คำ�อนโุ มทน�
หนังสอื ธรรมะแต่ละเลม่ จะส�ำ เร็จข้ึนม�เพอื่ แจกท�นให้ท่�นผใู้ คร่ธรรมไดอ้ �่ น ย่อม
ส�ำ เร็จดว้ ยอ�ำ น�จแห่งศรัทธ�ของท่�นผูใ้ จบุญท้งั หล�ยชว่ ยกนั บริจ�คและจดั ทำ� แม้เล่มน้ีก็
ส�ำ เร็จขึน้ ม�เพร�ะแรงศรทั ธ�ของท�่ นผู้ใจบุญหนุนโลกเชน่ เดยี วกนั ล�ำ พงั ผู้แสดงก็มีเพยี ง
ลมป�กอย�่ งเดียวเท่�นน้ั พอแสดงจบลงลมป�กก็ห�ยสูญไปในขณะน้นั ไม่อ�จเหนีย่ วรัง้
ธรรมท่แี สดงออกน้ันๆ ใหจ้ รี ังยง่ั ยืนสบื ไปไดเ้ ลย เพร�ะไม่มปี ญั ญ�สร�้ งธรรมให้จีรังยง่ั ยืน
ไดด้ ้วยวิธกี �รใดๆ ท่เี หน็ ว�่ เหม�ะสม จ�ำ ต้องอ�ศยั บุญบ�รมขี องท�่ นคณะศรทั ธ�ผ้ใู จบุญ
ท้ังหล�ย ชว่ ยเสรมิ สร้�งคว�มจีรังถ�วรแห่งธรรม ดว้ ยก�รรว่ มกนั บรจิ �คและจดั พิมพเ์ ป็น
เลม่ ขึ้นม� เพ่ือท่�นผูอ้ ่�นไดอ้ �ศยั พ่ึงร่มเง�แห่งใบบญุ หนนุ โลกอนั ไมม่ ปี ระม�ณน้นั ผู้แสดง
จึงขออนโุ มทน�กับท่�นทัง้ หล�ยเปน็ อย่�งยงิ่ ม�พรอ้ มนี้ บญุ กศุ ลทั้งมวลที่เกิดขึน้ เพร�ะก�ร
บ�ำ เพ็ญน้ี จงส�ำ เรจ็ ผลอันพงึ หวงั ดงั ใจหม�ยโดยทวั่ กนั เทอญ
ค�ำ อนโุ มทน�ในก�รพมิ พ์เมอื่ ๙ มถิ นุ �ยน ๒๕๒๗
ค�ำ น�ำ
ก่อนอ่ืนต้องขออภยั ต่อท่�นผู้อ�่ นโดยทัว่ กนั ท่ไี ม่อ�จดัดแปลงแก้ไขเนอื้ ธรรมและสำ�นวน
ต�่ งๆ ให้เหม�ะสมกบั หนงั สอื เล่มนี้ ที่จะออกส่สู �ยต�ส�ธ�รณชนซึ่งมคี ว�มรสู้ ึกในแงแ่ หง่ ธรรม
หนกั เบ�ต�่ งกัน เนอ่ื งจ�กก�รแสดงธรรมแต่ละกัณฑ์แกท่ ่�นผฟู้ งั ซึง่ ลว้ นเปน็ นักปฏบิ ัติธรรมดว้ ยกนั
ประสงคอ์ ย�กฟงั ธรรมป�่ ที่เกีย่ วกบั ภ�คปฏบิ ัตจิ ิตภ�วน�ม�กกว่�ภ�คอืน่ ๆ ผู้แสดงซ่ึงเปน็ พระป่�ๆ
อยู่แลว้ จงึ เรม่ิ แสดงธรรมป่�โดยล�ำ ดบั ต�มนิสยั ป�่ แตก่ ณั ฑ์เริม่ แรกจนถึงกัณฑ์สดุ ท้�ย ซงึ่ รวมก�ร
เทศนต์ ิดตอ่ กันม�โดยล�ำ ดบั ในชว่ งนนั้ คงไม่ตำ่�กว�่ ๘๐ กณั ฑ์ ซง่ึ ส่วนม�กมักเปน็ ธรรมเผ็ดร้อน
ม�กกว�่ จะสมนำ�้ สมเนอื้ เท�่ ท่คี วร
หลงั จ�กก�รแสดงธรรมผ�่ นไปแล้วเปน็ ปๆี จึงมีท่�นผศู้ รทั ธ� คอื ม.ร.ว.เสรมิ ศรี เกษมศรี
ม�แสดงคว�มประสงค์ขออนญุ �ตพมิ พก์ ณั ฑเ์ ทศนเ์ หล่�น้ีขึน้ เป็นเลม่ เพ่อื แจกท�น และประสงค์ให้
กณั ฑ์เทศนเ์ หล่�น้ที พ่ี ิมพ์เปน็ เลม่ แลว้ จรี งั ย่ังยืนไปน�น จึงได้อนุญ�ตต�มอัธย�ศยั โดยไม่มหี นท�ง
แกไ้ ขกัณฑเ์ ทศนเ์ หล�่ นใี้ หเ้ หม�ะสมแก่ท่�นผู้อ่�นท่วั ๆ ไปไดแ้ ต่อย�่ งใด ถ้�เรอ่ื งใดประโยคใดไม่
เหม�ะสมกับจรติ นสิ ัยก็กรุณ�ผ�่ นไป ยดึ ไว้เฉพ�ะทีเ่ หน็ ว�่ ควรแก่นิสัยของตนๆ เพ่ือประโยชน์ในก�ล
ต่อไป
หนงั สอื ทผี่ ู้เขียนเรยี บเรียงข้ึน หวังใหท้ ุกท�่ นท่มี ีจติ ศรัทธ�ได้เป็นเจ้�ของพมิ พแ์ จกเปน็ ธรรม
ท�นด้วยกันได้ทกุ โอก�ส โดยไมต่ อ้ งขออนุญ�ตแต่อย�่ งใด สว่ นก�รพมิ พ์เพ่ือจ�ำ หน่�ย จึงขอสงวนสิทธิ์
ทุกๆ เล่มไป ดงั ทเ่ี คยปฏบิ ตั มิ �
คำ�นำ�ในก�รพมิ พเ์ มือ่ ๙ มิถุน�ยน ๒๕๒๗
ปฐมเหตุ ธรรมชุดเตรยี มพรอ้ ม
ผู้จัดทำ�ขอนำ�บทคว�มที่หลวงต�พระมห�บัวได้กล่�วถึงคุณเพ�พง�
วรรธนะกลุ ซึง่ คัดลอกบทคว�มบ�งตอนจ�ก “ญ�ณสัมปนั นธมั ม�นุสรณ์”
หน้� ๔๕๗-๔๕๘ จ�กหนงั สืออนสุ รณเ์ นอ่ื งในง�นพระร�ชท�นเพลงิ ถว�ย
แด่พระสรรี ะสงั ข�รพระธรรมวิสุทธมิ งคล (หลวงต�พระมห�บัว ญ�ณสัมปัน
โน)
ผแู้ ต่ง : วัดป่าบ้านตาด
ISBN : 978-974-350-988-9; Year/Edition : สงิ หาคม ๒๕๕๔/๙๒๘
บทคว�มบ�งตอนจ�กหน้� ๔๕๗ “เร่มิ เทศนเ์ พอื่ คนป่วย”
ในปี พ.ศ.๒๕๑๘ สตรซี ง่ึ เป็นศิษยอ์ งคห์ ลวงต�ท�่ นหนึง่ ชื่อคณุ เพ�พง� วรรธนะกลุ ได้ป่วยไขไ้ ม่
สบ�ยจงึ ไมค่ ดิ ท�ำ ง�นท�งโลกอกี ต่อไป คุณเพ�พง�ได้เขยี นจดหม�ยขอม�ปฏบิ ตั จิ ิตตภ�วน�เตรยี มรบั กับ
มรณภัยที่วดั ป�่ บ้�นต�ด ซึง่ องคห์ ลวงต�ท่�นกไ็ ด้ใหค้ ว�มอนเุ คร�ะหต์ �มท่ขี อและตง้ั ใจไปแสดงธรรมเปน็
กรณีพิเศษ ดังนี้
“...คุณเพ�เร�เสยี (ชีวิต)ไปกปี่ แี ลว้ ปี ๒๕๑๙-๒๕๒๐ ไม่รู้นะ เหตทุ ี่ว�่ อย่�งน้ันกค็ อื ว่� คุณเพ�นี้เป็น
โรคมะเรง็ กระดกู ข�้ งๆ น้ี หมอเข�บอกว่�อยูอ่ ย�่ งน�นได้ ๖ เดอื น แกก็หมดหวงั ละ เลยเขยี นจดหม�ย
‘อย�กม�ภ�วน�ก่อนต�ย’
เร�ก็พูดเป็นสองพักเอ�ไว้ (ตอบจดหม�ย) ‘ถ�้ ไปภ�วน�ธรรมด�ๆ น้ี อย�กอยู่ทไ่ี หน ไปทใี่ ดไปกไ็ ม่
ได้ ไม่ไปก็ไม่ว่�’ เร�ว่�ง้ันนะ ข้อสอง ‘ถ้�ตัง้ ใจจะภ�วน�จรงิ ๆ เพ่อื เห็นโทษแห่งคว�มต�ยของตวั เองแล้ว
ก็ เอ�! ไปได้’
เร�ว่�สองพัก พอแกได้รับจดหม�ยเย็นวันนี้แกก็ออกเดินท�งเลย ตอนเช้�ไปถึงแล้ว ไปรถยนต์
‘อ�้ ว จดหม�ยได้รบั หรือยงั ’
‘ไดร้ ับเมือ่ เยน็ ว�นน้ี พอไดร้ ับแล้วกม็ �เลย’
‘เอ�้ ถ้�อย�่ งน้ันให้เลือกเอ� กฏุ ิทีอ่ ุไร ห้วยธ�ร อยู่ กับกฏุ ิคุณหญงิ กอ้ ย สองหลงั นใ้ี หเ้ ลือกเอ�
เป็นทสี่ งดั จะพักหลงั ไหนกไ็ ด้’
กต็ อบว�่ ‘พกั หลังคณุ หญงิ ก้อย’ แต่กอ่ นมันเตยี้ ๆ พงึ่ ยกขน้ึ เมอื่ เรว็ ๆ น.้ี ..
ตงั้ แต่วันนน้ั ม�เร�เข�้ ไปเทศน์ใหฟ้ งั ทกุ วนั นะ ดเู หมือนเป็นปี ๒๕๑๘-๒๕๑๙ เทศนใ์ ห้ฟังทุกเย็น
พอตกเย็นม�จวนมดื แลว้ ไปกบั ท�่ นปญั ญ� ท่�นปญั ญ�เปน็ ผอู้ ัดเทป เร�ไปเทศนใ์ หฟ้ งั ทุกๆ เย็นเลย
เว้นแต่วันไหนประชุมพระ หรือเร�มีธุระจำ�เป็นเร�ก็บอกล่วงหน้�เอ�ไว้ว่�วันพรุ่งนี้จะไม่เข้�ม�
นอกจ�กนน้ั เทศน์ทกุ วนั ๆ ดเู หมอื น ๙๐ กว่�กณั ฑ์ ไปอยู่น้นั ตง้ั ๓ เดือนนน้ั ละจึงได้หนังสอื เล่มท่ีว่�
“ศ�สน�อยทู่ ไี่ หน” หน่ึง “ธรรมชุดเตรยี มพรอ้ ม” หนึง่ สองเล่มน่ีท่เี ทศน์ตดิ กันไปเร่อื ยๆ เปน็ หนังสือสอง
เลม่ นี้ กอ็ ยู่ย�่ นปี ๒๕๑๙ ม้ัง แกเสียปนี ัน้ เร�ลมื ๆ เสยี ...”
บทคว�มบ�งตอนจ�กหน้� ๔๕๘
“โยมแมไ่ ด้หลักใจฟังเทศนล์ ูก”
ในช่วงท่ีท่�นเมตต�สงเคร�ะห์คนป่วยในคร�วนี้เองทำ�ให้โยมแม่ขององค์หลวงต�ท่�นมีโอก�สฟัง
ธรรมอย่�งตอ่ เน่อื ง เกิดผลด�้ นจิตใจดงั นี้
“...โยมแม่ก็ไดม้ �ฟังเทศน์ ไม่ม�กละเทศน์กด็ เู หมือนประม�ณสกั ๓๐ น�ทีละมง้ั แตล่ ะกัณฑ์ๆ
ละ ๓๐ หรืออย่�งม�กก็ ๔๐ น�ที ห�กเทศน์ทกุ วนั เลย... นล่ี ะก็เทศน์สอนคุณเพ�พง� เทศน์ตดิ เทศน์
ต่อ เทศนไ์ ม่หยดุ ไมถ่ อย ตงั้ แตน่ ้นั ม�แล้วก็ไม่เคยเทศน์อย�่ งน้นั อกี นะ มหี นเดียวเท�่ น้นั ในชวี ติ ของเร�ที่
เทศนต์ ดิ กันไปเลยใน ๓ เดอื นเทศน์ทุกๆ คนื เวน้ วนั ประชุมพระ ถ�้ วนั ไหนประชุมอบรมพระไมเ่ ข้�หรือ
มีธรุ ะจ�ำ เป็นท่ีจะไปไหนก็ไป”
โยมแม่จงึ ได้กำ�ลงั ใจท่ีไปเทศน์สอนคุณเพ� โยมแมไ่ ด้ก�ำ ลงั ใจตอนน้นั ถึงขน�ดท่ีว่�พอคณุ เพ�
กลบั ไปแลว้ กพ็ ดู เปิดอกกับเร� นมิ นตเ์ ร�ใหไ้ ปเทศน์ “วนั ไหนไมม่ แี ขกคนม� ถ�้ อ�จ�รย์ว่�งกข็ อนมิ นต์ม�
เทศนส์ อนอบรมแม่บ้�งนะ เวล�ฟังเทศน์นีไ้ มไ่ ดบ้ ังคบั จิตใจ พอเริม่ เทศนจ์ ิตจอ่ ปบั๊ เท�่ น้ี เทศนน์ ้จี ะกล่อม
ลง แล้วแน่วเลยไม่ตอ้ งบงั คบั จิตสงบทุกครัง้ เลยไม่มีพล�ด ฟงั กณั ฑ์ไหนไดเ้ หตผุ ลเลย ไม่ตอ้ งบงั คบั พอ
เสยี งธรรมเริม่ สติก็เริม่ จับจิตเกย่ี วโยงกันโดยลำ�ดับ คว�มรกู้ ล่อมลงๆ ธรรมเทศน�กล่อมใจแน่วลง สงบ
แน่วๆๆ ถ้�แม่ทำ�โดยลำ�พงั ตนเอง นั่งจนหลงั จะหกั มันก็ไม่ลง อย�กนิมนต์อ�จ�รย์ม�เทศน์เปน็ ก�รช่วย
ท�งด�้ นจติ ตภ�วน�ไดด้ ี”
องคห์ ลวงต�ไดป้ ร�รภถงึ โยมม�รด�ของท่�นว่�
“...พดู ถงึ โยมแม่เร�พอใจในก�รปฏิบตั ิธรรม โยมแม่ได้หลักไม่สงสยั เลย ดีไม่
ดจี ะไม่กลบั ม�เกดิ อกี กไ็ ด้... หยดุ พักน่แี ล้วออกจ�กน่ีก�้ วผึงเลย ถึงไมถ่ ึงท่ีสดุ ในขณะ
นน้ั กก็ �้ วเตรียมพร้อมแลว้ ท่จี ะพุ่ง...
โยมแมเ่ ร�ไม่กลับม�เกดิ แลว้ ล่ะ ไปนพิ พ�นข�้ งหน้�เลย...”
จดหม�ยล�ยมือหลวงต�
จดหม�ยของท�่ นพระอ�จ�รยม์ ห�บัว ญ�ณสมปฺ นฺโน มถี ึงน�งเพ�พง� วรรธนะกุล
เมื่อวันที่ ๒๖ กมุ ภ�พนั ธ์ ๒๕๑๙
ก�รปฏบิ ตั ธิ รรมสมควรแก่ธรรม ท่ีประท�นไว้ดว้ ยพระเมตต�สุดสว่ นไมม่ ีใคร
เสมอในโลก นน้ั คอื ก�รบูช�พระองค์ท�่ นแท้ ก�รเหน็ คว�มจรงิ ท่มี อี ยกู่ บั ตัวตลอด
เวล�ดว้ ยปัญญ�โดยล�ำ ดับ น้นั ก็คอื ก�รเห็นพระตถ�คตโดยลำ�ดับ
ก�รเห็นคว�มจรงิ อย่�งเต็มใจด้วยปญั ญ�นั้นแล คือก�รเห็นพระพทุ ธเจ้�เต็ม
พระองค์ พระพทุ ธเจ�้ แท้ ธรรมแทอ้ ยู่ทใ่ี จ ก�รอปุ ัฏฐ�กใจตวั เอง คือก�รอปุ ฏั ฐ�ก
พระพทุ ธเจ�้ ก�รเฝ้�ดใู จตัวเองด้วยสตปิ ญั ญ� คือก�รเข้�เฝ้�พระพุทธเจ�้ พระธรรม
พระสงฆ์ อย�่ งแทจ้ ริง
พญ�มจั จุร�ชเตอื น และบุกธ�ตุขันธข์ องสัตวโ์ ลกต�มหลักคว�มจรงิ ของเข�
เร�ตอ้ งตอ้ นรบั ก�รเตือน และก�รบกุ ของเข�ดว้ ยสติ ปัญญ� ศรทั ธ� คว�มเพียร
ไม่ถอยหลัง และขนสมบัติ คอื มรรค ผล นิพพ�น ออกม�อวดเข�ซง่ึ ๆ หน�้ ดว้ ย
คว�มกล้�ต�ย โดยท�งคว�มเพียร เข�กับเร�ท่ถี อื ว�่ เป็นอรศิ ตั รูกนั ม�น�น จะเป็น
มติ รกนั โดยคว�มจริงดว้ ยกนั ไมม่ ีใครไดใ้ ครเสียเปรียบกนั อีกตอ่ ไปตลอดอนนั ตก�ล
ธ�ตขุ ันธ์เป็นส่งิ ทโ่ี ลกจะพงึ สละทั้งทเ่ี สยี ด�ย เร�พงึ สละดว้ ยสตปิ ัญญ�ก่อน
หน�้ ทจ่ี ะสละขนั ธแ์ บบโลกสละกัน นน่ั คือคว�มสละอย่�งเอก ไม่มีสองกบั อนั ใด
กรุณ�ฟงั ใหถ้ งึ ใจ เพร�ะเขยี นด้วยคว�มถึงใจ เอวำฯ
ที่มา รปู แสกนจดหมายจาก ญาณสัมปันนธัมมานสุ รณ์ 458, ข้อความอกั ษรจากเว็บไซต์ www.luangta.com
สารบัญ ๑
๑๒
โลกในเรือนจำ�กบั โลกนอก ๒๕
วฏั จักร ๓๖
อุบ�ยวธิ ดี ับกิเลสและเรือ่ งกรรม ๔๘
เล่หเ์ หลีย่ มของกเิ ลส ๖๑
ม�ย�กเิ ลส ๗๓
กเิ ลสฝังในจติ ๘๓
ปลุกใจสกู้ เิ ลส ๙๒
ปร�บ-ขู่ ๑๐๔
กเิ ลส กดถ่วงจิต ๑๑๖
กำ�จัดกเิ ลส พน้ ทกุ ข์ ๑๒๖
สุญญกปั ภทั รกัป
ปรยิ ัติ ปฏบิ ัติ ปฏเิ วธ
๑ภาค
“เรา กับ กเิ ลส’’
โลกในเรอื นจำากบั โลกน๑อก
เทศนโเมป่อืรดวนัคทุณี่ เ๒พาธพนั งวาาควมรรเพธทนศุทนะธก์โศปุลักรดรณาคชณุวเมดั ๒เือ่พป๕วาานั๑พบทง๘า ่ีาน๒ตวรธารดนั ธวนาะคกมลุ ณ วดั ปา่ บ้านตาด
พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๘
โลกในเรือนจํากับโลกนอก
จติ ถาเราจะเทียบทางโลกแลว กเ็ ปนผตู อ งขงั มาตลอดเวลา เหมอื นคนท่ีเกดิ อยใู น
เรือนจํา โดยอยูใ นเรือนจํา ในหองขงั ไมม ีวนั ออกมาดูโลกภายนอก อยแู ตในหอ งขังตงั้ แต
เลก็ จนโต จึงไมท ราบวาภายนอกเขามีอะไรกันบาง ความสขุ ความทกุ ขกเ็ หน็ กนั อยูแตภ าย
ในเรือนจํา ไมไ ดอ อกมาดโู ลกภายนอกเขา วา มีความสุข ความสบาย และมอี ิสระกันอยา ง
ไรบา ง ความรน่ื เรงิ บนั เทงิ การไปมาหาสู เขาไปแบบไหน มาอยา งไร อยูอยา งไรกัน โลก
ภายนอกเขามคี วามเปน อยูก นั อยา งไร ไมม ที างทราบได เพราะเราถูกคุมขงั อยูใ นเรอื นจํา
มาต้งั แตวันเกิดจนถึงวันตาย นี่เปน ขอเปรยี บเทยี บ เทยี บเคียง
ความสุข ความทุกข กเ็ ทา ทม่ี อี ยใู นน้นั ๆ ไมม อี ะไรเปน พเิ ศษ ไมม ีอะไรทีไ่ ดไ ปจาก
โลกภายนอก เมือ่ กลับเขาไปสภู ายในเรอื นจําพอไดเ หน็ วา นเ่ี ปน สิง่ ทแ่ี ปลกจากโลกใน
เรือนจาํ สิ่งน้มี าจากโลกนอก คือนอกเรือนจํา เอามาเทียบเคียงกันพอใหทราบวา อนั นเ้ี ปน
อยา งน้ี อันนนั้ เปนอยา งน้ัน อันน้ดี กี วา อันนน้ั อนั น้ันดีกวา อันนี้ อยา งนไี้ มม ี เพราะไมม สี ิ่ง
ใดเขาไปเกย่ี วของ มีแตเร่อื งของเรอื นจํา สขุ หรอื ทุกขม ากนอ ยเพยี งใด ขาดแคลนลาํ บาก
ลาํ บน ถูกกดขบ่ี ังคบั ขนาดไหน กเ็ คยเปนมาอยา งน้ันตงั้ แตด งั้ เดิม เลยไมท ราบจะหาทาง
ออกไปไหน จะปลดเปล้ืองตนไปไดอยางไร ดว ยวธิ ใี ด แมจะออกไปโลกนอก โลกนอกก็ไม
ทราบอยทู ไ่ี หน เพราะเห็นแตโลกในคอื เรือนจาํ ทถ่ี กู ควบคุมอยูตลอดเวลา และถูกกดขี่
บงั คับ เฆี่ยนตกี นั ทรมานกนั อยอู ยา งนั้น อด ๆ อยาก ๆ ขาด ๆ แคลน ๆ ตลอดถึงที่นอน
หมอนมุง อาหารปจจยั ท่ีอยอู าศัยทกุ สง่ิ ทกุ อยา ง อยใู นลกั ษณะของนักโทษในเรอื นจาํ ทั้ง
หมด เขาก็อยูก ันไปได เพราะไมเ คยเห็นโลกนอกวาเปน อยางไร พอทจ่ี ะเอาไปเทียบเคยี ง
วา อันใดดกี วา อันใดมสี ขุ กวากันอยา งไรบา ง พอทีจ่ ะมีแกใ จอยากเสาะแสวงหาทางออกไป
สโู ลกภายนอก
จิตที่ถกู ควบคมุ จากอํานาจแหง กิเลสอาสวะทั้งหลายก็เปน เชน นนั้ คือถูกคุมขังอยู
ดวยกิเลสประเภทตา ง ๆ ตง้ั แตกปั ไหนกัลปไหน เชน เกิดมาในปจจบุ ันนี้ กเิ ลสทเี่ ปนเจา
อาํ นาจบนหวั ใจสัตวน ั้นมมี าต้งั แตว นั เกดิ ถูกคุมมาเร่อื ย ๆ ไมเคยไดเ ปน อิสระภายในตวั
บา งเลย จึงยากทีเ่ ราจะคาดไดวา ความสุขทน่ี อกเหนอื ไปจากสงิ่ ที่เปนอยใู นเวลาน้ีนนั้ คอื
ความสขุ อยางไรกนั เชนเดียวกบั คนที่เกดิ ในเรือนจาํ และอยมู าตลอดเวลา
ธรรมชุดเตรยี มพรอ ม ภาค ๑ “เร๑า๑ กับ กิเลส’’
๒
โลกนอกเปนโลกยงั ไง ? นา ไปและนา อยไู หม ? ธรรมทา นประกาศสอนอยปู งๆก็
ไมคอยสนใจกนั แตย ังดีทีผ่ ูสนใจยังมอี ยูบา งบางแหงบางสถานที่ ทไ่ี หนไมม ีใครประกาศ
ไมม ใี ครพูดถึงเลยวา โลกนอก คอื จติ ทมี่ ธี รรมครองใจนน้ั เปน อยา งไร ไมม ใี ครพูดใหฟ ง จึง
ไมท ราบวา ศาสนธรรมเปนอยางไร ความสุขท่เี กดิ ขน้ึ จากอรรถจากธรรมเปน อยางไร มืด
แปดทิศ ตดิ แบบจมดิ่งไมมีวนั ฟู พอมองเห็นอวัยวะสวนใดสว นหนง่ึ บางเลย เพราะไมม ี
ศาสนาชว ยฉุดลาก เหมอื นวา “โลกนอก” ไมป รากฏเลย มแี ตเ รอื นจําคอื กิเลสควบคมุ ใจ
เทานัน้ เกดิ มาในโลกนม้ี ีแตเรอื นจําเปน ทอี่ ยูอ าศัย ทีเ่ ปนท่ีตาย อยนู ตี่ ลอดไป
จิตใจไมเ คยทราบวา อะไรทพี่ อจะใหค วามสขุ ความสบาย ความเปนอิสระยง่ิ กวา ท่ี
เปน อยูเวลานี้ ถาจะเทยี บเขาไปอกี แงห น่ึงกเ็ หมอื น “เปด” เลนนํา้ อยูใตถุนบานใตถ ุน
เรอื น แชะๆๆๆๆ อยูอยางนั้น สกปรกโสมมขนาดไหนมนั กพ็ อใจเลน เพราะมันไมเ คย
เหน็ นา้ํ มหาสมุทรทะเล ไมเคยเห็นนา้ํ บึงน้ําบอทก่ี วางขวางพอทีจ่ ะแหวกวาย หวั หางกลาง
ตัวไดอยา งสะดวกสบาย มนั เห็นแตน้ําใตถ ุนบา นใตถ นุ เรอื น ทเ่ี ขาลา งสงิ่ ของลงไปขังอยเู ทา
นนั้ มนั ก็ไปเทย่ี วเลนและถือวาสนกุ สนาน แหวกวายของมนั อยางสะดวกสบายรืน่ เริง
เพราะเหตุไร ? เพราะมนั ไมเคยเห็นนาํ้ ทก่ี วา งขวางหรอื ลกึ ยงิ่ กวา นั้น พอที่จะใหเ กดิ ความ
รน่ื เรงิ บนั เทงิ เกิดความสุขความสบายแกการไปมา หรอื การแหวกวา ย หวั หางกลางตวั
สะดวกสบายกวานํ้าใตถ นุ บา นใตถ ุนเรอื น
สว นเปดท่ีอยูตามลาํ คลองอนั กวางลึกน้นั ผดิ กันกับเปดใตถ ุนบาน มนั สนกุ สนาน
รน่ื เรงิ เที่ยวไปตามหวยหนองคลองบึง เจาของไลไปเที่ยวทไี่ หนมนั กไ็ ป ตามถนนหนทาง
ขามไปมา โอโห ! แผก ระจายกนั เปน ฝงู ๆ เปน รอ ย ๆ เปนพนั ๆ เปด พวกนีย้ งั พอมี
ความสุขบาง นไ่ี ดแ กอะไร ?
ถา เทียบเขามาก็ไดแ ก “จติ ” ท่ีไมเคยเหน็ ความสุขความสบาย ความรน่ื เรงิ บนั เทงิ
ที่เกดิ ข้ึนจากอรรถจากธรรม ซึ่งเปน เชน เดยี วกับเปดท่เี ลน น้าํ ใตถนุ บานใตถ ุนเรอื น และ
จาํ พวกทเ่ี พลนิ เลน นํา้ ในลําคลอง หรอื ในบงึ บางตาง ๆ นน้ั แล
พวกเรามคี วามสุขความร่ืนเริง ดว ยอํานาจของกเิ ลสบังคับบัญชาอยเู วลาน้ี ซึง่
เหมือนกบั ความสขุ ของนกั โทษในเรือนจํานนั้ แล เม่อื “จิต” ไดร บั การอบรมจากโลกนอก
หมายถึงธรรม ซ่ึงออกมาจากโลกุตรธรรม มาจากดนิ แดนนพิ พาน ลงมาโดยลาํ ดับ ๆ จน
กระทั่งถงึ มนษุ ยโ ลก ทานชี้แจงไวห มดชั้นหมดภูมิทเี ดยี ว
ธรรมชุดเตรียมพรอ ม ๒
ธรรมะชุดเ๒ตรียมพรอ้ ม
๓
ผูมอี ุปนสิ ัยมคี วามสนใจตอโลกนอก ตอความสขุ ทยี่ ิ่งไปกวา ความเปน อยเู วลาน้ีมี
อยู เมอื่ ไดยินเสียงอรรถเสียงธรรมและอา นตามตํารับตาํ ราเกย่ี วกบั โลกนอก คือเรือ่ งอรรถ
เรอื่ งธรรม เรอ่ื งความปลดเปล้อื งความทุกขความทรมาน ทีถ่ กู บงั คบั ขับไสอยูภ ายในใจโดย
ลําดับ จิตใจก็มคี วามรนื่ เรงิ บันเทงิ มีความพออกพอใจสนใจอยากฟง สนใจอยากประพฤติ
ปฏิบตั ิ จนปรากฏผลข้ึนมาโดยลําดบั ลําดา นัน่ แหละเริ่มเหน็ กระแสแหง โลกนอกพาดพิง
เขา มาแลว จติ ใจกม็ คี วามดนิ้ รนท่ีจะพยายามแหวกวายออกใหพนจากความกดข่บี ังคบั ซง่ึ มี
อยูภายในใจ อันเปรยี บเหมือนนกั โทษในเรือนจาํ
ยง่ิ ไดปฏบิ ัติทางดา นจิตใจมีความสงบขึน้ เพยี งไร ความตะเกียกตะกาย ความ
อตุ สา หพยายามก็ยิง่ มากขึน้ ๆ สติปญญากค็ อ ยปรากฏขึ้นมา เหน็ โทษแหง การกดขีบ่ งั คบั
ของกเิ ลสภายในใจ เหน็ คุณคา แหง ธรรมอันเปน เคร่ืองปลดเปลื้องไดมากนอ ยเพียงไร ก็
เปน ความสบายภายในใจ เบาอกเบาใจ ซ่งึ เปน เครอ่ื งเพม่ิ ศรัทธาขึน้ โดยลําดับ ความ
อุตสา หพยายามความอดทนเกดิ ขนึ้ ตาม ๆ กัน สติปญญาที่เคยนอนจมปลกั อยอู ยางแต
กอน ก็คอ ยฟน ตวั ต่นื ขึ้นมา และคนคิดพจิ ารณา
แมส ง่ิ เหลา นี้จะเคยเปนขา ศึกมานมนาน และกระทบกระเทอื นกันอยทู ้งั วนั ทงั้ คนื
แตไ มเคยสนใจ กเ็ กดิ ความสนใจขึน้ มา อะไรมากระทบกระเทือนทางตา หู จมูก ลิน้ กาย
ใจ ซึ่งแตกอนก็เหมือนคนตาย ถอื เปน ธรรมดา ๆ ไมส ะดงุ สะเทอื นสตปิ ญ ญาพอใหไดคดิ
คน หาเหตุผลตน ปลายบา งเลย แตเ ม่อื ใจเริม่ เขากระแสแหงธรรมทไี่ ดร ับการอบรม จน
เปน พนื้ เพแหงสติปญญาไปโดยลาํ ดับ ยอมจะเหน็ ทง้ั โทษทงั้ คณุ ประจกั ษใจ เพราะเปนของ
มอี ยูดว ยกนั ท้ังโทษทงั้ คณุ ภายในใจดวงนี้ จิตใจก็มคี วามคลองแคลวในการคิด การ
พจิ ารณา ใจจะเกดิ ความอาจหาญ ขดุ คนเหน็ ท้ังโทษ พยายามแก เหน็ ทั้งคุณ พยายาม
แหวกวา ย พยายามสงเสริมไปโดยลาํ ดบั
นเี่ รยี กวา จิตคอยปลดเปลือ้ งจากส่ิงกดข่ีบงั คับ คือเรือนจาํ ภายในออกไดโดยลาํ ดบั
ท้ังมองเหน็ โลกนอกอกี ดวยวา โลกนอกเปนโลกอยา งไร เหมอื นเรือนจําทีม่ ีอยูเวลานไ้ี หม ?
ตาก็พอมองเหน็ โลกนอกบางวา ทา นซึ่งอยูโลกนอกทา นเปนอยูอยางไร ไปมาหากนั อยางไร
เราเปน อยูอยางไรภายในเรอื นจาํ ความเปนอยภู ายใตกิเลสครอบงํานี้เปน อยา งไร ความที่
เบาบางจากกเิ ลสลงเปนลาํ ดบั ๆ จติ ใจมีความรูส ึกอยางไรบา ง ซึ่งพอเทยี บกนั ได
ทีนพ้ี อมโี ลกนอก โลกใน เขา เทยี บกันแลว คือความสุขความสบายทีเ่ กิดข้นึ จากการ
แกก เิ ลสออกไดมากนอ ยก็ปรากฏ ความทกุ ขท กี่ ิเลสยังมคี างอยพู าใหแสดงผลก็ทราบชดั
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๓
ภาค ๑ “เร๓า กับ กเิ ลส’’
๔
และเห็นโทษดวยปญ ญาเปนข้นั ๆ และพยายามแกไ ขอยตู ลอดเวลา ไมล ดละความ
พากเพยี ร
น่แี หละตอนทีส่ ติปญญา ศรทั ธา ความเพยี ร เร่มิ หมุนตัวออกแนวรบ ก็ตอนทเ่ี หน็
ทงั้ โลกนอก คอื ความปลดเปลอ้ื งกิเลสออกจากใจไดม ากนอย และเหน็ ทั้งโลกในท่ีกเิ ลสกด
ขบ่ี งั คับมาเรื่อย ๆ แตก อนไมท ราบจะเอาอะไรมาเทยี บ เพราะไมรูไ มเ ห็น เกิดขึน้ มาก็จม
อยูในความทกุ ขท รมานอยางนี้ ขึ้นชื่อวา ความสขุ น้ัน ไมป รากฏจากโลกนอกเลย คือ ไม
ปรากฏจากอรรถจากธรรม
การปรากฏก็ปรากฏแตความสขุ แบบท่ีความทุกขอ ยหู ลังฉาก ซึง่ คอยจะมาเหยยี บ
ยาํ่ ทาํ ลาย เพอ่ื ลบลา งความสขุ นน้ั ใหหายไปโดยไมม ีเวลานาฬกิ าเตือนบอกเลย ทีนีไ้ ดร ูไ ด
เหน็ บา ง ความสุขภายนอก คอื จากโลกนอกของผูท ี่ธรรมครองใจนน้ั กเ็ หน็ ความสขุ ภายใน
เรอื นจาํ คือความสุขท่อี ยูใ ตอ ํานาจของกเิ ลสก็เห็น ความทกุ ขท ี่อยใู ตอํานาจของกเิ ลสกเ็ หน็
คอื รูไดด วยสตปิ ญ ญาของตวั เองประจกั ษใ จ
ความสุขทีเ่ กิดข้ึนจากโลกนอก ไดแ กก ระแสแหง ธรรมทซี่ าบซง้ึ เขาไปในจิตใจ ก็
เหน็ พอเปนเครอ่ื งเทยี บเคียงกันไปโดยลําดับ ๆ เหน็ โลกภายนอก โลกภายใน ท้ังคณุ และ
โทษนาํ มาประกอบเทียบเคียงกัน กย็ ่ิงทาํ ใหเ กดิ ความเขา ใจ และความพากเพยี รความอด
ทนมากข้นึ กระท่งั อะไรผานเขามาขึ้นชื่อวาเรื่องของกเิ ลส ซ่งึ เคยกดข่บี งั คับจติ ใจแลว ตอง
ตอ สกู ันทนั ที และแกไขปลดเปลื้อง หรือรอื้ ถอนกันโดยลาํ ดบั ๆ ดวยอาํ นาจแหง สติปญ ญา
มคี วามเพยี รเปนเคร่อื งหนุนหลัง
จติ ใจจะหมุนไปเอง เมอื่ ความเหน็ โทษมีมาก ความเห็นคุณกม็ ีมาก เมอื่ ความอยาก
รอู ยากเห็นธรรมมีมาก และความอยากหลดุ พนมมี ากเพียงไร ความพากเพียรก็ตอ งมาก
ข้นึ ไปตาม ๆ กัน แมค วามอดความทนก็ตาม ๆ กนั มา เพราะมีอยใู นใจดวงเดยี วกัน เหน็
โทษกเ็ หน็ ทใ่ี จท้ังดวงน้นั แล ใจทง้ั ดวงเปนผเู หน็ โทษ แมเ ห็นคุณก็ใจท้งั ดวงน้ันเปนผูเ หน็
การท่พี ยายามแหวกวายดว ยวิธตี าง ๆ ตามความสามารถของตน กเ็ ปน เร่อื งของใจ
ทงั้ ดวงจะเปนผูทาํ ความพยายามปลดเปลื้องตนเอง เพราะฉะนัน้ สิ่งเหลา น้มี ีความเพยี ร
เปน ตน ทีเ่ ปน เคร่ืองมอื ของจติ เปน เครื่องสนับสนนุ จิต จึงมาพรอ ม ๆ กัน เชน ศรัทธา
ความเช่อื ตอมรรคตอ ผล ความเช่ือตอ แดนพนทกุ ข วริ ิยะ ความพากเพยี รที่จะทาํ ตวั ให
หลุดพนไปโดยลําดับ ขันติ ความอดความทน เพ่ือบึกบึนใหผ า นพน ไปได กม็ าพรอ ม ๆ
กัน สตปิ ญ ญา ท่ีจะใครค รวญไปตามแนวทาง อนั ใดถูกอนั ใดผดิ ก็มาตาม ๆ กัน
ธรรมชุดเตรียมพรอ ม ๔
ธรรมะชุดเ๔ตรียมพรอ้ ม
๕
ถา จะพูดตามหลกั ธรรมทที่ า นกลาวไว ก็เรยี กวา “มรรคสมังคี” คอยรวมตวั กันเขา
มาอยใู นใจดวงเดยี วนี้ อะไรก็รวมเขามา สมั มาทฏิ ฐิ สัมมาสังกปั โป สมั มาวาจา สมั มา
กัมมนั โต ตลอดถงึ สัมมาสมาธิ กร็ วมเขา มาอยใู นจติ ดวงเดียวนท้ี ั้งมวล ไมไปที่อ่นื
สัมมากัมมนั ตะ ก็มีแตเดนิ จงกรม นั่งสมาธิ ซึ่งเปนงานชอบ สัมมากมั มันตะ คอื
งานชอบ เพราะเขาถึงงานอันละเอยี ดท่ีใจรวมเขา มา จติ เปน มรรคสมังคี คือมรรครวมตวั
เขา มาสูใ จดวงเดียว สัมมาทิฏฐิ สมั มาสังกปั โป ไดแ กเรือ่ งของปญญา คนควา อยตู ลอด
เวลา เกี่ยวกบั เร่ืองธาตุเรอ่ื งขนั ธ เรอ่ื งตาง ๆ ท่ปี รากฏหรือสมั ผสั เกิดขน้ึ แลวดับไปทง้ั ดที งั้
ช่วั ทง้ั อดีตและอนาคต ที่ข้ึนมาปรากฏภายในใจ สตปิ ญญาเปน ผฟู าดฟน ห่นั แหลกไปโดย
ลําดบั ไมร อใหเ สยี เวลาํ่ เวลา สมั มากมั มนั ตะ การงานชอบท่เี กยี่ วกับกาย ก็คอื การนง่ั
ภาวนาหรอื เดนิ จงกรม อันเปนความเพยี รละกเิ ลสในทา ตาง ๆ ที่เกยี่ วกบั ทางใจก็คือวริ ิยะ
ความพากเพียรทางใจ
สมั มาวาจา พดู กนั แตเรื่องอรรถเร่อื งธรรม การสนทนากนั กม็ ีแตเ ร่ือง “สลั เลข
ธรรม” ธรรมเปน เครอ่ื งขดั เกลา หรอื ชําระลางกเิ ลสอาสวะออกจากจิตใจ วา เราจะทาํ ดว ย
วธิ ใี ดกเิ ลสจงึ จะหมดไปโดยสน้ิ เชงิ นีค่ อื สัมมาวาจา สัมมาอาชวี ะ อารมณอนั ใดท่ีเปน ขา ศึก
ตอจติ เมื่อนําเขามาเปน อารมณของใจเรียกวา “เล้ยี งชีพผิด” เพราะเปนขาศึกตอจติ จติ
ตอ งมคี วามมวั หมองไมใชของดี ตองเปน ทกุ ขข ้ึนมาภายในใจมากนอยตามสวนแหงจิตที่มี
ความหยาบละเอยี ดข้นึ ไปโดยลําดับ นกี่ ช็ ่ือวา “เปนยาพิษ” เล้ียงชพี ไมชอบ ตองแกไขทัน
ที ๆ
อารมณข องจติ ที่เปน ธรรม อนั เปน ไปเพือ่ ความร่ืนเรงิ เปน ไปเพือ่ ความสุขความ
สบายนน่ั แล คืออารมณท ี่เหมาะสมกบั จติ และเปน อาหารที่เหมาะกับใจ ทาํ ใหใจเกดิ ความ
สงบสขุ การเลย้ี งชีพชอบจงึ เล้ียงอยา งนี้ โดยทางธรรมขั้นปฏบิ ตั ิตอ จิตเปนขน้ั ๆ ขน้ึ ไป
สวนการเล้ียงชีพชอบทางรา งกายดว ยอาหารหรอื บณิ ฑบาตนนั้ เปน สาธารณะสาํ หรบั ชาว
พุทธทั่ว ๆ ไปจะพึงปฏบิ ตั ใิ หเหมาะสมกบั หนาที่ของตน ๆ
สมั มาวายามะ เพียรชอบ เพยี รอะไร ? นเ่ี รากท็ ราบ ทานบอกเพียรใน ๔ สถาน คอื
พยายามระวงั ไมใ หบาปเกดิ ขน้ึ ในตนหนง่ึ พยายามละบาปทเ่ี กดิ ขน้ึ แลวใหหมดไป การ
ระวงั บาปตอ งระวังดว ยความมีสติ พยายามสาํ รวมระวังอยา ใหบาปเกิดขึ้นดว ยสติ คอื ระวัง
จิตท่จี ะคดิ เที่ยวกวานเอาความทุกขค วามทรมานเขามาสจู ติ ใจน่นั เอง เพราะความคิด
ความปรุงในทางไมด นี น้ั เปนเรอ่ื งของ “สมุทัย” จงึ พยายามระวงั รกั ษาดวยดี อยา ประมาท
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๕
ภาค ๑ “เร๕า กบั กเิ ลส’’
๖
หน่ึง พยายามเจรญิ ส่ิงทเี่ ปนกุศล เปน ความเฉลยี วฉลาด ใหมมี ากข้นึ โดยลําดับ ๆ หนงึ่
และเพยี รระวังรักษากุศลท่ีเกิดข้นึ แลว ใหเ จริญยง่ิ ข้นึ อยา ใหเ สอื่ มไปหน่ึง
“สมั มัปปธาน สี”่ ท่ที านวา กอ็ ยทู ต่ี ัวเราน้ีแล “สมั มาสต”ิ กด็ อู ยูในใจของเรานี่
การเคลอ่ื นไหวไปมา ความระลึก ความรูตัวนี้ รอู ยูตลอดเวลา อะไรมาสมั ผัสทางตาทางหู
ทางจมกู ทางลิ้นทางกาย ไมเ ขา ไปสูใจจะไปทีไ่ หน ใจเปนสถานท่ใี หญโ ตคอยรบั ทราบเรอ่ื ง
ราวตา ง ๆ ทัง้ ดีท้ังชัว่ อยตู ลอดเวลา ปญญาเปน ผูวินิจฉยั ใครครวญ สตเิ ปน ผูคอยดตู รวจ
ตราพาชอี ยเู สมอ ในเมือ่ อะไรเขามาเกีย่ วของกับใจ เปนดหี รือเปนชัว่ อารมณช นิดใด สติ
ปญญาใครค รวญเลอื กเฟนในอารมณต า ง ๆ ท่เี ขามาเกี่ยวของกบั ใจ อนั ใดทเ่ี หน็ วาไมชอบ
ธรรม จิตจะสลัดปด ทิง้ ทนั ที ๆ คอื ปญ ญานัน่ แหละเปนผทู าํ การสลัดปดทง้ิ แนะ
“สัมมาสมาธิ” การงานเพื่อสงบกเิ ลสโดยสมาธิกม็ ัน่ คงอยตู ลอดเวลา จนปรากฏ
ผลเปนความสงบเยน็ แกใจที่พักงานอยา งแทจรงิ ไมม คี วามฟุงซา นเขา มากวนใจในขณะนั้น
ประการหนง่ึ
ในขณะที่จะเขา สมาธิเปนการพกั ผอนจิต เพ่ือเปนกาํ ลงั ของปญ ญาในการคน ควาตอ
ไปก็พักเสยี พักในสมาธิ คือเขา สคู วามสงบ ไดแ กห ยดุ การปรุงการแตงการคิดคนควา ทาง
ดานปญญาโดยประการทั้งปวง ใหจิตสงบตวั เขามาอยอู ยา งสบาย ไมตองคิดตองปรุงอะไร
ซงึ่ เปนเร่อื งของงาน พกั จิตใหส บายโดยความมอี ารมณเ ดียว หากวา จติ มคี วามเพลดิ เพลนิ
ตอ การพจิ ารณาไปมากจะยับยั้งไวไ มได เราก็เอา “พุทโธ” เปน เครอื่ งฉุดลากเขา มา ใหจติ
อยกู บั “พทุ โธ ๆๆ”
คาํ บรกิ รรมกบั “พุทโธ” น้ี แมจ ะเปนความคดิ ปรงุ กต็ าม แตเปน ความคิดปรงุ อยู
ในธรรมจดุ เดียว ความปรงุ อยใู นธรรมจดุ เดียวนัน้ เปนเหตุใหจติ มคี วามสงบตวั ได เชน คาํ
วา “พุทโธ ๆๆ” หากจติ จะแย็บออกไปทํางานเพราะความเพลิดเพลินในงาน งานยังไม
เสรจ็ เรากก็ ําหนดคาํ บริกรรมนั้นใหถ ย่ี ิบเขาไป ไมย อมใหจ ิตน้อี อกไปทํางาน คือจิตขน้ั ที่
เพลนิ กบั งานนั้นมอี ยู ถาพดู แบบโลกกว็ า “เผลอไมได” แตจ ะวา จติ เผลอกพ็ ูดยาก การ
พดู ทีพ่ อใกลเ คยี งก็ควรวา “รามือไมได” พดู งา ย ๆ วายงั ง้ัน เรารามือไมได จติ จะตอง
โดดออกไปหางาน ตอนนีต้ องหนกั แนน ในการบรกิ รรม บงั คับจติ ใหอ ยกู ับอารมณอันเดียว
คือ พุทโธ เปนเครื่องยับย้ังจิต กาํ หนด พุทโธ ๆๆๆ ใหถ ย่ี บิ อยนู ั้น แลว พุทโธ กบั จติ ก็
เปนอันเดยี วกัน ใจก็แนว สงบลง สงบลงไป กส็ บาย ปลอ ยวางงานอะไรทั้งหมด ใจก็เยอื ก
เย็นข้นึ มา นีค่ ือสมาธิทช่ี อบ
ธรรมชุดเตรียมพรอ ม ๖
ธรรมะชดุ เ๖ตรียมพรอ้ ม
๗
ในขณะที่จะพกั ตองพกั อยางน้ี ทา นเรยี กวา “สัมมาสมาธิ” เปน สมาธิชอบ พอสม
ควรเห็นวา ใจไดกําลงั แลว เพียงปลอยเทาน้ันแหละจติ จะดดี ตัวออกทาํ งานทนั ทีเลย ดดี
ออกจากความเปน หนึง่ ความเปน อารมณอนั เดียวนั้น แลวก็เปน สองกับงานละทนี ี้ ใจ
ทาํ งานตอ ไปอีก ไมห ว งกับเรอ่ื งของสมาธใิ นขณะที่ทํางาน ในขณะทท่ี ําสมาธิเพ่ือความสงบ
กไ็ มตอ งหว งกบั งานเลยเชน เดยี วกัน
ขณะที่พักตองพัก เชนในขณะทรี่ บั ประทานตอ งรับประทาน ไมต องทาํ งานอะไรทง้ั
นัน้ นอกจากทํางานในการรับประทาน จะพกั นอนหลบั ก็นอนหลับใหส บาย ๆ ในขณะท่ี
นอนไมต องไปยุงกับงานอะไรท้ังสนิ้ แตเวลาที่เรมิ่ ทาํ งานแลว ไมต อ งไปยุงในเรอื่ งการกิน
การนอน ตั้งหนาทาํ งานจริง ๆ นไี่ ดชอ่ื วา ทาํ งานเปนชิน้ เปนอนั ทํางานเปนวรรคเปน ตอน
ทํางานถกู ตอ งโดยกาลโดยเวลาเหมาะสมกบั เหตกุ ารณ เรยี กวา สัมมากัมมนั ตะ
“สัมมากมั มนั ตะ” คอื การงานชอบ ไมกาวกายกนั เปนงานทเ่ี หมาะสม
เร่อื งสมาธปิ ลอยไมไ ด การปฏบิ ตั ิเพ่ือความรื่นเริงของใจ การเหน็ วา “สมาธ”ิ อยู
เฉย ๆ ไมเ กิดประโยชนน ั้นไมถ กู ถา ผูติดสมาธิไมอยากออกทาํ งานเลยอยา งนน้ั เหน็ วาไม
ถูกตอ งควรตําหนิ เพ่ือใหผนู ัน้ ไดถอนตวั ออกมาทาํ งาน แตถ า จติ มีความเพลดิ เพลินในงาน
แลว เรือ่ งของสมาธิกม็ ีความจาํ เปน ในดา นหนึง่ ในเวลาหน่ึงจนได คนเราทาํ งานไมพักผอน
นอนหลบั บา งเลยน้ที าํ งานตอไปไมได แมจะรบั ประทานอาหาร สมบัติเสยี ไปดวยการรับ
ประทานก็ใหม นั เสยี ไป ผลที่ไดคือธาตขุ นั ธม ีกําลงั จากการรบั ประทาน ประกอบการงาน
ตามหนาทต่ี อไปไดอกี เงนิ จะเสยี ไป ขา วของอะไรท่นี าํ มารับประทานจะเสยี ไป ก็เสียไป
เพื่อเกิดประโยชน เพอื่ เปนพลังในรางกายเราจะเปนอะไรไป ใหม นั เสียไปเสียอยา งน้ี ไม
เสียผลเสยี ประโยชนอ ะไร ถาไมรบั ประทานจะเอากําลังมาจากไหน ตอ งรบั ประทาน เสียไป
ก็เสยี ไปเพ่อื กําลัง เพ่อื ใหเ กดิ กําลังขน้ึ มา
นี่การพกั ในสมาธิ ในขณะทีพ่ ักใหม ีความสงบ ความสงบนนั้ แลเปนพลงั ของจติ ท่ี
จะหนุนทางดา นปญญาไดอ ยางคลอ งแคลว เราตองพกั ใหม ีความสงบ ถา ไมส งบเลยมีแต
ปญญาเดนิ ทาเดยี ว ก็เหมอื นกับมดี ไมไดล ับหิน ฟน ตุบ ๆ ต๊ับ ๆ ไมท ราบวา เอาสันลงเอา
คมลง มีแตค วามอยากรูอยากเห็น อยากเขาใจ อยากถอนกิเลสโดยถายเดียว โดยทีป่ ญ ญา
ไมไ ดล ับจากการพักสงบ อนั เปนสง่ิ ท่ีหนนุ หลังใหเ ปนความสงบเยน็ ใจ ใหเ ปน กาํ ลังของใจ
แลวมันกเ็ หมือนกับมีดทีไ่ มไ ดลบั หนิ นะซี ฟนอะไรก็ไมค อ ยขาดงาย ๆ เสยี กําลงั วงั ชาไป
เปลา ๆ
ธรรมชุดเตรียมพรอ ม ๗
ภาค ๑ “เร๗า กบั กเิ ลส’’
๘
เพราะฉะนน้ั เพื่อความเหมาะสม ในขณะทพี่ ักสงบจติ ในเรือนสมาธิตอ งใหพัก การ
พกั ผอนจึงเหมอื นเอาหนิ ลบั ปญ ญาน่ันเอง การพกั ธาตขุ ันธ คือสกลกายกม็ กี ําลงั การพัก
จิต จิตก็มีกําลังดว ย
พอมกี าํ ลังแลว จติ ออกคราวน้ีกเ็ หมอื น “มดี ไดลับหนิ แลว” อารมณอนั เกานัน้ แล
ปญ ญาอนั เกาน้ันแล ผพู จิ ารณาคนเกานัน้ แล แตพ อกาํ หนดพจิ ารณาลงไป มนั ขาดทะลไุ ป
เลย คราวน้ีเหมือนกับคนทีพ่ ักผอ นนอนหลับ รบั อาหารใหส บาย ลับมีดพรา ใหเ รยี บรอย
แลว ไปฟน ไมท อ นนั้นแล คน ๆ นัน้ มดี ก็เลมนน้ั แตมันขาดไดอ ยา งงายดาย เพราะมีดก็
คม คนกม็ กี าํ ลัง
นอ่ี ารมณกอ็ ารมณอ ันนัน้ แล ปญญากป็ ญญาอนั นน้ั แล ผปู ฏิบัติคนนัน้ แล แตได
“ลบั หนิ ” แลว กําลังของจติ ก็มแี ลว เปน เครื่องหนุนปญ ญา จงึ แทงทะลุไปไดอยา งรวดเรว็
ผิดกับตอนไมไดพักในสมาธิเปนไหน ๆ
เพราะฉะนน้ั เร่อื งของสมาธิกับเรือ่ งของปญ ญา จึงเปน ธรรมเกย่ี วเนอ่ื งกัน เปนแต
เพยี งทํางานในวาระตาง ๆ กนั เทานัน้ วาระทีจ่ ะทาํ สมาธิก็ทําเสีย วาระนีจ้ ะพิจารณาทาง
ดานปญ ญาใหเ ตม็ อรรถเต็มธรรม เตม็ เมด็ เต็มหนวย เต็มสตกิ าํ ลงั พจิ ารณาลงไปใหเ ตม็
เหตเุ ต็มผล เวลาจะพกั ก็พกั ใหเต็มทีเ่ ตม็ ฐานเหมอื นกนั ใหเ ปน คนละเวลาไมใ หก าวกา ยกนั
แบบทั้งจะพจิ ารณาทางดา นปญญา ทัง้ เปน หว งสมาธิ เวลาเขาสมาธแิ ลวก็เปน อารมณก ับ
เรือ่ งปญญา อยา งนี้ไมถกู จะปลอยทางไหน จะทาํ งานอะไรใหทาํ งานนัน้ จรงิ ๆ ใหเปน ชน้ิ
เปนอัน น่ีถูกตอ งเหมาะสม สมั มาสมาธิ กเ็ ปน อยา งนี้จรงิ ๆ
เรือ่ งของกิเลสเปนเร่อื งกดถว งจติ ใจ จิตเราน่ีเหมอื นเปน นกั โทษ ถูกกิเลสอาสวะทั้ง
หลายครอบงาํ อยตู ลอดเวลา และบังคบั ทรมานจติ ใจมาตลอดนบั แตเกิดมา
เมอื่ ปญญาไดถอดถอนกิเลสออกโดยลาํ ดับ ๆ แลว ใจก็มีความสวางไสวขนึ้ มา
ความเบาบางของจิตกเ็ ปน คณุ อนั หน่งึ ที่เกิดข้นึ จากการทีถ่ อดถอนส่ิงท่เี ปนภยั ส่งิ ท่สี กปรก
ออกได เรากเ็ หน็ คณุ คาอนั น้ี แลวพจิ ารณาไปเร่ือย ๆ
รวมแลว กิเลสอยทู ่ไี หน ภพชาติอยูท่ไี หน ก็มอี ยูทใี่ จดวงเดยี วนีแ้ หละ นอกนนั้ เปน
กิ่งกานสาขา เชน ออกไปทางตา ทางจมกู ทางหู ทางล้นิ ทางกาย แตตนของมนั จรงิ ๆ อยู
ทใ่ี จ เวลาพจิ ารณาสง่ิ เหลา นน้ั รวมเขา มา รวมเขามาแลว จะเขามาสูจ ิตดวงเดยี วนี้ “วฏั วน”
ไมไดแกอะไร ไดแกจิตดวงเดียวนี้เปนผหู มนุ ผเู วยี น เปนผูพาใหเกดิ ใหตายอยูเทา น้ี เพราะ
อะไร ? เพราะเชอื้ ของมันมอี ยภู ายในใจ
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๘
ธรรมะชุดเ๘ตรยี มพรอ้ ม
๙
เมอื่ ใชส ตปิ ญ ญาพิจารณาคนควา เห็นชัดและตัดเขามา ๆ เปน ลาํ ดบั ๆ จนเขา ถงึ จิต
ซ่ึงเปน ตัวการ มี “อวิชชา” ซ่ึงเปน สง่ิ สําคัญมากทีเ่ ปนเชอ้ื “วฏั ฏะ” อยูภายในใจ แยกลง
ไปพิจารณาลงไป ๆ ไมใ หมอี ะไรเหลอื อยู วา น้ีคอื นัน้ นนั้ คอื น้ัน กําหนดพิจารณาลงไปที่
จติ เชนเดียวกับสภาวธรรมท่ัว ๆ ไป
แมใจจะมคี วามสวางไสวขนาดไหนกต็ าม ก็พงึ ทราบวา น้เี ปน เรอื นใจทพ่ี อพกั อาศยั
ไปชวั่ กาลช่วั เวลาเทา นัน้ หากยังไมสามารถพิจารณาใหแตกกระจายลงไปได แตเ ราอยาลมื
วา จติ ทมี่ คี วามเดน ดวงนแ้ี ลคืออวิชชาแท ใหพจิ ารณาเอาอันนน้ั แหละเปนเปา หมายแหง
การพิจารณา
เอา ! อนั น้ีจะสลายลงไปจนหมดความรไู มม ีอะไรเหลอื กระท่ัง “ผูร”ู จะฉบิ หาย
จมไปดวยกนั ก็ใหรูเสียที เราพจิ ารณาเพอ่ื หาความจรงิ เพื่อรคู วามจริง ตอ งใหลงถึงเหตถุ ึง
ผลถึงความจริงทกุ สงิ่ ทกุ อยาง อะไรจะฉิบหายลงไปกใ็ หฉบิ หาย แมที่สุด “ผูรู” ที่กําลัง
พิจารณาอยนู จ้ี ะฉิบหายไปตามเขา ก็ใหร ดู ว ยสติปญ ญา ไมตอ งเหลอื ไววาอะไรเปน เกาะ
เปน ดอนหลอกเรา อะไรเปนเรา อะไรเปนของเรา ไมม เี หลอื ไวเลย พจิ ารณาลงไปใหถงึ
ความจริงไปดวยกนั หมด
สิง่ ทีเ่ หลือหลงั จากกิเลส “อวชิ ชา” ที่ถูกทาํ ลายลงโดยสิ้นเชิงแลว นน้ั แล คอื สิ่งท่ี
หมดวสิ ัยของสมมุตทิ ่จี ะเอือ้ มเขาถงึ และไปทาํ ลายได นั้นแลทานเรียกวา “จิตบรสิ ุทธิ์”
หรอื “ความบริสุทธ”์ิ ธรรมชาติแหง ความบริสทุ ธ์ินไี้ มม ีอะไรทําลายได
กิเลสเปน สง่ิ สมมุตทิ ี่เกิดข้นึ ไดด บั ได เพราะฉะนัน้ จงึ ชาํ ระได มีมากข้นึ ได ทําใหลด
ลงได ทําใหห มดสิ้นไปก็ได เพราะเปน เรอ่ื งของสมมุติ
แตจ ิตลว น ๆ ซง่ึ เปน ธรรมชาตทิ เี่ รียกวา “จติ ตวิมตุ ติ” แลว ยอ มพนวิสัยแหง กเิ ลส
ทั้งมวลอันเปน สมมุติจะเอ้อื มเขาถึงและทําลายได ถา ยังไมบ รสิ ุทธ์มิ นั กเ็ ปน สมมตุ เิ ชนเดียว
กับสง่ิ ท้ังหลาย เพราะสง่ิ สมมตุ นิ ัน้ แทรกตวั อยูในจิต เมื่อแกนี้ออกจนหมดแลว ธรรมชาติที่
เปน วิมุตตินแ่ี ล เปนธรรมชาตทิ กี่ เิ ลสใด ๆ จะทําอะไรตอ ไปไมไดอกี เพราะพน วสิ ยั แลว
แลวอะไรฉบิ หาย ?
ทกุ ขก็ดบั ไปเพราะสมุทัยดับ นิโรธความดบั ทกุ ขกด็ บั ไป มรรคเครื่องประหารสมทุ ยั
ก็ดบั ไป สัจธรรมทงั้ สด่ี บั ไปดวยกันทั้งนน้ั คือ ทุกขกด็ ับ สมทุ ัยกด็ ับ มรรคก็ดบั นิโรธก็ดับ
แนะ ! ฟงซิ
ธรรมชุดเตรยี มพรอม ๙
ภาค ๑ “เร๙า กบั กเิ ลส’’
๑๐
อะไรที่รูวา “ส่งิ นัน้ ๆ ดบั ไป” นั่นแลคอื ผไู มใ ชสัจธรรม ผูนีผ้ เู หนือสัจธรรม การ
พจิ ารณาสจั ธรรม คอื การพจิ ารณาเพือ่ ผนู เ้ี ทา น้นั เมอ่ื ถึงตัวจริงน้แี ลว สัจธรรมทงั้ สกี่ ็หมด
หนา ทไี่ ปเอง โดยไมตองไปชาํ ระ ไมตองไปแกไข ไมต อ งไปปลดเปลื้อง เชน ปญ ญาเรา
ทํางานเต็มทแี่ ลวปญญาเราปลอ ยได ไมต องมีกําหนดกฎเกณฑ สตกิ ด็ ี ปญ ญาก็ดี ท่เี ปน
เคร่อื งรบ พอสงครามเลกิ ขา ศกึ หมดไปแลว ธรรมเหลานกี้ ็หมดปญ หาไปเอง น่นั
อะไรเหลืออยู ? ก็คือความบรสิ ุทธนิ์ ้นั แหละ พระพุทธเจา ท่ีทรงประกาศธรรมสอน
โลก กเ็ อาจากธรรมชาติทบี่ รสิ ทุ ธน์ิ แ้ี ลไปสอน ศาสนธรรมออกจากธรรมชาติอนั น้ี และ
อุบายแหงการสอน ตองสอนทั้งเรื่องของทุกข เรอ่ื งของสมทุ ยั ของนิโรธ ของมรรค เพราะ
อาการเหลาน้นั เปนอาการเกี่ยวขอ งกบั จติ ดวงนี้ ใหรวู ธิ ีแกไข รวู ธิ ดี ับ รวู ิธบี ําเพ็ญทุกสิ่งทุก
อยา ง จนถงึ จุดหมายปลายทาง อันไมตอ งพูดอะไรตอไปอีกแลว ไดแ กความบริสุทธิ์ จิต
ออกสูโลกนอกแลวทีนี้ ออกจากเรอื นจําแลวไปสโู ลกนอกคือความอสิ รเสรี ที่ไมตอ งถูกคุม
ขังอกี แลว
แตโลกนี้ไมมใี ครอยากไปกันเพราะไมเ คยเหน็ โลกนีเ้ ปนโลกสาํ คัญ “โลกตุ ระ”
เปน แดนสูงกวา โลกทั่วไป แตเ ราเพียงวา “โลกนอก” นอกจากสมมุติทั้งหมด เรยี ก
“โลก” ไปยังง้นั แหละ เพราะโลกมีสมมุติก็วากนั ไปอยา งนั้น ใหพจิ ารณาออกจากท่ีคุมขังน้ี
ซิ เกดิ ก็เกิดในที่คมุ ขัง อยกู อ็ ยใู นท่คี ุมขัง ตายก็ตายในทค่ี ุมขงั ไมไ ดต ายนอกเรอื นจําสักที
เอาใหใจไดอ อกนอกเรอื นจาํ สกั ทเี ถดิ จะไดแสนสบาย ๆ ดงั พระพทุ ธเจา และสาวกท้ัง
หลายทา น ทา นก็เกดิ ในเรอื นจําเหมือนกนั แตทา นออกไปตายนอกเรอื นจํา ออกไปตาย
นอกโลก ไมไดตายอยูในโลกอนั คบั แคบนี้
ขอยตุ กิ ารแสดง
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๐
ธรรมะชุด๑เต๐รยี มพร้อม
วฏั จกั ร ๑๑
เทศน์โปรดคุณเพาพงา วรเรทธศนนะกโปลุ รณดควุณดั เปพ่าาบพ้างนาตาวดรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด
เมื่อวันที่ ๑๔ ธันวาคม พุทธศกั รเมาชอื่ ว๒นั ๕ท๑่ี ๘๑๔ ธนั วาคม พุทธศักราช ๒๕๑๘
วฏั จกั ร
ปญหาของโลกในปจ จบุ นั นี้ทมี่ ีมากกค็ ือปญ หาท่ี “ตายแลว เกดิ ” ดจู ะมีนอย “ตาย
แลว สญู ” รสู กึ วาจะมมี ากข้นึ ทุกที ซึง่ เปนปญหาใหญต อจิตใจของนักเกดิ นัน่ แหละ
การเขา ใจวาตายแลว สญู น้ันก็คอื เรอื่ งของกเิ ลสพาใหเขา ใจ ไมใชค วามจรงิ พาใหเ ขา
ใจ ผูเชอ่ื ความสาํ คัญของกิเลสจงึ ทาํ ผิดเร่อื ย ๆ แลว ก็ “เกดิ ” ไมห ยดุ ทุกขไมถอย ไมมี
เวลาลดนอย เพราะความคิดเชน นนั้ เปน การสงเสริมกเิ ลสและกองทกุ ขท ง้ั สิ้น
คนที่เขาใจวา ตายแลวสญู นัน้ ยอ มไมคิดเตรียมเนือ้ เตรียมตัวเพอื่ อนาคต
เพราะหมดหวังแลว ท้ัง ๆ ที่สงิ่ ทเ่ี ปน ไป ที่ไดป ระสบพบเหน็ ตา ง ๆ ทั้ง ๆ ทเ่ี ราไมห วงั ก็
ตามมอี ยู และสง่ิ สําคัญทมี่ อี ยขู ณะน้คี ือมอี ยูทุกขณะกค็ ือใจ ปญ หานี้จึงเปน ปญหา
“เพชฌฆาต” เกดิ ขึน้ มาเพื่อทําลายตัวเองโดยแท การทาํ ลายตัวเองไปในตวั ไมม ชี ิ้นดีแฝง
อยูบ า งเลยนน้ั จดั วาเปน คนหมดหวัง ราวกับโลกทห่ี มดหวัง ไมมใี ครชวยไดน้นั เอง
ผูที่มคี วามเขา ใจวาตายแลวเกดิ ยอ มมกี ารระมดั ระวงั ตวั และกลัวบาป โดยคิด
วา ถาเกิดแลวจะเปน อยางไร หากวาเราทาํ ไมดเี สียอยา งน้ี เวลาไปโดนความทกุ ขเ ขาในเวลา
ไปเกิดใหม กจ็ ะไดร บั สิ่งท่ีไมพ งึ ใจทัง้ หลายเปนเครื่องตอบแทน ซ่ึงเปนส่งิ ท่ีไมปรารถนา
อยางยงิ่ แลว ก็ไมก ลา กระทาํ เพราะอยา งไรเสียจิตกต็ อ งไปเกิดอกี ดว ยผลแหงกรรมนั้น ๆ
ผนู ้จี ึงมกั มีความระมดั ระวงั และขยะแขยงตอสง่ิ ท่ไี มด ไี มพึงปรารถนา และกไ็ มก ลา ทําลงไป
แตพ วกท่ีเชอ่ื วา ตายแลว สญู นน้ั รูสกึ จะเห็นวาสูญไปโดยประการทั้งปวง ในเร่ือง
บาปเรื่องบุญคุณโทษอะไรทัง้ หมด พอยังมลี มหายใจอยเู ทานนั้ เม่ือส้นิ ลมหายใจแลวก็
หมดหวงั ไมมีความดี ความสุขสนองตอบ นอกจากความทกุ ขค วามไมด ีทตี่ นเขาใจวาไมม ี
เทานั้น จะใหผลแกผ นู ั้น การทาํ บุญทําบาปจงึ ไมม ีความหมายอะไรทง้ั สิน้ กบั เขา นอกจาก
เปน ความตองการในปจ จุบนั จะทาํ อะไรก็ทาํ ตามใจชอบ ผิดหรือถูกไมค ํานงึ ผูมีความคดิ
เชนนไ้ี ดช ื่อวาทําลายตนเองไปในตัวทุกระยะทคี่ ดิ และทําลงไป
ในหลกั ธรรมของพระพทุ ธเจา ก็มีไว คอื เจา ทิฐิตาง ๆ ซึง่ มาสนทนาธรรมกับพระ
พทุ ธเจา สัตวตายแลวสญู บา ง ตายแลวเกดิ บา ง ทุกสง่ิ ทุกอยางเท่ยี งบาง สัตวทเ่ี คยเกิดเปน
ชนิดใดก็ตอ งเกิดเปน ชนดิ นัน้ บาง เชน ใครเคยเกดิ เปน คนกต็ องเปน คนเรือ่ ยไป เท่ยี งตอ
ธรรมชุดเตรยี มพรอ ม ธรรมะชุด๑๑เต๑๒รยี มพร้อม
๑๒
กําเนดิ ของตนท่ีเคยเกิดเปน อะไร กลายเปน ความเที่ยงไปหมด น่กี เ็ ปน เรอื่ งของความ
สําคญั ไมใชค วามจรงิ ซ่ึงมีอยใู นสนั ดานของสตั วเ ตม็ โลก
เรอ่ื งของกิเลสเปนสิง่ ทนี่ า กลัวมาก เมอื่ พจิ ารณาและเรยี นเรอ่ื งของกเิ ลสซ่งึ มีอยู
ภายในใจของเรา ดวยหลกั ธรรมเปน เคร่อื งพสิ จู นโ ดยลาํ ดบั แลว เราจะย่งิ เหน็ กิเลสเปน สิ่ง
ท่ีนา กลวั มาก เพราะแทบทกุ สงิ่ ซ่ึงเปน เคร่ืองหลอกลวงจากกเิ ลส อันทําใหส ัตวเปนภัยเสมอ
ไป แทบจะพดู ไดว า ทุกระยะท่ีเปนความกระซิบกระซาบ เปน ความบงั คบั บญั ชา อาํ นาจมาก
อาํ นาจนอ ย มกั มีอยกู ับกิเลสทง้ั ส้นิ จติ ใจเรากค็ ลอยตามมัน คลอ ยตามมนั จนลืมตัว วา คดิ
เชน นัน้ เปน ส่ิงถูกตอ งไปหมด แมท ไี่ มนาเชอ่ื ก็เช่อื ไปเลย ทเ่ี รยี กวา “ลมื ตวั อยางมดื มิด”
ไมทราบไดว าสง่ิ ท่ีคิดน้ันเปนทางถกู หรือทางผิด เพราะเคยเช่อื ธรรมชาติท่พี าใหง มงายนม้ี า
นานแลว
กิเลสเปน ธรรมชาตทิ ่ีไมมีคาสาํ หรบั ผูท มี่ คี า และความเปนผูม คี ณุ คาคอื ตวั เรา จึง
ตองระวังเสมอ
การท่จี ะพสิ จู นเ รือ่ งเกิดเร่ืองตายน้ี เราจะพสิ ูจนอ ยา งไร ? ไปเรียนทีไ่ หนไมส ิน้ ไม
สุด และก็ไมสามารถทีจ่ ะระงับดบั ความสําคัญอันดนเดาเหลา นั้นได นอกจากการปฏิบัตติ อ
จิตใจโดยเฉพาะ คอื “จติ ตภาวนา” งานนี้เปน ทางตรงแนว ตอ ความจริงที่จิตจะพึงทราบ
จิตจะตอ งทราบดวยวิธีน้แี นนอน เพราะปราชญท งั้ หลายมพี ระพุทธเจาเปน ตน ทรงทราบ
จากวิธนี ้เี ปนหลกั ใหญ
การคดิ ตรองตองมี “จติ ตภาวนา” เปน หลกั ยืนตัว จงึ จะสามารถเขา ถงึ ความ
จรงิ อยา งอ่ืนไมมที างทราบได จะเรียนมากเรยี นนอยกต็ าม แตไ มไดป ระมาทเพราะการ
เรียนไมใ ชการชาํ ระกเิ ลส เปนการจดจาํ เอาตามการเรยี นมาเฉย ๆ แตก ิเลสกเ็ ปน กเิ ลสอยู
โดยดี ถาเราไมแกกิเลส กิเลสก็มีอยเู ตม็ หวั ใจตามเดมิ ราวกับคนไมเ รยี นไมละกเิ ลสนน่ั
แล เหมือนอยา งเขาสราง “แปลนบานแปลนเมือง” จะทาํ แปลนไดก ่ีมากนอยมนั กเ็ ปน
แปลนอยเู ปลาดี ๆ นน่ั แหละ ถาเราไมล งมือทํามนั กไ็ มเปนตวั บา นตัวเรือนขน้ึ มาได
การเรยี นธรรม การจดจําช่ือเสยี งของกเิ ลส จะเรยี นกันไปขนาดไหนกเ็ รียนไปจํากนั
ไปแตชือ่ ความจรงิ มนั กเ็ ปน “กเิ ลส” ของมันอยูอ ยางนนั้ ไมบกพรอ งลงบางเลยจนนิด
เดยี วดว ยการทองจํา จึงไมมปี ระโยชนอ ะไรทีจ่ ะจดจําเปลา ๆ ไมสามารถจะแกก เิ ลสตาง ๆ
ภายในจติ ใจได นอกจากจะปฏิบตั เิ พอื่ ละเพ่ือถอนมนั ไปโดยลาํ ดบั ดังทป่ี ราชญทงั้ หลายพา
ดําเนินมาจนถึง “ความบรสิ ทุ ธิพ์ ุทโธ” เตม็ ดวงใจเทา น้นั
ธรรมชุดเตรียมพรอ ม ๑๒
ภาค ๑ “เร๑า๓กับ กิเลส’’
๑๓
ปรยิ ัติ ปฏิบตั ิ ปฏิเวธ ทงั้ สามนเ้ี ปน ธรรมสามคั คีกนั ขาดไปไมไ ด ถาอยากเหน็ กเิ ลส
หลุดลอยออกจากใจ ถาอยากเปนผูร ับเหมากเิ ลสทัง้ มวลกองเตม็ หัวใจ กเ็ พียงเรียนเอา จด
จําเอาแตช ่อื ของมันก็พอตัวแลว แทบเดนิ ไมไ หว เพราะหนกั คัมภีรใบลานทเี่ รียนจดจํามา
เปลา ๆ โดยเขา ใจวา ตนเปน ปราชญฉลาดพอตัว ทงั้ ทก่ี ิเลสเต็มหัวใจ
การปฏบิ ตั ิ เชน จิตตภาวนา คือการปฏบิ ตั ิตอ จิตใจตัวเอง เปน การเรยี นเร่อื งจิตใจ
ของตนโดยตรง วิถใี จชอบคดิ ไปในทางใดบาง มมี ากนอ ยหนกั เบาไปในทางใด ? ทางดี
หรอื ช่ัว มีธรรมคือสติปญญาเปน ตน เปนเครอ่ื งพสิ จู นอารมณอยเู สมอ ธรรมทา นสอนไว
อยา งไร อะไรทคี่ วรเอาชนะ ท่ีควรจะระวัง ทคี่ วรจะดับ ทค่ี วรจะสงเสรมิ ทา นบอกไวห มด
เชน จติ มีความฟงุ ซานซ่ึงเปนการกอกวนตวั เอง เวลาฟุงซานมากกก็ อกวนมาก
ทาํ ลายตนมาก ใหพยายามระงับดับความคดิ เหลา น้นั ดว ยอุบายตาง ๆ มีสตปิ ญญาเปน
สําคัญ ตามแตจ ะเหน็ ควร เชน การกาํ หนดภาวนา มธี รรมบทใดเปน หลักยึดแทนอารมณท ่ี
เคยทาํ ใหฟงุ ซา นนั้นเสยี จิตก็ยอมมที างสงบลงได พอจติ สงบลงไดก ท็ ราบวา จิตพักงานที่
แสนวุนวายลงไดเปน พกั ๆ เพยี งเทา น้ีก็พอทราบเบือ้ งตน แหงการภาวนาวา มผี ลเปน
ความสงบสุขทางใจ ถาเปนโรคก็ถูกกับยา หรอื ระงับลงแลว ดวยยา พอมที างพยาบาลรกั ษา
ใหห ายไดโดยลาํ ดบั จนหายขาดไดดวยยาขนานตา ง ๆ จติ ใจตอ งสงบเยน็ เห็นผลโดย
ลําดับดวยธรรมแขนงตาง ๆ จนถงึ ขนั้ บรสิ ุทธไิ์ ดดว ยธรรม
เมอ่ื จิตมพี ลังทง้ั หมดมน่ั คงเขา ไปเปน ลําดับ ๆ กย็ อมทราบชดั และทราบเรอ่ื งของ
ธาตขุ องขนั ธไ ปโดยลําดบั โดยทางปญ ญาเปนอยา งน้นั ๆ จนทราบวา ธาตุขันธเหลานี้มนั
ไมใ ชอ ยางเดียวกนั แมจะอาศยั กันอยูราวกบั เปนอนั หน่ึงอันเดยี วกนั กต็ าม เปรยี บเทยี บ
เหมอื นกบั เรามาอาศยั อยูในบา น บา นนน้ั เปน บา น เราเปน เรา จะอยใู นบา นเรากเ็ ปน เราคน
หนง่ึ ตางคนตางอยู เปน แตอ าศัยกันอยูช ว่ั กาล ฉะน้นั บา นจงึ ไมใชเรา เราจึงไมใชบาน บา น
เปน สมบตั ขิ องเรา ธาตุขันธเปนสมบตั ิของเราคอื ใจ แตเรานไ้ี มใ ชบ านและเราไมใ ชธาตุ
ขนั ธ ธาตุขนั ธไมใ ชเรา แตเ พียงอาศยั และเปนความรับผดิ ชอบกันอยู ฉะนน้ั เราจะเรียกวา
ธาตขุ นั ธเ ปนของเราตามสมมตุ ิกไ็ มผ ดิ แตอยางไร ๆ มันกเ็ ปนคนละอยา งอยดู ี
การเรยี นจิตตภาวนายอ มทราบความจริงไปโดยลําดบั ๆ ดงั ทอ่ี ธบิ ายมา และการ
เรียนเชน น้ีเปน ภาคปฏิบัตเิ พือ่ กําจัดกเิ ลสโดยตรง
ครั้งพทุ ธกาลทา นเรียนเพอ่ื ปฏบิ ตั กิ าํ จัดกเิ ลสตา ง ๆ ออกจากใจจริง ๆ ไมไดเรยี น
เพ่ือเอาชอ่ื เอานามของกเิ ลสบาปธรรม และชนั้ ภมู ิ ตรี โท เอก มหาเปรยี ญ อยา งเดยี ว โดย
มใี บประกาศนียบตั รรบั รอง อันเปนราวกําแพงรักษาความปลอดภัยใหกิเลสผาสุกสนกุ
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๓
ธรรมะชุด๑เต๔รยี มพร้อม
๑๔
แพรพ ันธอุ อกลูกออกหลาน สรา งบา นสรางเรอื นท่ขี ับถายบาํ รงุ บาํ เรอบนหัวใจสตั วโลก ดง่ั
ทเี่ ปน อยเู หน็ อยนู ี้เลย
ช้ันภูมขิ องทานท่ไี ดรับสว นผลจากการปฏิบตั ิ ก็เปน กัลยาณชน อริยชน เปน ขั้น ๆ
โดยสนทฺ ิฏฐ ิโก เปน เครอื่ งรบั รองตวั เองตามหลักความจรงิ ของภูมธิ รรมนั้น ๆ สมกบั ธรรม
เปนสวากขาตธรรม ทต่ี รสั ไวช อบ ไดผ ลเปนที่พงึ ใจตามพระประสงคท ่ีทรงสง่ั สอนสตั วโลก
ดวยธรรมของจรงิ อนั ประกอบดวยพระเมตตาเตม็ พระทัยไมเคยบกพรอ งแตตน จนถึง
เวลาจะเสด็จดับขนั ธปรนิ พิ พาน องคพ ยานวาระสดุ ทา ย คือพระสภุ ทั ทะปจ ฉมิ สาวก ผบู วช
ในราตรีจะปรินพิ พาน ซงึ่ ตง้ั หนาทําความเพยี ร ยังกเิ ลสท้งั มวลใหส ้นิ ซากในคนื วนั นน้ั จาก
พระโอวาททป่ี ระทานโดยเฉพาะ หลังจากนน้ั กป็ ระทานปจฉิมโอวาทแกพ ระสงฆท ่ปี ระชมุ
พรอ ม เพอ่ื การเสด็จปรนิ ิพพานของพระองค โดยใจความสาํ คญั วา
ภกิ ษทุ ง้ั หลาย บัดนเี้ ราเตอื นทา นท้ังหลายใหท ราบวา (สัจธรรมที่มีตดิ แนบอยูก บั
ตัว) คอื สังขารท้งั หลายที่เกดิ ขน้ึ เฉพาะอยา งย่งิ คอื (สงั ขารภายในไดแ ก ความคิดปรุง
แตงตา ง ๆ ทกุ ขณะ ทั้งดี ช่ัว กลาง) ลวนดบั ไปโดยสตปิ ญญา ดว ยความไมประมาทเถดิ
เหลา นี้คอื พระเมตตาลนฝงแหง โลกธาตุ ท่ปี ระกาศแกมวลสตั วเ รื่อยมาจนวาระสดุ
ทา ย สรุปความแลว กล็ งไปรวมท่ีใจ
ใจจงึ ควรไดร ับการอบรม อยางนอ ยกพ็ อรูวถิ ที างเดนิ ของตน และรูว ิถขี องจิตไป
โดยลําดบั ดวยวิธีจติ ตภาวนาวา ปกติจิตของสามญั ชนชอบคดิ ไปในทางใด หนกั ไปทางใด
จิตจะมีความบึกบึนหรอื มคี วามเสาะแสวงในทางนั้นเสมอ ถามีสติมปี ญญาคอยสอดสอ ง
คอยสังเกตอยแู ลว เราจะพบเห็นวา จิตน่ีชอบไปในทางน้นั มาก เมื่อจิตคิดในทางนัน้ มาก ก็
ทาํ ใหเกดิ ความสนใจวา ทางน้นั มนั เปนอะไร? เปนทางดีหรอื ทางชั่ว เปน ทางผกู มดั หรอื ทาง
แกทางถอดถอน? ถาเปน ทางผกู มัด เปน ทางสัง่ สมความช่วั หรือความทกุ ขเ กิดขึ้นมาแกเรา
เรากพ็ ยายามแกไ ข พยายามหกั พยายามหักหาม นม่ี นั มีทางแกก นั ไดอ ยา งนี้
การพยายามอยูโดยสม่าํ เสมอไมม ีการลดละ ยอ มจะมที างหกั หา มสิง่ ไมควรน้นั ได
จนกระทัง่ หกั หา มไวได และตัดขาดจากกนั ไปได เหมอื นคนตดั ไม ตดั ฟนครั้งหนึง่ ไมข าด
ฟน สองครัง้ เขา ไป สามครั้ง ส่คี รัง้ เขาไป จนกระทั่งไมน ้ันขาดจรงิ ๆ เพราะความพยายาม
ตดั อยเู สมอ
การตัดกระแสของจติ ทชี่ อบคดิ ในเร่อื งไมดี ดวยความพยายามในทางดีอยเู สมอ
อยางนี้ ยอมเปน ไปไดท าํ นองเดยี วกัน เมือ่ ตัดส่ิงใดขาดไปจากจติ แลว กท็ ราบวา สง่ิ นน้ั ได
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๔
ภาค ๑ “เร๑า๕กบั กเิ ลส’’
๑๕
ขาดไปแลวจากใจ เง่อื นทีจ่ ะตอ ใหจติ เกดิ ความทกุ ขความลาํ บาก เพราะความคดิ เชน นัน้ ไม
มีอีกตอไป
กเิ ลสประเภทใดทีจ่ ติ ชอบคิด ชอบยดึ เหนย่ี ว ชอบยึดม่นั ถือมน่ั กค็ ิดแกไ ขในแงน ัน้
มาก ๆ พึงกําหนดพจิ ารณาแกไ ขกนั โดยทางสติปญญาอยางสม่าํ เสมอ ตอไปกิเลสประเภท
นน้ั หรือความคิดประเภทนั้นก็คอยออนกําลังลงไป สติปญญาคอ ยแกกลาขน้ึ มาจนกระท่ัง
สามารถตัดขาดไดไ มม ีเหลอื
การพยายามดวยความเพยี รตดั ขาดไปทลี ะกง่ิ สองกงิ่ ของกเิ ลส ก็นบั วาเปน มงคลแก
ตัวเราโดยลําดับ ถาเปน ตนไมก ็ตอ งตัดขาดทลี ะกง่ิ สองกิ่ง ถา เปนรากไมต น หนึ่งๆ มันมี
รากมากนอ ยเพยี งไรกพ็ ยายามตดั มัน จนกระทงั่ โคน ลม ลงไปจนกระท่ังรากแกวไมใหเหลือ
หลอ ดวยความพยายาม คอื พยายามตัดทีละรากสองรากเขาไป จนกระทง่ั มันทนไมไ หว
เพราะการตดั โดยสมํา่ เสมอ ตัดโดยไมหยดุ หยอ น ไมล ดละ มันก็ขาดลม ลงโดยไมส งสัย
เรือ่ งกระแสของกิเลสทอี่ อกมาจากจิตมันมมี ากมายเชนเดยี วกับรากไม รากฝอยน่ัน
แหละสาํ คัญ รากแกว มนั มรี ากเดยี ว ไอตวั กิเลสก็มีตวั “อวิชชา”อนั เดียวเทานน้ั แหละเปน
หลักใหญ น่ันแหละเรียกวา รากแกวของกิเลส ใหพยายามตัด มนั แตกแขนงออกไปมาก
มายกายกอง คอื มันแตกออกมาทางตาไปสูร ูป แลว มรี ูปอะไรบาง นัน่ แหละมนั แตกแขนง
ไป เปนเร่อื งของกิเลสทัง้ นั้น ยัว่ จิตใหคดิ ไปทางกเิ ลส
ทีนี้ในทางเสียง เสยี งอะไรบาง มันก็แตกแขนงออกไปเปน รากฝอยไปเรอ่ื ย ๆ แต
อยา งไรก็ตามเรากท็ ราบวา รากฝอยก็คอื รากฝอยของกเิ ลสตัวน้เี อง จะรากฝอยอะไรกัน
เสียงเปน ลกั ษณะใด ถาเปน เสียงท่ีจะทาํ ใหเกิดกิเลสขึน้ มา กท็ ราบวาเปน เรอ่ื งของกิเลส
ดว ยกัน เราก็พยายามตดั พยายามแก คลี่คลายเสยี งน้ัน
รปู มันเปนอะไร ถึงรักถึงชอบ ถึงเกลียดถงึ โกรธ แยกออกไป ใครเปนผโู กรธ โกรธ
เพราะเร่อื งอะไร จิตเปนผูโกรธ โกรธเรอื่ งอะไร โกรธแลว มนั ไดประโยชนอะไร ความโกรธ
เปน ความรมุ รอน เปนความทุกข ทําไมขยนั โกรธ? โกรธแลวมันไดประโยชนอ ะไร โกรธให
ตัวเองคอ ยยงั ชว่ั ไอโ กรธใหค นอ่นื ซ่ึงตัวเองก็เปน ทกุ ข แลว เขากเ็ ปนทุกข ยิง่ เพ่มิ ความทกุ ข
ทรมานใจทงั้ สองคน คือทั้งตนและเขาข้ึนอกี มากมาย
การโกรธใหตวั เองยงั มีทางท่จี ะแกไ ขไดดกี วา โกรธใหคนอืน่ แมจะเปนกิเลสกย็ งั พอ
จะถอดถอนความโกรธนไ้ี ด แตสวนมากไมย อมโกรธตัวเอง ท่ีจะใหบังเกิดอบุ ายปญ ญาพอ
แกค วามโกรธตวั เองได
ธรรมชุดเตรียมพรอ ม ๑๕
ธรรมะชุด๑เต๖รยี มพร้อม
๑๖
การไปโกรธคนอนื่ เหลานี้เปนเรอ่ื งของกิเลสลวน ๆ จงแยกแยะดู พิจารณาดวยดี
รปู เสยี ง กลิน่ รส เคร่ืองสัมผัส มันมีเปน แขนง ๆ ไป ออกไปทางตา ทางหู ทางจมูก ทาง
ลนิ้ และทางกายนแี้ หละ แลวจงึ มาสใู จ คอื “ธรรมารมณ”โดยอาศยั รปู เสยี ง ฯลฯ ทีเ่ คย
สมั ผสั มาแลว น้ันมาเปน อารมณข องใจ ใหนํามาครนุ คิดอยตู ลอดเวลา นีเ่ ปนการสง่ั สมกเิ ลส
ประเภทหนึง่ ๆ ขนึ้ มาเร่อื ย ๆ มันแตกแขนงออกมา คือแตกออกมาจากใจ สตปิ ญญาหยัง่
ทราบอยูภายในใจและแกไ ขกนั ไปเรือ่ ย ๆ ไมลดละทอถอย หนไี มพ นถาลงสติปญ ญาจดจอ
ตรงนนั้ ไมท ราบในวาระนตี้ องทราบในวาระตอ ไปจนได ไมท ราบมากกต็ องทราบนอย
ทราบไปโดยลาํ ดับ ๆ กค็ อยทราบมากไปเอง คอยตดั ขาดไปเอง ทราบตรงไหนแลวก็คอย
ละไป ละกนั ไปเร่อื ย ๆ จนกระท่ังละไดข าดจากกันไปจรงิ ๆ นี่การตดั กเิ ลสทานตดั อยางนี้
เชนเดียวกบั ทเี่ ราตัดรากฝอยของตนไม ตัดไปตดั มากไ็ มม ีรากอะไรเหลอื อยู สุดทายกเ็ หลือ
แตร ากแกว ก็ถอนขึ้นมาหมดไมม ีเหลือ
เราตดั และถอนตน ไมใ หต ายดว ยวิธนี ี้ เราจงึ ถอดถอนกเิ ลสดวยวธิ เี ดยี วกนั ดว ยสติ
ปญญา ศรทั ธา ความเพยี ร จนกิเลสตายเกล้ียง เรากแ็ สนสบายบรมสขุ
เรื่องของจติ ภพชาติมนั อยทู ่จี ิต ความสญู ไมทราบมันอยูท่ไี หน เราไมเ หน็ ใน
คัมภรี กไ็ มมีวา สตั วต ายแลวสูญ มแี ตตายแลวเกิดถา กิเลสยงั มีอยูในใจ ทําไมจึงไปเหมามัน
ไดวาตายแลว สญู นัน่ นะ จึงเอามาพดู แตภ พชาตมิ ันไมสญู นน่ี ะ มนั อยูท่จี ิต ทําไมเราจึงไมดู
ที่ตรงน้ี ? ไปหาดนเดาเกาทไี่ มคันใหมนั ถลอกปอกเปกเปนทกุ ขไ ปทาํ ไม เราเปนมนุษยซ ่ึง
เปนชาตทิ ่ฉี ลาด ทําไมจึงมาโงต อ เรอ่ื งของตวั หากมีผมู าวาพวกเราบัดซบจะไมอายเขา
หรอื ? หรือวา ไมอาย ตอ งโกรธเขาซิ ดังนี้กย็ ่งิ ไปใหญ ขายตวั สองตอสามตอจนไมมีส้ินสุด
เพราะความโงตวั เดยี วพาใหเปนเหตุใหญ
ใครแสดงภพชาตขิ ้ึนมาใหเ ราเหน็ ในระยะนี้ เรานง่ั อยใู นเวลาน้ี ?
ถา ไมมเี กดิ มนั จะมีรูปมกี ายมาอยางไร? ตอนเกิดนัน้ มันเอาอะไรมาเกิด ถา ไมเอา
ของมอี ยมู าเกดิ จะเอาอะไรมาเกิด? ธาตุขันธอันนม้ี าจากอะไร? ธาตุส่ี ดนิ นา้ํ ลม ไฟ ที่
เปน รางกาย ก็เอาสิ่งทมี่ ีอยมู าประสมกนั ธาตดุ ิน ธาตนุ า้ํ ธาตุลม ธาตุไฟ มาผสมกันเรยี ก
วา “สว นผสม” อาศัยจิต จิตก็มอี ยูจึงเขามาอยดู วยกนั ได ของไมมอี ยูจ ะเอามาไดอยา งไร
นม่ี ันลวนแลว แตอาศยั ส่ิงทีม่ อี ยูมาประกอบกนั เขา เปนรูปเปนกาย เปนหญิงเปนชาย
เปน ตน ไมภูเขาอยา งนเ้ี ปน ตน มนั มีอยทู งั้ นน้ั ถา ไมม ีจะประกอบกนั ขนึ้ มาไมไ ด ปรากฏตัว
ข้ึนมาไมได แลว เราวา “สูญ” ขณะน้ีมนั สญู หรือไมส ูญ? เรามาจากไหนถึงไดมาเกดิ อยู
เดี๋ยวนี้ ถาสญู จรงิ แลวมนั มาเกิดไดอยา งไร น่ัน
ธรรมชุดเตรียมพรอ ม ๑๖
ภาค ๑ “เร๑า๗กบั กเิ ลส’’
๑๗
ถาอะไร ๆ ก็สญู แลว จะมาปรากฏตวั ไดอ ยางไร ก็เพราะมนั ไมสญู น่ันเองจึงมา
ปรากฏตวั เปน เราเปนทา น เปนสตั วเ ปนบุคคล เรอ่ื ยมาดังที่รู ๆ เหน็ ๆ อยนู ้ี ทเ่ี ราวา
“สญู ”น้นั ไมค ดิ อายส่งิ ทมี่ ีอยูเตม็ โลกบางหรือ? หลวงตาบัวนี่อายจงึ ไมก ลาคดิ วา ตายแลว
สูญ
นี่คอื ปญ ญาแกตัวเอง พิจารณาแยกแยะมนั ลงไป รางกายมันเอามาจากสิ่งท่มี อี ยู สิ่ง
ทมี่ อี ยูจึงปรากฏตัวขึน้ มาได ถา ไมม กี ็ปรากฏขึ้นมาไมได นีแ่ หละภพชาตคิ ือกเิ ลสอวชิ ชา
ตณั หา อปุ าทาน กรรม เปนเช้ือความสบื ตอ ของภพของชาติ เปน กําเนิดเกดิ มีที่โนนท่นี ี่ มนั
มีเชอ้ื ของมัน มสี บื ตอ กันอยทู ่ใี นจิตใจดวงนี้ ตัวนี้จงึ เปน “ตวั ภพ”ตัวน้จี ึงเปน “ตัวชาต”ิ
ตัวนีเ้ ปนตวั ไมสญู เปนตัวเกดิ ตัวแก ตวั เจบ็ ตวั ตาย มนั อยูท่ตี รงนแี้ ละรวมอยูทน่ี ท่ี ้ังหมด
ความสญู นั้นมองไมเหน็ มนั สญู ไดอ ยางไร ? ตัวสญู อยทู ไี่ หน? เห็นแตค วามมอี ยู
ภายในจิตใจ ความสูญภายในจิตใจน้นั มนั ไมม ี ไมเ หน็ ไมปรากฏ แลว ใจน้นั จะสูญไดอ ยา ง
ไรเมอ่ื มันไมม สี ิง่ ทจี่ ะใหสญู มนั เปน สิง่ ทม่ี ีอยทู ง้ั นั้น แลวเราจะเอาอะไรมาใหม ันสูญ ขอ
สําคัญคอื ความสาํ คญั มันหลอกคนตา งหาก ความจรงิ แลว เปน อยางน้ี มันมีอยทู กุ สิ่งทกุ
อยางภายในจิตใจ คอื พรอมทจี่ ะเกิด เพราะสิ่งท่ีจะทาํ ใหเกิดมีอยูมากภายในจติ รากเหงา
เคามูลของความเกิดก็คือ “อวิชชา” นี่คือตัวใหเกิด ไมเ ปน อยางอนื่ เลย ถาตวั นยี้ ังไมหมด
ไปจากจิตใจเมือ่ ใด ตองเกิดวันยงั คํา่ ตลอดกัปตลอดกัลป ไมมีกําหนดกฎเกณฑ ไมม ีตน มี
ปลายเลย ตองเกิดแลว ตาย ๆ อยอู ยางนี้ เพราะเชื้อความเกิดมนั มอี ยูภายในใจ น่ีเปน ของ
จรงิ ทีป่ ระจกั ษอยภู ายในใจเราเอง
จงปฏบิ ัตจิ ติ ตรงจิตน้ี ดูตรงน้ดี ว ยสติปญ ญา แลวตดั เช้อื ความเกิดกนั ท่ตี รงน้ี จะสนิ้
สงสยั เร่ืองตายเกิดหรอื ตายสญู ทั้งมวล เพราะสุดทายก็ผทู ส่ี าํ คัญวา ตายแลว สูญนัน้ แลไป
เกิดอีก ไดรบั ความทุกขค วามลาํ บากจากทตี่ นเขาใจวา เมอ่ื ตายแลว มันกห็ มดเรือ่ ง ไมมี
อะไรทจ่ี ะสืบตอขา งหนา แลว คดิ อยากทําอะไรก็ทาํ อยากทําบาปอยากทาํ อะไรก็แลว แต
ตามใจทุกอยา งในขณะทย่ี งั มีชวี ิตอยนู ้ี เม่อื ตายแลวหมดความหมาย
ทนี ้ีเมื่อมนั ไมห มดความหมายตามความสาํ คญั ตนเลา ใครจะเปน คนรบั ความช่วั ชา
ลามกทงั้ หลายเหลานั้น? กค็ อื เราเองเปนผูร บั เมือ่ เปน เชน น้ันเรากลาเส่ยี งแลวเหรอ? ท้งั
ๆ ท่ีเปน มนษุ ยท ก่ี าํ ลังมคี ณุ คาอยทู ั้งคน และเปน คนรบั ผิดชอบเราอยูต ลอดมา เหตไุ รเรา
จะตอ งยอมเสียทา เสียทไี ปลมจมขนาดนั้นดวยอาํ นาจของกเิ ลสมนั ครอบงํา ดว ยความ
สําคญั ทผี่ ิดอยา งมหันต ใหบุญไมย อมรับ มาหลอกลวงตนเองถงึ ขนาดนนั้ จงรบี คดิ เพื่อหา
ความจรงิ จากธรรมของจริงเครอื่ งพิสจู น และปราบปรามกเิ ลสตวั น้ันใหสนิ้ ไป ไมค วรนอน
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๗
ธรรมะชดุ ๑เต๘รียมพรอ้ ม
๑๘
ใจนอนจมอยกู ับมนั แบบไมรสู กึ ตวั ดังทเ่ี คยเปน มากกี่ ัปนับไมถ วนอยแู ลว ไมงัน้ จะสายเกนิ
กาลนานเกนิ จะแกไ ด เวลาตายจะไมม กี สุ ลาติดตัว (กุสลาคือความฉลาด)
ความจรงิ มอี ยูทําไมเราจึงไมดู? ความจรงิ กค็ อื ใจและสัจธรรม ใจน้มี ันไมส ญู นะ
เช้อื กเิ ลสเชือ้ แหงภพแหง ชาตกิ ็อยกู ับใจนเี่ อง ตวั ประกันตัวตีตราท่ีจะใหเ กิดมนั อยูกับจิตใจ
น้ี แลวจะสญู ไปไหน? จะสูญไดอ ยา งไร นคี่ อื ความจรงิ ความจรงิ ลบไมสญู มนั สญู ไมไ ด แต
ความสําคัญน้ันมนั สญู ได สูญไดต ามความสาํ คัญซงึ่ เปน เรือ่ งของกเิ ลส แตความจรงิ มันไม
สูญ แลวบาปบุญคุณโทษท่ที าํ ลงไปกเ็ ขาไปอยใู นจิต ไมไ ดไปอยูทีอ่ ่ืน เพราะจติ เปน โรงงาน
ผลติ ออกมาจากทน่ี น่ั เอง ผลดชี ั่วก็เขา ไปรวมตวั อยทู จ่ี ิตนนั่
นา นนะความจริงจะไปไหน มันเกดิ กันทีน่ นั่ ผสมกนั ท่นี น่ั ดีชัว่ มันอยทู ่จี ิต จิตจะไป
เกิดในสถานทใี่ ดภพใดแดนใดก็ตาม มันไปดว ยกําลังแหง กรรม กรรมและวบิ ากแหง กรรม
มันผลักไสใหไป แนะ มันจะสูญไปไหน ตายแลวมนั พรอ มเสมอท่จี ะเกดิ จะเกิดสงู ต่าํ ขนาด
ไหนนน้ั มนั แลว แตอ ํานาจแหง กรรมทม่ี ีอยภู ายในจิตใจซึง่ ตนสง่ั สมไวน ่ันแหละ น่เี ปนหลกั
ความจรงิ
การเรยี นเรอื่ งความจรงิ เหลาน้ี จงึ ตองเรียนลงทใ่ี จ พิจารณาลงทใ่ี จน้ี ดงั ทกี่ ลาวมา
เมอ่ื สักครูนวี้ า ใหต ดั ตรงนน้ั ลงมาหาตรงน้ี ลงมาดวยจิตตภาวนา คอื เราทราบไดดวย
ปญญา ใจมคี วามสัมผัสสมั พนั ธกับสิง่ ใด มีความสุขสมใจกบั สงิ่ ใด สง่ิ นน้ั เปนทางดหี รอื ช่ัว
เปนส่งิ ทีด่ หี รือสง่ิ ชัว่ เราตามรเู สมอดว ยจติ ตภาวนา เราตองทราบ เม่อื ทราบแลวพยายาม
แกไข พยายามตดั ฟน ดวยอุบายของสตปิ ญ ญา จนกระทงั่ ตดั ขาด ตัดขาดไป ๆ โดยลําดับ
ๆ
ทา นพจิ ารณาทาง “จติ ตภาวนา” หรือทา นวา “น่งั กรรมฐาน” ทา นนัง่ อยางนี้
แหละ จะไปนัง่ อยูในปาในเขา จะนั่งอยู “รุกขมูล” รม ไมท ไี่ หนก็เถอะ ก็ฝก นัง่ เรียนความ
เปนไปของจติ เรยี นเรื่องความเกดิ ความแก ความเจบ็ ความตาย เรยี นเร่อื งกิเลส การสั่ง
สมกิเลส และวิถีทางเดนิ ของกิเลส ความดอ้ื ความโลภความหลงมนั อยทู ีจ่ ติ มนั เกิดทจ่ี ิต
มันหลัง่ ไหลจากจติ นไี้ ปเปนภพตา ง ๆ ใหเ ราลมุ หลง บันเทงิ โศกเศราเสยี ใจ มีแตเ ร่ืองที่
ออกไปจากจติ นที้ ้ังนนั้ การเรยี นจึงตอ งเรยี นลงท่นี ี่ จะตอ งรสู ง่ิ เหลาน้ีประจกั ษใ จดว ยสติ
ปญญาแนนอน คือตองทราบท้ังดีท้ังชวั่ โดยลาํ ดบั ๆ แลวตดั ขาดออกจากกนั เรือ่ ย ๆ แลว
จติ ก็หดตวั เขามา ๆ เพราะขาดส่งิ ทเ่ี คยสืบตอ หดตัวเขา มา ยน เขา มา ๆ สูว งแคบ และตดั
ภาระเขา มาโดยลําดับ นี่แหละคือการตดั ภพตดั ชาติ ตัดสว นหยาบเขามาเรื่อย ๆ ตัดเขา มา
สคู วามละเอยี ด ตดั เขามา
ธรรมชุดเตรยี มพรอม ๑๘
ภาค ๑ “เร๑า๙ กับ กเิ ลส’’
๑๙
ในทีส่ ุดรา งกายของเรานี้ก็เหน็ ชดั ตามเปน จริงวา “มนั เปนแตเ พียงธาตขุ นั ธเ ทา
นนั้ ” นัน่ คอื ธาตดุ นิ น้ํา ลม ไฟ มาผสมกันเขา มีตัวคอื จิตเปนเจา ของมายดึ ครอง แลวก็วา
เปน รูปเปน กายเปน หญงิ เปนชาย เปนสตั วเ ปนบคุ คล เมือ่ ทราบชัดแลว ก็สลัดภายในจติ อีก
รูปก็สักแตว ารูป เวทนากส็ ักแตวา เวทนา ไมใ ชเรา ไมใ ชของเรา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ
แตล ะอยา ง ๆ กส็ ักแตวา เทา นนั้ ไมใชเ รา ไมใชของเราโดยประจกั ษใ จ น่ีปญ ญาพจิ ารณา
ทราบลงไปอยางนี้ เมอ่ื ทราบชัดแจงแลว ใครจะไปกลาถือวาเปนเรา ใครจะไปกลาแบก
หามสง่ิ เหลา นว้ี า เปน เราเปน ของเรา ไมกลา ยดึ ไมก ลาแบกหาม เพราะหนักเหลอื ทนอยแู ลว
เพราะปญญาหย่ังทราบหมดแลวจะไปกลา อยางไร
ทีก่ ลา ไมเขาเรือ่ งกค็ อื พวกเราทเ่ี ปนนักดน เดาเกาหาท่ีไมคนั ใหเกิดทุกขเปลา ๆ
เทา นั้น สว นทา นท่รี จู ริงเห็นจรงิ ทานสลัดปด ทิง้ ดว ยสติปญ ญา ไมมีอปุ าทานเหลือเลย
สติปญ ญาเปน ธรรมสาํ คญั มากตามหลกั ความจรงิ คือท่ีรูจ ริงเห็นจริง คอื ปญ ญาเปน
ผูร ผู ูฉ ลาด ตามรูต ามเห็นความจรงิ เปน อยางน้ันแลว เราจะไปกลา ฝนความจรงิ ไดอยางไร
วา ไมใ ชเรา โดยทางปญญาแลว เราจะยงั ไปถอื ถือก็ถือแตก็ไมใชปญญา มันเปน เรื่องของ
กเิ ลสอยูโดยดี การแกนีต้ องแกด วยปญญา รดู วยปญญา ละดวยปญ ญา ทุกประเภทของ
กเิ ลสไมนอกเหนอื สติปญ ญาไปไดแ ตไหนแตไ รมา
น่แี หละการเรียนเรอ่ื งการตดั ภพตดั ชาติ การเรียนเรอื่ งวิถีของกเิ ลส การตัดกเิ ลส
ทา นทาํ กันอยา งนี้ จนกระท่ังรธู าตุขนั ธ ก็สักแตวา ธาตุวา ขันธ คอื รูตามเปน จรงิ แลวก็ปลอ ย
วางลงไปเอง
การบอกใหป ลอ ยเฉย ๆ ไมเกดิ ผล ตองปญ ญาเปนผพู าใหปลอ ย เมือ่ เขา ใจแลว ก็
ปลอย ปลอย ๆ ส่ิงไหนยังไมเ ขาใจกพ็ จิ ารณาคน ควาเขา ไปจนกระท่ังถึงความจรงิ เขาใจ
เตม็ ภูมิแลว ก็ปลอย สดุ ทา ยมันมอี ะไรอยอู กี การตัดรากฝอยไปเปนลาํ ดับมันกถ็ งึ รากแกว
เทานน้ั เอง เมือ่ ตดั รากแกวจนไมม อี ะไรสบื ตอ กนั แลว ภพชาติก็ขาด อยา งอนื่ มนั ก็ขาดไป
ดวยตามลําดบั ท่ียังเหลือช้ินสุดทายน้นั คอื อะไร? ยอนสตปิ ญ ญาเขามาจนถึงตัว น่ันคือ
“อวชิ ชา” ทเ่ี รียกวา “รากแกว ” นีแ่ หละคอื ตัวกเิ ลสแท กิ่งกา นสาขาของกิเลสไดถูกตดั
ขาดหมดแลว ยงั เหลอื แตต ัวกเิ ลสแท ๆ ไดแ กต วั “อวิชชา”
ทนี ้ี “อวชิ ชา” อยูทีไ่ หน? มันอยทู ่ีจิตเทานน้ั อวชิ ชาไมอยูทอี่ ืน่ มนั ครอบอยกู ับจิต
จนกระท่ังจติ เองก็เขา ใจวา อวชิ ชาน้นั เปน ตน ตนเปน ธรรมชาติอันนัน้ นีแ่ หละเมื่อปญญายงั
ไมท ราบชัด แตก ท็ นไมได เพราะฟง คําวา “ปญญา ๆ” เถิด มคี วามฉลาดแหลมคมมาก
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๙
ธรรมะชุด๒เต๐รียมพร้อม
๒๐
เม่อื นาํ มาใชใ นส่งิ ใดก็ตอ งเหน็ ความจรงิ ในส่ิงนนั้ ดังน้ันเม่ือนํามาใชในจิตท่มี กี ิเลส คอื
อวชิ ชาอยูท่นี ่นั ทําไมจะไมทราบ ทาํ ไมจะทาํ ลายกนั ไมได จะตัดขาดจากกนั ไมไ ด เมือ่ กิเลส
ชนิดอน่ื ๆ ปญญาสามารถตดั ขาดได แลว สงิ่ นี้ทาํ ไมปญ ญาจะไมสามารถตัดขาดไดเลา
ปญญาตองสามารถตดั ขาดได
เมอื่ ตัดขาดกเิ ลสตวั สําคัญนีแ้ ลว ตองทราบชัดประจักษใ จ ถา จะพูดกพ็ ูดไดเ ต็มปาก
ไมกระดากอายหรือสะทกสะทา นกบั สง่ิ ใดหรอื ผใู ด ถาจะพดู แบบโลก ๆ ก็ตองเรียกวา รูชัด
ๆ รอ ยเปอรเซน็ ต หมดปญหากนั เสยี ทีเรอื่ งความเกิดความตาย เรื่องความทุกขทรมานใน
วฏั สงสาร ภพนอ ยภพใหญทเี่ คยเปน มากก่ี ัปกก่ี ลั ปจ นนบั ไมถวน เพราะตวั น้พี าใหเปน ไป
ตัวนี้พาใหเกดิ ตัวนพ้ี าใหตาย ตายแลว เกดิ ซ้าํ เกดิ ซากไมห ยดุ ไมถอย ทุกขซ้ํา ๆ ซาก ๆ มา
ยุติกนั เสียแลวคราวนี้
ยตุ ดิ วยอะไร? อะไรถึงตองยุต?ิ นา น ยุตลิ งทฆี่ าเชอ้ื อันใหญขาดกระเดน็ ออกจาก
ใจแลว เหลอื แตค วามรูล วน ๆ ทเี่ รียกวา “ความบรสิ ทุ ธ”ิ์ นน้ั เปน จิตแท เปนธรรมแท ไม
มสี ง่ิ ใดเขา ไปเคลือบแฝงเลยแมน ดิ เดียว ผูนแ้ี ลเปน ผูไมเ กดิ ทีน้สี นิ้ สุดแลว แตไมใ ชส ูญ
แบบทม่ี องไมเ ห็น คนควาไมเ จอกห็ าวาไมมี แลวกเ็ ดากันอยางนัน้ ตามวิสยั ของโลกดนเดา
เรื่องกิเลสทพี่ าใหดน เดาเอาดว ยความสําคญั เหมาเอาดว ยความสาํ คัญ จึงไดร บั
ความทุกขเพราะกิเลส แตก็ยังไมเ หน็ โทษของกิเลสที่พาใหดน เดา พาใหส ําคัญม่นั หมายทงั้
ท่ไี มจ ริงตลอดมา จงึ มแี ตข องปลอมเตม็ ตัวเต็มหัวใจ ทกุ ขจ งึ เตม็ หัวใจดวย
เมอ่ื เรยี นรถู ึงความจรงิ ทกุ ส่ิงทกุ อยา งดว ยวธิ ีการปฏบิ ัตแิ ลว ความปลอมมันกส็ ลาย
ตวั ไป จึงไดเหน็ โทษชดั เจนวา เหลานี้มแี ตความจอมปลอมท้งั หมด ท่เี ราไดรับความทุกข
ความทรมานมาจนถึงปจ จบุ ันชาติที่เราจําไดเพยี งเทา นี้ มนั กเ็ ปน ความทุกขเพราะกิเลสตวั น้ี
เทานน้ั ถาเปนธรรมกไ็ มท าํ ใหเ ราเกิดทกุ ข เมอื่ มธี รรมลวน ๆ ภายในจติ แลว อะไรจะมาทํา
ใจใหมีทกุ ขอกี ตอไปเลา ตองไมมี นน่ั แน อยางน้ีแหละเรียนธรรมปฏบิ ตั ิธรรมภายในจิตใจ
คอื เรียนธรรมภาคปฏิบัตภิ าคภาวนา เห็นจรงิ อยางน้ี ชัดเจนอยา งน้ี กเิ ลสแตกกระจายชนดิ
ไมเปน ขบวน
ในเรือ่ งวิธปี ฏบิ ัตนิ ไ้ี มใ ชว ิธจี าํ แตเ ปน วิธีแกกเิ ลส ทํางานกบั กิเลสทําอยางนี้ เมอื่
กิเลสสิ้นสุดไปแลว ภายในใจ ใจทเ่ี ปนเจาของปญ หามาแตก อ นเพราะกิเลสพาใหเปน กส็ ิน้
สุดกนั ไปเองไมมสี ิ่งใดเหลอื เลย น่ีแหละความสิน้ สุดของวัฏฏะ แตไมใชค วามสญู ซง่ึ เปน
ความแสลงตอ ความจรงิ คือความมอี ยูอยา งยงิ่
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๒๐
ภาค ๑ “เร๒า๑กับ กเิ ลส’’
๒๑
ถาวา “ความสญู ของวัฏฏะ” น้ันถกู ตอ ง เพราะวฏั ฏะภายในใจไมม ีตอไปอีกแลว
สูญส้ินแหง ความสืบตอของภพชาติ เกิด แก เจ็บ ตายแท ภพชาติตอ จากนนั้ ไมมอี กี นเ่ี ปน
ความสญู สิ้นโดยธรรมโดยความจรงิ ถา วา “ความสญู ” อยางนี้ถูกตอง แตคนและสตั วต าย
แลว สูญส้นิ โดยประการท้ังปวง อะไรไมม ีเลยอยา งน้ี ขัดตอความจรงิ
ใจเมื่อถงึ ความจริงเตม็ ทแ่ี ลวกถ็ งึ ความบรสิ ุทธ์ิ ความบริสุทธ์แิ สดงขึ้นชัดในจติ ใจ
จิตเปนธรรม ธรรมเปน จิต จงึ ไมใ ชความสูญ
อยา งพระพุทธเจาตรสั รูแลว กิเลสสญู ไปหมด ไมมีอะไรเหลอื อยูภายในพระทัยแลว
ตองอาศัยความบริสุทธิน์ ้ันแลประกาศธรรมสอนโลกมาเปนเวลา ๔๕ พระพรรษา ถึงได
เสด็จปรนิ ิพพาน ถา ความบรสิ ทุ ธ์นิ ไี้ ดสญู ส้นิ ไปแลว พระพุทธเจาจะเอาอะไรมาประกาศ
ศาสนาเลา ? ขณะทส่ี ิ้นกิเลสแลว ถาจิตกไ็ ดสญู ไปดว ย แลวทรงเอาอะไรมาสอนโลกเลา ?
๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธน้นั ไมอ อกมาจากจติ ที่บริสทุ ธซิ์ ่ึงไมไดสญู นั้นแลว จะออกมาจาก
ไหน?
นแี่ หละเรียนธรรมใหถงึ นีแ้ ลว หายสงสัย ปญ หาท้ังปวงกห็ มดสิน้ ไปไมม ีเหลือเมือ่
เรยี นจบ ทราบปญหาภายในใจโดยตลอดทั่วถึงแลว อยูไหนกอ็ ยเู ถอะ เพราะความสมบูรณ
พูนผลอยทู ใ่ี จนี้ ความสุขอนั สมบรู ณมอี ยูที่ใจน้ี ถาปฏบิ ตั ใิ หถ ูกตองตามหลกั ธรรมของพระ
พุทธเจาแลว คนเราจะไมไดบ น เรอ่ื งความทกุ ขความลําบาก จะยอมดําเนินตนไปตามเหตุ
ผลคอื หลักธรรม ทุกขก ็ยอมรับวา ทุกข จนกย็ อมรบั วา จน มีไดม าเสียไปเปนธรรมดา
เรยี นธรรมรตู ามความจริงชองธรรมแลวไมบน ทกุ ขก็ยอมทนรบั ตามเหตุตามผล มี
ก็รับตามเหตตุ ามผลไมป นเกลยี วกบั ธรรม ใจกส็ บาย แมจะมกี ิเลสทย่ี งั ละไมได ก็ไมถึงกับ
ตอ งเดอื ดรอนแบบไมม ีขอบเขตเหตผุ ล ยังพอปลงพอวางได
แตถ าไมส นใจเกยี่ วของกับธรรมเลย ไมน าํ ธรรมมาวนิ จิ ฉัยใครค รวญ ก็มกั ไมม เี หตุ
ผลเครอ่ื งทดสอบ มแี ตความตอ งการของใจที่กเิ ลสบงการอยางเดยี ว ความตองการนั้นแล
จะพาคนลมจมฉบิ หาย ความตอ งการน้ันแลจะทาํ ลายจิตใจคนใหเสียอยา งไมมปี ระมาณ
ใหไดร ับความเดือดรอนอยเู สมอ ๆ ตลอดกาลสถานที่ไมมอี ะไรอน่ื คอื ความตอ งการชนิด
น้นั ไมม ีเหตผุ ล มีแตอยากตะพัดตะพือ อยากจนไมส นใจทราบวาอะไรเปน พิษอะไรเปนภยั
อยากไดอะไรควาไปกิน มนั ไมห ยดุ หยอนผอนคลาย ยิง่ อยากย่ิงตองการกย็ ่ิงเพิม่ ความคิด
ความปรุงแตง ไมถอย ยุง ไมห ยดุ ความทกุ ขทรมานภายในใจกย็ ิ่งมากขน้ึ ๆ ไดร บั การสง
เสรมิ เทาใดกย็ ิ่งคิดมากขึน้ แบบไฟไดเ ช้ือ ดไี มด ีสตลิ อย เลยเปน บา ไปเลย นา น พอเห็น
ธรรมชุดเตรียมพรอ ม ๒๑
ธรรมะชดุ ๒เต๒รียมพรอ้ ม
๒๒
โทษของความอยากความทะเยอทะยานชนิดไมมีธรรมเปน “เบรก” ไหมละ? ถา พอเห็น
โทษของมันบา งก็ควรพยายามแกไข อยาอยูเปลา แบบคนสน้ิ ทา
วนั นี้พูดเรอ่ื ง “วัฏจกั ร” พูดเรื่องความสูญความไมส ูญ ตามหลักความจรงิ เปน
อยา งนี้ ศาสนาจงึ เปน ธรรมท่เี หมาะสมท่สี ุดทีจ่ ะพิสูจนความจริง สมควรแกเวลาเพียงเทาน้ี
ธรรมชุดเตรยี มพรอ ม ๒๒
ภาค ๑ “เร๒า๓กับ กิเลส’’
๒๓
อุบายวิธดี บั กเิ ลสและเร่ืองกรรมเทศนโปรดคุณเพาพงา วรรเทธศนนะ์โกปลุ รดณคุณวดัเพปาาพบงาานวตรารดธนะกุล ณ วัดปา่ บา้ นตาด
เมอ่ื วนั ท่ี ๑๓ ธันวาคม พทุ ธศักรเามชื่อว๒ัน๕ท๑ี่ ๑๘๓ ธนั วาคม พุทธศกั ราช ๒๕๑๘
อุบายวธิ ีดบั กิเลสและเรอื่ งกรรม
โลกนีแ้ มจ ะรมุ รอ นเพยี งไรกต็ าม ยงั มีศาสนาเปนเครอื่ งเยยี วยา อยา งนอ ยมศี าสนา
เปนเครอื่ งเยียวยา กย็ ังมที างบรรเทาทกุ ขไ ปไดพ อสมควร เชนเดยี วกบั โรคแมจ ะมคี วามรุน
แรงเพยี งไร แตถ า มียาเครอ่ื งเยยี วยารกั ษาอยบู างแลว กย็ ังพอทําเนาได ไมเ หมอื นปลอ ยให
เปน ไปตามอตั ราของโรคที่มีมากนอยโดยไมม ยี าไปเก่ยี วขอ งเลย
จิตใจของโลก ถามีแตเรอ่ื งของกเิ ลสกองทุกขลว น ๆ เปนเจา อาํ นาจบงการอยูภาย
ในใจน้นั โลกไมวา ชาตชิ น้ั วรรณะใด จะหาความสงบสุขไมไ ดเลย เพราะไมมีเครือ่ งบรรเทา
คือศาสนา
คาํ วา “ศาสนา” กค็ ือคาํ สง่ั สอนทก่ี ลมกลืนดวยเหตผุ ลนัน่ เอง รวมแลว เรยี กวา
“ศาสนธรรม” เมื่อแยกออกพูดเฉพาะคาํ วา “ศาสนา” ก็เหมือนกบั วา เปน อกี อันหนงึ่
และเปน อกี อนั หน่งึ แตกแขนงออกไป ความจริงคําวา “ศาสนา” ถาพดู ตามหลักความจรงิ
แลว ก็คือเหตกุ ับผลบวกกันเขา นัน่ แลเรียกวา “ศาสนา” การเชอื่ ตอ เหตุตอผลนน้ั คือไม
ฝน ไมปน เกลยี วตอ เหตุตอผลทถี่ กู ตองแลว และปฏบิ ัติดําเนนิ ไปตามน้นั โลกจะพอมีทาง
เบาบางจากความทุกขค วามลําบากทงั้ ภายนอกภายใน
จําพวกไมม ศี าสนาเขาเคลือบแฝงเลยนนั้ ใครจะอยใู นสถานทใ่ี ดกต็ าม ไมวา จะมี
ความรสู งู ตํ่าฐานะเพยี งไร จะหาความสุขความสบาย พอปลงจติ ปลงใจลงช่ัวระยะกาลไมไ ด
เลย เพราะไมมีท่ีปลง เราจะปลงลงท่ไี หน? ที่ไหนกม็ แี ตเ รอื่ งของกเิ ลสอนั เปนไฟท้ังกอง
คือมีแตเรือ่ งความอยาก มีแตเ ร่ืองความตองการไมมีประมาณ อยากใหเ ปน ไปตามใจหวัง
ความอยากนั้น ๆ กผ็ ลิตทุกขข น้ึ มาเผาตัวเอง สงิ่ ทีต่ องการกลับไมเ จอ แตกลบั ไปเจอแตส ิ่ง
ทไี่ มต อ งการโดยมาก เพราะอํานาจของกิเลสพาสัตวโ ลกใหเปนเชน นน้ั
ถา อาํ นาจของเหตุผลหรอื ธรรมพาใหเ ปนไป แมจ ะทุกขจะลาํ บากบางในการฝน
กิเลส โดยทําลงไปตามเหตตุ ามผล แตเ วลาปรากฏผลขน้ึ มากเ็ ปนความสุขความสบาย พอ
มที างผอ นคลายความทุกขล งไดบาง เพราะฉะน้ันศาสนาจึงเปน ธรรมจาํ เปน อยางยงิ่ ตอ จติ
ใจของโลก เฉพาะอยา งยิ่งคือมนษุ ยเ รา ซึง่ เปนผูมคี วามฉลาดเหนอื สตั วท้งั หลาย ควรจะมี
ธรรมชุดเตรียมพรอม ภาค ๑ “เร๒๒า๕๓กับ กิเลส’’
๒๔
“ศาสนธรรม” เปน สมบตั ิประดบั และคุมครองใจกายวาจา และความประพฤติในแงตา ง
ๆ จะเปน ทงี่ ามตาเย็นใจทงั้ สว นยอ ยสวนใหญไมมปี ระมาณ
คําวา “ศาสนา” นน้ั เปน แขนงหน่ึงทอี่ อกมาจากธรรมลวน ๆ คือออกจากธรรม
“ทีป่ ระเสริฐ” เปน ของอศั จรรย แยกออกมาเปนคาํ สอนโดยทาง “สมมุต”ิ เปนแขนง ๆ
วา “ใหทําอยางนน้ั อยาทําอยางน้ี” เปน ตน ใหเ ราดาํ เนนิ ตาม ไมฝาฝนปน เกลยี วกับธรรม
อนั เปน แนวทางถูกตองดงี ามอยแู ลว แมจ ะยากลาํ บากในการดาํ เนนิ ตามเพียงไร เมอื่ เชื่อ
ตอ เหตตุ อ ผลแลว อตุ สา หพ ยายามฝนทําลงไป การฝน ทําลงไปนนั้ คือการฝน กิเลสทีเ่ ปน
“ขาศกึ ” ตอ ธรรม อันเปนการฝนทําในสิ่งทตี่ นตอ งการ อนั เปนเร่อื งของ “ธรรม” มใี จ
เปน ผูบ งการ ผลทีพ่ ึงไดร บั กย็ อ มเปนความรมเย็นเปน สุข
ยกตัวอยา งเชน เราคิดอะไรวันนจี้ นเกิดความวาวุนขนุ มัวไปหมด ใจท้งั ดวงกลาย
เปนไฟท้ังกอง เฉพาะอยางย่งิ ส่งิ ท่ีไมชอบใจ ส่งิ ท่ขี ัดใจมาก จิตจะไปยงุ อยกู ับสง่ิ ท่ขี ัดใจ
มากไมพอใจมากน้ันแหละ ท้งั วนั ท้งั คืนยนื เดินน่ังนอนไมยอมปลอ ยวาง ถอื เปน อารมณ
แทนคาํ บรกิ รรมภาวนา แลว ผลจะมคี วามสุขข้ึนมาไดอยา งไร มันกต็ อ งเปนไฟขน้ึ มาเปน
ลําดบั ๆ เพราะเรื่องน้นั พาใหเปน “ไฟ” และความคดิ ในเร่ืองน้ันพาใหเปน ไฟ ผลจะ
ปรากฏขึน้ มาเปน “นาํ้ ” ไดอ ยา งไร มันก็ตอ งเปน ไฟอยโู ดยดี ขนื คิดมากเพียงไรก็ยง่ิ จะ
ทาํ ลายจิตใจของเรามากเพียงนั้น สุดทายจนกนิ ไมไดน อนไมห ลับ แทบไมม ีสติหรือไมมสี ติ
ยบั ยัง้ จนเปน บา ไปเลยกม็ ไี มนอย เพราะเรอ่ื งและความคดิ ทาํ ลาย
ส่ิงทที่ ําลายเหลา น้ีคืออะไร? ก็คอื เร่ืองของกิเลส ไมใ ชเร่ืองของธรรม ฉะนั้นการฝน
ไมค ิดในอารมณไมด ีน้นั ๆ ดวยการหักหามความคิดปรงุ ของใจดว ยสติ สกดั ก้นั ดวย
ปญญา แมจ ะลาํ บาก ผลทปี่ รากฏก็คือความสงบยอ มเปนทห่ี วังได หรือพอมสี ตขิ ึน้ มา
พิจารณาใครครวญถึงทางทถ่ี ูกทค่ี วร ส่งิ ดีชว่ั ในสิง่ ท่คี ิดน้ัน ในเรอ่ื งทค่ี ิดน้นั วา ทําไมจึงตอง
คดิ ก็ทราบแลว วาไมด คี ดิ ไปทําไม แลว หาทางแกไ ขเพือ่ ความดไี มไดห รอื ? นนั่ เรื่องของ
เหตผุ ลเปน อยา งนน้ั การคดิ มาท้งั มวลนีก้ พ็ อเหน็ โทษของมันแลว เพราะทกุ ขเ ปน ประจกั ษ
พยานอยูภายในใจ มีความรุมรอ นเปน กาํ ลัง นี่คอื ผลของความคดิ ในส่งิ น้ัน ๆ ท่ีเปนของไม
ดี ถาจะฝน คดิ มากยิง่ กวานแ้ี ลว จะเปน อยา งไร ขนาดท่ีคิดน้ีความทุกขก ็แสดงใหเ ห็นชัดเจน
อยางนี้แลว ถา จะคดิ เพิม่ ย่งิ กวา นี้ ความทุกขจ ะไมม ากกวา น้ีจนทว มหัวใจไปละหรอื แลว จะ
ทนแบกหาม “มหันตทกุ ข” ไดอ ยางไร?
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๒๔
ธรรมะชุด๒เต๖รยี มพร้อม
๒๕
ถา ฝน คดิ มาก ทกุ ขต อ งเพิ่มมากกวานีเ้ ปน ลําดับ เม่อื มากกวา นีแ้ ลว เราจะมกี ําลัง
วังชามาจากไหน พอตา นทานแบกหามความทกุ ขท ่ีผลิตขนึ้ ทุกระยะ จากความคดิ ในสิ่งทไ่ี ม
พอใจน้ัน ๆ เราจะฝน คดิ ยังจะฝนกอบโกยทกุ ขเ หลา น้นั เพ่ิมข้ึนเปน ลําดบั ย่งิ ขึ้นกวานี้อยู
หรอื ? เพยี งเทานจ้ี ิตกไ็ ดสติ พอไดสตจิ ิตก็เริม่ สงบและยงั ยัง้ ตัวได และพยายามปลอ ยวาง
ความคดิ เชนนน้ั โดยทางเหตุผลอยา งใดอยางหนง่ึ ทจี่ ะใหจติ ผละออกจากส่งิ น้นั และระงับ
ความคดิ น้ัน ๆ ได ผลท่ีจะปรากฏดังท่เี คยเปน มาแลวก็ระงับ เพราะความคดิ อนั รอนอนั
เปนสาเหตนุ ั้นมนั ระงับตวั ลง การระงบั ตัวลงไดแหง ความคิดนนั้ เพราะความมสี ตยิ ับยง้ั น่ี
ก็พอเปน สกั ขพี ยานอนั หนึง่ แลววา เทา ทเ่ี ราฝน คดิ ในส่ิงน้ันมาดวยสติ และใครครวญดวย
ปญญา มผี ลปรากฏขน้ึ มาอยางนี้ คือปรากฏเปนความสงบรมเย็นขึ้นมา ทนี ้ีทกุ ขก็ระงบั ดบั
ไป
แมจ ะลาํ บากในการฝน ในการบงั คบั จิตใจ กจ็ งคดิ หาอบุ ายปลดเปลื้องตนเชนนนั้
อนั ความลาํ บากนน้ั เรากย็ อมรบั วา ลาํ บาก แตล ําบากในทางที่ถกู ทนี ้ผี ลท่ปี รากฏข้ึนมาก็
เปนความสุขและเปน ความดี เรื่องก็ไมยงุ เหยิงวนุ วายตอไป ทุกขกไ็ มเ พิ่มข้ึนมาอกี เราก็
พอผอนคลายตวั ได หรือมีเวลาปลงวาง “ถานเพลิง” คอื ความทกุ ขรอ นบนหวั ใจลงได น่ี
เปนหลักเกณฑห นึ่งที่เราจะนาํ มาพจิ ารณา เกีย่ วกับเรือ่ งทไี่ มถกู ตอ งดงี ามทัง้ หลาย
เชน เขาดเุ ขาดา เขาตฉิ นิ นนิ ทาวา อยา งน้ัน ๆ คําตฉิ นิ นินทาเขาก็ผา นปากเขาไป
แลว ผานความรสู กึ ของเขาไปแลว ตง้ั แตวันไหนเดือนไหนไมทราบ เราเพ่งิ ทราบในขณะ
น้ันเวลาน้ันก็เปน ความไมพ อใจข้ึนมา ไอล มปากเขากห็ ายไปแลวตั้งกป่ี กี่เดือนไมทราบ
เพยี งแตล มปากใหมข ึ้นมาวา “เขาวาใหคณุ อยางน้ัน ๆ” เชน “นาย ก นาง ข.วา ใหค ณุ
อยางนั้น ๆ ไมด ีอยา งน้ัน ๆ” นีเ่ ปน ลมปากคร้งั ท่ี ๒ เรากย็ ึดเอาอนั นั้นมาเปน “ไฟ” เผา
ตวั ขึ้นมาอยางลม ๆ แลง ๆ โดยไมม เี หตุผลอะไรเลย นีเ่ ปน ความสําคัญผิดของเรา ถาเขา
ไมเลา ใหฟง เราก็ธรรมดาธรรมดา ทั้ง ๆ ที่เร่ืองน้นั เขาไดพ ดู ไปแลว ถาเขาไดเ คยตาํ หนิติ
ฉนิ นนิ ทาเรา เขาก็ตาํ หนิไปแลว ผานไปแลว เราก็ไมเหน็ มีความรสู ึกอยา งไร เพราะจิตใจ
ไมก ระเพ่ือมออกมารับส่ิงเหลานน้ั จิตเปน ปกติ ผลก็ไมแสดงขึ้นมาในทางความทกุ ขค วาม
รอนใด ๆ ท้ังส้ิน
เม่ือเปนผูม สี ติอยูภายในตวั พอเขาพดู ข้นึ มาเชน นน้ั ก็ทราบทันทวี าสิง่ น้ันไมดี เรา
จะไปควา เอามายึดถือใหส กปรกและหนกั หนวงถว งใจเราทาํ ไม ของสกปรกเรากท็ ราบแลว
แมแ ตเดินไปตามถนนหนทางไปเจอสิง่ สกปรก เรายังหลกี ใหห างไกล ไมกลา สัมผัสถกู ตอ ง
แมแตฝ าเทา ก็ไมแ ตะตองเลยเพราะทราบแลว วาของไมดี ถาขืนแตะตอ งก็จะตองเปอน
ธรรมชุดเตรยี มพรอม ๒๕
ภาค ๑ “เร๒า๗กับ กเิ ลส’’
๒๖
เปรอะไปหมด เราทราบแลว วา สง่ิ เหลา นส้ี กปรก แลวทําไมเราชอบไปคลุกคลี ชอบไปยงุ
ชอบไปนํามาคดิ มาวนุ วายตัวเอง จนใหเกิดผลขึน้ มาเปนความสกปรกไปทั้งจติ กลายเปน
ไฟทั้งดวง ไมส มควรเลย
เราคิดอยางนี้ เราระงบั ความคดิ และอารมณนนั้ ได พอจะคดิ ขึน้ ในขณะใดสตเิ ราก็
ทันและรูท นั ที แลวปลอ ยไปได ไมย ึดมาเปนอารมณเ ผาลนใจอยนู าน ท่ีกลา วมาแลวนี้ทงั้
หมด เปนหลกั ธรรมวธิ ปี อ งกนั ตวั ในวิธรี กั ษาตัว
เมื่อเราใชวธิ นี ้เี ปน “ยาประจาํ บา น” ประจาํ ตวั ทกุ อริ ยิ าบถ ใจกป็ กตไิ มค อยจะเปน
ภยั แกตวั เองจากสิ่งทม่ี าสมั ผัสทัง้ หลาย จะมาทางตา ทางหู ทางจมกู ทางลิ้น ทางกาย แม
ในทางอารมณท ี่เกิดข้นึ กบั ใจโดยเฉพาะ ทไี่ ปคดิ ในเรอื่ งอดีตทีไ่ มดีไมง ามตาง ๆ มารบกวน
เจา ของก็ตาม หรืออะไร ๆ มาสัมผัสกส็ ลัดไดท นั ที เพราะสตปิ ญ ญามอี ยกู บั ใจ นํามาใช
เม่ือไรก็เกดิ ประโยชนเม่อื นั้น นอกจากจะปลอยใหส ่งิ เหลา นน้ั เขา มาเหยียบย่าํ ทําลายเสยี
โดยไมค ํานงึ ถงึ เคร่อื งปอ งกันคอื สตปิ ญ ญาเลย เราถงึ ยอมรับทกุ ข
แตถายอมรบั ทกุ ขตามหลกั ความจรงิ ทตี่ นโง ตนประมาทแลว ก็ไมตอ งบนกัน แตน ี่
ก็บน กนั ท่ัวโลกดินแดน เพราะอะไรเลา ถึงบน ? เพราะไมอ ยากทกุ ข เมือ่ ไมอยากทุกขก ็คิด
ทําไมเลา ในสิ่งท่จี ะเปน ทุกขฝ น คิดทาํ ไม กเ็ พราะความไมรู รูเทา ไมถงึ การณ เมือ่ เปนเชน
นัน้ จะเอาอะไรมาใหรเู ทาถึงการณ? กต็ องเอาสติปญญามาใชก ็ทนั กบั เหตุการณ ไมเสีย
ไปหมดทั้งตัว ยงั พอย้อื แยงไวไ ดบา งในขนั้ เรม่ิ แรกแหงการฝก หัด ตอไปกท็ ันเหตกุ ารณทกุ
กรณี ตีชนะไดท กุ วิถที าง
วิธปี ฏบิ ัติตอ ตัวเองดว ยหลักศาสนาตอ งปฏบิ ตั ิอยา งน้ี โลกถา ตา งคนตางมเี หตผุ ล
เปน เครือ่ งดําเนนิ ไมวา กิจการภายนอก ไมว ากิจการภายใน อันใดท่ีจะเปน ภัยตอ ตนและ
สว นรวม ตา งคนตา งคดิ ตา งคนตา งเขาใจ ตางคนตางละเวน ไมฝ า ฝน ด้ือดา นหาญทํากัน
ซึง่ เปน การชวยกันทําลายตนและสว นรวมใหเสยี ไป
อันใดท่ีเปน คณุ ประโยชนแกตนและสว นรวมแลว พยายามคิดทําในสง่ิ นนั้ ๆ โลกก็มี
ความเจรญิ รงุ เรอื ง อยูด วยกันมากนอยก็มคี วามผาสกุ เย็นใจไปทั่วหนากัน เพราะมหี ลกั
ศาสนาเปน เครอ่ื งพาดําเนิน ยอมยงั บุคคลใหเ ปนไปเพอ่ื ความสงบสุข ดว ยการปฏิบัติ
ถูกตอ งตามหลักเหตผุ ล อนั เปน หลกั สากลท่พี าโลกใหเ จรญิ
ดังน้นั เร่ืองศาสนาจึงเปนเรอ่ื งสําคญั สาํ หรับการอยูดวยกนั นหี่ มายถึงปจ จบุ ันทอ่ี ยู
ดว ยกัน แมปจจบุ ันจติ และตวั เราเองกม็ ีความรมเยน็ เปน สขุ ไมเดือดรอ นวนุ วายแผ
กระจายออกไปสูสว นรวม ตางคนตา งกม็ ีความรูสกึ เชนนั้น โลกกม็ ีความผาสกุ เมอื่ หมาย
ธรรมชุดเตรยี มพรอ ม ๒๖
ธรรมะชุด๒เต๘รยี มพรอ้ ม
๒๗
ถงึ อนาคตขา งหนาของจติ จติ ที่มีเหตุมีผลเปนหลกั ยึด มีธรรมอยภู ายในใจแลว จะหาความ
เดอื ดรอนจากทไี่ หน มาจากโลกใด เพราะจิตเปน ผูผลิตขึน้ เอง เม่ือจติ ไมผ ลติ จติ มีอรรถมี
ธรรมเปน เครอ่ื งปอ งกนั รักษาตนเองอยูแ ลว ไปโลกไหนกไ็ ปเถอะ ไมม ีความทุกขรอ นที่
จะไปทาํ ลายจิตใจของผูน ้ันไดเลย
พดู ตามหลกั ธรรมแลว จิตที่มคี ณุ งามความดีประจาํ ใจ ยอมจะไมไปเกิดในสถานท่ี
จะไดรบั ความทกุ ขค วามทรมาน เพราะ “กรรมประเภทน้ัน” ไมมีจะผลกั ไสไปได มีแต
ความดีคอื กุศลกรรม เปนเครอื่ งพยุงจงู ไปสสู ถานท่ดี ี คติท่ีงามโดยลาํ ดับ ๆ เทา น้ัน
อนาคตกเ็ ปนอยา งน้ีแล
ผูปฏิบตั ธิ รรม ผูมีธรรมในใจ ผิดกับบุคคลท่ไี มม ีธรรมเปน ไหน ๆ แมแตอ ยใู นโลก
เดยี วกนั เปน รูปรา งเหมอื นกนั กต็ าม แตค วามรูความเห็น ความคิด การกระทําตาง ๆ นนั้
มคี วามผิดกนั อยูโดยลําดับ ผลท่จี ะพงึ ไดร บั จะไดเหมือนกันยอ มเปน ไปไมได ตอ งมีความ
แตกตา งกันอยเู ชนนเ้ี ปน ธรรมดาตงั้ แตไ หนแตไรมา
ฉะนัน้ พระพุทธเจา จงึ ทรงสอนวา “กมมฺ ํ สตเฺ ต วภิ ชติ ยทิทํ หนี ปฺปณตี ํ กรรม
เปน เคร่อื งจาํ แนกสัตวทง้ั หลาย ใหม ีความประณตี เลวทรามตา งกนั ” ไมนอกเหนอื ไปจาก
กรรม กรรมจงึ เปน เร่ืองใหญโตท่ีสุดของสตั วโลก ทําไมจงึ ใหญโ ต? เพราะเราตา งคนตา ง
เปนผผู ลิตกรรมข้ึนมาโดยลําดบั ดวยกัน แมจ ะไมค ิดวาตนสรา งกรรมก็ตาม ผลดีชั่วกเ็ กิด
จากกรรมคือการกระทาํ ทกุ ราย จะหักหา มไมไดเมอ่ื ยังทํากรรมอยู
คําวา “กรรม” คืออะไร? แปลวาการกระทํา เปน กลาง ๆ คดิ ดว ยใจเรียกวา
“มโนกรรม” พูดดว ยวาจา เรียกวา “วจกี รรม” ทําดว ยกาย เรยี กวา “กายกรรม” ใน
กรรม ๓ ประเภทนี้ เราเปน ผผู ลิตผูสรางอยตู ลอดเวลา แลว จะปด ก้ันผลไมใ หปรากฏดชี ่วั
ขนึ้ มาไดอยา งไร เม่อื การผลติ มีดมี ีชวั่ ประจาํ ตนอยู ธรรมชาตทิ เี่ ราผลิตข้นึ มานแี้ ล เปน เจา
อาํ นาจสําหรบั ปกครองจติ ใจ สนับสนุนหรอื จะบงั คบั จิตใจใหไ ปเกิดและอยใู นสถานทใี่ ด
คติใดก็ได จะนอกเหนอื ไปจากผลแหง กรรมท่ีเรียกวา“วบิ าก” ซึง่ ตนกระทาํ แลวน้ีไปไมไ ด
ไมมีส่งิ ใดมีอาํ นาจย่งิ ไปกวา ผลแหงกรรมท่ีตนทําน้ี จะเปน เครื่องประคับประคอง หรอื เปน
เครอื่ งกดข่บี ังคบั ตนในวาระตอ ไป
หลกั ศาสนาทา นสอนอยา งนี้ ทานไมใหเ ชือ่ ทีอ่ ่นื ย่ิงไปกวาความเคลือ่ นไหวดีชั่วทาง
กายวาจาใจที่เรียกวา “กรรม” นเี้ ปน หลักประกันตวั อยูที่นี่ เพราะฉะนัน้ สิ่งทท่ี าํ ลายตวั และ
สง เสรมิ ตัวกค็ ืออนั น้ีเทานน้ั ไมมอี ะไรมาทาํ ลายและสงเสรมิ ได
ธรรมชุดเตรยี มพรอ ม ๒๗
ภาค ๑ “เร๒า๙กับ กิเลส’’
๒๘
การคิด การพดู การกระทาํ ในทางท่ีไมดี คอื การทาํ ลายตวั เอง การคดิ การพูด การ
กระทําในทางท่ดี ี คือการสง เสริม บํารุงตนเอง การประกนั ตนเอง ไมใหตกไปในทางไมพึง
ปรารถนาก็มอี ยใู น “หลกั กรรม” นเี้ ทานั้น ไมม อี ะไรยิง่ ไปกวาน้ี เพราะฉะน้นั เราจึงไมควร
กลัวส่งิ โนนกลัวส่งิ นี้โดยหาเหตุผลไมไ ด จะกลายเปนกระตา ยตน่ื ตูมทั้งทถ่ี ือพุทธ อนั เปน
องคพยานแหง ความฉลาดแหลมคม
สิ่งทีน่ ากลัวทส่ี ดุ ก็คือ ความคิด การพดู การกระทาํ ทเ่ี ปน ภัยแกตนเอง ไมวาจะใน
แงใดพงึ ทราบวา “น้แี ลคือตัวพิษตัวภัยซ่งึ กาํ ลังแสดงออกกับกาย วาจา ใจของเรา ของ
ทานอยเู วลานี้” ถา ไมย อมรูสึกตวั แกไขใหมเ สีย อันนี้แหละจะเปนตัวพษิ ภยั ทร่ี า ยกาจท่ีสุด
ใหโทษแกเ ราไมเพียงแตป จจุบันนี้ ยังจะเปนไปในอนาคต จนหมดฤทธห์ิ มดอํานาจของ
“กรรม” ที่ทําไวน้แี ลว ทกุ ขภ ยั ตาง ๆ จึงจะหมดไปได
ผูเช่อื ศาสนาจึงตองเช่อื “หลักกรรมกับวบิ ากแหงกรรม” คอื ผลพงึ ติดตามมาโดย
ลาํ ดบั เราทกุ คนมใี ครนอกเหนือไปจากการทํากรรมได? ไมมี ตอ งทาํ ดว ยกันทุกคน คนมี
ศาสนาหรอื ไมม ีศาสนาก็ทาํ “กรรม” กนั ทง้ั สิน้ เพราะเปนหลักธรรมชาติแหงการกระทํา
ซง่ึ มปี ระจําตนอยูแลว และถกู ตอ งตามหลักของศาสนาทที่ า นสอนไวแ ลว กรรมมอี ยกู บั ทุก
คน นอกจากจะเชอื่ หรือไมเ ชอ่ื เทา นนั้ ซ่งึ กไ็ มมกี ารลบลา งกรรมนนั้ ได ทง้ั กรรมทงั้ ผลแหง
กรรมไมม ที างลบลางได ตอ งเปนกรรมและเปนผลดชี ว่ั ไปทุกภพทกุ ชาติ ไมมอี นั ใดนอก
เหนอื ไปจาก “กรรม” และ “วบิ ากแหง กรรม” ซึง่ เกิดจากการทาํ ดีทาํ ชัว่ ของตัวเอง จึงไม
ควรกลวั เร่ืองสุมส่ีสุมหาอันหาเหตุผลไมได ถากลัวนรกก็กลวั บอ นรกทีก่ ําลังสรางอยเู วลาน้ี
ซึง่ อยูภายในจิตใจเปนตน เหตุสาํ คญั นแ่ี หละ“บอ นรก”
สาเหตทุ ี่จะทําใหไ ฟนรกเผากอ็ ยทู ่ใี จน้ี ใหรสู กึ ตัวและมสี ตจิ ดจอ มปี ญ ญาพินิจ
พจิ ารณาแกไขเครื่องมือของตนทกี่ าํ ลงั คิดผดิ และผลิตยาพษิ หรือผลติ คณุ ธรรมข้ึนมา
ภายในใจ ใหเลอื กเฟน ตรงน้ี และทําตามความเลือกเฟน ดวยดีแลว จะไมม อี ะไรเปน
พิษเปน ภยั แกสัตวโลกมเี ราเปนตน เลย
น่แี หละศาสนาจําเปนหรือไมจ ําเปน? ใหคิดทตี่ รงน้ี ผทู ส่ี อนกค็ อื ผทู ี่รูเ รือ่ งของ
กรรม รเู รอ่ื งผลของกรรมดว ยดแี ลวไมมที แี่ ยง คือพระพุทธเจา ทรงทราบทุกสิ่งทุกอยาง
ทงั้ กรรมของพระองคแ ละกรรมของสตั วโลก ท้งั ผลแหง กรรมของพระองคแ ละผลแหง
กรรมของสตั วโลกทว่ั ไตรโลกธาตุ ไมม ีใครสามารถอาจเอื้อมทจ่ี ะรไู ดเ ห็นไดอยางพระพุทธ
ธรรมชุดเตรยี มพรอ ม ๒๘
ธรรมะชุด๓เต๐รยี มพร้อม
๒๙
เจา จึงทรงประกาศความจรงิ น้อี อกมาเปน “ศาสนธรรม” ใหเ ราทง้ั หลายไดย นิ ไดฟง ได
ประพฤตปิ ฏิบัติตามโดยไมม อี ะไรผดิ
ถาไมฝ นศาสนธรรมท่ที า นสอนไวเ สยี อยางเดียว โดยการกระทําในสง่ิ ทไ่ี มดที ัง้
หลาย ผลจงึ ปน เกลียวกันกับความตอ งการ กลายเปนความไมสมหวงั หรือเปนความทกุ ข
ขึ้นมา หลักใหญอ ยทู ่ีตรงน้ี
โลกมีเราเปน ตน ถา มศี าสนาอยภู ายในใจ แมจ ะมที กุ ขมากนอ ยก็พอมที ีป่ ลงทว่ี าง
ได เหมือนกบั โรคท่ีมียาระงบั ไมป ลอ ยใหเปนไปตามกําลงั หรืออํานาจของโรคโดย
ถา ยเดยี ว ยอ มพอมีทางหายได
การสรางความดีไมเปนส่งิ ที่นาเบ่ือ ไมเ ปนส่งิ ทน่ี า เอือมระอา ไมเปน ส่ิงทีน่ า เกลียด
ไมเปนสิ่งทนี่ าอดิ หนาระอาใจ เพราะส่ิงทั้งหลายท่เี ปน ความสขุ ความสมหวังท้งั มวล เกดิ ข้ึน
จากการสรางความดเี ทา น้ันไมไดเ กิดขึน้ จากอะไร สรางเทาไรมเี ทา ไรขนึ้ ชือ่ วาความดี
แลว ไมเ ฟอ ไมเ หมอื นสิง่ ภายนอกซง่ึ มีทางเฟอ ได ถา มีมากเขาจรงิ ๆ แตคนดมี ีมากเทา
ไรไมเ ฟอ ความดมี มี ากเทาไรไมมเี ฟอ ดีเทาไรยิง่ มีความอบอุน แนนหนามั่นคงภายในใจ
ยิ่งมคี วามดีงามตอ กันจํานวนมากเทาไรยง่ิ อบอนุ ไปหมด ไมมคี ําวา “เฟอ ”
ผดิ กบั ส่ิงตา ง ๆ ท่ีมีการเฟอได เชน “เงนิ เฟอ ” “คนเฟอ ” เราเคยไดเ หน็ ไหม?
เราเคยไดย นิ แต “เงนิ เฟอ” สงิ่ ของมมี ากจนลนตลาดก็เฟอ ขายไมไดราคา ตอ งขายลด
ราคาลงไปตามลําดบั ๆ ทนี ้ี “มนุษยเฟอ” เราเคยไดย ินไหม?
เวลานีม้ นษุ ยกําลังเฟอ จะหาราคํ่าราคาไมไ ดแลว เพราะมมี ากตอมาก ใครกจ็ ะเอา
แตต วั รอดวาเปน ยอดดี แลวสรางความทกุ ขใ หผูอนื่ มากมายเพือ่ ความสุขของตวั เอง มีเทา
ไรเวลาน้ี มีมากมายทีเดียวท่มี คี วามเหน็ แกต ัวมาก เห็นแกไดม าก โลภมาก เพราะกิเลส
ตณั หามันเจริญขนึ้ โดยลําดบั สง่ิ ที่ใหม ันเจริญขน้ึ โดยลําดับกเ็ พราะไดร ับการสงเสรมิ เลีย้ งดู
อยา งเหลือเฟอ จน “เฟอ” ซงึ่ เวลานีก้ ําลังมมี าก นิยมกันมาก มีเตม็ อยทู ุกแหงทุกหน ซงึ่
แตกอ นเราก็ไมเคยเห็น ไอสิ่งสงเสรมิ ใหก ิเลสตณั หาราคะมนั แสดงตัวขึน้ เปนเปลวเหมือน
ฟนเหมือนไฟ ทุกวันนไี้ ดเ หน็ กนั แลว
แตโลกก็ยินดีจะวายงั ไง ? ทกุ ขเ ทา ไรก็ไมเ หน็ โทษของมนั ยงั ถอื วาสิ่งนั้นดสี ่ิงนีด้ ี
ถือวาดอี ยเู รือ่ ย ๆ จนกระท่งั จะไมม ีสติสตังเลยแทบจะเปนบา ก็ยังวา ดอี ยเู รอื่ ยไป แลวจะมี
ทางแกกันท่ีตรงไหน? เมอื่ ยงั มคี วามยนิ ดใี นความเปน บา อยเู ชน นัน้ แลว มันจะมสี ติสตงั
เปนคนดไี ดอยางไร? นแ่ี หละ “มนษุ ยเ ฟอ ” ดูเอา เฟอ จนจะเปน บา กันทั่วดนิ แดนทง้ั เขา
ธรรมชุดเตรยี มพรอ ม ๒๙
ภาค ๑ “เร๓า๑กับ กิเลส’’
๓๐
ทัง้ เรา เม่อื จิตใจทีเ่ ฟอ อยา งน้แี ลว มันกท็ ําใหมนษุ ยเฟอดวย กอนท่ีมนษุ ยจ ะเฟอ จติ ใจตอง
เฟอ เสยี กอ น คือจิตใจไมมีคณุ คา จติ ใจไมมรี าคา ถูกส่งิ สกปรกโสมมซ่งึ รกรงุ รังเขาไปทับ
ถมคลุกเคลา เสยี หมด หุมหอ หมด จนมองหา “ตวั จรงิ ” คือจติ ไมเ จอ แลว คณุ คาของจติ
ดวงนีจ้ ะมีมาจากท่ีไหน
เมือ่ มแี ตข องเฟอ ๆ เตม็ หัวใจอยา งน้ี เวลาแสดงออกทางกายวาจากิรยิ ามารยาทก็
เปน “มนษุ ยเ ฟอ ” เฟอ ไปตาม ๆ กันหมด แลวคุณคาของมนุษยน น้ั จะมไี ดท ีไ่ หน? เม่อื
เปน เชน นีแ้ ลว โลกนมี้ นั นาดนู า ชมและนาอยทู ี่ตรงไหน ? ถาไมอยูกับมนุษยท ีท่ ําตัวใหด มี ี
คณุ คาสาํ หรับตวั มันกม็ ีเทานน้ั ถา มนษุ ยเราทําใหเฟอ แลวจะไมม ีโลกอยูแ นนอน แลว จะ
ไปตาํ หนิใคร ก็มนษุ ยเปนผูท าํ ใหเฟอ เสยี เอง ใครไมเห็นกด็ เู อา พูดยอ ๆ แตเพียงเทา นี้ก็
พอจะทราบไดว ามนษุ ยเฟอเปน อยางไร
เราไมไ ปตําหนคิ นอ่ืน เราก็เฟอ ถา ทไ่ี หนไมด สี าํ หรับเรา เรากเ็ ฟอ เหมือนกัน นเ่ี รา
เอาหลักธรรมของพระพทุ ธเจามาทดสอบ ทดสอบพวกเราทีก่ ําลงั เฟอ ๆ อยเู วลานแ้ี หละ
ใหพ ยายามแกส ิง่ ทีเ่ ฟอ ออก ส่งิ ท่ีเฟอนนั่ แหละคือสงิ่ ที่ทําลายคุณสมบตั ิของเรา คณุ คาของ
มนุษยเ รา พยายามแกตรงน้ที ีก่ ําลังเฟอน้ี ใหก ลบั เปน ความดขี ึ้นมา
เอา รนเขา มาหานักปฏบิ ตั เิ รา ความขี้เกยี จนน้ั แหละคอื ความเฟอ แกมันออก
ความขีเ้ กียจ ความออ นแอ มนั พาใหเราเฟอ จงชะลา งมันออกไป ใหมคี วามเขม แข็ง มี
ความอุตสา หพ ยายามเขา มาแทนท่ี ดวยความเชือ่ บญุ เชอ่ื กรรม เชอื่ พระพทุ ธเจา
เอา เปน ก็เปน ตายกต็ าย เรือ่ งความเกิดกบั ความตายนน้ั มนั เปน ของคูกันอยเู สมอ
จะแยกมนั ออกจากกนั ไปไหน เพราะเราเกิดมากบั ความตาย เราไมไ ดตายมากับความเกิด
เมอื่ เกดิ แลวมันตอ งมีตาย ถาแกไขไดแลว ตายแลว ไมตอ งเกดิ อีก เพราะฉะน้นั จงึ วา
เกดิ มากับความตาย ไมใ ชตายมากบั ความเกดิ นะ
ดงั พระพทุ ธเจาท้ังหลายและสาวกทงั้ หลายทา นตายแลวทา นไมเ กดิ อกี ผูบรสิ ุทธ์ิ
แลว ตายแลว ไมต องกลับมาเกิดอีก แตเ กดิ แลว กบั ความตายจะตองตายเปน คกู ัน พระพุทธ
เจา ก็ตองตายทเี่ รยี กวา “ปรนิ ิพพาน” ความจรงิ คือธาตุขันธสลายเชน เดียวกบั โลกทัว่ ๆ
ไปนั่นเอง เพราะตนเหตมุ ันมอี ยูแ ลว จะไปลบผลมนั ไมไ ด ผลคอื เกดิ ข้ึนมาแลว ความตาย
จะตองมีเปน ธรรมดา น่ตี นเหตคุ อื ความเกิดขนึ้ มา ผลคือความตาย จะแยกกนั ไมได มนั
ตอ งมเี ปน คูกนั เสมอ นี่แหละคแู หงความเกิดตายของโลกท่ีมีกิเลสฝง เชือ้ อยภู ายในใจ เปน
อยา งน้ี
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๓๐
ธรรมะชุด๓เต๒รียมพร้อม
๓๑
เราสูเ พอื่ ชัยชนะ จติ ไมต าย แตจ ิตถกู จองจาํ ทาํ เข็ญ ยงุ กนั ไปวนกนั มาจนเปน “นกั
โทษ” ทั้งดวง หาหลักหาเกณฑไมไ ด เพียงแตฝก ซอ มดัดแปลงตวั เองออกจากส่งิ ทีส่ กปรก
รกรงุ รัง ก็ยังแยกไมได เพราะความออ นแอ แมส ตปิ ญญามอี ยูก็ไมผ ลติ ข้นึ มาเพอื่ แกตน
การแกตนแกด วยสติ แกดว ยปญญา แกด วยศรทั ธาความเพยี ร พระพทุ ธเจาเคยแกอ ยางน้ี
มาแลว กอนจะไดผ ลและนําธรรมมาสง่ั สอนโลก พอไดลืมตามองเห็นบุญเหน็ บาปบางตาม
กาํ ลงั
สวนเราเอาอะไรมาแก เอาความข้ีเกียจมาแกก็เพิม่ เขาไปอีก เพมิ่ โทษเขา ไปเรอื่ ย ๆ
ตดิ โทษประมาณเทา นน้ั ปเ ทา นีป้ แทนที่จะไดออก กลบั เพิม่ โทษขึ้นมาเรือ่ ย ๆ มันกไ็ มได
ออกจากคกุ จากตะรางสักที เลยตายอยใู นเรอื นจาํ นด่ี แี ลว เหรอ?
“เรือนจาํ ” ในที่นหี้ มายถึง “วฏั จักร” คอื ความหมุนเวียนเปลยี่ นแปลงของโลก
เกดิ ตาย อันฉาบทาไปดว ยความทกุ ขทรมาน ซ่งึ ไดแ กพวกเราเอง แลว เราจะเอาอะไรมา
แก? เอาความออ นแอมาแกม ันก็จม เพิ่มโทษเขาอีก ตอ งเอาความเขม แข็งความขยนั หม่ัน
เพียร ความอตุ สา หพยายาม สติปญ ญา ศรทั ธา ความเพียร เรงลงไป เอา ตายกต็ าย โลกนี้
มีความเกดิ ความตายเทา น้นั ไมม ใี ครจะนอกเหนอื กวา กัน สง่ิ ท่ีจะนอกเหนือ คอื สตปิ ญ ญา
ศรัทธา ความเพยี รของเรา ทจ่ี ะนาํ ตัวเราใหห ลดุ พน ไปไดใ นระยะใดกต็ าม ไดช อื่ วาเราได
ชยั ชนะเปน พกั ๆ ไป นแี่ หละทีจ่ ะทาํ ใหเรามีคุณคา เอาตรงน้ี ชนะกนั ตรงน้ี ซง่ึ เปนความ
ชนะเลศิ เหนอื กิเลสสมมุตทิ ั้งปวง
ชนะอะไรก็เคยชนะมาแลว แตช นะตวั เองคอื ชนะกเิ ลสของตัวเอง ยังไมเคยเลย เอา
เอาใหชนะใหไ ดเ ปน พัก ๆ ไป จนกระทง่ั ชนะไปโดยสน้ิ เชงิ ไมมีส่ิงใดเหลอื นัน่ แหละ การ
ชนะอะไรหรอื ผูอ่นื ใดคูณดว ยลา น ยังไมจ ัดวา ชนะเลศิ ประเสริฐเหมอื นชนะกเิ ลสของ
ตนคนเดียว การชนะกิเลสภายในใจของตนเพยี งคนเดียวเทา น้นั ผนู ั้นแลเปนผู
ประเสริฐสุดในโลก
นน่ั ฟง ซิ ชนะสง่ิ อื่นไมม อี ะไรประเสริฐเลย นอกจากจะเพ่มิ โทษเพ่ิมกรรมเพมิ่ เวร
ใหยุงเหยิงตดิ ตอกอแขนง เก่ยี วโยงกนั เปน ลกู โซไปไมมที างสน้ิ สดุ ลงไดเ ทานน้ั แตการชนะ
กิเลสของตนดวยสตปิ ญ ญาศรัทธาความเพียรน้ี เปน ผปู ระเสรฐิ ไมตองกลับมาแพอกี แลว
มหี นทางเดียวเทานน้ั ตาย ตายเฉพาะหนเดียว เฉพาะอัตภาพทีม่ ีอยูน ี้ อันเปน ตน เหตทุ ี่จะ
ใหต ายอยูเ ทา นัน้ นอกน้นั ไมตอ งมากอกาํ เนดิ เกดิ เท่ยี วหาจบั จองปา ชา ทีไ่ หนอีก เราเคยจบั
จองปาชามานานแลว เร่ืองปาชาน้มี ันควรจะเบอื่ กันเสียที เกดิ ท่ีไหนกจ็ องท่ีนัน่ แหละ
ธรรมชุดเตรยี มพรอม ๓๑
ภาค ๑ “เร๓า๓กับ กิเลส’’
๓๒
สัตวโ ลกทุกตัวสัตวมีแต “นักจองปาชา ” กันท้งั น้ัน เกิดแลว ตอ งตาย ตายแลวเอา
ปา ชา ทีไ่ หน? กเ็ อาตวั ของเราเองเปนปา ชา มันมดี วยกันทุกคน เราทําไมจะขยันจองนกั
จองปาชา มันดีหรอื ? คนและสัตวทนทกุ ขจ นถงึ ตายไป ไมเข็ดไมหลาบทีต่ รงนจ้ี ะไปเข็ด
หลาบท่ีตรงไหน? อะไรมาใหท กุ ขใ หภ ัยแกเ รา ถา ไมใชเรอื่ งของความเกิดความตาย
เทา นนั้ เปน ทกุ ขเ ปน ภยั ในระหวา งทางก็เปนทกุ ขใ นธาตุในขนั ธ ความหวิ โหยโรยแรง
ความทกุ ขร อนตา ง ๆ มันเปนอยใู นธาตใุ นขนั ธน้ี ไมใชเปน อยูท ี่ภูเขานน่ี า ไมไ ดอยูใ น
อากาศ ไมไ ดอยูที่ตน ไม มันอยใู นบคุ คลคนหนึง่ ๆ สตั วต วั หน่งึ ๆ นี้เทานั้น กองทุกขร วม
แลวมันอยูท ่เี รา เราจะไปคดิ วา “อยทู ี่นนั่ จะดี อยูท ่ีนจ่ี ะด”ี ถาธาตขุ นั ธม นั เปน ภัยอยู
แลว หาอะไรดไี มไ ด ถา จติ ยงั เปน ภยั อยูแ ลวหาอะไรสขุ เจริญไมไ ด ตองแกไ ขทีน่ ี่(จติ )
ดับกนั ที่นี่ เอานาํ้ ดับ ดับกนั ที่นี่ นาํ้ คือน้ําธรรม ดับลงท่นี ีแ่ ลว กเ็ ยน็ เย็นแลวก็สบาย
หายโศกเศรา เลกิ กนั เสยี ทกี ารจับจองปา ชา
น่ีแหละพระพุทธเจาทา นสอนศาสนา สอนจนถงึ ท่นี ี่ การดาํ เนินทจี่ ะใหมีความสุข
ความสบาย ก็ใหดําเนนิ ไปตาม “สัมมาอาชวี ะ” โดยสมาํ่ เสมอ ภายนอกภายใน
สมั มาอาชวี ะภายใน กบ็ ํารุงเลีย้ งจิตของตนดว ยศีลดวยธรรม อยาเอายาพษิ เขา มา
แผดเผาจิตใจ มีอารมณท ไี่ มพอใจเปนตน เขามารบกวนจติ ใจ เผาลนจิตใจใหเ ดอื ดรอ นขนุ
มวั กเ็ ปน ความชอบ ชอบ ชอบไปตามลาํ ดบั จนกระท่งั จติ ไปถึงความชอบธรรมโดย
สมบรู ณแ ลว ก็ผานไปได น่ี
การแสดง “สัมมาอาชีวะภายนอก” ไมคอยมีเวลาเพยี งพอ
เอาละ การแสดงธรรมก็เห็นวา สมควรแกเวลา ขอยุติเพยี งเทา นี้
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๓๒
ธรรมะชดุ ๓เต๔รียมพร้อม
เล่ห์เหลี่ยมของกิเลสเทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด ๓๓
เทศนโ์ ปรดคุณเพาพงา วรรธนเมะกอ่ื ลุ วนั ณที่ว๑ัด๕ปา่ มบ้ากนรตาาคดม พุทธศักราช ๒๕๑๙
เมือ่ วันที่ ๑๕ มกราคม พุทธศกั ราช ๒เ๕ล๑๙ห เ หลย่ี มของกเิ ลส
ที่พระพุทธเจาทรงบัญญตั ิผรู ักษาต้ังแตศ ลี อโุ บสถข้ึนไปจนถงึ เณรถงึ พระ ไมให
นง่ั ใหน อนบนทนี่ อนอนั สงู และใหญภายในยัดดว ยนนุ และสาํ ลี นัน่ ทา นทรงกลา ววา ผู
ปฏบิ ัตธิ รรมจะมคี วามประมาท เพลินในการหลบั นอนจนเกินไปย่ิงกวา ทาํ ความ
พากเพียร พระองคทรงมีอุบายหามทกุ แงทกุ มมุ ซ่ึงจะเปนทางเพ่ิมพนู กเิ ลสท้ังหลาย
ทรงพยายามชว ยเหลอื ตัดหนทางที่จะเพมิ่ พูนกเิ ลสของผปู ฏิบตั ิธรรมทง้ั หลาย ใน
บรรดาทร่ี กั ษาศลี ตั้งแตศ ีล ๕ ศลี ๘ ขน้ึ ไปถงึ ศลี ๒๒๗ ตามขนั้ ตอนของผูรักษาศีลนั้น
ๆ
แมธ รรมกไ็ มมีธรรมขอ ใดทีจ่ ะสอนใหผูปฏิบัตมิ คี วามประมาทนอนใจ มีแตสอน
ใหม ีสตใิ หม ีปญ ญา ความระมดั ระวัง ใหม คี วามพากเพียรความอตุ สาหพยายาม ใหเ ปน
นกั ตอสูอยูตลอดเวลา ไมเ คยปรากฏในบทใดบาทใดวาพระองคท รงสอนใหล ดละความ
พากเพียรและออ นแอในการงานท่ชี อบทง้ั หลาย
สอนฝา ยฆราวาสกส็ อนใหม ีแตความขยนั หม่ันเพยี รทงั้ นน้ั เราจะเหน็ ไดใ นบท
ธรรมวา อฏุ ฐานสมั ปทา ใหถงึ พรอมดวยความขยนั หมนั่ เพียรในกจิ การงานทีช่ อบ
อารักขสัมปทา เม่ือแสวงหาทรพั ยสมบตั มิ าไดดว ยความชอบธรรมแลว ใหพ ยายาม
เกบ็ หอมรอมริบ อยาใชส ุรยุ สุราย กลั ยาณมติ ตตา ใหระมดั ระวังอยาคบคนพาล
สันดานชวั่ ใหค บเพอื่ นท่ดี งี าม ระวังพวกปาปมิตรจะเปน เหตุใหเ สยี ได เพราะคนเรา
เมือ่ คบกนั ไปนาน ๆ ยอ มมนี ิสัยกลมกลืนไปในรอยเดียวกันได ท้ังคนดหี รือคนชว่ั มี
ทางเปนไปไดทงั้ สอง คบคนชว่ั กเ็ ปน คนชัว่ ไปได คบคนดีก็เปนคนดีไปได สมชีวิตา ให
เล้ยี งชีพพอประมาณ อยาสรุ ยุ สรุ ายหรอื ฟงุ เฟอ เหอเหิมลมื เน้ือลมื ตวั
การเก็บทรัพยเปนสิง่ สําคญั ใหร ูเหตุผลทค่ี วรเก็บ เหตผุ ลท่คี วรจาย นนั่ นา ฟง
ไหม ทา นสอนพวกเราที่เปนนักสรุ ยุ สรุ า ยนะ มีจุดไหนท่ีพระพุทธเจา ทรงสอนใหค นมี
ความลืมตวั ไมมี เพราะฉะนัน้ คาํ วาประหยัด มัธยัสถ จึงเปนหลักประกนั การครองชพี
ของบุคคลทว่ั ไปตลอดถึงผปู ฏิบัติ ความไมล มื ตวั คอื ความมสี ติปญญาเปนเครื่องรกั ษา
ตัวนัน่ เอง สมบตั ิมีมากมีนอ ยใหมคี วามประหยัดความมธั ยสั ถ ใหร ูจ ักใชสอยใหเ กิด
ความสขุ บรรดาสมบัติเงนิ ทองมมี ากนอยอยา ใหเ ปนขาศึกแกต น เพราะความลมื ตัวนนั้
เลย
ธรรมชดุ เตรียมพรอม ธรรมะชุด๓เ๓ต๖ร๓ียมพร้อม