The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือ โมเดลจัดการขยะมูลฝอยแบบ Zero Waste สำหรับสถานศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by akok4u, 2021-11-25 02:25:20

หนังสือ โมเดลจัดการขยะมูลฝอยแบบ Zero Waste สำหรับสถานศึกษา

หนังสือ โมเดลจัดการขยะมูลฝอยแบบ Zero Waste สำหรับสถานศึกษา

Keywords: การจัดการขยะ Zero waste,การจัดการขยะสถานศึกษา,ขยะ

โมเดลจัดการขยะมูลฝอย
แบบ Zero Waste

สําหรบั สถานศึกษา

ภัทรานษิ ฐ ปรญิ ญากุลเสฏฐ



โมเดลจดั การขยะมลู ฝอย
แบบ
สำหรบั สถานศกึ ษา

ภทั รานษิ ฐ์ ปรญิ ญากลุ เสฏฐ์

ชื่อหนงั สอื โมเดลจัดการขยะมูลฝอยแบบ Zero Waste
สำหรับสถานศึกษา
จดั ทำโดย
ออกแบบปก ภทั รานษิ ฐ์ ปริญญากุลเสฏฐ์
บรรณาธกิ าร
สนิ าภรณ์ ณฐาคำโคกกรวด

ภฤศมน ศริ ธิ นาไพศาล

พิมพท์ ี่ หจก.เลิศศลิ ป์ สาสณ์ โฮลดงิ้

336 ถนนสรุ นารี ตำบลในเมอื ง อำเภอเมือง
จงั หวัดนครราชสีมา 30000
โทร.0-4425-2883
www.lertsil.com

พิมพ์ครัง้ ท่ี 1 จำนวน 20 เลม่ พฤศจกิ ายน 2564

ข้อมลู ทางบรรณานกุ รมของหอสมดุ แห่งชาติ
ภัทรานษิ ฐ์ ปรญิ ญากลุ เสฏฐ์.

โมเดลจัดการขยะมูลฝอยแบบ Zero Waste สำหรับสถานศกึ ษา.--นครราชสมี า :

เลิศศลิ ป์ สาสณ์ โฮลด้งิ , 2564.
103 หนา้ .

1. การจัดการขยะมูลฝอย. 2. ขยะ -- การจดั การ. I. ชอื่ เรอื่ ง.

363.728
ISBN 978-616-588-016-9

คำนิยม

หนังสือโมเดลจัดการขยะมูลฝอยแบบ Zero waste สำหรับสถานศึกษา
เปนหนังสือที่ผูแตงซึ่งเปนผูมีความรูและมีคุณวุฒิการศึกษาโดยตรงทางดานวิศวกรรม
สิ่งแวดลอม ไดรวบรวมประสบการณการทำงานในดานการบริหารจัดการขยะมูลฝอย
ภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีมาตลอดระยะเวลา 20 ป จากประสบการณสวนนี้เอง
ทำใหผูแตงมองภาพการบริหารจัดการขยะมูลฝอยภายในสถานศึกษาไดอยางแจมแจง
นอกจากน้ียังไดเรียนรูการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของสถานศึกษาอื่น ๆ เพื่อนำมา
เทียบเคียง เปรียบเทียบ วิเคราะห ประมวลผล เพื่อสรุปแนวทางการบริหารจัดการขยะ
มูลฝอยภายในสถานศึกษา และเรียบเรยี งออกมาเปนองคความรูในหนังสือเลมนี้ ผูแตงได
รวมรวมปญหา แผนแมบ ทในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ แนวทางการจดั ทำ
ตัวชี้วัด กิจกรรมการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแตตนทางและแนวทางเทคโนโลยีการจัดการ
ขยะมูลฝอยแบบยั่งยืนที่ปลายทาง อกี ทั้งยังไดรวบรวมโครงการและการประกวดตาง ๆ ที่
เกี่ยวของกับการจัดการขยะมูลฝอยทั้งในประเทศและตางประเทศ เพื่อใหองคก รอื่น ๆ ใช
เปน แบบอยางในการดำเนนิ การจัดการขยะมลู ฝอยภายในองคกรของตนเองได

ขอช่นื ชมผูแตงท่ีไดส รา งสรรคองคความรทู ่ีเปนประโยชนในการบรหิ ารจัดการขยะ
มูลฝอยสำหรับสถานศึกษา ซึ่งเปนแนวทางที่สามารถประยุกตใชไดกับองคกรอื่น ๆ
สามารถเปนสวนขับเคลื่อนใหการจัดการขยะมูลฝอยในภาพรวมของประเทศนำไปสูการ
จดั การทเ่ี หมาะสมและยั่งยืนไดใ นอนาคต

อาจารย ดร.อภชิ น วัชเรนทรวงศ
สาขาวชิ าวิศวกรรมสงิ่ แวดลอ ม สำนกั วิชาวิศวกรรมศาสตร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี



คำนำ

ปญหาการจัดการขยะมูลฝอยของสถานศึกษา หากจะแกไขเพื่อใหเกิดความยั่งยนื
ตองเริ่มตนจากตัวเรา และการผลักดันของผูบริหารสถานสถานศึกษาที่จะชวยกัน
หาวิธีและรวมมือกันลดและคัดแยกขยะมูลฝอยตั้งแตตนทาง ตลอดจนการนำขยะ
มูลฝอยกลับไปใชป ระโยชนใหมากที่สดุ และเหลือทงิ้ ใหน อ ยท่สี ุด

หนังสือเลมนี้ ผูเขียนไดรวบรวมองคความรู และนำมาวิเคราะหขอมูล
จากประสบการณการทำงานของผูเขียนตลอดระยะเวลา 20 ป ท่ีไดปฏบิ ตั ิงานจริงเก่ียวกับ
การจัดการขยะมูลฝอยของมหาวิทยาลัย โดยเริ่มตั้งแตกระบวนการวางแผน และบริหาร
จัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจรจนเกิดผลสำเร็จอยางเปนรูปธรรม ชวยลดคาใชจาย
เกิดรายไดในรูปเงินสด เปนแหลงศึกษาดูงานทั้งภาครัฐและเอกชน ตลอดจนไดรับการจัด
อันดับใหเ ปนมหาวิทยาลยั สีเขยี วระดบั โลก หนงั สือเลม นี้ประกอบดว ย แนวทางการลดและ
คัดแยกขยะมูลฝอยตนทางและปลายทางตามแนวทาง Zero Waste การจัดทำตวั ช้ีวัดเพ่ือ
ประเมินผลสำเร็จการจัดการขยะมูลฝอย ตลอดจนการนำผลสำเร็จไปจัดทำขอมูลเพื่อเขา
รว มประกวดและการจัดอันดับตา ง ๆ ถอื เปน โมเดลจดั การขยะมลู ฝอยแบบบรู ณาการ และ
หนังสือเลมนี้ไดจัดทำขึน้ ในรปู แบบของ e-book เพื่อลดการใชกระดาษที่ผลิตมาจากตนไม
อันจะชว ยลดปญ หาภาวะโลกรอนได

ผูเขียนหวังวาหนังสือ โมเดลจัดการขยะมูลฝอยแบบ Zero Waste สำหรับ
สถานศึกษา เลมน้ีจะเปนแนวทางใหกับสถานศึกษาของประเทศไทยไดนำแนวทางการ
จัดการขยะมลู ฝอยแบบ Zero Waste ไปประยกุ ตใชเ พ่อื ใหเกิดการพัฒนาอยา งยงั่ ยนื ตอไป

ภัทรานิษฐ ปรญิ ญากลุ เสฏฐ
พฤศจิกายน 2564



สารบัญ

หนา

คำนยิ ม ก

คำนำ ข

สารบัญ ค

สารบัญภาพ จ

สารบญั ตาราง ช

บทท่ี 1 บทนำ

1.1 ปญ หาและความสำคญั 1

1.2 แผนแมบ ทบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศไทย 3

1.3 (รา ง) Roadmap การจดั การขยะพลาสติก 6

1.4 แนวทางจัดทำตวั ชวี้ ดั ผลสำเร็จการจัดการขยะมลู ฝอย 8

บทที่ 2 กจิ กรรมลดและคัดแยกขยะมลู ฝอยตน ทาง

2.1 กจิ กรรมธนาคารขยะรีไซเคลิ 10

2.2 กจิ กรรมรณรงคใชภ าชนะที่เปน มติ รตอสงิ่ แวดลอม 18

2.3 การจัดกจิ กรรมแบบลดโลกรอ น 20

2.4 การจัดถังขยะมูลฝอยแบบแยกประเภท 27

2.5 การจัดเก็บขยะมูลฝอยแบบแยกประเภท 30

บทท่ี 3 แนวทางจัดการขยะมลู ฝอยปลายทาง

3.1 สถานการณก ารจดั การขยะมูลฝอยของประเทศไทย 32

3.2 เทคโนโลยีการจดั การขยะมลู ฝอย 33

3.3 กรณศี กึ ษาการจดั การขยะมลู ฝอยของสถานศึกษา 47

บทที่ 4 การประกวดและจดั อนั ดบั ตา ง ๆ

4.1 โรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) 60

4.2 โครงการสำนักงานสเี ขียว (Green Office) 64

4.3 โครงการสนบั สนุนกิจกรรมลดกา ซเรอื นกระจก (Low Emission

Support Scheme, LESS) 67

4.4 การจดั อันดับมหาวทิ ยาลยั สเี ขยี วโลก

(UI GreenMetric World University) 70

4.5 การจัดอนั ดบั ดานการพฒั นาอยางย่ังยนื (Times Higher Education

Impact Rankings) 76

บทท่ี 5 บทสรปุ

5.1 โมเดลจัดการขยะมลู ฝอยแบบ Zero Waste 80

5.2 ปญ หาและขอ เสนอแนะในการจัดการขยะมูลฝอยของสถานศกึ ษา 85

บรรณานุกรม 88

ประวตั ผิ เู ขียน 90

ง สารบญั

สารบญั ตาราง

ตารางที่ หนา

1.1 เปา หมายรายปของแผนแมบทการบริหารจดั การขยะมูลฝอย

ของประเทศ (พ.ศ. 2559 – 2564) 3

1.2 มาตรการตามแผนแมบ ทการบริหารจัดการขยะมลู ฝอยของประเทศ

(พ.ศ. 2559 – 2564) 5

1.3 เปา หมายการจัดการขยะมลู ฝอยพลาสติก พ.ศ. 2561 – 2573 7

1.4 ตัวชว้ี ัดผลสำเรจ็ การจดั การขยะมูลฝอย 8

2.1 รายการภาชนะทเ่ี ปนมติ รตอ ส่งิ แวดลอม 18

2.2 ขอ มูลคำนวณปริมาณการปลอยกา ซเรอื นกระจกสำหรับการจัดอเี วนท 21

2.3 เปรียบเทยี บปริมาณการปลอยกาซเรอื นกระจกจากการอบมรม/สมั มนา 25

2.4 แนวทางจัดกจิ กรรมแบบลดโลกรอนโดยไมยื่นขอชดเชยคารบ อน 26

3.1 ขอด-ี ขอ ดอยของเทคโนโลยีการเผาในเตาเผา 34

3.2 ขอด-ี ขอ ดอยของเทคโนโลยผี ลติ แทง เชือ้ เพลงิ ขยะ 35

3.3 ขอ ด-ี ขอ ดอ ยของเทคโนโลยกี ารผลติ แกส เชอ้ื เพลิง (Gasification) 37

3.4 ขอด-ี ขอ ดอยของเทคโนโลยกี ารผลติ กา ซชวี ภาพโดยกระบวนการยอ ยสลาย

แบบไรอ อกซิเจน 39

3.5 ขอ ด-ี ขอ ดอ ยของเทคโนโลยีการแปรรูปขยะมูลฝอย

ประเภทพลาสตกิ เปน นำ้ มัน 41

3.6 ขอด-ี ขอดอยของเทคโนโลยีพลาสมาอารค 43

3.7 ตัวอยา งสถานศกึ ษาท่ีมโี รงจดั การขยะมลู ฝอยภายในสถานศกึ ษา 44

3.8 ตน ทนุ ตอ หนว ยของโรงจัดการขยะแบบครบวงจร

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี 50

3.9 ผลการประเมนิ ความคุมคา ทางเศรษฐศาสตร ของโรงจดั การขยะแบบครบวงจร

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี 51

3.10 ผลสำเรจ็ ของโรงจดั การขยะแบบครบวงจร มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี 52

3.11 การจดั สรรทุนจากกองทนุ สิ่งแวดลอมมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี ุรนารี 54

3.12 ปญ หาอปุ สรรคจากการบริหารจดั การขยะมูลฝอย มหาวิทยาลัย

เทคโนโลยสี ุรนารี 54

3.13 กระบวนการทำงานของศนู ยบ ริหารจดั การชีวมวลครบวงจร 55

3.14 ผลสำเรจ็ ของศนู ยบรหิ ารจัดการชีวมวลครบวงจร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 58

สารบญั ตาราง หนา

ภาพที่ 59
3.15 ปญ หาอปุ สรรคของศนู ยบรหิ ารจัดการชีวมวลครบวงจร 60
63
มหาวิทยาลยั เชยี งใหม 66
4.1 การประกวดและจดั อันดบั สถานศกึ ษาทเ่ี ปน มิตรตอสงิ่ แวดลอม 68
4.2 ขอ มูลประกอบการเขา รวมโรงเรยี นปลอดขยะ 72
4.3 ขอ มลู ประกอบการเขา รวมโครงการสำนกั งานสีเขยี ว 76
4.4 ประเภทกจิ กรรมลดกา ซเรอื นกระจกของ LESS 77
4.5 ขอมลู ประกอบการจัดอนั ดบั มหาวทิ ยาลยั สเี ขยี วโลก 78
4.6 เปาหมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื ของสหประชาชาติ 85
4.7 แนวทางการจัดทำขอ มูล SDGs 12
4.8 ประโยชนจ ากการจดั อันดบั สถานศกึ ษาทเี่ ปน มติ รตอ ส่งิ แวดลอ ม
5.1 ปญหาและขอเสนอแนะในการจัดการขยะมูลฝอย

ซ สารบญั ตาราง

สารบญั ตาราง

ตารางที่ หนา

1.1 เปา หมายรายปของแผนแมบทการบริหารจดั การขยะมูลฝอย

ของประเทศ (พ.ศ. 2559 – 2564) 3

1.2 มาตรการตามแผนแมบ ทการบริหารจัดการขยะมลู ฝอยของประเทศ

(พ.ศ. 2559 – 2564) 5

1.3 เปา หมายการจัดการขยะมลู ฝอยพลาสติก พ.ศ. 2561 – 2573 7

1.4 ตัวชว้ี ัดผลสำเรจ็ การจดั การขยะมูลฝอย 8

2.1 รายการภาชนะทเ่ี ปนมติ รตอ ส่งิ แวดลอม 18

2.2 ขอ มูลคำนวณปริมาณการปลอยกา ซเรอื นกระจกสำหรับการจัดอเี วนท 21

2.3 เปรียบเทยี บปริมาณการปลอยกาซเรอื นกระจกจากการอบมรม/สมั มนา 25

2.4 แนวทางจัดกจิ กรรมแบบลดโลกรอนโดยไมยื่นขอชดเชยคารบ อน 26

3.1 ขอด-ี ขอ ดอยของเทคโนโลยีการเผาในเตาเผา 34

3.2 ขอด-ี ขอ ดอยของเทคโนโลยผี ลติ แทง เชือ้ เพลงิ ขยะ 35

3.3 ขอ ด-ี ขอ ดอ ยของเทคโนโลยกี ารผลติ แกส เชอ้ื เพลิง (Gasification) 37

3.4 ขอด-ี ขอ ดอยของเทคโนโลยกี ารผลติ กา ซชวี ภาพโดยกระบวนการยอ ยสลาย

แบบไรอ อกซิเจน 39

3.5 ขอ ด-ี ขอ ดอ ยของเทคโนโลยีการแปรรูปขยะมูลฝอย

ประเภทพลาสตกิ เปน นำ้ มัน 41

3.6 ขอด-ี ขอดอยของเทคโนโลยีพลาสมาอารค 43

3.7 ตัวอยา งสถานศกึ ษาท่ีมโี รงจดั การขยะมลู ฝอยภายในสถานศกึ ษา 44

3.8 ตน ทนุ ตอ หนว ยของโรงจัดการขยะแบบครบวงจร

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี 50

3.9 ผลการประเมนิ ความคุมคา ทางเศรษฐศาสตร ของโรงจดั การขยะแบบครบวงจร

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี 51

3.10 ผลสำเรจ็ ของโรงจดั การขยะแบบครบวงจร มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี 52

3.11 การจดั สรรทุนจากกองทนุ สิ่งแวดลอมมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี ุรนารี 54

3.12 ปญ หาอปุ สรรคจากการบริหารจดั การขยะมูลฝอย มหาวิทยาลัย

เทคโนโลยสี ุรนารี 54

3.13 กระบวนการทำงานของศนู ยบ ริหารจดั การชีวมวลครบวงจร 55

3.14 ผลสำเรจ็ ของศนู ยบรหิ ารจัดการชีวมวลครบวงจร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 58

สารบญั ตาราง หนา

ภาพท่ี 59
3.15 ปญ หาอุปสรรคของศูนยบรหิ ารจัดการชีวมวลครบวงจร 60
63
มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม 66
4.1 การประกวดและจดั อันดบั สถานศกึ ษาทเ่ี ปน มิตรตอสงิ่ แวดลอม 68
4.2 ขอ มูลประกอบการเขารวมโรงเรยี นปลอดขยะ 72
4.3 ขอ มลู ประกอบการเขา รวมโครงการสำนกั งานสีเขยี ว 76
4.4 ประเภทกิจกรรมลดกาซเรอื นกระจกของ LESS 77
4.5 ขอ มูลประกอบการจัดอนั ดบั มหาวทิ ยาลยั สเี ขยี วโลก 78
4.6 เปา หมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื ของสหประชาชาติ 85
4.7 แนวทางการจัดทำขอ มูล SDGs 12
4.8 ประโยชนจ ากการจัดอันดบั สถานศกึ ษาทเี่ ปน มติ รตอ ส่งิ แวดลอ ม
5.1 ปญ หาและขอ เสนอแนะในการจัดการขยะมูลฝอย

ซ สารบัญตาราง

บทท่ี 1 บทนำ

1.1 ปญ หาและความสำคัญ

ปญหาขยะมูลฝอยลนเมืองเปนปญหาสำคัญระดับประเทศ สาเหตุหนึ่งมาจาก

พฤติกรรมการบริโภคที่เนนความสะดวกสบาย โดยเฉพาะปญ หาขยะพลาสติก ทุกอยางเนน

การใชบ รรจภุ ัณฑพลาสติกในการหอหุม ใชประโยชนเพยี งเล็กนอย และทงิ้ เปนขยะมูลฝอย

เปน ภาระของหนวยงานภาครฐั ท่จี ะตองหาวิธีการจัดการจนกลายเปน ปญ หาของประเทศ

หากพิจารณาปริมาณขยะมูลฝอยจากกลุมสถานศึกษาตั้งแตระดับประถมศึกษา

จนถึงระดับอุดมศึกษา ประกอบดวย นักเรียน นักศึกษา อาจารยและบุคลากรที่เขามาใช

ชีวิตในสถานศึกษาทั้งการเรียนการสอน การวิจัย และพักอาศัย ยอมหลีกเลี่ยงไมได

ที่จะตองผลิตขยะมูลฝอย เมื่อเกิดขยะมูลฝอยตองใชงบประมาณทั้งการจางรถเก็บขน

ขยะมูลฝอยและสิ้นเปลืองคาใชจายในการกำจัดขยะมูลฝอยอีกมากมาย ซึ่งมีแนวโนม

เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องตามการเติบโตของสถานศึกษา การแกไขปญหาขยะมูลฝอยควรเปน

หนาที่ของคนที่สรางขยะมูลฝอย นั่นคือพวกเราทุกคนและผูบริหารของสถานศึกษา

ที่จะรวมมือรวมใจกันลด คัดแยก นำขยะมูลฝอยไปใชประโยชนใหมากที่สุดและเหลอื ทิ้งให

นอ ยท่สี ุด

คำวา Zero Waste หรือ ขยะมูลฝอยเหลือศูนย หมายถึง การลดการเกิดขยะ

มลู ฝอยต้ังแตตน ทาง เพอ่ื ทำใหขยะมูลฝอยทต่ี องนำไปกำจัดใหเ หลือนอยทสี่ ดุ และสามารถ

นำไปกำจดั ไดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยวธิ ลี ดการเกิดขยะมูลฝอยต้ังแตตนทางประกอบดวย

การลดการเกิด การใชซ้ำ และการคัดแยกเพ่อื นำกลบั มาใชใ หมตามแนวทางดังนี้

x Reduce : ลดการใช/ ใชนอย

x Reuse : ใชซำ้

x Recycle : นำกลับไปใชใ หม (โรงงานรีไซเคิล)

x Process : แปรรปู ดว ยกระบวนการทางวิศวกรรม

x Land Fill : ฝง กลบ

ดังภาพที่ 1.1

ภาพที่ 1.1 แนวทางลดขยะมลู ฝอยแบบ Zero Waste

1.2 แผนแมบ ทบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศไทย

กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไดจัดทำแผน

แมบทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ (พ.ศ. 2559 – 2564) เพื่อแกไขปญหา

ขยะมูลฝอยตามนโยบายรัฐบาลที่กำหนดใหเปนวาระแหงชาติ โดยมีกรอบแนวคิดหลัก คือ

มุงเนนการลดการเกิดขยะมูลฝอย ณ แหลงกำเนิด การนำกลับมาใชซ้ำและใชประโยชนใหม

ตามหลักการ 3Rs การกำจัดขยะมูลฝอยแบบศูนยรวม และการมีสวนรวมของทุกภาคสวน

1.2.1 เปา หมาย

เปาหมายในการดำเนินการตามแผนแมบทการบริหารจัดการขยะ

มลู ฝอยของประเทศ (พ.ศ. 2559 – 2564) ดงั ตารางท่ี 1.1

ตารางท่ี 1.1 เปาหมายรายปของแผนแมบ ทการบรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอยของ

ประเทศ (พ.ศ. 2559 – 2564)

เปา หมาย ป พ.ศ./คา เปา หมาย (รอ ยละ)

2559 2560 2561 2562 2563 2564

1. ขยะมูลฝอยชุมชนไดรับการจัดการ 50 55 60 65 70 75

อยางถูกตองตามหลักวิชาการ1

ไมนอยกวา

2. ขยะมูลฝอยตกคางไดรับการจัดการ 75 85 95 100 100 100

อยา งถูกตองตามหลกั วชิ าการ2,3

3. ของเสียอันตรายชุมชนไดรับการ 5 10 15 20 25 30

รวบรวมและสงไปกำจัดถูกตองตามหลัก

วชิ าการ ไมน อยกวา

4. มูลฝอยติดเชื้อไดรับการจัดการอยาง 80 85 90 95 100 100

ถูกตองตามหลักวิชาการ

5. กากอุตสาหกรรมที่เปนอันตรายเขาสู 60 70 80 90 100 100

ระบบการจัดการท่ถี ูกตอง

6. องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีการ 5 10 20 30 40 50

คัดแยกขยะมูลฝอยและของเสยี อันตราย

ชุมชนทตี่ นทาง

บทที่ 1 บทนำ 3

หมายเหตุ :
1. ขยะมูลฝอยชุมชนไดรับการจัดการอยางถูกตองตามหลักวิชาการ หมายถึง ปริมาณขยะ
มูลฝอยที่นำไปกำจัดอยางถูกตองตามหลักวิชาการ รวมกับปริมาณขยะมูลฝอยที่นำไปใช
ประโยชน ไดแ ก การฝง กลบอยางถูกตองตามหลักวิชาการ การผลติ เช้ือเพลิง (RDF) การเผา
พรอมระบบควบคุมมลพิษ เปนตน
2. ขยะมูลฝอยตกคาง หมายถึง ขยะมูลฝอยที่ถูกนำไปทิ้งในสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยและ
ไมไดรับการกำจัดอยางถูกตองตามหลักวิชาการ ทั้งน้ี ไมรวมขยะมูลฝอยที่ทิ้งหรือคางตาม
พนื้ ท่วี า งท่วั ไปต้งั แตอ ดตี จนถงึ ป 2558
3. ขยะมูลฝอยตกคางไดรับการจัดการอยางถูกตองตามหลักวิชาการ หมายถึง ขยะมูลฝอย
ตกคางถูกนำไปฝงกลบอยางถูกตองตามหลักวิชาการ หรือแปรรูปเปนเชื้อเพลิง/พลังงาน
ไฟฟา และนำสงเปนวัตถดุ ิบใหโรงงานปูนซเี มนต หรอื สง ไปเตาเผา

1.2.2 มาตรการ
กำหนดมาตรการในการดำเนนิ การเพอ่ื ใหครอบคลุมการจัดการตง้ั แตตน ทาง

กลางทาง ปลายทาง ประกอบดวย 3 มาตรการ คือ 1) มาตรการลดการเกิดขยะมูลฝอย
และของเสียอันตรายที่แหลงกำเนิด 2) มาตรการเพิ่มศักยภาพการจัดการขยะมูลฝอย และ
ของเสียอันตราย และ 3) มาตรการสงเสริมการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสีย
อนั ตราย ดงั ตารางท่ี 1.2

4 บทท่ี 1 บทนำ

ตารางท่ี 1.2 มาตรการตามแผนแมบ ทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ
(พ.ศ. 2559 – 2564)

ลำดบั มาตรการ
1 มาตรการลดการเกดิ ขยะมลู ฝอยและของเสยี อนั ตรายทแ่ี หลงกำเนดิ
ƒ สนับสนุนและขยายผลใหมีการจัดการขยะมูลฝอย ตั้งแตบานเรือน
สถานศึกษา สถานประกอบการ สถานบริการ ชุมชนและสถานท่ี
ทองเทย่ี ว
ƒ สงเสรมิ การผลิตและการเลือกใชส ินคาทเ่ี ปน มติ รกับส่ิงแวดลอ ม
ƒ สง เสรมิ ใหเกดิ กลไกการคัดแยกและนำขยะมลู ฝอยและของเสยี
อันตรายกลับมาใชป ระโยชนใหมใหม ากทีส่ ุด
2 มาตรการเพม่ิ ศักยภาพการจัดการขยะมลู ฝอยและของเสยี อันตราย
ƒ เก็บรวบรวม ขนสง และกำจัดขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายที่
เกิดขึ้นในพื้นที่รับผิดชอบของตนเอง จัดใหมีศูนยกำจัดขยะมูลฝอย
รวม (Cluster) โดยใชเทคโนโลยีแบบผสมผสานอยางเหมาะสม
ƒ ปรบั ปรุงกฎหมาย และกฎระเบียบทเ่ี กยี่ วของ
3 มาตรการสงเสรมิ การบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
ƒ สรางจติ สำนกึ ใหกบั ประชาชนตั้งแตร ะดบั เยาวชนเขามามีสวนรวมใน
การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย ตั้งแตการลด คัดแยก
และกำจดั
ƒ พัฒนาองคความรู รูปแบบเทคโนโลยี และหลักสูตรการเรียนการ
สอน
ƒ พัฒนาและเชื่อมโยงระบบฐานขอมูลเพื่อการจัดการอยางมี
ประสิทธิภาพ
ƒ สรางแรงจูงใจโดยใชกลไกทางเศรษฐศาสตร และกลไกทางสังคม
รวมท้งั สรา งตวั ช้ีวัดรว ม (Joint KPI)

ท่มี า : กรมควบคุมมลพษิ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ ม. (2559). แผน
แมบทการบริหารจดั การขยะมลู ฝอยของประเทศ (พ.ศ. 2559 – 2564).

บทที่ 1 บทนำ 5

1.3 (รา ง) Roadmap การจดั การขยะมลู ฝอยพลาสติก พ.ศ. 2561 – 2573
กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไดจัดทำ (ราง)

Roadmap การจัดการขยะมูลฝอยพลาสติก พ.ศ. 2561 – 2573 เพื่อแกไขปญหาขยะ
มูลฝอยพลาสติกที่มีแนวโนมทวีความรุนแรงมากขึ้นทุกวัน เนื่องจากประเทศไทยมีปริมาณ
ขยะมูลฝอยพลาสติกเกิดขึ้น รอยละ 12 ของขยะมูลฝอยทั้งหมด (2 ลานตน/ป) แตมีการ
นำกลับไปใชใหมเพียง 0.5 ลานตัน/ป สวนอีก 1.5 ลานตัน/ป เปนขยะมูลฝอยพลาสติก
แบบใชครั้งเดียวทิ้ง (Single – use plastic) โดยไมมีการนำกลับมาใชประโยชน จะถูกท้ิง
ไปฝงกลบรวมกับขยะมูลฝอยประเภทอื่น ไมมีมาตรการในการจัดการ จึงไดจัดทำ (ราง)
Roadmap การจัดการขยะมูลฝอยพลาสตกิ โดยไดก ำหนดเปา หมาย 2 เปาหมาย ดงั นี้

1) เปาหมายท่ี 1 การลดและเลิกใชพลาสติกเปาหมายดวยการใชวัสดุ
ทดแทนที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม โดยภายในป พ.ศ. 2562 เลิกใชพลาสติก 3 ชนิด คือ
พลาสติกหุมฝาขวด (Cap Seal) ผลิตภัณฑพลาสติกที่ผสมของสารอ็อกโซ (Oxo)
Microbead จากพลาสติก และ ภายในป พ.ศ. 2565 เลิกใชพลาสติกอีก 4 ชนิด คือ
ถุงพลาสติกหูหิ้วขนาดความหนานอยกวา 36 ไมครอน กลองโฟมบรรจุอาหาร แกวพลาสติก
แบบใชคร้งั เดียว และหลอดพลาสตกิ

2) เปาหมายที่ 2 การนำขยะมูลฝอยพลาสติกเปาหมายกลับมาใชประโยชน
รอยละ 100 ภายในป พ.ศ. 2570 รายละเอยี ดดังตารางที่ 1.3

6 บทที่ 1 บทนำ

ตารางท่ี 1.3 เปาหมายการจัดการขยะมูลฝอยพลาสตกิ พ.ศ. 2561 – 2573

ลำดบั เปา หมาย/ตัวชีว้ ัด ป พ.ศ.

2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2571 2572 2573

1 การลดและเลิกใชพลาสติกเปาหมายดวย

ก า ร ใ ช  ว ั ส ด ุ ท ด แ ท น ท ี ่ เ ป  น ม ิ ต ร ต อ

ส่ิงแวดลอ ม

1.1 พลาสติกหมุ ฝาขวด 80 100

1.2 ผลิตภัณฑพ ลาสติกที่ผสมสาร Oxo 100

1.3 Microbead จากพลาสติก 100

1.4 ถงุ พลาสติกหหู ิ้ว ขนาดความหนา 25 50 75 100
นอ ยกวา 36 ไมครอน 25 50 75 100

1.5 กลอ งโฟมบรรจุอาหาร

1.6 แกว พลาสติกแบบใชคร้ังเดยี ว 25 50 75 100

1.7 หลอดพลาสตกิ 25 50 75 100

2 การนำขยะมูลฝอยพลาสติกเปาหมาย 22 25 30 40 60 70 80 90 100
กลบั มาใชป ระโยชน รอยละ 100

ทมี่ า : กรมควบคมุ มลพิษ. (2562). (ราง) road map การจัดการขยะมูลฝอยพลาสตกิ พ.ศ. 2561 – 2573.

บทที่ 1 บทนำ 7

1.4 แนวทางจัดทำตวั ชีว้ ดั ผลสำเร็จการจดั การขยะมลู ฝอย
การจัดทำตัวชี้วัดผลสำเร็จการจัดการขยะมูลฝอยมีหลากหลายรูปแบบขึ้นอยูกับ

บริบทของสถานศึกษานั้น ๆ โดยสามารถพิจารณาตัวชี้วัดผลสำเร็จจากการจัดการ
ขยะมูลฝอยตน ทางและการจัดการขยะมลู ฝอยปลายทาง ดังตารางที่ 1.4

ตารางท่ี 1.4 ตัวชีว้ ัดผลสำเร็จการจัดการขยะมลู ฝอย

ลำดบั ตวั ชวี้ ัด หนวย วิธีวดั ผล

1 การจดั การขยะมลู ฝอยตนทาง

1.1 รานอาหารปลอดโฟม (งดการ รอยละ จำนวนรานจำหนายอาหารท่ี

ใชกลองโฟม) ง ด ใ ช  ก ล  อ ง โ ฟ ม เ ท ี ย บ กั บ

จำนวนรานจำหนายอาหาร

ทั้งหมด

1.2 รา นสะดวกซอื้ งดใช รอยละ จำนวนรานสะดวกซื้อที่งดใช

ถงุ พลาสติกหูหว้ิ ถุงพลาสติกหูหิ้วเทียบกับ

จำนวนรา นสะดวกซือ้ ท้งั หมด

1.3 รานกาแฟลดการใชแกว รอ ยละ จำนวนรานจำหนายกาแฟ

พลาสติกและใชแกวแบบยอย ลดใชแกวพลาสติกเทียบกับ

สลายไดท ดแทน จำนวนรานจำหนายกาแฟ

ทัง้ หมด

1.4 ปริมาณขยะรีไซเคิลที่รวบรวม รอยละ ปริมาณขยะรีไซเคิลท่ีขาย

ไดผ านธนาคารขยะรไี ซเคลิ ผานธนาคารขยะรีไซเคิล

เทียบกับปริมาณขยะมูลฝอย

ทง้ั หมด

1.5 การคดั แยกขยะเศษอาหาร รอยละ ปริมาณขยะเศษอาหารที่

คัดแยกไดเทียบกับปริมาณ

ขยะมลู ฝอยทง้ั หมด

1.6 การตดิ ต้งั ถังขยะแยกประเภท รอยละ จำนวนจุดตั้งถังขยะมูลฝอย

แบบแยกประเภท

เทียบกับจำนวนจุดตั้งถังขยะ

มลู ฝอยท้งั หมด

8 บทที่ 1 บทนำ

ตารางท่ี 1.4 แนวทางประเมนิ ผลสำเร็จการจดั การขยะมูลฝอย (ตอ )

ลำดบั ตวั ชีว้ ัด หนว ย วธิ วี ดั ผล

2 การจัดการขยะมูลฝอย

ปลายทาง

2.1 รอยละของปรมิ าณขยะ รอยละ ป ร ิ ม า ณ ข ย ะ ม ู ล ฝ อ ย ที่

มูลฝอยทนี่ ำมาใช จัดการไดเองภายในโรง

ประโยชน (รีไซเคลิ /ผลิต จัดการขยะมูลฝอย โดย

พลงั งาน/เชือ้ เพลิงขยะ/ นำมาใชประโยชน เชน

ผลติ ปยุ อนิ ทรีย) รีไซเคิล ผลิตพลังงาน ผลิต

เชื้อเพลิงขยะ ผลิตปุย

อินทรีย และอื่น ๆ เทียบ

กับปริมาณขยะมูลฝอยท่ี

เกิดขน้ึ ท้งั หมด

2.2 รอยละของปริมาณขยะ รอ ยละ ปริมาณขยะมูลฝอยที่สง

มลู ฝอยทีส่ งกำจัดภายนอก กำจัดยังภายนอก

สถานศึกษา หรือ สงตอให

หนวยงานภาครฐั จดั การ

2.3 อัตราการเกดิ ขยะมูลฝอย กก./คน/วัน คำนวณอัตราการเกิดขยะ

ลดลง มูลฝอยของสถานศึกษาใน

หนวย กก.ตอคนตอวัน

เทียบอัตราการเกิดขยะ

มลู ฝอยปฐาน

2.4 ปริมาณการเกดิ ขยะ รอยละ ปริมาณขยะมูลฝอยที่ลดลง

มลู ฝอยลดลง เทียบปริมาณขยะมูลฝอย

ปฐ าน

บทท่ี 1 บทนำ 9

บทท่ี 2
กิจกรรมลดและคดั แยกขยะมูลฝอยตน ทางแบบ Zero Waste

กิจกรรมลดและคัดแยกขยะมูลฝอยตนทางถือเปนแนวทางหน่ึงท่ีสำคัญและเปน
กระบวนการที่ตองการความรวมมือจากผูท้ิงขยะมูลฝอยเปนอยางมาก ดังน้ัน กิจกรรมที่
ดำเนินการควรมีความหลากหลายเพื่อใหเหมาะสมกับกลุมประชากรของสถานศึกษา เชน
กิจกรรมธนาคารขยะรีไซเคิล กิจกรรมรณรงคใชภาชนะที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม การจัด
กจิ กรรมแบบลดโลกรอ น การจดั ถังขยะมูลฝอยแบบแยกประเภท และการจัดเก็บแบบแยก
ประเภท เปน ตน

2.1 กิจกรรมธนาคารขยะรไี ซเคิล
กิจกรรมธนาคารขยะรีไซเคิล คือ กิจกรรมการรับซื้อขยะรีไซเคิลจากประชากร

ภายในสถานศึกษา และสถานศึกษาจะนำไปขายตอ ใหกับรา นรับซ้ือขยะรไี ซเคิลตอไป ทั้งนี้
ผูขายหรือประชากรภายในสถานศึกษา (นักเรียน นักศึกษา ครู อาจารย บุคลากร) จะนำ
ขยะรีไซเคิลที่เปนของสวนตัวมาขายใหกับธนาคารฯ และเจาหนาที่ของธนาคารฯ
จะคำนวณยอดเงินตามราคาท่ีกำหนด และจายเงินสดใหกับผูขาย ทั้งน้ี รานรับซื้อขยะ
รีไซเคิลจะเปนผูจัดเตรียมรถบรรทุก แรงงาน เคร่ืองชั่งน้ำหนักเพ่ือดำเนินการเก็บขนขยะ
รีไซเคิลจากสมาชิก โดยธนาคารฯ ทำหนาท่ีเปนตัวกลางในการรับซื้อระหวา งรานรับซื้อกับ
ผขู าย
วตั ถปุ ระสงค

1) เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยตนทาง สงเสริมการคัดแยกขยะมูลฝอยและนำไป
เพม่ิ มูลคาโดยการขายเปนรายได

2) เพื่อสงเสริม และรณรงคใหประชากรภายในสถานศึกษามีความตระหนัก
ในการชว ยกนั ลดปญ หาขยะมูลฝอย

ประโยชนท ี่ไดร บั
1) ชว ยลดปริมาณขยะมลู ฝอยและคา ใชจ า ยในการสงขยะมลู ฝอยไปกำจดั ภายนอก
2) ประชากรภายในสถานศึกษามคี วามตระหนกั รู และรวมกนั ลดปญ หาการจดั การ
ขยะมูลฝอยภายในสถานศกึ ษา
3) สรางรายไดใ นรูปเงินสดเพื่อนำไปพัฒนาสง่ิ แวดลอ มของสถานศึกษา

10 บทท่ี 2 กจิ กรรมลดและคัดแยกขยะมูลฝอยตนทางฯ

ตัวช้วี ดั
1) รอยละของจำนวนประชากรภายในสถานศึกษาเขารวมกิจกรรมธนาคารขยะ
รไี ซเคลิ เมอ่ื เทยี บจำนวนประชากรทัง้ หมด (ระบุรอยละ)
2) รอยละของจำนวนขยะรีไซเคิลที่รวบรวมไดเม่ือเทียบปริมาณขยะทั้งหมด (ระบุ
รอยละ)

วิธดี ำเนนิ การ
1) แตงตงั้ คณะทำงานโครงการธนาคารขยะรีไซเคิล
x จัดทำแนวปฏิบตั ิในการดำเนนิ งานโครงการธนาคารขยะรีไซเคิล
x จดั ทำแผนรณรงคก ารคัดแยกขยะมูลฝอยภายในสถานศกึ ษา
x กำกับดแู ลและประเมินผลการดำเนนิ โครงการเสนอผูบรหิ าร
x บริหารจัดการรายไดอันเกิดจากการดำเนนิ งานของโครงการ
2) แตง ต้งั เจา หนา ที่ปฏบิ ัติงานธนาคารขยะรไี ซเคิล จำนวน 4 คน
x ผูจัดการ : กำกับดแู ลการรับซื้อขยะรีไซเคิล การบริหารจัดการของธนาคาร
ขยะรีไซเคิล และประมูลราคารับซ้อื
x เจาหนาที่รับซ้ือ : เปดดำเนินการรับซื้อขยะรีไซเคิล จัดทำขอมูลการรับซ้ือ
และเบิกจายเงินใหกับสมาชิก จัดทำฐานขอมูลสมาชิก และประสานงานกับ
รานรบั ซอื้ ขยะรไี ซเคิล
x เจา หนา ที่การเงิน : ตรวจสอบยอดฝาก และยอดถอนเงินของสมาชกิ
x เจาหนา ทป่ี ระชาสัมพนั ธ : ประชาสมั พันธแ ละใหความรเู กยี่ วกับการ
คัดแยกขยะรีไซเคิล ราคารบั ซือ้ และขาวสารตาง ๆ
3) การเปดบัญชีกับธนาคารพาณิชย
กอนเปดดำเนินการ ใหสถานศึกษาเปด บัญชกี บั ธนาคารพาณชิ ย เพอื่ รับเงนิ

จากการขายขยะรไี ซเคลิ จากรา นรบั ซอ้ื เพอื่ การบรหิ ารจัดการถอนเงินเบกิ จา ยใหก บั สมาชกิ
4) การกำหนดคณุ สมบตั ริ า นรบั ซอ้ื
รานรับซื้อท่ีเขามารับซ้ือขยะรีไซเคิลภายในสถานศึกษา ตองเปนรานที่

จดทะเบียนพาณิชยกับกรมพัฒนาธุรกิจการคา และมีวัตถุประสงคการคาในการรับซื้อ
ของเกา ตลอดจนตองมีความพรอมในการจัดหารถเก็บขน และแรงงานในการขนยายขยะ
รีไซเคลิ ออกจากสถานศกึ ษาเพอ่ื ไมใ หขยะรีไซเคิลตกคา ง

บทท่ี 2 กจิ กรรมลดและคดั แยกขยะมลู ฝอยตน ทางฯ 11

5) การกำหนดราคารับซอ้ื
การกำหนดราคารับซื้อใหแบงเปน 2 สวน คือ รอยละ 90 เปนสวนของสมาชิก

สวนอีก รอยละ 10 เปนสวนของคาบริหารจัดการของธนาคารฯ ซึ่งรายไดน้ีสามารถนำไป
เปนคาใชจายในการดำเนินงานของธนาคารฯ ได เชน คาวัสดุอุปกรณ คาประชาสัมพันธ
เปนตน หรือนำเขากองทุนส่ิงแวดลอมของสถานศึกษา ท้ังน้ี การกำหนดราคารับซื้อควรมี
การปรับราคาทุก ๆ 2 เดือน โดยใชวิธีการประมูลรานรับซ้ือ และเปรียบเทียบราคาโดย
ใชคะแนนรวมแบบถวงน้ำหนักในการตัดสินรานรับซ้ือที่ชนะการประมูล และควรมีการ
เปรียบเทียบราคากับรานรับซ้ือขยะรีไซเคิลในพื้นท่ี หรือตรวจสอบจากสมาคมรีไซเคิลและ
รั บ ซื้ อ ข อ งเก า (https://www.junkbank.co) ห รือ บ ริ ษั ท ว งษ พ าณิ ช ย จ ำกั ด
(http://www.wongpanitsuvarnabhumi.com) ดงั ภาพท่ี 2.1

ราคาสมาชิก

ภาพที่ 2.1 ตัวอยางการกำหนดราคารับซื้อขยะรไี ซเคลิ

12 บทท่ี 2 กจิ กรรมลดและคดั แยกขยะมลู ฝอยตน ทางฯ

6) การจัดเตรยี มสถานที่และอุปกรณ
การใหบริการรบั ซ้ือขยะรีไซเคิล ควรจดั ระบบการใหบ ริการ 2 แบบ คือ 1) จดั รถ

บริการรับซื้อที่อาคารหรือบานพัก เหมาะสำหรับสมาชิกท่ีมีขยะรีไซเคิลปริมาณมาก และ
2) เปด รับซื้อตามชว งเวลาที่กำหนด เหมาะสมสำหรับสมาชกิ ที่มีขยะรไี ซเคิลปริมาณไมมาก
และสามารถบรรทุกใสรถสวนตัวมายังสถานที่รับซื้อได ทั้งน้ี ธนาคารฯ ควรจัดเตรียม
อปุ กรณอำนวยความสะดวก เชน รถกระบะ ตาชั่ง คนงาน และใบนำฝาก เปน ตน

7) การประชาสมั พันธ
การประชาสัมพันธใหกับประชากรภายในสถานศึกษาไดรับรูและใหเกิดความ

ความตระหนักรู ปจจุบันมีชองทางประชาสัมพันธที่หลากหลายทั้งแบบผานสื่อออนไลน
และไมผานสื่อออนไลน ตลอดจนการจัดกิจกรรมแบบ Road show เพื่อสรางการมี
สว นรวมของประชากรในสถานศกึ ษา

ภาพท่ี 2.2 ตวั อยางการประชาสัมพนั ธธนาคารขยะรีไซเคลิ
(ทมี่ า : https://www.facebook.com/SUT-Zero-Waste)
8) การเปด ดำเนนิ การ (รับฝาก-ถอน)
การเปดดำเนินการควรมีสถานท่ีและเวลารับซ้ือที่ชัดเจน เชน กำหนด
สัปดาหละ 1 คร้ัง และจัดใหมีรถบริการรับซ้ือจากอาคารตาง ๆ ท่ีมีปริมาณขยะรีไซเคิล
ปรมิ าณมาก เชน หอพัก โรงอาหาร และรานสะดวกซ้อื เปน ตน
การบนั ทกึ ขอมูลการฝาก-ถอนของสมาชิกสามารถใชไดท ั้งแบบฟอรม (กระดาษ)
หรอื ใช application ในการบันทึกและบริหารจัดการขอมูล ท้ังนี้ หากสามารถใชโปรแกรม
หรือ Application จะชวยลดปริมาณกระดาษในการบันทึก และสมุดบัญชีสำหรับสมาชิก
ถอื เปน การสงเสรมิ ตามแนวทาง Smart Environment

บทท่ี 2 กจิ กรรมลดและคดั แยกขยะมลู ฝอยตน ทางฯ 13

การถอนเงินหรือโอนเงินคาจำหนายขยะรีไซเคิลใหกับสมาชิก สามารถ
ใชทั้งวิธีการจายเปนเงินสด และโอนเงินเขาบัญชีของสมาชิก ท้ังน้ี ขึ้นอยูกับความพรอม
ของสถานศึกษา ดังภาพท่ี 2.3 และภาพที่ 2.4

ภาพที่ 2.3 ตวั อยา งใบนำฝาก และใบถอน

ภาพท่ี 2.4 ตวั อยา งสมุดบัญชีธนาคารขยะรีไซเคลิ

14 บทที่ 2 กจิ กรรมลดและคดั แยกขยะมูลฝอยตน ทางฯ

9) สรปุ ผลดำเนนิ งาน
การสรุปยอดเงินรับซื้อของสมาชิก ควรสรุปขอมูลทุกสัปดาหตามวันท่ีเปด

ทำการรบั ซอ้ื แตก ารถอนเงินของสมาชกิ ควรกำหนดเดือนละ 1-2 ครัง้ ดงั ภาพท่ี 2.5

รายงานการรับซอื้ ของธนาคารขยะรไี ซเคิล

ภาพที่ 2.5 ตวั อยางการสรุปยอดรบั ซ้อื
10) การบรหิ ารจดั การรายได

รายไดรอยละ 10 ที่ไดจากการบริหารจัดการ ควรกำหนดแนวทางการ
นำไปใชประโยชน โดยแบงเปน 3 สวน ประกอบดวย 1) คาตอบแทนเจาหนาที่ 2) คาวสั ดุ
ดำเนินงาน และ 3) โอนเขาเปนรายไดกองทุนส่ิงแวดลอมของสถานศึกษา ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับ
รูปแบบการบริหารงานของสถานศกึ ษา

การจัดกิจกรรมธนาคารขยะรีไซเคิลถือเปนกิจกรรมท่ีสถานศึกษาสามารถดำเนินการได
ทุกระดบั สถานศึกษาเพราะการดำเนินกิจกรรมไมซับซอน และท่ีสำคัญชวยลดปริมาณขยะ
มูลฝอยตนทาง ตลอดจนสรางรายไดในรูปเงินสดใหกับสถานศึกษาสามารถนำไปพัฒนา
สง่ิ แวดลอ มไดอยางย่ังยืนตอไป ดงั ภาพที่ 2.6 และภาพที่ 2.7

บทท่ี 2 กจิ กรรมลดและคดั แยกขยะมลู ฝอยตนทางฯ 15

เตรยี มการเปดดำเนนิ งาน แตง ต้งั คณะทำงานและ
เจาหนาทป่ี ฏบิ ัติงาน
x เปดบัญชี
x กำหนดคุณสมบัติ x ผูจัดการ
x เจาหนา ที่รบั ซอื้
รา นรับซื้อ x เจาหนาที่ประชาสัมพันธ
x ประมูลรา นรับซอื้ x เจาหนาที่การเงิน
x ประกาศราคารับซอื้
จัดเตรียมสถานที่และ
ประชาสัมพนั ธ อุปกรณ

x ออนไลน & ออฟไลน x รถบรรทุก
x Road show x ตาชงั่
x คนงาน
x สถานทีร่ บั ซอื้
x สมดุ นำฝาก/ใบถอน

เปด ดำเนินการ
x ชั่งน้ำหนกั
x บนั ทึกรายการ
x คำนวณยอดเงนิ
x บรกิ ารฝาก-ถอนเงนิ

สรุปผลดำเนนิ งาน บรหิ ารจดั การรายได
x สรุปยอดเงนิ ฝาก-ถอน x จดั สรรรายไดจากการ
x สรปุ รายได
บรหิ ารจดั การ เชน โอน
เขากองทนุ ส่ิงแวดลอ ม
และคา ตอบแทนเจา หนา ที่
ธนาคารฯ เปนตน

ภาพที่ 2.6 ข้ันตอนดำเนินงานธนาคารขยะรีไซเคลิ

16 บทท่ี 2 กิจกรรมลดและคดั แยกขยะมลู ฝอยตน ทางฯ

ภาพท่ี 2.7 ผลสำเร็จจากการดำเนนิ งานธนาคารขยะรไี ซเคิล มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยสี รุ นารี
(ทม่ี า : ธนาคารวสั ดรุ ไี ซเคิล มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี ุรนารี)

บทท่ี 2 กจิ กรรมลดและคัดแยกขยะมลู ฝอยตน ทางฯ 17

2.2 กิจกรรมรณรงคใ ชภาชนะท่ีเปนมติ รตอ สง่ิ แวดลอ ม
ปจจุบันการใชภาชนะสำหรับใสอาหารและเครื่องดื่มของผูประกอบการ

รา นอาหาร รา นเครื่องดม่ื และรานสะดวกซ้อื ภายในสถานศึกษา พบวา มกี ารนำภาชนะทไ่ี ม
เปน มติ รตอ สง่ิ แวดลอ มมาใชคอนขา งหลากหลายโดยเฉพาะภาชนะประเภททำจากโฟมและ
พลาสติก เน่ืองจากมีราคาถูกกวาภาชนะท่ีเปนมิตรตอส่ิงแวดลอม กอรปกับชวง
สถานการณแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีการปรับเปลี่ยน
วิถีการดำเนินชีวิตแบบ New Normal มีการสั่งอาหารแบบ Delivery กอใหเกิดขยะ
มูลฝอยจากการใชภาชนะมากข้ึน สถานศึกษาจึงจำเปนตองสรางความรู ความเขาใจ
เสริมสรางจิตสำนึก ตลอดจนควรมีมาตรการควบคุมผูประกอบการโดยใหกำหนดไวใน
สัญญาเชาพ้ืนที่ และควรมีมาตรการสงเสริมเพ่ือใหเกิดความรวมมือในชวงเร่ิมตนกิจกรรม
รณรงค เชน การจำหนายภาชนะท่ีเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมในราคาตนทุน และการมอบใบ
ประกาศเกียรตคิ ณุ เปนตน ดังตารางท่ี 2.1 และภาพท่ี 2.8

ตารางที่ 2.1 รายการภาชนะที่เปน มติ รตอ สิ่งแวดลอม

ลำดับ ภาชนะทไ่ี มเปน มติ รตอสง่ิ แวดลอม ภาชนะท่ีเปนมติ รตอ สิง่ แวดลอม

1

ภาชนะทำจากโฟม ภาชนะทำจากชานออย และกระดาษ
2 ภาชนะทลี่ างได

แกวพลาสตกิ แกวกระดาษ และแกวยอ ยสลายได
3 หลอดกระดาษ

หลอดพลาสติก
4

ถงุ พลาสติกหหู ว้ิ ถงุ ผา และพลาสติกหูหวิ้ แบบยอยสลายได

18 บทที่ 2 กจิ กรรมลดและคัดแยกขยะมลู ฝอยตนทางฯ

ออกแนวปฏิบัติการใชภาชนะที่ แ ต งต้ั งค ณ ะ ท ำ งาน เพ่ื อ
เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม สำหรับ กำหนดมาตรการและแนวทาง
ผูประกอบการ ทเ่ี หมาะสม

x รา นอาหาร ป ร ะ ชุ ม ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร เพื่ อ
x รา นเคร่อื งดม่ื ชี้แจงแนวปฏิบัตกิ ารใชภาชนะ
x รา นสะดวกซ้อื ทเี่ ปน มิตรตอส่งิ แวดลอม

ประชาสัมพันธ รณรงคสราง จัดจำหนายภาชนะท่ีเปนมิตร
ความตระหนักใหกับประชากร ตอ สง่ิ แวดลอมในราคาตน ทุน
ภายในสถานศึกษา (ในชวงเริ่มตนกิจกรรม) หรือ
ด ำ เนิ น ก า ร ต า ม บ ริ บ ท ข อ ง
x ติดตามผล สถานศึกษา
x สรปุ ขอ มูล
x มอบใบประกาศเกียรติคณุ

ใหกับผูประกอบการท่ีมี
สวนรวมกับกิจกรรมหรือ
ชืน่ ชมในรูปแบบอืน่ ๆ

ภาพที่ 2.8 ขน้ั ตอนการรณรงคใ ชภาชนะท่ีเปน มติ รตอสงิ่ แวดลอ ม

บทท่ี 2 กิจกรรมลดและคดั แยกขยะมลู ฝอยตน ทางฯ 19

2.3 การจดั กิจกรรมแบบลดโลกรอ น
การจัดกิจกรรมตาง ๆ ของสถานศึกษา เชน การจัดอีเวนท การประชุม การจัด

สัมมนา การแขงขันกีฬา และกิจกรรมรับนอง เปนตน ถือเปนสวนหนึ่งในการทำใหเกิด
ภาวะโลกรอน เน่ืองจากมีการใชพลังงานไฟฟา การใชเช้ือเพลิงจากการปรุงอาหาร การ
ผลิตขยะมูลฝอยจากการรับประทานอาหารและการใชน ำ้ มันจากการเดนิ ทาง เปนตน

ปจจุบัน องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) หรือ อบก.
ไดส นบั สนุนใหมีการจดั อเี วน ทแบบลดโลกรอ นดวยการทำกิจกรรมชดเชยคารบอน โดยการ
ซื้อคารบอนเครดิตจากโครงการลดกาซเรือนกระจกในประเทศไทยมาชดเชยกาซเรือน
กระจกท่ีปลอยมาจากกิจกรรมตางๆ ของงานท่ีจัด เพ่ือทำใหการปลอยกาซเรือนกระจก
จากงานลดลงเทากับศูนย หรือ Carbon Neutral ถือเปนการแสดงความรับผิดชอบตอ
สังคมและสิ่งแวดลอม แตมีคาใชจายเกี่ยวกับผูทวนสอบและมีขั้นตอนการขอการรับรอง
จาก อบก. อยางไรก็ตามหากสถานศึกษาตองการแสดงความรับผิดชอบตอส่ิงแวดลอม
สามารถจัดกิจกรรมแบบลดโลกรอนไดโ ดยไมตอ งเสียคาใชจายเก่ียวกับผูทวนสอบและการ
ขอการรับรอง โดยสามารถกำหนดเปนแนวปฏิบัติในการจัดกิจกรรมท่ีตองคำนึงถึงการใช
ทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุด เชน การประชุมผานส่ือออนไลน การใชวสั ดุหรืออุปกรณ
ที่เปนมิตรตอส่ิงแวดลอม การประหยัดพลังงาน การเดินทางที่เปนมิตรตอส่ิงแวดลอม และ
การลดปริมาณขยะมลู ฝอย เปนตน

2.3.1 กจิ กรรมชดเชยคารบ อนสำหรบั การจดั อีเวน ท
สำหรับสถานศึกษาท่ีตองการขอชดเชยคารบอนสำหรับจัดอีเวนท

ใหเทากับศูนย หรือ การจัดอีเวนทแบบคารบอนนิวทรัล (Carbon Neutral Event) และมี
ความพรอมสำหรับคาใชจ ายท่ีเกย่ี วของในการขอรับรองจาก อบก. การจัดอเี วน ทรูปแบบนี้
จะมีการประเมินปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากการจัดงาน และจะทำการชดเชย
คารบอนเครดิตโดยการซ้ือคารบอนเครดติ จากโครงการลดกาซเรือนกระจกในประเทศไทย
เพื่อมาชดเชยกับกาซเรือนกระจกท่ีปลอยออกมาจากการจัดงาน โดยมี อบก. เปนตัวกลาง
ในการชดเชยคารบ อนเครดติ โดยมแี นวทาง ดงั น้ี

1) กอนจดั งาน

x ทำการคำนวณปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกแบบอนุมาน
โดยสามารถคำนวณผานแอพพลิเคช่ันท่ีเรียกกวา “CF Event” หรือ Carbon Footprint
Event Calculator โดยเครื่องมือจะทำการคำนวณการปลอยกาซเรือนกระจกจากงาน
อเี วน ท เชน อาหาร การเดินทาง การพักแรม ของแจก และของเสียที่เกิดขึ้นจากการจัดงาน
ดงั ตารางที่ 2.2

20 บทที่ 2 กิจกรรมลดและคัดแยกขยะมูลฝอยตนทางฯ

ตารางที่ 2.2 ขอมูลคำนวณปริมาณการปลอ ยกา ซเรอื นกระจกสำหรบั การจัดอีเวน ท

SCOPE รายการหลัก รายการยอย หนว ย หมายเหตุ

1 การปรุงอาหาร กา ซหุงตม kg

อาหารปกติ คน กรณี ไมมีขอมูลปริมาณ กาซ
อาหารมงั สวิรตั ิ
หุงตม จำนวนคนที่รับประทาน

คน อาหารปกติ กับ มังสวิรัติ

2 พลงั งานไฟฟา ไฟฟาจากงาน kWh

3 การเดินทาง รถยนตสวนบุคคล km จำนวนคน × ระยะทางไปกลับ

รถกระบะสวนบุคคล km จำนวนคน × ระยะทางไปกลับ

แทก็ ซี่ km จำนวนคน × ระยะทางไปกลับ

รถโดยสารประจำทาง km จำนวนคน × ระยะทางไปกลบั

รถตูประจำทาง km จำนวนคน × ระยะทางไปกลับ

จักรยานยนต km จำนวนคน × ระยะทางไปกลับ

เดนิ km จำนวนคน × ระยะทางไปกลับ

จกั รยาน km จำนวนคน × ระยะทางไปกลบั

เท่ียวบินในประเทศ km จำนวนคน × ระยะทางไปกลบั

เท่ยี วบินระหวางประเทศ km จำนวนคน × ระยะทางไปกลับ

การพักแรม จำนวนผพู กั แรม คน-คนื จำนวนคนทพี่ กั แรม

เอกสารแจก กระดาษ A4 รมี

พลาสตกิ kg

ของเสยี หลงั กระดาษ / กระดาษกลอ ง kg กรณีไมมีขอมูลปริมาณของเสีย
การจดั งาน ผา
ใหกรอกขอมูลจำนวนคนผูมา

kg รวมงาน

เศษอาหาร kg

เศษไม kg

ก่ิงไม ตน หญา จากสวน kg

ผา ออมเด็กทำดวยกระดาษ kg

ยางและหนัง kg

อนื่ ๆ kg

ท่ีมา : องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน). (2563). คูมือการทำ

กจิ กรรมชดเชยคารบอน สำหรับการจดั งานอีเวน ท.

บทที่ 2 กิจกรรมลดและคัดแยกขยะมลู ฝอยตน ทางฯ 21

x ทำการกรอกขอมูลในแอพพลิเคช่ัน CF Event และคำนวณผล
โดยขอมูลทไ่ี ดประกอบดว ยขอมลู ปรมิ าณการปลอ ยกาซเรอื นกระจกจากการจัดอเี วนทแยก
รายกิจกรรม เชน การปรุงอาหาร พลังงานไฟฟา การเดินทาง เปนตน และขอมูลปริมาณ
การปลอยกาซเรือนกระจกแยกประเภทตาม Scope การปลอยกาซเรือนกระจก เชน
Scope 1 (การปลอยกาซเรือนกระจกทางตรง) Scope 2 (การปลอยกาซเรือนกระจก
ทางออม) และ Scope 3 (การปลอยกาซเรือนกระจกทางออมอ่ืน ๆ) เปนตน
ดังภาพท่ี 2.9 และภาพท่ี 2.10

x ใชผลการคำนวณที่ไดสงให อบก. ตรวจสอบ โดยสามารถกดสง
ขอ มลู ผา นแอพพลเิ คชน่ั ไดโดยตรง

x ติดตอซื้อขายคารบอนเครดิตโดยกรอกขอมูลในระบบออนไลน
(http://thaicarbonlabel.tgo.or.th/index.php?lang=TH&mod=WTJOdg)

x อบก.จะสงเครอ่ื งหมาย Carbon Neutral ใหใ ชป ระชาสมั พันธใน
การจัดงาน

2) หลงั จดั งาน
x คำนวณปรมิ าณการปลอ ยกา ซเรอื นกระจกหลังการจัดงานจรงิ

โดยใชขอมูลจริง เชน จำนวนคน ปริมาณการใชไฟฟา ปริมาณขยะมูลฝอย และการ
เดินทาง เปนตน

x ติดตอผทู วนสอบและสงขอมูลการคำนวณใหผทู วนสอบตรวจสอบ
รบั รองผลและสรปุ จำนวนคารบอนเครดติ ทข่ี อชดเชย

x อบก. พิจารณากล่ันกรองโดยที่ประชุมคณะอนกุ รรมการพัฒนาและ
สง เสรมิ ฉลากคารบ อนเพ่อื อนุมัติ

x อบก. ออกใบ Certification ใหกับผูสมัครชดเชยคารบอน
จากการจดั อีเวนท

3) คาใชจ าย
คาใชจายโดยประมาณประกอบดวย คาเครดิตชดเชยคารบอน

จำนวนเงิน 200 บาทตอตันคารบอนไดออกไซดเทียบเทา และคาผูทวนสอบ จำนวนเงิน
10,000 – 15,000 บาทตอ 1 man day ทั้งนี้ ขึน้ อยูกบั ขนาดกจิ กรรม สามารถศึกษา
ขอ มูลเพ่มิ เตมิ ไดท ี่ http://thaicarbonlabel.tgo.or.th

22 บทที่ 2 กจิ กรรมลดและคัดแยกขยะมูลฝอยตนทางฯ

ภาพที่ 2.9 การใชง านแอพพลเิ คชั่น CF Event

บทที่ 2 กจิ กรรมลดและคัดแยกขยะมลู ฝอยตน ทางฯ 23

ภาพที่ 2.10 การแสดงผลการคำนวณการปลอ ยกาซเรือนกระจกสำหรบั การจดั อีเวน ท

ทั้งนี้ บางอีเวนทท่ีมีขนาดเล็กและจำนวนผูเขารวมกิจกรรมไมมาก อาจยัง
ไมมีความจำเปนที่จะตองขอชดเชยคารบอนสำหรับการจัดอีเวนท เน่ืองจากมีการปริมาณ
การปลอยกาซเรือนกระจกปริมาณนอย เชน กิจกรรมการอบรม/สัมมนาของสถานศึกษา
กรณีพกั แรมและไมพักแรม พบวา กรณกี ารอบรม/สัมมนาในพื้นที่ (ไมพักแรม) หากจำนวน
ผูเขารวมกิจกรรมต้ังแต 10 – 500 คน จะมีปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจก จำนวน
0.29 – 4.49 tCO2ตอวัน ประเมินคาซื้อคารบอนเครดิต เปนจำนวนเงิน 58 - 898 บาทตอกิจกรรม
แตมีคาใชจายคาทวนสอบ เปนจำนวนเงิน 10,000 บาทตอกิจกรรม ซ่ึงจะเห็นวาคาทวน
สอบสูงกวาคาซื้อคารบอนเครดิตคอนขางมาก รายละเอียดดังดังตารางท่ี 2.3
แตหากสถานศึกษามีความพรอมในดานงบประมาณ และสามารถดำเนินการชดเชย
คารบอนสำหรับการจัดอีเวนทได จะสงผลดีในดานภาพลักษณที่ดีของสถานศึกษาในการ
รกั ษาส่ิงแวดลอมตอไป

24 บทที่ 2 กจิ กรรมลดและคัดแยกขยะมลู ฝอยตนทางฯ

ตารางที่ 2.3 เปรียบเทียบปรมิ าณการปลอ ยกาซเรือนกระจกจากการอบมรม/สัมมนา

ปลอ ยกา ซเรอื นกระจก (tCO2/วัน) ประเมินคาใชจ าย (บาท)

จํานวนผรู วมกจิ กรรม อบรม/สัมมนาในพ้ืนที่ อบรม/สมั มนานอกพ้ืนที่ อบรม/สมั มนาในพนื้ ที่ อบรม/สัมมนานอกพ้ืนที่
ซอ้ื คารบอน คาทวนสอบ รวม ซอื้ คารบ อน คาทวนสอบ รวม

10 คน 0.29 1.28 58 10,000 10,058 256 10,000 10,256

50 คน 0.63 5.58 126 10,000 10,126 1,116 10,000 11,116

100 คน 1.06 10.95 212 10,000 10,212 2,190 10,000 12,190

500 คน 4.49 53.96 898 10,000 10,898 10,792 10,000 20,792

1000 คน 8.77 107.71 1,754 10,000 11,754 21,542 10,000 31,542

2000 คน 17.34 215.24 3,468 10,000 13,468 43,048 10,000 53,048

หมายเหตุ :
1. ประเมนิ ปรมิ าณการปลอยกาซเรือนกระจกจากแอพพลเิ คชนั่ CF Event
2. อบรม/สมั มนาในพน้ื ที่ : ไมพ กั แรม และ อบรม/สัมมนานอกพนื้ ที่ (พักแรม 1 คืน)
3. ราคาซ้ือคารบอนเครดิต : 200 บาท/tCO2e
4. ขอมลู ประกอบการประเมนิ

- ปรมิ าณอาหารปกติ ปลอ ยกาซเรือนกระจก 2.4432 kgCO2e/คน
- ปริมาณการใชไฟฟา จำนวน 400 kWh/วนั
- เสนทางเดนิ ทาง กรณใี นพน้ื ท่ี 20 กม./คน และนอกพนื้ ที่ 581 กม./คน
- ไมม ีเอกสารแจกในการอบรม
- ปริมาณขยะเศษอาหาร 1.14 กก./คน/วัน

บทท่ี 2 กจิ กรรมลดและคดั แยกขยะมลู ฝอยตน ทางฯ 25

2.3.2 การจัดกิจกรรมแบบลดโลกรอ นโดยไมยื่นขอชดเชยคารบอน
เปน การประเมินปริมาณการปลอยกา ซเรือนกระจกจากการจัดกกจิ กรรม

โดยใชแอพพลิเคชั่น CF Event เปนเคร่ืองมือคำนวณ เหมือนกับการจัดอีเวนทแบบ
คารบอนนิวทรัล (Carbon Neutral event) แตไ มตอ งสง ยืน่ ขอชดเชยคารบอน และไมเสีย
คาใชจายในการทวนสอบ ซึ่งสถานศึกษาสามารถกำหนดแนวทางในการจัดกิจกรรมแบบ
ลดโลกรอน โดยพิจารณาลดปจ จัยที่ทำใหเกดิ การปลอ ยกาซเรือนกระจกได ดงั ตารางที่ 2.4
และสถานศึกษาควรมีการประเมินปรมิ าณการปลอยกาซเรือนกระจกในทุก ๆ กิจกรรมโดย
ใชแอพพลิเคช่ัน CF Event ซึ่งสามารถประเมินไดงาย เพื่อเปนฐานขอมูลในการบริการ
จดั การกา ซเรือนกระจกของสถานศึกษาตอ ไป

ตารางท่ี 2.4 แนวทางจดั กจิ กรรมแบบลดโลกรอ นโดยไมยื่นขอชดเชยคารบ อน

SCOPE รายการหลัก แนวทาง

1 การปรุงอาหาร 1. วางแผนการประกอบอาหารเปนลำดบั

x กา ซหุงตม ขัน้ ตอนเพอ่ื ลดการสญู สียกา ซหุงตม

x อาหารปกติ อาหารมังสวิรัติ 2. บำรุงรกั ษาหัวเตากา ซหงุ ตม อยเู สมอ

2 พลงั งานไฟฟา 1. ก ารจั ด เต รีย ม ข น าด ห อ งป ระ ชุ ม

ใหเหมาะสมกับจำนวนผูเขาประชุมและ

สัมมนา

2. จัดกิจกรรมกลางแจงเพ่ือลดการใช

เคร่ืองปรับอากาศ

3 การเดนิ ทาง 1. สงเสริมการเดินและการใชจักรยาน

x รถยนตสวนบุคคล กรณจี ดั กจิ กรรมในพื้นทส่ี ถานศกึ ษา

x รถกระบะสวนบคุ คล 2. จัดรถรับสงบริการเปนหมูคณะเพ่ือลด

x แทก็ ซี่ การใชรถสว นตวั

x รถโดยสารประจำทาง 3. เดินทางไปตา งประเทศเทาท่ีจำเปน

x รถตูป ระจำทาง

x จักรยานยนต

x เดิน

x จักรยาน

x เที่ยวบินในประเทศ

x เที่ยวบินระหวา งประเทศ

26 บทที่ 2 กิจกรรมลดและคัดแยกขยะมลู ฝอยตนทางฯ

ตารางที่ 2.4 แนวทางจัดกจิ กรรมแบบลดโลกรอ นโดยไมยน่ื ขอชดเชยคารบอน (ตอ)

SCOPE รายการหลกั แนวทาง

การพักแรม 1. พกั แรมเทา ท่ีจำเปน

เอกสารแจก 1. ใชส อื่ อิเลก็ ทรอนกิ สแ ทนการใชก ระดาษ

x กระดาษ A4 / พลาสตกิ 2. ลดการใชพ ลาสติก และกระดาษ

ของเสยี หลงั การจัดงาน 1. จัดเตรียมอาหารและเครื่องด่มื ใหพ อดี

กระดาษ/กระดาษกลอง/ผา/ 2. ลดการใชกระดาษและพลาสตกิ

เศ ษ อาห าร/เศษ ไม /ก่ิงไม / 3. งดการใชโฟม

ตนหญา จากสวน/ผาออมเด็ก 4. ส ง เ ส ริ ม ก า ร Reduce/Reuse/

ทำดวยกระดาษ/ยาง/หนัง Recycle

5. อปุ กรณตกแตงสถานท่ีใชวัสดุที่เปนมิตร

กับส่ิงแวดลอม สามารถนำกลับมาใช

ใหมได หลีกเล่ียงวัสดุยอยสลายยาก

และวสั ดทุ ี่ใชครง้ั เดียวทงิ้

2.4 การจดั ถังขยะมลู ฝอยแบบแยกประเภท
การรณรงคคัดแยกขยะมูลฝอยต้ังแตตนทางถือเปนแนวทางหน่ึงในการชวย

ลดปริมาณขยะมูลฝอยท่ีตองกำจัดไดอยางมีประสิทธิภาพ เพราะขยะมูลฝอยที่คัดแยก
ประเภทแลวสามารถนำไปใชประโยชนและเพิ่มมูลคาไดทันที แตหากขยะมูลฝอย
ถูกทิ้งรวมกันจะถูกนำไปใชประโยชนไดยาก และตองใชงบประมาณมากในการจัดการมาก
เชนกนั

การจัดถังขยะมูลฝอยแบบแยกประเภทที่เหมาะสมรวมกับการรณรงคให
ความรูถึงประเภทขยะมูลฝอย ตลอดจนควรจัดระบบจัดเก็บใหเปนแบบแยกประเภทเพื่อ
การจัดการปลายทางที่มีประสทิ ธภิ าพตอ ไป ดงั ภาพท่ี 2.11 - 2.13

บทท่ี 2 กจิ กรรมลดและคดั แยกขยะมลู ฝอยตนทางฯ 27

ถังขยะท่วั ไป ถงั ขยะเศษอาหาร ถังขยะรไี ซเคลิ ถงั ขยะอันตราย ถังขยะตดิ เชื้อ
ขยะท่ัวไปท่ี ขยะที่ยอยสลายได ขยะท่ีนำไป ขยะที่มคี วามเปน ขยะที่ติดเชอื้
ยอยสลายยาก รีไซเคลิ ได
x เศษอาหาร อันตราย x หนากากอนามัย
x ซองขนม x แกว
x กลองโฟม x พชื ผกั x หลอดไฟฟา x หนา กากผา
x ถุงพลาสตกิ x กระดาษ x แบตเตอร่ี
x เศษผา x เปลือกผลไม x ผาที่ปนเปอ น
x พลาสติก x ขวดยา สารคัดหลงั่
x เศษหนัง x ใบไม x ถานไฟฉาย
x โลหะ x กระปองสสี เปรย
x อืน่ ๆ ทีส่ ามารถ x กระปองยาฆาแมลง
ยอ ยสลายได x อน่ื ๆ ท่สี ามารถ
ขายได

ภาพที่ 2.11 ตัวอยา งถงั ขยะมูลฝอยแบบมาตรฐานท่ใี ชท วั่ ไป

ภาพท่ี 2.12 ตวั อยางถังขยะมูลฝอยทพี่ ัฒนาขึ้นตามรปู แบบของสถานศกึ ษา
(ท่ีมา : มหาวิทยาลยั เทคโนโลยสี ุรนารี)

28 บทที่ 2 กิจกรรมลดและคดั แยกขยะมูลฝอยตนทางฯ

ภาพท่ี 2.13 รปู แบบการจัดถงั ขยะมลู ฝอยแบบแยกประเภทตามประเภทอาคาร

บทท่ี 2 กจิ กรรมลดและคดั แยกขยะมูลฝอยตน ทางฯ 29

2.5 การจัดเกบ็ ขยะมลู ฝอยแบบแยกประเภท
การจัดเก็บขยะมูลฝอยแบบแยกประเภทถือเปนอีกประเด็นหน่ึงท่ีตองคำนึงถึง

เนอื่ งจากผูท้ิงขยะมูลฝอยสวนใหญมักจะกลาวอา งวา “แยกขยะแลว คนเก็บก็เกบ็ รวมกัน
อยูดี ไมรูจะแยกไปทำไม ?” จากประเด็นปญหานี้หากสถานศึกษามีความพรอมดานการ
จัดหารถเก็บขนขยะมูลฝอยแบบแยกประเภทโดยเฉพาะขยะประเภทเศษอาหาร เพราะ
ขยะเศษอาหารสถานศึกษาสามารถนำไปแปรรูปเปนปุย อินทรีย และสรางเปนแหลงเรียนรู
ดานสง่ิ แวดลอ มภายในสถานศึกษาได ดังภาพท่ี 2.14

ภาพที่ 2.10 ตวั อยางรูปแบบรถเกบ็ ขยะมลู ฝอยแบบแยกประเภท
ภาพที่ 2.14 ตวั อยางรถเก็บขนขยะมลู ฝอยแบบแยกประเภท
(ท่มี า : มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี)

จากแนวทางจัดกิจกรรมลดและคดั แยกขยะมูลฝอยตนทางแบบ Zero Waste นั้น
สถานศึกษาควรพิจารณาดำเนินการจัดกิจกรรมใหมีความหลากหลายเพราะหากสามารถ
ดำเนินกจิ กรรมไดอยางมีประสทิ ธิภาพจะชวยลดปริมาณขยะมูลฝอยท่ีตอ งเกบ็ ขนเพอ่ื นำไป
กำจัดไดมาก อันจะสงผลใหเกิดการประหยัดงบประมาณในสวนของการจัดเก็บและกำจัด
ขยะมูลฝอยของสถานศึกษาไดคอนขางมาก และเกิดแรงผลักดนั ใหผูทิ้งไดรวมมือรว มใจกัน
คัดแยกขยะมูลฝอยตน ทางมากข้ึน ดังภาพท่ี 2.15

30 บทที่ 2 กจิ กรรมลดและคัดแยกขยะมูลฝอยตน ทางฯ

ภาพที่ 2.15 แนวทางจัดกิจกรรมลดและคดั แยกขยะมลู ฝอยตน ทางแบบ Zero Waste

บทที่ 2 กิจกรรมลดและคดั แยกขยะมลู ฝอยตน ทางฯ 31

บทที่ 3
แนวทางจดั การขยะมลู ฝอยปลายทางแบบ Zero Waste

3.1 สถานการณแ ละการจดั การขยะของประเทศไทยในปจจุบนั
กรมควบคุมมลพิษไดรายงานสถานการณขยะมูลฝอยของประเทศไทย ประจำป

พ.ศ. 2563 พบวาประเทศไทยมีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้นประมาณ 27.35 ลานตันตอป
ซึ่งมีอัตราลดลง รอยละ 5 จากปที่ผานมา สาเหตุอันเนื่องมาจากสถานการณการแพร
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยมีการควบคุมการเดินทางของ
นักทองเท่ียว มาตรการใหปฏิบัติงานท่ีบาน (work from home) แตหากพิจารณาเฉพาะ
ปริมาณขยะพลาสติกแบบใชคร้ังเดียว (Single use Plastic) พบวามีปริมาณเพ่ิมขึ้น
รอยละ 15 เนอ่ื งมาจากมีการสง่ั อาหารและสินคา แบบออนไลนม ากขนึ้ นัน่ เอง

นอกจากนี้ยังพบวาประเทศไทยมีการกำจัดขยะมูลฝอยอยางถูกตองรอยละ 41
(เพิ่มข้ึนจากป 2562 รอยละ14) มีการนำขยะกลับมาใชประโยชน รอยละ 44 (ลดลงจากป
2562 รอยละ 5) สวนอีกรอยละ 15 มีการจัดการแบบไมถูกตอง เชน เทกอง เผากลางแจง
และลักลอบทิง้ เปน ตน (ลดลงจาก 2562 รอ ยละ 34) ดงั ภาพที่ 3.1

ท้ังนี้ ประเทศไทยมีการนำขยะมาใชประโยชนมากข้ึน เนื่องจากไดม ีการขับเคลื่อน
แผนบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ (พ.ศ. 2559 – 2564) โดยมุงเนนการคัดแยก
ขยะมูลฝอยตนทาง การลดการใชพลาสติกและโฟม ตลอดจนสงเสริมการใชสินคาท่ีเปน
มติ รตอ สง่ิ แวดลอมมากขน้ึ

นาํ ไปใช กาํ จดั ถูกตอง
ประโยชน 11.19 ลานตัน
11.93 ลา นตนั
(41%)

(44%) กําจัดไมถ กู ตอ ง

4.23 ลานตัน (15%)

ภาพท่ี 3.1 สัดสวนการจัดการขยะมูลฝอยของประเทศไทย ป พ.ศ. 2563

32 บทที่ 3 แนวทางจดั การขยะมลู ฝอยปลายทางฯ

3.2 เทคโนโลยีการจัดการขยะมลู ฝอย
การแปรรูปขยะมูลฝอยใหเปนพลังงานเปนหนึ่งในกระบวนการ 3R (Reduce,

Reuse, Recycle) โดยท่วั ไปขยะมูลฝอยสามารถนำไปใชเ ปน แหลง พลงั งานได 6 วธิ ี คือ
3.2.1 การเผาในเตาเผา (Incineration)
การกำจัดขยะมูลฝอยโดยใชเตาเผา (Incinerator) เปนการใช

หลักการการเผาไหม (Combustion) ในการทำลายหรือเปลี่ยนสภาพขยะมูลฝอยท่ีอยู
ในรูปของแข็งใหกลายเปนกาซ เชน กาซคารบอนไดออกไซด (CO2) ไอน้ำ (H2O)
รวมท้ังของแข็งที่ไมมีการติดไฟอีกตอไป เชน เถาหนัก (Bottom Ash) เถาลอย (Fly
Ash) และสุดทายคือพลังงานความรอนท่ีเกิดจากการเผาไหมขยะมูลฝอย นอกจากจะ
กำจัดขยะมูลฝอยแลวการเผาในเตาเผายังสามารถนำพลังงานความรอนกลับไปใช
ประโยชน เชน การผลิตน้ำรอน ไอน้ำ หรือแมแตพลังงานไฟฟา ดังภาพที่ 3.2 และ
ตารางท่ี 3.1

โรงงานเตาเผาขยะมลู ฝอยชมุ ชน ขนาด 700 ตันตอ วันและผลติ กระแสไฟฟา 12 เมกะวตั ตต อ ชวั่ โมง
จังหวดั ภูเก็ต

ภาพท่ี 3.2 เตาเผาขยะมลู ฝอยเพอื่ ผลิตกระแสไฟฟา จงั หวดั ภูเกต็
(ท่ีมา : PJT Technology Co.,Ltd – บรษิ ทั พเี จที เทคโนโลยี จำกัด)

บทที่ 3 แนวทางจดั การขยะมลู ฝอยปลายทางฯ 33

ตารางท่ี 3.1 ขอ ด-ี ขอดอยของเทคโนโลยีการเผาในเตาเผา

ขอ ดี ขอ ดอย

ƒ สามารถกำจัดขยะมูลฝอยไดหลากหลาย ƒ ตองมีระบ บ บ ำบั ดมลพิ ษ ท าง

ประเภท อากาศ และระบบบำบัดน้ำเสีย

ƒ สามารถทำลายขยะมูลฝอยไดสูงถึง รองรบั
90% ƒ ตองมี ผูดูแลที่ มีความ รู ความ
ƒ สามารถนำพลังงานท่ีเกิดจากการเผา ชำนาญเพราะใชเทคโนโลยีในการ

ไหมไปใชป ระโยชน ดำเนินการ
ƒ มขี องเสยี เหลอื จากการเผาไหมน อย ƒ ราคาคาลงทนุ และคาดำเนนิ การสงู

3.2.2 เทคโนโลยีการผลติ แทงเชือ้ เพลิงขยะ (Refuse Derived Fuel, RDF)
แทงเช้ือเพลิงขยะ (มูลฝอย) เปนเช้ือเพลิงในรูปของแข็งที่ผลิตจาก

ขยะมลู ฝอยชมุ ชน โดยจะตอ งมีการคดั แยกขยะมลู ฝอยท่ีไมสามารถเผาไหมไ ดออกกอ น
จะมีการนำขยะมูลฝอยไปบดหรือหั่นและผสมดวยตัวผสานกอนจะทำใหแหงและอัด
เปน กอ นหรอื แทง นอกจากนั้น ยังมกี ารนำเศษพลาสติกเกา มาหลอมรวมกันทำเปน แทง
เช้ือเพลิงไดเชนกัน วัสดุท่ีเหมาะสมนำมาใชทำเปนแทงเช้ือเพลิง ไดแก กระดาษ
กระดาษแข็ง พลาสติก ไมและผา ซึ่งมีคาความรอนต่ำสุด (LHV) ประมาณ 11-17
เมกะจูล/กก. โดยอาจผลิตออกมาเปนเม็ด กอนหรือแทง ดังภาพท่ี 3.3 ภาพท่ี 3.4
และตารางท่ี 3.2

การผลิตเชือ้ เพลงิ RDF จากขยะชุมชน 6,000 ตันตอ วัน

ภาพท่ี 3.3 โรงงานผลิตเชอ้ื เพลิง RDF บรษิ ัท ทพี ีไอ โพลีน เพาเวอร จำกัด (มหาชน)
(ท่มี า : http://www.tpipolenepower.co.th)

34 บทท่ี 3 แนวทางจดั การขยะมูลฝอยปลายทางฯ

ภาพที่ 3.4 โรงงานผลิตเชอื้ เพลิงขยะ ศนู ยความเปนเลศิ ทางดา นชีวมวล
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยสี ุรนารี

(ทม่ี า : ศูนยความเปนเลิศทางดา นชีวมวล มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี)

ตารางท่ี 3.2 ขอด-ี ขอดอยของเทคโนโลยผี ลิตแทงเช้อื เพลงิ ขยะ

ขอดี ขอดอ ย

ƒ มีคาความรอนสูงเมื่อเทียบกับขยะมูลฝอยที่ ƒ ตองมีระบบการคัดแยกขยะ

รวบรวมได มูลฝอยกอนเขาสูระบบ ทำให

ƒ การจัดเก็บ การขนสง และการจัดการตา ง ๆ ตอ งใชเงนิ ลงทุนในสว นนเ้ี พมิ่ เตมิ
สะดวก ปลอดภัยและมีผลกระทบตอ ƒ มีคาใชจายในการขนสงแทง

สิง่ แวดลอ มนอ ย เชื้อเพลิงขยะไปยังระบบอ่ืน ๆ

ƒ ไดแทงเช้ือเพลิงสำหรับผลิตพลังงานความ เพราะตองขนสงโดยพาหนะ

รอน เทานน้ั
ƒ ใชรวมกับเทคโนโลยีไพโรไลซิสและกาซ ƒ เปนเทคโนโลยีท่ียังไมส้ินสุด

ซิฟเคชน่ั ได จะตองมีระบบคอยรองรบั เพอ่ื นำ

ƒ ใชพื้นท่ีระบบนอย โรงกำจัดมีขนาดเล็ก แ ท ง เชื้ อ เพ ลิ ง ข ย ะ ที่ ได ไป
สามารถสรางกระจายไปตามจดุ ตา ง ๆ ได เปลีย่ นเปนพลังงานอีกครง้ั
ƒ เชื้อเพลิงท่ีไดไมจำเปนตอ งผลิตเปนพลังงาน ƒ มีผลกระทบตอหมอตมไอน้ำและ
ระบบทอลำเลียงมากกวาการใช
ทันทเี ก็บไวผ ลติ เมอื่ ใดกไ็ ด
เชอื้ เพลงิ ประเภทอน่ื ๆ

บทที่ 3 แนวทางจดั การขยะมูลฝอยปลายทางฯ 35

3.2.3 เทคโนโลยีการผลิตแกสเช้อื เพลงิ (Gasification)
เปนเทคโนโลยีในการเผาขยะมูลฝอยโดยการเผาแบบควบคุมอากาศ

ประกอบดวยกระบวนการสลายตัว (decomposition) และกระบวนการกล่ันสลาย
(devolatilization) ของโมเลกุลสารอินทรียในขยะมูลฝอย ที่อุณหภูมิสูงประมาณ
1,200 – 1,400 องศาเซลเซียส เพ่ือผลิตสารระเหยและถานชาร ในกระบวนการกลั่น
สลาย หรือเรียกวา ไพโรไลซิส (pyrolysis) ขยะมูลฝอยจะสลายตัวดวยความรอนเกิด
เปน สารระเหย เชน มีเทน และสวนทีเ่ หลือ เรียกวา ถา นชาร สารระเหยจะทำปฏกิ ิรยิ า
สันดาปแบบไมสมบูรณตอที่อุณหภูมิสูงหรือปฏิกิริยาทุติยภูมิ (secondary reaction)
และถานชารจะถูกกาซซิฟายตอโดยอากาศ ออกซิเจน หรือไอน้ำ ไดเปนกาซเชื้อเพลิง
สำหรบั ผลติ กระแสไฟฟาตอไป ดงั ภาพท่ี 3.5 และตารางที่ 3.3

ภาพที่ 3.5 โรงไฟฟา เทคโนโลยีแกสซฟิ เ คชน่ั ศนู ยความเปน เลิศทางดานชีวมวล
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยสี ุรนารี

(ที่มา : ศนู ยค วามเปนเลศิ ทางดา นชีวมวล มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี)

36 บทที่ 3 แนวทางจัดการขยะมูลฝอยปลายทางฯ


Click to View FlipBook Version