The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การป้องกันการทุจริต ม.ต้น (สค22022)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookchon, 2020-05-27 03:00:11

การป้องกันการทุจริต ม.ต้น (สค22022)

การป้องกันการทุจริต ม.ต้น (สค22022)

Keywords: การป้องกันการทุจริต,สค22022

หนังสือเรยี น
สาระการพฒั นาสังคม

รายวชิ า การปอ งกนั การทุจรติ

รหัสรายวิชา สค22022
รายวิชาเลือก ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551

สํานกั งานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
สํานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร
กระทรวงศึกษาธกิ าร



สารบัญ

คาํ นํา หนา
คําแนะนาํ การใชห นงั สือเรยี น
โครงสรา งรายวชิ า 1
แบบทดสอบกอนเรยี น 3
บทท่ี 1 การคดิ แยกแยะระหวา งผลประโยชนสว นตนกับผลประโยชนสว นรวม 5
10
เรื่องที่ 1 การคิดแยกแยะ 15
เรอ่ื งที่ 2 หลักการคดิ เปน 20
เรอ่ื งที่ 3 ความแตกตางระหวางจริยธรรมและการทจุ รติ
เร่ืองท่ี 4 ความหมายของประโยชนส ว นตนและประโยชนส ว นรวม

และการขดั กันระหวา งผลประโยชนส วนตนและผลประโยชนสว นรวม
เรอ่ื งที่ 5 ความหมายและรปู แบบของผลประโยชนท ับซอ น

บทที่ 2 ความละอายและความไมท นตอ การทจุ ริต 23
เรอ่ื งที่ 1 ความละอายและความไมทนตอการทจุ รติ 24
เรือ่ งท่ี 2 การรวมกลุมเพ่ือสรางสรรคป อ งกนั การทจุ ริต 27

บทท่ี 3 STRONG : จติ พอเพยี งตา นทจุ รติ 35
เรอ่ื งท่ี 1 องคประกอบของโมเดล STRONG 37
เรือ่ งที่ 2 การประยกุ ตหลกั ความพอเพยี งดว ยโมเดล STRONG : จติ พอเพียงตา นทจุ ริต 40
2.1 ความพอเพยี ง (Sufficient) 40
2.2 ความโปรง ใส (Transparency) 48
2.3 ความตื่นรู (Realize) 54
2.4 มุงไปขางหนา (Onward) 58
2.5 ความรู (Knowledge) 62
2.6 ความเอ้ืออาทร (Generosity) 65

สารบญั (ตอ) หนา

บทท่ี 4 พลเมืองกบั ความรับผิดชอบตอ สังคม 67
เร่อื งท่ี 1 การเคารพสิทธหิ นาท่ตี อ ตนเองและผอู นื่ ท่มี ีตอ ประเทศชาติ 69
เรอ่ื งท่ี 2 ระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมาย กบั การเปนพลเมอื งท่ีดมี ีสว นรว ม 78
ในการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ
เรอ่ื งท่ี 3 ความรบั ผดิ ชอบตอ ตนเองและผอู น่ื 81
เรอื่ งที่ 4 ความเปนพลเมอื ง 85
เรอ่ื งท่ี 5 ความเปนพลโลก 88

แบบทดสอบหลังเรียน 91
เฉลยแบบทดสอบกอ นเรยี น-หลงั เรยี น 96
แนวคําตอบกจิ กรรม 97
บรรณานกุ รม 103
คําสง่ั สํานกั งานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 106
การประชมุ จัดทําหนงั สือเรยี น รายวิชาการปอ งกนั การทจุ รติ 114
คณะทํางาน 119

คาํ แนะนําการใชหนงั สือเรยี น
รายวิชา การปอ งกันการทุจริต

รายวิชา การปองกันการทุจริต รหัสรายวิชา สค22022 รายวิชาเลือก ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
ตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบดวย โครงสรางของ
รายวชิ า โครงสรางของบทเรยี น เน้อื หา และกจิ กรรมเรียงลําดับตามบทเรียน แบบทดสอบกอนเรียน กิจกรรม
การเรียนรู แบบทดสอบหลังเรียน เฉลยแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน เฉลย/แนวคําตอบกิจกรรม
เรยี งลําดบั ตามบทเรียน

วิธีการใชรายวชิ า

ใหผ เู รียนดําเนนิ การตามข้ันตอน ดงั นี้
1. ศึกษารายละเอียดโครงสรางรายวิชาโดยละเอียด เพ่ือใหผูเรียนทราบวาตองเรียนรูเนื้อหา
ในเรื่องใดบาง
2. วางแผนกําหนดระยะเวลาและจัดเวลาที่ผูเรียนมีความพรอมจะศึกษารายวิชา เพ่ือใหสามารถศึกษา
รายละเอยี ดของเนอ้ื หาไดค รบทุกบทเรียน พรอมทาํ กิจกรรมตามทีก่ ําหนดใหทันกอ นสอบปลายภาค
3. ทําแบบทดสอบกอนเรียนของรายวิชาตามท่ีกําหนด เพื่อทราบพ้ืนฐานความรูเดิมของผูเรียน และ
ตรวจสอบคาํ ตอบจากเฉลยแบบทดสอบทายเลม
4. ศึกษาเนื้อหาของแตละบทเรียนอยางละเอียดใหเขาใจ ทั้งในหนังสือเรียนและส่ือประกอบ (ถามี)
และทาํ กิจกรรมทีก่ าํ หนดไวใหค รบถว น
5. ทาํ แตละกจิ กรรมเรยี บรอ ยแลว ผูเ รียนสามารถตรวจสอบแนวคาํ ตอบไดจ ากแนวคาํ ตอบ/เฉลยทา ยเลม
หากผูเรยี นยงั ทํากิจกรรมไมถ ูกตอ งใหผเู รียนกลับไปทบทวนเนอ้ื หาในเรือ่ งนน้ั ๆ ซ้าํ จนกวา จะเขาใจ
6. หลังจากศึกษาเนื้อหาครบทุกบทเรียนแลว ใหผูเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนและตรวจสอบ
แนวคาํ ตอบจากเฉลยทา ยเลม วาผเู รียนสามารถทําแบบทดสอบไดถ กู ตอ งทกุ ขอหรือไม หากขอใดยังไมถูกตอง
ใหผ ูเ รียนกลบั ไปทบทวนเนอ้ื หาในเร่ืองน้ันใหเ ขาใจอีกครั้ง
ขอ แนะนาํ ผเู รียนควรทําแบบทดสอบหลงั เรียน ใหไดคะแนนมากกวาแบบทดสอบกอนเรียนและควรได
คะแนนไมนอ ยกวา รอยละ 60 ของแบบทดสอบท้ังหมด เพอื่ ใหม น่ั ใจวาจะสามารถสอบปลายภาคผาน
7. หากผูเรียนไดศึกษาเน้ือหาและทํากิจกรรมแลวยังไมเขาใจ ผูเรียนสามารถสอบถามและ
ขอคาํ แนะนําไดจ ากครูหรอื คนควา จากแหลง เรียนรูอ ืน่ ๆ เพ่มิ เตมิ ได

การศึกษาคนควาเพ่มิ เตมิ

ผูเ รยี นอาจศึกษาหาความรูเ พิม่ เตมิ ไดจากแหลง เรียนรูอน่ื ๆ ทเ่ี ผยแพรความรูในเร่ืองท่ีเกี่ยวของและ
ศึกษาจากผูร ู

การวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น

การจัดใหมกี ารวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น ดงั นี้
1. ระหวางภาค วัดผลจากการทาํ กจิ กรรมหรืองานท่ไี ดรบั มอบหมายระหวา งเรยี น
2. ปลายภาค วัดผลจากการทําขอ สอบวดั ผลสัมฤทธป์ิ ลายภาค

โครงสรางรายวิชา
การปองกันการทุจรติ

มาตรฐานการเรยี นรรู ะดับ

1. มีความรู ความเขา ใจดาํ เนินชวี ิตตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย กฎระเบยี บของประเทศเพ่ือนบาน
2. มีความรู ความเขาใจหลักการพัฒนาชุมชน สังคม สามารถวิเคราะหขอมูล และกําหนด
แนวทางการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ใหสอดคลองกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ
ปจ จุบนั

ตวั ชว้ี ัด

1. บอกความสําคัญของการคิดแยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตนและผลประโยชน
สวนรวม

2. บอกความหมาย ความสําคญั ของหลกั การคิดเปน
3. นําหลกั การคดิ เปน มาใชในการปอ งกันการทจุ รติ
4. มีความรู ความเขา ใจเกย่ี วกบั ผลประโยชนส วนตนและผลประโยชนสว นรวม
5. วเิ คราะหก ารคดิ แยกแยะระหวา งผลประโยชนสว นตนและผลประโยชนส ว นรวม
6. ตระหนักและเห็นความสําคัญของการมีสวนรว มในการปองกนั การทจุ ริต
7. มีความรู ความเขา ใจตอการไมท นและละอายตอ การทจุ รติ ในการทําการบา น/ช้ินงาน
การทาํ เวร/การทาํ ความสะอาด การสอบ การแตง กาย การเลอื กต้ัง
8. อธิบายวิธีการปฏิบัติตนในการทําการบาน/ช้ินงาน การทําเวร/การทําความสะอาด
การสอบ การแตง กาย การเลอื กต้ัง
9. ปฏบิ ตั ิตนเปน ผูไ มทนและละอายตอการทจุ รติ ทกุ รปู แบบ
10. มจี ิตสาํ นึกและตระหนักในความละอายและไมท นตอ การทจุ ริต
11. เขา ใจและบอกความหมายของ STRONG : จิตพอเพยี งตานทจุ ริต
12. อธิบายความหมายของความพอเพียง ความโปรงใส ความตนื่ รู มงุ ไปขา งหนา
ความเอื้ออาทร
13. วเิ คราะหห ลกั การของจิตพอเพยี งตา นทจุ ริต
14. นําหลักการของจติ พอเพยี งตานทจุ ริตไปใชใ นการดาํ เนินชวี ติ
15. เขา ใจและประพฤตติ นเกย่ี วกบั สิทธหิ นา ทีแ่ ละเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันของ
พลเมอื งดี
16. อธิบายบทบาทหนา ท่ีของเยาวชนในการเปน พลเมอื งดี
17. อธิบายความเปน พลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย

18. ปฏบิ ัตติ นเปนพลเมอื งดีตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั ริยท รงเปน ประมุข
19. ปฏบิ ตั ิหนา ทท่ี ไ่ี ดร บั มอบหมายดวยความซอ่ื สัตยส ุจริต
20. เขาใจเกี่ยวกับระเบียบ กฎ กติกา กฎหมาย และปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีมีสวนรวม
ในการปอ งกันและปราบปรามการทุจริต
21. มีสวนรวมในการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริต คอรร ัปชนั
22. รูแ ละเขา ใจเก่ยี วกบั ความรบั ผิดชอบเก่ียวกับตนเองและผูอ่นื
23. ประพฤติปฏิบตั ติ นเปน แบบอยา งทด่ี ี ทง้ั รบั ผดิ ชอบตอ ตนเองและผอู ื่น
24. รู เขาใจ บอกความหมายของความเปนพลเมือง
25. ประพฤติ ปฏบิ ัตติ นตามหลักความเปน พลเมอื งในการดาํ เนินชีวติ
26. รู เขาใจ บอกความหมายของความเปนพลโลก
27. ประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นตามหลกั ความเปนพลโลกในการดําเนนิ ชีวิต
28. มคี วามรบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ตั ิหนา ทีท่ ไี่ ดร บั มอบหมายดวยความซ่อื สัตยสจุ รติ

สาระสําคัญ

การปองกันการทุจริต ระดับมัธยมศึกษาตอนตน เปนการเรียนรูเก่ียวกับการคิดแยกแยะ
ระหวางผลประโยชนส วนตนและผลประโยชนสวนรวม ความละอายและความไมทนตอการทุจริต STRONG :
จติ พอเพียงตา นทุจริต และพลเมืองกับความรับผิดชอบตอสังคม ซ่ึงจะสรางความรู ความเขาใจ ใหแกผูเรียน
ในเร่ืองดังกลาวขา งตน เพื่อรวมกันปอ งกนั หรอื ตอ ตา นการทจุ รติ ไมใหมีการทจุ ริตเกดิ ข้ึนในสงั คมไทย รวมกันสรา ง
สังคมไทยที่ไมท นตอ การทุจริตตอไป

ขอบขายเนอ้ื หา

บทท่ี 1 การคิดแยกแยะระหวางผลประโยชนสว นตนกบั ผลประโยชนส ว นรวม
บทท่ี 2 ความละอายและความไมทนตอการทจุ รติ
บทที่ 3 STRONG : จติ พอเพียงตานทุจรติ
บทท่ี 4 พลเมอื งกับความรบั ผิดชอบตอสังคม

สื่อประกอบการเรยี นรู

1. รายวิชาการปองกนั การทุจรติ รหสั รายวิชา สค22022
2. สื่อเสรมิ การเรยี นรอู น่ื ๆ

จาํ นวนหนว ยกติ

จํานวน 2 หนว ยกิต

กิจกรรมเรียนรู

1. ทําแบบทดสอบกอ นเรยี น และตรวจสอบแนวคาํ ตอบจากเฉลยทายเลม
2. ศึกษาเน้อื หาในบทเรียนทกุ บท
3. ทาํ กจิ กรรมตามท่ีกาํ หนด และตรวจสอบคําตอบจากเฉลยทา ยเลม
4. ทาํ แบบทดสอบหลังเรยี น และตรวจสอบคําตอบจากเฉลยทายเลม

การประเมินผล

1. ทําแบบทดสอบกอนเรียน และแบบทดสอบหลงั เรยี น
2. ทํากิจกรรมในแตล ะหนวยการเรยี นรู
3. เขารับการทดสอบปลายภาค

แบบทดสอบกอนเรยี น

1. ขอใดเปน พฤติกรรมของพนักงานในหางสรรพสินคา ท่ถี ือวามจี ติ สํานึกที่ดี
ก. ปฏิบัตติ ามระเบยี บของหางสรรพสินคา
ข. เลือกการใหก ารบรกิ ารตอ ลกู คา
ค. เกบ็ เงนิ ไดแลว นําไปคนื เจา ของ
ง. ตอ งการใหหางสรรพสินคา มชี ่ือเสียง

2. ขอใดหมายถงึ การกระทาํ ทเี่ ปนประโยชนสวนรวม
ก. เจาหนาที่ของรัฐใชเ ครอื่ งพมิ พของสํานกั งานพมิ พร ายงานสงอาจารย
ข. ใชเครอ่ื งตดั หญา ของหนวยงานรัฐไปตดั หญา ทบี่ า นของหวั หนา
ค. เกบ็ ใบไมแ หง จากสวนสาธารณะไปทาํ ปยุ หมักทบ่ี า น
ง. ยืมเกาอจี้ ากหนวยงานของรฐั ไปใชจ ัดงานบวชท่ีบาน

3. เปา หมายของกระบวนการคิดเปน คอื ขอ ใด
ก. ความสุข
ข. การคดิ เปน
ค. แกป ญ หาเปน
ง. การประเมนิ ผล

4. วฒั นธรรม ประเพณี เปนขอ มลู ดา นใดของกระบวนการคิดเปน
ก. ตนเอง
ข. สังคมและส่งิ แวดลอม
ค. วิชาการ
ง. ถกู ทุกขอ

นาย ก. เปนขาราชการเกษียณ ตอมาไดเปนสมาชิกสภาเทศบาล รูลวงหนาจากการประชุมสภา
วา สภาเทศบาลอนุมัติใหตัดถนนผานชุมชนแหงหน่ึง นาย ก. จึงไดไปกวานซ้ือที่ดินบริเวณที่ถนนตัดผาน
เพ่อื เก็งกาํ ไรที่ดิน

5. จากขอความขา งตน พฤติกรรมของนาย ก. เปนผลประโยชนท ับซอ นรูปแบบใด
ก. การรับผลประโยชนตา ง ๆ
ข. การรูขอ มลู ภายใน
ค. การทํางานหลงั เกษยี ณ
ง. การทําธุรกจิ ของตนเอง

6. กรณี นาย ก. ดาํ รงตาํ แหนง กรรมการผูจัดการในธนาคารพาณชิ ยเ อกชนแหงหนึ่ง ซ่ึงมีอํานาจหนาที่ในการ
พิจารณาอนุมัติสินเชื่อ และบริษัท A ซ่ึงมีภรรยาของ นาย ก. ดํารงตําแหนงกรรมการผูจัดการ ไดมาขอ
สินเชื่อจากธนาคารที่ นาย ก. ทํางานอยู แตขาดคุณสมบัติของผูกูตามที่ธนาคารกําหนด อยากทราบวา
นาย ก. จะตอ งปฏบิ ตั ติ นอยา งไรจึงจะเหมาะสมทสี่ ดุ
ก. แตง ต้ังคณะกรรมการพิจารณาวงเงินสินเชื่อของบริษทั A เตม็ จาํ นวน
ข. แตงตัง้ คณะกรรมการพิจารณาวงเงินสินเชื่อของบริษัท A แตม ีเงื่อนไขอนมุ ัติภายในวงเงนิ รอยละ 50
ค. กําหนดใหบริษทั A นําหลกั ทรพั ยค า้ํ ประกนั สินเชื่อมากกวาปกติ
ง. ไมอนมุ ัตวิ งเงินสนิ เชอื่

7. การเลอื กตง้ั องคก รนักศึกษา กศน. เปน การสง เสรมิ เรื่องใด
ก. สง เสรมิ ความเปน ประชาธปิ ไตย
ข. พัฒนาผเู รียนใหม คี ณุ ภาพ
ค. ฝกใหผเู รียนเห็นคุณคา ของการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
ง. ถูกทกุ ขอ

8. พฤตกิ รรมในขอใดทีแ่ สดงวาเปนผขู าดความละอาย
ก. การแอบรับเงินจากผสู มคั ร อบต.
ข. พอ ชวยหาเสียงใหล กู ทสี่ มัคร ส.ส.
ค. ผสู มคั ร ส.ส. เดินหาเสียงในตลาด
ง. ขามถนนบนทางมาลาย

9. บคุ คลจะเกิดความละอายตอ การทจุ ริต ควรเริ่มตนจากขอ ใดเปน สําคัญ
ก. ความกลัวผูอ ื่นรู
ข. ความตระหนักถึงผลเสยี
ค. ความฉลาดรอบรู
ง. ความกาวหนาในการทาํ งาน

10. พฤติกรรมในขอใดเปน การไมทนตอการทจุ ริตหรอื การกระทาํ ทีไ่ มถ กู ตอ ง
ก. แจงเจา หนาทตี่ ํารวจทนั ทีทพี่ บเห็นการแซงคิว
ข. ใชวิธกี ารประณามตอ สาธารณชนทุกครงั้ ที่พบเรอ่ื งไมถ กู ตอ ง
ค. บอกผูแ ซงคิวใหทราบ และไปตอ ทา ยแถว
ง. ไมสนใจถา เราไมเ ดอื ดรอ น

11. หนว ยงานใดมหี นาทโ่ี ดยตรงในการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริตของประเทศไทย
ก. ป.ป.ง.
ข. ป.ป.ช.
ค. สตง.
ง. สคบ.

12. การกระทาํ ในขอ ใดไมใ ชการทจุ รติ
ก. การใหผ ูอ น่ื รับโทษแทนตน โดยใหค าจา งตอบแทน
ข. การใหเ งินเจา หนาทเี่ พ่อื เปนคาสงเอกสารที่ขอไว
ค. การอํานวยความสะดวกเปนพเิ ศษเพื่อใหง านของตนเองราบร่นื
ง. การสับเปลยี่ นสินคา ทมี่ คี ุณภาพต่ํากวา ใหก บั ลูกคา

13. STRONG : จิตพอเพยี งตา นทจุ รติ เปนการนาํ หลกั การใดมาประยกุ ตใชตอ ตานการทจุ ริต
ก. หลักคดิ เปน
ข. หลกั ศลี ธรรม
ค. หลักสมดลุ
ง. หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

14. ภมู ิคมุ กันทีท่ าํ ใหบคุ คลไมกระทาํ ทุจรติ จะตอ งประกอบดว ย
ก. ความรู ความเขา ใจ และปลุกใหต ่นื รู
ข. ความรู ความเขา ใจ และความเปนผนู ํา
ค. ความรู ความเขา ใจ และความเอ้อื อาทร
ง. ความรู ความเขา ใจ และการมงุ ไปขางหนา

15. หากเรามหี ลกั STRONG : จิตพอเพียงตา นทจุ รติ แลว จะสง ผลใหสงั คมเปน อยา งไร
ก. ประชาชนชาวไทยจะมีความตื่นตัวตอการทุจริตมากขน้ึ
ข. ประชาชนชาวไทยมีความสนใจตอขา วสารการทจุ ริตมากข้นึ
ค. ประชาชนชาวไทยมีความตระหนักถึงผลกระทบของการทุจรติ มากขึ้น
ง. ถูกทุกขอ

16. การมีจติ พอเพยี งตานทจุ ริต ควรเรมิ่ จากขอ ใดเปนอันดับแรก
ก. สงั คม
ข. ตนเอง
ค. ครอบครวั
ง. ประเทศชาติ

17. ขอ ใดเปนการทจุ ริต
ก. ผูรบั เหมากอสรางยน่ื ซองประมลู ประกวดราคา
ข. นักการเมอื งออกเย่ยี มประชาชนทปี่ ระสบภยั พบิ ัติโดยมอบของให
ค. นักธุรกิจนํากระเชา ผลไมไปเยีย่ มภูมปิ ญญาในหมบู าน
ง. เจาหนา ที่ของรัฐใหบ รกิ ารนกั ธรุ กจิ โดยจายเงนิ ตามชอ งทางตามปกตขิ องทางราชการ
แตเ พม่ิ เงินใหเ ปนคา บรกิ ารเพอ่ื ความสะดวกรวดเร็ว

18. ขอใดตอ ไปน้เี ปน การปองกนั การทจุ รติ
ก. ต้งั คณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทจุ รติ แหง ชาติ (ป.ป.ช.)
ข. ปฏริ ูปกฎหมายทเี่ กย่ี วกับการบรหิ ารพสั ดแุ ละการจดั ซือ้ จดั จางใหโ ปรง ใส
ค. การเพม่ิ โทษในการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ
ง. การปลกู จติ สํานกึ โตไปไมโ กงใหแกเ ดก็ ๆ

19. ขอใดหมายถึง พลเมอื ง
ก. คนของรัฐ
ข. คนท่วั ไปของประเทศ
ค. ประชาชน ราษฎร ชาวประเทศ
ง. สมาชกิ ของสังคม

20. ขอใดไมใ ชการประพฤตติ นตามหลกั ความเปนพลเมอื งโลกมาใชในการดาํ เนนิ ชวี ติ
ก. นาํ รถไปจอดขวางหนา บานคนอน่ื ในหมูบาน
ข. ผทู ม่ี ีจิตอาสาไปรว มกันพฒั นาคลอง
ค. การประชุมชาวบานในการประชาพจิ ารณเพอ่ื ทาํ ถนนในหมบู าน
ง. ชวยแจงขาวกบั ตํารวจเม่อื พบเจอวยั รุนม่วั สมุ ยาเสพติดในชุมชน

1

บทท่ี 1
การคิดแยกแยะระหวา งผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสว นรวม

สาระสาํ คญั

การขัดกันระหวางประโยชนสวนตนกับประโยชนสวนรวมนั้น มีลักษณะทํานองเดียวกันกับ
กฎ ศีลธรรม ขนบธรรมเนียม จารตี ประเพณี หลกั คุณธรรม จรยิ ธรรม ซงึ่ ก็คอื การกระทาํ ใด ๆ ที่เปน การขัดกนั
ระหวา งประโยชนส ว นตนกับประโยชนสว นรวม เปน ส่ิงทค่ี วรหลีกเลย่ี งไมควรกระทํา แตละบุคคล แตละกลุม
แตล ะสงั คม อาจเหน็ วา บางเรือ่ งเปน การขัดกันระหวางประโยชนสวนตนกับประโยชนสวนรวมตางกันออกไป
หรือเมอ่ื เหน็ วาเปน การขัดกัน อาจมีระดบั ของความหนกั เบา และเห็นตา งกันวา เร่อื งใดกระทําไดหรอื กระทาํ ไมได
ในกรณีท่ีมีการฝาฝนบางเร่ือง บางคนอาจเห็นวาไมเปนไร เปนเรื่องเล็กนอยหรือเห็นวาเปนเร่ืองใหญ
ตอ งถูกประณาม ตาํ หนิ ติฉินนนิ ทา วากลา ว ฯลฯ แตกตางกันไปตามสภาพของสังคม

ตวั ชว้ี ัด

1. บอกความสําคัญของการคิดแยกแยะระหวางผลประโยชนสว นตนและผลประโยชนสวนรวม
2. บอกความหมาย ความสําคัญของหลักการคดิ เปน
3. นําหลกั การคดิ เปน มาใชใ นการปองกนั การทุจรติ
4. มคี วามรู ความเขา ใจเก่ยี วกบั ผลประโยชนส ว นตนและผลประโยชนสวนรวม
5. วเิ คราะหก ารคดิ แยกแยะระหวางผลประโยชนส วนตนกับผลประโยชนส ว นรวม
6. ตระหนกั และเหน็ ความสาํ คัญของการมีสวนรวมในการปองกนั การทุจรติ

ขอบขายเน้ือหา
1. การคิดแยกแยะ

1.1 ความหมาย ความสาํ คัญของการคิดแยกแยะ
1.2 ความหมาย ความสําคัญของผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนส วนรวม

2. หลักการคดิ เปน

ความหมาย ความสําคญั ของหลักการคดิ เปน

3. ความแตกตางระหวางจริยธรรมและการทจุ ริต

3.1 ความหมายของการทจุ รติ
3.2 ประเภทของการทจุ รติ
3.3 ความหมาย ความสาํ คัญของจริยธรรม
3.4 วเิ คราะหความแตกตา งระหวา งจริยธรรมและการทุจรติ

2

4. ความหมายของประโยชนสวนตนและประโยชนสวนรวม และการขัดกันระหวางผลประโยชน

สว นตนและผลประโยชนส ว นรวม
5. ความหมายและรูปแบบของผลประโยชนท บั ซอ น

3

เร่ืองท่ี 1 การคดิ แยกแยะ

ความหมายของการคดิ แยกแยะ
คิด หมายถงึ ใครค รวญ ไตรตรอง คาดคะเน คาํ นวณ นกึ เชน เรื่องนีย้ ากยงั คิดไมอ อก คิดวาเยน็ น้ี
ฝนอาจจะตก คดิ เลขในใจ คิดละอาย เปน ตน
แยกแยะ หมายถึง กระจายออกใหเ หน็ ชัดเจน เชน แยกแยะปญหาใหเ ห็นเปนแตล ะประเดน็ ไป
ดงั นน้ั การคิดแยกแยะ เปนการคิดแบบแยกสวนประกอบ หรือแบบกระจายเน้ือหา เปนการคิด
ท่ีมุงใหมองและใหรูจักสิ่งท้ังหลายตามความเปนจริงโดยอาศัยการแยกแยะออกเปนสวนประกอบตาง ๆ
และมีการจัดหมวดหมูหรือจัดประเภทไปพรอมกัน เชน ผูเรียนมาเรียนสาย สามารถแยกแยะสาเหตุของ
การมาสายได
ความสําคัญของการคดิ แยกแยะ
1. ชวยใหม องเหน็ ปญ หาตา ง ๆ ไดดี
2. ชว ยใหบ คุ คลคดิ หาแนวทางในการหลกี เลยี่ งหรือปอ งกันปญหาได
3. ชวยลดผลกระทบทอี่ าจเกิดขึ้นจากการคิด คือ คนจะมีการปฏบิ ัติหรือการกระทาํ ตามทเ่ี ขาคิด
ถงึ แมว าจะถกู หรือผิดกต็ ามเนอ่ื งจากการคดิ มีพลังอาํ นาจ จงึ ตองการการควบคมุ โดยไดใ ชว ิธกี ารคดิ ตางท่ีจะ
ชวยรักษาความคดิ ใหเปนไปอยา งถูกตอ ง
ความหมายของผลประโยชนสว นตนและผลประโยชนส วนรวม
ผลประโยชนส ว นตน หมายถงึ การท่บี ุคคลท่วั ไปในสถานะเอกชนหรือเจา หนาท่ขี องรัฐไดทํากิจกรรม
หรือไดกระทําการตาง ๆ เพ่ือประโยชนสวนตน ครอบครัว ญาติ เพ่ือน หรือกลุมในสังคมที่มีความสัมพันธกันใน
รูปแบบตาง ๆ เชน การประกอบอาชีพ การทําธุรกิจการคาการลงทุน เพ่ือหาประโยชนทางการเงินหรือทาง
ทรัพยสนิ ตา ง ๆ เปนตน
ผลประโยชนสวนรวม หมายถึง การท่ีบุคคลใด ๆ ในสถานะท่ีเปนเจาหนาท่ีของรัฐ ไมวาจะเปน
ผดู ํารงตําแหนงทางการเมือง ขาราชการพนกั งานรฐั วิสาหกิจ หรือเจาหนาที่ของรัฐในหนวยงานของรัฐก็ตาม
ไดก ระทาํ การใด ๆ ตามหนาที่ หรอื ไดปฏิบตั หิ นาท่อี ื่นทีเ่ ปนการดาํ เนินการอกี สวนหน่งึ ซึง่ แยกออกมาจากการ
ดําเนินการตามหนาท่ีในสถานะของบุคคล การกระทําการใด ๆ ตามหนาที่หรือการปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาท่ี
ของรัฐจึงมีวัตถุประสงคหรือมีเปาหมายเพ่ือประโยชนของสวนรวม หรือการรักษาประโยชนสวนรวมที่เปน
ประโยชนข องรัฐ การทําหนา ทข่ี องเจา หนา ทขี่ องรฐั จงึ มีความเกยี่ วขอ งเชือ่ มโยงกับอํานาจหนา ท่ีตามกฎหมาย
และมีรปู แบบความสัมพันธหรือมีการกระทําในลักษณะตาง ๆ ที่เหมือนหรือคลายกับการกระทําของบุคคลใน
สถานะเอกชน เพียงแตการกระทําในสถานะท่ีเปนเจาหนาที่ของรัฐกับการกระทําในสถานะเอกชนมีความ
แตกตางกันทวี่ ัตถปุ ระสงค
หากมีความรคู วามเขา ใจเกีย่ วกบั ผลประโยชนสว นตนกับผลประโยชนสว นรวมแลว จะสามารถคิด
แยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสวนรวมได ตลอดจนสรางความตระหนักและเห็น
ความสําคญั ในการตอ ตา นและปองกนั การทจุ รติ ทเี่ กิดขนึ้ ได

4

กจิ กรรมที่ 1

คาํ ชแี้ จง ใหผูเรยี นอธิบายความหมายของผลประโยชนสว นตน และผลประโยชนสว นรวม พรอมยกตวั อยา ง

ผลประโยชนส ว นตน หมายถึง.......................... ตตวัวั อยาง
.......................................................................... ..........................................................................
.......................................................................... ..........................................................................

.......................................................................... ..........................................................................
.......................................................................... ..........................................................................
.......................................................................... ..........................................................................

.......................................................................... ..........................................................................

ผลประโยชนสวนรวม หมายถงึ .......................... ตวั อยา ง
..........................................................................
..........................................................................
.......................................................................... ..........................................................................
.......................................................................... ..........................................................................
.......................................................................... ..........................................................................
..........................................................................
.......................................................................... ..........................................................................
..........................................................................

5

เร่ืองท่ี 2 หลกั การคิดเปน

คิดเปน เปนการเนนใหผูเรียนไดเรียนรูดวยการคิด วิเคราะห และแสวงหาคําตอบดวยการใช
กระบวนการท่ีหลากหลาย เปดกวาง เปนอิสระมากกวาการเรียนรูท่ีเนนเน้ือหาใหทองจํา หรือมีคําตอบ
สาํ เรจ็ รูปใหโดยผูเรยี นไมตองคิด ไมตองวเิ คราะหเ หตุและผลกอ น

ความหมายของ “คดิ เปน ”
โกวิท วรพิพัฒน ไดใหคําอธิบายเก่ียวกับ “คิดเปน” วา บุคคลที่คิดเปนจะสามารถเผชิญปญหา
ในชวี ิตประจาํ วนั ไดอ ยางเปนระบบ บุคคลผทู ่จี ะสามารถพนิ จิ พิจารณาสาเหตขุ องปญ หาทเี่ ขากาํ ลังเผชิญอยู และ
สามารถรวบรวมขอมลู ตา ง ๆ ไดอ ยางกวางขวางเกี่ยวกบั ทางเลือก เขาจะพจิ ารณาขอ ดี ขอเสียของแตละเร่ือง
โดยใชค วามสามารถเฉพาะตัว คา นิยมของตนเอง และสถานการณทต่ี นเองกําลงั เผชญิ อยมู าประกอบการพิจารณา
ปรัชญาคิดเปน เปนความคดิ ท่เี กิดจากความเช่ือวา มนุษยโลกทกุ คนตอ งการมีความสขุ ความสุขของ
คนแตละคนแตกตางกัน แตละคนสามารถปรับตนเองใหเขากับสภาพแวดลอมท่ีตนดํารงชีวิตอยูไดอยาง
กลมกลืน ในการเสริมสรางบุคคลใหเปนคนคิดเปน ตองใชทักษะการคิด การแกไขปญหาโดยใชขอมูลอยาง
รอบดานกอนการตัดสนิ ใจ ลงมือปฏิบตั ิ ทั้งขอมูลตนเอง ขอมลู วิชาการ และขอ มลู สังคมและส่ิงแวดลอม
สรุปความหมายของ “คิดเปน” คือ การคิดวิเคราะหปญหาและแสวงหาคําตอบหรือทางเลือก
เพอ่ื แกป ญหา และการคดิ อยางรอบคอบเพ่ือการแกป ญ หาโดยอาศัยขอ มลู ตนเอง ขอมลู สงั คมสิง่ แวดลอ ม และ
ขอมลู วชิ าการใหเ หมาะสมกับตนอยา งมีคณุ ธรรม จริยธรรม
ความสาํ คัญของการคิดเปน
1. ชว ยใหคนมองเหน็ ภาพปญหาตาง ๆ ในอนาคต
2. เปน แนวทางในการหลกี เล่ยี งหรอื ปองกันปญหาในอนาคต
3. บอกถงึ ผลกระทบท่ีอาจเกิดขนึ้
เปาหมายสดุ ทา ยของการเปน คน “คิดเปน” คือ ความสขุ คนเราจะมีความสุขไดก เ็ มอ่ื ตวั เราและสงั คม
ส่ิงแวดลอมประสมกลมกลืนกนั อยางราบรน่ื ทง้ั ทางดา นวตั ถุ กาย และใจ
กระบวนการแกปญหาตามหลักการคิดเปน
ตามปรัชญาคิดเปน เปนการคิดเพื่อแกปญหา คือ มีจุดเริ่มตนท่ีปญหา พิจารณา ยอนไตรตรอง
ถงึ ขอ มลู 3 ประเภท คอื ขอมูลดา นตนเอง ขอ มลู ดา นสังคม ส่ิงแวดลอ ม และขอมูลวชิ าการ ตอจากน้ันก็ลงมือ
กระทํา ซ่งึ หากสามารถทําใหปญหาหายไปได กระบวนการกย็ ตุ ิลง แตห ากบุคคลยงั ไมพ อใจแสดงวา ยงั มีปญ หาอยู
บุคคลกจ็ ะเริ่มกระบวนการพิจารณาทางเลือกใหมอีกครั้ง และกระบวนการน้ีจะยุติลงเมื่อบุคคลพอใจและมี
ความสขุ ตามกระบวนการ ดังน้ี
1. ขนั้ สาํ รวจปญหา เมอ่ื เกิดปญ หายอ มตอ งเกดิ กระบวนการคดิ แกปญ หา
2. ข้ันหาสาเหตุของปญหา เปนการหาขอมูลมาวิเคราะหวาปญหาท่ีเกิดขึ้นนั้นเกิดขึ้นไดอยางไร
มอี ะไรเปนองคประกอบของปญ หาบาง

2.1 สาเหตจุ ากตนเอง พื้นฐานของชีวิต ครอบครวั อาชีพ การปฏบิ ตั ติ น คุณธรรม จรยิ ธรรม

6

2.2 สาเหตจุ ากสงั คม บุคคลที่อยแู วดลอม ตลอดจนความเชอื่ ประเพณี วฒั นธรรมของสงั คมและ
ชมุ ชนน้นั ๆ

2.3 สาเหตจุ ากการขาดวิชาการความรูตาง ๆ ท่เี กี่ยวของกบั ปญ หา
3. ข้ันวิเคราะหปญหา หาทางแกปญหา เปนการวิเคราะหทางเลือกในการแกปญหาโดยใชขอมูล
ดานตนเอง สงั คม วชิ าการ มาประกอบในการวิเคราะห
4. ข้นั ตัดสินใจ เมอื่ ไดท างเลอื กแลว จึงตดั สนิ ใจเลือกแกปญหาในทางที่มีขอ มลู ตาง ๆ
5. ขั้นตัดสินใจไปสูการปฏิบัติ เมื่อตัดสินใจเลือกทางใดแลว ตองยอมรับวาเปนทางเลือกท่ีดีที่สุด
จากขอ มูลเทา ทม่ี ขี ณะน้นั
6. ขน้ั ประเมนิ ผลแกป ญ หา ในข้ันน้ีเปนการประเมินผลและแกปญหาไปพรอมกนั ถาผลเปน ที่

6.1 พอใจ กจ็ ะถือวาพบความสุข เรยี กวา “คดิ เปน ”
6.2 ไมพอใจ หรือผลออกมาไมไดเปน ไปตามที่คิดไว หรือขอมูลเปล่ียน ตองเริ่มตนกระบวนการ
คดิ แกป ญ หาใหม

ปญ หา ความสุข

สาเหตุของปญ หา

ตนเอง สงั คม วิชาการ พอใจ
หาทางแกป ญหา
ไมพอใจ

ปฏบิ ตั ิ
ประเมินผล

7

การนํากระบวนการคิดเปนมาใชในการปองกันการทจุ ริต

กรณีศกึ ษาการนํากระบวนการคิดเปนมาใชใ นการปองกันการทจุ ริต เรื่อง หัวหนาสวนราชการทุจรติ
จากกรณีที่ตัวแทนชาวบานหรือผูใหญบานสวนราชการแหงหน่ึง ไดเขายื่นหนังสือรองเรียน

ศูนยดํารงธรรมจังหวดั ใหต รวจสอบเอาผดิ หวั หนา สวนราชการ
โดยกลาวหาวาหัวหนาสวนราชการคนดังกลาวมีพฤติกรรมทุจริตเงินงบประมาณโครงการ

ไทยนิยมย่ังยืนท่ีใหงบหมูบานละ 200,000 บาท โดยตัวแทนชาวบานและผูใหญบานที่เขารองเรียนระบุวา
หัวหนาสวนราชการไดหักหัวคิวคาอาหารในการจัดเวทีประชาคมของแตละหมูบาน ซึ่งไดรับงบคาอาหารเวทีละ
4,000 บาท โดยมีการลงในใบเสร็จรับเงิน 4,000 บาท แตกลับไดรับยอดเงินคาอาหารจริงเพียง 3,500 บาท
ถกู หักหัวคิวครง้ั ละ 500 บาท

ซึ่งจากการสอบถามพบวาทั้ง 56 หมูบานในสวนราชการน้ี ถูกหักหัวคิวคาอาหารในโครงการ
ไทยนิยมย่ังยนื ไปหมบู า นละ 500 บาท รวม 56 หมูบ าน เปนเงนิ 28,000 บาท

ทั้งนี้ ชาวบานยังไดรองเรียนกลาวหาวา หัวหนาสวนราชการยังมีพฤติกรรมทุจริตเงินจาก
การจัดงานประเพณีของดีประจําสวนราชการอีกดวย จึงไดเขามารองเรียนเพื่อใหตรวจสอบขอเท็จจริง
หากพบวา มกี ารกระทําทจุ รติ จรงิ กอ็ ยากใหเ อาผิดทั้งวินัยและกฎหมาย

ลาสุดผูสือ่ ขาวไดเ ดนิ ทางไปยังท่ีวาการสวนราชการน้ัน เพื่อขอสัมภาษณหัวหนาสวนราชการ
ใหไ ดช ีแ้ จงกรณีทีถ่ ูกรอ งเรยี นกลา วหา แตก็ไมพ บหัวหนาสวนราชการคนดงั กลา ว จึงไดส อบถามเจา หนาทซี่ ึ่งให
ขอ มูลเพียงวาหวั หนาสวนราชการเดินทางไปรายงานตัวท่ีหนวยงานตนสังกัด ภายหลังไดรับหนังสือคําส่ังให
ยายไปชวยราชการที่หนวยงานตนสังกัดเปนการช่ัวคราว มีผลตั้งแตวันนี้เปนตนไปหรือจนกวาจะมีคําสั่ง
เปลย่ี นแปลง

ประเด็น
ถา เจา หนา ท่รี ฐั ขาดคณุ ธรรม จริยธรรม หนวยงานภาครัฐควรทําอยาไรจึงจะปองกันการทุจริตได

ใหนํากระบวนการคิดเปนมาใชในการคดิ วิเคราะห
วิธกี ารดําเนนิ การ
1. ใหครูและผูเรียนรวมกันศึกษาจากกรณีตัวอยางใหเขาใจ แลวอภิปรายแสดงความคิดเห็น

รวมกัน จากขอมูลท่ีแยกแยะเปน 3 ดาน คือ ขอมูลตนเอง สังคมและส่ิงแวดลอม และขอมูลทางวิชาการ
พรอมทง้ั คิดวิเคราะห ตดั สินใจตามประเด็นทก่ี าํ หนด

2. ใหตวั แทนผเู รียนบันทึกผลจากการอภปิ ราย พรอ มทงั้ สรปุ และรายงานผลใหก ลุมฟง
ผลการวเิ คราะหก รณีศกึ ษาจากกิจกรรมขา งตน โดยใชหลกั การคิดเปน ดงั น้ี

1. ขนั้ สํารวจปญหา เปน ปญหาทก่ี าํ หนดให คอื “หวั หนา สวนราชการทจุ รติ ”
2. ข้ันหาสาเหตุของปญหา เปนการหาขอมูลมาวิเคราะหวาปญหาที่เกิดขึ้นนั้นเกิดขึ้น
ไดอ ยา งไร โดยวเิ คราะหจ ากขอมลู 3 ดา น ดังนี้

2.1 ขอมลู ตนเอง หวั หนา สวนราชการมพี ฤติกรรมทจุ ริตซาํ้ แลว ซํา้ อีก แสดงใหเห็นวาเม่ือมี
โครงการ/กจิ กรรม มาจากภาครัฐ หวั หนาสว นราชการก็จะหักคาหวั คิวไว โดยไมล ะอายตอบาป

8

2.2 ขอ มลู สงั คมและส่งิ แวดลอ ม ชาวบานมกี ารรวมตวั กันดี สามารถรวมกันย่นื ฟอ งหัวหนา
สว นราชการ และหัวหนา สวนราชการคงมิไดทําการทุจริตคนเดียว อยางนอยคงมีเจาหนาท่ีการเงินรวมดวย
จากกรณนี ี้อาจมกี ารตง้ั กรรมการสอบสวน สามารถเอาผดิ กบั ทกุ คนท่ีเก่ยี วของได

2.3 ขอ มูลทางวิชาการ หนว ยงานตนสงั กัดไดร ับขอ มูลการทจุ รติ กไ็ ดดําเนินการทันที
3. ข้ันวเิ คราะหป ญ หา ปญหามาจากหัวหนาสว นราชการที่มีพฤตกิ รรมทจุ ริต ทําซ้ําแลวซํ้าอีก
จนกระทัง่ มกี ารรองเรียนจากชาวบาน ดงั นนั้ ควรมีการปอ งกันการทจุ ริตของเจาหนาที่รฐั
4. ขน้ั ตดั สินใจ ตามประเดน็ วา “ควรมกี ารปองกนั การทจุ ริตของเจาหนาที่รัฐไดอยางไร” คือ
ตองดาํ เนนิ การตามลาํ ดบั ดงั นี้

4.1 ควรมีการอบรมคณุ ธรรม จริยธรรมใหกบั เจา หนาที่รฐั อยา งสม่าํ เสมอ
4.2 หนวยงานตนสังกดั ควรมกี ารตดิ ตามการใชเ งินในกรณีท่จี ดั สรรงบประมาณมาให
4.3 ควรมีวธิ ีการลงโทษใหเ ปนตวั อยาง
5. ขนั้ ตัดสินใจไปสูการปฏิบัติวา ในขั้นตอนแรกที่ดําเนินการไดทันที คือการอบรมคุณธรรม
จรยิ ธรรม
6. ขน้ั ประเมนิ ผลแกป ญ หา ในชัน้ น้เี ปนการประเมนิ ผลและแกปญ หาไปพรอมกัน ถา ผลเปน ท่ี
6.1 พอใจ ถาเจาหนา ทร่ี ฐั ทผี่ านการอบรมคุณธรรม จริยธรรมไปแลว มีการทุจริตนอยลง
กถ็ อื วา มีความพอใจ
6.2 ไมพ อใจ ยังคงมกี ารทจุ ริตเกดิ ข้นึ อยูเนือง ๆ ตองใชวิธกี ารอืน่ ๆ รว มดวย เชน
การลงโทษใหเ ห็นชดั เจน รวดเรว็ เปนตน

9

ใบความรู

เรือ่ ง ชาวบา นรองหวั หนาสว นราชการใหตรวจสอบ กรรมการหมูบ าน

เมื่อตนป 2562 ตวั แทนชาวบานทงุ หมาเมนิ จาํ นวน 50 คน นําโดย นาย ก. เดินทางมาย่นื หนังสือถึง
หวั หนาสวนราชการ เพือ่ ใหต รวจสอบ ถอดถอนประธานกองทนุ หมบู านและผใู หญบาน โดยกลาวหาวาปฏิบัติ
ห น า ท่ี
โดยไมโ ปรงใส ทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบ จนชาวบานไมไ ววางใจ นาย ก. กลาววาชาวบา นทุงหมาเมิน เห็นวา

1. โครงการซ้ือวัวใหช าวบา นนําไปเลี้ยงดว ยเงินงบประมาณ รายละ 33,000 บาท เวลาผานไปกวา 3 ป
ยงั ไมม ีการคนื ทนุ

2. โครงการไทยนิยมย่ังยืน 300,000 บาท นําไปซ้ือเคร่ืองเสียงใหชาวบานที่มีงานบุญตาง ๆ ไดใช
โดยไมมีการทาํ ประชาคมวา จะคิดคาเชา เทาไร ผูใหญบานใชวิธีเก็บเงินกันเอง คิดราคากันเอง แตไมรูวาเงิน
ที่เกบ็ ไดอ ยูท ใ่ี คร

3. โครงการรานคาชุมชน เปดมาแลวมีแตการขาดทุน โดยผูใหญบานเปนผูเชาดําเนินการ โดยจาย
คาเชา ปล ะ 20,000 บาท เวลาผา นไปหลายป สมาชกิ ไมทราบเรื่องเลยวา เงนิ คาเชา รานคา ชุมชนจายใหก บั ใคร
เงินอยูท ไี่ หน จํานวนเทา ใด

ชาวบานเคยไดสอบถามรายละเอียดของแตละโครงการ ก็ไมไดรับคําตอบท่ีชัดเจน ประธานและ
กรรมการพยายามบา ยเบีย่ งเร่อื ยมา บางคร้งั มกี ารขม ขู และดูถูก ดูหมิน่ ดูแคลนชาวบาน ซึ่งชาวบานท้ังหมด
ไมอาจทนอีกตอไป จึงมาย่ืนหนังสือตอหัวหนาสวนราชการขอใหตรวจสอบ ถอดถอนประธานกองทุนหมูบาน
พรอ มดว ยคณะกรรมการและผใู หญบ าน

หัวหนาสวนราชการ เมื่อไดร บั หนังสือรอ งเรยี นจากชาวบา นทุงหมาเมินแลว ไดส่ังต้ังกรรมการขึ้นมา
ตรวจสอบขอ เทจ็ จรงิ ในเรื่องทช่ี าวบานรอ งเรียนมา

ประเดน็
ผูเ รียนคดิ วา จะมีวิธีการปองกนั การทุจริตของกรรมการหมบู า นไดอ ยา งไร โดยใชกระบวนการคดิ เปน

แนวทางการทาํ กจิ กรรม
1. ครแู บงกลมุ ผเู รยี นออกเปน 2 - 3 กลุมยอย ใหผูเรยี นเลือกประธานและเลขานกุ ารกลมุ เพอ่ื เปน

ผูนาํ และผูจดบันทึกผลการอภิปรายของกลมุ ตามลําดับ และนําผลการอภปิ รายทบี่ ันทึกไวไ ปเสนอตอที่ประชุม
กลุมใหญ จากน้นั ใหผเู รียนทุกกลุมอภิปรายเพือ่ หาคําตอบตามประเด็นท่ีกําหนดให ครูติดตามสังเกตการใช
เหตุผลของแตล ะกลมุ หากขอ มลู ยังไมเ พยี งพอ ครูอาจชีแ้ นะใหอ ภิปรายเพ่มิ เตมิ ได

2. เลขานกุ ารกลมุ บนั ทกึ ผลการพิจารณาหาคาํ ตอบตามประเด็นท่กี ําหนดตามกระบวนการคิดเปน
ดังตัวอยา ง และนําคาํ ตอบน้ันไปรายงานในท่ปี ระชมุ กลมุ ใหญ หากมผี เู รยี นไมม าก ครูอาจใหม ีการสนทนาหรอื
อภปิ รายในกลมุ ใหญเลย โดยไมตองแบงกลุมยอย

10

เรือ่ งที่ 3 ความแตกตางระหวางจรยิ ธรรมและการทจุ ริต

จริยธรรม หมายถึง ความประพฤติท่ีอบรมกิริยาและปลูกฝงลักษณะนิสัยใหอยูในครรลองของ
คุณธรรม หรือศีลธรรม คุณคาทางจริยธรรมชี้ใหเห็นความเจริญงอกงามในการดํารงชีวิตอยางมีระเบียบ
แบบแผน ตามวฒั นธรรมของบุคคลท่ีมลี กั ษณะทางจิตใจทด่ี งี าม ประพฤตติ นอยใู นสงั คมไดอยา งสงบ เรยี บรอ ย
และเปนประโยชนต อผอู ่นื มคี ุณธรรม และมโนธรรมทีจ่ ะสรา งความสมั พันธอ ันดี

จริยธรรม เปนกรอบใหญท างสังคมทีเ่ ปนพ้ืนฐานของแนวคิดเก่ียวกับการขัดกันระหวางประโยชน
สวนตนและประโยชนสวนรวม และการทุจริต การกระทําใดที่ผิดตอกฎหมายวาดวยการขัดกันระหวาง
ประโยชนสวนตนและประโยชนสว นรวม และการทุจริตยอ มเปนความผดิ จริยธรรมดว ย ตรงกนั ขามการกระทาํ
ใดท่ฝี า ฝนจรยิ ธรรม อาจไมเ ปนความผิดเก่ียวกับการขัดกันระหวางประโยชนสวนตนและประโยชนสวนรวม
และการทุจรติ เชน มพี ฤตกิ รรมสว นตัวไมเหมาะสม มพี ฤตกิ รรมชูส าว เปน ตน

สภาพปญหาการขาดจรยิ ธรรม
1. ปญหาเกย่ี วกับพ้ืนฐานการปลกู ฝง คา นยิ มจากครอบครัวและสงั คม
2. ปญ หาการขาดการปลกู ฝง คานยิ ม ความรูใ นการศึกษาเรอื่ งจรยิ ธรรม และมมี าตรฐานการเรยี น

การสอนเกีย่ วกบั จรยิ ธรรม
3. ปญหาการขาดตนแบบของบุคลากรท่ีดํารงตนเปน ตัวอยา งดา นจริยธรรม
4. ปญหาเรอ่ื งความจาํ เปน ทางเศรษฐกิจและสงั คมทเ่ี ปลีย่ นแปลงไป
5. ปญ หาการทจุ รติ และมีการกระทาํ ฝา ฝน จริยธรรมวิชาชีพในกรณอี ื่น
6. ปญ หาการขดั กันระหวา งผลประโยชนสวนตนกบั ผลประโยชนส ว นรวม
7. ปญหาการขาดการมสี ว นรว มในการตรวจสอบสื่อมวลชนและประชาชน

หลกั จรยิ ธรรมในการดํารงตนใหปราศจากอคตธิ รรม 4 ประการ ดงั น้ี
1. ปราศจากฉันทาคติ หมายถงึ การทาํ ใหจ ติ ปราศจากความโลภ
2. ปราศจากโทษาคติ หมายถึง การทําใหจ ิตปราศจากความโกรธพยาบาทจองเวร
3. ปราศจากภยาคติ หมายถึง การทําใหจ ิตปราศจากความกลวั กระทําจติ ใหม นั่ คง
4. ปราศจากโมหาคติ หมายถงึ การทําใหจ ิตปราศจากความโงเ ขลา ความหลง ไมร จู ักความทกุ ข

ความดับ
การทจุ รติ
การทจุ ริต หมายถึง การแสวงหาประโยชนท ่มี ิควรไดโดยชอบดวยกฎหมายสาํ หรบั ตนเองและผูอนื่
การทุจรติ ตอ หนา ท่ี หมายถึง การปฏิบตั ิหรอื ละเวน การปฏบิ ัติอยา งใดในพฤติกรรมทีอ่ าจทาํ ใหผ ูอื่น

เชือ่ วา มตี ําแหนงหรือหนาที่ ทั้งที่ตนมิไดมีตําแหนงหรือหนาท่ีนั้น ๆ หรือใชอํานาจในตําแหนง เพื่อแสวงหา
ผลประโยชนทมี่ คิ วรไดโ ดยชอบสําหรบั ตนเองและผอู ื่น

11

การทจุ รติ เปน ภยั รา ยแรงสาํ คญั ที่ทาํ ลายความมั่นคงของชาติ รัฐบาลจึงมีนโยบายสรางมาตรฐาน
ดา นคณุ ธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ใหแกขาราชการและเจาหนาทีข่ องรฐั พรอมท้งั พัฒนาความโปรงใส
ในการปฏิบตั ิงานของหนวยงานภาครัฐ เพ่ือใหเ ปนที่เชื่อถือไววางใจของประชาชน

รปู แบบการทุจรติ
การทจุ รติ ในหนวยงานราชการมหี ลายรปู แบบ เชน
1. ฝาฝน หลีกเล่ียง ระเบยี บแบบแผน หรอื กฎ ขอ บังคบั
2. จูงใจ เรยี กรอ ง บงั คบั ขมขู หนวงเหนย่ี ว กลัน่ แกลง หาประโยชนสว นตนหรอื พวกพอ ง
3. การสมยอม รเู หน็ เปน ใจ เพกิ เฉย ละเวนการกระทําในการทีต่ องปฏิบัตหิ รือรบั ผิดชอบตามหนา ท่ี
4. ยักยอก เบียดบงั ซง่ึ ทรพั ยสนิ ของทางราชการ
5. ปลอมแปลง หรอื กระทาํ การใด ๆ อันเปน เท็จ
6. มผี ลประโยชนรวมในกจิ กรรมบางประเภททสี่ ามารถใชอ าํ นาจหนาทขี่ องตนบันดาลประโยชนได

มลู เหตขุ องการทุจริต
1. เจา หนา ท่ีขาดคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม
2. ขาดกลไกในการลงโทษ และการบังคับใชก ฎหมาย
3. ขาดการตรวจสอบและการควบคมุ กาํ กบั ดูแล
4. เจา หนาที่ไดร บั คาตอบแทน/เงนิ เดือนไมพ อกบั คา ครองชพี และมีปญ หาทางเศรษฐกจิ หรอื

อบายมุข
5. สภาพการทาํ งานทเี่ ปดโอกาส เอื้ออาํ นวยตอ การกระทาํ ทจุ รติ กระบวนการปฏบิ ัติงานมีชองโหว

การสรางจิตสํานึกเจา หนาทใ่ี นองคกรเพ่ือปอ งกนั การทจุ รติ คอรรปั ชัน จงึ จําเปนตองสรา งสํานึกหรือ
มโนธรรมแหงความรูสึกผิดชอบช่ัวดี โดยใหเกิดความรูสึกละอายหากจะทําในสิ่งไมถูกไมควร หรือเรียกไดวา
“คุณธรรมและจริยธรรม” หลักจริยศาสตรที่เปนการแกไขปญหาทางการเมืองในสังคมไทย ยึดหลักการวา
การบริหารงานใดไดดาํ เนินการถูกตองตามตวั บทกฎหมาย ถอื วาการบรหิ ารงานนั้นถูกตองตามหลักจริยธรรม
ยึดหลักการพยายามแสวงหาความดีที่ยึดถือควรเปนอยางไร แลวนํามาใชเปนมาตรฐานตามหลักจริยธรรม
เพื่อกําหนดเปน แนวทางปฏิบัตงิ าน การทจุ ริตคอรรปั ชนั ก็จะลดนอ ยลง

12

๒๑

18
การทจุ ริตCorruption

ผลประโ

ยชนท บั ซอน แผนภาพพนื้ ฐานแนวคดิ เก่ยี วกบั การขัดกันระหวางผลประโยชนสวนตน
ผลประโยชนส วนรวม และการทจุ ริต

Conflict of Interests

จากแผนภาพแสดงใหเ ห็นวา ถาเจาหนาทข่ี องรัฐมจี ริยธรรม และมีผลประโยชนทบั ซอ นนอ ย
การทจุ ริตกจ็ ะลดนอ ยลงไปเชน กนั

๒๒จรยิ ธรรม เปน หลักสาํ คญั ในการควบคมุ พฤตกิ รรมของเจา หนา ท่ขี องรฐั
เปรียบเสมอื นโครงสรา งพ้นื ฐานท่เี จาหนา ท่ขี องรัฐตอ งยดึ ถอื ปฏบิ ตั ิ

Ethics การขดั กันระหวางประโยชนส วนตนและประโยชนส ว นรวม เปน พฤตกิ รรมท่อี ยรู ะหวาง
จริยธรรมกบั การทจุ รติ ท่จี ะกอใหเ กดิ ผลประโยชนสวนตนกระทบตอ

ผลประโยชนสว นรวม ซงึ่ พฤติกรรมบางประเภทมกี ารบญั ญตั เิ ปนความผิดทางกฎหมาย
มีบทลงโทษชดั เจน แตพ ฤตกิ รรมบางประเภทยงั ไมม กี ารบญั ญตั ิขอหามไวในกฎหมาย

การทจุ รติ เปนพฤติกรรมท่ีฝา ฝน กฎหมายโดยตรง ถอื เปน ความผดิ อยางชดั เจน
สังคมสว นใหญจ ะมกี ารบัญญัตกิ ฎหมายออกมารองรบั มีบทลงโทษชดั เจน
ถือเปน ความผิดขนั้ รุนแรงท่ีสดุ ทเ่ี จาหนาท่ขี องรัฐตอ งไมป ฏบิ ตั ิ

เจาหนา ท่ขี องรัฐทข่ี าดจริยธรรมในการปฏิบัตหิ นา ที่ โดยเขา ไปกระทําการใด ๆ
ทเ่ี ปนการขดั กันระหวา งประโยชนส วนตนและประโยชนส ว นรวม ถือวาเจา หนา ที่ของรฐั
ผนู น้ั ขาดความชอบธรรมในการปฏบิ ตั ิหนาท่ี และจะเปน ตนเหตุของการทจุ ริตตอ ไป

13

จริยธรรมของเจาหนาท่ขี องรฐั
หลกั จรยิ ธรรมเปน สิง่ สาํ คัญทจี่ ะทําใหการประพฤตปิ ฏบิ ัตขิ องเจาหนาที่ของรัฐ ไดรับการยอมรับจาก

สาธารณชน และมคี วามสําคัญตอ การดาํ รงไวซ ึ่งความม่นั คงแหงรฐั
ความเปลี่ยนแปลงของโลกและสงั คม ไมวา ในทางเศรษฐกจิ การเมือง และสังคม ซ่ึงลวนสงผลกระทบ

ตอการปฏิบตั หิ นา ทข่ี องเจาหนา ทข่ี องรฐั โดยเฉพาะคานิยมทางสงั คมทม่ี งุ เนน วตั ถุนิยมและบริโภคนิยมเปนหลัก
ทําใหความประพฤติอันเปนพื้นฐาน ขัดตอหลักกฎหมาย ศีลธรรม และจริยธรรม ซึ่งท้ัง 3 ส่ิงน้ีคือ แนวทาง
สําคญั ของจรยิ ธรรม

14

กจิ กรรมที่ 2

ใหผูเรยี นดคู ลปิ วิดโี อ เรอื่ ง “นิมนตยม้ิ เดล่ีคนดีไมค อรร ปั ชัน” ตอน “แปะ เจี๊ย” ตอน “สง เสรมิ ลูกนอ ง” และ
เรอื่ ง “รบั สินบน” แลว ตอบคาํ ถามตอ ไปนี้

เรือ่ ง “นมิ นตย มิ้ เดลี่คนดีไมคอรร ปั ชนั ” ตอน “แปะเจี๊ย” ตอน “สง เสริมลกู นอง”

เร่ือง “รบั สนิ บน”

1. จากเรอ่ื งท่ีดู ทาํ ใหเ ห็นจริยธรรมอะไรบาง
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

2. จากเรอ่ื งท่ดี ู ทําใหเ หน็ การทจุ รติ อะไรบาง
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

3. ความแตกตา งระหวางจริยธรรม และการทจุ ริต มคี วามสําคญั ตอชมุ ชน สังคมหรือไม อยา งไร
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

15

เรอ่ื งที่ 4 ความหมายของประโยชนส วนตนและประโยชนสว นรวม และการขัดกันระหวาง
ผลประโยชนส ว นตนและผลประโยชนส ว นรวม

ประโยชนสวนตัว (Private Interests) หมายถึง การท่ีบุคคลท่ัวไปในสถานะเอกชนหรือเจาหนาที่
ของรฐั ในสถานะเอกชนไดทํากิจกรรมหรือไดกระทําการตาง ๆ เพ่ือประโยชนสวนตน ครอบครัว เครือญาติ
พวกพอง หรือของกลุมในสังคมท่ีมีความสัมพันธกันในรูปแบบตาง ๆ เชน การประกอบอาชีพ การทําธุรกิจ
การคา การลงทุน เพ่ือหาประโยชนในทางการเงินหรือในทางธุรกิจ เปนตน โดยมีองคประกอบท่ีสําคัญ
3 ประการ คอื

องคประกอบที่ 1 ผลประโยชนสวนตนหรือผลประโยชนสว นบุคคล ซ่งึ ผลประโยชนอาจเปนตัวเงิน
หรือทรพั ยสินอื่น ๆ รวมถึงผลประโยชนใ นรูปแบบอนื่ ๆ ทท่ี าํ ใหผ ูไดรับพงึ พอใจ โดยสวนตวั แลว อาจจะมองวา
ไมเสยี หายอะไร เพราะใคร ๆ ก็แสวงหาผลประโยชนสว นตนกันทั้งนั้น

องคประกอบท่ี 2 การปฏิบัติหนาท่ีโดยใชสถานะและขอบเขตอํานาจหนาท่ีของเจาหนาท่ีหรือ
เจา พนกั งานของรฐั ซง่ึ ขาดหลักจรยิ ธรรมพ้ืนฐานในวิชาชีพงาน ทั้งนี้ เพราะอํานาจหนาท่ีที่มีอยูเกิดจากการ
มตี ําแหนง หรือการเปน เจา หนาที่ หรือเจาพนักงานตามกฎหมาย

องคป ระกอบที่ 3 เมือ่ ผลประโยชนท ขี่ ัดแยงนั้นไปแทรกแซงการตัดสินใจ หรือการใชวิจารณญาณ
ในทางใดทางหนง่ึ เพือ่ ผลประโยชนส วนตัว

ประโยชนสวนรวมหรือประโยชนสาธารณะ (Public Interests) หมายถึง การที่บุคคลใด ๆ
ในสถานะทีเ่ ปนเจาหนา ทีข่ องรฐั (ผูด ํารงตาํ แหนง ทางการเมือง ขาราชการ พนักงานรัฐวสิ าหกิจ หรอื เจาหนา ท่ี
ของรัฐในหนวยงานภาครัฐ) ไดกระทําการใด ๆ ตามหนาท่ีหรือไดปฏิบัติหนาท่ีอันเปนการดําเนินการในอีก
สว นหนึ่งทแี่ ยกออกมาจากการดาํ เนนิ การตามหนาทีใ่ นสถานะของเอกชน การกระทาํ การใด ๆ ตามหนาที่ของ
เจาหนา ท่ขี องรฐั จึงมีวัตถปุ ระสงคห รอื มีเปาหมายเพอื่ ประโยชนข องสว นรวม หรอื การรกั ษาประโยชนส ว นรวม
ที่เปนประโยชนของรัฐ การทําหนาท่ีของเจาหนาที่ของรัฐจึงมีความเก่ียวเน่ืองเช่ือมโยงกับอํานาจหนาที่
ตามกฎหมายและจะมรี ูปแบบของความสัมพนั ธหรอื มกี ารกระทําในลกั ษณะตาง ๆ ทีเ่ หมอื นหรือคลายกับการ
กระทําของบุคคลในสถานะเอกชน เพียงแตการกระทําในสถานะที่เปนเจาหนาที่ของรัฐกับการกระทําใน
สถานะเอกชน มคี วามแตกตางกนั ท่วี ัตถุประสงค เปาหมาย หรือประโยชนสุดทา ยทแี่ ตกตา งกัน

ตวั อยางผลประโยชนส ว นตนและผลประโยชนสวนรวม

เรอ่ื ง ผลประโยชนส ว นตน ผลประโยชนส ว นรวม

1. การรับผลประโยชนตาง ๆ 1. จางเพอื่ นทาํ เวร 1. ไมจ า งเพอ่ื นใหท ําเวร

2. จางเพื่อนทําการบาน 2. ไมจ างเพอื่ นทาํ การบาน

3. ชวนเพือ่ นไปทะเลาะกบั คอู ริ 3. ไมบังคบั เพือ่ นใหท าํ ในสิ่งที่

แลว จงึ จะรบั เขา กลมุ (บังคบั ไมถ ูกตอ ง

เพื่อนใหท าํ ในส่งิ ที่ไมถูกตอ ง)

16

เรื่อง ผลประโยชนสว นตน ผลประโยชนส วนรวม
4. หาเสยี งเลือกตงั้ กรรมการ 4. ไมหาเสียงเลือกตงั้ กรรมการ
2. การทําธุรกจิ ของตวั เอง
3. การทํางานหลงั จากออกจาก นักเรยี น โดยสัญญาวาจะแจก นักเรยี น โดยสญั ญาวาจะแจก
สงิ่ ของ สิง่ ของ
ตําแหนง สาธารณะหรอื หลัง นําของมาขายเพือ่ นในหองเรียน ไมน ําของมาขายเพ่ือนในหอ งเรียน
เกษยี ณ ใชอ ทิ ธพิ ล เปน หวั หนา หอ ง/ ไมใชอิทธพิ ล เปนหัวหนา หอ ง/
4. การทํางานพเิ ศษ พอ แมเ ปนผมู ีอิทธพิ ล/ขม ขเู พ่ือน พอแมเปน ผมู อี ทิ ธพิ ล/ขมขูเพือ่ น

1. เลน การพนัน 1. ไมเลน การพนัน

2. คา และเสพส่งิ เสพตดิ ใหโ ทษ 2. ไมคา และเสพสิ่งเสพติดใหโทษ

การขัดกันระหวางประโยชนสว นตนและประโยชนสวนรวมหรือผลประโยชนทับซอน (Conflict
of interests) คือ การที่เจาหนาท่ีของรัฐกระทําการใด ๆ หรือดําเนินการในกิจการสาธารณะที่เปน
การดาํ เนินการตามอํานาจหนาท่ีหรอื ความรับผิดชอบในกจิ การของรฐั หรือองคกรของรัฐ เพอ่ื ประโยชนของรัฐ
หรือเพื่อประโยชนข องสวนรวม แตเ จาหนาทข่ี องรฐั ไดม ีผลประโยชนสว นตนเขา ไปแอบแฝง หรือเปนผูท่ีมีสวนได
สวนเสียในรูปแบบตาง ๆ หรือนําประโยชนสวนตนหรือความสัมพันธสวนตนเขามามีอิทธิพลหรือเกี่ยวของใน
การใชอ าํ นาจหนาท่หี รือดุลยพนิ ิจในการพจิ ารณาตัดสนิ ใจในการกระทําการใด ๆ หรือดําเนินการดังกลาวนั้น
เพ่ือแสวงหาประโยชนในทางการเงนิ หรอื ประโยชนอื่น ๆ สําหรับตนเองหรอื บคุ คลใดบุคคลหนึ่ง

ความสําคัญของปญ หาการขดั กนั ของผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนส วนรวม
การขัดกันของผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม (Conflict of interests) หรือ
เรียกส้ัน ๆ วา การขัดกนั แหง ผลประโยชน นัน้ เปนเรื่องทีส่ ําคญั อนั เก่ียวเน่ืองเชอ่ื มโยงอยางใกลชิดกับการทุจริต
คอรร ัปชนั กลา วคอื เปนท่ียอมรับกันวา ยิ่งมีสถานการณห รอื สภาวการณของการขัดกันของผลประโยชนสวนตน
และผลประโยชนส วนรวมมากเทาใด กย็ ิง่ มโี อกาสกอ ใหเ กดิ หรอื นําไปสูการทจุ รติ คอรร ัปชันมากเทานั้น ดังนั้น
จงึ ควรมมี าตรการในการปองกันไมใหเกิดสถานการณก ารขดั กันแหง ผลประโยชนเกิดข้นึ หรือเมอ่ื เกิดข้ึนแลวก็
ตองควบคมุ ตรวจสอบ เพ่ือใหมน่ั ใจไดว าจะไมน าํ ไปสกู ารทจุ รติ คอรรปั ชนั หรอื ทําใหส ว นรวมตอ งเสียหาย

17

มาตรการหน่ึงในการปองกันและจัดการกับปญหาการขัดกันของผลประโยชนสวนตนและ
ผลประโยชนส ว นรวมก็คือ การตรากฎหมายออกมาบงั คับใช ซ่ึงนบั วันกจ็ ะมีกฎหมายทเ่ี กี่ยวของกับการขัดกัน
แหง ผลประโยชนออกมาใชบ ังคบั มากขึน้ เรอ่ื ย ๆ

ความสําคญั และความสัมพันธระหวา งการขดั กันของผลประโยชนสวนตนและผลประโยชน
สวนรวม กบั การทุจริตคอรรัปชัน

แมวาการขัดกันของผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม จะมิใชการทุจริตคอรรัปชัน
โดยตวั ของมนั เอง แตก ารขัดกนั แหงผลประโยชนเปนสถานการณ หรือสภาวการณที่เอ้ือหรือเปดโอกาส หรือ
เปนปจ จัยอนั นําไปสกู ารทจุ รติ คอรร ปั ชนั ไดโ ดยงา ย หรือกลาวอีกนยั หนงึ่ การขดั กนั แหง ผลประโยชนเปนญาติสนทิ
ใกลชิดกับการทุจริตคอรรัปชัน ดังน้ัน จึงเปนความเห็นรวมกันวาการที่จัดการปองกันปญหาการทุจริต
คอรรัปชนั ใหไดผลจําเปนตองจัดการกบั ปญหาการขัดกันแหง ผลประโยชนใ หไดดว ย

กฎหมายมจี ุดหมายปลายทางอยูท่คี วามถกู ตอ งและความยตุ ิธรรม
ไมวา จะพิจารณาในแงท ่ีวากฎหมายเปน กฎกตกิ าทชี่ ว ยทําใหคนในสังคมไดอยูรวมกันอยางปกติสุข
กฎหมายยงั เปนหลักประกันในการคุมครองสิทธิเสรีภาพพ้ืนฐานของประชาชน หรือกฎหมายเปนเครื่องมือ
ท่ีทาํ ใหประเทศมีประสทิ ธภิ าพ มคี วามเจรญิ กาวหนา จดุ มุงหมายในทสี่ ดุ ของกฎหมายกต็ องอยูที่ความถูกตอง
และความยุติธรรม
กฎหมายตองมีข้ึนเพ่ืออํานวยความยุติธรรมเสมอ ดังนั้น กฎหมายท่ีบัญญัติข้ึนจึงตองยุติธรรม
ประเดน็ สาํ คัญคือ ความยตุ ิธรรมคืออะไร เปน ความยุติธรรมของ นาย ก. ฝา ยหนึ่ง หรือความยุติธรรมของ นาย ข.
ฝายหนึ่ง หรอื เปนความยตุ ธิ รรมของใคร
ความยตุ ธิ รรม คือ ความเท่ยี งธรรม ความชอบธรรม และความชอบดวยเหตุผล หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง
ความยตุ ธิ รรมคือสิง่ ทบี่ คุ คลซง่ึ มเี หตมุ ผี ลและมีความรสู ึกผิดชอบเหน็ วาเปนสิ่งท่ถี กู ตองชอบธรรม
กฎหมายใชบังคับกับทุกคนเทาเทียมกนั
กฎหมายท่ีมีไวเพื่อลงโทษผูกระทําความผิด ถามีการกระทําหนึ่งเกิดขึ้น และเมื่อพิจารณาตาม
กฎหมายแลว เปนความผิด นักกฎหมายก็จักตองวินิจฉัยวาเปนความผิด โดยไมตองพิจารณาวาผูกระทําผิด
เปน ใคร จะรา่ํ รวยหรอื ยากจน จะนบั ถือศาสนาพุทธหรือศาสนาอนื่ จะผิวขาวหรือผวิ เหลือง และไมวาจะเปนคนดี
หรอื คนเลว กฎหมายตอ งใชบ ังคับกบั ทกุ คนโดยเสมอภาค ในทางตรงกันขามถามีการกระทําหนึ่งเกิดข้ึนและเม่ือ
พจิ ารณาตามกฎหมายแลว ไมเปน ความผิด นักกฎหมายกต็ อ งวนิ จิ ฉยั วาการกระทํานัน้ ไมเ ปนความผดิ ไมว า ผกู ระทาํ
จะเปน คนประเภทใด จะเปนคนดีหรอื คนเลว คนรวยหรอื คนจน ฯลฯ หรอื กลา วอีกนยั หนึง่ กค็ อื นกั กฎหมายจะตอ ง
พจิ ารณาวนิ ิจฉัยจากขอเท็จจริงและขอกฎหมายโดยปราศจากอคติ ไมโอนเอยี งเพราะรักหรอื เพราะเกลียด
ศีลธรรม ขนบธรรมเนยี ม จารตี ประเพณี กับกฎหมาย
กฎหมายมีรากฐานและมีความเก่ียวพันอยางใกลชิดกับศีลธรรม ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี
แตดวยวิวัฒนาการและความซับซอนของสังคม กฎหมายจึงอาจไมเปนอันหนึ่งอันเดียวกับศีลธรรม
ขนบธรรมเนยี ม จารีตประเพณเี สมอไป เราจึงอาจมีและเห็นกฎหมายท่ีไมไดตั้งอยูบนหลักความดี หลักศีลธรรม

18

แตตงั้ อยูบนเหตผุ ลทางเทคนคิ บางประการเทาน้ัน อาทิ กฎหมายจราจร กําหนดใหตอ งหยุดรถเม่ือไฟแดง และไป
ไดเ ม่อื ไฟเขียว เปน ตน

ศีลธรรม ขนบธรรมเนยี ม จารตี ประเพณี รวมตลอดถึงคณุ ธรรม จริยธรรม แนวปฏิบัติที่ดีของกลุม
อาชพี ฯลฯ โดยรวมแลว ถือเปน กฎกตกิ าของสังคมอยางหน่งึ เชนเดยี วกัน เปน กฎกตกิ าทีไ่ มจ ําเปนตองเขียนไว
เปนลายลักษณอกั ษร แตกฎตาง ๆ เหลา น้ีโดยทั่วไปแลวจะมีความละเอียดกวา กฎหมาย กลาวคือ ถาคนไมทําผิด
กฎศีลธรรม คน ๆ น้ันยอมไมทําผิดกฎหมาย เพราะกฎศีลธรรมละเอียดกวา ถาเปรียบเทียบกับตาขาย
ก็คงเปนตาขา ยทม่ี ชี อ งถ่ีกวา คนทีถ่ อื ศีล 5 ยอมไมพ ดู เทจ็ ไมพ ดู เพอ เจอ ไมพ ดู สอ เสียด ไมพ ดู ใสร ายใหร ายคนอื่น
คนประเภทนี้ยอมไมมีทางทําผิดกฎหมายฐานดูหมิ่นหรือหม่ินประมาทใครเปนแน คนที่รักษาศีล 5
จึงไมใ ชคนท่จี ะไปทํารา ยรา งกายคนอ่ืน ฆาคนอ่นื จงึ ไมผดิ เลยทีจ่ ะกลา ววา “หากคนในสงั คมยดึ ถือกฎศีลธรรมแลว
กฎหมายก็แทบไมมีความจาํ เปน” หรือกลา วอกี นยั หนง่ึ “สงั คมใดมกี ฎหมายมาก สงั คมน้นั มปี ญ หามาก”

การรบั มอื กบั การขดั กันแหงผลประโยชน
1. วธิ ีการที่ดีทีส่ ดุ ในการจัดการกับเรื่องการขัดกันแหงผลประโยชนก็คือ การไมอยูในสถานการณ
การขดั กันของผลประโยชนส วนตนและผลประโยชนสว นรวมเสียตั้งแตต น การหลีกเลีย่ งสภาวการณก ารขดั กนั
แหง ผลประโยชนน้ัน ถา สามารถหลีกเล่ียงไดก็เปนวิธีการรับมือกับการขัดกันแหงผลประโยชนท่ีดีท่ีสุด อาทิ
นาย ก. อธบิ ดไี มพ ึงใหบริษัทของภรรยามาประมูลกอสรางอาคารในกรมที่ตนกํากับดูแลอยู หรือ นาย ก. ไม
พงึ รับหนา ที่เปนกรรมการสรรหา หากภรยิ า นาย ก. ประสงคจ ะสมัครเขา รบั การคัดเลือกเปนผูด ํารงตําแหนง ที่
นาย ก. เปน กรรมการสรรหา หรอื หาก นาย ก. ประสงคจ ะเปน กรรมการผูมีหนาท่ีคัดเลือกและอนุมัติรายช่ือ
บคุ คลผูสมควรไดเ ขา รับการศกึ ษา ภรยิ า นาย ก. ก็ไมพ งึ สมัครหรอื รบั การเสนอชอื่ เพือ่ ศกึ ษาในหลักสูตรดังกลาว
ในขณะที่ นาย ก. เปนกรรมการอยู เปน ตน
2. ในกรณที ผ่ี ูมอี าํ นาจหนาท่ีไมสามารถหลีกเลย่ี ง หรือไมท ราบ หรอื ไมไ ดต ระหนกั ต้งั แตเบ้ืองตนวา
ตนตกอยใู นสถานการณก ารขดั กนั ของผลประโยชนส วนตนและผลประโยชนส ว นรวม ผมู ีอํานาจหนา ทค่ี วรหยดุ
ดําเนนิ การ และไมรว มพจิ ารณา วนิ จิ ฉัยหรือลงมติในประเดน็ ท่มี ีการขัดกนั แหง ผลประโยชนน ้ัน ถา สามารถกระทาํ
ไดโ ดยไมเ กดิ ความเสยี หายแกส วนรวม อาทิ นาย ก. กรรมการธนาคาร พึงออกจากหองประชุม ไมรวมพิจารณา
วินิจฉัยและลงมติในการอนุมัติ หรือไมอนุมัติการใหสินเชื่อแกบริษัทของตนเอง และตองไมกระทําการใด ๆ
ทงั้ ทางตรงและทางออ มในการแทรกแซงการใชด ุลยพินิจอยา งอิสระของกรรมการอ่นื ๆ
3. ในกรณที ่ีผมู อี ํานาจหนาท่ีไมสามารถหลีกเลี่ยงสถานการณการขัดกันของผลประโยชนสวนตน
และผลประโยชนสวนรวมได และไมแนใ จวา ในสถานการณเ ชนนั้นควรดาํ เนินการอยา งไร ควรจะรวมพิจารณา
วินจิ ฉยั ลงมตหิ รอื ไม อยา งไร ผูมีอํานาจหนาที่ควรตองแจง ประกาศหรือเปดเผยขอมูล ขอเท็จจริงตาง ๆ ที่
เกย่ี วขอ งกบั การขดั กันแหง ผลประโยชนต อ บคุ คลทเ่ี ก่ยี วของ ตอ ผมู ีอํานาจหนา ที่ ตอผูบงั คับบญั ชาเหนอื ตนข้นึ ไป
หรือตอสาธารณะเพ่อื ความโปรง ใสเพอื่ แสดงความบริสทุ ธ์ิใจ

19

กจิ กรรมท่ี 3

1. ใหผเู รียนดคู ลปิ วดี โิ อ เรือ่ ง ผลประโยชนท ับซอ น พรอ มตอบคาํ ถามตอ ไปนี้

(ทม่ี า : https://m.youtube.com/watch?v=ShWJBalZmMA)

1.1 การกระทําเขา ขา ยการขดั กนั ระหวา งประโยชนส ว นตนและประโยชนส วนรวม มอี ะไรบา ง

1.2 เราจะชว ยปอ งกนั การทจุ ริตการเกดิ ผลประโยชนทับซอ นไดอยา งไร

2. ใหผเู รียนดูคลปิ วีดิโอ เรอื่ ง ทจุ รติ แกคะแนน พรอ มวิเคราะหว า ครปู ระจาํ วิชาทป่ี รับคะแนนใหก บั นักเรยี น
มีการขัดแยง กนั ระหวา งประโยชนส ว นรวมกบั ประโยชนส วนตนอยา งไร

(ทมี่ า : https://m.youtube.com/watch?v=hRazlm5WuP0)

20

เรือ่ งท่ี 5 ความหมายและรปู แบบของผลประโยชนท ับซอน

ความหมายของผลประโยชนทับซอนคือ ผลประโยชนสวนตัวของเจาหนาท่ีรัฐไปขัดแยงกับ
ผลประโยชนส วนรวมแลว ตองเลือกเพียงอยา งใดอยา งหน่งึ ซึง่ ทาํ ใหตัดสินใจไดยากในอันที่จะปฏิบัติหนาท่ีให
เกิดความเปน ธรรมและปราศจากอคติ

รปู แบบของผลประโยชนท ับซอ น
การขดั กนั ระหวา งประโยชนสวนบคุ คลและประโยชนสวนรวม มีไดหลายรูปแบบไมจํากัดอยูเฉพาะ
รูปแบบของตัวเงิน หรือทรัพยสินเทาน้ัน แตรวมถึงผลประโยชนอื่น ๆ ที่ไมไดอยูในรูปแบบของตัวเงินหรือ
ทรัพยสินดวย ทั้งน้ี John Langford และ Kenneth Kernaghan ไดจําแนกรูปแบบของการขัดกันระหวาง
ประโยชนสวนบคุ คลและประโยชนส ว นรวม ออกเปน 7 รปู แบบ คอื
1. การรับผลประโยชนตาง ๆ เชน การรับของขวัญจากบริษัทธุรกิจ บริษัทขายยาหรืออุปกรณ
การแพทยสนบั สนนุ คา เดนิ ทางใหผ ูบ ริหาร และเจา หนา ทที่ ี่ไปประชุมเร่ืองอาหารและยา ที่ตางประเทศ หรือ
หนวยงานราชการรบั เงนิ บรจิ าคสรา งสํานักงานจากธุรกิจท่ีเปนลูกคาของหนวยงาน หรือแมกระทั่งในการใช
งบประมาณของรฐั เพ่ือจดั ซื้อจดั จา งแลวเจาหนา ทไ่ี ดรับของแถม หรือประโยชนอื่นตอบแทน เปนตน
2. การทําธุรกจิ กบั ตนเอง หรือเปนคสู ัญญา หมายถึง สถานการณท่ีผูด ํารงตาํ แหนงสาธารณะ มีสว นไดเสีย
ในสัญญาทท่ี ํากับหนวยงานท่ีตนสังกัด ตัวอยางเชน การใชตําแหนงหนาท่ีทําใหหนวยงานทําสัญญาซ้ือสินคา
จากบริษทั ของตน หรอื จางบริษัทของตนเปน ทปี่ รกึ ษา หรือซ้ือทีด่ นิ ของตนในการจัดสรางสํานักงาน สถานการณ
เชนนี้เกดิ บทบาทท่ีขดั แยง เชน เปนทัง้ ผซู ือ้ และผขู ายในเวลาเดยี วกนั
3. การทาํ งานหลงั จากออกจากตาํ แหนงหนา ทส่ี าธารณะ หรอื หลงั เกษยี ณ หมายถึง การที่บุคคล
ลาออกจากหนว ยงานของรัฐ และไปทาํ งานในบรษิ ัทเอกชนทดี่ ําเนนิ ธรุ กิจประเภทเดียวกัน เชน ผูบริหารหรือ
เจาหนาที่ขององคการอาหารและยา ลาออกจากงานราชการและไปทํางานในบริษัทผลิตหรือขายยา หรือ
ผบู รหิ ารกระทรวงคมนาคมหลังเกษยี ณออกไปทํางานเปน ผบู ริหารของบรษิ ทั ธุรกจิ สื่อสาร
4. การทาํ งานพิเศษในรปู แบบนมี้ หี ลายลักษณะ เชน ผูดํารงตาํ แหนง สาธารณะตั้งบริษัทดําเนินธุรกิจ
ท่ีเปน การแขง ขันกบั หนวยงาน หรือองคก ารสาธารณะท่ีสงั กดั หรอื การรบั จา งเปน ท่ปี รกึ ษาโครงการ โดยอาศยั
ตําแหนง ในราชการสรา งความนาเช่ือถือวา โครงการของผวู าจางจะไมม ปี ญ หาตดิ ขัดในการพิจารณาจากหนวยงาน
ทท่ี ่ปี รกึ ษาสงั กดั อยู หรอื ในกรณที ีเ่ ปนผูตรวจสอบบัญชีของกรมสรรพากร ก็รับงานพิเศษเปนท่ีปรึกษา หรือ
เปนผูทาํ บัญชใี หก บั บรษิ ัทที่ตอ งถกู ตรวจสอบ
5. การรูขอมลู ภายใน หมายถงึ สถานการณท ี่ผดู ํารงตําแหนง สาธารณะใชป ระโยชนจ ากการรูขอมลู
ภายในเพ่อื ประโยชนข องตนเอง เชน ทราบวามกี ารตัดถนนผานบรเิ วณใดกจ็ ะเขา ไปซอื้ ท่ดี นิ นนั้ ในนามของภรรยา
หรอื ทราบวา จะมีการซ้ือขายทด่ี ินเพื่อทาํ โครงการของรัฐ ก็จะเขาไปซ้ือท่ีดินบริเวณนั้นเพ่ือเก็งกําไร และขายให
กบั รฐั ในราคาทส่ี งู ขึ้น
6. การใชทรัพยสินของราชการเพ่ือประโยชนธุรกิจสวนตัว เชน การนําเครื่องใชสํานักงานตาง ๆ
กลบั ไปใชทีบ่ าน การนาํ รถยนตของราชการไปใชในงานสว นตัว

21

7. การนําโครงการสาธารณะลงในเขตเลือกต้ังเพ่ือประโยชนทางการเมือง เชน การที่รัฐมนตรีอนุมัติ
โครงการไปลงพ้ืนที่ หรือบา นเกิดของตนเอง หรือการใชงบประมาณสาธารณะเพ่อื หาเสยี ง

เม่อื พจิ ารณา “รางพระราชบัญญัตวิ าดว ยความผดิ เก่ยี วกับการขัดกันระหวางประโยชนสวนตนกับ
ประโยชนส วนรวม พ.ศ. ...” ทําใหมีรูปแบบเพม่ิ เตมิ จากที่กลาวมาขางตนอกี 2 กรณคี อื

8. การใชตําแหนงหนาท่ีแสวงประโยชนแกเครือญาติ หรือพวกพอง “ระบบอุปถัมภพิเศษ” เชน
การที่เจาหนาทีข่ องรฐั ใชอทิ ธพิ ลหรือใชอํานาจหนาที่ทําใหหนวยงานของตนเขาทําสัญญากับบริษัทของพี่นอง
ของตน

9. การใชอิทธิพลเขาไปมีผลตอการตดั สนิ ใจของเจาหนาทีร่ ฐั หรือหนวยงานของรัฐอื่น เพื่อใหเกิด
ประโยชนแ กตนเองหรือพวกพอง เชน เจาหนา ทีข่ องรัฐใชตําแหนงหนาท่ีขมขูผูใตบังคับบัญชาใหหยุดทําการ
ตรวจสอบบริษทั ของเครอื ญาติของตน

22
ดงั นน้ั จาํ เปน อยางยิ่งที่คนทุกวัย ทุกระดับในสงั คมตองจัดการระบบการคิดใหสามารถแยกแยะได
อยา งชัดเจน ระหวางผลประโยชนสวนตน และผลประโยชนส ว นรวม สรางสังคมสจุ ริต ทุกฝายตองรวมมือกัน
ลดพืน้ ท่สี ีเทาท่เี กดิ จากการขดั กันระหวา งประโยชนส วนตน และประโยชนสวนรวมของประเทศชาติ อาจนําไปสู
การทจุ ริตคอรปั ชั่นอยางมหาศาล กอใหเกิดผลเสยี หายรา ยแรงท่ไี มอ าจประเมินคา ไดตอ ประเทศชาตใิ นอนาคต

กจิ กรรมท่ี 4

1. ใหผเู รยี นศกึ ษาคลปิ วดี โิ อ เรอื่ ง INFOGRAPHIC ผลประโยชนท บั ซอน

2. ใหผูเรียนศึกษาคลิปวดี ิโอ เรอื่ ง ผลประโยชนทับซอน

กรณีผูเ รยี นศึกษาดว ยตนเอง
จากคลิปวีดิโอทง้ั 2 เรื่อง ใหผ ูเรียนตอบคําถามตอไปน้ี
1. ใหอ ธิบายรปู แบบของผลประโยชนท ับซอนรูปแบบตา ง ๆ
2. พฤติการณข องนางสาวกินแหลก ในคลปิ วีดโิ อเรื่องที่ 2 เปนผลประโยชนท บั ซอนรูปแบบใด

กรณศี กึ ษารวมกนั เปน กลมุ
1. ใหผูเรียนแตละคนอธบิ ายรปู แบบของผลประโยชนท ับซอนรูปแบบตา ง ๆ
2. ใหก ลุมรว มกันอภปิ รายในประเดน็ ตอ ไปนี้
2.1 ผลกระทบตอประโยชนสาธารณะ จากการกระทําของนางสาวกินแหลก
2.2 ในฐานะประชาชน จะดาํ เนนิ การอยา งไรเพอื่ ไมใหเกดิ กรณเี ชน นใี้ นชมุ ชน/ทอ งถนิ่ ของตนเอง
2.3 มวี ธิ ีการอยางไรบางท่ีจะปองกันไมใหเ กดิ กรณีเชนนอี้ ีก
2.4 นาํ ผลการอภิปรายมาสรปุ เปน แผนผังความคดิ และนําเสนอ / รายงานตอกลุม

23

บทที่ 2
ความละอายและความไมท นตอ การทุจริต

สาระสําคญั

การทุจริตในทุกระดับกอใหเกิดความเสียหายตอสังคม ประเทศชาติ จําเปนที่จะตองแกปญหา
ดวยการสรางสังคมทีไ่ มท นตอการทจุ ริต โดยเร่ิมตงั้ แตก ระบวนการกลอมเกลาทางสังคมทุกชวงวัย ปฏิบัติตน
ตามกฎ กติกา ของสงั คมในเร่ืองตา ง ๆ เชน การทาํ งานทไ่ี ดร บั มอบหมาย การสอบ การเลือกต้ัง การรวมกลุม
เพือ่ สรา งสรรคป อ งกนั การทจุ รติ ไดอ ยางถูกตอ ง

ตวั ชวี้ ดั

1. มคี วามรู ความเขา ใจตอ การไมทนและละอายตอการทจุ ริตในการทําการบาน / ชิ้นงาน การทาํ เวร /
การทาํ ความสะอาด การสอบ การแตง กาย การเลือกตั้ง

2. อธบิ ายวิธีการปฏบิ ตั ติ นในการทาํ การบา น / ช้นิ งาน การทําเวร / การทําความสะอาด การสอบ
การแตง กาย การเลอื กต้ัง

3. ปฏบิ ตั ติ นเปน ผูไ มทนและละอายตอการทจุ รติ ทกุ รปู แบบ
4. มีจิตสาํ นึกและตระหนักในความละอายและไมทนตอ การทุจรติ

ขอบขายเนื้อหา
1. ความหมาย ความสําคัญและการปฏิบัติตนในการทําการบาน / ชิ้นงาน การทําเวร / การทํา

ความสะอาด การสอบ การแตงกาย การเลือกตงั้
2. การรวมกลุม เพ่อื สรา งสรรคปองกันการทจุ ริต
2.1 วิธีการรวมกลุมเพอื่ สรางสรรคปองกันการทุจริต
2.2 ตวั อยางการรวมกลมุ เพ่ือสรางสรรคและปอ งกันการทุจริต

24

เรื่องท่ี 1 ความละอายและความไมทนตอ การทจุ รติ

การสรางสังคมใหมคี วามละอายและไมท นตอ การทุจริต เปนการปรับเปลี่ยนสภาพสังคมใหเกิดภาวะ
“ที่ไมทนตอการทุจริต” ตองเร่ิมต้ังแตกระบวนการกลอมเกลาทางสังคมในทุกชวงวัย เพ่ือสรางวัฒนธรรม
ตอตานการทุจริต ปลกู ฝง ความพอเพยี ง ความมวี นิ ยั ซือ่ สตั ยสจุ ริต และความเปนพลเมอื งดี ที่มีจิตสาธารณะ
ผานทางสถาบนั หรอื กลมุ ตัวแทนทท่ี ําหนาทใ่ี นการกลอมเกลาทางสังคม เพื่อใหเดก็ เยาวชน ผใู หญ เกิดพฤติกรรม
ทล่ี ะอายตอ การกระทาํ ความผิด การไมย อมรบั และตอตานการทุจรติ ทกุ รูปแบบ

ความหมายและความสาํ คญั
ละอาย หมายถงึ การรสู ึกอายทจ่ี ะทาํ ในสิ่งท่ไี มถูก ไมควร เชน ละอายท่จี ะทําผดิ ละอายใจ
ความละอาย เปนความรูสกึ อายและความเกรงกลัวตอสิ่งที่ไมดี ไมถูกตอง ไมเหมาะสม จึงไมกลา
ทจ่ี ะกระทาํ ใหตนเองไมหลงทาํ ในสงิ่ ทผี่ ดิ เพราะเหน็ ถงึ โทษหรอื ผลกระทบที่จะไดรบั จากการกระทาํ นั้น
ลักษณะของความละอาย แบงเปน 2 ระดับ ไดแก
1. ความละอายระดับตน หมายถึง ความละอายไมกลาที่จะทําในสิ่งท่ีผิด เน่ืองจากกลัววา เม่ือตนเอง
ไดท าํ ลงไปแลวจะมีคนรบั รู หากถกู จบั ไดจะไดรับการลงโทษหรือไดรับความเดือดรอนจากส่ิงที่ตนเองไดทําลงไป
จงึ ไมก ลา ท่ีจะกระทําผิด
2. ความละอายระดบั สูง คือ ความละอายท่ีแมไมมีใครรับรูหรือเห็นในส่ิงที่ตนเองไดทําลงไป ก็ไม
กลา ท่ีจะทําผิด เพราะนอกจากตนเองจะไดรับผลกระทบแลว ครอบครัว สังคมก็จะไดรับผลกระทบตามไปดวย
ทงั้ ชอ่ื เสียงของตนเองและครอบครวั ก็จะเสื่อมเสีย เชน การลอกขอ สอบ เปน ตน
ความไมทน หมายถึง การแสดงออกตอการกระทําท่ีเกิดขึ้นกับตนเอง บุคคลที่เก่ียวของหรือ
สังคมในลักษณะทไี่ มยนิ ยอม ไมย อมรับในส่ิงทเ่ี กดิ ขน้ึ ซ่ึงสามารถแสดงออกไดหลายลกั ษณะ ทง้ั ในรูปแบบของ
กรยิ าทาทางหรือคําพดู เชน การแซงควิ เพอ่ื ซ้อื ของ เปน การกระทาํ ท่ีไมถ ูกตอ ง ผถู ูกแซงควิ จึงตอ งแสดงออกให
ผทู ่ีแซงคิวรบั รวู าตนเองไมพ อใจ โดยแสดงกิรยิ าหรอื บอกกลาวใหท ราบ เพ่ือใหผ ทู แ่ี ซงควิ ยอมท่ีจะตอทายแถว
กรณีนี้แสดงใหเ หน็ วา ผทู ี่ถกู แซงคิว ไมทนตอ การกระทําท่ีไมถกู ตอ ง และหากผทู ีแ่ ซงคิวไปตอแถวก็จะแสดงให
เห็นวาบุคคลนนั้ มีความละอายตอการกระทาํ ท่ไี มถ กู ตอง เปนตน
ทุจรติ หมายถึง ประพฤตชิ ่วั ประพฤติไมดี ไมซื่อตรง คดโกง ฉอโกง โดยใชอุบายหรือเลหเหล่ียม
หลอกลวง เพ่ือใหไดสง่ิ ทต่ี องการ
ความไมทนตอ การทจุ รติ เปนการแสดงออกอยางใดอยา งหนง่ึ เพือ่ ใหร บั รูว าจะไมทนตอบุคคลหรือการ
กระทําใด ๆ ท่ีเปนการทุจริต ความไมทนตอการทุจริต สามารถแบงระดับตาง ๆ ไดมากกวาความละอาย
ใชเกณฑความรุนแรงในการแบงแยก เชน การวากลาวตักเตือนตอบุคคลที่ทุจริต การประณาม การประจาน
การชมุ นุมประทว ง เปน ตน

25

ตัวอยา งเชน เพื่อนลอกขอ สอบเรา ซึง่ เราจะไมย ินยอมใหเ พ่ือนทจุ รติ ในการลอกขอสอบ เราก็ใชมือ
หรือกระดาษมาบังสวนที่เปนคําตอบไว เชนน้ีก็เปนการแสดงออกถึงการไมทนตอการทุจริต นอกจากน้ียังมี
การแสดงออกในระดับท่ีแตกตางกันไป เชน การชุมนุมประทวงของประชาชนเพื่อตอตานการทุจริตตาม
กรณีศึกษาทา ยบท

ความจําเปน ของการที่ไมท นตอการทุจรติ ถือเปนสิ่งสําคญั เพราะการทจุ ริตไมว าระดับเล็กหรือใหญ
ยอ มกอใหเ กิดความเสยี หายตอสงั คมและประเทศชาติ ดังนนั้ จึงมคี วามจาํ เปน อยางย่ิงที่จะตองสรางใหบุคคล
เกดิ ความตระหนกั และรบั รถู ึงผลกระทบที่เกิดข้ึนจากการทุจริตในทุกรูปแบบ ทุกระดับ หากบุคคลในสังคม
มีความละอายและความไมทนตอการทจุ รติ จะทาํ ใหสงั คมนา อยูและมีการพฒั นาในทกุ ๆ ดา น

การปฏบิ ตั ิตนเพ่ืออยูรว มกนั ในสังคมอยางมีความสุข ไมสรางความเดือดรอนใหกับตนเอง ครอบครัว
ชุมชน สังคม และประเทศ ทุกคนจะตอ งรบู ทบาทหนาท่ี ไมเ อารดั เอาเปรียบ มีความรับผดิ ชอบโดยสมาชกิ ในสงั คม
ตอ งปฏิบัตติ ามขอตกลงในสงั คมท่ีถกู ตอ งตามหลกั ธรรม เรม่ิ ต้งั แตก ารปฏิบัติตนในฐานะสมาชิกของครอบครัวและ
สถานศกึ ษา ซึ่งเปน สถาบันแรกที่บมเพาะทักษะพ้นื ฐานในการดําเนินชวี ติ

การปฏิบตั ติ นของผเู รียนในสถานศึกษา เพือ่ ใหเปนผูมีจิตใจที่ดีเปนที่ช่ืนชมของผูอื่น และสามารถอยู
ในสงั คมรว มกบั ผูอ ื่นไดอยา งดี มแี นวทางการปฏิบตั ิตน ดังน้ี

1. การปฏบิ ัตงิ านทีไ่ ดร บั มอบหมาย ไดแก
1.1 การทําการบา นหรอื ชิ้นงานควรสง ตามเวลาทีก่ ําหนด โดยไมล อกการบานหรอื ชน้ิ งานผอู ื่น
1.2 การทาํ เวรหรอื ทาํ ความสะอาด จะตองปฏบิ ตั ดิ วยความรบั ผิดชอบ ไมเอารดั เอาเปรยี บผอู นื่
กรณที ่เี ราพบเห็นเพ่ือนทล่ี ะเลยจากการปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมาย เราควรตักเตือนเพ่ือน หรือ

รายงานตอ ครู
2. การสอบ ผูเ รยี นจะตองปฏบิ ัตติ ามระเบยี บของการเขาสอบ ไดแ ก
2.1 แตงกายตามท่สี ถานศกึ ษากําหนด
2.2 ปฏบิ ตั ติ ามระเบียบเกี่ยวกับการสอบ และคําสง่ั ของผูก าํ กับการสอบ โดยไมทจุ ริตในการสอบ
2.3 มิใหผ เู ขาสอบคนอน่ื คดั ลอกคําตอบของตน รวมทัง้ ไมพ ดู คุยกับผูใดในเวลาสอบ เมื่อมีขอสงสัย

หรือมเี หตจุ าํ เปน ใหแ จงตอ ผูกาํ กบั การสอบ
2.4 ไมนาํ กระดาษสาํ หรับเขยี นคาํ ตอบทผี่ ูกาํ กับการสอบแจกใหอ อกไปจากหอ งสอบ

3. การแตงกาย เปน สิ่งสําคัญตอภาพลักษณ และบุคลิกภาพของบุคคล เครื่องแตงกายท่ีดีจะตอง
เหมาะสมกบั โอกาส สถานที่ หรือกาลเทศะ สรางความประทบั ใจแกผ พู บเหน็ หลกั สําคัญของการแตง กาย มดี ังน้ี

3.1 ถูกตอ งตามกาลเทศะ
3.2 สะอาด
3.3 ประหยดั
3.4 เหมาะสมกับวัย รูปราง และฐานะความเปนอยู

26

กรณที ีเ่ ราพบเห็นผทู แี่ ตงกายไมเหมาะสมตอ สถานที่หรือกาลเทศะ บุคคลที่ไมทนตอการทุจริต
หรอื การกระทาํ ทไ่ี มถ ูกตอง ควรใหค าํ แนะนําหรือแสดงออกอยางใดอยา งหน่งึ เพื่อใหผทู ่ีแตง กายไมเ หมาะสมทราบ
เปน ตน

การแตง กายเขาวดั ทเี่ หมาะสม การแตง กายท่ไี มเ หมาะสม

ทมี่ า : https://img.kapook.com/u/2017/rungtip/2017-3/jj9.jpg ที่มา : https://mgronline.com/celebonline/detail/9570000117491

4. การเลอื กต้งั เปน การใชสทิ ธิออกเสียงในการลงคะแนนเลือกผูแทนเพื่อทําหนาท่ีแทนตนเอง
การเลอื กต้งั ทเี่ ปนประชาธปิ ไตย เปน การเลือกต้ังโดยเสรี คือ เปดกวางใหอิสระในการตัดสินใจ ท้ังในแงของ

ผูสมัครและผูออกเสียง ตองเปนไปโดยบริสุทธ์ิและ
ยุติธรรม ไมมีการช้ีนําหรือบังคับ เชน การเลือกต้ัง
องคกรนักศึกษา กศน. เพื่อเปนตัวแทนนักศึกษา
ทั้งหมดในสถานศึกษา ซึ่งเปนการสงเสริมการเรียนรู
ประชาธิปไตยในสถานศกึ ษา

การรณรงคใ ชส ทิ ธิเลือกต้ัง
ท่ีมา : https://www.msn.com/th-th/news/national

ทั้งนี้ การเลือกต้ังของประเทศไทย จะมีการ

เลอื กตั้งระดับตาง ๆ ดงั นี้

1. ระดับหมูบา น คือ การเลอื กตง้ั ผูใหญบา น

2. ระดับตําบล คือ กํานัน สมาชิก อบต. หรือ

สมาชกิ สภาเทศบาล หรือนายก อบต. หรอื นายกเทศมนตรี (สจ.)ทม่ี า : การเลือกตัง้
3. ระดับจงั หวดั คือ การเลอื กตัง้ สมาชกิ สภาจังหวดั https://www.msn.com/th-th/news/national

นายกองคก ารบรหิ ารสว นจังหวัด (นายก อบจ.)

27

4. ระดับชาติ คอื การเลอื กตง้ั สมาชิกสภาผแู ทนราษฎร การเลอื กผแู ทนทถ่ี กู ตอ ง ผูเรยี นควรเลอื กผูท่มี ี
ความจริงใจ เสียสละเพื่อสวนรวม มีความรู ความสามารถ มีอาชีพสุจริต ไมควรเลือกผูท่ีมีเบื้องหลังไมสุจริต
และซอ้ื เสยี ง เพราะเขายอมหวังผลประโยชนกลับคืนมา

ในการเลือกตัง้ ทุกระดบั มกั มีขา วเกยี่ วกบั การทุจรติ ซ้ือเสียง ขายเสียง หรือโกงการเลือกตั้ง ซึ่งหาก
เราพบเห็นเหตุการณ และมีหลกั ฐานการทจุ ริต เราควรแจง หนวยงานหรือผเู กย่ี วของทราบ เพือ่ ดาํ เนนิ การตาม
กฎหมายตอไป

เรื่องที่ 2 การรวมกลมุ เพื่อสรางสรรคปองกันการทุจรติ

สถานการณการทุจริตของประเทศไทยในปจจุบัน ถือเปนภาวะวิกฤตที่เปนอุปสรรคตอการพัฒนา
ประเทศ การทุจรติ ที่เกิดขึ้นยอ มสงผลตอภาพลกั ษณข องประเทศ หากประเทศใดมีการทุจริตนอยจะสงผลให
ประเทศนั้นมีความเปนอยูท่ีดี นักลงทุนมีความตองการท่ีจะมาลงทุนในประเทศ ซึ่งหมายถึง เศรษฐกิจของ
ประเทศจะสามารถพัฒนาไปไดอยางตอเน่ือง แตหากมีการทุจริตเปนจํานวนมาก นักธุรกิจยอมไมกลาที่จะ
ลงทุนในประเทศน้นั ๆ เนือ่ งจากตองเสียคา ใชจ ายในการทําธุรกิจทม่ี ากกวาปกติ แตหากสามารถดําเนินธุรกิจ
ดังกลา วได ผลทเ่ี กดิ ข้ึนยอ มตกแกผูบ รโิ ภคทจ่ี ะตองซื้อสนิ คาและบริการท่ีมีราคาสูง หรืออีกกรณีหน่ึงคือ การใช
สนิ คา และบรกิ ารทไี่ มมีคณุ ภาพ ดงั น้นั จงึ ไดม กี ารวัดและจดั อันดับประเทศตาง ๆ เพ่ือบงบอกถึงสถานการณ
การทุจริต ซ่ึงการทุจริตท่ีผานมานอกจากจะพบเห็นขาวการทุจริตดวยตนเอง และผานสื่อตาง ๆ แลว ยังมี
ตวั ช้ีวดั ท่ีสาํ คัญอกี ตวั หนึง่ ทไี่ ดร บั การยอมรบั คอื ตัวช้ีวดั ขององคก รเพ่อื ความโปรงใสนานาชาติ (Transparency
International : TI) ไดจัดอันดับดัชนีชี้วัดภาพลักษณคอรรัปชันประจําป 2560 พบวา ประเทศไทยได 37 คะแนน
จากคะแนนเตม็ 100 คะแนน อยูอันดับที่ 96 จากการจัดอันดับท้ังหมด 180 ประเทศทั่วโลก หากเทียบกับ
ป 2559 ประเทศไทยไดคะแนน 35 คะแนน อยูอันดับท่ี 101 เทากับวาประเทศไทยมีคะแนนความโปรงใสดีขึ้น
แตย งั แสดงใหเห็นวา ประเทศไทยยงั มีการทุจรติ คอรร ัปชันอยใู นระดับสูง ซึ่งสมควรไดรับการแกไขอยางเรงดวน
โดยคะแนนท่ีประเทศไทยไดรับตงั้ แตอ ดีต – ปจจุบนั ไดค ะแนนและลาํ ดบั ดงั นี้

28

ตารางที่ 1 แสดงภาพลกั ษณคอรร ัปชันของประเทศไทย ระหวางป 2547 – 2560

ป พ.ศ. คะแนน อันดับ จาํ นวนประเทศ

2547 3.60 (คะแนนเตม็ 10) 64 146

2548 3.80 (คะแนนเต็ม 10) 59 159

2549 3.60 (คะแนนเต็ม 10) 63 163

2550 3.30 (คะแนนเตม็ 10) 84 179

2551 3.50 (คะแนนเตม็ 10) 80 180

2552 3.40 (คะแนนเตม็ 10) 84 180

2553 3.50 (คะแนนเตม็ 10) 78 178

2554 3.40 (คะแนนเตม็ 10) 80 183

2555 37 (คะแนนเต็ม 100) 88 176

2556 35 (คะแนนเต็ม 100) 102 177

2557 38 (คะแนนเตม็ 100) 85 175

2558 38 (คะแนนเต็ม 100) 76 168

2559 35 (คะแนนเตม็ 100) 101 176

2560 37 (คะแนนเต็ม 100) 96 180

ทีม่ า : http://www.mua.go.th/users/bhes/pdf/Anti-Corruption%20Education/Anti-Corruption%20Education.pdf

เมื่อจัดอันดบั ประเทศในกลุมอาเซียน จํานวน 10 ประเทศ เพ่ือเปรียบเทียบดัชนีชี้วัดภาพลักษณ

คอรรัปชันในป พ.ศ. 2560 ประเทศสิงคโปรยังคงอันดับหนึ่งในกลุมอาเซียนเชนเดียวกับ ป พ.ศ. 2559

ตามตารางที่ 2

ตารางท่ี 2 แสดงภาพลักษณค อรรัปชนั ประจําป 2558-2560 ในภูมิภาคอาเซยี น

อนั ดับในอาเซยี น ประเทศ คะแนนป 2560 คะแนนป 2559 คะแนนป 2558

1 สิงคโปร 84 84 85

2 บรไู น 62 58 -

3 มาเลเซีย 47 59 50

4 อนิ โดนีเซีย 37 37 36

5 ไทย 37 35 38

6 เวียดนาม 35 33 31

7 ฟลปิ ปนส 34 35 35

8 เมียนมาร 30 28 22

9 ลาว 29 30 26

10 กัมพชู า 21 21 21

ท่ีมา : http://www.mua.go.th/users/bhes/pdf/Anti-Corruption%20Education/Anti-Corruption%20Education.pdf

29

ผลคะแนนดัชนีภาพลักษณการคอรรัปชัน (Corruption Perception Index : CPI) ในป พ.ศ. 2561
ประเทศไทยได 36 คะแนน จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน เปนอนั ดับที่ 99 จาก 180 ประเทศท่ัวโลก และเปน
อนั ดับ 5 ในประเทศกลุมอาเซยี น จํานวน 10 ประเทศ

ผลกระทบของการทจุ รติ ตอการพฒั นาประเทศ
การทจุ ริตมีผลกระทบตอ การพฒั นาประเทศในทุก ๆ ดาน เปน พน้ื ฐานท่ีกอ ใหเกดิ ความขัดแยงของ
คนในชาติ จากการเห็นประโยชนสวนตนมากกวา ประโยชนของประเทศ ประชาชนไดรับบริการสาธารณะหรือ
ส่ิงอํานวยความสะดวกไมเต็มท่ีอยางที่ควรจะเปน เงินภาษีของประชาชนตกไปอยูในกระเปาของผูทุจริต
และผลกระทบอ่นื ๆ อีกมากมาย นอกจากนแี้ ลว หากพิจารณาในแงการลงทุนจากตางประเทศเพื่อประกอบ
กิจการตาง ๆ ภายในประเทศ พบวา นักลงทุนตางประเทศจะมองวาการทุจริตถือวาเปนตนทุนอยางหน่ึง
ซ่งึ นกั ลงทุนจากตางประเทศจะใชประกอบการพจิ ารณาการลงทนุ กบั ปจ จยั ดา นอนื่ ๆ ทั้งนี้ หากตอ งเสยี ตน ทนุ
ท่สี ูงจากการทุจรติ นักลงทุนจากตางประเทศอาจพิจารณาตัดสินใจยายการลงทุนไปยังประเทศอ่ืน สงผลให
การจางงาน การสรา งรายไดใ หแกป ระชาชนลดลง เม่ือประชาชนมีรายไดลดลงก็จะสงผลตอการจัดเก็บภาษี
อากรซึ่งเปน รายไดข องรัฐลดลง จึงสงผลตอ การจัดสรรงบประมาณและการพัฒนาประเทศ
ในการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริตของประเทศไทยจะมีหนวยงานหลักท่ีดําเนินการปองกัน
และปราบปรามการทจุ รติ คือ สํานักงานคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ แหงชาติ (สํานักงาน
ป.ป.ช.) นอกจากน้ียังมีหนวยงานอื่นที่มีภารกิจในลักษณะเดียวกันหรือใกลเคียงกับสํานักงาน ป.ป.ช. เชน
สาํ นกั งานการตรวจเงินแผนดิน สํานกั งานผตู รวจการแผนดนิ สาํ นกั งานคณะกรรมการปองกนั และปราบปราม
การทจุ ริตในภาครฐั นอกจากน้ยี ังมีหนว ยงานภาคเอกชนที่ใหค วามรวมมือในการปองกันและปราบปรามการทุจรติ
อกี หลายหนว ยงาน และสาํ หรับหนว ยงานภาครัฐในปจ จุบันประเทศไทยไดมีการประกาศใชยุทธศาสตรชาติ
วาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) เพ่ือเปนมาตรการแนวทาง
การดาํ เนินงานทัง้ ของภาครัฐและภาคเอกชน
รปู แบบการทจุ รติ
การทุจริตท่ีเกิดข้ึนในวงราชการและแวดวงการเมือง เปนพฤติกรรมท่ีเจาหนาท่ีของรัฐใชอํานาจ
ในตําแหนงหนาที่โดยมิชอบ เพื่อมุงหวังผลประโยชนสวนตัว สามารถแบงได 3 ลักษณะ คือ แบงตาม
ผทู ่เี กย่ี วของ แบง ตามกระบวนการทีใ่ ช และแบง ตามลักษณะรปู ธรรม ดงั น้ี
1. แบง ตามผทู ีเ่ กี่ยวของ เปนรูปแบบการทุจริตในเร่ืองของอํานาจและความสัมพันธแบบอุปถัมภ
ระหวางผูที่ใหการอุปถัมภหรือผูใหการชวยเหลือ กับผูถูกอุปถัมภหรือผูที่ไดรับการชวยเหลือ โดยใน
กระบวนการการทุจรติ จะมี 2 ประเภทคือ

1.1การทุจริตโดยขาราชการ หมายถึงการกระทําท่ีมีการใชหนวยงานราชการเพื่อมุงแสวงหา
ผลประโยชนจากการปฏิบัติงานของหนวยงานน้ัน ๆ มากกวาประโยชนสวนรวมของสังคมหรือประเทศ
โดยลักษณะของการทุจริตโดยขา ราชการสามารถแบง ออกเปน 2 ประเภท ดังนี้

30

1.1.1 การคอรรัปชันตามน้ํา (corruption without theft) จะปรากฏข้ึนเมื่อเจาหนาที่ของรัฐ
ตองการสินบนโดยใหมีการจา ยตามชอ งทางปกติของทางราชการ แตใ หเพ่มิ สนิ บนรวมเขาไวกับการจายคาบริการ
ของหนวยงานน้ัน ๆ โดยทเี่ งนิ คาบริการปกติที่หนวยงานนั้นจะตอ งไดร บั กย็ งั คงไดรับตอไป เชน การจายเงินพิเศษ
ใหแกเจาหนา ทีใ่ นการออกเอกสารตา ง ๆ นอกเหนือจากคา ธรรมเนียมปกติทตี่ องจา ยอยูแลว เปนตน

1.1.2 การคอรรัปชันทวนนํ้า (corruption with theft) เปนการคอรรัปชันในลักษณะที่
เจาหนา ท่ขี องรฐั จะเรียกรอ งเงินจากผขู อรบั บรกิ ารโดยตรง โดยทหี่ นว ยงานนั้นไมไดมีการเรียกเก็บเงินคาบริการ
แตอยางใด เชน ในการออกเอกสารของหนวยงานราชการไมไดมีการกําหนดใหตองเสียคาใชจายในการ
ดาํ เนินการ แตกรณนี ี้มีการเรียกเกบ็ คาใชจ า ยจากผทู ่ีมาใชบริการของหนว ยงานของรฐั

1.2 การทุจริตโดยนักการเมือง (political corruption) เปนการใชหนวยงานของทางราชการ
โดยบรรดานักการเมอื ง เพ่อื มุง แสวงหาผลประโยชนใ นทางการเงินมากกวาประโยชนสวนรวมของสังคมหรือ
ประเทศเชน เดยี วกนั โดยรูปแบบหรือวธิ กี ารทวั่ ไปจะมลี ักษณะเชน เดยี วกบั การทจุ ริตโดยขาราชการ แตจะเปน
ในระดบั ที่สูงกวา เชน การทจุ ริตในการประมูลโครงการกอ สรา งขนาดใหญ และมีการเรียกรับ หรือยอมจะรับ
ทรพั ยส นิ หรอื ประโยชนต าง ๆ จากภาคเอกชน เปนตน

2. แบงตามกระบวนการที่ใช มี 2 ประเภทคือ
2.1 เกดิ จากการใชอํานาจในการกาํ หนด กฎ กตกิ าพืน้ ฐาน เชน การออกกฎหมาย และกฎระเบียบ

ตาง ๆ เพ่อื อาํ นวยประโยชนต อ กลุมธุรกิจของตนหรือพวกพอ ง
2.2 เกิดจากการใชอํานาจหนาที่เพื่อแสวงหาผลประโยชนจากกฎ และระเบียบที่ดํารงอยู

ซึ่งมักเกิดจากความไมชดั เจนของกฎและระเบยี บเหลา น้ันท่ีทําใหเจาหนาที่สามารถใชความคิดเห็นของตนได
และการใชความคดิ เหน็ นั้นอาจไมถ ูกตอ งหากมกี ารใชไปในทางทผ่ี ิดหรือไมยตุ ิธรรมได

3. แบง ตามลกั ษณะรูปธรรม มีทัง้ หมด 4 รูปแบบ คือ
3.1 คอรรปั ชันจากการจดั ซือ้ จดั หา (Procurement Corruption) เชน การจัดซ้ือส่ิงของในหนวยงาน

โดยมกี ารคดิ ราคาเพ่มิ หรอื ลดคุณสมบตั แิ ตกาํ หนดราคาซื้อไวเทา เดมิ
3.2 คอรร ปั ชันจากการใหสมั ปทานและสทิ ธพิ เิ ศษ (Concessionaire Corruption) เชน การให

เอกชนรายใดรายหน่งึ เขา มามีสิทธิในการจดั ทาํ สัมปทานเปน กรณพี ิเศษตา งกับเอกชนรายอ่นื
3.3 คอรรัปชันจากการขายสาธารณสมบัติ (Privatization Corruption) เชน การขายกิจการ

ของรัฐวสิ าหกิจ หรอื การยกเอาที่ดนิ ทรพั ยส ินไปเปน สทิ ธิการครอบครองของตางชาติ เปนตน
3.4 คอรร ัปชนั จากการกํากับดูแล (Regulatory Corruption) เชน การกํากับดูแลในหนวยงาน

แลว ทําการทุจรติ ตา ง ๆ เปน ตน
นักวิชาการท่ีไดศึกษาเก่ียวกับปญหาการทุจริต ไดมีการกําหนดหรือแบงประเภทของการทุจริต

เปนรปู แบบตา ง ๆ ไว เชน การวิจัยของรองศาสตราจารย ดร.นวลนอย ตรีรัตน และคณะ ไดแบงการทุจริต
คอรร ัปชันออกเปน 3 รูปแบบ ไดแ ก

1) การใชอ ํานาจในการอนุญาตใหละเวนจากการปฏิบัติตามกฎระเบียบของรัฐเพื่อลดตนทุนการทํา
ธุรกิจ

31

2) การใชอํานาจในการจดั สรรผลประโยชนใ นรปู ของสิง่ ของ และบรกิ าร หรือสิทธใิ หแ กเอกชน
3) การใชอ าํ นาจในการสรางอปุ สรรคในการใหบ รกิ ารแกภ าคประชาชนและภาคธรุ กจิ เนื่องจาก
เงนิ เดอื นและผลตอบแทนในระบบราชการต่าํ เกินไปจนขาดแรงจูงใจในการทาํ งาน
ในฐานะประชาชนคนไทย เราตางมีหนาท่ีในการเปนพลเมืองตามระบอบประชาธิปไตย การชวยกัน
กําจดั การทุจริตถอื เปนหนา ท่ีของคนไทยทุกคน

การรวมกลุมเพือ่ สรา งสรรคแ ละปอ งกนั การทจุ รติ
การรวมกลุมเพอื่ สรางสรรคแ ละปองกันการทจุ ริตเปน การรวมกลุมกันเพ่ือดูแล ตรวจสอบ สามารถ
ชวยใหการปองกันและกําจัดการทุจรติ เปนไปอยางมีประสทิ ธภิ าพ ซงึ่ ผูเรียนสามารถศกึ ษากรณีตัวอยา งไดจาก
คลิปวีดโิ อ ตอไปน้ี

แมค า และคนในตลาดรวมตัวกนั ตอตานผูทีม่ า ซอ้ื ของ ซ่ึงเปน บคุ คล
ทท่ี ุจรติ การเลอื กต้ัง
ทม่ี า : https://www.youtube.com/watch?v=6xTi4qcGXzs จาก ACT

มคี นยน่ื เงนิ ใหก บั เจา หนา ท่ี ซึ่งเจาหนาทท่ี เ่ี ปนลกู นองไมยอมรับหวั หนา
ทโี่ กง และออกมาตอ ตา น
ท่ีมา : https://www.youtube.com/watch?v=MGc3LXOlZ-o จาก ACT

สิ่งที่ปรากฏในคลปิ วีดิโอ ทง้ั 2 เรอื่ ง เปน เคร่อื งยนื ยนั วา หากพวกเราในฐานะสมาชกิ ในสังคมรว มมือกัน
ในการปฏิบัติตนตามกฎ กติกา ของชุมชน สงั คม รวมทงั้ ตอตา นบุคคล องคกร ท่ีกระทําการทุจริต ใชการลงโทษ
ทางสงั คม โดยการกดดนั และแสดงปฏกิ ิรยิ าตอตา นใหเ กดิ ความอบั อายขายหนา และไดรับโทษของการทุจริต
ตามกฎหมาย เพราะการทุจริตที่เกิดขึ้นไมวาจะเปนระดับใด ลวนแลวแตสงผลกระทบในทางลบตอสังคม
และประเทศชาติ ดังน้ัน การปลูกฝงใหคนมีความละอายและไมทนตอการทุจริต รวมถึงการรวมกลุม
เพ่อื สรางสรรคและปองกันการทจุ ริต จึงเปนหนทางหน่งึ ที่จะแกป ญหาการทจุ รติ ในประเทศของเราได

32

กจิ กรรมที่ 1

1. ผูเรยี นสามารถมีสวนรวมในการสงเสริมสนบั สนนุ การเลอื กต้ังไดอยา งไร ตอบมาอยา งนอย 3 ขอ

2. ใหผูเรียนตอบคาํ ถามจากภาพทก่ี ําหนดให ดังนี้

2.1 ผเู รียนคิดวา เด็กผชู ายกาํ ลงั ทาํ อะไร
2.2 ผูเรียนคดิ วา การกระทําของเดก็ ผชู ายคนน้ถี กู ตอ งหรือไม อยา งไร
2.3 ถา ผเู รียนเปน เด็กผชู ายคนนี้ ผูเรยี นจะทําตามพฤติกรรมของเด็กผูชายคนนห้ี รอื ไม เพราะอะไร

33

2.4 ถาผูเรยี นลอกขอ สอบเพื่อนแลว ไดค ะแนนสูง ผูเ รียนจะภาคภมู ใิ จหรอื ไม เพราะเหตใุ ด

2.5 ถา มกี ารสอบ ผเู รียนควรปฏบิ ตั ิตนอยางไร

34

กจิ กรรมที่ 2

1. ใหผ เู รยี นรวมกลมุ นาํ เสนอความรูและความคิดเห็นที่ไดจ ากการระดมความคดิ รวมกนั เพ่อื หาแนวทางปอ งกนั
การทุจริต ดังตอ ไปนี้

1.1 ใหผูเรยี นยกตัวอยางการกระทําท่ีเปนการทุจรติ คอรรัปชนั

1.2 ใหผเู รียนบอกผลเสยี ทเ่ี กดิ จากการทุจริตคอรร ัปชัน
1.3 ใหผเู รียนบอกแนวทางการปอ งกันการทุจริตคอรร ัปชัน

35

บทที่ 3
STRONG : จติ พอเพยี งตา นทุจรติ

สาระสําคญั

จากยุทธศาสตรชาติวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560-2564)

ในยุทธศาสตรที่ 1 สรางสังคมทีไ่ มทนตอ การทุจรติ กลยุทธท่ี 3 ประยุกตหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เปนเครื่องมือตานทุจริต โดยใชวิธีการมุงเนนการปลูกฝงจิตสํานึกภายในบุคคลใหมีความซ่ือสัตยสุจริต

ตามหลักการเรียนรูตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สรางความเปนพลเมืองที่ดีในการรักษาประโยชน

สาธารณะและดําเนนิ ชีวิตตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และสรา งกลไกการกลอมเกลาทางสงั คม โดยนอมนํา

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใชเปนเครื่องมือ ซ่ึงสามารถประยุกตหลักความพอเพียงดวยโมเดล STRONG :

จิตพอเพยี งตา นทจุ รติ ซึ่งประกอบดวย

S (Sufficient) ความพอเพียง : การนอ มนาํ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาเปน หลกั ความ

พอเพียง

T (Transparent) ความโปรง ใส : บคุ คลและหนว ยงานปฏบิ ตั งิ านบนฐานของความโปรง ใส

R (Realize) ความตืน่ รู : มคี วามเขาใจและตระหนกั รูถ ึงรากเหงา ของปญ หา เขา ใจอยา งถอ งแท

O (Onward) มุงไปขา งหนา : ผูนํามุงพฒั นาใหเ กิดความเจรญิ อยางยงั่ ยืน โดยรวมสราง

วัฒนธรรมไมท นตอ การทจุ รติ อยา งไมยอ ทอ

N (Knowledge) ความรู : พฒั นาองคค วามรอู ยา งสมา่ํ เสมอเพอ่ื ใหเทา ทนั ตอสถานการณ

การทจุ รติ

G (Generosity) ความเออ้ื อาทร : รว มพัฒนาใหเ กิดความเออ้ื อาทรตอ กนั บนพนื้ ฐานของจรยิ ธรรม

และจติ พอเพยี ง

ตวั ชวี้ ัด

1. เขาใจ และบอกความหมายของโมเดล STRONG : จติ พอเพยี งตา นทุจริต
2. อธิบายความหมายของความพอเพยี ง ความโปรง ใส ความตื่นรู มงุ ไปขางหนา ความรู ความเออ้ื อาทร
3. วิเคราะหห ลักการของจิตพอเพียงตานทุจริต
4. นาํ หลักการของจิตพอเพยี งตา นทุจริตไปใชในการดําเนนิ ชวี ติ

ขอบขายเนอ้ื หา
1. องคประกอบของโมเดล STRONG

2. การประยุกตหลกั ความพอเพยี งดว ยโมเดล STRONG : จติ พอเพียงตานทุจริต


Click to View FlipBook Version