The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การป้องกันการทุจริต ม.ต้น (สค22022)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookchon, 2020-05-27 03:00:11

การป้องกันการทุจริต ม.ต้น (สค22022)

การป้องกันการทุจริต ม.ต้น (สค22022)

Keywords: การป้องกันการทุจริต,สค22022

36

2.1 ความพอเพยี ง
2.2 ความโปรงใส
2.3 ความตนื่ รู
2.4 มุง ไปขา งหนา
2.5 ความรู
2.6 ความเออ้ื อาทร

37

เรือ่ งที่ 1 องคป ระกอบของโมเดล STRONG

จติ พอเพยี งตานทจุ รติ ตามทป่ี ระเทศไทยไดม ยี ุทธศาสตรช าติวาดวยการปองกันและปราบปรามการ
ทุจริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) ไดมีการวิเคราะหภาพอนาคตของประชาชนและสังคมไทยในระยะ
5 ปขางหนา ไวว า หากยุทธศาสตรช าตฯิ ไดร บั ความรวมมือรวมใจจากทุกภาคสวนของสังคมไทยในการนําไป
ปฏิบตั ิจรงิ ประชาชนไทยจะมคี วามต่ืนตัวตอการทุจริตมากขนึ้ มีการใหความสนใจตอขา วสารและตระหนักถึง
ผลกระทบของการทุจริตท่ีมีตอประเทศ มีการแสดงออกซึ่งการตอตานการทุจริตท้ังในชีวิตประจําวันและ
การแสดงออกผานส่ือสาธารณะและสื่อสังคมออนไลนตาง ๆ ประชาชนในแตละชวงวัยไดรับกระบวนการ
กลอมเกลาทางสงั คมวา การทุจริต ถอื เปน พฤตกิ รรมทีน่ อกจากจะผดิ กฎหมายและทาํ ใหเกิดความเสียหายตอ
ประเทศแลว ยังเปนพฤติกรรมท่ีผิดจริยธรรม ไมไดรับการยอมรับจากสังคม ประชาชนตองเริ่มเรียนรูการ
ปรับเปลี่ยนฐานความคิดที่ทําใหสามารถแยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสวนรวมได
วัฒนธรรมทางสังคมที่มีฐานอยูบนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เน่ืองจากมีพ้ืนฐานจิตท่ีพอเพียงมีความ
ละอายตอการทุจริตประพฤตมิ ิชอบ และไมย อมใหผอู น่ื กระทําการทุจริตอนั สงผลใหเ กิดความเสยี หายตอสังคม
สว นรวม

หนวยงานทุกภาคสวนตองใหความสําคัญอยางแทจริงกับการตระหนักถึงจิตพอเพียงตานทุจริต
โดยประชาชนทกุ คนนาํ การประยกุ ตหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชประกอบกับหลักการตอตานการทุจริต
อน่ื ๆ เพอ่ื สรางฐานคดิ จิตพอเพียงตอตานทุจริตใหเกิดข้ึนเปนพื้นฐานความคิดของปจเจกบุคคล โดยประยุกตหลัก
“STRONG : จิตพอเพียงตานทุจริต” ซึ่งคิดคนโดย รองศาสตราจารย ดร.มาณี ไชยธีรา-นุวัฒศิริ ในป พ.ศ. 2560
มาเปนแนวทางในการพัฒนาวฒั นธรรมหนว ยงาน

38

หลักความพอเพยี ง โดยบุคคลสามารถแยกแยะ

ผลประโยชนส ว นตัวและผลประโยชนส ว นรวม

อยา งเปน อตั โนมัติ บคุ คลและหนวยงาน

รว มพัฒนาใหเ กิด ปฏิบัตงิ านบนฐาน
ความเอ้อื เฟอ อาทร
ตอ กันบนพื้นฐาน ของความโปรงใส

ของจริยธรรมและ
จติ พอเพยี ง

รแู ละพรอ ม
ลงมอื ปอ งกนั ทุจรติ

แสวงหาความรูอ ยางตอเน่อื ง มุงพฒั นาใหเ กดิ ความเจริญ
เพือ่ ใหเทาทันตอ สถานการณการทุจรติ โดยการตอ สกู บั การทจุ ริตไดอ ยางไมย อทอ

พัฒนาโดย การประยกุ ตหลกั ความพอเพยี งดว ยโมเดล
รศ.ดร. มาณี ไชยธีรานุวัฒศริ .ิ 2560.2561
STRONG : จิตพอเพียงตา นทุจรติ

ท่มี า : http://www.stopcorruption.moph.go.th=สะกดจิตเขาสูภวงั ค

STRONG : จิตพอเพยี งตานทุจรติ ประกอบดวย
1) S (Sufficient) : ความพอเพียง หมายถึง ผูนํา ผูบริหาร บุคคลทุกระดับ องคกรและชุมชน
นอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาปรบั ประยุกตเ ปน หลกั ความพอเพียงในการทํางาน การดํารงชีวิต
การพัฒนาตนเองและสวนรวม รวมถงึ การปองกันการทุจริตอยางยั่งยืน ซึ่งความพอเพียงตอส่ิงใดส่ิงหนึ่งของ
มนุษยแ มว า จะแตกตางกันตามพ้นื ฐาน แตการตดั สินใจวาความพอเพียงของตนเองตองตั้งอยูบนความมีเหตุมีผล
รวมท้ังตองไมเบียดเบียนตนเอง ผูอื่น และสวนรวม ความพอเพียงดังกลาวจึงเปนภูมิคุมกันใหบุคคลน้ัน
ไมก ระทําการทุจรติ ซง่ึ ตอ งใหค วามรูค วามเขา ใจ และปลุกใหตนื่ รู
2) T (Transparent) : ความโปรง ใส หมายถึง ผนู าํ ผบู รหิ าร บุคคลทุกระดับ องคกรและชุมชน
ตองปฏิบัติงานบนฐานของความโปรงใส ตรวจสอบได ดังน้ัน จึงตองมีและปฏิบัติตามหลักปฏิบัติ ระเบียบ
ขอ ปฏบิ ตั ิ กฎหมาย ดานความโปรง ใส ซึง่ ตอ งใหความรูความเขา ใจ และปลกุ ใหต ่ืนรู
3) R (Realize) : ความตืน่ รู หมายถึง ผูน ํา ผูบรหิ าร บุคคลทกุ ระดับ องคกรและชุมชน มีความรู
ความเขาใจ และตระหนักรถู งึ รากเหงาของปญ หาและภัยรายแรงของการทุจริตประพฤติมิชอบ ภายในชุมชน
และประเทศ ความตื่นรจู ะบังเกิดเมือ่ ไดพบเหน็ สถานการณท่ีเสีย่ งตอการทจุ รติ ยอ มจะมปี ฏิกริ ิยาเฝา ระวงั และ

39

ไมยินยอมตอการทุจริตในทส่ี ุดซงึ่ ตอ งใหความรูความเขา ใจเกยี่ วกบั สถานการณการทุจริตท่ีเกิดข้ึน ความรายแรง
และผลกระทบตอระดับบุคคลและสวนรวม

4) O (Onward) : มุงไปขางหนา หมายถึง ผูนํา ผูบริหาร บุคคลทุกระดับ องคกรและชุมชน
มุงพัฒนาและปรับเปล่ียนตนเองและสวนรวมใหมีความเจริญกาวหนาอยางย่ังยืน บนฐานความโปรงใส
ความพอเพียงและรวมสรางวัฒนธรรมสุจริตใหเกิดขึ้นอยางไมยอทอ ซึ่งตองมีความรูความเขาใจในประเด็น
ดงั กลาว

5) N (Knowledge) : ความรู หมายถงึ ผูนํา ผูบริหาร บุคคลทุกระดับ องคกรและชุมชน ตองมี
ความรูความเขาใจสามารถนําความรูไปใช สามารถวิเคราะห สังเคราะห ประเมินไดอยางถองแท ในเร่ือง
สถานการณก ารทจุ ริต ผลกระทบทม่ี ีตอ ตนเองและสวนรวม ความพอเพียงตานทุจริต การแยกแยะผลประโยชน
สว นตนและผลประโยชนส ว นรวมทมี่ ีความสําคัญยงิ่ ตอการลดการทุจรติ ในระยะยาว รวมท้ัง ความอายไมกลา
กระทําการทุจรติ และเกิดความไมท นเม่อื พบเหน็ วา มีการทุจริตเกดิ ข้ึนเพือ่ สรา งสงั คมไมท นตอ การทุจริต

6) G (Generosity) : ความเอ้ืออาทร หมายถงึ คนไทยมีความเอื้ออาทร มีเมตตา มีนํ้าใจ ตอกัน
บนฐานของจติ พอเพียงตานทจุ ริต ไมเอือ้ ตอ การรบั หรือการใหผลประโยชนตอ พวกพอ ง

40

เรือ่ งที่ 2 การประยกุ ตหลกั ความพอเพียงดว ยโมเดล STRONG : จติ พอเพยี งตานทจุ รติ

การนาํ หลกั ความพอเพยี งมาประยกุ ตใชด วยโมเดล STRONG : จติ พอเพยี งตานทจุ ริต มาใชในเร่อื ง
ตา ง ๆ ตอ ไปน้ี

2.1 ความพอเพยี ง (Sufficient)
พระราชดาํ รสั ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
(พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช ในหลวงรชั กาลที่ 9) พระราชทานแกบุคคลตาง ๆ ท่ีเขาเฝาฯ
ถวายชัยมงคลเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดาฯ พระราชวังดุสิต
วันที่ 4 ธันวาคม 2541
“...คําวาพอเพียง มีความหมายกวางออกไปอีก ไมไดหมายถึงการมีพอสําหรับใชของตัวเองมี
ความหมายวาพอมี พอกิน พอมีพอกินนี้ ถาใครไดมาอยูท่ีนี่ ในศาลาน้ีเม่ือ 24 ป 2517 ถึง 2541 ก็ 24 ป
ใชไหม วันนั้นไดพูดถึงวา เราควรจะปฏิบัติใหพอมีพอกิน พอมี พอกินน้ีก็แปลวาเศรษฐกิจพอเพียงนั่นเอง
ถาแตละคนพอมี พอกิน ก็ใชได ย่ิงถาท้ังประเทศพอมีพอกินก็ยิ่งดีและประเทศไทยก็เวลาน้ัน ก็เร่ิมจะเปน
ไมพ อมี บางคนกม็ ีมาก บางคนกไ็ มมเี ลย สมัยกอ นน้พี อมพี อกนิ มาสมัยนชี้ ักจะไมพอมีพอกิน จงึ ตอ งมนี โยบาย
ที่จะทําเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพ่ือท่จี ะใหทุกคนมพี อเพยี งได...”
“...คําวาพอก็เพียง พอเพียงนี้ก็พอดังนั้นเอง คนเราถาพอในความตองการ ก็มีความโลภนอย
เม่อื มีความโลภนอย ก็เบียดเบียนคนอื่นนอย ถาทุกประเทศใดมีความคิด อันน้ีไมใชเศรษฐกิจ มีความคิดวา
ทําอะไรตองพอเพยี ง หมายความวา พอประมาณ ไมส ุดโตง ไมโลภอยา งมาก คนเรากอ็ ยูเปน สุข พอเพียงน้ีอาจจะ
มมี าก อาจจะมีของหรหู ราก็ได แตวา ตองไมไปเบียดเบียนคนอนื่ ตองใหพอประมาณ พูดจาก็พอเพยี ง ทําอะไร
ก็พอเพยี ง ปฏบิ ัติตนก็พอเพียง...”
“...อยา งเคยพูดเหมอื นกนั วา ทานท้งั หลายทนี่ ัง่ อยตู รงนี้ ถาไมพ อเพียง คือ อยากจะไปนั่งบนเกาอ้ี
ของผูท ีอ่ ยูขาง ๆ อันนั้นไมพอเพียงและทาํ ไมได ถา อยากน่งั อยางนน้ั ก็เดอื นรอนกนั แนเ พราะวา อดึ อดั จะทําให
ทะเลาะกัน และเม่อื มีการทะเลาะกนั กไ็ มม ปี ระโยชนเ ลย ฉะนั้น ควรทีจ่ ะคิดวาทําอะไรพอเพียง...”
“...ถาใครมีความคิดอยางหน่ึงและตองการใหคนอื่นมีความคิดอยางเดียวกับตัวซ่ึงอาจจะไมถูก
อันน้กี ไ็ มพอเพียง การพอเพียงในความคิดก็คือ แสดงความคิด ความเห็นของตัว และปลอยใหอีกคนพูดบาง
และมาพิจารณาวาท่เี ขาพูดกบั ทเี่ ราพดู อนั ไหนพอเพยี ง อันไหนเขาเรือ่ ง ถาไมเขาเรื่องก็แกไขเพราะวาถาพูด
กันโดยท่ีไมร ูเรื่องกัน ก็จะกลายเปนการทะเลาะ จากการทะเลาะดวยวาจาก็กลายเปนการทะเลาะดวยกาย
ซ่งึ ในทส่ี ดุ กน็ ํามาสคู วามเสยี หาย เสียหายแกคนสองคนที่เปนตัวการ เปนตัวละครท้ังสองคน ถาเปนหมูก็เลย
เปนการตีกนั อยา งรนุ แรง ซึ่งจะทําใหคนอื่นอีกมากเดือดรอน ฉะนัน้ ความพอเพียงน้ีก็แปลวา ความพอประมาณ
และความมีเหตุผล...”

41

การนอ มนาํ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาปฏิบัติ
“เศรษฐกิจพอเพียง” เปนปรัชญาชี้ถึงแนวการดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนทุกระดับ
ต้ังแตระดับครอบครัว ระดับชมุ ชน จนถึงระดบั รัฐ ทง้ั ในการพัฒนาและบรหิ ารประเทศใหด าํ เนนิ ไปในทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจเพื่อใหกาวทันตอโลกยุคโลกาภิวัตน
ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนที่จะตองมีระบบ
ภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควรตอการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน
ทั้งนีจ้ ะตอ งอาศยั ความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยางย่ิงในการนําวิชาการตาง ๆ มาใชในการ
วางแผนและการดําเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ
โดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนกั ธรุ กิจในทกุ ระดับ ใหม ีสํานึกในคุณธรรมความซอื่ สตั ยส ุจริต และ
ใหมคี วามรอบรูท่ีเหมาะสม ดาํ เนินชีวติ ดวยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญญา และความรอบคอบ เพื่อให
สมดลุ และพรอมตอการรองรับการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวางทั้งดานวัตถุ สังคม ส่ิงแวดลอม
และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเ ปนอยา งดี”
การนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติ ทุกคนสามารถนําหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง มาเปนหลักปฏิบัติในการดําเนินชีวิตได ไมใชเฉพาะในหมูคนจนหรือเกษตรกร โดยตอง
“ระเบิดจากขางใน” คือ การเกดิ จิตสาํ นึก มคี วามศรัทธา เชื่อม่นั เหน็ คณุ คา และนําไปปฏิบัติดวยตนเอง แลวจึง
ขยายไปสูครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาตติ อไป
ความพอเพียงระดับบคุ คลและครอบครัว มงุ เนนใหบคุ คลและครอบครัวอยูรวมกันอยางมีความสุข
ทง้ั ทางกายและทางใจ พึ่งพาตนเองอยางเต็มความสามารถ ไมทําอะไรเกินตัว ดําเนินชีวิตโดยไมเบียดเบียน
ตนเองและผูอนื่ รวมทัง้ ใฝรูและมีการพัฒนาตนเองอยางตอเน่ือง เพ่ือความมั่นคงในอนาคต และเปนท่ีพ่ึงให
ผูอ่ืนไดใ นทส่ี ดุ เชน หาปจ จยั ส่ีมาเล้ียงตนเองและครอบครวั จากการประกอบสมั มาชพี รขู อมลู รายรบั -รายจา ย
ประหยัดแตไมใชตระหนี่ ลด-ละ-เลิก อบายมุข สอนใหเด็กรูจักคุณคา รูจักใช และรูจักออมเงินและส่ิงของ
เครื่องใช ดูแลรักษาสุขภาพ มีการแบงปนภายในครอบครัว ชุมชน และสังคมรอบขาง รวมถึงการรักษา
วัฒนธรรม ประเพณี และการอยรู ว มกบั ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอมไดอ ยา งเหมาะสม
ความพอเพยี งระดับชุมชน คนในชุมชนมกี ารรวมกลุมกันทาํ ประโยชนเพ่อื สว นรวม ชวยเหลือเก้ือกูลกนั
ภายในชุมชนบนหลักของความรูรักสามัคคี สรางเปนเครือขายเชื่อมโยงกันในชุมชนและนอกชุมชนทั้งดาน
เศรษฐกจิ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ ม เชน การวมกลมุ อาชีพ องคกรการเงิน สวัสดิการชุมชน
การชว ยดูแลรักษาความสงบ ความสะอาด ความเปนระเบียบเรียบรอย รวมท้ังการใชภูมิปญญาทองถ่ินและ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในชุมชนมาสรางประโยชนไดอยางเหมาะสม เพ่ือสรางเสริมชุมชนใหมี
ความเขมแข็งและมคี วามเปน อยทู พ่ี อเพยี ง
ความพอเพยี งในภาคธุรกิจเอกชน เร่ิมจากความมุงมั่นในการดําเนินธุรกิจท่ีหวังผลประโยชนหรือ
กําไรในระยะยาวมากกวาระยะสั้น แสวงหาผลตอบแทนบนพื้นฐานของการแบงปน มุงใหทุกฝายที่เกี่ยวของ
ไดรับประโยชนอยางเหมาะสมและเปน ธรรมทง้ั ลกู คา คูคา ผูถือหุน และพนักงานดานการขยายธุรกิจตองทํา
อยางคอยเปนคอยไป รวมทั้งตองมีความรูและเขาใจธุรกิจของตนเอง รูจักลูกคา ศึกษาคูแขง และเรียนรู

42

การตลาดอยางถองแท ผลิตในสิ่งที่ถนัดและทําตามกําลังสรางเอกลักษณท่ีแตกตางและพัฒนาคุณภาพ
ผลติ ภัณฑอยางตอเนอ่ื ง มีการเตรยี มความพรอมตอ การเปลีย่ นแปลงทอ่ี าจเกดิ ข้นึ มคี วามซอื่ สตั ยรบั ผิดชอบตอ
สังคมและปอ งกันผลกระทบตอ สงิ่ แวดลอ ม ท่ีสําคญั ตองสรา งเสรมิ ความรแู ละจดั สวัสดกิ ารใหแกพ นกั งานอยาง
เหมาะสม

ความพอเพียงระดับประเทศ เปนการบริหารจัดการประเทศ โดยเร่ิมจากการวางรากฐาน
ใหประชาชนสวนใหญอยูอยางพอมีพอกิน และพ่ึงตนเองได มีความรูและคุณธรรมในการดําเนินชีวิต มีการ
รวมกลมุ ของชมุ ชนหลาย ๆ แหง เพื่อแลกเปล่ียนความรู สืบทอดภูมิปญญา และรวมกันพัฒนาตามแนวทาง
เศรษฐกจิ พอเพียงอยางรู รักสามัคคี เสริมสรางเครือขายเช่ือมโยงระหวางชุมชนใหเกิดเปนสังคมแหงความ
พอเพยี งในทีส่ ดุ

การประยกุ ตใ ชหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงในดานตา ง ๆ
ดานเศรษฐกิจ ไมใชจายเกินตัว ไมลงทุนเกินขนาด คิดและวางแผนอยางรอบคอบ มีภูมิคุมกัน
ไมเ สี่ยงเกินไป
ดา นจิตใจ มีจิตใจเขมแข็ง มีจิตสํานึกที่ดี เอ้ืออาทร เห็นแกประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชน
สว นตวั
ดา นสังคมและวัฒนธรรม ชว ยเหลือเก้ือกูลกัน รูรัก สามัคคี สรางความเขมแข็งใหครอบครัวและ
ชมุ ชน รักษาเอกลกั ษณ ภาษา ภมู ปิ ญญา และวัฒนธรรมไทย
ดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม รูจักใชและจัดการอยางฉลาดและรอบคอบ ฟนฟู
ทรพั ยากรเพอ่ื ใหเ กิดความย่งั ยืนและคงอยชู วั่ ลูกหลาน
ดา นเทคโนโลยี รูจักใชเ ทคโนโลยที เ่ี หมาะสม สอดคลองกับความตองการและสภาพแวดลอมและ
พฒั นาเทคโนโลยีจากภมู ิปญ ญาชาวบา น
ผลทีค่ าดวา จะไดร ับ
การนอมนาํ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาประยุกตใชในทุกภาคสวนของสังคมอยางจริงจัง
จะสง ผลใหการพฒั นาประเทศกาวหนาไปอยางสมดลุ ม่ันคง และยั่งยืน พรอมรับกับการเปลี่ยนแปลงในทุกดาน
ทั้งดานชีวิต เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดลอม และเทคโนโลยี อันจะนําไปสู “ความอยูเย็นเปนสุข
รว มกนั ในสงั คมไทย”

43

แบบอยางในเรอ่ื งของความพอเพียง

เร่ือง ฉลองพระองค บนความ “พอเพยี ง” : หนังสอื พิมพค มชดั ลกึ 24 ตุลาคม 2559

นายสุนทร ชนะศรีโยธิน เจาของรานสูท “วินสัน เทเลอร” ไดบอกเลาพระราชจริยวัตรในดาน
“ความพอเพียง” ท่ีพระองคทานทรงปฏิบัติมาอยางตอเนื่องวา “นายตํารวจนํามาใหผมซอมเปนผารัดอก
สาํ หรับเลน เรือใบสภาพเกา มากแลว นายตํารวจทา นน้นั บอกวา ไมม รี า นไหนยอมซอ มใหเลย ผมเห็นวายังแกไขได
ก็รับมาซอ มแซมใหไ มคดิ เงนิ เพราะแคนึกอยางบริการแกไขใหดีใหลูกคาประทับใจ แตไมรูมากอนวาเขาเปน
เจา หนาทใี่ นพระราชสํานัก ตอนนนั้ ผมบอกไมค ิดคาตดั บอกเขาวา ไมร ับเงิน แกไ ขแคน้ี ผมมีน้ําใจ ผมเปดรานเส้ือ
เพราะตองการใหม ชี ่อื เสยี งดานคุณภาพและบริการลูกคามากกวา แกไขนิดเดียวก็อยากทําใหเขาดี ๆ ไมตอง
เสียเงิน ตอนน้ันเขาถามผมอีกวา แลวจะเอามาใหทําอีกไดไหม เราก็บอกไดเลย ผมบริการให จากน้ันเราก็
รบั แกช ดุ ใหน ายตาํ รวจทานน้เี ร่อื ย ๆ เขาขอใหค ิดเงนิ ก็ไมค ิดให พอครงั้ ท่ี 5 นี่สิทานเอาผามา 4 - 5 ผืน จะใหตัด
ถามผมวา เทาไหร ๆ แลวก็รีบควักนามบัตรมาใหผม ทานช่ือ พล.ต.ต.จรัส สุดเสถียร ตําแหนงเขียนวา
เปนนายตาํ รวจประจาํ ราชสํานกั ทา นบอกวา “สิง่ ที่เถา แกทาํ ใหเปน ของพระเจา อยูหวั นะ” ผมองึ้ มากรีบยกมือ
ทวมหัว “ดีใจท่ีไดรับใชเบ้ืองพระยุคลบาทแลว” นายสุนทรเลาดวยนํ้าเสียงตื้นตันใจแตละฉลองพระองค
ท่ีไดรับมาใหซอมแซม ถาเปนคนอ่ืนผาเกาขนาดนั้นเขาไมซอมกันแลว เอาไปทิ้งหรือใหคนอ่ืน ๆ ไดแลว
แตพ ระเจา อยูหวั รัชกาลท่ี 9 ทรงมคี วามมัธยัสถแตล ะองคที่เอามาเกามาก เชน เสื้อสูทสฟี าชัยพฒั นา ผาเกาสีซีด
มากแลว ตรงตราชัยพัฒนามัวหมอง ตรงดิ้นทองก็หลุดเกือบหมด ผมเอามาแกะหมดเลยใหโรงงานปกใหม
ใหเ หมอื นแบบเดมิ เพราะเขา ใจวาทา นอยากไดฉลองพระองคองคเดิม แตเปลี่ยนตราใหดูใหม ถาสมมติวันนี้
มเี จาหนา ทม่ี าสงซอ ม พรุง นีเ้ ยน็ ๆ ผมก็ทาํ เสร็จสงคนื เขาไป เจา หนาทท่ี ีม่ ารบั ฉลองพระองคช อบถามวา ทําไม
ทําไว ผมตอบเลยวา เพราะตัง้ ใจถวายงานครับ ผมอยผู ืนแผน ดินไทย ใตรม พระบารมีของพระองค ผมก็อยาก
ไดร ับใชเ บ้อื งพระยุคลบาทสักเรื่อง ผมเปน แคชางตัดเส้ือ ไดร บั ใชข นาดนี้ผมกป็ ลมื้ ปต ทิ ีส่ ุดแลว

“ผมถอื โอกาสนําหลกั เศรษฐกจิ พอเพียงของพระองคท านมาใชต ลอด เสื้อผาเกา ๆ ท่ีไดรับมาวันแรก
ทาํ ใหร วู า พระองคทรงอยูอ ยางประหยัด มธั ยสั ถ ทรงเปนแบบอยางความพอเพียงใหแกประชาชนและเม่ือได
ถวายงานบอ ยคร้ัง ทาํ ใหผมตระหนักวา คนเราวันหนง่ึ ตอ งคิดพจิ ารณาตวั อยางวาสิ่งไหนบกพรอ งก็ตอ งแกไ ขสิ่งนั้น
ทุกคนตอ งแกไ ขสิ่งทบ่ี กพรองกอน งานถึงจะบรรลเุ ปา หมาย และเม่ือประสบความสําเร็จแลวอยาลืมต้ังใจทํา
ส่ิงดี ๆ ใหประเทศชาติตลอดไป” ขอคิดและขอปฏิบัติดี ๆ ท่ีชางสุนทรไดรับจากพระบาทสมเด็จ
พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล-
อดลุ ยเดช ในหลวงรชั กาลท่ี 9)

44

ฉลองพระบาท ก. เปรมศลิ ป ชางซอ มฉลองพระบาท รอยเทา ในหลวง ร. 9 รอยเทา ของความพอเพยี ง
นายศรไกร แนน ศรนี ลิ หรือชางไก ชางนอกราชสาํ นักผถู วายงานซอมฉลองพระบาทในหลวง รัชกาลท่ี 9

มานานกวา 10 ป ปจจุบันยังเปนเจา ของรา นซอมรองเทา ก. เปรมศิลป บริเวณส่แี ยกพิชยั เขตดุสิต กรุงเทพฯ
ประมาณป 2546 มลี กู คา สวมชดุ พระราชสาํ นักมา 2 คน เดินประคองถุงผาลายสกอต ดานในเปนรองเทาเขามา
ในราน พอวางรองเทาก็กมลงกราบ เลยถามวา เอาอะไรมาให ลูกคารายน้ันตอบวา ฉลองพระบาทของ
พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูห ัว รัชกาลที่ 9 ไดย ินเทา น้นั ทําตัวไมถกู ขนลุก พูดอะไรไมถูก ในใจคิดแตเพียงวา
โชคดแี ลว ไมน กึ ไมฝ น วา จะมโี อกาสไดซ อมรองเทา ของเจาฟา เจา แผนดิน ชางไกเลาวา “รองเทาคูแรกที่ในหลวง
รัชกาลที่ 9 ทรงนํามาซอม เปนรองเทาหนังสีดํา ทรงคัทชู แบรนดไทยเปนฉลองพระบาทคูโปรดของพระองค
เบอร 43 เทา ทสี่ ังเกตสภาพชํารดุ ทรุดโทรม ราวกบั ใสใชงานมาแลวหลายสบิ ป ภายในรองเทาผุกรอนหลุดลอก
หลายแหง ถาเปน คนทั่วไปจะแนะนาํ ใหท งิ้ แลวซื้อใหม”

“จริง ๆ ผมใชเวลาซอมรองเทา คนู นั้ ไมถงึ 1 ช่ัวโมงก็เสร็จ แตดวยความที่อยากใหรองเทาคูน้ันอยู
ในบา นใหน าน เลยบอกเจาหนา ทีว่ า ใชเวลาซอ ม 1 เดอื น ซ่งึ ฉลองพระบาทคูนี้ ทรงโปรดใชท รงดนตร”ี

นับจากน้นั เปน ตนมาชางไกย งั มโี อกาสไดถวายงานซอมฉลองพระบาทอีกหลายคู ซ่ึงคูที่ 2 และคูท่ี 3
เปน รองเทา หนงั สีดาํ ทรงคทั ชู คูท ี่ 4 ฉลองพระบาทหนังววั ทรงฮาฟ มกั ใสในงานราชพิธีซ่ึงฉลองพระบาทคูนี้
มรี อยพระบาทตดิ มากบั แผน รองเทา ชา งไกเก็บแผนรองเทา ไวทีร่ า นเพ่ือความเปน สริ ิมงคล สว นฉลองพระบาท
คทู ี่ 5 ทรงนํามาเปล่ียนพืน้ ฉลองพระบาทคทู ี่ 6 เปนรองเทา เปด สน ซงึ่ คุณทองแดงสนุ ัขทรงเล้ียงกัด รวมแลว
ท้ังหมด 6 คู

“ผมซอมฉลองพระบาททุกคอู ยางสดุ ความสามารถ ซ่ึงรองเทา ของพระองคจะนําไปวางปนกับของ
ลูกคาคนอื่นไมได เลยซือ้ พานมาใสพรอ มกบั ผาสีเหลืองมารอง แลวนําไปวางไวท่ีสูงที่สุดในรานเพราะทานคง
ทรงโปรดมาก สภาพรองเทาชํารุดมาก ซับในรองเทาหลุดออกมาหมด ถาเปนเศรษฐีทั่วไปคงจะไมนํามาใชแลว
แตนี่พระองคย งั ทรงใชค ูเ ดิมอยู”

ประการสําคัญท่ีทําใหชายผูน้ีไดเรียนรูจากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล-
อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9)
คอื “ความพอเพียง” ขนาดฉลองพระบาทขาดและเกา ยังสงมาซอ ม หากคนไทยเดนิ ตามรอยของพระองคทาน
ชวี ติ ไมฟ ุงเฟอจะเปนสขุ กันมากกวาน้ี

“ดร. สเุ มธ ตันติเวชกุล” เขียนไวใ นหนังสอื “ใตเบอ้ื งพระยุคลบาท”
“...พระองคทา น ทรงเปน ผนู าํ อยา งแทจริง ดูแคฉลองพระบาท เปนตน พวกตามเสด็จฯ ท้ังหลาย
ใสร องเทานอก และย่ิงมาจากตางประเทศใสแลวนุมเทาดี พระองคกลับทรงรองเทาที่ผลิตในเมืองไทยคูละ
รอ ยกวาบาทสดี าํ เหมอื นอยา งทีน่ ักเรยี นใสกัน แมกระท่งั พวกเรายังไมซื้อใสเลย...”

45

กจิ กรรมท่ี 1

1. ใหผูเรียนตอบคาํ ถาม ตอไปนี้
1.1 ความพอเพยี ง มคี วามหมายวา อยางไร

1.2 ยกตวั อยา งพฤตกิ รรมท่แี สดงใหเ หน็ วา ผูเรยี นใชชวี ิตพอเพียง

46

1.3 บอกประโยชนของการปฏิบัตติ นอยางพอเพียงท่ีสง ผลตอตนเอง ผูอ่นื และประเทศชาติ

47

กิจกรรมที่ 2

ใหผ ูเ รยี นแบง กลมุ ศกึ ษาขาวเกีย่ วกบั การทจุ รติ จากส่ือส่ิงพมิ พ สอื่ อเิ ล็กทรอนกิ ส พรอ มสรปุ โดยเตมิ คํา
ในชอ งวางในแผนภมู ิ

พฤติกรรมทีท่ จุ รติ
โดยไมมีความพอเพียง

กจิ กรรมท่ี 2

48

2.2 ความโปรง ใส (Transparency)

ความหมาย
ความโปรงใส (Transparency) หมายถึง การกระทําใด ๆ ของภาครัฐทั้งในระดับบุคคลและ
องคกรที่ผูอ่ืนสามารถมองเห็นได คาดเดาได และเขาใจได ครอบคลุมถึงทุกการกระทําท่ีเปนผลจากการ
ตัดสนิ ใจของผบู ริหาร การดําเนินงานทางธุรกิจ และงานสาธารณประโยชนตาง ๆ เชน การมีระบบงานและ
ขนั้ ตอนการทํางานท่ีชดั เจน ซ่ึงดูไดจาก กฎ ระเบียบ หรือประกาศ การมีหลักเกณฑประเมินหรือการใหคุณ
ใหโ ทษทีช่ ดั เจน การเปด เผยขอมลู ขา วสารทถ่ี ูกตอ งอยางตรงไปตรงมา ความโปรง ใส จึงเปนเคร่ืองมือที่สําคัญ
ในการตรวจสอบความถูกตอง และชวยปองกันไมใหเกิดการทุจริต รวมท้ังนําไปสูการสรางความไววางใจ
ซ่ึงกันและกันทง้ั ระหวา งผปู ฏิบัตริ วมกันในองคก รเดียวกนั ระหวา งประชาชนตอรัฐไปจนถงึ ระหวา งคนในชาติดวยกัน
ดังนัน้ ทุกองคก รไมว า จะเปน หนว ยงานภาครัฐหรือภาคเอกชน ควรปรับปรุงกลไกการทาํ งานใหมคี วามโปรงใส
มีการเปด เผยขอ มูลขา วสารทเี่ ปนประโยชนอยางตรงไปตรงมาดวยภาษาทเ่ี ขา ใจงา ย เพ่ือประชาชนจะไดเขาถงึ
ขอมลู ขาวสารไดโ ดยสะดวก และชวยตรวจสอบความถูกตองในการทาํ งานได
ความละอายและความไมท นตอ การทจุ ริต
การทุจริต มีผลกระทบตอ การพัฒนาประเทศ ทาํ ใหเ กดิ ความเสยี หายอยางมากในดานตาง ๆ หาก
นําเงินท่ีทจุ รติ มาพัฒนาในสว นอน่ื ความเจรญิ หรอื การไดร บั โอกาสของผูดอ ยโอกาสกจ็ ะมีมากขึ้น ความเหล่ือม
ล้ําดานโอกาสทางดานสังคม ทางดานการศึกษา ฯลฯ ของประชาชนในประเทศก็จะลดนอยลง ดังที่เห็น
ในปจ จบุ ันวา ความเจรญิ ตา ง ๆ มักอยูก ับคนในเมืองมากกวา ชนบท ทงั้ ๆ ท่คี นชนบทกค็ อื ประชาชนสวนหน่ึง
ของประเทศ แตเพราะอะไร ทาํ ไมประชาชนเหลาน้นั จงึ ไมไดรับโอกาสท่ีทัดเทียมหรือใกลเคียงกับคนในเมือง
ปจจยั หนง่ึ คือ การทจุ รติ สาเหตุการเกดิ การทุจรติ มหี ลายประการตามที่กลา วมาขา งตน แตทําอยางไรจึงทําให
มีการทุจรติ ไดม าก อยา งหนงึ่ คอื การลงทุน เม่อื มกี ารลงทนุ ก็ยอมมีงบประมาณ เม่อื มีงบประมาณกเ็ ปน สาเหตุ
ใหบุคคลท่ีทุจริตสามารถหาชองทางดังกลาวในการทุจริตได แมประเทศไทยจะมีกฎหมายหลายฉบับ
เพือ่ ปองกนั การทุจรติ และปราบปรามการทุจรติ แตน่นั กค็ อื ตวั หนงั สือทีไ่ ดเ ขยี นไว แตการบงั คับใชยงั ไมจ รงิ จงั
เทาที่ควรและย่ิงไปกวานั้น หากประชาชนเห็นวาเรื่องดังกลาวไมเก่ียวของกับตนเองก็มักจะไมอยากเขาไป
เกย่ี วขอ ง เนอ่ื งจากตนเองก็ไมไ ดรบั ผลกระทบท่เี กิดขึ้น แตก ารคดิ ดังกลาวเปนส่ิงผิด เนื่องจากตนเอง อาจจะ
ไมไ ดร บั ผลกระทบโดยตรงตอ การทม่ี คี นทุจริต แตโดยออ มแลว ถือวา ใช เชน เม่อื มีการทุจริตมาก งบประมาณ
ของประเทศท่ีจะพฒั นาหรือลงทนุ กล็ ดนอยลง อาจสง ผลใหป ระเทศไมสามารถจา งแรงงานหรือลงทุนได
ความเสียหายทีเ่ กดิ จากการทุจรติ หากเปน การทุจริตในโครงการใหญ ๆ แลว ปริมาณเงินที่ทุจริต
ยอมมมี าก ความเสียหายก็ยอมมีมากไปดวย ซึ่งจะเห็นไดวาความเสียหายที่เกิดข้ึนน้ันมีมูลคามากมาย และ
น่เี ปน เพียงโครงการเดยี วเทานน้ั หากรวมเอาการทจุ ริตหลาย ๆ โครงการ หลาย ๆ กรณีเขาดวยกัน จะพบวา
ความเสียหายทเี่ กดิ ข้นึ มานน้ั มากมายมหาศาล ดงั น้นั เมื่อเปน เชนน้ีแลว ประชาชนจะตองมคี วามต่ืนตัวในการที่
จะรว มมือกันปองกนั และปราบปรามการทจุ ริต รวมมอื กันในการเฝา ระวงั เหตกุ ารณ สถานการณท่ีอาจเกิดการ
ทุจรติ ได เม่ือประชาชนรวมทงั้ ภาคเอกชน ภาคธุรกิจมีความต่ืนตัวท่ีจะรวมมือกันในการแกไขปญหาดังกลาว
ปญหาการทุจริตกจ็ ะถือเปน ปญหาเพียงเลก็ นอ ยของประเทศไทย เพราะไมว า จะทาํ อยา งไรกจ็ ะมีการสอดสอง

49

ติดตาม เฝา ระวงั เร่ืองการทุจริตอยางตอเน่ือง ดังนั้นแลวสิ่งสําคัญสิ่งแรกท่ีจะตองสรางใหเกิดข้ึน คือ ความ
ตระหนักรถู งึ ผลเสยี ทเ่ี กิดขน้ึ จากการทจุ รติ สรางใหเกิดการต่ืนตัวตอการปราบปรามการทุจริต การไมทนตอ
การทุจริต ใหเกดิ ขน้ึ ในสังคมไทย

เมื่อประชาชนในประเทศมีความตื่นตัวที่วา “ไมทนตอการทุจริต” แลว จะทําใหเกิดกระแสการ
ตอ ตานการกระทาํ ทจุ รติ และคนทที่ ําทจุ ริตก็จะเกดิ ความละอายไมกลา ที่จะทจุ รติ ตอ ไป เชน หากพบเห็นวามี
การทจุ ริตเกดิ ขึน้ อาจมีการบันทึกเหตุการณหรือลักษณะการกระทํา แลวแจงขอมูลเหลานั้นไปยังหนวยงาน
หรือสื่อมวลชนเพ่ือรวมกันตรวจสอบการกระทําท่ีเกิดขึ้น และยิ่งในปจจุบันเปนสังคมสมัยใหม และกําลัง
เดินหนาประเทศไทยใหกาวสูยุคไทยแลนด 4.0 แตการจะเปน 4.0 ใหสมบูรณแบบไดน้ัน ปญหาการทุจริต
จะตองลดนอยลงไปดวย เมื่อประชาชนมีความตื่นตัวตอการท่ีไมทนตอการทุจริตแลว ผลที่เกิดขึ้นจะเปน
อยางไร

ตัวอยางทจี่ ะนาํ มากลา วถงึ ตอไปนเ้ี ปนกรณที ีเ่ กดิ ขึ้นในตางประเทศ แสดงใหเห็นถึงการไมท นตอ การ
ทจุ รติ ทีป่ ระชาชนไดลกุ ขึ้นมาสตู อ ตานนกั การเมืองทที่ ําทุจรติ จนในทีส่ ดุ นักการเมอื งเหลาน้ันหมดอํานาจทาง
การเมืองและไดรบั บทลงโทษท้งั ทางสงั คมและทางกฎหมาย ดังนี้

ที่มา : http://www.bbc.com/thai/international-39227441

ประเทศเกาหลีใต เกาหลีใต ถือเปนประเทศหน่ึงที่ประสบความสําเร็จในดานการปองกันและ
ปราบปรามการทจุ รติ แตย ังคงมปี ญ หาการทจุ ริตเกิดข้ึนอยบู าง เชน เม่อื ป พ.ศ.2559 มีขาวของประธานาธิบดี
ถกู ปลดออกจากตําแหนง เพราะเขา ไปมสี ว นเกยี่ วของในการเอือ้ ประโยชนใ หพ วกพองโดยการถูกกลาวหาวาให
เพ่ือนสนทิ ของครอบครวั เขามาแทรกแซงการบริหารประเทศ รวมถึงใชค วามสมั พันธทใี่ กลช ดิ กบั ประธานาธิบดี
แสวงหาผลประโยชนส ว นตัว ผลทีเ่ กิดข้นึ คอื ถูกดาํ เนนิ คดีและต้งั ขอ หาวาพวั พนั การทุจริตและใชอํานาจหนาที่
ในทางมิชอบ เพือ่ เอ้อื ผลประโยชนใหแ กพวกพอง กรณีทีเ่ กดิ ขึน้ นี้ประชาชนเกาหลีใตไดมีการรวมกันประทวง
กวาพนั คนเรยี กรองให ประธานาธบิ ดคี นดงั กลาวออกจากตาํ แหนง หลังมีเหตอุ อื้ ฉาวทางการเมือง

อีกกรณีทก่ี ลาวถงึ เพื่อเปนตัวอยางการตอตานการกระทําท่ีไมถูกตอง คือ การท่ีนักศึกษาคนหน่ึง
ไดเขาเรียนท่ีมหาวิทยาลัยท้ังที่ผลคะแนนท่ีเรียนมาน้ันไมไดสูง และการที่คุณสมบัติของนักศึกษาดังกลาว
มีคุณสมบตั ิไมตรงกับการคัดเลือกโควตานกั กีฬาท่ีกําหนดไวว า จะตอ งผา นการแขงขันประเภทเดี่ยว แตนักศึกษา

50
คนดังกลา วผา นการแขง ขันประเภททีมเทากับวา คณุ สมบัตไิ มถกู ตอง แตไดรับเขา เรยี นในมหาวิทยาลยั ดงั กลาว
การกระทําเชนน้ี จึงเปนสาเหตุหนึ่งของการนําไปสูการประทวงตอตานจากนักศึกษาและอาจารยของ
มหาวิทยาลัยดังกลาว ซ่ึงทางมหาวิทยาลัยก็ไมสามารถใหคําตอบท่ีชัดเจนแกกลุมผูประทวงได จนในท่ีสุด
ประธานมหาวทิ ยาลยั จึงลาออกจากตาํ แหนง

ท่ีมา : http://www.bbc.com/thai/international-39227441

ประเทศบราซลิ ปลายป พ.ศ. 2559 ประชาชนในประเทศบราซลิ ไดม กี ารชุมนมุ ประทว งการทุจริต
ทีเ่ กดิ ข้ึนเพือ่ เปน การแสดงออกถึงความไมพอใจตอวัฒนธรรม การโกงของระบบราชการของประเทศ โดยมี
ประชาชนจาํ นวนหลายหม่ืนคนเขารวมชุมนุมกันในคร้ังน้ี และมีการแสดงภาพหนูเพื่อเปนสัญลักษณในการ
ประณามนักการเมืองท่ที ุจรติ การประทว งดังกลาวยังถือวามีขนาดเล็กกวาครั้งกอน เพราะท่ีผานมาไดมีการ
ทุจริตเกิดขึ้นและมีการประทวง จนในที่สุดประธานาธิบดีไดถูกปลดจากตําแหนง เนื่องจากเปนการกระทํา
ท่ีละเมดิ ตอกฎระเบยี บเร่อื งงบประมาณ

ท่มี า : https://www.voathai.com/a/brazil-protests-petrobas/2683119.html

51

จากตัวอยางขา งตน แสดงใหเห็นถึงความต่ืนตัวของประชาชนท่ีออกมาตอตานการทุจริต ไมวาจะ
เปนการทจุ รติ ในระดบั หนวยเลก็ ๆ หรอื ระดับประเทศ ก็เปน การแสดงออกซึ่งการไมทนตอการทุจริต การไม
ทนตอการทุจริตแสดงออกมาไดห ลายระดับ ตง้ั แตก ารเหน็ คนอืน่ ท่กี ระทาํ ทุจรติ แลวตนเองรสู กึ ไมพอใจ มีการ
สง เร่ืองตรวจสอบ รองเรียน และในท่ีสุดคือการชุมนุม ประทวง ตามตัวอยางท่ีไดนํามาแสดงใหเห็นขางตน
ตราบใดท่สี ามารถสรางใหสงั คมไมทนตอการทุจริตได เมือ่ น้ันปญ หาการทุจรติ กจ็ ะลดนอยลง แตห ากจะใหเกดิ
ผลดยี ิ่งขึน้ จะตองสรางใหเกดิ ความละอายตอการทุจรติ ไมก ลาทจ่ี ะกระทําทจุ ริต โดยนาํ หลักธรรมทางศาสนา
มาเปนเคร่ืองมอื ในการสัง่ สอน อบรม ในขณะเดียวกันหากมีการทุจริตเกิดข้ึน กระบวนการในการแสดงออก
ตอการทุจริตจะตองเกิดข้ึน และมีการเปดเผยชื่อบุคคลท่ีทุจริตใหกับสาธารณชนไดรับทราบอยางท่ัวถึง
เม่อื สังคมมที งั้ กระบวนการในการปองกันการทุจรติ การปราบปรามการทุจรติ ทดี่ ี รวมถงึ การสรางใหสงั คมเปน
สังคมท่ไี มทนตอ การทจุ ริต มีความละอายตอ การกระทําทุจริตแลว ปญหาการทุจริตจะลดนอยลง ประเทศชาติ
จะสามารถพฒั นาไดม ากยิ่งข้นึ

สําหรับระดับการทุจริตท่ีเกิดข้ึน ไมวาจะเปนในระดับใดลวนแลวแตสงผลกระทบตอสังคมและ
ประเทศชาติท้ังส้ิน บางคร้ังการทุจริตเพียงเล็กนอยอาจนําไปสูการทุจริตอยางอื่นที่มากกวาเดิมได การมี
วัฒนธรรม คานิยม หรือความเชื่อท่ีถูกตองก็สงผลใหเกิดการทุจริตไดเชนกัน เชน การมอบเงินอุดหนุนแก
สถานศึกษา เพื่อใหบุตรของตนเองไดเขาศึกษาในสถานที่แหงน้ัน หากพิจารณาแลวอาจพบวา เปนการ
ชว ยเหลอื สถานศึกษา เพ่ือท่ีสถานศึกษาแหงน้ันจะไดนําเงินท่ีไดไปพัฒนาสภาพแวดลอม การเรียนการสอน
ของสถานศึกษาตอไป แตก ารกระทาํ ดงั กลา วนีไ้ มถกู ตอ ง เปนการปลกู ฝง ส่งิ ทีไ่ มดีใหเกดิ ขึ้นในสังคม และตอ ไป
หากกระทําเชนนี้เร่ือย ๆ จะมองวาเปนเรื่องปกติท่ีทุกคนทํากัน ไมมีความผิดแตอยางใด จนทําใหแบบแผน
หรือพฤติกรรมทางสังคมที่ดีถูกกลืนหายไปกับการกระทําท่ีไมเหมาะสมเหลาน้ี ตัวอยางเชน การมอบเงิน
แกสถานศึกษายังคงเกิดข้ึนในประเทศไทยอยางตอเน่ือง โดยเฉพาะในสถานศึกษาที่มีช่ือเสียง ซ่ึงหลายคน
ตองการใหบตุ รของตนเขา ศึกษาในสถานทแ่ี หง น้นั แตดวยขอจํากัดท่ีไมสามารถรับนักเรียน นักศึกษาไดท้ังหมด
จึงทาํ ใหผูปกครองบางคนตองใหเ งนิ กับสถานศึกษาเพอื่ ใหบุตรตนเองไดเขาเรยี น

52

กิจกรรมท่ี 3

1. ผูเ รียนอา นขาวการทุจริตคอรรปั ชันจากหนงั สอื พิมพแ ลว รว มกนั อภปิ รายถงึ ผลกระทบทีเ่ กิดขน้ึ

2. ผูเรียนสํารวจปญ หาความไมโปรงใสของชุมชนตนเอง แลวรวมกันวิเคราะหผลกระทบที่เกิดข้ึนกับตนเอง
ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ และเสนอแนวทางการปอ งกันการทุจรติ

53

กิจกรรมท่ี 4

1. ใหผูเรียนชมคลปิ วิดีโอ ภาพยนตรส ัน้ เรอ่ื ง “เพื่อน” FRIENDS รางวลั ชนะเลิศประกวดโครงการ
“มหาวทิ ยาลัยโปรง ใส บณั ฑติ ไทยไมโ กง”

คลปิ วีดโิ อเรอ่ื ง “เพอื่ น” FRIENDS
แหลง สอ่ื https://www.youtube.com/watch?v=yZcG8xXxH6o

2. แบง กลมุ อภิปราย จากการชมคลิปภาพยนตรสัน้ กลุมละ 5 นาที
3. ผูเรียนรว มสรุปส่ิงท่ีไดจากการชมคลปิ ภาพยนตรส ้นั รวมกนั

54

2.3 ความตื่นรู (Realize)

ตน่ื คอื ตน่ื จากความหลง ความไมรู หรือ อวิชชา มสี ติอยูกับส่ิงที่เกิดขึ้น สิ่งท่ีอยูตรงหนา คนที่อยู
ตรงหนา คอื อยูกับส่ิงท่ที าํ คาํ พูด อยูกบั อริ ิยาบททเ่ี คลอ่ื นไหว

รู คอื รคู วามจรงิ ของชีวติ วา สรรพส่งิ ไมแ นนอน สรรพส่ิงไมไดดังใจ สรรพสิ่งไมมีอะไรสมบูรณ คือ
ไมเท่ยี ง ไมทน ไมแ ท หรืออกี ความหมายหนง่ึ คอื รูวาอะไรคอื ความทุกข อะไรคือการดับทกุ ข และอะไรคือเหตุ
แหง ทกุ ข รูวธิ ดี ับทกุ ข และรูว ธิ ีการจัดการความทุกขน ั้น

ต่นื รู คือ การมีสติ รคู วามจรงิ วา อะไรเปนเหตุ อะไรคอื ผลที่เกิด และอยูกบั สิง่ ที่เกดิ ขึน้ ท่ีอยตู รงหนา
รแู ละมีสติในการจดั การเหตทุ ่ีเกดิ ขน้ึ นน้ั ๆ วาตอ งทําอยางไร

สติ
สติ แปลวา ความระลกึ ได ความนึกข้ึนได ความไมเ ผลอ ฉกุ คดิ ขนึ้ ได
การคุมจิตไวในกิจ หมายถึง อาการท่ีจิตนึกถึงสิ่งท่ีจะทําจะพูดได นึกถึงสิ่งที่จําคําท่ีพูดไวแลวได
เปนอาการทีจ่ ิตไมห ลงลมื ระงบั ยับยง้ั ใจได ไมใหเ ลนิ เลอ พล้งั เผลอ ปองกันความเสียหายเบ้อื งตน ยับย้ังช่ังใจ
ไมบ ุมบาม เรียกอีกอยา งหนึ่งวา ความไมประมาท

55

กิจกรรมท่ี 5

1. ใหผ เู รียนอา นใบความรู เรือ่ ง การมสี ตติ ืน่ รู
ใบความรู

นทิ านเรอื่ ง การมสี ตติ ื่นรู
ชายหนุมคนหน่ึงเกิดมาในครอบครัวท่ียากจนมาก แถมยังไมมีงานทําอีกดวย เพราะเศรษฐกิจ
ในประเทศไทยตกต่ํา กําลังเผชิญปญหาวางงาน แตเขาเปนคนมีปญญาใฝรู เขาจึงขวนขวายไปทํางานที่
ตางประเทศ งานดีเงินดี เขาเปนคนขยัน มัธยัสถ อดออม สามารถเก็บสะสมเงินกอนโตไดในเวลาไมนาน
จึงตัดสินใจเดนิ ทางกลับบา นเกดิ เมอื งนอน เพอื่ ตั้งตัว ระหวางเดินทางกลับบานในชนบท เขาโดนโจรใชปนจ้ี
เอาเงิน เขานึกสลดสังเวชใจวา อุตสาหทํางานเหน่ือยยาก เก็บหอมรอมริบในตางประเทศ แตกลับมาเปน
ปลาตายน้ําต้ืนถกู จบ้ี านเราเอง อยา งไรก็ตามเพื่อความปลอดภัย เขาจาํ ใจมอบเงินทั้งกอนของเขาใหโจรไป ...
แตเขา จะไมยอมเสยี เงนิ ไปงาย ๆ หรอก.... เขาต้ังสติคิดหาเงนิ คืนจากโจร......
ชายหนุม “พี่ครับ ผมอุตสาหลงทุนลงแรงเดินทางไปทํางานเมืองนอกนูนเปนป ๆ เหนื่อยยาก แสน
สาหสั เพ่อื หาเงินมาเลีย้ งครอบครัว ผมบอกทางบานวา ผมหาเงินมาไดเยอะแยะ ทีน้ีพี่มาเอาเงินผมไปหมด
อยา งน้ี ผมกลบั ถงึ บานผมคงแยแน ๆ ทุกคนตองคิดวาผมโกหก คงไมมีใครเช่ือหรอกวาผมไปทํางานประสบ
ความสําเรจ็ จนรวย ไหน ๆ...พี่เอาเงนิ ผมไปแลว...ผมก็ไมร จู ะวา ยังไง...แตพ ่ชี วยผมบา งแลว กัน....ชวยรักษาหนา
ผมหนอ ย ชวยยงิ ปน ใสก ระเปาใสเงินใบน้สี กั สองนัดเถิดครับ ทางบานผมเขาจะไดเชื่อวาผมถูกจี้จริง ๆ ไมได
โกหก”
โจรอารมณด ีมาก เพราะจี้คร้งั นไี้ ดเ งนิ กอนโตเกินคาด
โจร “เอาสิ!”วา แลว กย็ งิ ปง! ปง! ใสก ระเปา ของชายหนมุ จนเปน รู
ชายหนมุ “ขอบคณุ มากครับ แตเ ออ ! ถา ทห่ี มวกก็โดนลกู กระสุนซกั นดั สองนัด มันก็นาจะดูสมจริงมากข้ึน
นะพ่”ี
โจร “ก็ได. ..ไมม ปี ญหา” วาแลวก็ยิง ปง! ปง! ทาํ ใหหมวกเปนรู
ชายหนุม “อีกสักสองนัดทเี่ ส้อื แจก็ เกต็ ผมดว ยครับ”
โจรกําลงั ตื่นเตนดใี จจนประมาท ขาดสติสัมปชัญญะ ยกปนยิงเสื้อแจ็กเก็ตชายหนุมทะลุ ขาดเปนรู
สองร.ู ...กระสนุ หกนดั ในกระบอกปน หมดเกลย้ี งพอด.ี ...
ชายหนุมผมู ีสตติ ้งั ม่นั คดิ หาอบุ ายใหโ จรยงิ อะไรกไ็ ดทไี่ มใชต ัวเขาจนหมดกระสุน ทันทีท่ีกระสุนหมด
และกอนที่โจรจะสํานึกได เขาก็วง่ิ เขาใสโ จร จโู จมอยางรวดเร็วจนสามารถจบั โจรได และเขากไ็ ดเ งินของเขาคืน
มาทง้ั หมด
ทานอาจารยวา นิทานเร่ืองน้ีสอนวา คนที่สามารถตั้งสติสงบอารมณได ยอมมีปญญาแกไขปญหาได
ดีกวา คนเจา อารมณ สําหรบั บางคนถาโดนโจรจ้ีหมดเงินหมดทอง ก็มักจะโอดครวญโทษเวรโทษกรรม หมด
กาํ ลังใจเสียใจจนไมคิดหาทางแกไ ข
คติคาํ สอน สติ จาํ เปน ในทีท่ ัง้ ปวง สติ สพพฺ ตถฺ ปตถฺ ยิ า

56

2. ใหผ เู รียนรว มกนั อภิปรายถงึ การแกป ญ หาของชายหนมุ กบั โจรวาใครมสี ตติ ่นื รมู ากกวา กัน

3. ถา ผเู รียนประสบปญ หาลกั ษณะนี้จะมวี ธิ ีแกป ญ หาท่ีดีอยา งไร

57

กจิ กรรมท่ี 6

1. ใหผเู รียนชมคลปิ วีดิโอ เรื่อง “ตื่นจากตัวตน – Inspired from NHNW3 – หวั ใจต่นื ร”ู จาก YouTube
และแบงกลมุ อภปิ รายกลมุ ละ 5 นาที พรอ มสรปุ สง่ิ ท่ไี ดจ ากการชมคลปิ วดี โิ อ

คลิปวดี โิ อเรอื่ ง “ตน่ื จากตัวตน – Inspired from NHNW3 – หวั ใจตื่นร”ู
แหลงสอื่ https://www.youtube.com/watch?v=JcfwTXcnbOU

58

2.4 มงุ ไปขา งหนา (Onward)

มุงไปขางหนา หมายถึง กาวหนา ตอไปขางหนา มุงหนาไป สําหรับ มุงไปขางหนา ในโมเดล
STRONG : จติ พอเพียงตานทจุ ริต หมายถงึ ผูน าํ มงุ พัฒนาใหเ กิดความเจริญอยางย่ังยืน โดยรวมสรางวัฒนธรรม
ไมทนตอ การทุจริตอยา งไมย อทอ

ทัง้ น้ี การมุงไปขางหนา หรอื การพฒั นาใหเ กิดความเจริญ จะสําเรจ็ ไดด ว ยการปลูกฝง บุคคลใหม ี
คุณลกั ษณะทแ่ี สดงออกถึงความตั้งใจและรบั ผดิ ชอบของการทํางานดว ยความเพียรพยายาม โดยการฝกความ
มุง มัน่ ดวยวิธีการดังนี้

วธิ กี ารฝกความมงุ มนั่
การฝก ความมุงม่นั เปนสว นสาํ คญั ท่จี ะทําใหประสบความสาํ เรจ็ ในเปาหมายมากมาย และเมื่อ

เวลาผานไปก็จะเกิดความแข็งแรง โดยการฝกจิตใจและรางกายก็จะสามารถควบคุมตนเองไดดีและคิดใน
แงบวก ดังนนั้ การใหค วามสําคัญกบั แรงบนั ดาลใจ และกระบวนการท่ที ํา จะทาํ ใหม พี ลงั เพมิ่ ข้นึ อยา งยั่งยืน

ฝก ความมงุ ม่ันทางใจและกาย
1. ทนตอ ความเยา ยวนระยะส้นั ความมงุ ม่นั น้ันตองถูกฝก เพื่อจะไมยอมใหกับความเยายวนใจเล็ก ๆ
ที่เราเผชิญทกุ วนั โดยถา ฝกความอดทนตอ สิง่ น้นั ได ก็จะเปน การปพู ื้นฐานไปสูความมุงมั่นท่ีดีข้ึนในพื้นท่ีอื่น ๆ
ของชีวติ เชน ไมซือ้ ของทไี่ มจําเปน จากความอยาก เชน กาแฟ โทรศพั ทม อื ถอื รองเทา กระเปา ฯลฯ ท่เี กนิ ฐานะ
2. สรางแผน “ถา -จะ” การรูเ วลาลว งหนา วา จะทาํ อะไรเพอ่ื ทจ่ี ะหลกี เล่ยี งความเยายวนใจ หรือฝก
ความมุงมั่นจะชวยใหประสบความสําเร็จ โดยเม่ือพบกับสถานการณเชนน้ีใหทําตามขอความ “ถา-จะ”
เชน ถากําลังพยายามทาํ การบานใหเ สร็จตามท่ีครูกําหนด ตอ งคิดวา “ถา ทาํ การบานไมเ สรจ็ กจ็ ะไมมงี านสง คร”ู
3. อดทนรอคอย การมีความปรารถนาอาจจะทําใหเ กิดความพอใจไดในระยะสนั้ แตบางครั้งการอยู
หางไกลจากบางสิง่ ก็สามารถเพิม่ ความรูสึกในความมุง ม่นั และความพอใจโดยรวมได เชน การรอรับประทาน
อาหารพรอมครอบครวั แมวา จะหิวกต็ าม
4. ใหความสนใจกับรางกาย การใหความสนใจตอทาทาง การหายใจ สามารถเสริมความมุงม่ัน
และอารมณได เชน เตอื นตวั เองใหน่ังหลังตรง เปล่ียนอริ ยิ าบถทุก 1 ชัว่ โมง
5. การสรางวนิ ยั หรอื แรงจูงใจใหต นเอง ในการทําส่งิ ที่มปี ระโยชนแกรางกาย เชน การทําแผนการ
ดแู ลสุขภาพรา งกาย เมอื่ ปฏบิ ัตไิ ดแลว จึงปรับแผนพัฒนาดูแลรางกายใหมีการปฏิบัติมากขึ้น เชน การสราง
ตารางการออกกาํ ลงั กายวนั ละ 20 นาที แลวเพิ่มเปน 30 นาทีหรือมากกวาน้นั
6. ฝกตนเองใหคดิ บวกอยเู สมอ โดยการเปลย่ี นสถานการณใ นแงล บใหเปน แงบวก เชน ถาถูกยว่ั ให
คดิ วา “ฉนั ไมเคยทํามนั มากอ นและไมรจู ะทํายงั ไง” ก็ใหคิดวา “นเ่ี ปนโอกาสทีจ่ ะเรยี นรสู ง่ิ ใหม”
7. ทําสมาธิ การฝกทําสมาธงิ า ย ๆ สามารถเพิม่ ความรูสึกในการระวงั ตวั เอง เสรมิ อารมณ
ลดความเครียด ทําใหส ุขภาพกายและสขุ ภาพจิตดี เชน การสวดมนต การฝก จิต และการฝก หายใจแบบโยคะ
เปนตน
8. สนใจในคุณธรรม เปนสวนหนึง่ ของเปา หมายของการใชความมงุ มน่ั เชน การแสดงความเห็นใจ
ตอ ความเปนอยูของผูอน่ื การเปน เพื่อนที่ดี การฝก ความอดทนและความซื่อสัตย เปนตน

59

กิจกรรมที่ 7

1. ใหผ เู รยี นอา นใบความรู เรือ่ ง หนทางแหง ความสาํ เร็จเราเลือกได แลว รว มกนั วิเคราะหท ม่ี าของความสําเรจ็
ของบคุ คลในประเดน็ ตอไปนี้
1.1 ไดร ับแงคิดอะไรบา งในการทาํ งานของตอบ อทิ ธพิ ทั ธ

1.2 อะไรคอื คณุ สมบตั ขิ องตอบ ท่ีทาํ ใหพ บกับความสําเรจ็ ในการดาํ เนินชีวติ

1.3 มสี ่ิงใดท่ผี ูเ รยี นคดิ วา เปน คณุ สมบัตทิ ่ีดขี องตนเองทส่ี ามารถนาํ ไปปฏบิ ัตจิ นเปน ผูมีความสําเรจ็ ในการ
ดาํ เนนิ สัมมาชพี ของตน

1.4 หากการทาํ งานของผูเรียนตองพบกับปญหา อุปสรรคท่ีทําใหการทํางานนั้นไมราบรื่น ผูเรียนจะมี
วธิ กี ารจัดการกบั ปญหาอยา งไร และจะนําไปใชใ นชวี ิตประจําวันของตนไดอยางไร

60

ใบความรู

เรอ่ื ง “หนทางแหงความสําเร็จเราเลอื กได”

หลายคนอาจจะไดด ูตวั อยางภาพยนตรเรื่อง “TOP SECRET วัยรุนพันลาน” กันมาแลว ดวยตัวอยาง
ที่นาติดตามตางจากภาพยนตรวัยใสทั่วไป เพราะภาพยนตรดังกลาวน้ันมีแรงบันดาลใจมาจากเร่ืองจริง
ของเด็กหนุมที่ตดิ เกมออนไลน เรยี นหนังสอื ไมเกง แถมถกู ประณามวา เปนเด็กไมเอาไหน แตใครจะรูวาเขาคนน้ัน
จะกลายมาเปนเศรษฐรี อยลานเพียง อายแุ ค 23 ปเทานั้น (รอยลานตอนอายุ 23 แตตอนน้ี 26 แลว )

อยากรูกันแลวใชไหมวาเขาคนน้ันคือใคร แลวทําไมเขาถึงกลายเปนเศรษฐีไดในเวลาอันส้ัน ไปทํา
ความรูจักกับ “ตอบ อทิ ธิพทั ธ กลุ พงษวณิชย” เจาของธุรกิจสาหรายทอดกรอบแบรนด “เถา แกนอย” กันเลย

ตอบ อิทธิพัทธ กุลพงษวณิชย เศรษฐีรอยลานคนน้ี กอนหนานี้เขาถูกตราหนาวาเปนคนไมเอาถาน
ไมสนใจเรียน ชวี ิตของ ตอบ มีแตคําวา “เกม” เทานั้น โดยตอบเริ่มเลนเกมออนไลน Everquest มาตั้งแต ม. 4
ถงึ ขนาดสะสมแตมจนรวยที่สดุ ในเซิรฟ เวอร และกลายเปนผทู ี่มชี ่ือเสยี งอยา งมากในเกมดงั กลาว จนมีฝรั่งมาขอซื้อ
ไอเท็มเดด็ ๆ ไอเท็มเจง ๆ ทหี่ ายากในเกมจากเขา และน่ันกเ็ ปนการเร่ิมตนสรางรายไดข องตอ บ ซ่ึงการซ้อื ขาย
ไอเท็มเกมดังกลาว บวกกับการที่เปนผูทดสอบระบบเกมในฐานะคนเลน ก็สรางรายไดใหเขาเปนกอบเปนกํา
จนมีเงนิ เก็บเปนหลักแสนบาทเลยทเี ดียว

ดวยความท่ีเปนเด็กติดเกม ตอบ อิทธิพัทธ จึงเรียนจบช้ันระดับมัธยมศึกษามาไดอยางยากลําบาก
และไดศ กึ ษาตอ ระดับอุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ซ่ึงตอนน้ันนั่นเองเขาก็เร่ิมกาวเขาสูถนนแหง
เสนทางธรุ กจิ พรอมตงั้ ใจจะทาํ ความฝน ของตัวเองใหเปน จรงิ ดว ยการมธี รุ กจิ เปนของตัวเอง

และในชวงจงั หวะทเ่ี กมออนไลนเ ร่มิ ไมเปนทน่ี ิยม เขาก็หารายไดจากชอ งทางอืน่ ดว ยการขายเคร่ืองเลนวี
ซดี ี ดทู าํ เลเปดรานกาแฟหนา มหาวิทยาลัย แตก็ไมเ ปนทีป่ ระสบความสําเร็จ จนกระท่ังเขาไดไปเดินงานแฟร
ชอ งทางธุรกจิ ซงึ่ ในงานนั้นมเี ฟรนไชสจากประเทศญ่ีปนุ มาออกบทู ดวยความที่เขาเปนคนชอบกินเกาลัดอยูแลว
เลยสนใจธุรกจิ นี้เปน พิเศษ จึงเขาไปสอบถามคาเฟรนไชสเกาลัดดังกลาว แตท วา ราคาสูงเกินกําลังที่เขามี เลยขอ
แคเ ชา ตคู วั่ เกาลดั เทาน้นั แลวมาสรางเฟรนไชสเ ปน ของตัวเอง และเมอ่ื วนั ที่เขาตอ งไปเซน็ สญั ญาซื้อขายเกาลัด
ทีห่ างแหง หน่ึง กอนออกจากบานเขาไดยนิ คุณพอ พดู กบั เพ่ือนวา “ลกู อั้วกําลังจะเปนเถาแกน อ ยแลว” สันนิษฐานวา
คาํ วา เถา แกน อ ยทไี่ ดยินตอนนัน้ นนั่ เอง จงึ เปนทีม่ าของชอื่ “เถาแกน อ ย” สาหรา ยทอดกรอบในปจจบุ นั

61

กจิ กรรมที่ 8

1. ใหผูเ รยี นแบง กลมุ ศึกษาใบความรู เร่ือง มวี ธิ กี ารอยา งไรในการท่เี ราจะปฏิบตั ิงานใหประสบความสาํ เร็จ

ใบความรู
เรือ่ ง มีวธิ ีการอยางไรในการท่ีเราจะปฏิบตั ิงานใหประสบความสําเรจ็

ลุงโทนลาออกจากงานท่ีทําในกรุงเทพฯ แลวกลับไปบานเกิดเพื่อไปเปนเกษตรกร โดยมุงหวังจะ
พฒั นาท่ดี นิ ของตนเองใหเปนแหลงผลิตผลไมอ ินทรยี  จงึ ไดไปคน ควา หาความรจู ากอนิ เทอรเ น็ต และเขา อบรม
กับหนว ยงานดา นการเกษตรเกี่ยวกับการทาํ เกษตรอนิ ทรียแ ละไปทาํ สวนผลไมบ นทดี่ ินของตนเอง จนสามารถ
พัฒนาท่ดี นิ ของตนเองใหเปน แหลงผลิตผลไมอ ินทรียอ อกจาํ หนา ยไปยงั ตา งประเทศได และไดรับความเช่ือถือ
จากลูกคามาโดยตลอดวา ผลไมจากสวนของลงุ โทนเปน ผลไมอ นิ ทรยี กินแลว ปลอดภยั

2. จากการอานใบความรูขางตน ผูเรียนคิดวาลุงโทนเปนคนอยางไร ทําไมจึงประสบความสําเร็จและไดรับ
ความเช่ือถอื จากลูกคา

62

2.5 ความรู (Knowledge)
ความรู (Knowledge) หมายถึง สาระ ขอ มูล แนวคิด หลกั การทบี่ ุคคลรวบรวมไดจากประสบการณ
ในวถิ ีชีวิต ความรูเปนผลท่เี กดิ ขึ้นจากการปฏสิ มั พันธกับสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ ทางสังคม และเทคโนโลยี
บุคคลสามารถเรียนรูไดหลากหลายวิธี เชน จากประสบการณ การศึกษา การอบรม การถายทอด
ทางวัฒนธรรม และการฝก ปฏิบัติ จนสามารถสรปุ สาระความรู และนําไปใชประโยชนหรือพัฒนาไปสูระดับท่ี
สูงขนึ้
ความรู ในตัวคนไดมาจากหลายทาง เชน จากประสบการณ พรสวรรค สัญชาตญาณของ
แตละบุคคล การเรียนรขู องแตล ะบคุ คล เปนตน ดังน้ัน คนทุกคนจึงตองมีความรู ความเขาใจ เพ่ือนําความรู
ความเขาใจที่มีอยูในตัวไปวิเคราะห สังเคราะห ประเมินเร่ืองราว สถานการณ เหตุการณ ประกอบ
การพจิ ารณาและการตดั สินใจไดอ ยางถกู ตอ ง เหมาะสมกับเหตุการณ สถานการณท ี่มผี ลกระทบตอตนเองและ
สวนรวม อีกท้ังสามารถแยกแยะไดวาสิ่งใด อันไหน เมื่อกระทําแลวเกิดผลประโยชนสวนตัว หรือเกิด
ผลประโยชนสว นรวมได รวมทั้งใชความรู ความคดิ ความเขาใจทมี่ ีคิดพจิ ารณาตดั สินใจใหไ มกลาทําการทุจริต
และไมทนตอ การทจุ รติ เม่ือพบเห็นวามกี ารทจุ รติ เกดิ ขึน้
ความรู แบง ออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ ไดแก
1. ความรูที่มีอยใู นตัวคนซึ่งเกิดจากประสบการณ จากพรสวรรค หรือเกดิ จากความสามารถในการ
รบั รขู องบุคคลทีเ่ กดิ จากการทาํ ความเขาใจในส่ิงตาง ๆ ไมสามารถถายทอดออกมาเปนคําพูดได เชน ทักษะ
ในการทาํ งาน และการคดิ วิเคราะห
2. ความรทู ี่อยูในรูปแบบส่ือหรือเอกสารเปนความรูท่ีชัดเจนสามารถรวบรวมหรือถายทอดความรู
นนั้ ๆ ดวยวิธีการตาง ๆ เชน เขยี นหนังสอื เปนลายลักษณอ ักษร บนั ทึกเสียง หรอื วธิ กี ารอ่ืน ๆ
เมื่อพิจารณาระดับความรูของคนจากข้ันตํ่าไปสูระดับที่สูงข้ึนไป สามารถแจกแจงรายละเอียด
ไดดงั น้ี (บลมู และคณะ)
1. จาํ (Remembering) หมายถึง ความสามารถในการระลึกได แสดงรายการได บอกได ระบุบอกชื่อได
ตัวอยา งเชน นกั เรียนสามารถบอกความหมายของทฤษฎไี ด
2. เขาใจ (Understanding) หมายถงึ ความสามารถในการแปลความหมาย ยกตัวอยาง สรุป อางองิ
ตัวอยางเชน นกั เรยี นสามารถอธิบายแนวคดิ ของทฤษฎีได
3. ประยกุ ตใช (Applying) หมายถงึ ความสามารถในการนาํ ไปใช ประยุกตใช แกไขปญหา ตัวอยางเชน
นกั เรยี นสามารถใชค วามรใู นการแกไขปญหาได
4. วเิ คราะห (Analyzing) หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบ อธิบายลักษณะการจัดการ
ตวั อยา งเชน นักเรียนสามารถบอกความแตกตางระหวาง 2 ทฤษฎีได
5. ประเมนิ คา (Evaluating) หมายถึง ความสามารถในการตรวจสอบ วิจารณ ตัดสนิ ตวั อยางเชน
นักเรยี นสามารถตดั สนิ คณุ คาของทฤษฎีได
6. คิดสรางสรรค (Creating) หมายถึง ความสามารถในการออกแบบ (Design) วางแผน ผลิต
ตวั อยา งเชน นกั เรยี นสามารถนาํ เสนอทฤษฎใี หมท ี่แตกตางไปจากทฤษฎีเดิมได

63

กิจกรรมท่ี 9

1. ใหผ เู รียนตอบคาํ ถาม ตอ ไปนี้
1.1 ความรู หมายถงึ อะไร

1.2 ความรู มี 2 ประเภท อะไรบา ง

1.3 ระดบั ความรูต ามแนวคิดของบลูม และคณะ มี 6 ระดบั อะไรบา ง

64

กจิ กรรมที่ 10

1. ใหผ เู รียนชมคลปิ วดี โิ อ เรอื่ ง “โฆษณา รณรงคตอ ตา นการทจุ ริตโดย คตช.” จาก QR Code

คลปิ วดี ิโอ เรอ่ื ง โฆษณา รณรงคต อตา นการทจุ รติ โดย คตช.
แหลงสอื่ https://www.youtube.com/watch?v=rvFS1YdqSfQ

2. ใหผูเรียนแบงกลุมอภิปรายเกี่ยวกับคลิปวีดิโอท่ีรับชมโดยช้ีใหเห็นแนวทางการตอตานทุจริต
การทุจริตทําใหเกิดผลเสียตอตนเอง ผูอ่ืน สังคม ประเทศอยางไร พฤติกรรมใดควรปฏิบัติและ
พฤตกิ รรมใดไมค วรปฏบิ ตั ิ

65

2.6 ความเอื้ออาทร (Generosity)

ความเอื้ออาทร เกิดจากจิตใจที่มีความรัก ความเมตตา และความโอบออมอารี แลวปฏิบัติ
ตอผูอ่ืนอยางเกื้อกูล ซ่ึงในการดําเนินชีวิตของเราน้ัน ควรมีความเอ้ืออาทรแกคนรอบขาง ซ่ึงสังคมไทย
เปน สังคมท่มี ีความเอือ้ อาทรตอกนั มนี ํา้ ใจตอ กนั มกี ารพ่งึ พาอาศยั ซงึ่ กนั และกัน ชวยเหลือเก้ือกูลกันมาต้ังแต
สมัยอดีต อนั เปนสิง่ ดีงามทีห่ าไดย าก เปนคา นยิ มทเ่ี ราคนไทยควรรวมรกั ษาไว

ลักษณะของผูที่มคี วามเอ้อื อาทร
1. เปนคนมีน้าํ ใจ มักใหความชวยเหลือผทู ไี่ ดรบั ความเดือดรอนอยูเสมอ โดยการชวยเหลือจะ

ทาํ อยา งเต็มกาํ ลงั ที่ตนเองสามารถชวยได และไมหวังผลตอบแทนใด ๆ เพ่ือใหคนหมูมากใชสอยรวมกัน เชน
การสรางโรงพยาบาล การชวยเหลือผูประสบภยั พบิ ตั ติ า ง ๆ

2. คาํ นงึ ถึงผลประโยชนส วนรวม เปนผูทีถ่ อื เอาประโยชนของสวนรวมเปน ที่ตั้ง ไมก ระทําสงิ่ ใด ๆ
ทีเ่ ปน การฉกฉวยผลประโยชนใ หกับตนเอง ไมเ อารดั เอาเปรียบผูอืน่

3. มีความปราณี ปฏิบัติตอผูอื่นดวยความจริงใจ มีไมตรีที่ดีตอคนรอบขางเสมอ ไมดูหม่ิน
เหยยี ดหยามผอู นื่ แตใ หค วามเคารพในศักดิศ์ รีของความเปนมนษุ ย และสิทธิเสรภี าพของทกุ คนอยางเทา เทยี มกัน

4. ไมค ิดรายตอ ผอู ืน่ คิดและปฏิบัติตอผูอื่นดว ยความเมตตา มองโลกในแงดี ไมกระทําในส่ิงท่ี
สรางความเดือดรอนหรือเส่ือมเสียตอผอู น่ื

การปฏบิ ตั ิตนเปน ผูมีความเออ้ื อาทร
การปฏบิ ตั ิตนเปนผมู คี วามเออื้ อาทร สามารถปฏบิ ตั ไิ ดทกุ ท่ที ุกเวลา ดงั นี้

ความเออ้ื อาทรในครอบครัว ไดแก
1. ไมสรา งความเดอื ดรอนหรือกอปญ หาตา ง ๆ ใหเกดิ ในครอบครวั
2. ชว ยเหลอื งานบา นตาง ๆ ตามกําลังท่ีทาํ ได
3. ใชเงนิ อยา งประหยัด เพ่อื ชว ยลดคา ใชจ า ย
4. มคี วามหว งใยตอ สมาชิกครอบครวั ทกุ คน
5. รูจกั แบงปน ใหค วามชวยเหลอื ยามครอบครวั ประสบปญหา
ฯลฯ

ความเอื้ออาทรในชุมชนและสงั คม ไดแ ก
1. มีไมตรจี ติ ตอ เพ่ือนบาน รวมถงึ คนในชุมชนเดยี วกนั
2. มคี วามเออ้ื อาทร และหวงั ดตี อคนในชุมชน
3. ดแู ลรักษาสาธารณสมบตั ิสว นรวมของคนในชุมชนและสังคม
4. มนี ํา้ ใจ คอยชว ยเหลอื ผอู ื่นทไ่ี ดร บั ความเดอื ดรอน
5. แบง ปน อาหาร วตั ถุสงิ่ ของ เคร่อื งใชต า ง ๆ ใหแกเ พือ่ นบานและคนในชุมชน
ฯลฯ

66

กจิ กรรมท่ี 11

1. ใหผเู รียนเลาประสบการณเ กย่ี วกบั การชว ยเหลือผูอ่ืน สรปุ ขอคิดที่ไดจากการชวยเหลือผูอื่น และสามารถ
นําไปใชใ นชีวติ ประจําวันไดอยางไร

2. ใหผูเรียนดคู ลิปวีดิโอ ขาว “ไบคเกอรฮ โี ร เผยนาทีชว ยชีวติ เด็กช็อก ขณะติดไฟแดง อาสาพาสงถึง ร.พ.
ทนั เวลา” จาก QR Code ใหวเิ คราะหแ ละอภปิ รายรว มกนั

คลปิ วดี โิ อ ขา ว “ไบคเกอรฮ ีโร เผยนาทีชว ยชีวิตเด็กชอ็ ก ขณะตดิ ไฟแดง อาสาพาสง ถึง ร.พ. ทันเวลา”
แหลง สอื่ https://www.youtube.com/watch?v=MA5UHavTfp8

67

บทที่ 4
พลเมอื งกบั ความรบั ผดิ ชอบตอ สังคม

สาระสําคญั

การเคารพสทิ ธิ หนา ท่ี ของตนเองและผูอ ื่นทม่ี ีตอประเทศชาติ เปนการยึดม่ันในการปฏิบัติตนตาม
สิทธิ เสรีภาพ และหนาท่ีของตนเอง ภายใตกรอบของรัฐธรรมนูญ ซึ่งจะทําใหพลเมืองในวิถีประชาธิปไตย
อยูรวมกันอยางมีความสุข อันจะสงผลใหประเทศชาติมีความเจริญรุงเรือง ปราศจากการทุจริตคอรรัปชัน
พรอ มทงั้ สรางพลังการขบั เคลอ่ื นคา นิยมในการตอตานการทจุ ริตคอรร ปั ชันทกุ รปู แบบในสงั คมไทยได

ตวั ชว้ี ัด

1. เขา ใจและประพฤตติ นเกยี่ วกบั สทิ ธหิ นาท่ีและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญปจจุบนั ของพลเมอื งดี
2. อธิบายบทบาทหนา ทข่ี องเยาวชนในการเปน พลเมอื งดี
3. อธบิ ายความเปนพลเมอื งดีตามวิถปี ระชาธปิ ไตย
4. ปฏบิ ตั ิตนเปนพลเมอื งดีตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท รงเปน ประมขุ
5. ปฏิบตั ิหนา ทีท่ ่ไี ดรบั มอบหมายดวยความซอื่ สัตยส จุ รติ
6. เขาใจเกย่ี วกบั ระเบียบ กฎ กติกา กฎหมาย และปฏบิ ตั ติ นเปน พลเมืองดมี ีสว นรว มในการปองกัน
และปราบปรามการทจุ รติ
7. มีสวนรว มในการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ คอรรปั ชัน
8. มคี วามรับผดิ ชอบในการปฏิบัติหนาท่ีที่ไดร ับมอบหมายดวยความซื่อสตั ยสุจรติ
9. รูแ ละเขา ใจเกีย่ วกับความรับผิดชอบเกี่ยวกับตนเองและผูอืน่
10. ประพฤติปฏบิ ตั ิตนเปน แบบอยา งทด่ี ี ทั้งรบั ผิดชอบตอ ตนเองและผูอ ืน่
11. รู เขา ใจ บอกความหมายของความเปนพลเมอื ง
12. ประพฤตปิ ฏิบตั ติ นตามหลักความเปนพลเมืองในการดาํ เนินชีวติ
13. รู เขา ใจ บอกความหมายของความเปน พลโลก
14. ประพฤตปิ ฏบิ ัติตนตามหลกั ความเปน พลโลกในการดําเนินชวี ติ

ขอบขา ยเนื้อหา

1. การเคารพสิทธหิ นาทต่ี อ ตนเองและผอู น่ื ทม่ี ตี อประเทศชาติ
1.1 ความหมายของสิทธหิ นาท่ตี อ ตนเองและผอู นื่ ทม่ี ตี อประเทศชาติ
1.2 ความสาํ คัญของการเคารพสิทธหิ นาท่ีตอ ตนเองและผูอืน่

68

2. ระเบยี บ กฎ กตกิ า กฎหมาย กับการเปนพลเมืองที่ดีมีสวนรวมในการปองกันและปราบปราม
การทจุ ริต

2.1 ความหมาย ความสําคัญของระเบยี บ กฎ กติกา และกฎหมายกบั การเปน พลเมืองที่ดี
2.2 กฎหมายที่เกี่ยวของกับการเปนพลเมืองท่ีดีมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามการ
ทุจริต
3. ความรับผดิ ชอบตอตนเองและผอู ่นื
3.1 ความหมายของคาํ วา รบั ผดิ ชอบ
3.2 แนวทางการประยุกตค วามรบั ผิดชอบมาใชในการดาํ เนินชวี ิต
4. ความเปนพลเมอื ง
4.1 ความหมายของคาํ วา ความเปน พลเมอื ง
4.2 แนวทางการประยกุ ตความเปน พลเมอื งมาใชใ นการดาํ เนินชวี ิต
5. ความเปนพลโลก
5.1 ความหมายของคําวา ความเปน พลโลก
5.2 แนวทางการประยุกตค วามเปน พลโลกมาใชใ นการดําเนนิ ชีวติ

69

เร่ืองท่ี 1 การเคารพสิทธิหนา ทตี่ อ ตนเองและผอู ่นื ทมี่ ีตอ ประเทศชาติ

ความหมายของสิทธิหนาทีต่ อตนเองและผอู ่ืนที่มีตอ ประเทศชาติ
สทิ ธิ หมายถึง ส่ิงที่ไมม ีรปู รางซงึ่ มีอยูในตวั มนุษยมาต้ังแตเกิดหรือเกิดขึ้นโดยกฎหมาย เพื่อใหมนุษย
ไดรบั ประโยชน และมนุษยจะเปนผูเลอื กใชส ิ่งนั้นเอง โดยไมม ีผูใดบงั คับได เชน สิทธิในการกิน การนอน แตสิทธิ
บางอยางมนุษยไดรับโดยกฎหมายกําหนด เชน สิทธิในการมีการใชทรัพยสิน สิทธิในการรองทุกข เมื่อตน
ถกู กระทาํ ซ่ึงละเมดิ กฎหมาย เปน ตน
สิทธขิ องปวงชนชาวไทย

ท่ีมา : https://sites.google.com/site/janejirajomjai/_/rsrc/1392642786151/neuxha-bth-reiyn/--hnathi-khxng-
phlmeuxng-di-khxng-sangkhm-tam-raththrrmnuy/topic-3261-1.jpg

1. สทิ ธใิ นครอบครวั และความเปนอยสู ว นตวั ชาวไทยทุกคนยอ มไดรบั ความคุมครอง เกียรตยิ ศ ช่อื เสยี ง
และความเปนอยูสวนตวั

2. สิทธอิ นรุ กั ษฟน ฟูจารีตประเพณี บคุ คลในทอ งถิ่นและชุมชนตอ งชว ยกันอนรุ ักษฟน ฟจู ารีตประเพณี
วฒั นธรรมอนั ดีงาม ภูมปิ ญ ญาทอ งถิน่ เพอื่ รกั ษาไวใหคงอยูตลอดไป

3. สิทธิในทรพั ยสนิ บคุ คลจะไดร บั การคุม ครองสทิ ธใิ นการครอบครองทรพั ยส ินของตนและการสืบทอด
มรดก

4. สิทธิในการรบั การศกึ ษาอบรม บุคคลยอมมีความเสมอภาคในการเขารับการศึกษาขึ้นพื้นฐาน
12 ป อยางมีคุณภาพและทั่วถึง โดยไมเสียคา ใชจ าย

5. สิทธใิ นการรับบริการทางดานสาธารณสุขอยางเสมอภาคและไดมาตรฐาน สําหรับผูยากไรจะไดรับ
สิทธิในการรกั ษาพยาบาลจากสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ของรฐั โดยไมเ สียคา ใชจา ย

6. สิทธิทจ่ี ะไดรบั การคมุ ครองโดยรฐั เด็ก เยาวชน สตรี และบุคคลในสังคมท่ีไดรับการปฏิบัติอยางรุนแรง
และไมเ ปน ธรรมจะไดรบั การคุมครองโดยรฐั

70

7. สทิ ธิที่จะไดรับการชว ยเหลือจากรัฐ เชน บุคคลท่ีมีอายุเกินหกสิบป และรายไดไมพอตอการ
ยังชีพ รัฐจะใหความชวยเหลือ เปน ตน

8. สิทธทิ จ่ี ะไดส่ิงอาํ นวยความสะดวกอันเปนสาธารณะ โดยรัฐจะใหความชวยเหลือและอํานวย
ความสะดวกอันเปน สาธารณะแกบคุ คลในสงั คม

9. สิทธิของบุคคลที่จะมีสวนรวมกับรัฐและชุมชน ในการบํารุงรักษาและการไดประโยชนจาก
ทรพั ยากรธรรมชาติ

10. สิทธทิ จ่ี ะไดร บั ทราบขอมูลขา วสารจากหนวยงานของรัฐ รัฐวสิ าหกิจหรอื ราชการสว นทองถิ่น
อยางเปดเผย เวนแตการเปดเผยขอมูลน้ันจะมีผลตอความมั่นคงของรัฐหรือความปลอดภัยของประชาชน
สวนรวม หรือเปน สวนไดสว นเสียของบคุ คลซ่งึ มีสิทธิไดรบั ความคุมครอง

11. สทิ ธเิ สนอเรอ่ื งราวรอ งทุกขโ ดยไดรบั แจงผลการพิจารณาภายในเวลาอันควรตามบทบัญญัติ
ของกฎหมาย

12. สิทธิทีบ่ ุคคลสามารถฟองรองหนวยงานราชการ รัฐวิสาหกจิ ราชการสวนทองถ่นิ หรือองคกร
ของรฐั ทีเ่ ปน นิติบุคคลใหรบั ผดิ ชอบการกระทําหรอื ละเวนการกระทาํ ตามกฎหมายของเจาหนา ทข่ี องรัฐภายใน
หนวยงานนั้น

เสรภี าพ หมายถึง การใชสิทธิอยางใดอยางหนึ่ง หรือกระทําการอยางใดอยางหน่ึงไดอยางอิสระ
แตท ัง้ นีจ้ ะตอ งไมกระทบตอ สทิ ธขิ องผอู ื่น ซงึ่ หากผใู ดใชสิทธิเสรีภาพเกนิ ขอบเขตจนกอความเดอื ดรอนตอ ผอู ่ืน
กย็ อมถกู ดําเนินคดีตามกฎหมาย เชน เสรีภาพในการสอ่ื สารถึงกันโดยทางท่ีชอบดวยกฎหมาย การตรวจ การวัด
หรอื การเปด เผยขอ มลู สว นบุคคล รวมท้งั การกระทําตาง ๆ เพ่ือเผยแพรข อ มูลน้ันกระทาํ ไมได เปน ตน

เสรภี าพของปวงชนชาวไทย

ทม่ี า : https://hilight.kapook.com/img_cms2/user/kritfeb/ic1.jpg

1. เสรีภาพในเคหสถาน ชาวไทยทุกคนยอมไดรับความคุมครองในการอาศัยและครอบครอง
เคหสถานโดยปกตสิ ุข การเขาไปในเคหสถานของผูอน่ื โดยปราศจากการยินยอมของผูครอบครอง หรือการเขา
ไปตรวจคน เคหสถานโดยไมมีหมายคนจากศาลยอ มทําไมได

71

2. เสรีภาพในการเดินทางและการเลือกถิ่นท่ีอยู การเนรเทศบุคคลผูมีสัญชาติไทยออกนอก
ราชอาณาจักรหรือหา มมิใหบ ุคคลผมู สี ญั ชาตไิ ทยเขา มาในราชอาณาจกั รจะกระทํามไิ ด

3. เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นผานการพูด การเขียน การพิมพ การโฆษณาและการส่ือ
ความหมายโดยวิธีอื่น จะจํากัดแกบุคคลชาวไทยมิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย
เฉพาะเพื่อความมั่นคงของรฐั เพ่ือรักษาความสงบเรยี บรอ ยหรอื ศลี ธรรมอนั ดีของประชาชน

4. เสรีภาพในการส่อื สารถึงกันโดยทางทช่ี อบดวยกฎหมาย การตรวจ การกัก หรือ การเปดเผย
ขอมูลสว นบคุ คล รวมทั้งการกระทําตา ง ๆ เพื่อเผยแพรขอมูลน้นั จะกระทาํ มิได

5. เสรีภาพในการนับถอื ศาสนา นิกาย ลัทธิ ความเชื่อทางศาสนา และเสรีภาพในการประกอบ
พิธกี รรมตามความเชอ่ื ของตน โดยไมเ ปนปฏปิ ก ษตอ หนา ที่ของพลเมอื ง และไมขัดตอความสงบเรียบรอยหรือ
ศีลธรรมอนั ดขี องประชาชน ยอ มเปนเสรภี าพของประชาชน

6. เสรภี าพในการชุมนมุ โดยสงบและปราศจากอาวุธ การจํากัดเสรีภาพดังกลาวจะกระทําไมได
เวน แตโ ดยอาศยั อํานาจตามบทบัญญตั ิของกฎหมายเพ่ือคุมครองประชาชนที่จะใชที่สาธารณะหรือเพ่ือรักษา
ความสงบเรียบรอยเม่ือประเทศอยใู นภาวะสงคราม หรอื ระหวา งประกาศสถานการณฉุกเฉิน หรือประกาศใช
กฎอัยการศกึ

7. เสรีภาพในการรวมตัวกันเปนสมาคม สหพันธ สหองคกร องคกรเอกชน หรือหมูคณะอื่น
การจํากัดเสรีภาพตาง ๆ เหลานี้จะกระทํามิได เวนแตอาศัยอํานาจกฎหมายเฉพาะเพ่ือคุมครองประโยชน
สวนรวมของประชาชน การรักษาความสงบเรยี บรอยหรอื ปองกนั การผูกขาดในทางเศรษฐกิจ

8. เสรีภาพในการรวมตัวจดั ตั้งพรรคการเมือง เพื่อดําเนินกิจกรรมทางการเมืองตามวิถีทางการ
ปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษตั ริยทรงเปนประมขุ

9. เสรีภาพในการประกอบอาชีพและการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม การจํากัดเสรีภาพ
ดงั กลาวจะทาํ ได โดยอาศัยกฎหมายเพื่อประโยชนในการรักษาความม่ันคงของรัฐหรือเศรษฐกิจของประเทศ
และเพื่อปองกนั การผูกขาดหรอื ขจดั ความไมเ ปนธรรมในการแขง ขันทางการคา

หนาท่ี หมายถึง การกระทําหรือการละเวนการกระทําเพ่ือประโยชนโดยตรงของการมีสิทธิหนาท่ี
เปนส่ิงท่บี งั คับใหม นุษยในสังคมตองปฏิบัติตามกฎเกณฑทางสังคมหรือกฎหมายบัญญัติไว จะไมปฏิบัติตาม
ไมไ ด สวนสิทธิและเสรีภาพ เปน สงิ่ ท่มี นษุ ยม ีอยแู ตจะใชหรือไมก็ได เชน การเสียภาษีตามท่ีกฎหมายกําหนด
มีหนาทร่ี ับการเกณฑทหาร เพอื่ รับใชชาติ เปนตน

72

หนา ทขี่ องประชาชนชาวไทย

ที่มา : https://hilight.kapook.com/img_cms2/user/kritfeb/ic3.jpg

1. บุคคลมหี นาที่รักษาไวซ่ึงชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยและการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อนั มีพระมหากษัตรยิ ทรงเปน ประมขุ

2. บคุ คลมหี นา ท่ีปฏิบัตติ ามกฎหมาย
3. บุคคลมีหนาท่ีไปใชสทิ ธเิ ลือกตงั้ บคุ คลซึง่ ไมไ ปเลือกต้งั โดยไมแ จง เหตผุ ลอันสมควร ยอ มเสยี สทิ ธิ
ตามท่กี ฎหมายบัญญตั ิไว
4. บคุ คลมีหนาทีป่ อ งกันประเทศ รบั ราชการทหาร
5. บคุ คลมีหนาที่เสยี ภาษใี หร ฐั
6. บุคคลมีหนาที่ชวยเหลือราชการ รับการศึกษาอบรม ปกปองและสืบสานวัฒนธรรมของชาติ
ภูมปิ ญญาทอ งถิน่ รวมถึงการอนุรกั ษท รัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ ม
7. บคุ คลผูเปน ขาราชการ พนักงาน หรอื ลกู จางหนวยงานราชการ รัฐวิสาหกจิ ราชการสวนทองถิ่น
มีหนาท่ดี ําเนนิ การใหเ ปนไปตามกฎหมายเพ่ือรักษาประโยชนสวนรวมอํานวยความสะดวกและใหบริการแก
ประชาชน
ความสาํ คญั ของการเคารพสทิ ธิหนา ที่ตอ ตนเองและผูอ่ืน

การเคารพสิทธติ อตนเองและผูอ่ืนท่ีมีตอประเทศชาติ หมายถึง การยึดม่ันในสิทธิ เสรีภาพ
และหนาท่ีตามรัฐธรรมนูญ จะทําใหประชาชนในชาติอยูรวมกันอยางมีความสุข ทําใหชาติบานเมือง
เจริญกาวหนาไดอ ยา งรวดเรว็

1. สทิ ธิของตนเองและผูอ่นื ตามท่บี ัญญัติไวในรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย
การปฏิบัติตนตามสิทธิของตนเองภายใตกรอบรัฐธรรมนูญ โดยไมกระทบสิทธิบุคคลอื่น

ยอ มไดช อ่ื วาบุคคลนั้นเปนผูมีสวนนําพาบานเมืองใหพัฒนา ในที่น้ีจะกลาวถึงการปฏิบัติตนในการรักษาและ

73

เคารพสิทธิเสรีภาพของตนเองและผูอื่น ตอครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติตามท่ีรัฐธรรมนูญ
แหงราชอาณาจกั รไทยกาํ หนดไว ดงั นี้

1) การเคารพสิทธขิ องตนเองและผอู น่ื ทมี่ ีตอครอบครวั

ทม่ี า : https://i.pinimg.com/236x/c9/3f/34/c93f34323ea5c82aaadb17bf1aaa9c4c--innovation-php.jpg

ครอบครัวประกอบดวยพอแมลูก ทุกครอบครัวมีสิทธิที่จะไดรับความคุมครอง
ตามรฐั ธรรมนญู ในหลายประเด็นดวยกัน โดยเฉพาะเรื่องการใชความรุนแรง และการปฏิบัติอันไมเปนธรรม
หมายความวา พอ แม และลกู จะตอ งไมใ ชค วามรุนแรงหรือปฏิบัติตอกันอยางไมเปนธรรม กรณีระหวางสามี
ภรรยาจะตองเคารพและรับฟง ความคิดเห็นของกนั และกนั ไมตัดสินปญหาโดยใชกําลัง กรณีระหวางบุตรกับ
บิดามารดา บตุ รตอ งเชอื่ ฟงคําส่งั สอนของบิดามารดา บิดามารดาจะตองอบรมส่งั สอนบุตรโดยใชเหตุผล ไมใช
การแกไขพฤตกิ รรมลกู ดว ยการเฆ่ยี นตี เลีย้ งลกู ดวยรักความเขา ใจ และใชสทิ ธเิ สรีภาพในการแสวงหาความสุข
สว นตวั แตต องอยูในขอบเขตและไมท ําใหเ กิดความเดือดรอ นหรือสรางปญหาใด ๆ ใหแกบ ิดามารดา

2) การเคารพสทิ ธิของตนเองและผอู นื่ ทมี ตี อชมุ ชนและสงั คม
สมาชิกทุกคนในสังคมมีสิทธิเทาเทียมกันในการดํารงชีวิตในสังคม โดยสิทธิดังกลาว

จะตอ งไมละเมดิ สิทธิของสมาชกิ คนอน่ื ในสังคม ในทน่ี ขี้ อยกตวั อยา งสิทธิของตนเองท่ีมีตอชุมชนบางประการ
ดังนี้

(1) เสรภี าพในเคหสถาน ชาวไทยทกุ คนยอ มมีเสรภี าพในเคหสถาน ที่จะสามารถอาศัย
และครอบครองเคหสถานของตนโดยปกตสิ ขุ ไมว า จะเกดิ จากการเชา หรอื เปนเจาของกรรมสิทธ์ิ ซึ่งบุคคลอ่ืน
จะตองใหความเคารพในสิทธิน้ี แมแตเจาหนาท่ีของรัฐหากจะตองเขาไปดําเนินการตามกฎหมายใด ๆ เชน
การตรวจคน เคหสถานของประชาชนก็จะทําการมิได เวน แตจะมหี มายคน ทอี่ อกโดยศาลเทานัน้

(2) เสรีภาพในการเดนิ ทางและการติดตอสอ่ื สาร ชาวไทยทุกคนมีเสรีภาพท่ีจะเดินทางไป
ในที่ตาง ๆ บนผืนแผนดินไทยไดทุกพื้นที่ของประเทศไทย และสามารถเลือกถิ่นที่อยูอาศัย ณ ท่ีใดก็ได
ในประเทศไทย รวมทง้ั ชาวไทยทกุ คนสามารถที่จะติดตอสื่อสารกับบุคคลอื่นไมวาจะเปนทางจดหมาย โทรศัพท
หรืออนิ เทอรเ นต็

74
(3) เสรภี าพในการนบั ถอื ศาสนา สมาชิกทกุ คนในสงั คมมสี ิทธิ เสรีภาพท่จี ะนบั ถือศาสนา
แตกตางกนั ได ซง่ึ บคุ คลอนื่ ในสงั คมรวมท้งั รฐั จะตอ งใหความเคารพสทิ ธเิ สรีภาพในเรื่องนีด้ วย
(4) เสรภี าพในทางวชิ าการ เยาวชนไทยทุกคนจะตองไดรับการศึกษาข้ึนพ้ืนฐานไมนอยกวา
12 ป โดยไมเ สียคาใชจ าย นอกจากนี้คนไทยทุกคนยังมสี ิทธิในการทจ่ี ะศกึ ษาคนควาหรือทําวจิ ัยตามที่ตองการ
โดยไมข ดั ตอกฎหมาย

ท่มี า : https://encrypted-
tbn0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcQkQZi665uPk8tuXiAB4f7WWaEvVbEkohvjEKKC3bGREf4RBlaH6Q

(5) เสรีภาพในการชุมนุมอยางสงบโดยปราศจากอาวุธ หมายถึง ประชาชนทุกคน
มีสิทธิเสรีภาพในการชุมนุมแตตองเปนไปโดยสงบ ปราศจากอาวุธ และตองไมรบกวนสิทธิของผูอื่น
การปราศจากอาวธุ น้นั หมายรวมถึง หามทุกคนทม่ี ารว มชุมนมุ พกพาอาวธุ เขามาในที่ชุมนุมเด็ดขาด บุคคลใด
พกพาอาวธุ เขา มาในทช่ี ุมนุม บุคคลน้นั จะไมไดรบั ความคมุ ครองตามรัฐธรรมนญู ในกรณีทีไ่ ดกลา วมาขางตน

ที่มา : https://3.bp.blogspot.com/-w-hw-RTGYu0/WFE4SLaSAuI/AAAAAAAAAE0/t-
PRwB_iXj8byXn2p5_kGlhkg1Fhe3f8wCLcB/s1600/17.jpg

(6) สทิ ธิเสรภี าพในการอนรุ ักษแ ละฟน ฟูจารตี ประเพณี ภมู ิปญ ญาทอ งถิ่น ทุกคนยอม
มีสวนรวมในการอนุรักษ และรวมสืบสานศิลปะหรือวัฒนธรรมอันดีงามของทองถิ่นและของประเทศชาติ
เพอ่ื ใหด ํารงอยูตอ ไปกบั อนชุ นรุนหลัง

75

(7) สิทธิเสรภี าพในการประกอบอาชีพ โดยเสรีภาพในการประกอบอาชีพจะตองไมเ อารัด
เอาเปรียบผอู ื่น เชน ผปู ระกอบการจะตองเคารพและซื่อสตั ยตอ ผบู ริโภค และไมเ อาเปรียบผูบรโิ ภค เปนตน

3) การเคารพสิทธิของตนเองและผูอื่นทมี่ ีตอประเทศชาติ
(1) สทิ ธใิ นการมสี ว นรวม หมายถึง สทิ ธิการมสี วนรวมในกระบวนการพจิ ารณาของ

เจาหนาทรี่ ฐั เกย่ี วกบั การปฏิบตั ริ าชการดา นการปกครอง อนั มผี ลกระทบตอ สิทธิและเสรีภาพของคนในสงั คม
โดยตรง

(2) สทิ ธทิ จ่ี ะฟอ งรอ งหนวยราชการ หนว ยงานของรฐั รัฐวสิ าหกิจ ราชการสว นทอ งถ่นิ
เชน เทศบาล องคการบรหิ ารสวนตําบล องคการบรหิ ารสวนจงั หวดั หรอื องคกรของรัฐท่ีเปน นิติบุคคล ประชาชน
มสี ทิ ธิทจี่ ะฟองรอ งหนว ยงานตาง ๆ เหลานใ้ี หร ับผดิ ชอบ หากการกระทําใด ๆ หรอื การละเวนการกระทาํ ใด ๆ
ของขา ราชการ พนกั งาน หรอื ลูกจางของหนว ยงานนั้น สง ผลกระทบตอ การดําเนนิ ชวี ติ ของประชาชนตอ
ศาลปกครอง

(3) สิทธิทีจ่ ะตอตา นโดยสนั ตวิ ธิ ี การกระทําใดที่จะเปน ไปเพอื่ ใหไดม าซง่ึ อาํ นาจในการ
ปกครองประเทศ โดยวิธกี ารซึง่ มิไดเ ปน ไปตามวิถีทางท่ีบญั ญตั ไิ วใ นรฐั ธรรมนูญ เชน การตอตานการทําปฏิวัติ
รัฐประหาร เปน สง่ิ ท่ปี ระชาชนมีสิทธทิ ีจ่ ะออกมาตอ ตา น แตตองเปน ไปโดยสนั ตวิ ิธี เปนตน

2. แนวทางการปฏบิ ตั ิตนในการเคารพสิทธิของตนเองและผูอ ่นื
การปฏิบัตติ นตามสิทธขิ องตนเองและผอู ่นื ในสังคม เปนส่ิงท่ีชวยจัดระเบียบใหกับสังคม

สงบสุข โดยมีแนวทางปฏบิ ัติ ดังนี้
1) เคารพสทิ ธขิ องกันและกนั โดยไมล ะเมิดสิทธิเสรภี าพของผอู ่นื สามารถแสดงออกได

หลายประการ เชน การแสดงความคิดเหน็ การยอมรบั ฟงความคิดเห็นของผอู น่ื เปน ตน
2) รูจักใชส ิทธิของตนเองและแนะนาํ ใหผูอ น่ื รูจักใชสิทธขิ องตนเอง
3) เรยี นรแู ละทาํ ความเขา ใจเกย่ี วกับหลกั สทิ ธเิ สรภี าพตามที่บัญญตั ิไวในรฐั ธรรมนูญ เชน

สิทธิเสรีภาพของความเปนมนุษย สิทธเิ สรภี าพในเคหสถาน เปนตน
4) ปฏบิ ัติตามหนาท่ีของชาวไทยตามที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ เชน การออกไปใชสิทธิ

เลอื กตั้ง การเสยี ภาษใี หร ฐั เพ่ือนําเงนิ มาพฒั นาประเทศ เปนตน

ที่มา : https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcQTk-uF7g6FAa3GqzdNTFk-
l16nTgMPucaw_BOpB9jLPaArCpvU

76

3. ผลท่ไี ดรบั จากการปฏบิ ตั ติ นในการเคารพสทิ ธขิ องตนเองและผอู ่ืน
1) ผลท่ีเกิดกับประเทศชาติ หากประชาชนมีความสมัครสมานรักใคร ไมมีความแตกแยก

ไมแ บง เปน พวกเปน เหลา บานเมืองกจ็ ะสงบสขุ เกิดสวสั ดภิ าพ บรรยากาศโดยรวมจะสดใส ปราศจากการระแวง
ตอกนั การดาํ เนินกจิ กรรมตา ง ๆ สามารถดาํ เนินไปอยางราบรน่ื นักลงทุน นักทองเท่ียวก็จะเดินทางมาเยือน
ประเทศของเราดวยความมน่ั ใจ

2) ผลทเ่ี กดิ ข้ึนกับชมุ ชนหรือสังคม เมื่อประชาชนในสังคมรูจักสิทธิของตนเอง และของ
คนอื่น ก็จะนําพาใหชุมชนหรือสังคมเกิดการพัฒนา เม่ือสังคมมั่นคงเขมแข็งก็จะมีสวนทําใหประเทศชาติ
เขม แขง็ เพราะชมุ ชนหรือสงั คมเปน สวนหนึ่งของประเทศชาติบานเมืองโดยรวม

3) ผลที่เกดิ ขน้ึ กบั ครอบครวั ครอบครวั เปน สถาบนั แรกของสังคม เม่ือครอบครัวเขมแข็ง
และอบรมสง่ั สอนใหสมาชกิ ในครอบครัวทุกคนรูบทบาท สิทธิ เสรีภาพของตนเองและปฏิบัติตามท่ีกฎหมาย
และรฐั ธรรมนญู ไดใหค วามคุมครองไดอยา งเครง ครัด โดยไมละเมิดสิทธิเสรีภาพของสมาชิกอ่ืนในสังคม ก็จะ
นําพาใหสงั คมและประเทศชาตเิ ขมแข็งตามไปดว ย

77

กจิ กรรมที่ 1

ใหผูเรียนยกตวั อยางสทิ ธิ หนา ท่ี และเสรภี าพของตนเองตามรัฐธรรมนญู

78

เรอื่ งท่ี 2 ระเบยี บ กฎ กตกิ า กฎหมาย กับการเปน พลเมอื งท่ดี ีมีสว นรวมในการปองกนั และ
ปราบปรามการทุจรติ

ความหมาย ความสาํ คัญของระเบยี บ กฎ กติกา และกฎหมายกับการเปน พลเมอื งทีด่ ี
ในสังคมปจ จบุ ัน มกี ารใชร ะเบียบ กฎ กติกา และกฎหมายในการอยรู ว มกัน เพอ่ื ความเปนระเบียบ
เรยี บรอ ยของบา นเมอื ง หากมผี ใู ดดาํ เนนิ ชีวติ ไมเ ปนไปตามกฎ กติกา กฎหมาย อาจเสย่ี งที่จะนําไปสูการเปน
ผูทจุ ริตได
ระเบียบ หมายถึง แบบแผนท่ีวางไวเปนแนวปฏิบัติหรือดําเนินการ เชน ระเบียบวินัย ระเบียบ
ขอ กําหนด
กฎ หมายถึง ขอกําหนดหรือขอบัญญัติท่ีบังคับใหตองมีการปฏิบัติตาม เชน พระราชกฤษฎีกา
กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง
กติกา หมายถึง กฎเกณฑหรอื ขอ ตกลงท่ีบุคคลต้ังแต 2 ฝา ยข้นึ ไป กําหนดข้ึนเปนหลักปฏิบัติ เชน
กตกิ าชกมวย กตกิ าฟตุ บอล
กฎหมาย หมายถึง กฎเกณฑท่ีผูมีอํานาจตราข้ึน เพื่อใชบังคับบุคคลใหปฏิบัติตามเปนการท่ัวไป
ผใู ดไมป ฏบิ ัตติ ามยอมไดร ับผลรา ย กฎหมายอาจตราขนึ้ เพื่อกาํ หนดระเบยี บ ความสัมพันธร ะหวา งบคุ คล หรือ
ระหวางบคุ คลกับรฐั หรอื เพอ่ื ใชในการบริหารประเทศ กฎหมายอาจเกิดจากจารีตประเพณี อันเปนที่ยอมรับ
นบั ถือกนั ได
พลเมอื งดี หมายถงึ ประชาชนทปี่ ระพฤตปิ ฏิบัตติ ามระเบียบกฎเกณฑของสังคมมีความรับผิดชอบ
ตอหนา ท่ีของตนเอง รจู กั บทบาทหนา ทีข่ องตนเอง และปฏบิ ตั ติ นไดอ ยางเหมาะสมไมละเมิดลวงล้ําสิทธิ และ
เสรีภาพของบคุ คลอื่น
การทุจรติ คอื การคดโกง ไมซ ่ือสตั ยสจุ ริต การกระทาํ ท่ีผดิ กฎหมาย เพ่อื ใหเกิดความไดเปรียบในการ
แขงขัน การใชอํานาจหนาท่ีในทางที่ผิดเพื่อแสวงหาประโยชนหรือใหไดรับสิ่งตอบแทน การใหหรือการรับ
สนิ บน การกาํ หนดนโยบายท่ีเอื้อประโยชนแกต นหรือพวกพอ งรวมถงึ การทจุ ริตเชิงนโยบาย
ปญ หาการทุจรติ เปน ปญ หาท่ีสําคัญทง้ั ของประเทศไทยและประเทศอ่นื ๆ ท่วั โลก ปญ หาการทุจรติ
จะทําใหเกิดความเส่ือมในดานตาง ๆ เกิดข้ึน ท้ังสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และนับวันปญหาดังกลาวก็จะ
รนุ แรงมากขึ้น และมีรปู แบบการทจุ รติ ที่ซับซอ น ยากแกการตรวจสอบมากขึน้ จากเดมิ ทกี่ ระทําเพยี งสองฝาย
ปจจุบันการทุจริตจะกระทํากันหลายฝาย ท้ังผูดํารงตําแหนงทางการเมือง เจาหนาท่ีของรัฐ และเอกชน
โดยประกอบดวยสองสว นใหญ ๆ คือ ผใู หผลประโยชนก ับผูรับผลประโยชน ซง่ึ ทั้งสองฝายนี้จะมีผลประโยชน
รวมกนั ตราบใดท่ีผลประโยชน สมเหตุสมผลตอกัน กจ็ ะนาํ ไปสูปญหาการทุจริตได บางครง้ั ผูทีร่ บั ผลประโยชน
ก็เปน ผใู หป ระโยชนไดเ ชน กัน

79

กฎหมายทเี่ กี่ยวของกบั การเปนพลเมืองท่ดี มี ีสว นรวมในการปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ
ประเทศไทยมีองคกรอิสระและหนวยงานที่เก่ียวกับการปองกันและปราบปรามการทุจริต รวมถึง
การออกกฎหมายทเี่ กีย่ วขอ งกบั การปอ งกนั และปราบปรามการทุจริต เพื่อการปองกันและปราบปรามการทุจริต
และประพฤติมิชอบใหครอบคลุมภาครัฐ ภาคเอกชน องคกรพัฒนาเอกชน และภาคประชาชน อันจะสงผลให
สังคมไทยมีวินัย โปรงใส ยึดม่ันในความซื่อสัตยสุจริตและยุติธรรม รวมทั้งการสรางพลเมืองดี มีความเขมแข็ง
เปนภูมคิ ุม กนั ของสังคมไทย โดยมีกฎหมายท่เี ก่ียวของกับการปองกนั และปราบปรามการทุจริตทีส่ าํ คญั ดงั นี้

1) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนญู วาดว ยการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริต พ.ศ. 2542
และทแี่ กไขเพม่ิ เตมิ

2) พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู วาดวยการตรวจเงนิ แผนดิน พ.ศ. 2542 และทแี่ กไข
เพ่มิ เตมิ

3) พระราชบัญญัตมิ าตรการของฝายบรหิ ารในการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2551
และที่แกไ ขเพมิ่ เติม

4) พระราชบญั ญัตจิ ดั ตงั้ ศาลอาญาคดที ุจริตและประพฤติมชิ อบ พ.ศ. 2559
5) พระราชบญั ญตั วิ ธิ ีพจิ ารณาคดที จุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ พ.ศ. 2559
6) ประมวลกฎหมายอาญา หมวด 2 ความผดิ ตอ ตาํ แหนงหนาท่ีราชการ และความผดิ ตอ
ตําแหนง หนา ทีใ่ นการยตุ ธิ รรม
7) พระราชบญั ญตั วิ าดว ยความผดิ ของพนกั งานในองคการหรอื หนว ยงานของรัฐ พ.ศ. 2502
8) ขอ บังคับของประธานศาลฎีกา วา ดวยวธิ ีการดําเนนิ การคดที จุ รติ และประพฤติมิชอบ
พ.ศ. 2559
9) ระเบยี บสํานกั งานอยั การสงู สดุ วาดว ยการดาํ เนินคดีอาญาของพนักงานอัยการ
ตามกฎหมายวาดว ยมาตรการของฝา ยบรหิ ารในการปองกนั และปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ. 2557

80

กจิ กรรมที่ 2

ใหผูเรียนยกตวั อยา งการเปน พลเมอื งที่ดใี นการปองกนั และปราบปรามการทุจรติ

81

เร่อื งท่ี 3 ความรับผดิ ชอบตอ ตนเองและผูอนื่

ความหมายของคําวารบั ผดิ ชอบ
รบั ผิดชอบ หมายถึง ยอมรบั ผลทงั้ ทด่ี ีและไมดีในกิจการที่ตนเองไดทําลงไปหรือที่อยูในความดูแล
ของตนเอง
ความรบั ผิดชอบตอตนเอง หมายถึง การรับรูฐานะและบทบาทของตนท่ีเปนสวนหนึ่งของสังคม
ซง่ึ จะตองดาํ รงตนอยใู นสภาพทช่ี วยเหลือตนเองได โดยท่ีบุคคลควรจะวิเคราะหและแยกแยะวาสิ่งใดถูกหรือผิด
เหมาะสมหรือไม และมีความสามารถท่ีจะเลือกตัดสินใจในการเปนที่ยอมรับของสังคม ความรับผิดชอบ
ตอตนเอง แบงไดเ ปน
1. ความรับผดิ ชอบในดา นการรักษาสุขภาพอนามยั ของตนเอง คอื สามารถเอาใจใสแ ละระมัดระวัง
สขุ ภาพอนามัยของตนเอง ใหมีความสมบูรณแ ขง็ แรงอยเู สมอ
2. ความรบั ผิดชอบในการหาเคร่ืองอุปโภคบริโภค คือ สามารถจัดหาและดูแลเคร่ืองใชสวนตัวให
เปน ระเบยี บเรยี บรอย อยูในสภาพทส่ี ามารถใชงานไดเหมาะสม
3. ความรับผิดชอบในดา นสติปญ ญาและความสามารถ คอื ตั้งใจศกึ ษาเลาเรียนใฝหาความรูตาง ๆ
การฝกฝนตนเองในดานประสบการณตา ง ๆ
4. ความรับผิดชอบในดานความประพฤติ คอื รจู กั ประพฤตใิ หเหมาะสม เปนผูม รี ะเบียบวินัย ดํารงตน
ใหอ ยูในคุณธรรม จริยธรรม
5. ความรับผิดชอบในดานมนุษยสัมพันธ คือ รูจักท่ีจะปรับตัวใหอยูรวมกับผูอื่นในสังคมไดอยาง
เหมาะสม
6. ความรบั ผดิ ชอบในดา นเศรษฐกิจสวนตัว คือ รูจักวางแผนและประมาณการใชจายของตน โดยยึด
หลักการประหยัดและอดออม
7. ความรับผดิ ชอบเร่ืองการงาน คือ เมื่อไดรับมอบหมายใหทํากิจใดก็ตองทําใหเรียบรอยภายใน
เวลาทกี่ ําหนด
8. ความรบั ผิดชอบตอการกระทําของตน คือ ยอมรับผลการกระทําของตนท้ังผลดีหรือในดานท่ีเกิดผล
เสียหาย

ทม่ี า : https://www.wikihow.com/images_en/thumb/0/00/Be-Responsible-Step-18-Version-2.jpg/v4-728px-
Be-Responsible-Step-18-Version-2.jpg

82

ความรับผิดชอบตอผอู นื่ หมายถึง ภาระและหนา ที่ของบคุ คลซึ่งเกย่ี วของและมีสว นรว มตอ สวัสดิภาพ
ของผูอนื่ ในสังคมทีต่ นเปน สมาชกิ ดว ยเหตทุ ่บี คุ คลทุกคนเปน สวนประกอบของสังคมไมวาจะเปนสังคมขนาดเล็ก
จนถึงสังคมขนาดใหญ ไดแก ครอบครัว ช้ันเรียน สถานศึกษา ชุมชน และประเทศชาติ ตามลําดับ ดังน้ัน
การกระทําของบุคคลใดบุคคลหน่ึงยอมตองสงผลกระทบตอสังคมสวนรวมไมมากก็นอย เมื่อบุคคลทุกคนมี
ภาระหนา ที่ทจ่ี ะเก่ียวพนั กบั สวสั ดภิ าพของสังคมที่ตนดาํ รงอยู บุคคลจึงมหี นา ทีแ่ ละความรับผดิ ชอบตอ งปฏบิ ตั ิ
ตอสงั คม 5 ประการ ดงั นี้

1. ความรับผดิ ชอบตอบิดามารดาและครอบครัว ไดแก ใหความเคารพและเชื่อฟง ชวยเหลือการงาน
ใหเ ตม็ ความสามารถในแตละโอกาสอันสมควร ประพฤตติ นเปน คนดี ตัง้ ใจศกึ ษาเลาเรยี น ไมนาํ ความเดอื ดรอน
มาสคู รอบครัวและชว ยกนั รกั ษา และเชิดชูชือ่ เสยี งวงศต ระกูล

2. ความรบั ผดิ ชอบตอเพ่ือน ไดแก การใหความรักแกเพ่ือนเปรียบเสมือนพ่ีนองของตน ตักเตือน
เม่ือเพ่ือนกระทาํ ผิด คอยแนะนาํ ใหเ พ่ือนกระทําในสงิ่ ท่ถี กู ตอ ง ชวยเพ่ือนอยางเหมาะสมและถูกตอ ง ไมเอารัด
เอาเปรยี บ ใหอ ภัยในกรณีท่ีเกิดความผดิ พลาดหรอื บาดหมางกัน ใชถ อยคาํ สุภาพตอกนั ดว ยความออ นโยน

3. ความรับผิดชอบตอสถานศึกษาครูอาจารย ไดแก การต้ังใจศึกษาเลาเรียน ไมหนีเรียน เคารพ
และเช่ือฟงครูอาจารย ชว ยเหลือกิจกรรมงานของสถานศึกษาอยา งเครงครัด รักษาความสะอาด ไมทําลายทรัพย
สมบตั ิของสถานศกึ ษา รกั ษาและสรางชอ่ื เสียงเกยี รติยศของสถานศึกษา

4. ความรับผิดชอบตอ ชมุ ชน ในฐานะท่เี ปนสมาชกิ ของชุมชน ไดแ ก เคารพ และปฏิบัติตามระเบยี บ
ขอบงั คบั หรือขนบธรรมเนยี มประเพณีที่ยึดถือภายในชมุ ชนของตน ชวยรักษาสาธารณสมบัติและใหความรวมมือ
ในการทํางานเพอื่ พัฒนาชุมชน ไมละเลยตอพลเมอื งดี

5. ความรบั ผดิ ชอบตอประเทศชาติ ไดแก ปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบตาง ๆ ของสังคม รักษา
สาธารณสมบตั ิของชาติ ใหค วามรวมมือและชวยเหลือเจาหนาที่ในการรักษาความม่ันคงของชาติ จงรักภักดี
ตอชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย รกั ษาความสามคั คีของคนในชาติ ดาํ รงไวซ ่งึ ศลิ ปวัฒนธรรมแหง ความเปนไทย

ท่ีมา : http://www.goodyear.co.th/wp-content/uploads/gy_th_csr_03.jpg

83

แนวทางการประยกุ ตค วามรับผิดชอบมาใชใ นการดําเนินชีวิต
แนวทางปฏบิ ตั เิ พอื่ การดํารงชวี ิตท่รี บั ผดิ ชอบตอสังคม มีแนวทางปฏิบัติในฐานะพลเมืองดี

ผูรับผดิ ชอบตอ สังคม ดังนี้
1. มีวินัยในตนเอง เด็ดเดี่ยว บังคับใจตนเองได สามารถกระทําส่ิงตาง ๆ ที่ตนตองการ

จะกระทาํ และละเวนสง่ิ ตาง ๆ ทตี่ นเองตองการจะละเวน ได สามารถจูงใจตนเองได
2. มีความกลา หาญทางจรยิ ธรรม กลา ท่จี ะแสดงความคิดเห็นของตน รักษาสิทธิของตนไว

เม่อื เหน็ การกระทําที่ไมถกู ตอง ไมเ หมาะสม ตอ งกลาท่ีจะคัดคา น แสดงความไมเหน็ ดวย หรอื แสดงประชามติ
รว มกัน เพือ่ แสดงความไมพ งึ ใจ หรือเพื่อใหฝายท่กี ระทําผดิ หรือมพี ฤตกิ รรมไมเหมาะสม ไดรูตัว หรือละเลิก
การกระทํานั้น ๆ เสีย

3. มีจติ ใจ หรือมจี ิตสาธารณะ มีจิตใจกวางขวาง มุงรกั ษาผลประโยชนของสว นรวมมากอ น
ประโยชนสวนตนเสมอ หากร่ํารวยมีเงินทอง มีฐานะแลว เม่ือมีโอกาสที่จะชวยเหลือกิจการสาธารณะ หรือ
ชว ยเหลือผตู กทุกข ผผู จญกบั ทพุ ภิกขภัย วาตภยั อทุ กภยั กใ็ หความชว ยเหลือบา งตามกําลังศรัทธา

4. มีความรับผดิ ชอบตอ สวนรวม ชวยกันดูแลรักษาทรัพยสมบัติกลางของสวนรวม ส่ิงใด
ท่ีเปนของสาธารณะ เชน ถนนหนทาง บอนํ้า ฝายนํ้าลน แมนํ้าลําคลอง จะตองหวงแหน รวมกันทํานุ
บํารงุ รักษาไว เพ่ือใหค นทั้งหลายไดใชประโยชนร ว มกัน

5. มีความผูกพันและยึดม่ันในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม
ทํางานรว มกนั รว มแสดงความคิดเห็น แสดงมติ และลงมอื กระทําการตาง ๆ เหลานั้นดวยกัน มุงม่ันในการทํางาน
เปนทมี มคี วามพรอมเพรียงสมานฉันทกันดี

6. ใหค วามรวมมือ และมีสวนรวมในกิจกรรมกลุมและสมาคม ยินดีและเต็มใจรวมกิจกรรม
ตา ง ๆ ทีก่ ลุม และสมาคมริเรม่ิ ข้นึ มา เปน งานอาสาสมคั ร งานทรี่ ว มกันทาํ บญุ ทาํ กุศลเพื่อชวยเหลือ สงเคราะห
แกผ ยู ากไร แกส ตั วทัง้ หลาย ฯลฯ

84

กิจกรรมที่ 3

ใหผูเรยี นยกตวั อยา งพฤตกิ รรมหรอื การประพฤตปิ ฏิบตั ติ นทแี่ สดงถึงการมีความรบั ผดิ ชอบตอ ตนเองและผูอ ่ืน
มาอยา งนอ ย 3 ขอ

85

เรื่องท่ี 4 ความเปน พลเมือง

ความหมายของคําวา ความเปน พลเมอื ง
พลเมอื ง หมายถงึ ประชาชน ราษฎร ชาวประเทศ
ความเปน พลเมอื ง คือ สถานภาพของบุคคลท่ีจารีตประเพณีหรือกฎหมายของรัฐรับรอง ซ่ึงไดแก
สิทธิและหนา ทแี่ หง ความเปนพลเมืองแกบ ุคคล (เรียก พลเมอื ง) ซ่ึงอาจรวมสิทธอิ อกเสยี งเลือกตั้ง การทํางาน
และอาศัยอยูในประเทศ สิทธิกลับประเทศ สิทธิครอบครองอสังหาริมทรัพย การคุมครองทางกฎหมาย
ตอรัฐบาลของประเทศ และการคุมครองผานกองทัพหรือการทูต พลเมืองยังมีหนาที่บางอยาง เชน หนาท่ี
ปฏบิ ัตติ ามกฎหมายของรัฐ จา ยภาษี หรอื รับราชการทหาร บคุ คลอาจมคี วามเปนพลเมอื งมาก และบุคคลที่ไม
มีความเปน พลเมอื ง เรียก ผไู รส ัญชาติ
การสรา งความเปนพลเมอื งไมไดเ ฉพาะแตการทําใหประชาชนรูถึงสิทธิและหนาท่ีท่ีตนเองมีเทาน้ัน
แตต อ งหันมาสนใจทจี่ ะสรางใหพลเมืองเกดิ ความตระหนกั ถงึ ความรบั ผิดชอบตอ สวนรวมมากกวาสวนตัว และ
อยูรวมกันอยางสันติภาพ สันติสุข มีอิสระท่ีจะกระทําใด ๆ ภายใตขอบเขตกฎหมายโดยไมลวงละเมิดสิทธิ
เสรีภาพของผูอื่น การปกครองในระบอบประชาธิปไตยจะประสบความสําเร็จไดน้ัน จําเปนจะตองสราง
“พลเมือง” ท่ีสามารถปกครองตนเองได ซ่ึงทุกสังคมทุกประเทศตองการเหมือนกัน และหากสังคมไทย
มปี ระชาชนที่เปน พลเมืองและเขาใจในระบอบประชาธิปไตยอยางแทจริงก็จะทําใหประเทศพัฒนากาวหนา
และมคี วามมน่ั คงอยางย่ังยนื

ที่มา : https://sites.google.com/site/fernzcxy/_/rsrc/1393160763348/8-
citizenship/%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87.jpg

?height=313&width=320

แนวทางการประยกุ ตค วามเปน พลเมอื งมาใชในการดาํ เนินชีวติ
ความเปนพลเมืองในการดําเนินชีวิต ควรปฏิบัติตนตามกฎหมาย ดํารงตนเปนประโยชนตอสังคม
โดยมกี ารชวยเหลอื เก้อื กลู กนั อนั จะกอ ใหเ กดิ การพัฒนาสังคมและประเทศชาติ ใหเปนสังคมและเปน ประเทศ
ประชาธปิ ไตยอยา งแทจริงตามหลักการประชาธิปไตย


Click to View FlipBook Version