๓๔
นเี่ ทศนส อนฆราวาสทานสอนอยา งนี้ และเขากนั ไดท ัง้ ฝายพระดวย เพราะธรรม
เปนกลาง ๆ ใชไ ดท ่ัวไป แลวแตจะยดึ มาปฏิบตั ิใหเหมาะสมกับตนในธรรมข้นั ใด หรอื
จะใหเปนไปตามจิตใจของผปู ฏิบตั ิขัน้ ใดไดท้งั นัน้
เวลาสอนพระยง่ิ มีความเขม แขง็ มากขึ้น ไมใหมคี วามประมาทอบุ ายวิธที จ่ี ะก้ัน
ความร่ัวไหลเขามาแหงกิเลสทัง้ หลาย เพราะเทา ท่ีมีอยูนี้ก็มากตอมากจนลน หัวใจ ใน
บางเวลาตอ งระบายออกทางกิริยา จนเปนสงิ่ นา กลวั มาก และพยายามฉุดลากมันออก
ยากยิง่ กวาสิง่ ใดอยูแลว ไมมอี ันใดท่จี ะเหนียวแนนยิ่งกวา กเิ ลสภายในจิตใจของสัตว วิธี
ถอดถอนกเิ ลสนี้กต็ องลาํ บากยากยิง่ กวา ถอดถอนส่ิงใด ทานจงึ สอนพยายามระมัดระวงั
ไมใ หกิเลสทย่ี ังไมม หี ลง่ั ไหลเขา มา ท่ีมอี ยูแลวกใ็ หพยายามรอ้ื ถอนมันออกดวยความ
พากเพยี รความอตุ สาหพ ยายาม ดวยความขยัน ความเฉลยี วฉลาด ไมใ หนอนใจกบั
กิเลสชนดิ ใดท้งั สิน้ ใน อปณ ณกปฏปิ ทา ที่ทา นสอนไวสําหรบั ผปู ฏบิ ัติ เฉพาะอยางย่ิง
คือสอนพระ อปณณกปฏิปทาคือการปฏบิ ัตไิ มผ ิด ปฏบิ ตั ิโดยความสมํา่ เสมอ คือ
ตั้งแตป ฐมยามไปใหประกอบความเพยี ร จะเดนิ จงกรมกไ็ ดจะน่งั สมาธิภาวนาก็
ได พอถึงมัชฌิมยามก็พักผอนนอนหลับ พอปจ ฉิมยาม กต็ นื่ ขึน้ เดนิ จงกรมนง่ั สมาธิ
ภาวนาเรอ่ื ย ๆ ไป ตอนกลางวนั กท็ ํานองเดียวกนั หากจะมกี ารพักผอ นบางในตอน
กลางวันก็พกั ได แตต อ งระมัดระวังใหปด ประตู รักษามารยาทในการพักนอน ทานสอน
ไวโดยละเอียด แตอธบิ ายเพยี งยอ ๆ เทา นน้ั การปฏิบัติโดยสม่ําเสมอเชนนีช้ ่ือวา
อปณณกปฏิปทา
ผทู ี่จะรบี เรงยิง่ กวาน้ใี นบางกาลกย็ ิง่ เปนความชอบยิ่งขน้ึ ไป แตห ยอ นกวานน้ั
ทานไมไดสอน วา ใหห ยอ นกวา นไ้ี ด กินแลวอยากหลบั อยากนอนเมือ่ ใดก็นอนเอาตาม
ใจชอบเถอะ อยากกินอยากขบอยากฉันอะไรก็ฉนั ไปเถอะเลยี้ งไปเถอะ ตถาคตไดตรสั รู
ดวยวธิ นี แี้ หละ เรอื่ งของธาตขุ นั ธนเ้ี ล้ยี งใหม ันมคี วามอม่ิ หนําสําราญใหม คี วามบริบูรณ
แลว เอาไปแขงหมตู วั กาํ ลังจะขึ้นเขียง นี่ทา นไมไ ดว า
สาํ คัญที่หลอ เลยี้ งจิตใจ นําธรรมเขา มาหลอ เล้ียงจิตใจใหมคี วามชมุ เยน็ การ
หลอ เล้ียงจติ ใจดว ยอรรถดวยธรรมนี้มคี วามชมุ เยน็ จนกระทงั่ รางกายกพ็ ลอยมคี วาม
ผาสุกไปดวยใจที่เปนหลักใหญของกาย แตก ารหลอเลยี้ งรางกายโดยไมเก่ียวของกบั
ธรรมเลยน้นั ไมผดิ กับท่ีเขาเลยี้ งหมูไวสําหรบั ขน้ึ เขยี ง เพือ่ หอมกระเทยี มจะไดเ ปน
ญาติกันสนทิ ดี ถาใครตอ งการผกู ญาติมิตรอันสนทิ กับหอมกระเทียมละกใ็ หเรง การกนิ
การนอนความข้เี กยี จเขา ใหม าก มีหวงั ไดข ้นึ เวทคี ลกุ เคลา กบั หอมกระเทยี มโดยไม
สงสยั
ธรรมชดุ เตรยี มพรอม ภาค ๑ “เร๓า๗๓กบั ๔กเิ ลส’’
๓๕
ศาสนธรรมทีป่ ระทานไวน ้ันจึงหาท่แี ทรกหาทคี่ ดั คานไมไ ด ไมวา จะเปนธรรมขน้ั
ใด อุบายวิธที รงสง่ั สอนไวเ พื่อปดกัน้ กิเลส เพือ่ ขบั ไลกเิ ลส ไมม ีอุบายของผใู ดทจี่ ะมี
ความฉลาดแหลมคมยง่ิ กวาอบุ ายของพระพทุ ธเจาทที่ รงนาํ มาส่งั สอนสตั วโลก เพราะ
การขับไลกิเลส การหักหามใจทก่ี าํ ลังมีกเิ ลสครอบงาํ พระพทุ ธเจา ไดท รงดาํ เนินมาแลว
จนไดผลเปน ที่พอพระทยั ถึงขนั้ ศาสดา เมื่อไดท รงประสบพบเหน็ มาดว ยขอ ปฏบิ ตั หิ รือ
อบุ ายใด พระองคก ็ทรงนาํ ขอ ปฏิบตั ิหรืออุบายน้นั ๆ มาส่ังสอนโลก ดว ยความถูกตอง
แมนยําไมผ ิดพลาดคลาดเคลอ่ื น ถา ปฏบิ ตั ิตามแนวทางที่พระองคท รงแสดงไวแ ลว
เรยี กวาดําเนินตามหลักมัชฌิมา คือเหมาะสมอยา งยิง่ กับการแกก ิเลสทกุ ประเภท ดว ย
อุบายวิธตี า ง ๆ ตามข้นั ของกิเลสท่หี ยาบละเอยี ด
เพราะคาํ วา มชั ฌมิ านัน้ เหมาะสมกับการแกก ิเลส โดยทางสติปญญาศรัทธาความ
เพียร ซ่งึ อยูในองคมรรคของมัชฌิมาทปี่ ระทานไวแลว กเิ ลสประเภทหนาแนน หรอื
เหนยี วแนน แกนแหง วัฏฏะก็ตองทําใหหนกั มือ เชน เดยี วกับเขาถากไม ไมทีต่ รงไหนคด
งอมากก็ตองถากใหหนักมือเพื่อใหตรง ถาที่ไหนตรงอยูแลวก็ไมตอ งถากมากมายนกั ที่
ไหนตรงอยูแ ลว จะถากมากกเ็ สียไม ถากพอไดส ดั ไดสวนกพ็ อแลว
เรอ่ื งกเิ ลสนก้ี เ็ ชนเดยี วกนั บางข้นั บางตอนหรือบางประเภทของกเิ ลส หรือบาง
เวลาท่กี ิเลสแสดงออกมาอยางผาดโผนรนุ แรงมาก ตองใชความเพียรอยา งแข็งแกรง
และแกกันอยา งหนัก จะออนแอทอถอยไมได ถึงจะพอกันหรือเหนอื กวา กิเลสประเภท
น้นั ๆ ถึงจะยอม ถึงคราวจะทาํ อยางนก้ี ็ตองทาํ จะผดั เพย้ี นเลอ่ื นเวลาวา เชา สายบา ย
เย็นอยไู มไ ด ความเพียรชนดิ เอาเปน เอาตายเขาวากันเชน นี้ทานก็เรยี กวา มัชฌิมา
สําหรับกิเลสประเภทที่แสดงขึน้ เฉพาะกาลน้ีเวลานเี้ กิดขนึ้ ลักษณะน้ี เราตองใชว ิธกี าร
แบบนีถ้ ึงจะทนั กัน หรือสามารถปราบปรามกนั ไดดว ยวิธกี ารนี้ วธิ ีนเี้ รยี กวา มชั ฌิมาของ
กเิ ลสประเภทนเ้ี ชนเดียวกัน
คําวา มชั ฌิมาจึงมหี ลายขนั้ เปน คปู รับกนั กับกิเลสประเภทตา ง ๆ เชนเดยี วกับ
เครอ่ื งมือทาํ งานของนายชา งตองมีหลายชนดิ ดวยกนั เพือ่ สะดวกแกง านและควรแกการ
ปลกู สรางนัน้ ๆ กิเลสประเภทหยาบก็ตองใชมัชฌิมาแบบแผลงฤทธ์ิใหทนั กันกับกิเลส
ประเภทหยาบนั้นจึงเรยี กวา มัชฌิมา สว นหยาบ สวนกลางก็ใชสติปญ ญาศรทั ธาความ
เพียรแหง มชั ฌมิ าใหเ ปนไปตามนั้น เพอื่ ใหกิเลสหลดุ ลอยไปดว ยขอ ปฏิบัตนิ ้ัน ๆ นกี่ ็
เรียกวา มชั ฌิมาสาํ หรบั กเิ ลสขน้ั น้ัน ถงึ ข้ันละเอยี ดสตปิ ญญาก็ตอ งละเอยี ด ความเพยี รก็
ตองละเอียดลออ นั่งอยทู ่ใี ด ยนื เดนิ อยทู ใ่ี ดอยูใ นอริ ยิ าบถใด กเ็ ปนความเพยี รอยูในทา
นั้น ๆ
ธรรมชดุ เตรียมพรอ ม ธรรมะชดุ ๓เ๓ต๘ร๕ียมพรอ้ ม
๓๖
ไมใชวา เดนิ จงกรมจงึ จะเรียกวา เปนความเพยี ร น่งั สมาธจิ งึ จะเรยี กวา เปนความ
เพียร นง่ั อยกู ็ตาม ยืนอยูก ต็ าม เดนิ อยกู ต็ าม ไมว าอิรยิ าบถใด ๆ เวน แตห ลับเทานนั้
ตองเปนความเพยี รโดยตลอด ไมม ีระยะใดท่จี ะไมม คี วามเพยี ร ดว ยสติปญญาซึ่งเปน
อตั โนมตั ิเกิดข้นึ กับตนเพือ่ แกก เิ ลสซ่ึงมีอยูภายใน น่ีเรียกวามชั ฌมิ าขัน้ ละเอยี ด คือสติ
ปญญาไหลรินอยูดวยความคิดตลอดเวลา เชน เดียวกบั น้าํ ซบั น้ําซึมท่ีไหลรินอยูทัง้ หนา
แลงหนาฝนไมม ีเวลาเหือดแหง ไหลซมึ อยูตลอดกาลเวลาฉะนน้ั การแกกเิ ลสประเภทน้ี
ก็เปนเชนน้ันเหมือนกัน สตปิ ญญากล็ ะเอียด พินิจพิจารณากันอยางละเอยี ดอยภู ายใน
นเี่ รียกวา มชั ฌมิ า
การปฏิบตั ิ ถา ปฏบิ ัตไิ มถกู ตอ งเหมาะสมตามวธิ กี ารของการแกก ิเลสประเภท
นัน้ ๆ ก็ไมไ ดผ ล ขณะกิเลสกําลงั หนา ๆ ความข้ีเกียจมนั ตอ งมีมากข้ึน ความออนแอ
มันกต็ องมาก ความมาก ๆ เหลาน้ลี วนแตเปนกองทัพของกิเลสดวยกนั เมอ่ื เปน เชน นี้
ความเพยี รก็ตองดอยถอยกาํ ลังแลวมันจะเขากันไดอ ยา งไร กิเลสหนาน่ันเองมันถงึ ทํา
ใหคนข้เี กียจและมีทุกขม าก ถากิเลสเบาบางบางความทุกขก็นอ ยลง ความพากเพียรก็
ไหวตัวและตง้ั หนา ทํางานเตม็ เม็ดเตม็ หนวยไปโดยลําดบั ไมอ ยดู วยความอบั จนแบบ
คนข้ีคกุ
ตอนท่ีจะทํากเิ ลสท่ีกาํ ลังหนา ๆ ใหเ บาบางลงไปจะทาํ ดวยวธิ ีใด ความเพยี ร
เพยี งจะนั่งแค ๑๐ นาทกี ็เอาละ เทานี้พอแลว ถาขนื ทาํ มากกวา นีจ้ ะผดิ หลกั มชั ฌมิ า ทํา
๑๐ นาทีน้ีถกู ตองกบั มชั ฌิมาแลว ซง่ึ เปน อุบายของกเิ ลสมนั หลอกเราตา งหากวา พอ
แลว ๆ น่ีคือมัชฌมิ าของกิเลสไมใ ชมัชฌมิ าของธรรม นักปฏบิ ัตจิ ึงควรทราบไวแ ละตืน่
ตวั วา ถูกหลอกแลว เพราะอบุ ายแกกิเลสไมทราบวา เปนอยา งไรบางไมปรากฏ เมือ่ เปน
เชน นีก้ ็มีแตเรื่องกิเลสใหอบุ ายโดยถายเดยี ว เขาจะเอาอุบายแหง ธรรมย่นื ใหเราน้นั อยา
หวงั ถาเปน มดี พราเขากย็ น่ื ทางปลายมาใหเ รา เขาจะจบั ทางดามไวแลว ฟนเราโดย
ถา ยเดียว
ทําความเพยี รก็กเิ ลสเปน คนสัง่ ใหทํา ไมใชธ รรมเปน ผูสัง่ ใหทาํ นัง่ ทําสมาธิ
ภาวนาก็ใหก ิเลสเปนผสู ัง่ ใหท ํา นง่ั สมาธิ เอา นง่ั เสยี ประมาณ ๑๐ นาทีเอาละนะ เดีย๋ ว
วนั พรงุ น้จี ะเหนอ่ื ยลาํ บากลําบน นั่งมากกวานี้สขุ ภาพจะไมด ีเดย๋ี วเกดิ โรค จะอดนอน
ผอ นอาหารบา งกเ็ ดีย๋ วสขุ ภาพทรุดโทรมนะจะวา ไมบอก น่ันรไู หมเหน็ ไหมอบุ ายของ
กิเลสมันหลอกนะ อะไร ๆ กต็ องทาํ ตามกเิ ลสหลอก ทีนี้กิเลสมันจะหลุดลอยไปได
อยา งไร ก็อุบายของมนั เพ่อื สงเสรมิ มนั เอง ไมใ ชอ บุ ายของธรรมเพื่อกาํ ราบปราบปราม
มนั ใหห ายซากลงไปนี่
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ภาค ๑ “เร๓า๙ก๓บั ๖ กเิ ลส’’
๓๗
เพราะฉะนน้ั เพื่อผลกําไรชัยชนะ จึงตองใชอ ุบายของธรรมตามหลักที่พระพุทธ
เจา ทรงส่ังสอน ไมเอาอุบายของกิเลสดงั ทกี่ ลา วมานี้มาใชม าทาํ ความพากเพยี ร จะเปน
การเพ่ิมกิเลสโดยไมร สู ึกตัว เพราะเหตใุ ด กเ็ พราะเวลานง่ั ทําความเพยี รเรากค็ อยนบั
เอาเวลาํ่ เวลา วาเราน่งั ไดเ ทานนั้ นาทเี ทานนี้ าที นีเ่ ปนความเพียรของเรา แลวกเิ ลสมนั
หายไปสักก่ตี วั ละ พอเคลื่อนทข่ี ยบั ๆ บางสกั ตวั ไหม ไมป รากฏเลย เรากไ็ ดแตเวลํา่
เวลาวา นงั่ ไดเทา น้ันเทานี้ เวลาเทานน้ั นาทเี ทานชี้ ั่วโมง สว นกเิ ลสเพียงหนังถลอกปอก
เปกบางเพราะความถไู ปไถมาไมมเี ลย
หลังจากนงั่ นับเวลานาทแี ลวก็เอะอะขึน้ มาวา เอ นงั่ เวลานานขนาดน้ีไมเ ห็นได
เรื่องไดร าวอะไรนี่ จติ ใจไมเ หน็ สงบ จะนั่งไปทําไม นกี่ ็เปน อุบายของกิเลสหลอกยา้ํ เขา
ไปอีก สวนอบุ ายของธรรมทีจ่ ะทาํ ลายกิเลสเลยไมมี นแ่ี หละทเ่ี ราเสยี เปรยี บกเิ ลสนะ
เสียเปรยี บอยางน้เี อง อบุ ายท่ีคิดในแงใ ดกต็ ามถาสติปญ ญาไมท ันกลมายาของกิเลส
ตองถูกตมถกู ตนุ อยรู ่ําไป
การพดู ท้งั นไี้ มไ ดพูดดว ยเจตนาจะตําหนติ เิ ตยี นทา นผหู นง่ึ ผใู ด มิไดต ําหนิ
ศาสนาหรอื ตาํ หนิอรรถตําหนธิ รรมแตอยางใด แตเ รือ่ งของกิเลสตอ งตาํ หนอิ รรถตําหนิ
ธรรม เพราะกเิ ลสกบั ธรรมเปน ขาศึกกัน สาํ หรบั บุคคลน้นั ไมม ีความรสู ึกวา กเิ ลสพา
ตาํ หนธิ รรม เชน วา น่ังเทาน้นั ชัว่ โมงเทานน้ี าทไี มเ หน็ ไดเรือ่ งไดร าวอะไรเลย ทาํ ไปเสีย
เวลาํ่ เวลาเปลา ๆ ทาํ ไปทาํ ไม หยุดเสียดีกวา นนั่ ลว นแลว แตเ ปน เร่อื งของกิเลสทง้ั หมด
ทีน้ตี วั เองก็อยูในกรอบของกิเลสหาทางออกไมได เพราะอุบายไมทันมัน เน่อื งจากกเิ ลส
มเี ลห เหล่ียมรอ ยสันพนั คมไมย อมลม จมเพราะเรางาย ๆ ถา ไมเ อาจรงิ ๆ จัง ๆ กบั มนั
ใหเ ราทราบไวว าลวนแลว แตเ ปน อุบายของกิเลสทีจ่ ะพอกพนู ใจเราและทาํ ลายเรา โดย
การเพม่ิ กาํ ลังของตนตามลําดบั ดวยอุบายหลอกเราใหห ลงเช่อื อยางสนิทตดิ จม
ผูป ฏบิ ตั พิ ึงคาํ นงึ ศาสนธรรมคือคาํ สง่ั สอนของพระพุทธเจา เฉพาะอยางยิ่งพึง
คํานึงถงึ พระพทุ ธเจาผูทรงเปนบรมศาสดา ทา นเปนบรมศาสดาไดเพราะเหตุใด ได
เพราะความนบั เวลาํ่ เวลา ไดเ พราะความทอ ถอยออ นแอ ไดเพราะความโงเขลาเบา
ปญญา หรือไดเ พราะความขยันหมนั่ เพียร ไดเพราะความอดความทน ไดเ พราะความ
ฉลาดแหลมคม พระพุทธเจาไดเ ปน ศาสดาดว ยการฆากิเลสตายไปโดยลาํ ดบั ๆ จนไมมี
เหลือในพระทัย ทา นฆาไดโ ดยวิธีใด ทานปราบกิเลสดว ยวิธใี ด ดว ยความเพยี รนน่ั เอง
ฟง แตว า ความเพยี รเถดิ เพยี รอยา งไมถอย ตดิ ตามเรอื่ ย ๆ กเิ ลสออกชอ งไหน
ตามรูตามเหน็ ไปเรอ่ื ย ๆ ความโลภเกดิ ข้นึ ตดิ ตามความโลภใหรวู า มันเกิดขึน้ เพราะ
เหตุไร ท่มี ันไปโลภไปโลภอยากไดอ ะไร อยากไดไปทําไม เทา ทม่ี อี ยูเ พราะความโลภไป
เท่ียวกวา นเอามาก็หนกั เหลอื กําลังอยแู ลว ยงั หาทปี่ ลงวางไมไดนี่ ในใจเต็มไปดวย
ธรรมชุดเตรียมพรอ ม ธรรมะชดุ ๔เ๓ต๐ร๗ียมพร้อม
๓๘
ความโลภคอื ความหิวโหยไมม ีเวลาอม่ิ พอ เม่อื คิดคน ยอนกลับไปกลบั มาก็จะมาถงึ ตัว
คอื ใจซึง่ เปนผูด น้ิ รนหวิ โหย
ความโกรธเกิดขน้ึ ก็เหมอื นกัน ไมเ พง เล็งผทู ่ถี กู เราโกรธ ตอ งยอ นเขา มาดูตวั
โกรธซง่ึ แสดงอยูท ี่ใจและออกจากใจ วา ไมม ีอันใดทีจ่ ะรนุ แรง ไมมีอนั ใดท่ีจะใหเ กิด
ความเดือดรอ นเสยี หายยง่ิ กวา ความโกรธที่เกิดขน้ึ ภายในใจเรา ทําลายเรากอ นแลว ถงึ
ไปทาํ ลายคนอื่น เพราะไฟเกิดทนี่ ี่และรอนทนี่ ีแ่ ลวจงึ ไปทาํ ผอู ื่นใหร อ นไปตาม ๆ กนั
เมื่อพิจารณาอยา งนี้ไมลดละตนเหตุของผกู อ เหตุ ความโลภกด็ ี ความโกรธกด็ ี ความ
หลงก็ดี ยอ มระงับดบั ลง เพราะการยอ นเขา มาพจิ ารณาดับทตี่ นตอของมัน ซ่ึงเปนจดุ ท่ี
ถกู ตอ งและเปน จุดท่สี าํ คญั ทค่ี วรทําลายกิเลสประเภทตาง ๆ ได
พระพุทธเจาทานเคยทรงชําระอยางนีม้ าแลว เรอ่ื งเปนเร่อื งตาย เร่ืองกลวั อยาง
โนน กลัวอยา งนี้ทา นไมเ คยคดิ และสง เสริมใหคดิ เพราะนัน่ เปนเร่อื งของกิเลส ทา นเคย
มที า นเคยรูและเหน็ พษิ ของมนั มาเปนเวลานาน ทา นจงึ ทรงพยายามละเตม็ ความ
สามารถทุกวิถีทาง กระทั่งละไดและไดเ ปนศาสดาขึ้นมาดวยความขยันหมัน่ เพียร ดว ย
ความอดทน ดวยความเปนนกั รบ โดยอุบายสติปญญาอันแหลมคมทันกับการแกกเิ ลส
หรอื ปราบปรามกิเลสทั้งหลายใหหลุดลอยไปจากพระทัย กลายเปน ความบรสิ ุทธ์ิขึ้นมา
ลว น ๆ
พวกเราเปน ศากยบตุ รพทุ ธชโิ นรสคอื เปนพุทธบริษัท เรยี กวา เปน ลูกเตา เหลา
กอของพระพุทธเจา ถาไมดาํ เนนิ ตามรอยของพระพทุ ธเจา จะดาํ เนินอยางไร ถึงจะสม
ชือ่ สมนามวา เปน ศากยบุตรเปนพุทธชิโนรสท่ปี รากฏตัววา เปน พทุ ธบริษทั จําตอง
ดาํ เนนิ แบบลกู ศษิ ยม คี รูสอนและเดนิ ตามครรู ตู ามครหู ลดุ พนตามครู เพราะกเิ ลสกเ็ ปน
ประเภทเดียวกนั ซึง่ จะตองดําเนนิ แบบเดียวกัน เปนแตวา มีมากมีนอ ยตางกัน ความ
เพียรเพ่อื ละกิเลสกจ็ ะตอ งดําเนินไปตามกาํ ลังหรอื สตปิ ญ ญาของตน เทา ท่กี เิ ลส
ประเภทนน้ั ๆ จะสงบตวั ลงไปและขาดกระเดน็ ออกไปจากใจ ดวยความพากเพยี รของ
ศิษยทม่ี คี รฝู ก สอนวชิ ารบ ใครจะนาํ ไปปฏบิ ตั ิก็นําไปปฏิบัตเิ ถดิ
ตามที่กลาวมาเหลา น้ีเปนสวากขาตธรรม แนน อนตอ ความพนทกุ ขไ มมที าง
สงสยั การดาํ เนนิ ตามธรรมน้ีจะไมหนจี ากรอ งรอยของพระพทุ ธเจา จะไมหนีจากรอ ง
รอยของพระสาวก ที่ทานแกก ิเลสไดดวยอุบายใด เราก็จะแกไดด ว ยอบุ ายน้นั ทา นถงึ
ไหนเรากจ็ ะถงึ นน้ั ตา งกันเพียงชา หรอื เร็วเทา น้ันไมเปน อยา งอน่ื และสมนามวา สวาก
ขาตธรรมแท ผูป ฏิบตั ิตามสวากขาตธรรม ไมปลีกจากรอ งรอยแหง ธรรม กิเลสตอง
หลดุ ลอยจากใจโดยลาํ ดบั ดวยอํานาจแหง ธรรมน้โี ดยไมตองสงสัย เพราะนเ่ี ปน ธรรม
ตายตวั การปฏิบัตจิ ะแยกแยะธรรมเปน อยางอน่ื ตามชอบใจของตนไมไ ด
ธรรมชุดเตรยี มพรอม ภาค ๑ “เร๔า๑๓กบั๘ กิเลส’’
๓๙
เพราะความชอบใจคนเรา รอ ยทง้ั รอ ยมกั เปนความชอบใจของกเิ ลสผลกั ดันให
เปน ไป โดยท่ีเราไมร ูว าเราเปนกเิ ลสและความคดิ ของเราเปนกิเลส ความอยากของเรา
เปน กเิ ลส ความตองการของเราเปน กเิ ลส ความจรงิ มนั เปนกเิ ลสดวยกนั ท้ังนัน้ นอก
จากจะเลอื กเฟนดวยวิจารณปญญาคนหาเหตผุ ล แมจะไมช อบและฝนใจอยูก็ตาม เมื่อ
เห็นวา น้ันเปนธรรมแลว น้นั เปนเครื่องแกก เิ ลสไดโ ดยตรงแลว จะตอ งยดึ น้นั เปน หลกั
แลวฟาดฟนเปลือกกระพ้ที ีห่ ุมหอธรรมลงไป ใหเ หน็ เหตุเห็นผลกันจริง ๆ แบบนกี้ ิเลส
กลวั มาก
ผดู าํ เนินอยา งนี้กิเลสกลัว ผูมีเคร่ืองมอื อยางน้ีกิเลสกลวั เพราะเคร่อื งมอื นเี้ ปน
ธรรมเพชฌฆาต ธรรมนี้เคยปราบปรามกเิ ลสมาแลวนับแตพระพุทธเจาองคไหน ๆ มา
เพราะอยา งนน้ั กิเลสจงึ กลวั และยอมทงั้ ส้นิ เหตทุ ย่ี อมก็เพราะกิเลสเหน็ อาํ นาจของ
ธรรมแลว วา ไมส ามารถจะตา นทานหรือตอ สไู ด ตองถูกทลายลงไปดวยอาํ นาจของธรรม
น้ัน ๆ ไมส งสยั ผูปฏบิ ัติทต่ี อ งการเรืองอาํ นาจเหนอื กิเลสตอ งทาํ แบบนี้ คอื เปน ก็เปน
ตายกต็ ายในทาตอสู ไมย อมถอยทพั กลับแพ
นอกจากนี้มกั เปน เรอ่ื งของกเิ ลสเรอื งอาํ นาจ ทงั้ ทผ่ี ปู ฏบิ ัตินนั้ ๆ เขาใจวาตนมี
ความเพยี รดี ผมู คี วามเพียรที่กเิ ลสกลวั บา งไมกลวั บา งนัน้ คือขณะที่กิเลสกลัวน่งิ หรือ
หมอบ ใจกส็ งบเย็นเปน สมาธิ ขณะมนั สูเราไมไดม นั กว็ ง่ิ หนหี าทห่ี ลบซอ น ขณะเราสมู ัน
ไมไดเรากว็ ่ิงหนเี ชนกันจะวา ยังไง เราวง่ิ หนคี อื อยางไร วิง่ หนจี ากทางจงกรมบาง ว่งิ หนี
จากการนง่ั สมาธภิ าวนาบา ง ว่ิงหนีจากความความพากความเพยี รทา ตาง ๆ บา ง คือ
ความเพยี รลดนอยถอยกําลงั ลงเปนลาํ ดบั ๆ นี่แลท่เี รียกวาวิง่ หนี ความไมสู ความออน
แอหมดกาํ ลังเปน การวิ่งหนีทั้งน้ันแหละ
สูมันไมไดก็ถอย ๆ ถอยเทา ไรมนั ย่ิงตามเหยยี บยํา่ ทําลายลงไปเปน ลาํ ดบั ๆ เรา
อยา เขา ใจวา ถอยแลว จะพน การถอยกเิ ลสไมมีทางพน นอกจากจะสูเทา นัน้ จึงจะพน
จากอาํ นาจของกิเลส กลวั อยางอน่ื วิง่ หนียงั พอเอาตัวรอดได แตก ารวงิ่ หนกี เิ ลสนัน้ นัน้
แลคอื การเอาคอเขา ไปสวมใหก ิเลสฟนเอา ๆ ฟนเอาแหลกไปหมด เราจะหาอบุ ายใด
เปน ทางออก
วัฏวนนเี้ คยเกิดมาก่ภี พก่ีชาติแลว แมจ ะจําไมไดก็ตาม เราถอื หลักปจจุบนั อัต
ภาพปจจบุ ันนกี้ ็พอจะทราบไดแ ลววา เบ้อื งหลงั ท่ีเคยผา นมาแลวเคยมี อดีตเคยมีมา
แลว จงึ ตอ งมอี ยางน้ีได ฉะน้นั กาลขางหนามันจะตอ งมอี ยา งนไ้ี ด เชนเดียวกบั เมื่อวานนี้
มแี ลว วันน้ีทําไมจะมีไมได แลว วนั พรงุ นเ้ี ดือนนปี้ ห นาทําไมจะมไี มไ ด เพราะมนั สบื
เน่อื งไปจากอนั เดยี วกนั น้ี
ธรรมชุดเตรยี มพรอม ธรรมะชุด๔เต๒๓ร๙ยี มพรอ้ ม
๔๐
เฉพาะในชาตปิ จ จบุ ันยงั ดีอยูเราเปน มนุษย มีสิทธมิ ีอํานาจยิ่งกวาบรรดาสัตว จงึ
พอมคี วามสขุ ความสบายบาง นี้เราก็ทราบวาอยูใ นโลกอนิจจัง เปนของแนนอนเมอื่ ไร
แตก อ นเราอาจเปนภพเปน ชาตอิ ะไรมาก็ได มาปจจุบนั นี้เรามาเปน มนษุ ย แมในอตั
ภาพน้มี นั ยงั มคี วามเปลี่ยนแปลงใหเ ราเห็นอยู ต้ังแตว นั แรกเกิดข้ึนมาจนถึงทุกวันน้ี
มันคงเสนคงวาเมื่อไร สังขารรา งกายกําลงั วงั ชาสตปิ ญญาอะไรมันก็ทรุดโทรมเปลี่ยน
แปลงของมนั ไปเรอื่ ย ๆ ตอจากน้กี เ็ ปลยี่ นไปจนถึงท่สี ดุ ของมัน สุดทายกล็ งธาตุเดมิ
แลวจติ น่ีมกี าํ ลังมากนอยเพยี งใด ท่จี ะสามารถทรงตวั ไวไ ดใ หอยใู นภูมินีห้ รือภมู ิสงู ย่งิ
กวา นี้ ก็เปนเรื่องของเราจะคดิ หาอุบายชว ยตัวเองในทางดตี อไปไมน ่งิ นอนใจ ท่ีเรยี กวา
เตรยี มพรอ มเพ่อื ตัวเองทงั้ ปจ จุบันและอนาคต ไมใหอับจนในสถานท่ีและกาลใด ๆ
จงทําการสง เสรมิ กาํ ลังในทางดีของเราใหมากขนึ้ อยางนอ ยเพ่อื รับอนาคต หาก
จะยังเปน ไปอยูใ นวัฎสงสาร ซง่ึ เปรยี บเหมือนหองขังนกั โทษท่มี กี เิ ลสย่ํายีนี้ พอไดอ ยใู น
ฐานะท่ดี บี าง หากวา พอจะผา นพน ไปไดเ พราะมีกาํ ลงั สตปิ ญ ญาพอตัว เหยยี บยาํ่ ทาํ ลาย
กิเลสอันเปน กงจักรใหท อ งเทย่ี วในวฏั วนนีไ้ ปได กท็ าํ ลายใหส ิ้นซากไปในชาติปจ จุบนั น้ี
อยา เขา ใจวา สตปิ ญญาเราจะไมม ี มีอยดู ว ยกนั ทุกคนถา ทําใหม ี ความเพียรอยาเขาใจวา
ไมมี ถาเราจะทําใหมีมีไดท้งั นัน้ นอกจากมีกิเลสเปนผูก้นั กางกดี ขวางไมใหม คี วาม
เพยี ร ไมใหม ีสตปิ ญ ญา ใหม แี ตค วามทอแทออ นแอเปน เจา เรือน ความดีทง้ั หลายจงึ หา
ทางเกิดขน้ึ ไมไ ด
เร่อื งความดีท้ังหลายหาทางเดินไมคอยไดนัน้ มักข้ึนอยูกับกิเลสเปนเครอื่ งกดี
กันไมใ ชอ นั ใด ไมใชอาํ นาจไมใชว าสนา ไมใชม ื้อวนั เดอื นป ไมใ ชกาลสถานท่ี แตเ ปน
เรื่องของกิเลสโดยตรงเปนผกู ดี กนั และหกั หาม อยา งลกึ ลับบาง อยางเปดเผยบา ง แต
เรามันตาบอดมองไมเ ห็นความลกึ ลับ ความเปดเผยของกเิ ลสทแี่ สดงตัวกีดกนั หวงหา ม
อยูตลอดเวลา เพราะกลัวจะพนจากเขา เขาเปนเจา อาํ นาจครองใจมานาน พอขยับออก
มาอีกนิดหนง่ึ แสดงกริ ยิ าจะออกจากเขานดิ หนึ่งเขาก็หาม เรากเ็ ชื่อ เช่อื มันเสียแลว มัน
ไมตองยกบทบาทคาถาบาลอี ะไรมาแสดงเลย
กเิ ลสสอนมนุษยน ะสอนงายจะตายไป แตมนษุ ยจ ะสอนมนั บา ง เด๋ยี วเดยี วถกู
มันเอาคมั ภีรวัฏจกั รฟาดหวั เอาหมอบและหลบั ครอก ๆ ไมม ีทางสู นอกจากหมอบบน
หมอน ฉะนนั้ ศาสตราจารยข องวฏั จกั รก็คือกิเลสบนหัวใจสตั วนนั้ แล การเรยี นรมู ากรู
นอ ยจะตองถูกกลอ มมนั ทัง้ น้ันแหละ นอกจากวชิ าธรรมดังที่พระพทุ ธเจาทรงสง่ั สอน
ตามทท่ี รงดาํ เนนิ มาและสาวกทานดาํ เนนิ มา ทานเอาจริงเอาจงั ลงถึงเหตุถึงผลถงึ ความ
สตั ยค วามจรงิ
ธรรมชดุ เตรยี มพรอม ภาค ๑ “เร๔า๓๔กับ๐ กิเลส’’
๔๑
ไมเ พียงแตจ าํ ชอ่ื ของกิเลสไดแ ลว ก็จะสําเร็จประโยชน หาเปน เชน น้นั ไม การจํา
ช่ือจําไดกันทงั้ นัน้ แหละ เชนเดียวกบั เราจําชอื่ ของเสือนน้ั เสอื น้ี มีกีร่ อยก่พี นั เสือกต็ ามท่ี
มนั กอความวุนวายใหแกบ า นเมือง เราจาํ ช่อื ของมันไดเ ทา นนั้ ยงั ไมพอ จาํ ไดก ระทั่ง
โคตรแซมนั ก็ตาม ถา ยังจบั ตัวเสอื นน้ั ๆ ไมไ ดเ มอื่ ไรบา นเมอื งจะหาความรมเย็นเปน สุข
ไมได เสอื ตัวทจี่ าํ ช่ือมันไดนัน้ แลกอ ความวุน วายใหแ กบา นเมอื ง นอกจากเราจับมนั ได
แลวจะทําอะไรกบั มันกท็ าํ ได ทีนีบ้ า นเมอื งกไ็ ดรับความสขุ สงบรมเย็น ไมมเี สอื รายมา
กอ กวนลวนลามเขยาขวญั ประชาชนดงั ท่ีเคยเปน มา
เรือ่ งกิเลสทานวา กิเลสพนั หา ตณั หารอ ยแปด อยาวาแตร อ ยแปด พันแปด หม่ืน
แปดกต็ ามเถดิ ถา เราตามจับตัวมันไมไ ด ปราบมันไมได ทําลายมันไมไดแลว เราจาํ ได
แตชื่อมัน จําไดส กั เทา ไรกไ็ มม ีปญ หาพอสะเทือนขนมันเลย คือไมม ีผลดอี ะไรเกิดขึ้น
เพราะการจาํ ไดนั้นเลย เพราะฉะนน้ั เราตอ งทําลายมนั ดว ยความพากเพยี รจนใหถ งึ
ความจริงของกิเลส ถงึ ความจริงของธรรม จะช่อื วา จับตัวเสอื รายมาประหารได จากน้นั
ก็นอนหลับเตม็ ตา อาปากพูดไดเต็มเม็ดเตม็ หนวย
คําวา กเิ ลสแตละประเภทนมี้ ันแสดงอาการอยางไร กอนทีม่ นั จะแสดงผลขึน้ มา
มนั แสดงเหตขุ นึ้ มาอยา งไรบา ง จงตามรแู ละฆามนั ดวยสตปิ ญ ญา สวนมากก็แสดงขนึ้
ในขนั ธน่ีแหละไมไ ดแสดงขึ้นท่ไี หน ออกทางตากเ็ กี่ยวกบั รูป ออกทางเสยี งกเ็ ก่ียวกับหู
จมกู ลน้ิ กาย มนั สืบเน่ืองกบั จติ และเคร่ืองสัมผัส ผลสุดทายก็เกี่ยวกับเบญจขันธข อง
เราเอง รปู กแ็ สดงขนึ้ อยางหนึ่ง เวทนาก็แสดงอยางหนง่ึ สัญญาแสดงข้นึ อยา งหนง่ึ
สงั ขารแสดงขึ้นอยา งหนงึ่ วญิ ญาณแสดงขน้ึ อยา งหนึง่ จากกิเลสเปนผูบญั ชาออกมา เรา
กค็ ลอ ยตามหลงตาม หลงตามมนั อยเู ร่อื ย ๆ หลงตามมนั มาเทาไรแลว ลวนแลวแตก ล
มายาของกเิ ลสทัง้ นั้น ทกุ ขท้ังมวลเรายังไมท ราบวา มนั เปน พิษของกิเลส จะใหม คี วาม
ฉลาดแหลมคมไดอ ยางไร แลวยงั เขาใจวา ตนมคี วามฉลาดแหลมหลักนักปราชญชาตกิ วี
อยหู รือ ไมอ ับอายกเิ ลสทีค่ อยหัวเราะเยาะเยย อยูเบอ้ื งหลังบางหรือ มนั นาอบั อายจรงิ
ๆ น่ี
การทจ่ี ะฉลาดแหลมคมพอรทู ันกิเลสกต็ อ งคนดูกิเลสใหด ี ทุกขเวทนาเกิดขึ้นที่
ไหน เอา คนลงไป เอาใหเ ห็นฐานเกดิ ของมนั วา เกิดเพราะเหตไุ ร คนตายแลวมเี วทนา
ไหม เอา ดซู ิ ถาทุกขเวทนาเกดิ ขน้ึ ภายในรางกาย และกายเปน ตัวทราบเวทนาจรงิ ๆ
เวลาคนตายแลว ทุกขเวทนามีไหม เอาไปเผาไฟกายวา อยา งไร เอาไปฝงดนิ กายวายงั ไง
มนั ไมว ายังไง แลวทําไมถอื มันเปน ตวั ทุกขอยลู ะเมือ่ ยังเปนอยู กเ็ พราะจิตนน่ั แลเปนผู
รบั รแู ละทรงไว ความยึดมนั่ สําคัญวาขนั ธ ๕ เปน ตนกเ็ พราะกิเลสน้นั แลเปน ผูกระซิบ
เปน ผหู ลอกลวงใหย ึดม่นั ถือมั่น ใหส าํ คญั วา เวทนาเปน ตนเปนของตน ใหถอื วากายน้ี
ธรรมชดุ เตรยี มพรอม ธรรมะชดุ ๔เต๔๔ร๑ยี มพร้อม
๔๒
เปน เราเปน ของเรา เม่อื มันมอี ะไรมากระทบกระเทือนสิง่ ที่เรารกั เราสงวนและปก ปน
เขตแดนเอาไว กเ็ กดิ ความกระทบกระเทอื นทุกขรอนขนึ้ ภายในใจ เพราะกิเลสมนั
หลอกอยางนี้
เมือ่ แยกแยะพจิ ารณาใหถ งึ ฐานของความจริงดวยสตปิ ญญาจรงิ ๆ แลว สิ่ง
เหลาน้กี ็หมดปญ หาไปเอง ใจก็หายสงสยั ความเปน ขาศกึ ตอ กนั ระหวางขันธก บั จิตกไ็ ม
มี เพราะสตปิ ญญาเปน ผพู ิพากษาวินิจฉยั ตัดสินโดยถกู ตอ งใหเ ลกิ แลว กันไป รูปก็รกู ัน
แลว วา รปู ซง่ึ เปน ความจรงิ ของรางกายทกุ สว น เวทนาท่ีเกดิ ขึน้ ภายในรางกายของเรา
สว นใด นนั่ กท็ ราบวาเปนความจริงของตน ๆ สญั ญา สังขาร วญิ ญาณ แตละอยา งกเ็ ปน
ความจริงแตล ะอยา งของมันอยูแ ลว จิตจะมคี วามกระทบกระเทือนเพราะอะไรกันอกี
เพราะจติ เปน ผูรูและรูดว ยปญญาอยา งประจกั ษแ ลว นน่ั แหละทา นเรยี กวา เหน็ ความ
จริงคือสจั ธรรมที่มอี ยูกับตวั จะไปรเู ห็นท่ไี หน เหน็ ในแบบกเ็ ปน แบบ เห็นในคัมภรี ก็
เปนคัมภีร เหน็ ในหนังสอื กเ็ ปน ตัวหนังสอื ไมใชต ัวกเิ ลส มันไมใ ชส จั ธรรมท่ีแทจริง
ที่แทจรงิ มนั อยูท ีก่ าย ทเ่ี วทนา ท่ีจิต ท่ตี วั ของเรานีเ่ ทา น้ัน ความทกุ ขทั้งมวลท่ี
เกย่ี วกบั กายก็แสดงขึน้ ท่ีนี่ การที่พิจารณาทุกขก ็พจิ ารณากันที่น่ี รูเ ทา เรอื่ งทกุ ขเ รอื่ ง
สมุทยั ทงั้ หลายกร็ ูเทา กนั อยา งเปด เผยทน่ี ่ี รูแจงแทงตลอดก็รูกันท่นี ่ี พน ทุกขกันท่ีน่ี นี่
ทานเรียกวารูส ัจธรรมแทร ูอยางนี้ ไมตอ งรูท ี่ไหน ไมว าคร้ังพุทธกาลหรือคร้ังไหน ๆ สจั
ธรรมมอี ยูท่กี ายทใี่ จของสัตวโลกเทา นน้ั การเรียนจึงเรียนยอนเขามาทน่ี ่ี ปฏบิ ตั ิใหรวู ถิ ี
จติ ทเี่ ปน ไปดว ยอํานาจของกิเลสอาสวะอนั เปน ตัวสมทุ ยั เมื่อรูอนั น้แี ลว จะไปสงสยั อะไร
ทไ่ี หนกนั อกี โลกวิทูรแู จงโลก ก็คือรแู จงธาตแุ จงขนั ธร ูแจง จิตใจของตนเปน สําคญั
นแ่ี ลอุบายวธิ ีแกก ิเลสปราบปรามกเิ ลส ปราบปรามลงที่ตรงน้ี อยาไปลูบไปคลํา
ท่ีอ่ืนใหเ สยี เวลาเปลาประโยชน รวมลงทน่ี ่ีหมด พระไตรปฎกกอ็ ยทู ่ีนี่ ไตรจกั รก็อยูทีน่ ่ี
วัฏจักรไตรจักรมันอยูที่นแี่ ล เวลาธรรมไมเ กดิ สตปิ ญญาไมสามารถ จติ ก็เปน ไตรจักร
ไตรภพ และหมุนไปใน ๓ ภพ คอื กามภพ รปู ภพ อรูปภพ พอสติปญญาเพียงพอแก
ไขไตรจักรนอี้ อกไดห มดก็เปน ความบรสิ ทุ ธ์ขิ ้นึ มา หรอื เปน ธรรมจักรหมนุ รอบตัวขึ้นมา
ภายในจติ ทงั้ วัฏจักร ธรรมจักรและววิ ฏั จักร มอี ยทู ใี่ จนไี้ มอ ยูไ หน จงพจิ ารณากนั ที่นี่
ปฏิบตั ิใหเ ขาใจ
เรียนอะไรก็ไมยากเหมือนเรียนเร่อื งของจิตเลย จติ นี้สลบั ซับซอ นละเอยี ดลออ
มาก ตองใชความพนิ จิ พจิ ารณา ตองใชสตปิ ญญา ใชค วามพากเพยี ร ความอดความทน
เต็มสตกิ าํ ลังความสามารถ บางครง้ั แทบจะตายเราก็ยอมเสียสละชวี ติ เพราะความ
อยากรอู ยากเขาใจความจริงท้ังหลาย ดังที่พระพุทธเจาไดร ูไดเขาใจแลว เปน ความ
ประเสริฐอยางยงิ่ เราอยากเหน็ ความจรงิ เปน สมบตั สิ าํ หรบั เราเอง ไมเพยี งแตไ ดย ิน
ธรรมชดุ เตรียมพรอม ภาค ๑ “เร๔า๕๔กบั๒กเิ ลส’’
๔๓
กิตติศพั ทกติ ติคุณทา นวาประเสรฐิ ทานหลุดพนอยางนนั้ ทานประเสรฐิ อยางน้เี ทานัน้
เรายังไมพ อใจ ยังอยากทราบทกุ สิ่งทุกอยา งบรรดาธรรมทท่ี านรูท านเห็นดว ยจิตใจของ
เราเอง เมือ่ อยากทราบและดาํ เนินตามทา นเราก็ตอ งทราบ ท้ังธรรมฝายต่ําฝายสงู ท้งั
ฝา ยดฝี ายช่วั
ในวงสัจธรรมนีท้ กุ ข สมทุ ยั เปนฝายต่าํ นิโรธคอื ความดับทุกขเ ปนฝา ยสูง มรรค
คือขอปฏิบตั ิเพ่ือถอดถอนกิเลสเปนฝา ยสูง เราอยากทราบความจรงิ ของสจั ธรรมทง้ั สี่น้ี
ประจักษใจเราเอง และการพน จากกิเลสอาสวะเพราะรูรอบในสัจธรรมน้นั เรากอ็ ยากจะ
พน ดว ยความประจกั ษใ จเราเอง ไมอยากทราบอยางอืน่ ใหมากไปกวา อยากจะทราบ
เรอ่ื งของเรา
เพราะเราเปนกองทุกข เราเปน กงจักร เราเปน ผมู ดื หนาสาโหด เราตอ งการ
ความฉลาด เราตองการความแหลมคมภายในจิตใจ เราตองการความหลุดพน เราจงึ
พยายามเต็มความสามารถในทางความเพียร เพ่อื รูและละสจั ธรรม ใจถกู บีบถกู บงั คับ
ถูกผกู ถกู มดั ถูกจาํ จองอยทู ต่ี รงไหน จงแกมนั ดว ยสตปิ ญ ญา ฟาดฟนลงไปท่ตี รงนน้ั จน
แหลกแตกกระจายไมมชี น้ิ ใดเหลอื ใจถงึ ความจริงลว น ๆ น้ันแลทานเรยี กวา หลดุ พน
หลุดพน แลว จากกิเลสซ่ึงเคยเปนนายเรามากี่กัปก่กี ัลป หรอื เคยเปนศาสตราจารยพรํ่า
สอนเรามาเปน เวลานาน ไดเ หน็ โทษของมันและถอดถอนมนั ออกไปหมดโดยสน้ิ เชงิ
แลว ใจเปน อสิ ระเต็มภมู ิ นแ้ี ลคือท่ีสดุ แหง ทกุ ข ที่สุดแหงธรรม ที่สุดแหงวัฏจกั ร สน้ิ สดุ
ที่ใจนเี้ องไมสน้ิ สดุ ในทอ่ี นื่ ใด เพราะกเิ ลสและธรรมไมม อี ยูท่อี น่ื จึงขอใหยอนจิตเขา มา
พจิ ารณาในกายในใจดว ยดี ความสมหวงั ทเี่ คยหวังมานานจะสมบูรณใ นใจทช่ี ําระถึงข้ัน
บรสิ ทุ ธเ์ิ ต็มท่แี ลว
ขอยาํ้ อีกครั้ง จงเรยี นจติ ใหร ู เรยี นจิตรทู ่ัวถงึ แลวไมมอี ะไรสงสยั ในโลกน้ี กวา ง
แคบไมสําคัญ สาํ คญั ทเ่ี รียนจติ ใหร ูเ รื่องของจิต รูกิเลสชนดิ ตาง ๆ ทีแ่ ทรกอยูภายในจติ
จริง ๆ เปนพอกับความตองการ พระพทุ ธเจา เม่ือถึงนแ่ี ลว ไมต องการอะไรอกี สาวกท้งั
หลายพอ ใคร ๆ ก็พอ เมอ่ื ถึงข้นั เพยี งพอแลว พอ พอทง้ั นน้ั เพราะเปนจิตเปนธรรมที่
สมบูรณเ ตม็ ทแี่ ลว ตลอดอนนั ตกาล
จงึ ขอยตุ ธิ รรมเทศนาเพยี งเทา น้ี
ธรรมชุดเตรยี มพรอ ม ธรรมะชดุ ๔เต๖๔ร๓ยี มพรอ้ ม
๔๔
มายากเิ ลส เทศนโ ปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด
เเมทอื่ศวนันโ์ ปทรี่ ด๑ค๓ณุ กเมุพภาาพพงันาธว์ รพรทุ ธธนเศมะกั กื่อรลุ วาันชณท๒ี่ ว๑๕ดั ๑๓ป๙่ากบมมุา้ นภาตายาพดานั กธเิ พลุทสธศักราช ๒๕๑๙
การฟงธรรมทางดานปฏิบัติ ทั้งผูเทศนท ้งั ผูฟง สวนมากไมคอยมคี าํ วา “พธิ ี”
เชน ฟง พอเปนพิธี เทศนพอเปนพิธี อยางน้ที างภาคปฏบิ ัติไมไ ดนํามาใชกัน สําหรับผู
มุงอรรถมุงธรรมจริงๆ ไมน าํ มาใช ถามุงโลกามิสอยแู ลว อาจนาํ มาใช แตถ ามุง ตอ
โลกามสิ กไ็ มเ รียกวา “ปฏบิ ัติ” มนั ขดั กันตรงนี้.
ทางดา นปฏบิ ตั ิแลว ไมม พี ิธีอะไรมาก ผเู ทศนต งั้ ใจเทศนใหผ ูฟง ไดร บั ความเขา
ใจจรงิ ๆ ดว ยเจตนา ผฟู ง กต็ งั้ ใจฟง ดว ยความสาํ รวมระวงั จิตของตน ไมใ หสงไปทอ่ี น่ื ๆ
ในขณะท่ฟี ง ทําความรูสึกอยูกบั ใจของตนเทา นนั้ โดยไมจาํ เปน ตองสง กระแสจติ ออก
มาภายนอกเพือ่ รบั เสียง เชน สง ออกมาสผู เู ทศน เปน ตน อยางนไ้ี มค วร เพราะจะขาด
กาํ ลงั ภายในใจ ทจ่ี ะพึงไดร ับจากการฟง ดว ยจติ จดจอ ตอ เนอ่ื งกนั อยเู ฉพาะภายใน
เม่ือไดตั้งจิตไวเ ฉพาะหนา คอื มคี วามรสู กึ อยูกับตัว น้นั แลถา จะเทยี บกค็ ือคนอยู
ในบา น แขกคนมาจากทไี่ หนเขา มาเกี่ยวขอ งในบา นน้ัน เจาของกร็ บั ทราบวาแขกนน้ั มา
ธุระอะไรบา ง นอกจากเจาของไมอยูบา นเสยี เทานน้ั แมเ ขาจะมาขโมยของไปกช่ี ิ้น ก่ี
รอ ยกพ่ี ันอยาง ก็ไมทราบไดเ ลย
จิตที่อยกู ับตัว ขณะทา นแสดงธรรมหนกั เบา จะตองรบั ทราบทุกระยะ เพราะใจ
อยกู บั ตวั เหมอื นคนอยใู นบา น ถาความรูสกึ ไดส ง ออกไปจากตัวเสีย การฟงเทศนก็ไม
เขาใจ ไมคอ ยรเู รอื่ ง ผลไมค อ ยเกดิ ถา เปนกเิ ลสลว งเขาไป เอาอะไรไปหมด เหมอื นกบั
โจรผรู า ยขโมยของอะไรภายในบา นก็ไมร ู เราไมเคยทําจริงทําจัง จะไปตําหนิติเตยี นตู
โทษพระพุทธเจา พระสาวก และพทุ ธบริษทั ท้ังหลายวา “เวลาพระพุทธเจาทรงเทศน
คนไดสําเร็จมรรค ผล นิพพาน” จะสําเร็จอยางไรเพียงเทศนเ ทา นัน้ โดยผฟู ง ไมต งั้ ใจ
ฟง นอกจากคุยกนั แขง พระเทศนเ ทา น้ัน บางคนไมเชื่อก็มีวาผูเทศนจะสามารถยังผฟู ง
ใหสาํ เร็จ มรรค ผล นิพพาน ได และผูฟ งกไ็ มสามารถจะบรรลุธรรมไดใ นขณะทีฟ่ ง
นเ้ี ปนความคิดเหน็ ของคนประเภทลอยลม หาหลักเกณฑไมได สักแตว า เทาน้ัน
ตามความลอยลมของตน ถอื ศาสนากส็ กั แตว า ถอื ถามวา ถอื ศาสนาอะไร ถอื ศาสนา
พทุ ธ กม็ ีแตช ือ่ ของพระพทุ ธเจา เต็มปากเตม็ คอ แตไ มเ คยมธี รรมเขา ไปเก่ยี วของกบั หัว
ใจเลย ขน้ึ ชื่อวาพุทธ วา ธรรม วา สงฆ ไมใ ชเ ปน ของเลก็ นอย ไมใ ชเ ปนของเลน ไมใช
ของพิธี ทจ่ี ะนาํ มาทาํ เลน ๆ อยา งนน้ั ประเภทที่เลนๆ น้แี ลเปนประเภททีท่ ําลายศาสนา
ไดอยา งแทจ รงิ ดังทเ่ี ราทราบๆ กนั จะมเี จตนาหรือไมม ีไมสาํ คัญ เชนไมห ลดุ จากมอื
ธรรมชดุ เตรียมพรอ ม ๔๔
ธรรมะชดุ ๔เต๘รียมพรอ้ ม
๔๕
เราตกลงไปทับเทาของเรามนั กเ็ จ็บได ท้ังๆ ท่เี จา ของไมม เี จตนา หรอื มดี ถูกมอื เจา ของ
โดยไมมีเจตนา หรือฟน มือกเ็ จบ็ ไดเ ปนแผลได คําพูดทเ่ี ปน ภยั ตอศาสนากเ็ ปนได
ทาํ นองเดยี วกนั น้ี
ทา นปฏบิ ัติจริงๆ พระพุทธเจากป็ ฏิบตั จิ ริง เอาเปนเอาตายเขา วา กันจริงๆ พระ
สาวกกป็ ฏบิ ัตจิ ริงๆ ฟง จรงิ ๆ พระพุทธเจาทรงแสดงธรรมดวยพระเมตตา มเี จตนาเพ่ือ
สัตวโ ลกใหร ูแจง เหน็ จรงิ ในธรรมตามกาํ ลังความสามารถสัตวโลก ทกุ ระยะแหง การ
แสดงธรรมของพระองค ไมท รงลดละเจตนาทีห่ วงั จะใหส ัตวโ ลกไดร บั ผลประโยชนจาก
การฟงนั้นเลย ทา นเต็มเม็ดเตม็ หนว ยในการปฏบิ ตั ิ เวลาตรัสรธู รรมก็เตม็ เมด็ เตม็
หนว ย โลกท้งั หลายไมมีใครท่จี ะสามารถทําไดอ ยางพระองค
นโ่ี ลกปจจบุ นั คอื พวกเราอาจจะลบลาง คอื ปฏเิ สธก็ไดว า “ไมจริง”
ทานทาํ ถงึ ขนาดนัน้ แตเ ราวา “ไมจ รงิ ” เพราะเราไมเคยทําอยางทานจะเอา
ความจริงมาจากไหน เหน็ คนอ่นื ทําเราก็คดั คาน เห็นคนอน่ื ขยันเราข้ีเกียจ ก็ไปคดั คา น
เขา เขาฉลาด เราโง กไ็ ปตําหนิเขา ทัง้ ทเี่ ราไมมีความสามารถอยางนน้ั
พระพุทธเจาทา นทรงสามารถทัง้ ดา นปฏบิ ตั ิ สามารถทง้ั ความรคู วามเห็นเตม็ ภมู ิ
ของพระองค การประทานพระโอวาทแกสัตวโ ลก จึงตองประทานเต็มพระสติปญญา
ความสามารถทุกสงิ่ ทกุ อยาง ใหส มภูมกิ บั คําวา “ศาสดาของโลก” แมผฟู งก็ฟง ดวย
เจตนาอยางน้ันดวย ผลไมเปนไปตามเจตนา ไมเ ปนไปตามการกระทาํ ทีถ่ กู ตองดีงาม
จะเปนอื่นไปไดอ ยางไร ? เพราะเหตกุ บั ผลเปนความเกย่ี วเนอื่ งกนั เปน ลาํ ดับอยแู ลว
การทําเต็มเมด็ เตม็ หนว ย ผลจะไมเต็มเม็ดเต็มหนวยไดอยางไร ตอ งเตม็ ! ตอ งได !
เพราะฉะน้ัน ครั้งพทุ ธกาล ทานแสดงธรรม ผบู รรลธุ รรมจึงมีเปน จาํ นวนมาก ดวยเหตุ
ผลดงั ท่ีกลา วมาน้ี
คร้ันตกมาสมยั ทุกวนั น้ี ศาสนาซงึ่ เปน ของแทของจรงิ ของทา นผวู ิเศษ ของทา น
ผูทําจรงิ รูจ รงิ เห็นจริง ส่ังสอนสตั วโ ลกจริงดว ยธรรมนน้ั ๆ แตธรรมเหลาน้ถี ูกกลายเปน
“ธรรมพธิ ไี ปตามโลก ซึ่งเปนโลกพิธี ผูนับถอื กันเปน พธิ ี ผลกเ็ ปนไปแบบรางๆ อยา ง
นน้ั แล อะไรๆ เลอื นๆ รางๆ จางไปหมด ปลอมไปหมด เพราะหัวใจเราใหปลอม ถา
หัวใจไมจริงเสียอยางเดียว อะไรกป็ ลอมไปหมด
เวลานศี้ าสนธรรมกําลังอยใู นระยะหรอื จุดน้ี ! สว นพวกเราจะอยใู นจดุ ไหน
ระยะใด จะเปนแบบน้ีหรือเปนแบบไหน !
ถาเราตอ งการเปนแบบแกตวั เองตามหลกั ความจริง ท่ที านสอนไวด ว ยความจรงิ
เราก็ตองทาํ จรงิ ปฏิบัติใหจ รงิ นี่เปน การเตือนใหเ ราทงั้ หลายซ่ึงเปน กนั เอง ไดทราบถึง
ธรรมชุดเตรียมพรอ ม ภาค ๑ “เร๔า๙๔กับ๕กเิ ลส’’
๔๖
ขอเทจ็ จรงิ ของศาสนาและผูปฏบิ ตั ิศาสนา วาผลจะเปนจริงและไดรับมากนอยเพียงไร
หรอื กลายเปน โมฆะไปหมด เพราะเหตุผลที่กลา วมานีไ้ มเ ปนความจรงิ
การฟง ธรรมซ่ึงเปน หลกั สาํ คัญท่ีปฏเิ สธไมไ ดใ นการรับผล ก็คอื ฟงดวยความตัง้
อกตง้ั ใจ มีความรูกับมสี ติกาํ กับอยกู ับตวั เปน หลกั ใหญ ชื่อวาไดต ั้งภาชนะไวเ รยี บรอย
แลว การแสดงธรรมถาทานผูร ูจรงิ เห็นจรงิ แสดง จะไมหนีธรรมของจริง ของจริงกับ
ของจรงิ ตองเขา กันได ผูฟ ง ฟง จรงิ ๆ ผูแสดง แสดงจริงๆ แสดงดวยอรรถธรรมอนั เปน
ขอเท็จจริงจริงๆ ไมไ ดควา หรือลูบๆ คลาํ ๆ มาแสดง ตองเขา ใจตามหลักธรรมนั้นๆ
ธรรมท้งั หมดทานมีไวเ พือ่ อะไร ? ถา เปน นํา้ กม็ ไี วสาํ หรับอาบดื่มใชสอย ซัก
ฟอกหรอื ลางสิง่ สกปรกโสมมทงั้ หลาย ธรรมก็เปนเชนนั้นเหมอื นกัน เพราะพวกเราเปน
พวกสกปรกทงั้ นนั้ บรรดาจติ ใจทีม่ กี ิเลสเปนจติ ใจทีส่ กปรก กายวาจาทเ่ี ปน รวงรังของ
กิเลส และจิตท่ีเปน รวงรงั ของกิเลส มนั จึงเปน เร่ืองสกปรกไปตามๆ กันกบั กิเลสซ่งึ มีอยู
ภายใน ทา นจึงตอ งหาน้าํ ที่สะอาดคอื ธรรมมาสั่งสอน หรือชะลางจิตใจของพวกเรา
ธรรมทสี่ ะอาดกค็ อื “สวากขาตธรรม” ตรัสไวช อบแลว น่ีแสดงวาสะอาดเต็มท่ี
แลว “นยิ ยานิกธรรม” เปนธรรมที่รองรับ เหมือนกบั น้าํ เปน เครื่องรองรับ ชะลา งสง่ิ
สกปรกท้งั หลายใหสะอาด เชน นน้ั ไดไมเปนอยา งอืน่ ธรรมก็เปน ธรรมชาตทิ ส่ี ะอาดเชน
นน้ั สําหรบั ชะลา งส่ิงสกปรกในหวั ใจของสตั วใหส ะอาด ขอใหห ัวใจนีจ่ ดจอ เพือ่ ความ
สะอาดเถอะ ผลการฟงจะทําใหใจสงบระงบั และสะอาดผองใสไดไ มส งสยั เม่ือใจสงบ
ผอ งใส กาย วาจา หากคอยเปนไปเอง เพราะน่ีเปนเคร่ืองมอื เทา น้ัน
ท่ีสําคัญจรงิ ๆ กค็ อื ใจซง่ึ เปน ตวั การ หากใจยอมรบั ความจริง ใจยอมรับท่จี ะซัก
ฟอกตวั เองแลว ตอ งมวี นั สะอาดข้นึ สกั วนั หนง่ึ จนได จากนํ้าสะอาดคือ “ธรรม” พระ
พุทธเจาทรงประกาศสอนโลก และทรงใชต อโลกมานานแลว ไดร ับผลทพี่ อใจมาโดย
ลาํ ดับ แมค าํ วา “สงฺฆํ สรณํ คจฉฺ ามิ” เรากลา วถึงทา นเพ่อื ประโยชนอะไร ถา ไมใช
เปน ผูส ะอาดหมดจดเต็มท่ีแลวจาก “นาํ้ ” คือพระสัจธรรมของพระพุทธเจา ชําระเสยี
จนสะอาด “ธมมฺ ํ สรณํ คจฉฺ ามิ” ซึ่งเปนธรรมที่บริสุทธิ์แท ไมออกมาจากพระทัยที่
บริสุทธิข์ องพระพุทธเจาจะออกมาจากไหน พระทยั ทจ่ี ะบริสุทธ์ไิ ด เพราะการชําระ
สะสาง การขดั เกลา การชาํ ระลา งดว ยอรรถดว ยธรรม เปนความจริงมาโดยลําดับๆ จน
กระท่ังถึงปจจบุ ันเรานี้ ธรรมก็เปน ธรรมชาติทส่ี ะอาดอยูเสมอมา สาํ หรับลา งสง่ิ สกปรก
โสมมของสัตวโ ลก
ถาเราคดิ ตามธรรมดาอยางเผนิ ๆ อยางโลกที่สมมตุ ิทั่วๆ ไปกว็ า เรานีส้ ะอาดท่ี
สุดไมม ีใครจะหยง่ิ ย่ิงกวา คนโง ไมมใี ครจะสะอาดย่ิงกวา คนโงทสี่ กปรก ถา พดู ตาม
ธรรมแลวเปนอยางน้ี เม่ือเราทราบวา เราสกปรกทางใจ ซึ่งเต็มไปดวยกิเลสโสมมแลว
ธรรมชดุ เตรยี มพรอม ธรรมะชดุ ๕เต๔๐ร๖ยี มพรอ้ ม
๔๗
เราตองเปนผูมงุ ตอ อรรถตอ ธรรมเปนเครือ่ งชะลาง ดงั ที่ทา นท้ังหลายไดอตุ สา หส ละ
เวลาํ่ เวลาหนา ทก่ี ารงาน ตลอดจนชีวิตจติ ใจมาเพอ่ื บําเพ็ญตนเชนน้ี จงึ เปนความถูก
ตอ งตามแนวทางท่พี ระพทุ ธเจาทรงดําเนินมาท่ีเรยี กวา “อริยประเพณ”ี ประเพณีของ
พทุ ธบริษัททีด่ ีงามของพระพทุ ธเจา ทา นดาํ เนนิ มาอยางนั้น จึงขอขอบคุณขออนุโมทนา
กับทา นทง้ั หลายไวในโอกาสนี้ดวย นอกจากเปน ความดสี าํ หรบั ตนแลว ยังเปน คตติ วั
อยา งแกอ นชุ นรุน หลังอีกไมมสี น้ิ สุด
คําทวี่ า พวกเราสกปรกนก้ี พ็ อจะทราบกนั ได คาํ วา สกปรก สกปรกเพราะอะไร?
เพราะขี้โลภ ขโ้ี กรธ ขห้ี ลง ขสี้ ามกองนี้เตม็ อยูบนหวั บนหวั อะไร กบ็ นหวั ใจนน้ั แล นี้
นักปราชญทง้ั หลายทานตาํ หนติ ิเตยี น ทา นขยะแขยงมาก แตพวกเราชอบจึงไมร สู กึ ตัว
เมอื่ ไมร ูสึกตวั กไ็ มร ูสึกสนใจในส่งิ ทีจ่ ะนํามาชาํ ระลาง เห็นผปู ระพฤตปิ ฏบิ ัตธิ รรมกด็ ูถูก
เหยียดหยาม มีเยอะสมยั จรวดน้จี ะวา ยงั ไง? เพราะความเหน็ ผิด ตองผิดไปเรอ่ื ยๆ
อะไรทาํ ใหเ ห็นผิด? ถาไมใชห วั ใจท่ีเตม็ ไปดว ยกเิ ลสซึง่ เปน ตวั ผิดทัง้ เพน้ัน ถา จติ ใจผดิ
ไปดว ยก็พาใหแ สดงออกทกุ แงทุกมุมผดิ ไปตามๆ กนั จนกระทงั่ กาย วาจา ทแี่ สดงออก
ผดิ ไปท้ังน้นั เพราะส่ิงท่ที ําผดิ ท่มี ีอยภู ายในจิตใจนั้นไมตองมากมายอะไรเลย ตวั นน้ั
เปน ตวั การ
พระพุทธเจา ทานจงึ สอนใหช าํ ระใหลาง การฟงเทศนฟงธรรมก็เปน การชะลา ง
จิตใจของตนดว ยธรรม คือในขณะทฟี่ ง ธรรม ทานวา มอี านิสงสเ กดิ ขน้ึ จากการฟงธรรม
อานสิ งสคือ ผลที่เกดิ ข้นึ ในขณะที่ฟง นัน้ แล ทําจิตของเรา อยา งนอ ยมีความสงบเยน็ ใจ
รูเหตุรูผล รทู างดีทางชวั่ และรวู ธิ ีจะปฏิบัติตอตนเอง ขอ สาํ คญั ใจมีผอ งใสขึ้น ไดรบั
ความรม เยน็ ในขณะฟง น่คี ือผลทเี่ กดิ ขนึ้ จากการฟงธรรม ทา นวา มอี านสิ งส ๕ เราจะ
คอยเอาอานสิ งสท ไ่ี หน ถา ไมเอาในขณะทฟี่ ง เพราะการฟง ก็คอื การบําเพญ็ อยูแลว ผล
ตอ งเกดิ ตามมาในขณะน้นั ๆ มีความสงบเยน็ ใจเปนตน
หากวา กเิ ลสอาสวะเปน วตั ถุ และเปน ตัวขา ศึก เชน เสือรา ยเปน ตน แลว คนเราจะ
อยใู นโลกดวยกันไมไ ดเ ลย มองดูคนไหนกเ็ ห็นแตเ สอื รา ย ทงั้ เหยียบย่าํ ทั้งเดินเพนพาน
ท้ังนงั่ ทัง้ นอน ทง้ั ขับถาย ทัง้ หยอกเลน กนั ทง้ั กดั ฉกี และถลกหนงั เลน อยบู นหวั เหมอื น
กนั หมด คนทงั้ คนมีแตเ สือรา ยที่จดจอ งยองกดั อยบู นหัวคน แลว กก็ ดั ฉกี หวั คนลงไป
เรอ่ื ยๆ ไมห ยดุ นอนอยกู ก็ ดั ยนื อยกู ก็ ดั เดนิ อยกู ็กัด นง่ั อยกู ฉ็ กี อะไรๆ กฉ็ กี ทง้ั นั้น
กิริยาความเคล่ือนไหวตางๆ มีแตเ สอื รายมันกดั มนั ฉกี อยตู ลอดเวลา จะหาเนื้อหาหนงั
หาเอน็ หากระดกู มาจากทีไ่ หน ใหต ิดใหต อกันเปนรูปเปน กาย เปนหญงิ เปน ชาย เปน
สตั วเ ปน บคุ คล เปน เราเปน ทานอยางทเ่ี ปนอยนู ไ้ี ดเ ลา มองดคู นนน้ั กเ็ ปน แบบน้ี มองดู
ธรรมชุดเตรยี มพรอม ภาค ๑ “เร๕า๑๔กบั ๗กิเลส’’
๔๘
คนนีก้ ็เปนแบบนนั้ เยม้ิ ไปดวยบพุ โพโลหติ นํา้ เนานาํ้ หนอง เพราะถูกเสอื มันกัดมนั ฉกี
มันทําลายอวยั วะสวนตางๆ ของมนุษยเรา
กรณุ าดลู วดลายของกเิ ลสมนั แสดงออกกบั โลกทว่ั ๆ ไป เปนอยา งน้ี ถา กเิ ลสมนั
เปนตวั เปน ตนอยา งนี้ แตม นั ไมไ ดเ ปนตนเปนตัวอยา งนี้ โลกจงึ ไมเ ห็นโทษของมัน และ
กลับเหน็ วา เปน ของดีเสียอกี เม่ือไปเสกสรรมนั วา เปนของดี คอื เห็นของช่ัววาเปนของดี
เหน็ ของดีวา เปนของช่ัวแลว ผลกต็ อ งกลบั ตาลปต รกันไป สงิ่ ทีค่ วรจะไดรบั เปนความ
สุข แตมนั กลายเปน ความทุกขไปหมด ท่ีโลกรอ น รอนเพราะอะไร? ถา ไมใ ชเ พราะ
กิเลสเพราะความโลภมาก เพราะความเห็นแกตัวมาก เปนตน
ทกุ วันน้เี ขาพูดวา “โลกเจรญิ ” มันเจริญทีต่ รงไหน? ถาพูดตามหลกั ความจรงิ
แลวมนั เจริญท่ีตรงไหน คนกาํ ลงั จะถกู เผาทง้ั เปน กนั อยแู ลว เพราะความทกุ ขม นั สุมหวั
ใจเวลาน้ี จะหาความเจรญิ มาจากไหน ความเจริญกต็ อ งเปนความสงบสุข ความสะดวก
สบาย ความเปนอยูสบาย หนา ทก่ี ารงานสะดวกสบาย การคบคา สมาคมสะดวกสบาย
อยดู วยกนั เปนหมูเ ปน คณะมจี าํ นวนมากนอย เปน ความสะดวกสบาย ไมท ะเลาะเบาะ
แวง ไมแขงดบิ แขง ดที ีเ่ รยี กวา “แขงกิเลสกัน” ไมฆา ไมตี ไมแยงไมช งิ ไมคดไมโกง ไม
กดขีบ่ งั คับ ไมรีดไมไถ ซง่ึ กันและกัน อันเปนการทาํ ลายสมบตั ิและจิตใจของกนั และกนั
ในขณะเดียวกัน ตางก็เห็นอกเห็นใจกัน เมตตาสงสารกนั เฉล่ยี เผือ่ แผ ใหค วาม
เสมอภาคดว ยความมีเมตตากรุณาตอกนั ไมอ ิจฉาริษยากนั ไมเบียดเบยี นกนั อยดู ว ย
กนั ฉันพนี่ องเลอื ดเนื้ออนั เดยี วกนั จะเรียกวาโลกเจริญไดตามความจริง โลกไดร บั ความ
สงบสขุ ทวั่ หนากัน ทงั้ คนมีคนจน คนโงค นฉลาด โลกไมด ูถูกเหยยี ดหยามกนั และกนั
นําความยม้ิ แยมแจม ใสออกทกั ทายกนั ไมแสดงอาการบูดบึ้งใสกัน ตางคนตางมีเหตุมี
ผลเปน หลกั ดาํ เนนิ
เม่อื พดู ตามความเปน จริงแลว ทุกวนั นโี้ ลกเปนอยา งนไ้ี หม? ถา เปน อยางนเ้ี รียก
วาโลกเจริญจริง แตท ง้ั ๆ ที่วา “เวลาน้ีโลกกาํ ลังเจริญ”จงึ ทาํ ใหส งสยั วา มันเจริญอะไร
บา ง? เจริญที่ตรงไหน?
ถา เจริญดวยวตั ถุเคร่ืองกอสรา ง จะสรางเทาไหรก็ได ถาไมแ บกกองทุกขเพราะ
อะไรทวมหวั นะ
ทนี ย้ี อนเขามาหาตัวของเรา วันหนึ่งคนื หน่ึงต้งั แตตื่นข้นึ มา หมุนตัวเปน เกลยี ว
อยตู ลอดเวลาเหมอื นกงจักร การทีก่ ายและใจหมนุ เปนกงจักร ไมมีเวลาพกั ผอนตวั บาง
เลยเชนนเ้ี ปน ความสขุ หรือ? คนเดนิ ทางไมหยดุ คนวิง่ ไมม เี วลาหยดุ เปนความสุข
หรอื ? ความจรงิ ตอ งมเี วลาพักผอ นนอนหลบั ใหส บายบา ง คนเราถงึ จะมีความสขุ การ
ธรรมชุดเตรยี มพรอ ม ธรรมะชุด๕เต๔๒ร๘ียมพรอ้ ม
๔๙
คดิ มากตอ งวุน มากทกุ ขมาก ถา หนักเขาตองเปน โรคประสาท ธาตขุ นั ธทเี่ ต็มไปดว ยโรค
ภยั ไขเจ็บ ทัง้ เจ็บหัว ปวดทอง เตม็ อวัยวะ คนนัน้ มีความสุขหรอื ?
กเิ ลสมนั ชอนมนั ไชมนั กดั มนั ฉกี อยตู ลอดเวลา ทกุ อาการท่เี คลือ่ นไหวแหง จิตใจ
นั่นมีความสุขหรอื ? โลกเจริญแลวหรืออยางน้นั ? ความกัดฉีกของกเิ ลส ผลทเ่ี กดิ ขนึ้
จากการกดั การฉีกของกิเลสมนั กม็ แี ตก องทุกขทง้ั นน้ั หาความสุขไมมี เมอื่ เปนเชนนจี้ ะ
เอาความสุขมาจากไหน? เวลาท่ยี อ นเขามาดทู ีต่ ัวเรา มันก็เปน ไฟอยูภายในจติ ใจ
เพราะกเิ ลสกอ ไฟเผาใจอยูต ลอดเวลา “ราคคฺคินา โทสคคฺ ินา โมหคฺคนิ า” นน่ั ฟง
ซ!ิ “ไฟคอื ราคะ ไฟคือโทสะ ไฟคือโมหะ” ไฟคอื ความโลภ ความโกรธ ความหลง มัน
เผาอยูทีใ่ จ
ขน้ึ ชอ่ื วา “ไฟ” ไมว าจะกอทไ่ี หนเวลาใดมนั รอ นท่ีนน่ั ถาไฟทม่ี นั ลกุ โพลงขึน้ มา
ภายในจติ ใจ คอื ไฟโลภะ โทสะ โมหะ มนั ตองเผาที่จติ ใจ แมก ายก็จาํ ตอ งรับทกุ ขไ ป
ดว ย รับประทานไมไ ด นอนไมห ลบั ไมมีแรง
ตามหลกั ธรรมทานสอนไวว า “โก นุ หาโส กมิ านนโฺ ท นิจฺจํ ปชชฺ ลเิ ต สติ อนฺธ
กาเรน โอนทฺธา ปทปี น คเวสถ” เปนตน เมื่อโลกสันนิวาสนี้ เตม็ ไปดวยความมืดมน
อนธการ เพราะอํานาจแหง กเิ ลสตณั หามันแผดเผาอยูตลอดเวลา พวกทา นทง้ั หลาย
เพลิดเพลินหัวเราะราเริงกันหาอะไร? ทาํ ไมจงึ ไมร บี แสวงหาท่พี ่งึ มาเพลนิ อยูกบั ไฟ
ทําไมกนั เพราะ “ความลมื ตัว ประมาท” นนั่ ! ทา นสอนฟงซิ ถึงใจไหม? พระพุทธเจา
สอนโลกนะ
ถาเราฟง เพือ่ ถอดถอนกิเลส มันถงึ ใจจนนา ละอายตวั เอง เม่อื ฟงดวยความถงึ ใจ
แลว ทําไมจิตใจจะไมเห็นโทษ และมีความกระหย่ิมตอคณุ งามความดีทงั้ หลาย ทําไมจะ
ไมมีความพอใจแกกเิ ลสตณั หาอาสวะ ซง่ึ ลกุ เปน ไฟท้ังกองอยใู นจิตใจอยางเตม็ เมด็ เต็ม
หนวยเลา และกเิ ลสทาํ ไมจะไมห ลุดลอยออกไป เม่อื ไดทาํ ความเพยี รถอดถอนมนั ดว ย
ความถึงใจ ดวยความเห็นโทษของกเิ ลสอยา งถงึ ใจ ของผูแ สวงหาความจริงอยา งเตม็ ใจ
นแ่ี หละบรรดาสาวกและพทุ ธบริษทั ทง้ั หลายที่ทานรเู หน็ ธรรม เวลาทานเห็น
โทษก็เห็นอยางถึงใจจริงๆ การทําความเพยี รพยายามถอดถอน กท็ าํ อยา งถงึ ใจ เวลารู
จึงรถู ึงเหตุถึงผลถงึ จิตถึงใจจรงิ ๆ และถึงความหลุดพน ไปดว ยความถึงใจ ไมใ ชเ ปน
เรือ่ ง “พิธี” เชน รับศลี กร็ ับศลี พอเปน พธิ ี อะไรๆ ก็ทาํ เปนพธิ ี ฟงธรรมกพ็ อเปนพิธี
ประพฤติปฏบิ ัตธิ รรมซึ่งเปน ของประเสริฐกพ็ อเปน พธิ ี เหมอื นกบั เดก็ เลน ตกุ ตากนั
แตศ าสนาไมใ ชเ ดก็ และไมใชเร่ืองของเด็ก จงึ เขา กันไมไ ด
พระพุทธเจา ทั้งพระองคเ ปน ผปู ระทานศาสนาไว พระพทุ ธเจา ไมใชเดก็ ศาสน-
ธรรมไมใชศาสนธรรมของเด็ก ผปู ฏบิ ตั ศิ าสนาคอื พทุ ธบริษัท จงึ ไมควรนําเรอ่ื งของเดก็
ธรรมชดุ เตรียมพรอ ม ภาค ๑ “เร๕า๓๔กับ๙ กเิ ลส’’
๕๐
เขา มาแทรกกับตวั เอง ในกริ ิยาแหงการทําเก่ียวกบั ศาสนา “พอเปนพธิ ี” นี้ โลกเลย
เปน พิธไี ปหมดในทางศาสนา แลวจะหาผลอันแทจริงมาจากไหน? เมื่อมีแตพ ธิ ีเต็มจิต
เต็มใจ เต็มอาการทกุ สิ่งทกุ อยางทีเ่ ก่ียวของกับศาสนาในงานตา งๆ พากนั ทราบหรือยัง
วา กิเลสมันมีพิธีทีไ่ หน เวลามนั จะกดั หวั คน มนั มีพิธไี หม? เราดซู ี มนั ตั้งทา ตัง้ ทางยก
ครยู กคนั ทําพิธรี ตี องตา งๆ กอ นไหม เวลามนั จะขยห้ี วั ใจคนนะ
ความโลภมันเกิดขน้ึ มาทนั ที เมอื่ ไดโอกาสทม่ี นั จะแสดงความโลภ แสดงความ
โกรธ ความหลง มนั แสดงอาการออกมา ออกมาดว ยกเิ ลสประเภทตา งๆ ทันที มันไม
ไดค อยหาพิธรี ีตองเหมือนกับพวกเราทจี่ ะคอยฆา มัน และแลว กฆ็ า พอเปน พธิ ี ตีเพียง
หนบั ๆ พอใหม นั หวั เราะเยาะเยยวา “มนษุ ยนม้ี ันชางกลวั เราเสยี จริงๆ ยง่ิ กวา หมากลวั
เสอื มาหยอกเราเลน เพยี งหนับๆ แลวก็รบี วงิ่ ใสหมอน นอนคอยเราตํานา้ํ พริกไปจม้ิ กนั
ท่นี ั่น ชนิดหมอบราบไมม ีทางตอสเู ลย” น่นั ฟงดูซิ ความเพยี รเราเพือ่ จะฆา กิเลส มันจะ
เขา กนั ไดไหม? เรากลวั บา งไหม? ถา กิเลสเปน เหมอื นกบั เสือรา ยสกั ตัวหนึง่ อยบู นหวั
ใคร หวั เราทุกคน มีแตเ สือรมุ กดั อยทู ้ังวนั ทงั้ คืน ยืน เดิน นัง่ นอน มองไปทางไหนก็มี
แตเ สือรุมกดั อวัยวะจนแทบไมมเี หลอื ทง้ั กัดทง้ั ฉีก ไปไหนมนั ก็กัดกฉ็ ีกไปเรือ่ ย เดินไป
มันก็กัดก็ฉกี ไปเร่อื ย เราจะดไู ดไหม? ตอบแทนวา “ดูไมไดเลย” ตองพากนั วง่ิ แนบ
ยง่ิ กวา หมากลวั เสอื นน่ั แล ท้ังจะมีอะไรบางกไ็ มท ราบจะหลดุ เรีย่ ราดไปตามทางนะ คดิ
เอาเองเถอะ ขเ้ี กยี จบอกเสียทุกแงทุกมมุ
แตน่กี เิ ลสมันไมเปน ตนเปนตวั เชน นัน้ มนั กัดมนั ฉกี อยูภายใน เรายงั นอนเคลม้ิ
ใหม นั กดั มนั ฉกี อยา งสบายไปอกี แลว จะหาทางแกกิเลสไดอ ยา งไร เมือ่ ไมทราบวากเิ ลส
ไมทราบความกัดของกเิ ลส และไมท ราบความทกุ ขที่กิเลสสรางขน้ึ บนหวั ใจ เราจะหา
ทางแกกเิ ลสไดอยา งไร น่แี หละทพ่ี วกเราไมทนั กลมายากเิ ลส เราเปน คนอาภพั กอ็ าภพั
เพราะกเิ ลสมันบงั คับนแี่ ล ธรรมแทไ มเคยทําคนใหอ าภพั นอกจากสง เสรมิ คนใหดี
อยา งเดยี ว
ถา แกก เิ ลสออกจากใจไดเ ปน ลาํ ดบั แลว วาสนาไมต อ งบอกจะคอ ยดขี น้ึ มาเอง
ดดี ขน้ึ ดวยความดีของเราทที่ าํ อยเู สมอ การใหท านกเ็ ปน การสรา งวาสนา การรกั ษาศีลก็
เปนการสรา งวาสนา การเจรญิ เมตตาภาวนากเ็ ปนการสรา งวาสนา ถา ทาํ ดวยเจตนาอนั
ถกู ตอ ง ไมท ําสกั แตวา “ พอเปนพิธ”ี
ทานถา ทาํ พอเปน พธิ ีเฉยๆ กส็ กั แตว า ทาน ไมมผี ลมาก ศลี กส็ กั แตวา พอเปนพิธี
แตเ วลาลว งเกินศลี ไมลวงพอเปน พธิ ี มันลวงเกินจรงิ ๆ ทําศีลใหข าดจรงิ ๆ ภาวนากพ็ อ
เปนพิธี แตเวลางว ง ความงว งเขา มาครอบงาํ นไี่ มใชพธิ ี ลมตูมลงจริงๆ ถาหมอนไมรบั
ไว กเิ ลสตองยุงเผาศพ เพราะไมไดน อนพอเปนพธิ นี ี่ มันนอนหลบั เสียจรงิ ๆ หลบั
ธรรมชุดเตรยี มพรอ ม ธรรมะชดุ ๕เต๔๕ร๐ยี มพร้อม
๕๑
ครอกๆ เหมอื นคนตาย มนั ไมเ ปน พิธี เม่อื ถึงเวลาสิ่งเหลา นีเ้ ขา มาเกย่ี วของแลว แต
เวลาบําเพญ็ ธรรมนนั้ ทําพอเปนพิธี นี่แหละมันจึงไมท ันการ ไมทันกลมายาของกเิ ลส
จงึ ตองยอมเปน พลพรรคของกเิ ลส ใหก เิ ลสยาํ่ ยขี ดู รีดกดข่บี งั คบั ทั้งวันท้ังคืนท้ังปทง้ั
เดือน ทั้งภพทั้งชาติ ตลอดกปั ตลอดกลั ป ยงั ไมส ามารถจะทราบไดวา วนั ไหนเราพอจะ
รจู ักเงาของกิเลสบา ง มันทําเราดวยวิธใี ดบา ง มันมีเงาไหม? ถา ไมเ ห็นตัวมนั พอเหน็ เงา
บางกย็ ังดี เชน กเิ ลสมันตง้ั หมดั ตง้ั มวยใสเรา พอมองเห็นเขาบา งก็ยงั นาดู แมไ มเ ห็นตวั
ตนเขาแตพ อมองเห็นเงามนั ก็ยังนาดู แตนี่เราไมเห็นจนกระทงั่ เงาของกิเลสท่มี นั ฆาคน
ทาํ ลายคน เบยี ดเบยี นคน ทรมานคน กดขบ่ี ังคบั คน แลว เราจะไปแกก เิ ลสไดท ีต่ รง
ไหน? เมื่อเงามันเรายังไมเห็นเลย ไมต องพูดถึงตัวมนั วาอยทู ไี่ หนและทําลายคนดว ยวธิ ี
ใดบา ง
เอา! ทีนเ้ี พอื่ ใหร ู เพอื่ ใหท ราบเงาของมันและตวั ของมนั จงกําหนดความรูคอื
จิต สตเิ ปนเครื่องกํากบั เขา สูภายในกายภายในใจของตน หจู ะออกไปรับกบั เร่อื งอะไร
เจาของหูนค่ี ือความรู สติปญ ญามีมันออกไปกระทบกับเร่อื งอะไร รูป เสียง กลิน่ รส
เครือ่ งสมั ผัส เขา มาสัมผสั จะเขา มาสัมผสั จติ ใจทัง้ หมดซงึ่ เปนผรู ับทราบ นอกจากตา หู
จมกู ล้นิ กาย และใจเปน ตวั การสําคัญ ซึ่งเปนผรู ับผดิ ชอบและรับผลโดยประการทง้ั
ปวงจากอายตนะเหลา นี้ ซง่ึ ไปกอ เรอ่ื งกอ ราว แลวนาํ ผลโยนมาใหจ ิตเปนผรู บั บาปหาบ
ทกุ ขไ มมวี นั เวลาปลงวางเทา น้นั ถา กาํ หนดอยา งน้ี เราจะทราบทง้ั เงาของกเิ ลสทัง้ ตวั
ของกิเลส วามันมาดว ยเหตุใดผลใด มันมาดว ยอาการอะไร ผทู ีอ่ อกตอนรบั คอื ใจเรา
มนั ออกตอ นรบั กเิ ลส ยอมรบั กิเลส มันยอมรบั ดว ยเหตใุ ด เราจะทราบในขณะเดียวกนั
เม่อื ทราบแลว ก็มที างทแ่ี กไ ขและถอดถอนได
เอา ต้ังสตลิ งทต่ี ัวรู คือใจน้ันแล ตัวคะนองอยตู รงนนั้ ทาํ ไมใจจึงคะนอง เพราะ
กเิ ลสทาํ ใหค ะนอง พาใหด ิน้ รนกวดั แกวง และแสดงขนึ้ มาจากตรงน้ัน เมือ่ มีสตแิ ลวจะรู
ความกระเพอ่ื มของจติ เบอื้ งตนเรากําหนดรูอยางนี้ พยายามกาํ หนดใหรโู ดยมีบท
ธรรมกํากับ ไมคอยตี อาศยั ไมค อื ธรรมบทนัน้ ๆ คอยกาํ กบั ไมใหมนั โผลข ้นึ มาได ตี
ดวยบทธรรมใหถี่ยบิ ลงไป เชน “พุทโธ ๆ” เปนตน แลวจติ จะมคี วามสงบ เม่ือสงบ
แลวจะเย็นลงไป ๆ สงบแนว ลงจริงๆ นัน่ แหละคุณคา แหงความสงบจะเหน็ ประจักษ
ในขณะเดียวกันจะเห็นโทษแหง ความฟงุ ซานของจิต วาเท่ยี วกอ ความทุกขใ หเ รามาก
นอยเพียงไร เพราะความฟุงซาน
นี่เปนสาเหตุที่จะใหเ ราทราบในวาระตอไปของกิเลสประเภทตางๆ วา เงาก็พอ
ทราบหรอื วาตวั กพ็ อทราบแลว ความฟุงซานเราก็ทราบวามนั เปน ภัย ความสงบเราก็
ทราบวา เปนคณุ จะสงบดว ยวิธีใดก็ทราบ คอื ดว ยวิธีการภาวนาดวยความมีสติ
ธรรมชุดเตรยี มพรอม ภาค ๑ “เร๕า๕๕ก๑บั กเิ ลส’’
๕๒
เมอ่ื ทราบในเง่อื นหนง่ึ แลว ตอไปก็จะทราบไปโดยลําดับ เพราะสติยอ มมคี วาม
แกก ลาขน้ึ ไดในเมอ่ื ไดรับการบาํ รงุ สงเสรมิ อยูเสมอ ปญญากส็ ามารถได เฉลียวฉลาดได
คนเราไมใชค นโงอ ยตู ลอดเวลา ถึงคราวจะฉลาดฉลาดได ถา เจาของสนใจเพอื่ ความ
ฉลาด นอกจากจะนอนอยูเฉยๆ เหมือนหมอู ยูใ นเลา ในตมในโคลนเทานั้น จะหาความ
ฉลาดไมไ ดจ นกระทงั่ วนั ตาย และตลอดกัปตลอดกัลป จะจมอยใู น “วฏั สงสาร”ตลอด
ไปเพราะความโงพาใหจม เราไมใชผตู องการจะจมดวยความโงเ ชน นั้น เรามาเสาะแสวง
หาความฉลาดเพอ่ื จะปลดเปล้ืองความโงข องตน ใหใ จดดี ข้ึนจากตมจากโคลนทั้งหลาย
คือกเิ ลสอาสวะประเภทตา งๆ กลายเปนอิสรเสรขี ึ้นมา เราตอ งทําความพยายามใหเตม็
เม็ดเต็มหนวย จติ สงบดว ยการบังคับ ดว ยความมสี ติ โดยอาศยั บทธรรมเปน เครือ่ ง
กาํ กบั เปน ผลข้ันหนงึ่ ขนึ้ มาแลว
แตคาํ วา “ขั้นน้ันขั้นน”ี้ ไมอยากจะเรียกใหเ สยี เวลา สงบหรอื ไมส งบมันกท็ ราบ
ภายในตัวเองนัน้ แล เหมอื นเรารบั ประทานอาหาร มนั ถึงขัน้ ไหนแลวเวลาน?ี้ เรากไ็ ม
เห็นถามกันนีน่ า เรมิ่ รบั ประทานเบอ้ื งตนสําเร็จข้ันไหนไมเ หน็ วา รับประทานไปๆ จน
กกระทง้ั อม่ิ กร็ เู อง ไมจ ําเปนตองเอาขนั้ เอาภมู ไิ ปหาความอม่ิ อนั นี้กเ็ หมอื นกันใจรู ไมมี
อะไรทจี่ ะรูย่ิงกวาใจ ทกุ ขก ็รู สุขก็รู ดีรู ชั่วรู รอนรู หนาวรู รูไ ปท้งั น้นั เปนผูรอู ยตู ลอด
เวลา ใจนแ่ี หละเปนผรู ับรู
เมือ่ ไดส รา งสตปิ ญญาเปน เครอ่ื งกาํ กบั ใจดวยดแี ลว ใจจะเดนขึ้นดว ยความรู
ความสงบ และมีความชาํ นชิ าํ นาญไปโดยลาํ ดับ เอา จะพิจารณาแยกแยะเหตุผลตา งๆ
ท่ีจติ ไปตดิ พนั เกีย่ วขอ งกบั เรอื่ งอะไรจึงกลายเปนไฟข้นึ มาเผาตัวเอง ก็จะทราบท้งั รอ ง
รอยและตัวเหตตุ ัวผลของมันอกี ดว ย จติ มีความรอู นั เดียวเทา นั้น
สตมิ คี วามระลกึ แลว ดบั ไป ๆ เรยี กวา สติ ปญ ญาคอื ความสอดสอ ง ความ
ใครครวญ ใครค รวญก็ใครครวญเรอ่ื งของตวั เองนน่ั แหละ
“อนจิ จฺ ํ” ทา นวา นี่เปนแผนทขี่ องปญญานะ “ทกุ ขฺ ํ อนตตฺ า” นี่เปนแผนท่ี
แนวทางเดนิ ของปญ ญา จึงเรียกวา “หนิ ลบั ปญ ญา”
พิจารณาเร่อื ง “อนจิ ฺจ”ํ มนั เปนอะไร อนจิ ฺจํ น?่ี ไตรตรองไปเรื่อยๆ นับจาก
ช้ินหนง่ึ สองชน้ิ สามชน้ิ จนกระทั่งรอบตวั รอบโลกธาตแุ ตล ะอยา งๆ เปนอนิจจฺ ทํ ัง้ สน้ิ
นีก่ ท็ ราบดวยปญญา เมือ่ ทราบชัดดว ยปญ ญาวา ทุกส่งิ ทุกอยา งเปน อนิจจฺ ํหมดแลว
เราจะไปนอนใจตายใจติดกับสิ่งเหลา น้นั ไดอ ยางไร ท้ังทรี่ ูวามนั เปนอนจิ ฺจอํ ยา งประจกั ษ
ใจ การพิจารณาธรรมใหประจักษใจเปนอยางนี้
ทกุ ขฺ กํ ท็ ราบ มันแสดงอยูตลอดเวลา มันเปน ภยั จรงิ ๆ กท็ ราบ แลว ใจจะชินกบั
ทุกขไดอยา งไร ไมชิน ไมเ คยไดย ินวาใครเคยชนิ กบั ความทกุ ข ถา เราอยากรชู ัดๆ กล็ อง
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ธรรมะชุด๕เต๕๖ร๒ยี มพรอ้ ม
๕๓
เอามอื จอเขาไปในไฟดซู ิ มันจะชินไหม? เราอยูกับไฟมาต้งั แตวนั เกิดจนกระทงั่ บดั นี้
มนั ชนิ กับความรอ นที่จะทําใหเราทกุ ขน นั้ ไหม? ไมเคยชนิ พอมอื จอ ลงไปปบมนั กจ็ ะ
ถอนมือทันที มอื ยอ นกลบั ปบ ทนั ที กระตุกตวั เองทนั ที เพราะความรอนมนั แผดเผา
ทนอยไู มได นั่น! มนั ชินไปไดย งั ไง? พิจารณาใหเ หน็ ชดั ดวยปญ ญาอยา งถงึ ใจจริง
คาํ วา “อนตตฺ า” มนั วา งไปหมด เราเสกสรรเอาเฉยๆ วา น้ันเปน ตัว น่ันเปนตน
นน่ั เปน สตั ว นัน่ เปน บุคคล แมแ ตก อนธาตุท่อี ยใู นรา งกายของเรานี้ มนั กว็ า งจากความ
เปน ตนเปนตัวอยูแลว โดยธรรมชาติของมัน แตเ รามาเสกสรรเอาวา มนั เปน กอนเปน
กลุม จากนน้ั กว็ า “เปนเราเปนของเรา” ธรรมชาติจริงๆ แลว อนตฺตา มนั วางจาก
ความเปนตนเปน ตวั เปน สตั วเ ปน บุคคลไปหมดอยูแลว จงพิจารณาใหเห็นตามหลัก
ธรรมชาติอยางนี้ จติ จะไดถ อยตัวเขามาจากความลมุ หลงนัน้ ๆ แลวปลอยความกังวลได
ในสภาวะทงั้ หลายซึ่งเปน “อนจิ ฺจํ ทกุ ขฺ ํ อนตตฺ า”
ทราบโดยทาง “ปญ ญา” ทราบอยา งถงึ ใจ จิตเม่ือไดถอดถอนตวั หรือไดเปด
เผยร้อื ฟน ตนจากสงิ่ ทปี่ ด บงั ทง้ั หลาย โดยความรูช ดั วา ส่งิ เหลาน้ีเปน อนิจฺจํ ทุกฺขํ อนตฺ
ตา แลว ทาํ ไมจิตจะไมโ ลง ทําไมจติ จะไมสวางไสว ทําไมจิตจะไมเบา ทําไมจิตจะไม
อัศจรรย ทําไมจิตจะไมผ องใสและเปน ส่งิ ท่นี าอัศจรรย ตอ งเปนของอศั จรรยอยางแน
นอนไมตองสงสัย
ทจี่ ติ ไมแสดงความอศั จรรยใหเ จาของเหน็ เลย กเ็ พราะมแี ตส ง่ิ สกปรกโสมม
ท่ีหาคุณคาไมไ ดม นั ครอบจิตอยู จิตจงึ กลายเปนนกั โทษทัง้ ดวง แลวจะมีคณุ คาที่
ไหน เพราะมันเปนนักโทษทั้งดวง เพราะธรรมชาติทีเ่ ปนโทษมนั อยกู บั จิต คอื กิเลสทง้ั
หลายน้นั แล
พอเปดออกไป ๆ อุปาทานการยึดมั่นถือมน่ั เปดเผยตวั ออกไปโดยลําดับๆ
ความสวา งกระจางแจง ของจติ ความเปนอสิ ระของจิตตามขัน้ นั้นๆ ไมต อ งถาม เบาหวิว
เลย อยูทไ่ี หนกเ็ พลนิ และเบาไปหมด แตก อนเคยแบกหามจนหนกั แยก ็หาทป่ี ลงวางไม
ได นอนกแ็ บก นง่ั กแ็ บก ยนื กแ็ บก แบกอยอู ยา งนน้ั แหละ แบกอปุ าทานความหนกั ภู
เขาทงั้ ลกู วา มนั ใหญโ ตมนั หนัก เราไดเคยแบกมันบางแลว หรือ? เราถงึ จะทราบวามัน
หนกั เรายังไมเคยแบกเรายังไมหาญพูดได ดูตวั ท่มี ันหนักๆ คือ “เบญจขันธนน่ี ะ ”
มันหนักอยูตรงนี้ ย่งิ มีความเจ็บไขไ ดปวยแลวยิ่งลกุ ไมข ึน้ เอาเลย ตอ งใหคนอ่ืนชวย
พยงุ ชว ยกเ็ จบ็ หนกั เขา อกี ดว ยการเจบ็ ปวยในอวัยวะตางๆ มันท้งั หนัก ทั้งเจ็บทั้งปวด
เลยเพิ่มเปนเรื่องหนักไปหมด น้แี ลตวั หนกั จรงิ ๆ ทา นจึงวา “ภารา หเว ปจฺ กขฺ นฺ
ธรรมชดุ เตรียมพรอม ภาค ๑ “เร๕า๗ก๕ับ๓กเิ ลส’’
๕๔
ธา” ภาระอันหนกั จรงิ ๆ ก็คอื เบญจขนั ธ ทา นไมไ ดบ อกวา ภาระอนั หนักจริงคือภูเขา
ทานไมเหน็ วา
เราพจิ ารณาใหเหน็ จรงิ อยา งนี้ อันนแ้ี ลเปน เครื่องทบั จติ ใจเรา พจิ ารณาใหรใู น
อาการทง้ั ๕ น้ี มนั คอื ไตรลักษณท ัง้ นน้ั เราอยาไปอาจหาญ อยา ไปเออ้ื ม อยาไปจบั
อยา ไปยดึ อยา ไปแบกหามมันหนกั เขาไปแบกมนั หนักจรงิ ๆ ถา ปลอยเสียมันกเ็ บา
ปลอ ยดวยปญญาใหร ูชัดตามความเปนจรงิ จติ จะเพลนิ มคี วามรื่นเริงบันเทงิ อยทู ่ีไหน
ก็รนื่ เริง อยใู นปา ในเขาอดอม่ิ เปน ตายอะไร มแี ตความรืน่ เริงบนั เทงิ ในธรรมทงั้ หลาย
“ธมมฺ ปต ิ สขุ ํ เสต”ิ ผูมีปต ใิ นธรรมยอมอยูเปน สุข อันน้ียงั หยาบไป เมื่อเขา
ถึงขน้ั นีแ้ ลว คอื วาละเอียดอยา งย่ิง มีความสขุ ละเอียดเปน พ้นื ฐาน นอนกเ็ ปนสุข นง่ั ก็
เปนสุข ยืน เดนิ อยกู ็เปน สุขทัง้ นนั้ อดอ่มิ เปน สุข สบายไปหมด หมดความกังวล หมด
ภาระเปนเครื่องกดถวงจิตใจ
เอา ! เพ่ือใหกเิ ลสทง้ั มวลส้นิ ซากไปเสยี ไมใ หมีอะไรเหลือ ตนไมเราตัดกิ่งตัด
กานตดั ตนมนั ออกหมด ยงั เหลอื แตห ัวตอ รากแกว รากฝอย ขุดตนมันขน้ึ มา เอาเผาไฟ
เสยี ใหสน้ิ ซากหมดเทา นน้ั ตน ไมต น นั้นไมม ที างเกิดไดอ กี เลย
จิตก็เหมือนกัน ถอนรากแกว ซง่ึ อยภู ายในจิต ทานเรียก “อวชิ ชา” ใจปลอ ย
อะไรๆ หมด แตตัวเองกม็ าอัศจรรยอ อยอิง่ อยูก ับความสงา ผาเผย ความละเอียดลออ
ซึ่งเปน เร่ืองของกเิ ลสประเภทละเอยี ด พิจารณาเขา อกี ใหพ อ นี่กค็ ือกองไตรลักษณอ กี
เชน เดยี วกนั อยา ถือวาเปน เรา มันเราอะไรกนั เปนกอง อนจิ ฺจํ ทกุ ฺขํ อนตฺตา อนั
ละเอยี ดตา งหากน่ี กเิ ลสตัวรา ยยงั วาเปนเราอยูห รอื ? ความผองใสท่คี วรจะผา นไปได
ถอื ไวทําไม อันนเี้ ปน กเิ ลสประเภทหน่ึงท่ลี ะเอยี ดมากเกินกวา สติปญ ญาธรรมดาจะรู
เห็นได ตองเปนสติปญ ญาอตั โนมัตกิ ําจดั มัน
นี่เวลายอนจติ เขา มา เมื่อไมม ีทพี่ จิ ารณาจริงๆ กต็ อ งยอ นจติ เขา มาพจิ ารณา
ธรรมข้นั ละเอยี ดสุดน่ันคือ กเิ ลสตัวละเอยี ดอันเปน จุดสุดทาย “สพเฺ พ ธมฺมา นาลํ อภิ
นเิ วสาย”ธรรมทัง้ ปวงไมค วรถือมน่ั นน่ั เมอ่ื ถงึ จดุ สดุ ทา ยแลว ก็ “สพเฺ พ ธมมฺ า อนตฺ
ตา” ธรรมทัง้ ปวงเปน อนตฺตา ทง้ั สิ้น ไมว า จะเปนสวนหยาบสวนละเอยี ด ตลอดความ
ผองใส ความเศรา หมองทง้ั ส้นิ ท่ีมีอยูภายในจติ โดยเฉพาะ เปน อนตฺตา ทงั้ สิ้น
ผปู ฏิบตั ิจงพิจารณาจติ ดวงผองใส ใหเห็นเชน เดียวกับสภาวธรรมทัง้ หลาย
ธรรมทัง้ ปวงเปน อนตตฺ า ธรรมทัง้ ปวงจึงไมค วรถือมัน่ จากส่งิ นี้เองท่ไี มควรถือม่นั พอ
พจิ ารณาเต็มท่ีเตม็ ภูมขิ องปญ ญาแลว สลัดพบั เดียวหมด เม่ือสมมตุ ทิ ง้ั ปวงไมว าหยาบ
ธรรมชุดเตรยี มพรอ ม ธรรมะชดุ ๕เต๘๕ร๔ียมพรอ้ ม
๕๕
กลาง ละเอียดไดส ้ินสุดไปจากใจแลว ปญ หาอะไรทจ่ี ะมอี กี ตอไป? ไมม ี! หมด! น่ัน
แหละทา นผหู มดทกุ ขทา นหมดอยา งนี้ นแ้ี ลผเู หนือกเิ ลส
กเิ ลสมากดั มาฉกี เหมอื นเสอื โครง ดงั ทก่ี ลา วมาแลว น้ี เปนอนั ยุติกันเพยี งเทา น้ี
เพราะถูกฆา หมดฉบิ หายไมมเี หลอื เลย กเิ ลสทกุ ประเภททีท่ านเปรียบเหมอื นเสือโครง
ถกู ฆา ดว ยสติปญญาอนั แหลมคม คอื มหาสติมหาปญ ญา สน้ิ ซากไปหมด เสวย อมต
ธรรม โดยหลกั ธรรมชาติ น่คี อื ผลแหงการปฏบิ ัตอิ ยางแทจ ริงเปน อยา งนี้ เพราะธรรม
เปน ธรรมชาติท่ถี ึงใจของสตั วโลก ธรรมเปนของจริง ผสู อนจงึ สอนดวยความจริง ผู
ปฏบิ ตั ปิ ฏบิ ตั จิ ริงๆ จังๆ ฟงจริงๆ จังๆ แกก เิ ลสตณั หาสวะซง่ึ เปนภยั อยางจรงิ จงั
เพราะเห็นวา เปนภยั อยางจรงิ ใจ แกอ ยางจรงิ ๆ จังๆ ก็พนไดจริงๆ อยา งน้ีไมเปน อืน่
เพราะ “สวากขาตธรรม” นัน้ ทา นเรยี กวา “มชั ฌิมา” ทันตอ เหตุการณอ ยูต ลอดเวลา
ไมวากาลใดอาการใดของกิเลสที่แสดงขนึ้ มา “มัชฌิมาปฏิปทา” เปน อาวธุ ทีท่ ันสมยั
ฟาดฟน กเิ ลสใหแหลกกระจายไปหมดไมมีอะไรเหลือเลย ทา นจงึ เรียกวา “มชั ฌิมา”
เหมาะสมตลอดเวลากับการแกกเิ ลสกองทุกขท ี่มอี ยภู ายในใจของสตั วโลก
การแสดงธรรมกเ็ ห็นวา สมควร ขอยตุ ิ
ธรรมชุดเตรยี มพรอม ภาค ๑ “เร๕า๙๕ก๕ับ กิเลส’’
๕๖
กิเลสฝังในจติเทศนโ ปรดคณุ เพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด
เมอ่ื วนั ที่ ๘ ธนั วาคมเพทศุทนธ์โศปรกั ดรคาุณช เ๒พา๕พ๑ง๘า วรรธนะกลุ ณ วัดป่าบา้ นตาด
กเิ ลสฝงในจิต เมอื่ วันที่ ๘ ธนั วาคม พทุ ธศักราช ๒๕๑๘
ศาสนาในขน้ั เร่ิมแรกทพ่ี ระพุทธเจา ทรงประกาศเอง มีสาวกชวยพทุ ธภาระให
เบาบางลง ในครัง้ นน้ั ศาสนาไมค อ ยกวา งขวาง มแี ตเนือ้ ๆ คร้ันตอมานานเขา ๆ เนอ้ื ก็
ไมค อ ยปรากฏ มักมีน้ําๆ แลว เลยกลายเปนมีแตเปลอื ก มีแตก ระพี้ไป คอื มแี ตพ ิธรี ี
ตอง ไปไหนมแี ตพ ิธี ศาสนาจรงิ ๆ มองไมคอ ยเห็น มีแตพธิ ีเต็มไปหมดในงานตา งๆ
เกีย่ วกับศาสนา เมอื่ เปนเชนนั้นผูทจี่ ะยดึ เอาเปนหลกั เปนเกณฑกับศาสนาจรงิ ๆ กเ็ ลย
ยึดไมไ ด ไมท ราบวา อะไรเปนศาสนา คือแกนแท อะไรเปนกระพ้ี เปนเปลือก คือพิธีรี
ตองตางๆ เพราะการแสดงออกแหง พิธีน้ันๆ มีมากตอมาก ผยู ังไมเขาใจก็เขาใจวา เปน
เรือ่ งศาสนาทั้งน้นั พธิ รี ตี องเลยทาํ ใหผ ตู ั้งใจตอ ศาสนาจริงๆ ยุง และสบั สนไปหมด ไม
อาจจะยดึ ศาสนาอันแทจ รงิ ได
นเ่ี ปน ปญ หาหนงึ่ ในเวลานซ้ี ่งึ มมี ากมาย และถือเปนหลกั เปน เกณฑเสียดว ยไม
ใชธรรมดา พิธีตางๆ ซง่ึ แฝงศาสนากลายเปนหลักเกณฑข้ึนมา สว นท่เี ปนหลกั เกณฑ
จรงิ ๆ จงึ คลา ยกับคอ ยเสอื่ มคอ ยหายไปเปน ลําดบั ถาไมม กี ารปฏบิ ตั ิเขา ไปเกี่ยวของ ถา
พูดตามแบบโลกๆ กว็ า การปฏิบัตธิ รรมกบั พธิ ีรีตองกําลงั เปน คแู ขง กัน โดยไมม เี จตนา
หรือมีกไ็ มอาจทราบได เพราะเวลานก้ี ําลงั อยใู นความสบั สนปนเปกนั ระหวางพิธีรีตอง
ตางๆ กับการปฏบิ ตั ิ อาจไมท ราบวาอะไรจรงิ อะไรไมจริง อะไรแทอ ะไรปลอม อะไร
เปนเปลอื กอะไรเปนกระพี้ อะไรเปนแกน หากไมม ีการปฏิบตั ิเก่ยี วของไปดว ยแลว
อยางไรๆ เปลอื ก กระพจี้ ะตองถูกเสกสรรขน้ึ มาเปนแกนเปน หลัก เปน ความจรงิ ของ
ศาสนาโดยไมสงสัย ทัง้ ๆทไี่ มใชความจริงเลย น่เี ปน เร่อื งท่ีนาวิตกอยูม าก
ศาสนาแทๆ ทานไมม อี ะไรมากมายกา ยกอง นอกจากสิ่งท่จี าํ เปน ทาํ ลงไปแลว
เกิดประโยชนเ ทา น้ัน สมยั ตอ มาชอบยุงไมเ ขาเรอ่ื ง เชน รับศีล กต็ อ งยุง ไปหมด มาไม
ทันรบั ศีลก็เสียใจ นนั่ ! ฟงดูซิ อะไรๆ ก็รับศลี รับศีลอยตู ลอดเวลา ดงั
“มยํ ภนฺต ตสิ รเณน สห ปจฺ สีลานิ ยาจาม” ขอวนั ยังคาํ่ แตก ารรักษาศลี ไม
ทราบวารกั ษาอยา งไร เหน็ แตการขอรับศลี สมาทานศีลอยทู ํานองนัน้ ไมว าทีไ่ หน ๆ ยุง
ไปหมด
การรบั ศลี ก็มีเจตนาอยภู ายในใจเปน ผูช ้ขี าด หรือการรับรองในศีลของตน
ดว ยเจตนาวิรตั ิ เรอื่ งกม็ ีเทานน้ั เปน สําคัญ
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ภาค ๑ “เร๖า๑๕ก๖ับ กิเลส’’
๕๗
ถาเปนฆราวาสทว่ั ๆ ไปและศีลท่ัวๆ ไป เชน ศีลหา ศลี แปด ก็ควรรบั ไวเ พ่อื
รกั ษาศลี จริงๆ จะมปี ระโยชน
สวนศลี ทเี่ ปน ศีลของพระของเณรนัน้ เพ่ือประกาศเพศของตนใหโ ลกทราบ จึง
ทําอยางมกี ฎเกณฑไปตามหลกั ธรรมหลกั พระวนิ ัย เชน ศลี เณร ศีลพระ แตส ดุ ทา ยก็
เจตนาอันเดียวกัน ไมไดม ากมายอะไรนกั ทาํ พธิ ีก็ เอา!
ถวายทาน ก็ฟาดกนั จนหมดคัมภีร ผูน ่ังฟงจนหาวนอน จะนอนหลับคานง่ั คํา
ถวายทานนี้ก็ไมทราบวา ถวายอะไรตออะไร เปน คมั ภีรๆ ไลม าหมดโลกธาตุ ดีไมด ี
อยากจะอวดภูมิของตัวเองดว ยวาไดเ รียนมามากและรูมาก ใหค นอ่นื เขาอศั จรรยเสียม่ัง
ภูมินํ้าลาย นนั่ ! อยา งนีเ้ ปนตน
เม่อื ไดผานการปฏบิ ตั มิ าพอสมควร ไดเห็นวาอะไรทําใหเ สียเวลํา่ เวลา อะไรจรงิ
อะไรปลอม หรืออะไรมนั ยืดเยือ้ กวา จะเขา ถงึ ตวั จรงิ ละโอโ ห เปนชั่วโมงๆ อยางน้ไี ม
ทราบวา ทําเพื่ออะไร เพราะฉะนัน้ ในวงกรรมฐานทานจึงไมค อ ยมีพธิ ีรีตองอะไรนัก
อยากจะพูดวา “ไมม ”ี แตพูดวา “ไมค อยมี” นนั้ เปนความเหมาะสม เพราะบางทกี ็
ตอ งอนุโลมผอ นผันท้ังๆ ทีก่ ็ทราบอยูแ ลว เพ่อื จิตใจคนผูยงั ใหมต อ ศาสนา แมเ ชน นน้ั ก็
ควรนาํ ของจรงิ มาโชวก ัน อวดพิธกี นั ใหโ กห รูไป แตเ อาของปลอมมาโชว! เมื่อพอ
ผอนผนั สนั้ ยาวก็ผอ นไปบา งทง้ั ท่ีขวางใจขวางธรรม ในวาระตอ ไปคอยบอกกนั ใหรเู ร่อื ง
รรู าวในความจรงิ และหลกั เกณฑข องพระพทุ ธศาสนา
จะเห็นไดในขณะทีพ่ ระพุทธเจา ทรงสงั่ สอนสาวกต้งั แตเริม่ เขา บวช พระองค
เรมิ่ มีความจรงิ จังขึ้นในขณะบวชทเี ดยี ว ครงั้ แรกพระองคท รงบวชเองดว ยพระวาจาวา
“เอหิภิกขุอุปสัมปทา”.ทานจงเปน ภกิ ษุเถิด นี่เปน วาระแรก ตอ มาก็ “ตสิ รณู
อปุ สมั ปทา” ถึงสรณะสาม คอื พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ แลว กส็ ําเร็จเปน พระข้ึนมา
ถึงวาระท่สี ามนก้ี ย็ กใหส งฆเ ปนใหญ ใหส าํ เรจ็ ในสงฆ ตอนนท้ี า นประกาศ “รกุ ขฺ มูล
เสนาสนํ” ใหเปนท่อี ยอู าศัยของพระเพอ่ื ประพฤติพรหมจรรย เพ่ือความสิ้นทกุ ขโดย
ชอบ ท้ังๆ ที่แตก อ นก็สอนใหอ ยรู ุกขมลู รม ไมอยแู ลว แตไ มไดย กขึ้นเปน กฎเปน เกณฑ
ในการบวช พอตอ มาวาระทส่ี ามนข้ี น้ึ เปน กฎเกณฑเ ลย
“รกุ ขฺ มูลเสนาสน”ํ อปุ ช ฌายจ ะไมสอนอยา งนี้ไมไ ด ผิด ตอ งสอนใหถ กู ตอง
ตามนี้ อปุ ชฌายใ ดก็ตาม แมเจา ของจะไมชอบ “รกุ ฺขมูลเสนาสน”ํ ขนาดไหน การบวช
กลุ บุตรตอนสดุ ทายภายหลงั กต็ อ งบวชตอ งสอนอยา งน้ี มี “รุกขฺ มูลเสนาสนํ” ข้ึน
หนาอนศุ าสน ไมเลือกวา ใครหรอื นกิ ายไหน เพราะคาํ วา “นิกาย” ก็เปนเพยี งช่อื อนั
หนง่ึ เทาน้นั หลกั ใหญค อื การบวชนนั่ เอง
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ธรรมะชุด๖เต๒๕รยี ๗มพรอ้ ม
๕๘
ทา นเอาจรงิ เอาจงั สอนแลวไลเ ขา ปาเขา เขาไปเลยเพ่อื ประพฤตปิ ฏบิ ัติ จนได
บรรลธุ รรมแลว แมท า นจะออกประกาศธรรมสอนประชาชน กใ็ หเ ปน ไปตามอธั ยาศัย
ของทา นผูมีอํานาจวาสนามากนอ ย มีความรูความฉลาดลึกตื้นหยาบละเอียดมากนอ ย
เพียงไร กส็ ัง่ สอนประชาชนไปตามภูมนิ ิสัยวาสนาของตน
องคใดที่ทา นไมมนี ิสยั เกี่ยวของ วาสนาทานไมมีในทางนนั้ ทานกไ็ มเกย่ี ว เชน
พระอัญญาโกณฑัญญะ ไปอยทู ่สี ระ “ฉทั ทันต” มชี า ง “ฉัททันต” เปน หัวหนา โขลง
อุปถมั ภอ ุปฏ ฐากทาน ตัง้ สบิ เอด็ ป ผาสบงจีวรยอ มดว ยดินแดง ถงึ วาระแลวก็มาทูลลา
พระพุทธเจาเขา สูนิพพานไปเลย องคนป้ี รากฏวา ไดส อนเฉพาะ “พระปณุ ณมันตานี
บุตร” ซ่งึ เปน หลานชายเทา นัน้ สอนองคเดียว และพระปณุ ณมนั ตานบี ตุ ร ปรากฏวา
เปน “ธรรมกถึกเอก” นอกน้ันทา นไมส นใจกบั ใครเลย พระอญั ญาโกณฑัญญะ เปน
“รัตตัญ”ู เปนพระสาวกองคแรกทีไ่ ดบ รรลธุ รรมพระศาสดาใดในตนพทุ ธกาล
องคที่ทานมีอาํ นาจวาสนาในทางใด ทา นกเ็ ปนไปตามเรอ่ื งของทานเอง เชน
“พระสารบี ตุ ร” “พระโมคคลั ลาน” เปน ผทู ม่ี อี ํานาจวาสนามากเก่ยี วกบั บรษิ ทั บริวาร
มคี วามรคู วามฉลาดมากดงั “พระสารีบุตร” การแนะนําสง่ั สอนกก็ วางขวางลกึ ซึง้ ทุก
สง่ิ ทุกอยางเตม็ ไปดว ยความเหมาะสม เพราะฉลาดในการสั่งสอน “พระโมคคลั ลาน”
กเ็ ปน ผทู รงฤทธทิ์ รงเดช เปน ไปตามนสิ ยั วาสนาของทานทีเ่ กยี่ วของกับบริษัทบริวาร
พระเณร เมื่อถึงขัน้ “อรหัตภมู ิ” แลว เปนนิสัยวาสนาลว นๆ ไมม กี เิ ลสเจือปน ทา นจะ
อบรมสัง่ สอนประชาชนมากนอ ยเพยี งไร ยอมเปนไปตามอธั ยาศัยของทา น ไมม ีกิเลส
เขา เคลอื บแฝง ไมลมุ ๆ ดอนๆ สงู ๆ ต่ําๆ เพราะทานสอนทา นไดแลวคอ ยมาสอนคน
อื่น จึงไมมคี วามผาดโผนโลดเตน แฝงอยใู นองคท า น เวลาเก่ียวของกับประชาชนท่ีมา
พง่ึ รม เงาแหง ธรรมทาน
ในเบอ้ื งตนทา นฝก อบรมใจทาน การอบรมสง่ั สอนคนทานทาํ อยา งเตม็ ที่ ทาน
ฝก ฝนทรมานตนอยา งเต็มฝม ือ ไมล บู ๆ คลาํ ๆ การฝกอบรมตนดวยวธิ ีตา งๆ เพอ่ื แก
กเิ ลสทัง้ มวล กต็ อ งเปนการทรมานตัวอยูโ ดยตรง ถา ไมทําอยา งนัน้ กิเลสกไ็ มยอมจํานน
และหมดไปจากใจ การทรมานกเิ ลสกับการทรมานตนในขณะนัน้ จะเรียกวาเปน
“ความทกุ ขใ นคนๆ เดียวกนั ” กไ็ ดไ มน า จะผดิ เพราะขณะที่ทมุ เทกําลงั เพ่ือ “การรบ
รากับกิเลส” หรอื “เพ่อื แกกิเลส” นั้น ตอ งใชค วาม “อตุ สาหพยายาม” อยา งเตม็ ท่ี
ตองไดร บั ความทกุ ขมาก สมกับข้นึ เวทีเพอื่ ชยั ชนะโดยถา ยเดียว แมทุกขมากนอยหรอื
จะถงึ ขัน้ ตาย เจา ของตอ งยอมรับ ไมยอมรบั ไมไ ดช ยั ชนะมาครอง มีบางองคทา นเดนิ
จงกรมจนฝา เทา แตก นัน่ เหน็ ไหม! ทั้งๆ ท่ีฝา เทานัน้ ไมใชก ิเลส แตจ าํ เปน กต็ องไดรบั
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ภาค ๑ “เร๖า๓๕กับ๘ กเิ ลส’’
๕๙
ความกระทบกระเทือนไปดวย ถงึ ฝา เทา แตกดว ยการรบกเิ ลส บางองคก ็ตาแตก “พระ
จักขบุ าล” ตาแตกท้งั สองขาง เพราะไมน อนเปนเวลาตงั้ สามเดอื น ทา นฝกทรมานอยา ง
เต็มท่ีจนตาท้ังสองขางแตก แตใ จสวางจา ขึน้ มาในขณะน้นั เพราะบรรลุขั้นอรหัตธรรม
ถึงคราวที่จะตองรบั ความทกุ ขลาํ บาก เพราะการประกอบความเพียรเพอื่ แก
กเิ ลส ก็ตอ งยอมรบั กนั จะไมยอมรบั ไมได ตองยอมรับ เม่อื ถึงขนั้ ยอมรบั เพื่อชยั ชนะ
อนั ใหญหลวง พระพทุ ธเจาก็ทรงยอมรับ พระสาวกทงั้ หลายกวา จะไดมาเปน “สรณะ”
ของพวกเรา ทานกย็ อมรับความทกุ ขความลาํ บากในการฝก ฝนทรมานตนเพ่อื ฆากเิ ลส
ทง้ั นนั้ เพราะกิเลสอยูก ับตัว การฟน กิเลส ถา ไมฟน เขา ไปถกู ตัวดวยก็ไมกระทบ
กระเทอื นกิเลสทีอ่ ยกู ับตวั ฉะนน้ั การห้าํ หั่นกิเลสไมก ระทบกระเทอื นตัวดวยจึงไมไ ด
ตองมีการกระทบกระเทอื นตัวเปน ธรรมดา
พวกเรากเ็ หมอื นกนั ถาจะใหก เิ ลสมันอยหู องโนน เรามาอยูหองน้ี ขงั กิเลสไวใ น
หองโนน เรามาอยใู นหอ งน้ี มันเปน ไปไมได ถา เปน ไปไดพ ระองคต อ งทรงทราบกอน
ใครๆ ในโลก เราอยใู นหองไหนกเิ ลสกอ็ ยูในหองนัน้ การฝกทรมานเราตรงไหนกเ็ ปน
การฝกทรมานกิเลสตรงนน้ั และในขณะเดยี วกันก็เปน ความทุกขใ นการแกกเิ ลสเชน
เดยี วกนั คือเราตองยอมรับทกุ ข เชน นัง่ มากก็ทุกข เดนิ มากกท็ กุ ข นอนมากกท็ ุกข คือ
นอนพิจารณาเพ่ือแกกิเลสนะ ไมใ ชน อนแบบหมขู ้นึ เขียง เวลากาํ หนดภาวนามนั ทกุ ข
ดว ยกันท้งั นั้น ชอ่ื วา “ประโยคพยายามท่จี ะแกกเิ ลส”แลว มนั เปนความทกุ ขด วยกนั ท้งั
น้ัน ฉะนัน้ จึงไมค วรทอใจออนใจ กเิ ลสจะแขง็ ขอ ตอ สูเอาจะวา ไมบ อก
แมจ ะเปน การอดนอนผอ นอาหาร มันกเ็ ปนเรอ่ื งความทุกขทง้ั นัน้ แหละ แต
เพ่อื ดับเชือ้ ของกิเลสนะ ทุกขก็ตองยอมรับ การขาดตกบกพรอ งในสิ่งใดบรรดาท่ี
อาศยั เปน ความฝดเคอื งกับสง่ิ ใดกย็ อมรับ อะไรจะขาดตกบกพรอ งตองยอมรบั ๆ เมื่อ
เข็มทิศอนั ใหญย ิ่งมุงตออรรถตอ ธรรม คือแดนแหง ความพนทุกขอ ยูแลว อะไรๆ กต็ อ ง
ยอมรบั ตองยอมรับท้ังนน้ั ไมกังวล ไมย อมรับไมได กเิ ลสมันอยกู ับเรา เราไมย อมรบั
ความกระทบกระเทอื น ความทกุ ขความลาํ บากดวยเพราะการแกกิเลส ยอมไมได ตอ ง
ยอมรับ
เอา! ทุกขก ท็ กุ ข ยอมทุกข ลาํ บากก็ยอม ขอใหก เิ ลสมนั คอยหมดไป ๆ เพราะ
กเิ ลสเปนเครื่องกอกวนภายในจติ ใจ จําพวกบอ นทาํ ลายกค็ อื กเิ ลสนแ่ี หละ อยา งภาย
นอกที่เราเห็นนน่ั แหละ ลวนแลว แตกิเลสบงการ เพ่อื ความมักใหญใฝส งู เกนิ มนุษยมนา
เทวดาอินทรพ รหม ไมย อมมองดูตัว เดย๋ี วสไตรคท ี่น่ัน สไตรค ท่นี ี่ เดินขบวนที่นัน่ เดิน
ขบวนที่น่ี กค็ อื พวกบอ นทาํ ลาย ทําลายบา นเมือง ทําลายทน่ี ่ันทาํ ลายทีน่ ี่ ทาํ ลายหลาย
คร้งั หลายหนมนั กแ็ หลกไปเอง นั่น!
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ธรรมะชุด๖เต๔ร๕ีย๙มพร้อม
๖๐
กิเลสมันทาํ ลายเรามนั ทาํ ลายอยา งนนั้ มนั บอ นทตี่ รงนน้ั มนั บอ นท่ตี รงน้ี แตเรา
ไมทราบวามนั บอนทาํ ลายเราซิ เราเลยหลงไปเขาขางมันเสีย แลวก็แย! ตวั เรากเ็ ลยเปน
กองทุกขข้ึนมาโดยไมเห็นโทษของตัว
เพราะฉะนัน้ จงึ ตอ งใชป ญ ญาแยกแยะออก เจตสิกธรรมอันใดเปน ไปเพอื่ ความ
กอทกุ ขความลําบากแกตน ใหระมัดระวังวา เจตสิกธรรมคือความคดิ ประเภททผี่ ดิ
พยายามแกไ ขโดยถูกทาง กจ็ ะมีความสุขเยน็ ใจ ผูเกย่ี วขอ งก็มีความผาสกุ เย็นใจเชน
เดยี วกนั ทงั้ นข้ี ึ้นอยูกับอบุ ายแหง การแกกเิ ลสของแตล ะรายจะขวนขวายใสตน
คาํ วา “กเิ ลส” เราอยา คิดวา มนั อยทู ีไ่ หน กค็ ือความคิดความปรุงน่แี หละ เปน
เครือ่ งมอื ของกิเลสโดยตรง กเิ ลสจรงิ ๆ มีฝง อยูในใจ ฝง อยา งจมมิด ไมทราบวา ใจคือ
อะไร กิเลสคืออะไร เพราะมันเปนอนั เดยี วกนั ในขณะนีม้ นั เปนอันเดยี วกัน มันเปน
อยางนนั้ จรงิ ๆ กระเทอื นใจก็กระเทือนกเิ ลส
เมือ่ แยกแยะกนั ไปโดยลําดับดวยความเพยี รพยายาม เราถึงจะทราบวา กเิ ลส
เปน ชนดิ ใด ใจแทห รือ “จิตแท” เปน อยางไร เพราะอาํ นาจของปญญาเปนเครอ่ื ง
ทดสอบ สตเิ ปน เคร่ืองระลึกรูในวงงานนัน้ ๆ ปญญาเปนผูคลีค่ ลายพจิ ารณาใหท ราบวา
ผิดหรือถูกโดยทางเหตุผล แลวกแ็ กกันไปไดตามลาํ ดับของกเิ ลสทม่ี ปี ระเภทตา งๆ กนั
เราจะทราบวา อนั ไหนเปนเรอ่ื งของกิเลส อันไหนเปน เร่อื งของธรรม ก็คอยทราบไป
เร่ือยๆ โดยภาคปฏบิ ัตจิ ิตตภาวนา แตเรอ่ื งความทุกขเพราะความเพยี ร กย็ อ มมเี ปน
ธรรมดาของการทาํ งาน ไมวาจะเปน ความเพยี รเพ่ือแกกิเลสข้นั ตา่ํ ขน้ั กลาง หรอื ขัน้
ละเอียด เม่อื กิเลสยงั มอี ยู ความทุกขในการฝก ฝนทรมานตนก็ตอ งมีอยูโดยดี ถงึ จะมีก็
ตาม พึงทราบวาการทาํ งานไมว า งานชนิดใด งานเล็กงานใหญตอ งเปนความทุกขตาม
ความหนกั เบาของงาน แตค ุณคา นนั้ สงู สมกบั งาน
ผูห วังพน ทุกขตอ งมคี วามเขม แข็ง ไมเขมแข็งไมไ ด การฉดุ การลากจติ ออกจาก
สง่ิ มัวหมอง ออกจากกเิ ลส ออกจากสิ่งสกปรกโสมมน้ี เปนของทาํ ไดยาก เพราะฉะนน้ั
โลกจงึ ไมอ ยากทาํ กนั สนู อนจมอยูกับกิเลสไมได กจ็ ําเปนตอ งนอน นอนจมอยูน่ันแล
นอนบน อยูน่ันแหละ เฝากองทกุ ข บนทุกขบ น ยาก บน วา ลําบากรําคาญ แตไ มมที างที่
จะแยกทุกขออกจากตัวได แมบนกันกระทั่งวนั ตายกต็ ายไปเปลาๆ ไมไดร บั ประโยชน
อะไร ฉะนนั้ การมแี ตบ นใหท กุ ขและระบายทกุ ขอ อกดวยการบน จงึ ไมเกิดผลอะไร แตก ็
จาํ เปน ตองระบายตามนสิ ัยที่เคยบน กนั แกไ มตก ไดร ะบายใหใ ครฟง นิดหนงึ่ ก็ยังคดิ วา
ไดเ ปล้ืองทุกขบาง ทั้งทท่ี กุ ขย งั มีอยูอยางเดมิ เพราะนน่ั ไมใชการแกทกุ ข! ถา ไมแ ก
กเิ ลสซง่ึ เปน ตวั กอทุกขใ หเบาบางและสนิ้ ไป! การบน เพื่อระบายทกุ ข เปนการเพ่มิ พนู
กเิ ลสขน้ึ เสยี อกี ไมใชอ ุบายแกทกุ ข!
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ภาค ๑ “เร๖า๖๕๐กับ กเิ ลส’’
๖๑
ถา เดนิ ทางสติปญ ญาโดยจติ ตภาวนา ใครค รวญไตรต รอง กม็ ที างแกกิเลสและ
กองทุกขไดด ังทา นพาดาํ เนินมาแลว มพี ระพุทธเจา และพระสาวกเปน ตวั อยาง ทานแก
กเิ ลสกองทกุ ขดวยวธิ ปี ฏบิ ัตติ อ จิตใจ
ศาสนาในครั้งพทุ ธกาลทา นปฏบิ ัตแิ ละสอนอยางน้ี ทา นสอนเขา ในวงจติ โดย
เฉพาะ การแสดงออกทางกายทางวาจานั้น เปนกิริยาที่สอ ออกมาจากใจ เมื่อใจไดร ับ
การอบรมดีแลว อันไหนถูกอนั ไหนผิดใจยอมทราบเอง
ขอสาํ คญั ใหจติ ไดร บั ธรรมคอื เหตผุ ลเขา สดู วงใจ ทุกสงิ่ ทกุ อยา งแสดงออกจะ
เปนดว ยเหตดุ ว ยผลและเปนความราบรนื่ ดงี าม การแกกิเลสถา ไมมีเหตผุ ลเปน เคร่ือง
มอื แก เชน โกรธใคร ก็พึงยอนจติ เขามาดตู วั ผูกําลงั โกรธอันเปน ตนเหตุไมดี เปนตน
คนเรายอมจะเห็นโทษของตัว ความโกรธก็ระงับไป ไมใ ชไปเพง เล็งผูถ กู โกรธ ซึง่ เปน
การเพิ่มพูนกิเลสและกองทุกขใ หแ กตวั มากข้ึน
อา นคัมภรี ไหนก็วาแตเ รื่องกิเลส เราเลยเขา ใจวากิเลสไปอยใู นคมั ภรี น ัน้ ๆ เสยี
น่ันซีมันผดิ นะ อันหนึ่งความโลภ ความโกรธ ความหลง หรอื กเิ ลสพันหาตัณหารอ ย
แปด อะไรทาํ นองน้ี เขาใจวามนั อยูในคัมภรี การอา นชือ่ กิเลสไดม ากๆ เรียนจําได
มากๆ กว็ า ตวั นีร้ แู หลมหลกั นกั ปราชญช าติกวีไปเสีย แนะ มนั ผดิ ไปแลว น่ัน มนั ผดิ
จากหลกั ธรรมและเจตนาของพระพทุ ธเจา ที่ทรงสัง่ สอนเพ่ือแกก เิ ลสซ่งึ มอี ยกู ับตัว
คอื อยกู บั ใจ การเขา ใจดงั ทว่ี า นน้ั มนั เปน การสง่ั สมกเิ ลสโดยไมรูส ึกตวั เลย เชนสาํ คญั
วากเิ ลสอยใู นคมั ภีร ไปจาํ ชือ่ กิเลสน้นั แลว กว็ าตัวรตู วั เขา ใจตัวฉลาดเสีย แนะ!ทั้งๆ ท่ี
ไมไดใ หใจแตะตองหรือเขยาพอใหกิเลสตกใจบา งสกั ตัวเดยี ว หรือพอใหม ันหนังถลอก
ไปบาง กเิ ลสยังอยูเตม็ หวั ใจ และมากกวา ทีย่ ังไมไดเ รียนช่ือของมนั เสียอกี ท้ังน้ีมันผิด
พระประสงคข องพระพุทธเจา !
เพอ่ื ถูกตามความเปน ไปของธรรม หรือนโยบายของพระพทุ ธเจา กเิ ลสตวั ใดก็
ตาม เรียนรูชือ่ มนั อยูในคัมภีรใ ดกต็ าม นั่นเปน ชือ่ ของมนั แตกเิ ลสอยภู ายในใจคน หวั
ใจสตั ว ความโลภช่ือมนั อยใู นคมั ภรี ตัวโลภอยใู นใจคน ความโกรธในคมั ภรี ไ มไดโกรธ
แตห ัวใจคนมันโกรธตางหาก ความลมุ หลงคมั ภีรไมไ ดลุมหลง ชอ่ื ของกเิ ลสไมไ ดล มุ
หลง ตวั กเิ ลสทอ่ี ยภู ายในตวั ของเรานเ้ี อง เปน ตัวใหล มุ หลงตางหาก
การแกก เิ ลสจงึ ตอ งแกทน่ี ่คี อื ใจ แกท อ่ี นื่ ไมถ ูกไมเกดิ ผล การแกถ กู หลกั ถกู วธิ ี
กิเลสจะคอ ยเบาบางลงและหมดไปจากใจ ผูป ฏบิ ัตจิ ิตตภาวนาจึงควรดใู จตัวเองและ
แกก เิ ลสทีใ่ จเปน สําคัญ ดูภายนอกแลว กย็ อนทบทวนเขาดูภายในจึงชอื่ วา “เรยี นธรรม
ปฏบิ ตั ธิ รรม” อยาดแู บบโลกๆ ท่ีดไู ปรกั ไปชังไปเกลียดไปโกรธ อันเปนการสง่ั สมกเิ ลส
ใหมากมูนจนลมื เน้ือลมื ตัว
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ธรรมะชดุ ๖เต๖๖ร๑ียมพรอ้ ม
๖๒
ถา ดเู ขามาในตัวดูออกไปขา งนอก เทียบเคียงเหตุเทียบเคียงผลเพื่อหาทางแก
ยอ มมสี วนท่ีจะลงกันและแกกิเลสไดเ ปน พกั ๆ ไป ใจก็สบายและเบา ไมหนกั อ้ึงดว ย
การแบกการหามกเิ ลสทั้งโคตรแซปยู าตาทวดดังทีเ่ คยแบกหามมา วันหนึ่ง ๆ ให
พิจารณาทบทวนมากๆ ทบทวนเรอื่ งของตัว พจิ ารณาเรือ่ งของตัวใหมาก ดวยสติ
ปญ ญาพจิ ารณายอ นหนายอ นหลังเพือ่ รูความจรงิ เพราะวันเวลาหน่ึงๆ ใจผลติ ความยงุ
เหยิงวนุ วายขน้ึ มาภายในตัวไมไดห ยดุ ถาเราเผลอ แมแตไ มเ ผลอกิเลสมนั ยงั โผลออก
มาไดซ่งึ ๆ หนาอยางกลาหาญตามสนั ดานทหี่ ยาบคายของมัน บางทมี ันยงั แสดงลวด
ลายออกมาตอ หนาตอ ตาแกมันไมไ ดก ็มี เพราะกาํ ลังของเราไมเ พียงพอ ขณะนน้ั จาํ ตอ ง
ยอมไปกอ น อันไหนอยูใ นวสิ ยั ก็พยายามแกม ันไป
นแ่ี หละการแกก ิเลส ทที่ านดาํ เนนิ มา ทานไมท อถอยและยอมมนั เอางายๆ จะ
ทกุ ขย ากลําบากกท็ นเอา เพราะเปน งานของตัวโดยเฉพาะ คนอ่ืนชวยไมได ท้งั นก้ี เ็ พอ่ื
ร้อื สงิ่ ทเี่ ปน เส้ียนหนามอยูภ ายในใจออกน่นั แล เพราะข้นึ ชอื่ วา “กเิ ลส” แลว มันเปน
เส้ียนหนามทมิ่ แทงจติ ใจทั้งนนั้ แหละ จงพยายามถอดถอนออกไปโดยลาํ ดับ จนไมม ี
อะไรทิ่มแทงใจตอไป และเปน ใจที่ “สมบูรณแบบแท”
ประการสาํ คัญกค็ อื ชีวติ จิตใจมันหมดไปทุกวนั ๆ เมอ่ื วานนกี้ ห็ มดไปแลววนั
หนึง่ มนั มีแตห มดไปเรอื่ ยๆ หมดจนกระทัง่ ไมม เี หลอื ชวี ิตสังขารผา นไปเรอ่ื ยๆ จนไม
มีอะไรเหลอื ติดตวั เมื่อไมม ลี มหายใจเหลือติดตัวแลว เขาเรียกวา “คนตาย” กันท้งั น้นั
คนตายสัตวตายท่ไี มมกี ศุ ลผลบญุ ตดิ เน้ือติดตัว ยง่ิ เปนความทกุ ขอยา งหาท่ปี ลง
วางไมไ ด ฉะนัน้ จึงตองรบี เรงขวนขวายกอสรางคณุ งามความดซี ึ่งจะไมสญู หายไปไหน
เสียแตบ ัดนี้ ความดนี จ้ี ะติดแนบกับใจไปในภพหนา ไมล ดละปลอยวางเจา ของผู
บําเพญ็ การสรางคณุ งามความดที านเรียกวา “สรา งวาสนาบารม”ี
“วาสนา” กค็ อื ธรรมเครอ่ื งอยูน น่ั เองจะเปนอะไรไป คือธรรมเครอ่ื งอยูเครอ่ื ง
อาศยั เครือ่ งพ่งึ พงิ เครอ่ื งสงเสริมจิตใจ เหมอื นคนมบี า นมีเรอื นเปน ที่อยอู าศยั ยอม
สบาย ถาไมมีก็ลําบาก บา นเมืองเขามที ่ีอยทู ี่อาศยั แตเ ราไมมี ซ่งึ เราไมใ ชกระจอน
กระแต ไมใ ชส ัตว จงึ ไมส มควรอยางยงิ่ แมแตสตั วเขายังมรี วงรงั มนษุ ยเราไมมบี านมี
เรือนอยูไดเหรอ? มนั ลาํ บากแคไ หน จิตใจไมมหี ลักมีเกณฑ ไมม ีเหตุมผี ล ไมม ที พ่ี ง่ึ พงิ
อาศยั ไมมที เี่ กาะทีย่ ึดเหน่ยี ว อยูโ ดยลาํ พงั ไมมีสรณะ จะเปน ทกุ ขเ พยี งไร ลองวาดภาพ
ดูกไ็ ด ภาพของคนทกุ ขเปน อยา งไร
เราเคยเหน็ ทัง้ คนและสัตวเปน ทุกขทรมานจนตายตอ หนาตอ ตากเ็ คยเหน็ มันนา
ยนิ ดีเมอ่ื ไหร! เม่อื มบี ารมธี รรมก็พอมคี วามรม เย็นเปนสขุ ภายในใจบาง ยงั ดกี วามแี ต
ทกุ ขลว นๆ อนั เปนไฟท้งั กองบนรางกายและจติ ใจเปนไหนๆ เฉพาะอยางยง่ิ ใหส รางสติ
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ภาค ๑ “เร๖า๗๖กบั๒กิเลส’’
๖๓
ปญ ญาขึน้ ใหม าก แกก ิเลสในปจจุบนั นนั่ แหละ ใหเ ห็นชดั ๆ กบั ใจ แกไปไดมากนอยกร็ ู
เอง กิเลสมันเตม็ อยูท่ีในจิตนีแ้ หละไมเ คยบกพรอ งเลย แมโ ลกจะพากนั บน วา สิง่ น้ีบก
พรอ งสิง่ น้ันบกพรอง หรือวาโลกบกพรอง มันวงิ่ ออกทาง “ขนั ธ” และทาง
“อายตนะ” คือทางตา ทางหู ทางจมกู ทางลน้ิ ทางกาย ทางใจ อยตู ลอดเวลา ไมเคย
บกพรองกับใครถาไมทําลายมนั
แมเวทนาจะเกิดขึ้น มนั กไ็ มเกิดเฉพาะเวทนาเทา น้ัน กิเลสมันเกดิ ดวยถาสตไิ ม
มี ทาํ ใหเ กิดความเดือดรอ นเสียใจ เพราะเปนทกุ ขที่นัน่ เจบ็ ปวดท่ีนี่ ความเสยี ใจนน้ั เกดิ
ขน้ึ จากความหลงขนั ธห ลงอายตนะวา เปนตนเปนของตน กเิ ลสจงึ เกิดขึ้นตรงน้ี ความ
ทกุ ขทางใจจงึ เกิดขึน้ ได เชนเกดิ ความกระวนกระวายภายในใจวา ทุกขเ กิดขน้ึ ทนี่ น่ั ที่น่ี
บา ง กลัวทกุ ขจ ะไมห ายบาง กลวั ตนจะตายบา ง เหลานม้ี แี ตเร่อื งสง เสริมกเิ ลสใหเ กดิ ข้นึ
ซา้ํ เตมิ เจา ของ เพราะความโงเ ขลาเบาปญญาตามไมทันมนั นน่ั แล!
ถาจะเปน ศษิ ยพระตถาคตจรงิ ไมเปนศิษยป ลอมละก็ตายซ!ี้ เราเรยี นความรู
เรยี นเพื่ออะไร ก็เพอ่ื ความรอบรูในส่งิ เหลา น้ีเอง เปน ก็เปนมาแลวตั้งแตวนั เกิดจน
กระทงั่ บดั นี้ ทราบทกุ ระยะอยแู ลว เวลาตายทาํ ไมจะไมทราบ เพราะอยใู นอวัยวะอนั
เดียวกัน เอา ตายเดีย๋ วน้ีก็ใหท ราบกันเด๋ยี วน้ีซิ จิตไมเคยอาภพั ความรแู ตไหนแตไรมา
เรื่องความเปน ความตายเปนเรอ่ื งของธาตขุ นั ธ การรูความเปนความตายของตวั
เองเปนหลกั วิชา คอื สตปิ ญ ญาทางพทุ ธศาสนา เมอื่ รแู ลว ตวั เองก็ไมเ สียทาเสียทไี ปกับ
สิง่ ที่เกดิ ขึน้ ดับไป มีเวทนาเปนตน หรือรา งกายทป่ี รากฏขนึ้ แลว สลายตวั ลงไป จติ ใจมี
ความมนั่ คงไมหวั่นไหวโยกคลอนไปตาม จติ มหี ลกั เกณฑเปน ทอี่ ยูอาศยั มคี วามมน่ั คง
ภายในตวั เอง ไมวุนวายไปกบั ธาตขุ นั ธท่ีมันจะสลายตัวไป ทกี่ ิเลสมันแทรกขน้ึ ไดนั้น
เพราะความสาํ คญั มน่ั หมายของจิตเปน ตน เหตุ วา ความทกุ ขท นี่ น่ั ความเจบ็ ปวดทนี่ ่ี
กายเราทุกขต รงนน้ั ขาเราเจ็บตรงนี้ ศรี ษะเราปวดขา งน้นั ทองเราเดนิ ไมห ยุด กลัวจะ
ไมห าย กลัวจะตาย กลวั จะตายวนั นนั้ กลวั จะตายวนั น้ี หาเรอ่ื งคิดไปไมม เี วลาจบส้นิ
ท้ังนม้ี แี ตเ รอ่ื งกอความทุกขความลําบากใหแ กรา งกายและจติ ใจ รับภาระหนกั ซ้าํ เขาไป
อกี ดไี มด โี รคเสยี ใจเมอ่ื เกิดมากขึน้ กท็ าํ ใหต ายเรว็ กวาทค่ี วรจะเปน จึงไมใ ชข องดี ไม
ใชเร่ืองแกก ิเลสใหระงบั หรอื สนิ้ ไป แตเ ปนเรอ่ื งสง เสรมิ กิเลสใหซ ํา้ เตมิ ทั้งรางกายและ
จิตใจใหหนักเขาโดยลําดับ จึงควรคาํ นงึ ใหมากในเวลาไมส บาย
การแกกิเลสคืออยางไร? เอา! อะไรเกิดข้ึนก็ใหร ูเรือ่ งความเกดิ ขน้ึ ของสง่ิ นัน้
เจบ็ ก็ใหท ราบวามันเจบ็ ขนาดไหน จะรใู หถ งึ ความจรงิ ขนาดนัน้ เรอ่ื งของความเจบ็ เปน
อันหนง่ึ ตา งหาก ผูรเู จบ็ เปน อันหน่งึ ตา งหาก ไมใ ชอ ันเดยี วกนั น้ี จะตายก็ใหท ราบถงึ
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ธรรมะชดุ ๖เต๘๖ร๓ียมพร้อม
๖๔
ขณะตาย อนั ไหนตายก็ใหมันตายไป ผูไมตายคือผูรู ก็ใหร วู าไมตาย เพราะผทู ีร่ ไู มได
ตายไมมีปาชา เปน “อมตํ” (อะมะตัง)
อมตํ ก็หมายถงึ จติ น้เี อง แมมีกเิ ลสอยูใ จกเ็ ปน “อมต”ํ ของมนั กเิ ลสสน้ิ ไป
แลวก็เปน อมตํ แตเ ปน “อมตํ” ที่ตางกนั เทา นน้ั เอง อมตํอันหนึ่งเปน อมตํวฏั ฏะ คือ
ตัวหมนุ เวียนอยา งนัน้ เร่ือยๆไป อมตอํ กี อนั หน่ึงไมเกิดตอ ไปอีกและไมตายดวย นีเ่ ปน
อมตํของความบริสทุ ธิแ์ หง ใจ มอี ยสู องอยา งจงเรยี นใหร ู อันใดทมี่ าเกย่ี วขอ งมาทาํ ลาย
จิตใจ ใหท ราบวา อนั น้ันคือขา ศกึ ใหร ีบแกไ ขทันที
นีแ่ หละเรียนธรรม คือเรียนเร่อื งธาตเุ รื่องขนั ธ เรอื่ งอายตนะ สาํ คญั ท่ีสดุ ก็คือ
ขันธ ระหวา งขันธก บั จิตน่ี มันกระทบกระเทือนกนั อยทู ง้ั วันทง้ั คนื ยนื เดินนง่ั นอน หรือ
ทุกอริ ิยาบถ มนั กระทบกระเทอื นกันอยูเสมอไมเคยมีเวลาสงบตวั เลย
ถา มีสตปิ ญญา สง่ิ เหลานนั้ กเ็ ปนหนิ ลับอยูเ สมอ ความกระเทอื นทง้ั นเ้ี ปน หนิ ลบั
ปญญา คอื เปน เครอื่ งปลกุ สติปญ ญาใหต่นื ทันกับเหตุการณ และใหรรู อบขอบชิดตอส่งิ
นนั้ ๆ ส่ิงเหลา นนั้ ก็ไมซึมซาบเขาภายในและปลอ ยยาพษิ เขาไปในใจได ใจก็ไมเ ดือด
รอนกระวนกระวาย
เอา! ถงึ วาระจะตายกต็ ายไปอยา ง “สุคโต” เพราะความรรู อบคอบแลว ความ
จรงิ กเ็ ปนอยางน้นั เรียนธรรมปฏบิ ัตธิ รรมทําอยางนแี้ หละ กเิ ลสทง้ั หลายถึงจะกลัวและ
ลา ถอย ไมต ัง้ หนาย่าํ ยจี ิตใจดังที่เคยเปนมา
กิเลสกค็ ือความสาํ คญั มน่ั หมายตา งๆ นแ่ี หละ ซ่งึ เกิดขน้ึ จากจติ ดวงเดียว แกให
ทนั กับเหตกุ ารณทป่ี รากฏข้นึ ย่ิงเวลาจนตรอกเขา จริงๆ เวทนามมี ากเทาไหร จะโหมตวั
เขามาอยางเตม็ ทเ่ี วลาน้ัน แตพ ึงทราบวา “นน่ั ตวั เวทนา” อยา เขาใจวาเวทนาเปนตน
สาํ คัญมาก!
จงพิจารณาใหเ หน็ ความจริงของเวทนา แมท ุกขม ากนอ ยเพียงไรกใ็ หรู เอาจติ
กําหนดอยูตรงนั้น พจิ ารณาอยตู รงน้ัน จนรูความจรงิ ของเวทนา จิตเปนธรรมชาตริ ู
เวทนาเปน สงิ่ ทีแ่ สดงขนึ้ เกิดขึ้นแลวดบั ไปตามธรรมชาติของมนั เอง ผทู ร่ี ูใหร ูเ วลา
เวทนาเกดิ และดับ ถาจะตายก็ใหรวู า มันตาย อะไรมนั ตายกใ็ หรู สง่ิ ทไี่ มตายกอ็ ยู คือผูรู
น!่ี
ใหท นั กันอยูทุกเวลา แลวกไ็ มว ติ กกังวล การเปนการตายเปนเรื่อง ธรรมดา
ธรรมดา! ถาทราบตามหลักธรรมชาติแลว จะไมมีปญหากับเรื่องการเปนการตายอะไร
เลย การจะกอ ปญหาขนึ้ มา กค็ ือกิเลสเปน ผูส รางปญหาขึน้ มา แลวกม็ าพัวพนั จิตใจให
เกิดความเดือดรอนวุนวายไปดว ย
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ภาค ๑ “เร๖า๙๖ก๔ับ กเิ ลส’’
๖๕
ทั้งๆ ที่ยงั ไมตายก็เดือดรอนแลว กลวั ตาย แนะ ! เวลาจะตายจริงๆ ยิ่งเดือด
รอนใหญ ซงึ่ ไมเ กดิ ประโยชนอ ะไร มแี ตความทกุ ขเ ตม็ ตัว ตายแลวก็เสียทา เสยี ทเี พราะ
ความรอนเปน เหตุอีกนนั่ แหละ เพราะเหตุน้นั จงึ ตอ งแกความเดอื ดรอน ดวยความรู
ความเขา ใจในธาตุในขนั ธในอวยั วะตางๆ ซึง่ อยูในกองขันธก องสมมตุ ทิ ั้งมวล
เราอาศัยกองสมมุตินี้ จะใหก องสมมตุ นิ ้ีเปนตวั เราไดอ ยา งไร? มนั ก็ตอ งเปน
เร่อื งของเขาอยูน่นั เอง ธาตุก็เปนธาตุ ขนั ธก เ็ ปน ขนั ธ ดินเปน ดนิ น้าํ เปนนา้ํ ลมเปน ลม
ไฟเปนไฟ จะใหม าเปน “เรา” มนั เปน ไมได จะใหตัง้ อยยู นื นานถาวรตามทค่ี วามคาด
หมายความสาํ คญั แหง ใจ ก็เปน ไปไมได เพราะหลักธรรมชาตขิ องมันเปน อยางนัน้ มา
ดั้งเดิม ผูเ รียนวิชาธรรมะจึงตอ งเรยี นใหร ตู ามหลักธรรมชาติ แลว อยตู ามหลกั ธรรมชาติ
ตา งอนั ตา งจรงิ ก็สบาย ไมม อี ะไรมากอกวน นแี่ หละช่ือวา “เรียนธรรม” ชอ่ื วา
“แกก ิเลส” ปฏิบตั เิ พ่อื แกก ิเลส แกอ ยา งน้ี
ถึงเวลาเรงตองเรงเตม็ ที่ เปน กับตายไมถือเปน ภาระความกงั วล เพราะเพื่อ
ความรูค วามหลุดพนอยา งเดียว อะไรอน่ื ๆ ไมเกีย่ ว จนรเู ทาและปลอยวางไวตามสภาพ
ของสิ่งทัง้ ปวง
ความดเี หลา น้ีแหละ จะเปน เครอ่ื งสนบั สนนุ จติ ใหพ น จากโลกได พนดว ยอํานาจ
แหง ความดนี แ้ี ล
นีห่ ลักศาสนาสว นใหญท า นสอนลงทนี่ ่ี แตเ ราอยา พากันเดินจงกรมแตพอเปน
พิธีก็แลวกนั การทาํ พอเปน พธิ นี ้นั คอื น่งั ก็สกั แตว า นงั่ สติสตังไมม ีเลย นง่ั สัปหงกงกงนั
แลว หลบั ครอกๆ อยกู ับทา นั่ง นน่ั แหละมนั พิธีอะไรไมรลู ะ พิธบี านะ !จะวายังไง? ผู
เปนคนดฟี งเอง!
เดนิ จงกรมกเ็ ดิน เดินไปยังงน้ั แหละ สติสตงั ไมทราบไปอยไู หน แลว กม็ านบั
คะแนนเอาเองวา “วนั น้ีเราเดินจงกรมไดเทา น้ันนาทเี ทา นนี้ าที ดใี จ!” ดใี จกับลมกับ
แลงไป ไมไดเรื่องอะไรเลย!
พระพุทธเจา พระอรหนั ต ตลอดครูอาจารย ทา นเบอื่ เจาพิธีแทบจะอยูก บั โลก
พิธีไมได ไมไ ดคดิ บางหรอื วา กเิ ลสมนั ไมใ ชเ จา พธิ เี หมอื นพวกเรานน่ี า มันคอื ตวั
เหยียบยาํ่ ทาํ ลายผเู ปนเจาพิธีโดยตรง ฉะนั้นตอ งแกม นั ลงทใี่ จนนั้ แกท ต่ี รงนั้น โดยถกู
ทางแลวดวยสติปญ ญาอันแหลมคม อยูไหนกเ็ ปนความเพยี ร น่ังอยูกเ็ ปนความเพยี ร
ถา มีสติปญญารักษาจติ ใจอยูโดยสมํ่าเสมอ อริ ยิ าบถทง้ั สเ่ี ปนความเพียรดว ยกันทงั้ ส้นิ
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ธรรมะชุด๗เต๐ร๖ยี ๕มพร้อม
๖๖
เอา! ใหม คี วามเพียรกนั จรงิ ๆ จังๆ นะ น่แี หละเรยี กวา “เดนิ ทางศาสนาแบบ
ศาสดา” เดนิ ตามแนวทางของผแู กกิเลส เราจะสิ้นกิเลสดว ยแบบนี้ สนิ้ ในลกั ษณะนี้ ไม
ส้ินในแบบอนื่ ลกั ษณะอื่น
พระพุทธเจา ทานสิ้นไปเพราะเหตุน้ี สาวกทานสน้ิ ไปดวยอบุ ายวธิ นี ้ี ดวยปฏิปทา
อนั น้ี กเิ ลสมปี ระเภทเดยี วกัน การดาํ เนนิ แบบเดยี วกนั กิเลสจะตอ งหลดุ ลอยไปโดย
ลาํ ดบั ๆ เชนเดยี วกัน และถึงความพน ทกุ ขเชน เดยี วกัน จงึ ขอใหเ ปน ทล่ี งใจในการ
ปฏิบัติของตน
ขอยุติเพียงเทา น้ี
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ภาค ๑ “เร๗า๑๖ก๖ับ กเิ ลส’’
๖๗
ปลกุ ใจสู้กิเลสเทศนโปรดคณุ เพาพงา วรรธนะกุล ณ วดั ปา บา นตาด
เม่ือวันท่ี ๒ กมุ ภาพนั ธเท พศนุท์โธปศรดกั ครณุาชเพ๒าพ๕ง๑า๙วรรธนะกุล ณ วดั ป่าบา้ นตาด
ปลกุ ใจสกู เิ ลส เมือ่ วนั ที่ ๒ กุมภาพันธ์ พุทธศกั ราช ๒๕๑๙
ความสขุ กด็ ี ความทกุ ขก็ดี ไมม ีอะไรจะสขุ หรือทุกขย ่งิ กวาใจ ความสกปรกกด็ ี
ความสะอาดกด็ ี ไมม ีอะไรจะสกปรกและสะอาดยง่ิ กวาจติ ใจ ความโงก ็ดี ความฉลาดกด็ ี
กค็ อื ใจ ทา นสอนไวว า “มโน ปุพพฺ งฺคมา ธมมฺ า มโนเสฏฐ า มโนมยา” ส่ิงท้งั หลาย
สาํ คญั อยทู ี่ใจ สาํ เร็จแลวดว ยใจ
ศาสนากส็ อนลงทใ่ี จ ศาสนาออกกอ็ อกจากใจ รูกร็ ทู ใี่ จ พระพุทธเจารูกร็ ูทใี่ จ นํา
ออกจากใจน้ีไปสอนโลก ก็สอนลงทใ่ี จของสตั วโลก ไมไ ดสอนท่ีอ่ืนใดเลย
ในโลกธาตนุ ้จี ะกวา งแคบขนาดไหนไมสําคัญ ธรรมมีจุดหมายลงท่ีใจแหง เดียว
ใจทคี่ วรกบั ธรรมอยูแลว กเ็ ขา ถึงกันไดโ ดยลาํ ดับ ทีท่ า นวา “มอี ปุ นสิ ยั ” นน้ั หมายถงึ ผู
ควรอยแู ลว เหน็ ไดอยา งชดั เจน ผูม นี สิ ัยสูงตํ่าตางกนั อยางไรพระองคท รงทราบ เชน ผู
มอี ุปนิสยั ทีจ่ ะสามารถบรรลถุ ึงท่ีสดุ แหงธรรม ควรจะเสด็จไปโปรดกอนใครๆ เพราะ
เกย่ี วกบั ชวี ติ อันตรายทจี่ ะมาถงึ ผูน น้ั ในกาลขา งหนา เรว็ กวาธรรมดาทคี่ วรจะเปน ก็รีบ
เสด็จไปโปรดคนนน้ั กอน ทท่ี านวา “ทรงเลง็ ญาณดูสัตวโลก” ผทู ่มี าเกยี่ วขอ งกับ “ตา
ขาย” คือพระญาณของพระองค
คาํ วา “เล็งญาณดูสัตวโลก” น้นั ทา นเลง็ ญาณดูจติ ใจนน่ั เอง ทานไมไดเล็ง
ญาณดูตนไมภูเขา ดนิ ฟา อากาศ ซงึ่ เปน วตั ถุหยาบๆ และใหญโตยิ่งกวา คนและสตั ว แต
เมือ่ เก่ยี วกับธรรมแลว ใจเปน สิง่ ทีใ่ หญโ ตมากกวา สง่ิ ใดในโลก และเหมาะสมกบั ธรรม
อยางยิ่ง การเล็งญาณก็ตอ งเลง็ ดทู ่ใี จ การสั่งสอนกต็ อ งสง่ั สอนลงท่ใี จ ใหใจรูแ ละเขา ใจ
สงิ่ ตา งๆ ซ่งึ มอี ยูกบั ใจเอง
สําหรบั เจาของไมส ามารถทจี่ ะรไู ดว า อะไรผิดอะไรถูก การแกไขจะแกดว ยวิธีใด
กไ็ มท ราบทางแกไ ข วธิ แี กไขพระองคก ็สอน ไมใชสง่ิ ทนี่ ํามาสอนน้นั ไมมีอยูก ับจิตใจ
ของสัตวโ ลก เปน สง่ิ ที่มอี ยดู ว ยกนั เปนแตเ พียงผูน้นั ยังไมท ราบ ถกู ปด บังหมุ หออยู
ดว ยสงิ่ สกปรกทงั้ หลาย ดงั ท่กี ลา วมาแลว ขา งตนวา ไมมอี ะไรท่ีจะสกปรกย่ิงกวาใจ และ
สกปรกไมม ีวันสะอาดเลยถาไมช าํ ระซกั ฟอกดว ยการบาํ เพญ็ ธรรม รางกายเราสกปรก
ยังมวี ันชะวนั ลางใหสะอาดได เสอ้ื ผา กางเกงสถานทีส่ กปรก ยงั มีการชาํ ระซักฟอกเช็ดถู
ลางใหสะอาดสะอา นไดต ามกาลเวลา
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ภาค ๑ “เร๗า๓กับ กเิ ลส’’
๖๗
๖๘
แตจ ิตใจทส่ี กปรกโดยท่ีเจาของไมไ ดสนใจนัน้ นะ มนั สกปรกมาต้ังแตเมอ่ื ไหร
และสกปรกไปตลอดกาลตั้งแตว ันเกดิ จนกระทงั่ วันตาย ภพน้ีถงึ ภพนั้น ภพไหนกภ็ พ
ไหน มีแตเ รือ่ งสกปรกพาใหเปนไป พาใหเ กิดพาใหต ายเรื่อยๆ ไปอยา งนั้น หาเวลา
สะอาดไมได ทานเรียกวา “ใจสกปรก” สง่ิ ทส่ี กปรกมนั จะพาไปดีไดอ ยางไร? อยกู อ็ ยู
กบั ความสกปรก ไมใ ชข องดี ผลแหงความสกปรกกค็ ือความทกุ ขค วามลําบาก คติท่ีไป
กล็ าํ บาก สถานทอ่ี ยกู ล็ าํ บาก กาํ เนิดทเ่ี กิดกล็ าํ บาก มแี ตของลาํ บาก ลําบากหมดเพราะ
ความสกปรกของใจ จึงไมใ ชเปนของดี ควรจะเห็นโทษของใจที่สกปรก ไมมีสิง่ ใดทีน่ า
สะอดิ สะเอยี นยิ่งกวาใจทส่ี กปรก อยา งอนื่ ทส่ี กปรกไมค อยไดม คี รูมอี าจารยสอนกนั
เหมอื นใจสกปรก
สวนจติ ใจท่ีสกปรกนี้ ตองหาผสู าํ คญั มาสอนจึงจะสอนได ใครจะมาสอนเร่ือง
การซกั ฟอกจติ ใจทสี่ กปรกนใ้ี หส ะอาดสะอา นไมไ ด นอกจากธรรมของพระพทุ ธเจา
แตละพระองคที่ทรงรูทรงเห็น และทรงสละเปน สละตายในการบําเพญ็ เพื่อรูทั้งพระ
ทัยของพระองคเองตลอดถึงวธิ ีแกไข แลว กน็ าํ มาสง่ั สอนโลกไดถ กู ตอ ง ตามวธิ ที ี่พระ
องคทรงบําเพ็ญและไดท รงเห็นผลน้นั มาแลว ใจจงึ ตองมีครูอาจารยสอนอยา งนี้
ความทุกขม ันก็เปน ผลมาจากสิ่งที่สกปรกนั้นเอง ออกมาจากความโง โงต อตวั
เองแลว ก็โงตอ สิ่งตางๆ ไปเรอ่ื ยๆ ตัวเองโงอยแู ลว สิ่งที่มาเก่ียวขอ งกไ็ มทราบวาอะไร
ถกู อะไรผดิ แมไ มช อบใจก็ตอ งไดย ดึ ตองไดค วา คนเราจึงตองมีทุกขทั้งๆ ทไ่ี มตองการ
กนั เลย แตทําไมจงึ ตอ งเจอกนั อยทู กุ แหงทุกหนทุกเวล่ําเวลา ทุกสัตวท กุ บคุ คล กเ็ พราะ
ไมสามารถทีจ่ ะหลบหลีกปลีกตัวออกได ดว ยอุบายตา งๆ แหง ความฉลาดของตน นัน้
แลจงึ ตอ งอาศยั คําส่ังสอนของพระพทุ ธเจา ไดรับการซักฟอกดวยความดที ้ังหลายเปน
ลาํ ดบั ๆ มา
ทานกเ็ ปน การซกั ฟอกกเิ ลสประเภทหนงึ่ ศลี กเ็ ปน การซกั ฟอกกิเลสประเภท
หน่งึ ภาวนากเ็ ปน การซกั ฟอกกิเลสประเภทตางๆ รวมตวั เขา มาอยใู นองคภ าวนาน!ี่
ลว นแตเปน “นาํ้ สะอาด” ทซ่ี กั ฟอกส่ิงสกปรกซึง่ รกรงุ รงั อยภู ายในจิตใจของสัตวโ ลกนี้
แล
อบุ ายวธิ ีตางๆ พระพทุ ธเจาจงึ ไดส อนกันมาเปน ลําดบั ลําดา องคน ้ีผา นไปแลว
องคน ัน้ ก็มาตรสั รู ตรัสรกู ต็ รสั รูในธรรมอนั เดียวกนั ความจรงิ อันเดียวกัน เพอ่ื จะแก
กเิ ลสตัณหาอาสวะของสัตวโลกอยา งเดยี วกนั เพราะฉะนั้นโอวาทของพระพุทธเจาทั้ง
หลายจึงเหมอื นๆ กนั
น่เี รานับวาเปน ผูม ีวาสนา ไดเ ปนผใู ครต อ ศลี ตอ ธรรม ซึ่งเปน “นาํ้ ท่สี ะอาดท่ี
สุด” สําหรับชะลา งสิง่ ทส่ี กปรกท่ีมอี ยภู ายในใจของตน คนท่ีไมม ีความสนใจกบั ธรรม
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ธรรมะชดุ ๗เต๔๖ร๘ียมพร้อม
๖๙
ไมเชื่อธรรมและไมเชื่อศาสนา เหลานม้ี จี ํานวนมากมาย เราไมไดเขากบั คนประเภทน้นั
กน็ บั วา “เปนวาสนาอยางย่ิง”
แมคนดีมีธรรมในใจจะมีจํานวนนอ ย ก็มีเราคนหน่ึงทีม่ สี วนอยดู ว ย สําหรับผทู ี่
ใครตออรรถตอธรรม มคี วามเช่อื ความเลอื่ มใสพระโอวาทของพระพุทธเจาทที่ รงส่งั
สอนไว นบั วา เปนผูท ีม่ ีวาสนา นแี่ หละวาสนาของเรา! คอื อนั นเี้ องเปน พนื้ ฐานทจ่ี ะให
เราไดบําเพ็ญความดีสบื เนื่องกันเปน ลาํ ดบั มา เปนความเจริญรุงเรือง จิตใจกจ็ ะไดมี
ความสะอาดสะอา นขนึ้ เมือ่ จติ ใจมีความสะอาดขึน้ โดยลําดบั ความสุขกป็ รากฏขึน้ เปน
เงาตามตัว ความเพลนิ อันใดจะเหมือนความเพลนิ ของใจ ท่ีรืน่ เริงไปดวยอรรถดวย
ธรรม มีความรักใครใ ฝใจในธรรม การประพฤติปฏบิ ัติกเ็ ปนไปดวยความอุตสา ห
พยายาม ผลกป็ รากฏข้นึ มาใหเ ปน ความสงบรม เยน็ เปน ความเพลนิ อยภู ายในจิตใจ
ทานจึงวา “รสอะไรก็สูรสแหงธรรมไมได” “รสแหง ธรรมชาํ นะซึง่ รสท้งั ปวง” คือรส
อันน้ีไมมีวันจดื จาง ไมม เี บื่อ ไมม ชี ินชา เปน รสหรอื เปน ความสขุ เปนความร่นื เรงิ ดดู
ดื่มไปโดยลาํ ดับลาํ ดา แมทส่ี ดุ จนมาถงึ ขนั้ วิมุตตพิ ระนิพพานแลว ความสุขนัน้ ยง่ิ มี
ความสมํา่ เสมอตัว คือคงที่ คงเสนคงวา ตายตัว
การพยายามจะยากหรืองา ยข้นึ อยกู บั ความพอใจ เราพอใจแลว งานอะไรมนั กท็ ํา
ไดท ้งั นั้น สําคญั อยูท่คี วามพอใจ เลง็ ดเู หตดุ ูผลเขา กนั ไดแ ลว ความพอใจหากมาเอง ถงึ
ไมมกี ็บงั คบั ได เราบังคับเรา บงั คับคนอ่ืนยงั ยากยิง่ กวา เราบังคับเรา เราอยกู บั ตัวเรา
เอง จะบงั คบั ใหทําอะไรกไ็ ด
“เอา! นง่ั ภาวนาวนั นก้ี น็ ง่ั ” “เอา เดินจงกรมก็ได” เอา ทาํ บญุ ใหท าน เอา
รักษาศีลนะ ไดท ง้ั น้ัน เราเปนเจาของเราเปนหัวหนา เปน ผบู ังคับบญั ชาจติ ใจ เราเปน
เจา ของ เจา ของทกุ สวนภายในรางกายเรา อาการเคลื่อนไหวท้งั ภายนอกภายในเราเปน
ผูรบั ผดิ ชอบ เราเปนผรู ะมดั ระวัง เราเปน ผรู กั ษาเอง ควรหรอื ไมควรอยา งไร เปนหนา
ทขี่ องเราจกั ตองบังคบั บัญชาหรอื สง เสรมิ เราเอง ในส่งิ ท่ีควรหรอื ไมค วร เราทราบอยู
ดว ยดี
หากเราไมสามารถปกครองตนเองไดในขณะนแ้ี ลว เราจะเอาความสามารถมา
จากไหนในวันหนา เดือนหนาปหนา ชาตหิ นา ภพหนา ? เราตองทําความเขาใจไวกับ
ปจ จุบนั ดว ยดตี ง้ั แตบดั น้ี ปจ จบุ ันนแ้ี ลเปน รากฐานสําคญั ทจี่ ะสง ไปถึงอนาคตใหมี
ความเจริญรุงเรืองขนาดไหน ตองไปจากปจ จบุ ันซ่ึงบําเพญ็ อยทู กุ วัน เจรญิ อยทู กุ วนั
สง เสริมอยูทุกวัน บํารุงอยูทุกวัน เจริญขนึ้ ทุกวัน นีแ่ หละหลกั ปจ จุบันอยทู ่เี ราเวลานี้
วันเดือนป ภพชาตินะ มนั เปนผลพลอยไดทีจ่ ะสืบเนอื่ งกนั โดยลาํ ดับ เชน เดยี ว
กับเมอ่ื วานน้สี บื เนอื่ งมาถงึ วันน้ี แลวกส็ บื เนอ่ื งไปถงึ พรุง น้ี สวนผลท่จี ะไดรับดีช่วั มนั ข้นึ
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ภาค ๑ “เร๗า๕ก๖บั ๙ กิเลส’’
๗๐
อยกู บั เรา เราเปนผูรบั ผิดชอบ จึงตองพจิ ารณาใหเ ห็นประจกั ษเสยี แตบัดนี้ท่ยี งั ควรแก
กาลอยู
ธรรมของพระพุทธเจาเปน “สนทฺ ิฏฐ ิโก” ประกาศอยตู ลอดเวลาต้ังแตวันพระ
องคทรงประกาศธรรมสอนโลก ก็ประกาศเรอ่ื ง “สนทฺ ฏิ ฐ โิ ก” นีด้ วยกันตลอดมาจน
ปจจุบัน เปนสิ่งทผ่ี ปู ฏบิ ัติจะพงึ รูพึงเหน็ ภายในใจของตวั เอง กาํ ลังเรามีเทาไรเราก็ทราบ
ผลทีไ่ ดรบั มากนอยเพยี งไรกท็ ราบภายในจติ ใจ เพราะใจเปนผคู อยรับทราบอยูตลอด
เวลาอยแู ลวทาํ ไมจะไมท ราบ บกพรอ งทีต่ รงไหนเรง เขาไป การเรงอยูโดยสม่ําเสมอ
ความบกพรองนั้นก็คอ ยสมบูรณขน้ึ เปน ลําดับ จนกระท่งั สมบรู ณเ ตม็ ที่ได ไมใชส มบูรณ
ดว ยความทอ ถอย ความทอถอยเปน เรอ่ื งท่จี ะตัดทอนสง่ิ ทีม่ อี ยูแ ลว ใหลดลงไป และเปน
สิง่ ท่ีกีดกนั สิง่ ทยี่ ังไมเ กดิ ไมใหเกิดขึน้ บรรดาสง่ิ ที่เราพึงใจท้ังหลายจะไมม ีทางเกิดขึ้นได
เพราะไมมีการสงเสริมอันเปนเหตุใหผลเกิดขึ้นได!
โงเราก็โงมาพอ จะเอาไปแขง กันไดยงั ไง เพราะตา งคนตา งโงเตม็ ตวั อยูภ ายใน
ใจดว ยกนั จะเอาไปแขงกันไดอยางไร ไมใ ชเรื่องจะแขงขนั กัน เพราะตางก็มดี วยกนั ทุก
คน สกปรกก็สกปรก ทุกขก ็ทุกขด ว ยกนั รดู วยกันทกุ คน ตางคนตา งทุกข ตางคนตางรู
ตา งคนตา งรบั ภาระเหลานี้ดว ยกัน ไมใชเรอื่ งท่ีจะมาแขง ขันกนั ได เราไมม คี วามสงสยั ใน
เร่อื งเหลาน้ี
เอาใหฉ ลาด ไมฉ ลาดกวา ใครก็ตาม ขอใหฉลาดเหนอื เรือ่ งที่เคยมีอยใู นจติ ใจ
ของเราซ่ึงเคยหลอกลวงเรามานาน เราคลอยตามสง่ิ เหลานมี้ านานแลว ใหพ ยายามทาํ
ความฉลาดใหท ันกันกบั เรอ่ื งของตัวเองนีแ่ หละสาํ คญั ! เม่ือทนั กับเร่อื งของตวั เองแลว
จะเรียกวา “ชนะตัวเอง” ดังที่ทานพดู ไวในหลักธรรมก็ไมผดิ น่ี ชนะอะไรกต็ าม ที่ทา น
พูดไวใ นธรรมบทหนง่ึ วา “โย สหสสฺ ํ สหสเฺ สน สงคฺ าเม มานเุ ส ชเิ น, เอกจฺ
เชยยฺ มตตฺ าน,ํ ส เว สงคฺ ามชุตฺตโม” การชนะสงครามท่คี ูณดว ยลา น ถงึ ขนาดนนั้
ลวนแตเปนการกอเวรทัง้ น้นั ไมใชเ ปนของดเี ลย การชนะตนนเ่ี พียงผูเดยี วเทา นั้นเปน
ของประเสริฐสุด”
ชนะตนหมายถึงอะไร? กห็ มายถึงชนะสิ่งท่ีตัวเราเคยแพมาอยูภายในใจของเรา
นแ้ี ล เราแพอ ะไรบาง เราทราบเราเองเรื่องอยางนี้ กิเลสท้ังหมดไมวาแงใ ด ลูกมันเราก็
แพ หลานมนั เรากแ็ พ เหลนมันเราก็แพ พอแมของมนั เรากแ็ พ ปูยา ตายายของมนั เรา
ก็แพ เราแพเ สยี ทงั้ หมด แพอยา งหลดุ ลยุ ยงั ง้ี อะไรๆ ของมนั แพห มด ถาสมมตุ ิวามันมี
มูตรคูถเหมือนอยางคนเราธรรมดานี้ มตู รคูถของมนั เราก็แพอ ีก แตน่มี ันไมม ี ก็มแี ต
“ขโี้ ลภ ขี้โกรธ ขีห้ ลง” วา ไปยังง้นั เสีย เราแพมนั แลว ท้ังนน้ั น่ี
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ธรรมะชุด๗เต๖๗รีย๐มพร้อม
๗๑
ความแพน ่ีมันเปน ของดีหรือ? อยกู บั ผใู ดไมม ดี เี ลย คําวา “แพ” นง่ั อยูก็แพ
นอนอยกู แ็ พ ยนื อยูกแ็ พ เดนิ อยกู แ็ พ หาเวลาชนะไมมีเลย มีศักดศ์ิ รีทไ่ี หน! มแี ต
ความแพเ ตม็ ตวั คนเรามสี าระทไ่ี หน ถาเปนธรรมดาแบบโลกๆ เขาแลว อยากจะไปผกู
คอตายนน่ั แหละ แตน ม่ี นั เปนเร่ืองธรรมดา มันสุดวสิ ัย เราจะวายงั ไงละ พูดกนั ใหเ หน็
อยา งนแ้ี หละ ไมย กขน้ึ มาอยางน้ไี มเหน็ โทษจะวายังไง?
นําธรรมมาตีพวกเรานแี้ หละ พวกนักแพนี่แหละ แพอ ยูท กุ เวลํ่าเวลา เราไมเหน็
โทษของความแพของเราบางหรือ? น่เี ปนวิธปี ลกุ จิต เราหมายถึงวธิ ปี ลุกจติ ใจเรา เรา
ยังจะแพอ ยอู ยา งนีต้ ลอดไปหรือ? แพอยางหลุดลยุ นะ จะแพร าบอยา งน้เี รอื่ ยๆ ไม
ตองการชัยชนะบางหรือ?
พระพุทธเจาเปน ผมู ชี ยั ชนะ สาวกอรหตั อรหันตท า นเปนผูชนะ พระอริยเจาทาน
เปน ผูชนะไปโดยลาํ ดบั สรณะของเราท้งั สาม “พุทฺธํ ธมมฺ ํ สงฺฆํ สรณํ คจฉฺ ามิ” ลว น
แลว ต้ังแตช ยั ชนะทง้ั นัน้ ทเ่ี รานกึ นอมถึงทา น ตัวเราแพอ ยา งราบตลอดเวลา สมควรแลว
หรือจะเปน ลูกศิษยตถาคตนะ ? นน่ั วา อยา งน้นั ซี นแ่ี หละวธิ ปี ลกุ จติ เจา ของปลกุ อยา งน้ี
ใหล ุกขึน้ ตอ สูเ พอ่ื ชยั ชนะ ไมจมอยูกับความแพอยา งราบคาบเรอ่ื ยไป
จติ มนั เปน สง่ิ ทสี่ งเสริมได กดขี่บังคับได เหยยี บยาํ่ ทาํ ลายได สาํ คญั ทเ่ี ราเองเปน
ผหู าอุบายคิดในแงตา งๆ ท่ีจะปลุกจิตปลุกใจของเราใหเกิดความอาจหาญราเริง ตอสู
ในส่ิงท่เี ปน ประโยชน ท่ีจะเอาชัยชนะขึ้นมาสตู นดว ยอบุ ายตางๆ ดังท่กี ลา วมาน้ี
น่แี หละเปนทางเดินของพระพุทธเจา เปน ทางเดินของผูจะกา วเขา สชู ยั ชนะ ชนะ
ไปวนั ละเล็กละนอ ยเร่ือย ๆ ไป ผลสุดทา ยก็ชนะจนไมมอี ะไรเหลอื เลย ปญหานแ้ี หละ
สาํ คญั มาก
สตกิ บั ปญ ญาเปน ธรรมอนั สาํ คญั อยา งยง่ิ สมั มาทฏิ ฐิ สมั มาสังกปั โป ขึ้นตน
นะ พจิ ารณาเอาใหไ ดชัยชนะสิ่งที่แวดลอมเราอยตู ลอดเวลา คอยตบคอยตเี ราอยตู ลอด
เวลา คืออะไร ? มันมที ่ีไหน ?
มนั มีแตร ูป เวทนา สัญญา สงั ขาร วิญญาณ นเ้ี ทานนั้ ตวั สาํ คัญจรงิ มนั อยูท่ีตรง
น้ี ตา หู จมูก ลิ้น กาย มันเปน ทางเดินเขามาแหงอารมณตา งๆ แลวเขา มาหาสัญญา
อารมณซ ึง่ เปนกองขันธนเี่ อง สดุ ทา ยกก็ องขนั ธน แ่ี หละรบกบั เรา หรอื มนั ไมไ ดร บก็
ไมทราบ เราหมอบราบอยแู ลวก็ไมท ราบวา จะมารบกับอะไร นอนทับถา ยรดไปเลยไมมี
ปญหาอะไร เพราะยอมมันอยา งราบคาบแลว น!ี่
ทนี ้ีเราจะไมใ หเปน อยา งน้นั เราแกต ัวเรา เราใหเ ปนเทาทเ่ี ปนมาแลว เทาน้นั
เวลานี้เราไดศ าตราวุธ คอื อรรถธรรม สติปญ ญาแลว เราจะตอสู พิจารณาเอาใหไ ดช ยั
ชนะภายในตัวเรา ไมเอาชัยชนะกบั ผใู ดเลย เอากบั ผูใ ดจะเปนเรื่องกอเวรกับผูน้ัน เอา
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ภาค ๑ “เร๗า๗๗กับ๑ กเิ ลส’’
๗๒
กับสัตวตวั ใดก็เปนเร่ืองกอเวรกบั สัตวตวั น้นั ขน้ึ ชอ่ื วา “อ่นื นอกไปจากตวั เอง”แลว มี
แตเรอ่ื งกอ กรรมกอเวร ไมเ ปน ของดีเลย สง่ิ ท่ีเลิศประเสรฐิ สุดกค็ ือ “เอกจฺ เชยฺยมตฺ
ตานํ ส เว สงคฺ ามชุตตฺ โม” การชนะเรอ่ื งของเราน่เี ทา นนั้ เปน เรื่องประเสริฐสดุ ในโลก
พระพุทธเจาก็ชนะแบบน้ี สาวกอรหตั อรหันตท านชนะแบบน้ี ทานเปนผไู มกอ เวรกอ
กรรม นอกจากน้นั สัตวโลกยงั ไดอาศัยทานมาเปน ลาํ ดบั จนกระทง่ั บัดน้ี ทา นเอาชนะ
ตรงนี้
“เอา พจิ ารณา มันเคยหลงอะไรอยเู วลานี้ ?” พิจารณาใหเห็นชัด สิง่ เหลา นไ้ี ม
ปด บงั ลีล้ ับ มอี ยูภายในตัวเรา รา งกายกเ็ ตือนเราอยตู ลอดเวลา เจ็บนน้ั ปวดน้ี ความ
สลาย ความแปรสภาพ แปรท่ีไหนกระเทอื นท่ตี รงนัน้ แปรไปนานเทาไหร ก็กระเทือน
มากขนึ้ ๆ เวทนากับความแปรสภาพมนั เปนคเู คียงกนั อะไรวิปริตผิดไปนิดหนงึ่
เวทนาจะเตอื นบอกข้นึ มาเรือ่ ยๆ เตือนบอกสตปิ ญ ญาของผูปฏบิ ัติ ของผตู ง้ั ใจจะสง
เสรมิ สติปญญาใหม กี าํ ลงั เพ่ือรเู ทา ทนั กับส่ิงเหลาน้ี จึงเหมือนกบั แสดงธรรมเทศนาอยู
ทง้ั วันท้งั คืน ไมจ ําเปน จะตอ งใหพระทานขึน้ ธรรมาสน “นโม ตสสฺ ะ ภควโต”
สงิ่ เหลานเ้ี ปน “ธรรมเทศนา” สอนเราตลอดเวลาอยูแลว เอา! ทุกขเ กดิ ขึน้ ท่ี
ตรงไหน ต้ังธรรมาสนท ี่ตรงน้ัน วนิ จิ ฉยั กนั ปจุ ฉา วสิ ชั นา กนั ลงไป นี่แหละเทศนาสอง
ธรรมาสน ระหวางขันธก ับจิต ขนั ธใ ดกต็ าม รูปขันธ เวทนาขนั ธ สญั ญาขนั ธ สงั ขารขันธ
วญิ ญาณขันธ น่ีแหละปุจฉา วสิ ชั นา ใหเขา ใจชัดเจนตามสงิ่ เหลานี้ท่ีมอี ยู รูปแปร แปร
มาโดยลําดบั น่เี ราอยูด ว ยกนั นกี่ วี่ ัน กี่วันน้ันคอื ลวงไปแลว เสียไปแลว ยกตวั อยา งเชน
ทานอาจารยหมออุดมทานไปกรงุ เทพฯ ไปวันท่ี ๑๗ ทา นกลบั มาวนั นว้ี นั ท่ี ๒ กลบั มา
วนั นี้ ทานไมไ ดว นั สมบรู ณม าเหมือนแตกอ น ต้งั แตว นั ท่ี ๑๗ ไปจนถึงวันท่ี ๒ เปนกี่วนั
แนะ ลว งไปเทาน้นั วนั ทานขาดวนั น้ไี ปแลว เราอยนู ่กี ข็ าดไปเชน เดียวกันกับทาน น่ี
แหละเราอยดู วยความบกพรอ งไปทุกวนั ๆ นะ ไมไดอยดู ว ยความสมบูรณ วันน้ีขาดไป
วันนัน้ ขาดไป วันหนาขาดไป วนั หลังขาดไป ขาดไปเรอื่ ยๆ
เราบกพรองไปเรื่อยๆ เร่ืองธาตเุ ร่ืองขนั ธเ ราเรยี นอยา งนแ้ี หละ เรยี นธรรม เรา
ไมไ ดอยูดวยความสมบรู ณ อยดู ว ยความ “หมดไป” ทกุ วัน ๆ นน่ี ะ แลว เราจะนอนใจ
ไดอยางไร เมอื่ เปนนกั ธรรมะท่ีปฏิบตั เิ พอื่ เอาตัวรอดเปนยอดคนแลว ตองใหเปนยอด
แหงความรูท่จี ะแกส ถานการณซ ึ่งมีอยใู นตวั ของเราน้ี ใหรตู ามเปนจริงโดยลาํ ดับ เรา
พบกนั วนั น้ี วนั หลงั มาพบกัน บกพรอ งมาแลว ขาดไปเทานั้นวัน ขาดไปเทานชี้ ่ัวโมง ผู
อยกู ข็ าด ผไู ปกข็ าด กลบั มากข็ าด อยูประจาํ ท่กี ็ขาด ตางคนตา งขาด มแี ตตางคนตา ง
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ธรรมะชุด๗เ๗ต๘ร๒ยี มพร้อม
๗๓
บกพรอ งไปทกุ ๆ วนั ขาดไปทกุ วัน แลว ขาดไป ๆ ขาดไปจะไปถงึ ไหน? มนั กไ็ ปถงึ ท่ี
สุดปลายทางแหงความขาดสะบ้ันเทาน้ันเอง!
น่!ี มันตา งกันแต “มดื ” กบั “แจง ” ที่ลวงไปวันน้ันวันนีเ้ ทานั้นแหละ ชา เร็ว
ตางกัน มีนดิ เดียวเทา นั้น จะตองไปถงึ ความขาดสะบ้นั เชน เดียวกันหมด เวลานีย้ ังไม
ขาดเปนแตว าเตือนๆ เรา นาทีเตอื น วนิ าทเี ตอื น ชั่วโมงเตอื น หมดไปเทานัน้ วินาที
เทา นั้นนาที เทา น้นั ชว่ั โมง เทานน้ั วนั เตอื นอยูเ สมอ เทาน้นั เดือน เทา น้ันป เรื่อย สดุ
ทายก็หมด มีเทา ไรกห็ มด เพราะมันหมดไปทกุ วันน่ีเอาอะไรมาเหลือ!!!
น่ีเปน สตปิ ญญาอนั หน่งึ ท่ีจะตอ งพจิ ารณา ส่ิงทม่ี ันเหลืออยนู ีน้ ะ ทพ่ี อจะได
ประโยชนจากสงิ่ ที่เหลืออยู ธาตุขนั ธของเราอันใดทมี่ ันเปลี่ยนแปลงมันก็หมดไป เราก็
หมดหวังในอันนัน้ เวลานีอ้ ะไรยงั อยบู าง? อะไรที่มนั ยังอยพู อท่ีจะทาํ ประโยชนได เอา
ส่งิ ทีก่ าํ ลังมีพอท่จี ะทาํ ประโยชนอยนู ่นี ะ มาทําประโยชนเสียแตบดั นี้ “อชเฺ ชว กจิ ฺจ
มาตปปฺ โก ชญฺ า มรณํ สเุ ว” ความเพียรท่จี ะทําใหเปนประโยชนแกตน ควรทําเสีย
ในวันน้ี ใครจะไปรูเ รอ่ื งความตายจะมาถงึ เมือ่ ไร! ทานวา ไปอยา งน้นั บอกไมใหเ รา
ประมาท
เอา พจิ ารณารูป มัน “เหลอื ”อยูเ ทาไรเวลานี้ มันเจ็บกย็ ังมีเหลอื อยบู าง มนั
สลายหรือมนั แปรสภาพไป สว นท่ยี ังอยูก็ยังมีอยูบาง พยายามพิจารณาใหทนั กับเหตุ
การณท่มี นั ยงั เหลอื อยู รูเ ทา ทันดว ยปญ ญา เวทนา ต้งั สติปญญาพจิ ารณาใหช ัดเจน
เรื่องเวทนากม็ เี ทากับเวทนาที่มอี ยนู ัน่ แหละ ไมเลยจากน้ัน ผรู ู รไู ปหมด มันจะเทาภูเขา
ก็สามารถรเู วทนาเทา ภูเขา ไมม อี นั ใดท่ีจะเหนือผรู ไู ปได มนั จะใหญโ ตขนาดไหน เร่ือง
ทุกขเวทนามันจะเหนือความรนู ี้ไปไมได ความรูนจี้ ะครอบเวทนาทง้ั หมด นถี่ า มสี ติรูนะ
ถา ไมไดสติ ก็เลื่อนลอยเหมือนกับวาวไมม เี ชือก เชอื กขาด แลว แตมันจะไปทางไหน
นเี่ ราไมใ ชว าวเชือกขาดนี่ เรามสี ตปิ ญ ญา พิจารณาใหเ ห็นชดั ตามความเปน จริง
เอา เกิดกเ็ กดิ เกิดขน้ึ มา เร่ืองทุกขเวทนาเปนธรรมเทศนาประกาศสอนเราอยแู ลว เรา
เปน นักธรรมะ เอา ฟงดวยดี ดวยสติปญ ญาตามความจริงของมันแลว แยกตัวออก เมื่อ
เขา ใจแลว จะไมย ดึ ไมถอื กนั ไมเปน กังวลกบั เรอ่ื งทุกขเวทนา เรือ่ งสญั ญา เรื่องสงั ขาร
เรอื่ งวญิ ญาณ จะปลอ ยวางไปดว ยกนั โดยสิ้นเชิง
สง่ิ ทเ่ี หลอื คอื อะไร ? คือความบริสทุ ธิ์ ความรอบตวั นแ้ี ลเปน สาระเปน แกน
สาร ถาจะพดู กว็ า “เรา” นแ่ี หละ “เรา” แทโดยหลกั ธรรมชาติ ไมใ ชเราโดยความ
เสกสรร ถาเปนความสุขกเ็ ปนความสขุ ในหลกั ธรรมชาติ ไมใชความสขุ ทีค่ อยแตจะมี
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ภาค ๑ “เร๗า๙๗กบั๓ กเิ ลส’’
๗๔
ความทกุ ขมาแบงเอาไปกิน ๆ เหมือนอยางวันคนื ปเ ดือน แบง เอาจากรา งกายและจิตใจ
ของเรา สงั ขารของเราไปกนิ
นี่ถาพจิ ารณาใหเ ห็นตามความเปนจริง อะไรจะแตกก็แตก ก็เรอื่ งมนั แตก มนั
เคยแตกมาต้งั ก่ีกัปก่กี ัลป ทางเดินของคติธรรมดาเปน อยา งน้ี จะไปแยกแยะหรอื ไปกดี
ขวางไมใ หมนั เปน ไดท ไี่ หน จะไปก้นั กางไมใ หมันเดินไดอยา งไร “อนจิ จฺ ํ ทุกฺขํ อนตฺ
ตา” มนั ไปในสายเดียวกนั พอวา อนิจจฺ ํ ทกุ ฺขํ อนตฺตา ก็มาพรอ มกัน มันไปดว ยกัน
ใหร ูความจริงของมนั พรอ มๆ กนั ไป แลวปลอยวางพรอ มกนั หมด ไมใชวาจะปลอยแลว
ในสว น อนิจฺจํ ยังทกุ ขฺ ํ ยังอนตฺตา ไมใ ช พจิ ารณารอบแลวมนั ปลอ ยไปพรอ มๆ กนั
บรสิ ุทธพิ์ รอมในขณะที่ปลอ ยวางโดยสนิ้ เชิง
ความบริสุทธไ์ิ มต องถามหาวามาจากไหน ! น้ันแลคอื ความฉลาดเต็มภูมิ ความ
สะอาดเต็มภมู ิ ความสขุ เตม็ ภมู ิ ความสกปรกหายไป ความโงหายไป ความทุกขห ายไป
หายทีต่ รงน้ีแหละ ตรงทแี่ บกทุกข แบกความโง แบกความสกปรกนแ่ี หละ สิ่งเหลา นี้
หายไปหมดเพราะอํานาจของปญญา อาํ นาจของสติ อาํ นาจของความเพยี ร เปนธรรม
ชาตทิ ชี่ ะลางไมม สี ่งิ ใดเหลอื เลย ผนู แ้ี ลเปน ผไู มห มดไมส น้ิ
อะไรจะหมด หมดไปตามสมมุตินิยมโทษ รางกายจะหมดก็หมดไป เวทนา
สัญญา สังขาร วญิ ญาณ จะแปรสภาพไปไหนกแ็ ปรไปเถะ เม่ือรูตามเปน จรงิ แลว ส่งิ นนั้
จะเปนไปตามธรรมดาของเขา ซง่ึ เขาไมมคี วามหมาย ไมมีความรสู ึกเลยวาเขาไดแ ปรไป
มแี ตจิตของเราไปรบั ทราบวา เขาไดแ ปรไป ถา ไมย ึดถอื แลว เพยี งรบั ทราบเทา นัน้ เราก็
ไมแ บกทุกขก บั ความยดึ ถือในอะไรท้ังหมดเราก็สุขสบาย นแ่ี ลทา นวา “เอกจฺ
เชยฺยมตฺตานํ ส เว สงคฺ ามชตุ ตฺ โม” ไมก อ เวรกอกรรมกับอะไรทง้ั หมด แมแ ตก ับ
กิเลสก็ไมกอ กิเลสแพเรา กิเลสไมม ากอ กบั เราได เหมอื นคนแพค น เราชนะคน ชนะ
อะไรกต็ ามกอกรรมกอเวรไดว ันยังคา่ํ ชนะไปมากเทาไหรกอ กรรมมากเทาน้นั คดิ ดูคูณ
ดว ยลา น นน่ั แหละ! คือความกอกรรมกอ เวรคูณดวยลาน
อนั น้ีไมม ีเลย! ความสบายคือความชนะตนเองเทา นัน้ นเ่ี ปนจดุ สาํ คัญของผู
ปฏบิ ัติ จะหาศาสนาใดมาสอนพวกเราใหเหน็ ถึงขนาดน้ีรขู นาดน้ี และจะใหผใู ดเปนผู
ปฏิบตั ิ ใหร ใู หเ หน็ อยา งทีว่ า นี้ นอกจากเราเทาน้นั จะเปน ผปู ฏบิ ัติสาํ หรบั ตวั เราเอง
เพราะโงก็เราเปนคนโงเอง จะหาความฉลาดใสตนดว ยการแกความโงเขลาออก กจ็ ะ
เปนใครถาไมใชเรา ทกุ ขก เ็ ราเปนคนทกุ ขเอง จะเปลยี่ นแปลงตัวเองดว ยความฉลาดให
เปนความสขุ ขน้ึ ภายในใจน้ี ทําไมเราจะเปลี่ยนแปลงไมได น่นั ! เปลย่ี นแปลงไดท ั้งนั้น
ไมอยางนั้นพระพทุ ธเจา หรือสาวกทงั้ หลาย ทานจะถงึ ความบรสิ ุทธิ์ไมไ ด ถา ธรรมะชะ
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ธรรมะชุด๘เต๐๗ร๔ยี มพรอ้ ม
๗๕
ลางสง่ิ สกปรกไมไ ดด ว ยความสามารถของเรา เรากเ็ ปนผหู นงึ่ ในพุทธบริษทั ซึง่ เปน ลกู
เตาเหลา กอของพระพทุ ธเจา ถึงจะไมม ีมากคนก็ขอใหเราเปน “คนหนง่ึ ในจาํ นวนนอ ย
คน” นน้ั นะ ช่ือวาเราเปน ผูมีสวนแหง พทุ ธบรษิ ทั อนั แทจ ริง ลกู ของพระพทุ ธเจา กค็ อื
อยา งนเ้ี อง พระพุทธเจาเดินอยางไร เราเดนิ แบบศษิ ยม คี รู รูอยา งไร เรารูอยางศิษยม ี
ครู รแู บบครรู ไู ปโดยลําดบั ๆ จนถึง “วิมตุ ติหลดุ พน” สมกับเปน ลูกศษิ ยม คี ร!ู
การแสดงธรรมวันนี้กเ็ ห็นวา สมควร ขอยตุ ิเพียงเทา นี้
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ภาค ๑ “เร๘า๑๗กับ๕กเิ ลส’’
๗๖
ปราบ-ขู่เทศนโ ปรดคณุ เพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด
เมือ่ วนั ที่ ๑ มกปรารคามบเทพศ-ทุ นขธ์โปูศรักดรคาุณเชมเพ่อื๒วา๕นัพ๑ทงาี่๙๑วรมรกธรนาะคกมลุ พณทุ ธวศดัักปราา่ ชบา้ ๒น๕ต๑าด๙
ในมงคลสตู รทานกลาวไวพวกเราฟง จนชนิ หู สวดสาธยายจนชนิ ปาก คอื “อเส
วนา จ พาลาน”ํ แปลความวา การไมคบคนพาลสนั ดานหยาบ การคบบณั ฑิตผู
ประพฤตชิ อบดว ยกายวาจาใจ “เอตมมฺ งฺคลมตุ ฺตม”ํ ทา นวาเปน มงคลอนั สงู สดุ
เราอาจคิดแตใ นแงภ ายนอก คบคนพาลสนั ดานหยาบนอกๆ อยา งนนั้ นั่นก็ถกู
ในการเกี่ยวกับสังคม เพราะมนษุ ยเ ราอยูคนเดียวไมได ตองมเี พอ่ื นฝูงญาตมิ ิตรเกีย่ ว
ขอ งกบั สังคมมากนอย นท่ี า นสอนแงห นง่ึ แตอ าจคดิ ในแงเ ดยี วเทานน้ั สาํ หรบั ตนเอง
เปน พาลหรือเปนบณั ฑติ น้ันเลยลืมคิด ถาหากเราคดิ แตเพยี งแงเ ดยี ว เรากล็ มื คิดเร่ือง
ตัวเรา เปนแตเ พยี งไมไปคบคนพาลภายนอกแลวกถ็ ือวาดี แตการทีเ่ ราคบคนพาลภาย
ในคือใจเราเองนนั้ เราไมท ราบวา คบกนั มานานเทาไร ความจริงคบกันมาตั้งแตว นั เกิด
จนกระท่ังบดั นี้
คนพาลภายในหมายถึงอะไร ? หมายถงึ ตวั เราเอง ซ่ึงเปน คนๆ หน่ึงทมี่ จี ติ
เปน พาล คอยกดี กนั คอยฉดุ ลาก คอื กดี กนั ในทางที่ดี ไมใ หทาํ ความดีไดโ ดยสะดวก
สบาย หาเร่ืองน้ันมาขัดขอ ง หาเร่ืองนมี้ ายแุ หยใหล ม เหลวไปตามมันจนไดเ รอื่ ยๆ มาที่
เรียกวา “พาลภายใน” คาํ วา “พาล” นนั้ ทางพทุ ธศาสนาทา นหมายถงึ ความคดิ ท่ี
ทาํ ใหตนและผูอ่ืนเดอื นรอนเสียหาย ทานเรยี กวาคนพาลหรอื คนเขลา จะมีความรู
ความฉลาดมากนอ ยเพียงไรไมส าํ คญั ถายงั ทาํ ตนและคนอืน่ ใหเดือดรอ นอยแู ลว ความ
รนู ้ันทานไมเรียกวาเปน ความรูท ีด่ ีทฉี่ ลาด เพราะเปนความรูท ี่ยงั ผูนน้ั ใหเ ปน คนเลวลง
ทางความประพฤติที่แสดงออก ตลอดคนอน่ื ใหไ ดร บั ความเดอื นรอ นเสยี หายดว ยความ
คิดเปนโจร ความคดิ เปน ขา ศกึ ความคิดแอบทําสิง่ ไมดีแกตนอยเู นืองๆ และคลอ ย
ตามความคิดเหน็ น้นั โดยไมยอมเหน็ โทษของมนั บางครง้ั ถงึ กับแสดงออกใหคนอื่นรู
และรงั เกียจ น่ที า นเรียกวา “ใจพาลภายใน”ซึง่ มีอยกู ับทกุ คน จะตา งกนั บา งก็เพยี ง
มากหรอื นอย แสดงออกหรอื ไมแสดงออกใหค นอ่ืนรหู รือไมเทา นั้น ซ่งึ เปนสิ่งสําคญั
มากทมี่ อี ยูกับตัวเราตลอดมา เราเคยคบคา สมาคมกับพาลตัวน้มี านานแสนนานจนบดั
น้ี เรากย็ งั มีความสนมิ กับพาลของเราอยู โดยไมร สู ึกตวั วา เรามีพาล เราคบกบั พาลคือ
ความคิดและการกระทําท่เี ราไมร ูสึกตวั วาเปน ความผดิ ทา นเรยี กวา “พาลภายใน”
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ภาค ๑ “เร๘า๓กบั กเิ ลส’’
๗๖
๗๗
จงพยายามเลอื กเฟนความคิดทเี่ ห็นวาไมด ี ทง้ั สว นหยาบ สว นกลาง สว น
ละเอียดทมี่ ีอยูภ ายในใจอนั นี้ อยาปลอยใหใจสั่งสมความเปน พาล และตงั้ บา นเรอื นอยู
บนหวั ใจไปนาน ความคิดใดท่ีไมดี เปน ไปบนหัวใจตลอดกาล บานเรอื นคือรา งกาย เจา
ของคอื ใจท่ีอาศยั อยูดว ยกนั จะเสียความม่ันคง ทรงความดีไวไมได
ความคดิ ใดท่เี ปน ไปเพอ่ื สงั่ สมทกุ ขข ้นึ มา ความคิดนน้ั ทานเรยี กวา “เปนพาล”
การเช่อื หรอื คลอ ยตามความคดิ ที่ไมด ไี มถูกนน้ั ทา นเรียกวา “คบคนพาลภายใน” ซ่งึ
แยกตวั ออกหา งยากกวา พาลภายนอก ผูเปนบัณฑติ ทานเหน็ โทษทง้ั พาลภายในท้ังพาล
ภายนอก และหลีกเวนไมค บและเช่ือถือ ท้ังคอยระวังอยา งอยางเขม งวดกวดขนั ไม
สนิทตดิ จมอยูกบั คนพาลทัง้ สองจาํ พวกนน้ั
ปกติคนเราทุกคนมีพาลรอบดา นท้ังภายในภายนอก ความเปน อยู ความเคล่อื น
ไหว ทกุ คนอยใู นทา มกลางแหงพาลท้ังสองจําพวกดงั กลาวมา ผูต อ งการความสงบสขุ
ทง้ั ทางสวนตน ครอบครัวและสวนรวม จึงควรระวังภัยจากมารทงั้ สองจําพวกน้นั
เฉพาะอยางยง่ิ มารภายในทเี่ กดิ กบั ใจตวั เองสําคัญมาก ควรระวงั เสมอ ชอ่ื วา เปน ผเู หน็
ภัยของคนพาลทงั้ ภายนอกภายใน และจงคบบัณฑิตนกั ปราชญ ซ่ึงหมายถึงภายนอก
ดวยภายในดวย ดังทเี่ ราคบครูอาจารยเพ่อื นฝูงทีม่ คี วามรูด ี ความประพฤติดีงาม
สม่ําเสมอ ไมเ อียงซายเอียงขวา เอียงหนา เอียงหลัง อนั เปน อาการแหง “อคตสิ ่ี” ซ่งึ
เปนของไมดี จะเปน ญาตเิ ปน มิตรหรือเพ่ือนฝูงอะไรก็ได สาํ คญั ทต่ี อ งเปน คนดเี ช่ือถอื
ได หรือฝากผฝี ากไขฝ ากเปนฝากตายไดย งิ่ เปน การดมี าก
ในบรรดาบัณฑติ ทีค่ วรคบคาสมาคม ตลอดถึงครอู าจารยท ีใ่ หอ บุ ายส่งั สอนอนั ดี
งามแกเรา ชอ่ื วา บณั ฑติ ไมต อ งมีความรูความฉลาดถงึ ขนาดตองแบกตูพระไตรปฎ กมา
ยืนยัน หรือมีความรคู วามฉลาดขัน้ ปริญญาตรี โท เอก กต็ าม สําคญั อยูท ค่ี วามคิดความ
เหน็ การประพฤตติ ัวเปน ธรรม ซงึ่ เปนเครื่องชักจูงใหคนอืน่ ไดค ตแิ ละไดร ับประโยชน
อันชอบธรรม และเหน็ เปน ความถกู ตอ งดงี ามไปดว ย เหลานีท้ า นเรยี กวา “บณั ฑติ ”
เปนผูควรแกการคบคาสมาคมระยะส้ันหรอื ยาว ยอ มเปน มงคลแกผคู บ ไมเสียหายลม
จมแตอ ยางใด ยงั จดั วาผูร ูจ กั เลอื กคบ เปน ผมู ชี ีวติ ชีวาอนั อุดมมงคลเสยี อีก ทางพระ
พุทธศาสนาทา นหมายคนอยา งนน้ั วา “บณั ฑิต”
สว น “บณั ฑติ ภายใน” ไดแ กความคิดอุบายวิธตี างๆ ทีจ่ ะเปน ไปเพอื่ คุณงาม
ความดแี กตนและผูอืน่ นบั แตพ้นื ความคดิ เหน็ อันเปนเหตจุ ะใหเ กดิ คณุ งามความดี จน
กระทงั่ ถึงสตปิ ญ ญาที่จะถอดถอนกิเลสออกจากจิตใจเปนลาํ ดบั ๆ เปน ขน้ั ๆ ของสติ
ปญญา เรยี กวา “บณั ฑติ , นักปราชญ” เปน ช้ันๆ ไปจนถึงขัน้ “มหาบณั ฑติ ”
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ธรรมะชุด๘เต๗๔ร๗ียมพร้อม
๗๘
“มหาบัณฑิต” ไดแกท านผทู รงมหาสตมิ หาปญญานนั่ แล เลยข้ัน
“มหาบณั ฑติ ”ไปแลว กถ็ งึ “วมิ ตุ ติ” เรียกวา “จอมปราชญ” หรอื “อคั รมหาบณั ฑติ ”
เลยขน้ั มหาบัณฑติ ไปแลวก็เปน “จอมปราชญ” ไดแ กผ ูเ ฉลยี วฉลาดรอบตวั ภายในใจ
คอื พระอรหนั ต ส้ินกเิ ลสอาสวะโดยประการท้งั ปวง น่เี ปนมงคลอนั สูงสุดท้งั สองอยาง
คือ “อเสวนา จ พาลานํ” ไมใหค บคนพาลภายนอก ทัง้ คนพาลภายใน “ปณฺฑิตานจฺ
เสวนา” ใหคบบัณฑติ นักปราชญผ ูเ ฉลยี วฉลาดทงั้ ภายนอกและภายใน พยายามฝก ตวั
ใหมีความเฉลียวฉลาดทนั กับเหตุการณตางๆ ที่เกิดข้นึ ตลอดสงิ่ ท่ีเปนขาศกึ ตอ ใจของ
ตนน้ี เรยี กวา “บณั ฑติ นักปราชญ” ใหค บผนู ี้ เพอ่ื จะไดสัง่ สมสงเสรมิ ความเปน
ปราชญใหมกี ําลงั มากขึน้ โดยลําดบั ๆ เพราะอาศยั ทา นผดู ีมีสตปิ ญ ญาฉลาด “เอตมมฺ งฺ
คลมุตฺตม”ํ เปนมงคลอนั สงู สุดอกี ขอ หนง่ึ
อกี ขอ หนง่ึ ทา นกลา ววา “สมณานฺจ ทสสฺ นํ เอตมมฺ งคฺ ลมุตฺตมํ” การเหน็
สมณะผสู งบกายวาจาใจ เปน มงคลอันสงู สุดเชนเดยี วกนั
คาํ วา “สมณะ” ตามหลักธรรมทที่ านแสดงไว มี ๔ ประเภท
“สมณะที่ ๑ ไดแก พระโสดาบนั สมณะที่ ๒ ไดแก พระสกทิ าคามี
สมณะที่ ๓ ไดแ ก พระอนาคามี สมณะท่ี ๔ ไดแ ก พระอรหนั ต
การเห็นสมณะเหลานชี้ ือ่ วา เปน มงคลอันสงู สุด นี่เปน มงคลขัน้ หนง่ึ เปน สมณะ
ข้นั หน่งึ ๆ จากภายนอก
ทีนี้เราพยายามทําใหแจงซง่ึ มรรคผลท้งั สนี่ นั้ หรอื สมณะทงั้ สนี่ น้ั ไดแกพ ระ
โสดา สกิทา อนาคา อรหตั ผล ขึ้นภายในจิตใจของตน นชี้ ื่อวา เปนผทู าํ ใหแจง ซึ่งมรรค
ผลทัง้ ๔ รวมเปน ๘ เปน มงคลอนั สงู สดุ
ในมงคลสตู รท่ที านแสดงไวนม้ี ีแตธรรมสําคญั ๆ ทั้งน้ัน แตม ีแยกดงั ทวี่ านี้ จง
แยกแยะพิจารณาขา งนอกพิจารณาขางในเทยี บเคยี งกนั
เทวดาทง้ั หลายมปี ญ หาถกเถยี งกนั อยถู งึ ๑๒ ป ไมม ีใครสามรถแกป ญหานไ้ี ด
เลย จึงพากนั มาทลู ถามปญ หาน้ีกบั พระพุทธเจา โดยทที่ ราบวาพระพุทธเจาไดต รสั รขู ้นึ
แลว ในโลก และเปนผสู ามารถช้ีแจงอรรถธรรมหรอื ปญ หาในแงต างๆ ใหเปน ที่เขา ใจ
แกผ ูข องใจทง้ั หลาย จงึ ไดพากนั มาทลู ถามพระพุทธเจา ตามมงคลสูตรทท่ี า นยกไวเบอ้ื ง
ตน
แตเวลาทท่ี านสวดมนตท า นยกเอาตั้งแต “อเสวนา จ พาลานํ”เร่ือยมาเลย ไม
ไดกลา วถึงเรอื่ งเทวดาทัง้ หลายจากโนน จากนีม้ ากมาย มาเฝา พระพทุ ธเจาทูลถามปญหา
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ภาค ๑ “เร๘า๕๗กับ๘ กิเลส’’
๗๙
ทา นตัดออกเสยี หมด เอาแตเ นื้อๆ คอื มงคลสตู ร ๓๘ ประการนี้ เปน คณุ แกท ้งั เทวดา
และมนษุ ยท้ังหลายจนกระท่งั ทุกวันน้ี เราจึงควรเจริญมงคลสูตรนี้
สูตรใดกต็ ามเปน ทแี่ นใจ หรอื เปนทสี่ นทิ กบั จริตนสิ ยั ดังทกี่ ลาวใน ๒-๓ บท
เบื้องตนนั้นวา “ไมค บคนพาลและใหคบบณั ฑติ , การเหน็ สมณะใหป รากฏขึน้ ภายใน
จติ ใจ ชือ่ วาเปนผูทรงคณุ ธรรมอันสงู สุดไวภ ายในใจ
คาํ วา “เทวดา” ตั้งแตวนั เกิดมาเราไมเคยรเู คยเหน็ คดิ ดซู มิ นุษยด วยกนั แม
พระพทุ ธเจา ก็เปน มนษุ ยค นหนึ่ง สาวกอรหตั อรหันตท า นกเ็ ปนมนุษยค นหนึง่ ๆ แต
ทําไมทา นสามารถรูเหน็ เทวดา จนถึงกบั แนะนําสัง่ สอนเทวดาใหไดส ําเรจ็ มรรคผล
นพิ พานเปน จํานวนลา นๆ ไมใชทําธรรมดา!
บางเร่อื งกลา วไวในสูตรตา งๆ วา “เทวดามาฟงเทศนพระพุทธเจา ไดสําเรจ็
มรรคผลนิพพานเปนโกฏิๆ แลว ไมใชเ พียงแตเ ทศนว ันหน่ึงวันเดียว เทศนจ นกระท่ัง
พระองคปรินิพพาน ฟง “พทุ ธกิจ” ทา นแสดงไวว า “อฑฒฺ รตเฺ ต เทวปหฺ าก”ํ ตัง้
แตหกทุม ลว งไปแลว ทรงแกป ญ หาหรือแนะนําส่งั สอนเทวดาช้ันตางๆ ที่มาทลู ถาม
ปญหา ทา นถอื เทวดาเหมือนกบั มนษุ ยท ้ังหลาย สอนเทวดาเหมือนกบั สอนมนุษยท ัง้
หลายนเ่ี อง ทา นถอื เปน ธรรมดาธรรมดาเชนเดียวกบั เรามองเหน็ คนทว่ั ไปโดยธรรมดา
พระพุทธเจา ทรงมองเห็นพวกเทวบตุ รเทวดาช้ันตางๆ ประจกั ษดว ยพระญาณของพระ
องคคือตาทพิ ย เชน เดยี วกับเรามองเห็นสิ่งตา งๆ หรอื มนษุ ยสัตวทงั้ หลายดวยตาเน้ือ
ของเรา
แตเ ม่อื เราไมมีตาทิพยเหมอื นพระพทุ ธเจา ไมส ามารถมองเห็นเทวดาท้ังหลาย
จึงกลายเปน ปญหาโลกแตกอยางทกุ วนั น้ี ทพี่ ระพุทธเจา แสดงอยางนัน้ ดว ยพระจักขุ
ญาณของพระองค กับทเี่ รามาดน เดาและคาดคะเนดวยความมืดบอดของเรา จึงเปนที่
นา สลดสังเวชอยา งย่ิงทเี ดียว
นี่แหละระหวา งคนตาดีกับคนตาบอด ระหวา งคนโงก บั คนฉลาด มันผดิ กันอยาง
น้ี ทั้งๆ ท่เี ปน มนษุ ยดวยกันก็ตาม พระองคส ามารถสอนเทวดาอินทรพรหมยมยักษ
ตลอดถึงสัตวน รก เปรต อมนษุ ยมนา ไมม ีจํากัดขอบเขตมีมากมายกายกอง พุทธภาระ
จงึ หนักมากสาํ หรบั พระพุทธเจา ตามพทุ ธวสิ ัยคอื วิสัยของพระพุทธเจา ทที่ าํ ประโยชน
แกโลก
พวกเราเปนคนหหู นวกตาบอด ไมส ามารถมองเหน็ ทงั้ เทวบุตรเทวดาอินทร
พรหมอะไรตออะไร แมทีส่ ุดจะส่ังสอนตวั เองกย็ งั ไมได แลวเราจะเอาความรูอนั มืด
บอดนีไ่ ปเทียบกับพระพทุ ธเจาหรอื ? ขอน้ีจะเปน ไปไดอยางไร พระพุทธเจาทรงมีพระ
ภาระมากขนาดไหน ยงั สามารถนาํ ภาระนน้ั ไปไดต ลอดทั่วถงึ จนกระทั่งวันปรินิพพาน
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ธรรมะชดุ ๘เต๖๗ร๙ยี มพรอ้ ม