The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การป้องกันการทุจริต ม.ต้น (สค22022)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookchon, 2020-05-27 03:00:11

การป้องกันการทุจริต ม.ต้น (สค22022)

การป้องกันการทุจริต ม.ต้น (สค22022)

Keywords: การป้องกันการทุจริต,สค22022

86

การปกครองในระบอบประชาธิปไตย เปนการปกครองที่ประชาชนทุกคนมีสวนรวมในการปกครอง
ประเทศ การปกครองในระบอบประชาธิปไตยจะประสบความสําเร็จไดน้ันจะตองสรางความเปนพลเมือง
ใหประชาชนสามารถปกครองตนเองได ดังนั้น ความเปนพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย จึงมีคุณลักษณะ
ท่ีสําคัญ คือ เปน บุคคลที่สามารถแสดงบทบาทหนา ที่และความรบั ผดิ ชอบของตนเอง ตอสงั คม อีกท้ังดํารงตน
เปนประโยชนตอ สังคม ชว ยเหลอื เกื้อกลู กนั อันจะกอใหเกิดการพัฒนาสังคม และประเทศชาติ ใหเปนสังคม
ประชาธิปไตย ซ่ึงการสรางพลเมืองใหมีความเปนพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยนั้น มีหลักพ้ืนฐานอยู
3 ประการ ดงั น้ี

1. เคารพศกั ดิ์ศรีความเปนมนุษยท่ีทุกคนเกิดมามีคุณคาเทากันมิอาจลวงละเมิดได การมีอิสรภาพ
และความเสมอภาค การยอมรับในเกียรติภูมิของแตละบุคคล โดยไมคํานึงถึงสถานภาพทางสังคม ยอมรับ
ความแตกตา งของทกุ คน

2. เคารพสิทธิ เสรีภาพ และกฎกติกาของสังคมที่เปนธรรม โดยใหความสําคัญตอสิทธิ เสรีภาพ
การมีกฎกติกาทีว่ างอยูบ นความยุติธรรมและชอบธรรม มีหลกั นิตริ ฐั ในการคุม ครองสิทธิ เสรภี าพมใิ หถ กู ละเมดิ

3. รับผิดชอบตอตนเอง ผูอื่น และสังคม โดยตระหนักถึงบทบาทหนาท่ีของความเปนพลเมือง
ในระบอบประชาธิปไตยท่มี ุงเนนเน้อื หาท่มี คี ุณลักษณะสาํ คัญในหนาที่และความรับผิดชอบของตนเอง ตอสังคม
การดาํ รงตนเปน ประโยชนต อสงั คมชว ยเหลือเก้ือกลู กนั ใชส ตปิ ญญาในการแกไ ขปญ หาดวยเหตแุ ละผล

ดังน้นั หากประชาชนไดเ ขาใจในหลักพืน้ ฐานความเปนพลเมือง ท้ัง 3 หลักการที่กลาวขางตนอยาง
ถูกตองแลว และสามารถนําไปปฏิบัติใหเกิดผลไดก็จะทําใหสังคมไทย พัฒนาเปนสังคมประชาธิปไตยอยาง
แทจรงิ

87

กจิ กรรมที่ 4

ใหผ เู รยี นบอกความหมายของคาํ วา “พลเมอื ง” และ “ความเปนพลเมอื ง”

88

เรอ่ื งที่ 5 ความเปน พลโลก

ความหมายของคําวา ความเปน พลโลก
พลโลก หมายถึง ชาวโลก พลเมอื งของโลก (พจนานกุ รม) ที่อาศัยอยูในประเทศตาง ๆ ในโลก ซึ่งมี
ความเหมอื นและความแตกตา งกนั หลายดา น เชน ดานภาษา ศาสนา วัฒนธรรม ความเช่ือ และวิถีชีวิต ท้ังน้ี
ในความเหมือนและความแตกตางกนั พลโลกจะอยูรว มโลกกันอยางสันติสุขได ตองมีความเขาใจ ยอมรับ และ
เรยี นรซู งึ่ กันและกัน
แนวทางการประยกุ ตความเปนพลโลกมาใชในการดําเนนิ ชวี ิต
1. เคารพกฎหมายและปฏิบัติตามกฎระเบียบขอบังคับของสังคม เมื่อพลเมืองทุกคนปฏิบัติตาม
กฎระเบียบ ขอบังคับของสังคมและบทบัญญัติของกฎหมาย เชน ไมลวงละเมิดสิทธิของผูอ่ืน หรือไมกระทํา
ความผิดตามที่กฎหมายกาํ หนด ก็จะทําใหรัฐไมต อ งเสยี งบประมาณในการปองกันปราบปราม และจับกุมผูท่ี
กระทาํ ความผิดมาลงโทษ นอกจากนยี้ งั ทาํ ใหสงั คมมคี วามเปน ระเบียบสงบสุข ทุกคนอยูร ว มกันอยางสมานฉันท
ไมห วาดระแวงคดิ รา ยตอกนั
2. เปน ผมู ีเหตุผลและรับฟงความคดิ เห็นของผูอ่ืน ทุกคนยอมมีอิสรภาพ เสรีภาพในการแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นระหวา งกนั ซงึ่ การรจู กั การใชเหตุผลในการดําเนินงาน จะชวยประสานความสัมพันธ ทําใหเกิด
ความเขาใจอันดงี ามตอกนั
3. ยอมรับมติของเสยี งสว นใหญ เมอื่ มคี วามขัดแยงกนั ในการดําเนินกิจกรรมอันเกิดจากความคิดเห็น
ที่แตกตา งกันและจาํ เปนตอ งตัดสนิ ปญหาดว ยการใชเสียงขา งมากเขาชว ย และมตสิ ว นใหญต กลงวา อยา งไร ถึงแมวา
จะไมต รงกับความคิดของเรา เรากต็ อ งปฏิบัติตามเพราะเปน มตขิ องเสียงสวนใหญ
4. เปนผูน ํามีน้ําใจประชาธิปไตย และเห็นแกประโยชนส วนรวม ผทู ่มี ีความเปน ประชาธปิ ไตยจะตอ งมี
ความเสยี สละในเร่ืองทจ่ี ําเปน เพ่อื ผลประโยชนของสว นรวมและรักษาไวซง่ึ สงั คมประชาธปิ ไตย เปน การสงผล
ตอ ความมน่ั คงและความกาวหนา ขององคกรซ่ึงสุดทายแลว ผลประโยชนดังกลาวก็ยอนกลับมาสูสมาชิกของ
สังคม เชน การไปใชสิทธ์ิเลือกตั้ง ถึงแมวาเราจะมีอาชีพบางอยางท่ีมีรายไดตลอดเวลา เชน คาขาย แตก็ยอม
เสยี เวลาคาขาย เพ่ือไปลงสิทธ์ิเลือกต้ัง บางครั้งเราตองมีน้ําใจชวยเหลือกิจกรรมสวนรวม เชน การสมัครเปน
กรรมการเลือกต้งั หรือสมาคมบําเพ็ญประโยชนส วนรวม เปน ตน
5. เคารพในสิทธิเสรีภาพของผูอื่น ควรรูจักเคารพในสิทธิเสรีภาพของผูอ่ืน เชน บุคคลมีเสรีภาพ
ในการแสดงความคดิ เห็น การพดู แตตองไมเปนการพูดแสดงความคดิ เห็นท่ใี สรายผูอ่นื ใหเสียหาย
6. มีความรบั ผดิ ชอบตอ ตนเอง ชุมชน สังคม ประเทศชาติ ในการอยูร วมกันในสงั คมยอ มตอ งมกี าร
ทํางานเปน หมคู ณะ จึงตอ งมกี ารแบงหนา ทค่ี วามรับผดิ ชอบในงานนั้น ๆ ใหสมาชิกแตล ะคนนําไปปฏบิ ตั ิตามท่ี
ไดร บั หมอบหมายไวอ ยางเต็มท่ี
7. มีสวนรวมในกิจกรรมการเมืองการปกครอง ในสังคมประชาธิปไตยน้ัน สมาชิกทุกคนตองมี
สว นรว มในกจิ กรรมการเมืองการปกครอง เชน การเลือกตัง้ เปน ตน

89

8. มีสวนรวมในการปองกัน แกไขปญหาเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครอง ชวยสอดสอง
พฤตกิ รรมม่วั สมุ ของเยาวชนในสถานบนั เทิงตาง ๆ ไมห ลงเช่อื ขาวลอื คํากลา วรา ยโจมตี ไมมองผูท่ีไมเห็นดวย
กับเราเปนศัตรู รวมถึงสงเสริมสนับสนนุ การแกไ ขปญ หาความขัดแยง ตาง ๆ ดว ยสันติวธิ ี

9. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และปฏบิ ัตติ นตามหลกั ธรรม ทุกคนควรมีศีลธรรมไวเปนหลักในการควบคุม
พฤตกิ รรมของบคุ คลใหด าํ เนนิ ไปอยา งเหมาะสม ถึงแมจะไมม ีบทลงโทษใด ๆ ก็ตาม

90

กจิ กรรมที่ 5

ใหผ เู รยี นบอกแนวทางการประยุกตค วามเปน พลโลกมาใชใ นการดําเนนิ ชวี ติ มาอยา งนอ ย 3 ขอ

91

แบบทดสอบหลังเรียน

1. ขอ ใดตอ ไปนีเ้ ปน การปองกนั การทจุ รติ
ก. ตั้งคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุ ริตแหงชาติ (ป.ป.ช.)
ข. ปฏริ ปู กฎหมายท่ีเก่ียวกบั การบรหิ ารพสั ดแุ ละการจัดซือ้ จดั จา งใหโ ปรง ใส
ค. การเพิม่ โทษในการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ
ง. การปลูกจิตสํานกึ โตไปไมโกงใหแ กเ ด็ก ๆ

นาย ก. เปนขาราชการเกษยี ณ ตอ มาไดเปน สมาชิกสภาเทศบาล รลู ว งหนาจากการประชมุ สภา
วา สภาเทศบาลอนมุ ัตใิ หตดั ถนนผานชมุ ชนแหง หนงึ่ นาย ก. จงึ ไดไปกวานซอ้ื ท่ีดนิ บรเิ วณท่ถี นนตัดผา น
เพ่อื เก็งกําไรทด่ี นิ

2. จากขอความขา งตน พฤติกรรมของ นาย ก. เปน ผลประโยชนท บั ซอ นรูปแบบใด
ก. การรบั ผลประโยชนตา ง ๆ
ข. การรูขอ มลู ภายใน
ค. การทํางานหลงั เกษยี ณ
ง. การทาํ ธรุ กิจของตนเอง

3. ขอใดไมใชการประพฤตติ นตามหลกั ความเปน พลเมอื งโลกมาใชใ นการดําเนนิ ชีวิต
ก. นาํ รถไปจอดขวางหนาบา นคนอ่ืนในหมูบาน
ข. ผทู ่มี จี ิตอาสาไปรวมกนั พฒั นาคลอง
ค. การประชุมชาวบานในการประชาพจิ ารณเพอ่ื ทําถนนในหมูบา น
ง. ชว ยแจงขา วกบั ตาํ รวจเมอ่ื พบเจอวยั รุนมว่ั สุมยาเสพตดิ ในชมุ ชน

4. การเลอื กตงั้ องคกรนกั ศึกษา กศน. เปนการสง เสรมิ เรือ่ งใด
ก. สงเสริมความเปนประชาธิปไตย
ข. พฒั นาผเู รยี นใหม คี ุณภาพ
ค. ฝก ใหผเู รียนเหน็ คณุ คา ของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท รงเปนประมุข
ง. ถกู ทกุ ขอ

92

5. หากเรามีหลัก STRONG : จติ พอเพยี งตานทจุ รติ แลว จะสงผลใหสงั คมเปน อยา งไร
ก. ประชาชนชาวไทยจะมคี วามต่นื ตวั ตอ การทจุ รติ มากข้นึ
ข. ประชาชนชาวไทยมคี วามสนใจตอ ขา วสารการทจุ ริตมากขน้ึ
ค. ประชาชนชาวไทยมคี วามตระหนกั ถึงผลกระทบของการทุจริตมากขน้ึ
ง. ถกู ทกุ ขอ

6. พฤตกิ รรมในขอ ใดทแี่ สดงวา เปน ผูขาดความละอาย
ก. การแอบรบั เงนิ จากผสู มคั ร อบต.
ข. พอชว ยหาเสยี งใหล กู ทสี่ มัคร ส.ส.
ค. ผสู มัคร ส.ส. เดินหาเสยี งในตลาด
ง. ขามถนนบนทางมาลาย

7. ขอใดเปน การทจุ รติ
ก. ผรู บั เหมากอสรางยื่นซองประมลู ประกวดราคา
ข. นักการเมอื งออกเย่ยี มประชาชนท่ปี ระสบภยั พิบัตโิ ดยมอบของให
ค. นักธุรกิจนาํ กระเชาผลไมไปเย่ยี มภมู ปิ ญ ญาในหมบู า น
ง. เจา หนาทข่ี องรัฐใหบ รกิ ารนกั ธรุ กจิ โดยจายเงินตามชอ งทางตามปกตขิ องทางราชการ
แตเพ่มิ เงนิ ใหเ ปนคา บริการเพื่อความสะดวกรวดเรว็

8. เปา หมายของกระบวนการคดิ เปน คือขอ ใด
ก. ความสขุ
ข. การคดิ เปน
ค. แกป ญ หาเปน
ง. การประเมนิ ผล

9. พฤติกรรมในขอ ใดเปน การไมทนตอ การทจุ รติ หรอื การกระทาํ ทไี่ มถ กู ตอง
ก. แจง เจาหนาที่ตาํ รวจทนั ทีท่พี บเห็นการแซงคิว
ข. ใชว ิธกี ารประณามตอ สาธารณชนทกุ คร้งั ที่พบเรื่องไมถูกตอ ง
ค. บอกผแู ซงควิ ใหทราบ และไปตอ ทา ยแถว
ง. ไมส นใจถา เราไมเ ดือดรอ น

93

10. ขอใดหมายถึง พลเมอื ง
ก. คนของรัฐ
ข. คนท่ัวไปของประเทศ
ค. ประชาชน ราษฎร ชาวประเทศ
ง. สมาชิกของสังคม

11. ขอใดเปน พฤตกิ รรมของพนกั งานในหางสรรพสินคาทถี่ ือวามจี ติ สํานึกทด่ี ี
ก. ปฏบิ ตั ิตามระเบียบของหางสรรพสนิ คา
ข. เลือกการใหก ารบริการตอลูกคา
ค. เก็บเงินไดแ ลวนําไปคืนเจาของ
ง. ตองการใหห า งสรรพสินคา มชี อ่ื เสยี ง

12. กรณี นาย ก. ดํารงตาํ แหนง กรรมการผจู ัดการในธนาคารพาณิชยเอกชนแหงหน่ึง ซึ่งมีอาํ นาจหนา ท่ใี นการ
พจิ ารณาอนุมัติสินเช่ือ และบริษัท A ซ่ึงมีภรรยาของ นาย ก. ดํารงตําแหนงกรรมการผูจัดการ ไดมาขอ
สินเช่ือจากธนาคารท่ี นาย ก. ทํางานอยู แตขาดคุณสมบัติของผูกูตามที่ธนาคารกําหนด อยากทราบวา
นาย ก. จะตอ งปฏบิ ตั ติ นอยางไรจึงจะเหมาะสมท่ีสุด
ก. แตง ต้งั คณะกรรมการพจิ ารณาวงเงนิ สนิ เช่อื ของบริษทั A เตม็ จาํ นวน
ข. แตงตงั้ คณะกรรมการพจิ ารณาวงเงินสินเช่ือของบรษิ ทั A แตมีเงอ่ื นไขอนุมัตภิ ายในวงเงนิ รอยละ 50
ค. กําหนดใหบ ริษัท A นาํ หลักทรพั ยค้ําประกนั สนิ เชือ่ มากกวา ปกติ
ง. ไมอ นุมตั วิ งเงนิ สนิ เช่ือ

13. การกระทาํ ในขอใดไมใ ชการทจุ รติ
ก. การใหผ ูอนื่ รับโทษแทนตน โดยใหคาจางตอบแทน
ข. การใหเงินเจา หนาทเี่ พือ่ เปน คา สงเอกสารที่ขอไว
ค. การอํานวยความสะดวกเปน พิเศษเพ่ือใหง านของตนเองราบรืน่
ง. การสับเปล่ียนสนิ คาทมี่ ีคณุ ภาพตาํ่ กวาใหกับลูกคา

14. วฒั นธรรม ประเพณี เปน ขอมูลดา นใดของกระบวนการคิดเปน
ก. ตนเอง
ข. สังคมและส่งิ แวดลอม
ค. วิชาการ
ง. ถกู ทกุ ขอ

94

15. ภมู คิ ุม กันทีท่ าํ ใหบ คุ คลไมกระทําทุจริตจะตอ งประกอบดว ย
ก. ความรู ความเขาใจ และปลกุ ใหตื่นรู
ข. ความรู ความเขาใจ และความเปนผูน าํ
ค. ความรู ความเขา ใจ และความเอ้อื อาทร
ง. ความรู ความเขาใจ และการมุงไปขา งหนา

16. การมีจติ พอเพียงตา นทุจริต ควรเรม่ิ จากขอใดเปน อันดับแรก
ก. สงั คม
ข. ตนเอง
ค. ครอบครวั
ง. ประเทศชาติ

17. STRONG : จติ พอเพียงตา นทจุ รติ เปน การนาํ หลกั การใดมาประยกุ ตใ ชต อ ตานการทจุ รติ
ก. หลักคิดเปน
ข. หลกั ศลี ธรรม
ค. หลกั สมดลุ
ง. หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

18. บุคคลจะเกิดความละอายตอการทจุ รติ ควรเรมิ่ ตนจากขอ ใดเปนสําคญั
ก. ความกลวั ผูอ ่ืนรู
ข. ความตระหนักถึงผลเสยี
ค. ความฉลาดรอบรู
ง. ความกาวหนา ในการทํางาน

19. ขอใดหมายถงึ การกระทาํ ทเี่ ปน ประโยชนสว นรวม
ก. เจาหนาที่ของรฐั ใชเครอ่ื งพิมพข องสํานกั งานพมิ พร ายงานสงอาจารย
ข. ใชเ คร่ืองตดั หญา ของหนวยงานรฐั ไปตดั หญา ทบ่ี านของหวั หนา
ค. เก็บใบไมแ หง จากสวนสาธารณะไปทําปุยหมกั ทบี่ าน
ง. ยมื เกาอจี้ ากหนวยงานของรัฐไปใชจดั งานบวชทีบ่ าน

95

20. หนว ยงานใดมีหนา ทโี่ ดยตรงในการปองกันและปราบปรามการทจุ รติ ของประเทศไทย
ก. ป.ป.ง.
ข. ป.ป.ช.
ค. สตง.
ง. สคบ.

-------------------------------

96

เฉลยแบบทดสอบกอนเรยี น - หลงั เรียน

แบบทดสอบกอนเรยี น

1. ค. 11. ข.
2. ค. 12. ข.
3. ก. 13. ง.
4. ข. 14. ก.
5. ข. 15. ง.
6. ง. 16. ข.
7. ง. 17. ง.
8. ก. 18. ข.
9. ข. 19. ค.
10. ค. 20. ก.

แบบทดสอบหลังเรยี น

1. ข. 11. ค.
2. ข. 12. ง.
3. ก. 13. ข.
4. ง. 14. ข.
5. ง. 15. ก.
6. ก. 16. ข.
7. ง. 17. ง.
8. ก. 18. ข.
9. ค. 19. ค.
10. ค. 20. ข.

97

แนวคําตอบกิจกรรม

บทที่ 1 การคดิ แยกแยะระหวา งผลประโยชนส ว นตนกับผลประโยชนส ว นรวม

กิจกรรมที่ 3
แนวคําตอบ
1.1 การกระทําเขา ขายการขดั กันระหวางประโยชนสวนตนและประโยชนสวนรวม มีอะไรบาง
1. การรบั ผลประโยชนตาง ๆ
2. การทาํ ธุรกจิ กับตัวเอง เปน คูสญั ญา
3. การทํางานหลงั เกษยี ณ
4. การทํางานพเิ ศษ
5. การรูข อ มลู ภายใน
6. การใชบ คุ ลากรหรอื ทรพั ยส ินของหนว ยงานเพ่ือประโยชนส ว นตน
7. การทําโครงการลงในเขตเลอื กตัง้
8. ความสมั พนั ธระหวา งเครอื ญาติ
9. การใชอิทธพิ ลเพ่ือผลประโยชนบ างอยาง

1.2 เราจะชว ยปองกันการทจุ ริตการเกดิ ผลประโยชนท บั ซอ นไดอยางไร
1. ตองคิดแยกแยะระหวางประโยชนส วนตน และประโยชนส ว นรวมอยา งชดั เจน
เพอ่ื ไมใหเ ปน ตนเหตขุ องการคอรร ปั ชนั
2. ตอ งคดิ ถึงประโยชนส ว นรวมกอ น

98

บทที่ 2 ความละอายและความไมทนตอการทจุ ริต

กจิ กรรมท่ี 1
แนวคําตอบ
1. ผูเรยี นสามารถมีสว นรวมในการสง เสรมิ สนับสนนุ การเลอื กตัง้ ไดอ ยา งไร ตอบมาอยางนอย 3 ขอ
1. รณรงคใ หม ีการไปใชส ิทธ์ลิ งคะแนนในการเลือกตัง้
2. ติดตามขาวสารของผแู ทนมาเผยแพร
3. การรวมกิจกรรมประกวดคําขวญั
4. เชญิ ชวนกันไปใชสิทธ์ิออกเสยี ง
5. แนะนําคนในครอบครัว หรือเพอ่ื นบา นใหเ ห็นภัยของการซือ้ ขายเสียง และรวมกันรณรงค
ตอตา น
2. จากภาพที่กาํ หนด
2.1 เด็กผูชายกาํ ลงั ทาํ ขอ สอบ
2.2 ไมถกู ตอ ง เพราะ คดิ จะลอกขอ สอบของผูอน่ื
2.3 ไมควรทาํ เพราะ เปน ส่ิงที่ไมถกู ตอง ไมซ่อื สัตยต อ ตนเอง
2.4 ไมภาคภูมใิ จ เพราะ ไมไดท าํ ขอ สอบตามความสามารถของตน และเปน การทจุ รติ การสอบ
2.5 ผูเ รียน ควรปฏบิ ัติตนดังนี้
1. ไมล อกขอ สอบ หรอื ไมถามคาํ ตอบจากเพือ่ นผูเรยี น
2. ตั้งใจเรยี น ทําแบบฝก หัด และอานหนังสอื อยางสมํา่ เสมอ
3. เมื่อเรียนไมเ ขาใจควรถามผรู ู ครู เพื่อน

กจิ กรรมท่ี 2
แนวคาํ ตอบ
1. ตัวอยางการกระทาํ ทีเ่ ปน การทจุ ริตคอรร ปั ชัน มีดงั น้ี
1. การเสนอโครงการหรอื เลือกโครงการท่ีไมใหผลตอบแทนทางเศรษฐกิจมาก แตมีโอกาส

ที่จะไดเงินใตโตะ มากกวา
2. การซอ้ื วสั ดุอปุ กรณท ตี่ ่าํ กวามาตรฐาน หรือราคาสงู กวา ความเปนจรงิ
3. การจายเงนิ ใหกับเจาหนา ท่ีเพอ่ื ใหม กี ารยกเวน กฎ ระเบยี บทเี่ ก่ยี วกับการบงั คบั ใชกฎหมาย
4. การยกั ยอกทรพั ยสนิ ของรัฐไปเปนของตน
5. การซื้อขายตําแหนง หรือการกระทําทม่ี ีผลกระทบตอระบบคณุ ธรรมของราชการ
6. การใหและรบั สนิ บน การขูเขญ็ บงั คับและการใหสงิ่ ลอใจ ฯลฯ

2. ผลเสยี ทเ่ี กดิ จากการทุจริตคอรรัปชนั
1. บอ นทาํ ลายศลี ธรรมของทุกสงั คม
2. รกุ ลาํ้ สิทธทิ างสงั คมและเศรษฐกิจของคนยากจนและออนแอ

99

3. ทําใหป ระชาธิปไตยออนแอ
4. ขัดตอ กฎ กติกา กฎหมาย ซ่ึงเปน พ้นื ฐานของทกุ สงั คม
5. ขดั ขวางการพฒั นาสังคมและประเทศชาติ
6. ทําใหส ังคมผยู ากไรแ ละผูด อ ยโอกาสไมไดร ับประโยชนจากระบบเศรษฐกจิ เสรี
3. แนวทางการปอ งกนั การทจุ ริตคอรร ปั ชัน
1. มคี วามซ่ือสตั ย สจุ รติ ไมท นตอ การทจุ ริตและการกระทําทไ่ี มถ กู ตอ ง คาํ นงึ ถงึ ประโยชน

สวนรวมมากกวา ประโยชนสวนตน
2. เลือกผูนําชมุ ชน นักการเมืองทมี่ ีความมงุ มัน่ ตั้งใจทจ่ี ะอาสาเขามาทํางานเพอ่ื ประโยชนของ

บานเมอื งอยา งแทจ ริง
3. แสวงหาความรูใหเ ทา ทันเทคนคิ กลโกง และการทจุ รติ คอรรปั ชันทุกวธิ ี
4. มสี ว นรวมในการรณรงคต อตานการทุจรติ อยา งตอ เน่อื งในชมุ ชน หมูบา น ตําบล และ

ทกุ ภาคสวนของสงั คม
ฯลฯ

100

บทท่ี 3 STRONG : จติ พอเพยี งตานทจุ รติ

กจิ กรรมที่ 2
แนวคําตอบ

บคุ คลในขาวมคี วามโลภ บคุ คลในขาวขาดคุณธรรม

บุคคลในขาวเห็นแกประโยชน พฤตกิ รรมทีท่ จุ รติ บุคคลในขา วเห็นแก
สวนตนมากกวาประโยชน โดยไมม ีความพอเพยี ง อามิสสินจาง
สวนรวม
บุคคลในขา วไมมภี มู ิคุมกัน

101

บทท่ี 4 พลเมอื งกบั ความรับผดิ ชอบตอสงั คม

กจิ กรรมที่ 1
แนวตอบ

1. สทิ ธสิ วนบุคคลตามรัฐธรรมนญู เชน สทิ ธใิ นการครอบครองที่ดิน สทิ ธใิ นการเรยี นฟรี สทิ ธใิ นการรบั
บริการสาธารณสุข

2. หนาท่ีของบคุ คลตามรัฐธรรมนญู เชน การเสยี ภาษี การเกณฑท หาร เปนตน
3. เสรภี าพสว นบคุ คลตามรัฐธรรมนญู เชน การมีเสรภี าพทจ่ี ะกระทาํ การใด ๆ ในเคหะสถานของตนเองได

แตต องไมเปนการรบกวนสิทธเิ สรภี าพของผอู ื่น เปนตน

กจิ กรรมที่ 2
แนวตอบ

1. ปฏบิ ัติตนตามกฎหมาย
2. ชว ยสอดสอง ดูแลพฤติกรรม หรอื การกระทําทเี่ สี่ยงตอการทุจรติ
3. มีสวนรว มในการรณรงคก ารปอ งกนั และปราบปรามทจุ ริตในชมุ ชน

ฯลฯ

กิจกรรมที่ 3
แนวตอบ

พฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกถงึ ความรบั ผิดชอบตอ ตนเอง เชน การรักษาสุขภาพอนามัยของตนเอง
ความรบั ผดิ ชอบในเรื่องงานที่ไดรบั มอบหมาย รบั ผิดชอบตอ การกระทําของตน ฯลฯ

พฤตกิ รรมทแ่ี สดงถงึ ความรบั ผิดชอบตอผอู ่นื เชน การดแู ลบดิ ามารดา การเคารพครู อาจารย
การปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบของชุมชนและสงั คม ฯลฯ

กจิ กรรมที่ 4
แนวตอบ

พลเมอื ง หมายถึง ประชาชน ราษฎร ชาวประเทศ
ความเปนพลเมอื ง คอื สถานภาพของบุคคลทีจ่ ารีตประเพณีหรอื กฎหมายของรัฐรับรอง ซง่ึ ไดแก สิทธิ
และหนา ท่แี หงความเปนพลเมืองแกบ คุ คล (เรียก พลเมือง) ซง่ึ อาจรวมสทิ ธิออกเสยี งเลอื กต้ัง การทํางานและ
อาศยั อยใู นประเทศ สทิ ธกิ ลบั ประเทศ สทิ ธิครอบครองอสังหาริมทรัพย การคุมครองทางกฎหมายตอรัฐบาล
ของประเทศ และการคุมครองผานกองทัพหรือการทูต พลเมืองยังมีหนาท่ีบางอยาง เชน หนาที่ปฏิบัติตาม
กฎหมายของรฐั จายภาษี หรือรับราชการทหาร บุคคลอาจมีความเปนพลเมอื งมาก และบคุ คลทีไ่ มมีความเปน
พลเมือง เรยี ก ผไู รส ญั ชาติ

102

กจิ กรรมที่ 5
แนวตอบ

1. เคารพกฎหมายและปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบ ขอ บงั คับของสงั คม
2. เปน ผมู เี หตุผล และรับฟง ความคดิ เหน็ ของผอู ื่น
3. ยอมรบั มตขิ องเสียงสวนใหญ
4. เปนผนู ํามีน้าํ ใจประชาธิปไตย และเหน็ แกประโยชนส วนรวม
5. เคารพในสิทธเิ สรภี าพของผูอ น่ื
6. มีความรับผดิ ชอบตอ ตนเอง ชุมชน สงั คม ประเทศชาติ
7. มีสว นรว มในกจิ กรรมการเมืองการปกครอง
8. มีสวนรว มในการปอ งกนั แกไขปญ หาเศรษฐกจิ สงั คม การเมอื งการปกครอง
9. มีคณุ ธรรม จริยธรรม และปฏิบัตติ นตามหลกั ธรรม

103

บรรณานุกรม

กําชยั จงจักรพนั ธ. การขดั กนั แหงผลประโยชนแ ละมาตรา 100. กรงุ เทพฯ.

ความเปน พลเมอื งโลก. สืบคนเม่อื วนั ที่ 31 กรกฎาคม 2562, จาก
http://treetep605.blogspot.com/2012/06/blog-post_596.html.

ความเออ้ื เฟอ และเผอื่ แผแ ละความเสียสละตอสังคม. สืบคน เมอื่ วันท่ี 31 กรกฎาคม 2562, จาก
https://sites.google.com/a/sapit.ac.th/toey-1/hnwy-kar-reiyn-ru-thi-1/reuxng-thi-2-
khwam-xeuxfeux-pheux-phae-laea-seiy-sla-tx-sangkhm.

ชดิ ชนก นามเจรญิ และธนั ยชนก สขุ เทยี มสุวรรณ. (2562). พลเมืองดีคืออะไร. สบื คน เมอ่ื วันที่ 31 กรกฎาคม
2562, จาก https://chidnastory.wordpress.com/พลเมอื งดีคอื อะไร/.

บา นจอมยทุ ธ. (2562). ความสาํ คัญของการคิด. สบื คนเมื่อวนั ท่ี 10 มิถนุ ายน 2562., จาก
https://www.baanjomyut.com/library_2/scientific_thinking_skills/02.html.

พนั ธกร อทุ ธิตสาร. (2562). มารยาทไทยการแตง กาย. สบื คน เมอื่ วนั ที่ 12 มถิ นุ ายน 2562, จาก:
https://sites.google.com/a/thoengwit.ac.th/reiyn-ru-kab-khru-ben/maryath-thiy-reuxng-
kar-snthna.

มนมนัส สุดสน้ิ . (2562). ทฤษฎีการเรยี นรขู องบลมู . สืบคนเมือ่ วนั ที่ 31 กรกฎาคม 2562, จาก
http://www.eledu.ssru.ac.th/monmanus_su/.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานกุ รม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. กรงุ เทพฯ: บริษทั ศริ ิวัฒนา
อนิ เตอรพ ริ้นท จํากัด (มหาชน).

วรรณศิ า มาลัยทอง. (2562). การเลอื กตัง้ . สืบคน เม่ือวนั ท่ี 12 มิถุนายน 2562, จาก
https://sites.google.com/site/lawslearinginschool12/raththrrmnuy-chbab-paccuban-ni-
matra-tang/kar-leuxk-tang.

104

ศนู ยป ฏบิ ัติการตอตา นการทจุ ริต กระทรวงสาธารณสุข. STRONG จติ พอเพียงตานทจุ รติ วิชาที่ 3
การประยกุ ตห ลกั ความพอเพียงดวยโมเดล STRONG : จติ พอเพยี งตา นทจุ รติ . สบื คน เมือ่ วันที่
10 มถิ ุนายน 2562, จาก
http://ethics.dmsc.moph.go.th/Anti%20Corruption%20Education/Ebook%20Lesson%20
3%20.ppsx.

ศูนยป ฏบิ ตั ิการตอ ตานการทจุ รติ สาํ นกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหงชาต.ิ (2562). กฎหมายท่เี กย่ี วของกับการ
ปอ งกันและปราบปรามการทจุ รติ . สบื คน เมื่อวันท่ี 11 มถิ นุ ายน 2562, จาก https://anti-
cor.nrct.go.th/home/ArtMID/542/ArticleID/2046/กฎหมายที่เก่ยี วขอ งกับการปองกันและ
ปราบปรามการทจุ ริต.

สติ. สบื คน เมื่อวนั ที่ 11 มิถนุ ายน 2562, จากวกิ พิ เี ดยี https://th.wikipedia.org/wiki/สต.ิ

สาํ นกั งานคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทจุ รติ แหง ชาติ รวมกับสาํ นักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน. (2562). แผนจดั ประสบการณ “รายวิชาเพม่ิ เตมิ การปอ งกนั การทจุ ริต”
ระดับมัธยมศกึ ษาปท ่ี 1 – 3 ชุดหลักสตู รตา นทจุ รติ ศกึ ษา. นนทบุร:ี ชุมนมุ สหกรณก ารเกษตร
แหง ประเทศไทย จํากัด สาขา 4.

สํานกั งานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุ ริตแหง ชาติ รวมกบั สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษา
ขัน้ พื้นฐาน. (2561). แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาเพ่มิ เตมิ การปองการการทุจริต ระดับมัธยมศึกษา
ชน้ั ปท่ี 1 ชุดหลักสตู รตานทุจริตศึกษา.(เอกสารอดั สาํ เนา).

สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุ ริตแหงชาติ รวมกบั สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน. (2561). แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพ่มิ เติม การปองการการทุจริต ระดับมัธยมศึกษา
ช้ันปท ี่ 2 ชดุ หลกั สูตรตา นทุจริตศึกษา.(เอกสารอัดสาํ เนา).

สาํ นกั งานคณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหงชาติ รวมกบั สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขน้ั พืน้ ฐาน. (2561). แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าเพ่ิมเติม การปองการการทุจริต ระดับมัธยมศึกษา
ช้นั ปท่ี 3 ชุดหลกั สตู รตา นทุจริตศึกษา.(เอกสารอัดสาํ เนา).

สํานักงานคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริตแหงชาต.ิ (2561). หลกั สูตรรายวชิ าเพม่ิ เติม
“การปอ งกนั การทุจริต”. นนทบรุ :ี ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหง ประเทศไทย จํากดั สาขา 4.

105

สาํ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ 21 เซน็ จรู ี.

สาํ นกั งานศาลรัฐธรรมนญู (สมชาย แสวงการ). (2562). สรา งความเปนพลเมืองไทยในระบอบประชาธปิ ไตย.
สืบคนเมือ่ วันที่ 11 มนี าคม 2562, จาก
http://www.constitutionalcourt.or.th/occ_web/ewt_dl_link.php?nid=1474.

สํานกั ตา นทจุ ริตศึกษา สาํ นกั งานคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทุจริตแหง ชาต.ิ (2562). คมู ือ
แนวทางการปฏบิ ตั ิสําหรบั การขบั เคล่ือนหลักสตู รตา นทจุ ริตศึกษาในพื้นทสี่ ําหรับบคุ ลากร
สํานกั งาน ป.ป.ช. ทัง้ สวนกลาง และสวนภมู ิภาค. (เอกสารอดั สําเนา).

สํานกั ประชาสมั พนั ธเ ขต 5 กรมประชาสมั พนั ธ สาํ นกั นายกรัฐมนตร.ี (2562). คุณธรรมในการดาํ รงชีวติ ที่
รบั ผิดชอบตอสงั คม. สบื คนเมื่อวันที่ 12 มถิ ุนายน 2562, จาก
https://region5.prd.go.th/ewt_news.php?nid=605.

สาํ นักงานราชบณั ฑติ ยสภา. (2562). ความหมาย คิด แยกแยะ. สืบคนเมอื่ วนั ท่ี 10 มถิ ุนายน 2562, จาก
http://www.royin.go.th/dictionary/.

Korpongwit Keereekin and Suraiya Homhoul. (2562). การเคารพสทิ ธิเสรีภาพของตนเองและผูอน่ื .
สืบคนเมื่อวนั ที่ 11 มิถุนายน 2562, จาก https://sites.google.com/site/aiuyunsonya/kar-
khearph-siththi-seriphaph-khxng-tnxeng-laea-phu-xun.

106

คาํ ส่ังสํานกั งานสง เสริมการศกึ ษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอัธยาศัย

1. คาํ ส่งั สํานกั งานสง เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ท่ี 116/2562
เรอ่ื ง แตงตง้ั คณะทํางานจดั ทาํ สอ่ื ประกอบการเรียนรู ดานการปองกนั การทจุ ริต
หลกั สตู รตา นทุจริตศกึ ษา (Anti – Corruption Education)

2. คาํ สั่งสาํ นักงานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ท่ี 166/2562
เรอื่ ง แตง ตั้งคณะทาํ งานบรรณาธิการสอ่ื ประกอบการเรยี นรู ดา นการปอ งกันการทุจริต
หลักสตู รตานทุจริตศกึ ษา (Anti – Corruption Education)

107

108

109

110

111

1123

113

114

การประชมุ จดั ทําหนงั สอื เรยี น
รายวชิ าการปอ งกันการทจุ รติ

1. การประชุมเชิงปฏบิ ัติการจดั ทําสือ่ ประกอบการเรยี นรู ดา นการปองกันการทจุ รติ
หลักสตู รตา นทจุ ริตศกึ ษา (Anti – Corruption Education)
ระหวา งวันท่ี 10 – 14 มิถุนายน 2562 ณ โรงแรมรอยัลซติ ้ี กรุงเทพมหานคร

2. การประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารบรรณาธิการสอื่ ประกอบการเรียนรู ดานการปอ งกนั การทจุ รติ
หลักสูตรตา นทุจรติ ศึกษา (Anti-Corruption Education)
ระหวางวนั ที่ 30 กรกฎาคม - 2 สิงหาคม 2562 ณ โรงแรมเบลลา บี จังหวัดนนทบรุ ี

115

การประชมุ เชิงปฏิบัตกิ ารจัดทาํ ส่ือประกอบการเรยี นรู ดานการปอ งกันการทุจรติ
หลกั สตู รตา นทุจรติ ศึกษา (Anti – Corruption Education)
ระหวางวันท่ี 10 – 14 มถิ นุ ายน 2562
ณ โรงแรมรอยลั ซิตี้ กรุงเทพมหานคร

คณะผูจ ัดทาํ ตน ฉบบั บทที่ 1 การคดิ แยกแยะระหวางผลประโยชนสว นตน

กบั ผลประโยชนสวนรวม

1. นางสาวพรทิพย จองทองหลาง เจาพนกั งานปองกันการทุจริตชํานาญการ สาํ นักตานทุจรติ ศึกษา

สาํ นักงานคณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหง ชาติ

2. นางดษุ ฎี ศรีวัฒนาโรทยั ขาราชการบาํ นาญ

3. นายอนันต คงชุม รองผูอํานวยการ สํานักงาน กศน.จังหวดั สุโขทยั

4. นางสาวจริ าภรณ ตันตถิ าวร ผอู ํานวยการ กศน.เขตบางกอกใหญ กรุงเทพมหานคร

5. นางอําพรศลิ ป ลมิ าภริ ักษ ผอู าํ นวยการ กศน.เขตประเวศ กรงุ เทพมหานคร

6. นางวนั เพ็ญ แจมอนงค ผอู าํ นวยการ กศน.เขตคลองสามวา กรงุ เทพมหานคร

7. นายมงคล พลายชมพูนทุ ผูอํานวยการ กศน.อําเภอไทรงาม จงั หวัดกาํ แพงเพชร

8. นายศุภโชค ศรรี ตั นศิลป หวั หนา กลุมงานพฒั นาสื่อการเรียนรู

กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

9. นางเยาวรัตน ปน มณวี งศ หวั หนา กลุมงานเทยี บระดบั การศกึ ษา

กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

10. นางสาวนภาพร อมรเดชาวฒั น นกั วชิ าการศึกษา

กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย

คณะผูจดั ทําตนฉบับ บทท่ี 2 ความละอายและความไมทนตอ การทจุ ริต

1. นางสาวชิดชนก สีนอง เจา พนกั งานปองกนั การทจุ รติ ปฏิบัตกิ าร สาํ นักตา นทุจริตศกึ ษา

สาํ นกั งานคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ

2. นางนพรัตน เวโรจนเ สรีวงศ ขาราชการบาํ นาญ

3. นางสาวอรณุ ี พันธพุ าณิชย ผูอํานวยการ กศน.อาํ เภอสงู เมน จงั หวัดแพร

4. นางสาวอาํ ภรณ ชา งเกวยี น ผอู ํานวยการ กศน.อาํ เภอแจหม จงั หวดั ลาํ ปาง

5. นางสาวพัชรา จงโกรย ศกึ ษานเิ ทศก สาํ นักงาน กศน.จงั หวดั ลพบรุ ี

6. นางสาวนิตยา มขุ ลาย ศกึ ษานิเทศก สาํ นักงาน กศน.จงั หวัดลพบรุ ี

7. นางนุสรา สกลนกุ รกิจ หัวหนา กลมุ งานพฒั นาการเรียนการสอน

8. นางสาวชัญญากาญจน โคตรพฒั น 116
9. นางสาวชาลินี ธรรมธิษา
กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
นักจัดการงานทัว่ ไปชาํ นาญการ
กลุม พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
นกั วิชาการศึกษา
กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

คณะผจู ดั ทําตนฉบบั บทท่ี 3 STRONG : จิตพอเพยี งตา นการทุจริต

1. นายศภุ วฒั น สอนลา เจา พนักงานปอ งกนั การทจุ รติ ปฏิบตั ิการ สํานักตานทุจริตศกึ ษา

สาํ นักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ

2. นางสาววไิ ล แยม สาขา ขาราชการบํานาญ

3. นางสาววมิ ลรตั น ภรู คิ ุปต ผูอ าํ นวยการ กศน.เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร

4. นางสาวพัชยา ทบั ทิม ผูอาํ นวยการ กศน.เขตพระโขนง กรุงเทพมหานคร

5. นางสาววาสนา โกสยี ว ัฒนา ครเู ช่ยี วชาญ ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษา

ตามอธั ยาศัย กลุม เปา หมายพเิ ศษ

6. นายมงคลชัย ศรีสะอาด นกั วชิ าการศึกษาชาํ นาญการพเิ ศษ

ศูนยว งเดือนอาคมสรุ ทัณฑ จังหวัดอทุ ัยธานี

7. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาํ ไพศรี หัวหนากลุมงานประกันคณุ ภาพศึกษา

กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั

8. นางสาวฐิติมา วงศบณั ฑวรรณ นักวชิ าการศกึ ษาชาํ นาญการพเิ ศษ
9. นางสุกญั ญา กลุ เลศิ พทิ ยา กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
10. นางสาวชมพนู ท สังขพ ิชัย เจาพนกั งานธรุ การชาํ นาญงาน
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
นกั วชิ าการศึกษา
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

คณะผูจัดทาํ ตน ฉบบั บทที่ 4 พลเมอื งกบั ความรับผดิ ชอบตอ สงั คม

1. นายภัทรพล หงสจ ันทกานต เจา พนกั งานปอ งกนั การทจุ ริตปฏิบัติการ สํานกั ตา นทจุ รติ ศึกษา

สาํ นกั งานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจรติ แหง ชาติ

2. นางสาวพิมพาพร อนิ ทจกั ร ขาราชการบาํ นาญ

3. นายจริ พงศ ผลนาค ผอู ํานวยการ กศน.อําเภอสวรรคโลก จงั หวัดสโุ ขทัย

4. นางมณั ฑนา กาศสนุก ผอู าํ นวยการ กศน.อาํ เภอเมืองแมฮ อ งสอน จังหวัดแมฮองสอน

5. นางสาวอนงค ชูชยั มงคล ครูเชีย่ วชาญ ศูนยว งเดอื นอาคมสรุ ทัณฑ จงั หวัดอทุ ัยธานี

6. นางสาวอนงค เช้อื นนท 117
7. นางสาวพจนยี  สวสั ดร์ิ ัตน
ครชู าํ นาญการพเิ ศษ กศน.เขตบางเขน กรงุ เทพมหานคร
8. นางสาววรรณพร ปทมานนท ครชู ํานาญการพเิ ศษ กศน.อําเภอเมืองกาํ แพงเพชร
จังหวดั กําแพงเพชร
9. นางสาวทพิ วรรณ วงคเ รือน หัวหนากลมุ งานพฒั นาหลกั สูตร
กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
10. นางสาวขวญั ฤดี ลวิ รรโณ นักวชิ าการศกึ ษาชาํ นาญการ
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
นกั วิชาการศกึ ษา
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

118

การประชุมเชิงปฏบิ ตั กิ ารบรรณาธกิ ารสอ่ื ประกอบการเรียนรดู านการปอ งกนั การทจุ ริต
หลักสตู รตานทจุ รติ ศกึ ษา (Anti-Corruption Education)
ระหวา งวนั ที่ 30 กรกฎาคม - 2 สงิ หาคม 2562
ณ โรงแรมเบลลา บี จังหวัดนนทบรุ ี

คณะบรรณาธกิ าร ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน

1. นางพรทิพย เขม็ ทอง ขาราชการบาํ นาญ

2. นางชนิดา ดีย่งิ ขา ราชการบาํ นาญ

3. นางสาวอรณุ ี พันธพุ าณิชย ผอู าํ นวยการ กศน.อําเภอสงู เมน จังหวดั แพร

4. นางสาวอนงค ชชู ัยมงคล ครเู ชยี่ วชาญ ศูนยว งเดอื นอาคมสรุ ทัณฑ จังหวัดอทุ ัยธานี

5. นายโยฑนิ สมโนนนท ครูชํานาญการ กศน.อําเภอสนั ปาตอง จงั หวัดเชยี งใหม

6. นางสาวฐิติมา วงศบ ัณฑวรรณ นักวิชาการศึกษาชาํ นาญการพเิ ศษ

กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

7. นางสาวทพิ วรรณ วงคเ รือน นักวชิ าการศึกษาชาํ นาญการ

กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย

8. นายจตรุ งค ทองดารา นักวิชาการศึกษาปฏบิ ัตกิ าร

กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

119

คณะทํางาน

ทป่ี รกึ ษา พระประชาธรรม เลขาธกิ าร กศน.
ลีสุวรรณ รองเลขาธิการ กศน.
1. นายศรีชยั ไสยโสภณ ผูอาํ นวยการกลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบ
2. นางสาววิเลขา และการศกึ ษาตามอัธยาศัย
3. นางรงุ อรุณ

คณะทาํ งาน ไสยโสภณ ผอู ํานวยการกลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบ
และการศึกษาตามอธั ยาศัย
1. นางรุงอรณุ
หัวหนา กลมุ งานพัฒนาสอื่ การเรยี นรู
2. นายศภุ โชค ศรรี ัตนศิลป กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั

3. นางสาวชัญญากาญจน โคตรพัฒน นกั จดั การงานท่วั ไปชํานาญการ
กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
4. นางสาวทพิ วรรณ วงคเรือน
นกั วิชาการศกึ ษาชํานาญการ
5. นางสาวชมพูนท สังขพชิ ัย กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

นกั วชิ าการศึกษา
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั

ออกแบบปก ศรีรตั นศลิ ป หวั หนา กลุมงานพฒั นาส่อื การเรียนรู
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
นายศุภโชค


Click to View FlipBook Version