกเปลยี่ นเรียนรูคอื ใคร
ก. คุณเอื้อ
ข. คณุ อาํ นวย
ค. คุณกจิ
ง. คณุ ลิขติ

8. สารสนเทศเพ่ือเผยแพรความรใู นปจ จบุ ันมีอะไรบา ง
ก. เอกสาร
ข. วีซีดี
ค. เวบ็ ไซต
ง. ถกู ทกุ ขอ

9. การจดั การความรูด วยตนเองกบั ชุมชนแหง การเรยี นรูมคี วามเกย่ี วขอ งกนั หรือไม อยา งไร
ก. เกยี่ วขอ งกนั เพราะการจดั การความรใู นบคุ คลหลายๆคน รวมกนั เปน ชุมชน
เรียกวา เปนชมุ ชนแหงการเรียนรู
ข. เกี่ยวของกัน เพราะการจัดการความรูใหก บั ตนเองกเ็ หมอื นกับจัดการความรูใหช มุ ชนดว ย
ค. ไมเ กีย่ วขอ งกัน เพราะจัดการความรดู ว ยตนเองเปนปจ เจกบคุ คล สวนชุมชนแหงการเรียนรู

เปน เร่อื งของชมุ ชน
ง. ไมเ กี่ยวของกัน เพราะชมุ ชนแหงการเรียนรูเปน การเรียนรเู ฉพาะกลุม

10. ปจ จยั ทที่ าํ ใหการจดั การความรูการรวมกลุมปฏบิ ัตกิ ารประสบผลสาํ เร็จคืออะไร
ก. พฤติกรรมของคนในกลมุ
ข. ผนู ํากลมุ
ค. การนําไปใช
ง. ถูกทุกขอ

เฉลย 1) ข 2) ง 3) ก 4) ก 5) ค 6) ข 7) ข 8) ง 9) ก 10) ง

138 หนังสอื เรยี นสาระทักษะการเรยี นรู รายวชิ าทกั ษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน

แบบประเมนิ ตนเองหลังเรียน

บทสะทอ นทีไ่ ดจากการเรยี นรู
1. ส่งิ ท่ที า นประทับใจในการเรยี นรรู ายวชิ าการจัดการความรู

..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

2. ปญหา/อุปสรรคทพี่ บในการเรียนรูรายวชิ าการจดั การความรู

..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

3. ขอเสนอแนะเพิม่ เติม

..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการเรียนรู รายวชิ าทกั ษะการเรียนรู (ทร 21001) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน 139

บรรณานุกรม

เกรียงศกั ด์ิ เจรญิ วงศศ กั ดิ.์ บคุ คลแหงการเรยี นรู http://share.psu.ac.th/blog/thitima-psu/2700
วันที่ 18 มกราคม 2553.

เจษฎา แชมประเสรฐิ . การจัดการความรสู กู ารปฏบิ ตั ิทเ่ี ปนเลิศ. http://www.superbk3.net.
วันที่ 14 มกราคม 2553.

เอกสารบรรยายในการประชุมวิชาการ พรพ.ครัง้ ท่ี 5 เรือ่ งการจดั การความรูเพ่อื คุณภาพทส่ี มดุล
วนั ท่ี 17 มนี าคม 2547 ณ ศนู ยการประชมุ อิมแพคเมอื งทองธานี

เส่อื จันทบรู . http://www.rbru.ac.th/org/mat/photo/know.pdf วนั ท่ี 18 มกราคม 2553
วจิ ารณ พานิช. บทความการจดั การความรเู พ่อื เปลยี่ นผา น. http://www.kmi.or.th.

วันท่ี 15 มกราคม 2553.
สดุ ารตั น ครฑุ กะ. เทคโนโลยีสารสนเทศกบั การจัดการความร.ู www.ru.ac.th/hu812/a3.doc

วนั ท่ี 19 มกราคม 2553.
สาํ นกั งาน กพร. E-learning สําหรับพฒั นาระบบสารสนเทศการจดั การความรู (KM)

www.tor.gprocurement.go.th/06_tor/upload3/..../TOR-%20KM.doc
วนั ท่ี 19 มกราคม 2553.
เกวลนิ ท สดบั ธรรม. สารสนเทศ ความรูและการจดั การความรู. www.images.it51.multiply.com
วนั ที่ 10 มกราคม 2553.
ประเวศ วะส.ี ระบบการเรยี นรใู หม ไปใหพ น วกิ ฤตแหง ยคุ สมยั . บทความในโอกาสเฉลมิ อายคุ รบ 84 ป
ศาสตราจารยร ะพี สาคริก. วันท่ี 4 ธันวาคม 2549.
กนกวรรณ ศรพี ระลาน. เก็บเกยี่ วเรือ่ งราวบอกเลา ปราชญนกั สูยา โม “จนั ทรที ประทมุ ภา”
http://village.haii.or.th/vtl/index.php?option=com_content&task=blogsection&id=0&Itemid=44
วันที่ 19 มกราคม 2553
สาํ นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา. การบริหารจดั การความรู
http://elib.fda.moph.go.th/kmfda/_ImgUpload/Img_allpicture/DataL3_10.pdf
วันท่ี 22 มกราคม 2553.
สํานักงานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย. คัมภีร กศน.
http://ebook.nfe.go.th/nfe_ebook/data_ebook/19/13_21_30.pdf. วันที่ 24 กันยายน 2553.
ศนู ยก ารศกึ ษานอกโรงเรยี นกรุงเทพมหานคร 1. ชุมชนแหงการเรียนรู. เอกสารสรุปบทเรียนจากการ
เสริมสรางสงั คมแหงการเรยี นรู โครงการ “ตลาดนดั ความรูส ูชุมชน”
http://ebook.nfe.go.th/nfe_ebook/data_ebook/21/15_1_10.pdf วนั ท่ี 25 มกราคม 2553.
บรู ชยั ศิริมหาสาคร. 2550. คนสาํ คญั ใน CoP. เอกสารประกอบการอบรมการจดั การความรูครู กศน.
สถาบันพัฒนาครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษา. จ.นครปฐม.

140 หนงั สือเรียนสาระทักษะการเรียนรู รายวิชาทกั ษะการเรยี นรู (ทร 21001) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน


Click to View FlipBook Version