The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือ โมเดลจัดการขยะมูลฝอยแบบ Zero Waste สำหรับสถานศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by akok4u, 2021-11-25 02:25:20

หนังสือ โมเดลจัดการขยะมูลฝอยแบบ Zero Waste สำหรับสถานศึกษา

หนังสือ โมเดลจัดการขยะมูลฝอยแบบ Zero Waste สำหรับสถานศึกษา

Keywords: การจัดการขยะ Zero waste,การจัดการขยะสถานศึกษา,ขยะ

ตารางที่ 3.3 ขอด-ี ขอ ดอ ยของเทคโนโลยกี ารผลิตแกสเช้อื เพลงิ (Gasification)

ขอดี ขอดอย

ƒ เปนเทคโนโลยีสะอาด ใชเวลาในการ ƒ ตองมีกระบวนการจัดการขยะ

ก ำจั ด ข ย ะมู ล ฝ อ ย สั้ น แ ต ผ ลิ ต มูลฝอยเบ้ืองตนกอน เชน การ

พลังงานไดม าก ลดขน าด การลดความช้ืน

เพ่ื อ ให ได อ งค ป ร ะ ก อ บ ท่ี

เหมาะสม
ƒ ใชเงินลงทุนคากอสราง งบคา

ด ำ เนิ น ก า ร แ ล ะ ง บ ค า

บำรุงรักษาท่ีสูง
ƒ ใชพ น้ื ที่ในการกอสรา งนอย ƒ การดำเนินการเชงิ พาณิชยยงั ไม

เปนที่แพรหลาย

3.2.4 เทคโนโลยีการยอยสลายแบบไรออกซิเจน (Biogas Production

by Anaerobic Digestion)

เปนกระบวนการหมักขยะมูลฝอยประเภทสารอินทรียในสภาวะที่ไร

ออกซิเจนเพ่ือใหไดจุลินทรียยอยสลายสารอินทรียใหกลายเปนกาซชีวภาพ (Biogas)

สำหรับใชผลิตพลังงานไฟฟาหรือความรอน สวนกากที่เหลือจากการหมักสามารถ

นำไปใชในการเพาะปลูกพืชไดอีก การผลิตกาซชีวภาพโดยกระบวนการยอยสลายแบบไร

ออกซิเจนแบงไดเ ปน 2 แบบ คือ

1) การผลิตกาซชีวภาพจากหลุมฝงกลบขยะมูลฝอยหรือ Sanitary

Landfill Gas โดยในหลุมฝงกลบจะมีขยะมูลฝอยทุกประเภทรวมอยูแตกลุมที่ใหกาซ

คือ ขยะมูลฝอยประเภทสารอินทรียจากนั้นมีการวางทอเพ่ือระบายและรวบรวมกาซ

ชวี ภาพทเ่ี กิดขึ้นนำไปใชป ระโยชน กา ซที่ติดไฟทีน่ ำไปใชประโยชน คือ กา ซมเี ทน (CH4)

2) การคัดแยกเฉพาะขยะมูลฝอยอินทรียและนำไปหมักในถังหมัก

เฉพาะเพื่อใหเกิดกาซชีวภาพโดยเฉพาะมีเทน (CH4) โดยท้ัง 2 ระบบใหกาซชวี ภาพท่ีไม

แตกตางกัน สวนประกอบของกาซสวนใหญ ไดแก กาซมีเทน (CH4) และกาซ

คารบอนไดออกไซด (CO2) โดยอาจจะมีกาซแอมโมเนีย (NH3) รวมท้ังไอน้ำ (H2O)

เกิดข้ึนดวยแตการคัดแยกเฉพาะสารอินทรีย และนำไปหมักในถังหมักเฉพาะจะให

สดั สวนของกาซมีเทนมากกวาการผลิตกาซชีวภาพจากหลุมฝงกลบขยะมูลฝอย ดงั ภาพท่ี

3.6 และตารางที่ 3.4

บทที่ 3 แนวทางจัดการขยะมูลฝอยปลายทางฯ 37

ภาพท่ี 3.6 ระบบผลติ ปุย อินทรียแ ละกระแสไฟฟาจากขยะมลู ฝอย
(ที่มา : เทศบาลนครนครราชสีมา จังหวัดนครราชสมี า)

38 บทที่ 3 แนวทางจดั การขยะมูลฝอยปลายทางฯ

ตารางท่ี 3.4 ขอ ด-ี ขอดอยของเทคโนโลยกี ารผลิตกา ซชีวภาพโดยกระบวนการยอ ยสลาย

แบบไรอ อกซิเจน

รายการ ขอ ดี ขอเสยี

1. จากหลุมฝง ƒ สามารถกำจัดขยะมูลฝอย ƒ ไดสัดสวนปริมาณ กาซ

ก ล บ ข ย ะ ไดท กุ ประเภท มีเทนปริมาณที่นอยกวา
มลู ฝอย ƒ ไมจำเปนตองมีระบบอ่ืนๆ มากหากเทียบกับการผลิต

เช น ก ารคั ด แ ย ก ข ย ะ ก า ซ ชี ว ภ า พ โ ด ย

มูลฝอยรองรับกอนเร่ิมทำ กระบวนการยอยสลายได

การหมกั แบบไรออกซิเจนจากการ

คัดแยกเฉพาะขยะมูลฝอย

อินทรียและนำไปหมักใน

ถงั หมกั
ƒ ใชพ ื้นท่ีจำนวนมากในการฝงกลบ

2. การคัดแยก ƒ เปนการนำขยะอินทรีย ƒ ไม ส าม าร ถ ย อ ย ส ล า ย ข ย ะ

เฉพาะขยะ กลับมาใชใหมในรูปของ มูลฝอยบางประเภท เชน ขยะ

อิ น ท รี ย กาซชีวภาพและกากที่ อิ น ท รีย ที่ อ ยู ใน รูป ข อ งแ ข็ ง

และนำไป สามารถนำไปใชเปน (เศษไม พลาสติก ลิกนิน) ตอง

หมักในถัง สารปรับสภาพดนิ นำไปฝงกลบแทน
หมัก ƒ สามารถใชบำบัดขยะ ƒ คากอสรางระบบสูง ตอ งลงทุนใน

อินทรีย สว นการคดั แยกขยะมลู ฝอยดว ย
ƒ สามารถหมักรวมกับ ƒ เปนระบบที่มีกลนิ่

ข อ ง เ สี ย อิ น ท รี ย ƒ ผลพลอยไดที่ไดเปนเพียงสาร

ประเภทอื่น เชน วัสดุ ปรับปรุงดินตองมีการเติมธาตุ

เหลือใชจากการเกษตร อาหารเพ่ือนำไปเปน ปุย

มลู สัตวต า ง ๆ ƒ ตองมีระบบความปลอดภัยสูง
ƒ มีศักยภาพในการผลิต เพ่ือปองกันการระเบิดของกาซที่

พลังงานขยะอินทรีย ผลติ ได

ซึ่งขยะมูลฝอยประเภท

นี้ไมเหมาะสำหรับการ

เผาเพ่ือผลิตพลังงาน

บทท่ี 3 แนวทางจดั การขยะมลู ฝอยปลายทางฯ 39

3.2.5 เทคโนโลยีการแปรรปู ขยะประเภทพลาสตกิ เปน น้ำมัน
ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ป ร ะ เภ ท พ ล า ส ติ ก มี ส า ร ป ร ะ ก อ บ ไ ฮ โ ด ร ค า ร บ อ น

เชนเดียวกับน้ำมัน เพียงแตน้ำมันมีจำนวนคารบอนนอยกวาพลาสติก เชน ดีเซลจะมี
คารบ อน 12 - 20 ตัว เบนซิน 6 - 12 ตัว แตพ ลาสตกิ จะเปน โซยาวมาก มีคารบอนเปน
จำนวนมาก โดยจำนวนคารบอนขึ้นอยูกับชนิดของโพลิเมอรนั้น ๆ การที่จะเปลี่ยนให
เปนน้ำมันไดจะตองตัดโซใหสั้นลง พลาสติกทั่วไปมีหลายประเภทที่สามารถนำมาผลิต
น้ำมันได แตอาจใหผลผลิตและปริมาณที่ตางกัน โดยน้ำมันที่ไดจากขวดใสและถุง
อาหารทั่วไปจะใหดีเซลสีขุนดำ แตหากใชวัตถุดิบประเภทถุงพลาสติกใหมจะไดน้ำมัน
เหลอื งใส ดงั ภาพที่ 3.7 ภาพท่ี 3.8 และตารางท่ี 3.5

ตน แบบโรงงานแปรรูปขยะประเภทพลาสตกิ เปน นำ้ มัน
ใชข ยะพลาสติก 5 ตนั /วัน ผลติ นำ้ มนั ได 4,000-5,000 ลิตร

ภาพที่ 3.7 การแปรรปู ขยะประเภทพลาสตกิ เปนนำ้ มัน ศนู ยความเปนเลิศทางดา นชวี
มวล มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยสี ุรนารี

(ที่มา : ศูนยค วามเปนเลศิ ทางดานชวี มวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยสี ุรนารี)

40 บทที่ 3 แนวทางจดั การขยะมลู ฝอยปลายทางฯ

ผลิตน้ำมันจากขยะประเภทพลาสติก 800 ตนั /ป ผลติ น้ำมนั ได 2.5 ลานลติ ร/ป

ภาพท่ี 3.8 โรงงาน Pyrolysis บรษิ ัท ทพี ีไอ โพลนี เพาเวอร จำกัด (มหาชน)
(ที่มา : http://www.tpipolenepower.co.th)

ตารางท่ี 3.5 ขอ ด-ี ขอ ดอ ยของเทคโนโลยกี ารแปรรูปขยะมลู ฝอยประเภทพลาสติกเปนนำ้ มนั
ขอดี ขอ ดอ ย

ƒ กำจัดขยะมูลฝอยประเภท ƒ กำจัดขยะมูลฝอยไดเฉพาะพลาสติก
พลาสติกซ่ึงยอ ยสลายไดยาก เทานน้ั

ƒ สามารถผลิตเปน น้ำมันท่ี ƒ มี เฉพ าะพ ล าส ติก บ างป ระเภ ท ที่
นำไปใชเปนเช้อื เพลงิ ตนไดดี เหมาะสมจะนำมาแปรรปู เปนนำ้ มนั
ƒ คากอสรางระบบสูง ตองลงทุนในสวน
การคดั แยกขยะมลู ฝอย
ƒ มี ม ล ภ าว ะ จ าก ก าร แ ป ร รูป เช น
น้ำเสียจากการลางพลาสติก หากมีการ
นำพลาสติกเกามาใช หรอื กากตะกอนที่
เหลอื จากการแปรรปู
ƒ ตองมีการดูแลระบบเร่ืองระบบความ
ปลอดภัยในการผลติ เปนอยางดี

บทที่ 3 แนวทางจัดการขยะมลู ฝอยปลายทางฯ 41

3.2.6 เทคโนโลยพี ลาสมาอารค (Plasma Arc)
เทคโนโลยีพลาสมาอารค (Plasma Arc) เปนเทคโนโลยีดานพลังงาน

ข้ันสูงท่ีใชในการกำจัดขยะมูลฝอยไดหลายลักษณะ หลักการคือ การปอนขยะมูลฝอย
เขา ไปใน plasma arc field ซึง่ มีอณุ หภมู ิสูงประมาณ 5,000 - 15,000 องศาเซลเซยี ส
โดยตรง อณุ หภูมิท่สี งู ระดบั นี้จะสามารถแยกอะตอมของธาตทุ ่เี ปนองคป ระกอบของขยะ
มูลฝอยออกได ทำใหขยะมูลฝอยถูกความรอนเผาทำลายลงหมด ความรอนที่ไดสามารถ
นำไปผลิตกระแสไฟฟาไดโดยใชเปนเช้ือเพลิงของหมอไอน้ำและนำไอน้ำมาผลิตเปน
พลังงานกระแสไฟฟาตอไป โดยเทคโนโลยีพลาสมาอารคประกอบดวยองคประกอบ
หลัก 3 สวน คือ เครื่องปฏิกรณพลาสมา (Plasma Reactor) ระบบควบคุมดาน
สิ่ งแ ว ด ล อ ม (Environmental Control) แ ล ะ ร ะ บ บ ผ ลิ ต พ ลั งงาน (Power
Generation Unit) ดังภาพท่ี 3.9 และตารางที่ 3.6

ภาพท่ี 3.9 โรงจดั การขยะตดิ เช้ือและขยะมูลฝอยเหลือทิ้งโดยใชเ ทคโนโลยพี ลาสมาอารค
ศูนยความเปน เลิศทางดานชีวมวล มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี รุ นารี

(ทมี่ า : ศนู ยค วามเปนเลิศทางดา นชีวมวล มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี ุรนารี)

42 บทที่ 3 แนวทางจัดการขยะมูลฝอยปลายทางฯ

ตารางท่ี 3.6 ขอด-ี ขอดอยของเทคโนโลยพี ลาสมาอารค ขอ เสยี
ขอดี

ƒ มีประสิทธภิ าพในการกำจัดสูง ƒ ใชอุณหภูมิสูงถึง 5,000-15,000
ƒ กำจัดขยะมูลฝอยไดทุกประเภทโดย องศาเซลเซียส ทำใหสิ้นเปลือง
พลังงานในการดำเนินการ
ทำใหของแข็งทุกชนิดกลายเปน Slag
ƒ ราคาคากอสรางและคาดำเนินการ
นำไปใชในการกอ สรา งได สูง
ƒ ไดพลงั งานจากกา ซรอ น

จากเทคโนโลยีการจัดการขยะมูลฝอยทั้ง 6 เทคโนโลยีน้ีไดถูก
นำมาใชในการจัดการขยะมูลฝอยของสถานศึกษาของประเทศไดอยางมีประสิทธิภาพ
ซึ่งเปนสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีความพรอมดานสถานท่ีและงบประมาณ ได
ดำเนินการกอสรางโรงจัดการขยะมูลฝอยภายในสถานศึกษาของตนเองเพ่ือเปนแหลง
เรียนรูและขยายผลไปยังชุมชนรอบขาง เชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต และมหาวิทยาลัยพะเยา
เปน ตน ดังตารางที่ 3.7

บทท่ี 3 แนวทางจัดการขยะมูลฝอยปลายทางฯ 43

ตารางที่ 3.7 ตัวอยา งสถานศึกษาท่ีมโี รงจดั การขยะมูลฝอยภายในสถานศกึ ษา

ลำดบั สถานศึกษา ปที่เปด ขนาดระบบ เทคโนโลยี

ดำเนนิ การ (ตัน/วัน)

1 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี พ.ศ.2557 10 ผลิตเชื้อเพลิงขยะ (Refuse Derived Fuel, RDF) ดวย

- โรงจัดการขยะแบบครบวงจร กระบวนการเชิงกล-ชีวภาพ (Mechanical Biological

- งบประมาณกอ สรา ง 12 ลาน Treatment, MBT) ประกอบดว ยระบบการคัดแยกขยะ

มลู ฝอยดว ยระบบสายพาน เคร่ืองสับลดขนาด ระบบการ

หมัก และเคร่ืองรอนเพื่อคัดแยกวัสดุปรับปรุงดินและ

พลาสติก ขบวนการจัดการทำใหเกิดผลพลอยได คือ

วัสดุปรับปรุงดิน และเช้ือเพลิงขยะ (Refuse Derived

Fuel : RDF)

2 มหาวิทยาลยั เชยี งใหม พ.ศ.2561 30 ผลิตชื้อเพลิงขยะ (Refuse Derived Fuel, RDF) และ

- ศนู ยบริหารจดั การชวี มวลครบวงจร การผลิตกาซชีวภาพ ประกอบดวย ระบบคัดแยกขยะ

- งบประมาณกอสราง 73 ลา น อินทรียและอนินทรีย โดยขยะอินทรียจะสงไประบบกาซ

ชีวภาพแบบแหง เพื่อผลิตเปนไฟฟา และไบโอมีเทนใช

สำหรับเติมรถโดยสารของมหาวิทยาลัย สวนขยะ

อนินทรียนำไปผลิตเปนเช้ือเพลิงขยะ และเปนสวนผสม

ของยางมะตอย

บทที่ 3 แนวทางจัดการขยะมลู ฝอยปลายทางฯ 44

ตารางที่ 3.7 ตวั อยางสถานศึกษาที่มีโรงจดั การขยะภายในสถานศกึ ษา (ตอ )

ลำดับ สถานศึกษา ปที่เปด ขนาดระบบ เทคโนโลยี

ดำเนนิ การ (ตัน/วัน)

3 มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร พ.ศ. 2552 30 คัดแยกขยะมูลฝอยดวยระบบสายพาน โดยใชแรงงานคนใน

ศนู ยร ังสติ การคัดกแยกขยะรีไซเคิลออกจากขยะทั่วไป ขยะท่ีเหลือสงไป

3.1 โรงจัดการขยะมลู ฝอยแหง ท่ี 1 กำจดั ตอทเี่ ทศบาลทาโขลง

3.2 โรงจัดการขยะมลู ฝอยแหง ที่ 2 พ.ศ. 2562 40 ผลิตช้ือเพลิงขยะ (Refuse Derived Fuel, RDF) และปุย

- งบประมาณกอ สราง อนิ ทรยี  ประกอบดวย

15 ลา นบาท - คัดแยกขยะมูลฝอยดวยระบบสายพานโดยแยกถุงพลาสติก

และขยะรไี ซเคิลออกกอ น

- ขยะที่เหลือจะถูกสงเขาเคร่ืองสลัดขยะอินทรีย เคร่ืองจะ

ทำการหมุนดวยรอบท่ีเหมาะกับการสลัดขยะอินทรียออกจาก

ขยะพลาสตกิ ขยะอินทรียท่ีถูกสลัดออกมาจะตกใตเ คร่ืองสลัด

จะนำไปหมักในบอหมัก พรอมกับใบไม/เศษวัชพืชท่ีเหลือ

ภายในมหาวิทยาลัย เพื่อใหยอยสลายกลายเปนปุยอินทรีย

สวนขยะสวนขยะพลาสติกที่ถูกพนออกมาจะนำไปเปาไล

ความชื้นเพือ่ ใหเปน เชอื้ เพลิงขยะ

บทท่ี 3 แนวทางจัดการขยะมูลฝอยปลายทางฯ 45

ตารางที่ 3.7 ตวั อยางสถานศึกษาทม่ี โี รงจัดการขยะภายในสถานศกึ ษา (ตอ)

ลำดบั สถานศกึ ษา ปท ีเ่ ปด ขนาดระบบ เทคโนโลยี

ดำเนนิ การ (ตัน/วัน)

4 มหาวทิ ยาลยั พะเยา 2560 15 ผลิตเชื้อเพลิงขยะ (Refuse Derived Fuel, RDF) ดวย

4.1 โรงจัดการขยะมลู ฝอยแหงท่ี 1 กระบวนการเชิงกล-ชีวภาพ (Mechanical Biological

- ขนาด 5 ตัน/วนั Treatment, MBT) ประกอบดวยระบบการคัดแยกขยะ

4.2 โรงจัดการขยะมลู ฝอยแหง ที่ 2 มลู ฝอยดว ยระบบสายพาน เคร่ืองสับลดขนาด ระบบการ

- ขนาด 10 ตัน/วัน หมัก และเครื่องรอนเพ่ือคัดแยกวัสดุปรับปรุงดินและ

- งบประมาณกอ สรา ง พลาสติก ขบวนการจัดการทำใหเกิดผลพลอยได คือ

30 ลานบาท วัสดุปรับปรุงดิน และเช้ือเพลิงขยะ (Refuse Derived

Fuel : RDF)

บทท่ี 3 แนวทางจัดการขยะมลู ฝอยปลายทางฯ 46

3.3 กรณศี กึ ษาการจัดการขยะมลู ฝอยปลายทางของสถานศึกษา
3.3.1 โรงจัดการขยะแบบครบวงจร มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยสี ุรนารี
1) กระบวนการทำงาน
โรงจัดการขยะแบบครบวงจร (Integrated Solid Waste

Sorting Plant) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มีขนาด 10 วันตอตัน สำหรับจัดการ
ขยะอินทรียและอนินทรียของมหาวิทยาลัย โดยใชเทคโนโลยีเชิงกล -ชีวภาพ
(Mechanical Biological Treatment, MBT) ห ร ือ เ ท ค โ น โ ล ย ีก า ร ห ม ัก
(Composting) กระบวนการแปรรูปขยะเปนวัสดุปรับปรุงดินและเชื้อเพลิงขยะ
ประกอบดวยระบบการคัดแยกขยะดวยระบบสายพาน เครื่องสับลดขนาด ระบบการ
หมัก และเครื่องรอนเพ่ือคัดแยกปุยอินทรียและพลาสติก ขบวนการจัดการขยะทำให
เกดิ ผลพลอยได คอื วัสดปุ รบั ปรุงดนิ และเช้ือเพลงิ ขยะ(Refuse Derived Fuel : RDF)

วสั ดปุ รบั ปรุงดนิ เชอ้ื เพลิงขยะ

ภาพที่ 3.10 โรงจัดการขยะแบบครบวงจร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

บทที่ 3 แนวทางจัดการขยะมูลฝอยปลายทางฯ 47

ภาพท่ี 3.11 กระบวนการจัดการขยะมูลฝอยของโรงจดั การขยะแบบครบวงจร
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี รุ นารี

2) ประสิทธิภาพของระบบ
จ า ก ก า ร ด ำ เนิน ง า น ส า ม า ร ถ จัด ก า ร ข ย ะ มูล ฝ อ ย ไดเอ ง ภ า ย ใ น

มหาวิทยาลัย รอยละ 93 สวนอีกรอยละ 7 เปนขยะกำจัดยากประเภท เศษผา
เศษหนัง อื่น ๆ และขยะอันตรายไดสงไปฝงกลบและสงกำจัดกับหนวยงานภายนอก

48 บทท่ี 3 แนวทางจัดการขยะมลู ฝอยปลายทางฯ

ภาพท่ี 3.12 สัดสวนการจดั การขยะมลู ฝอยของโรงจัดการขยะแบบครบวงจร
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี

3) ตน ทนุ ตอหนวย
ผลการคำนวณตนทุนตอหนวยของโรงจัดการขยะแบบครบวงจร พบวา

ในชวงเร่ิมเปดดำเนินงาน 3 ปแรก มีคาใชจายคอนขางสูง ท้ังนี้ เนื่องจากมีการกำจัดขยะ
มูลฝอยเฉพาะของมหาวิทยาลัยมีปริมาณขยะเขาระบบ รอยละ 40 ของคาท่ีออกแบบ
(10 ตันตอวัน) และรายไดจากการจำหนายผลพลอยไดยังไมคงท่ี แตหากเพิ่มปริมาณ
ขยะมูลฝอยเขาระบบเปน รอยละ 80 - 90 ของคาท่ีออกแบบ จะทำใหตนทุนลดลงจาก
1,878 บาทตอตัน (ปงบประมาณ 2557-2559) เปน 405 บาทตอตัน (ปงบประมาณ
2560-2562) แตในชวง 2 ปตอมา (ปงบประมาณ 2563-2564) พบวา ตนทุนตอหนวย
เริ่มปรับตัวสูงขึ้น เทากับ 700 บาทตอตัน (ปงบประมาณ 2563-2564) ทั้งนี้ เน่ืองจาก
ราคาจำหนายผลพลอยไดมีการปรับราคาลดลงตามราคาตลาด อยางไรก็ตาม หาก
เปรียบเทียบตนทุนตอหนวยในการขนสงขยะมูลฝอยไปฝงกลบภายนอกกับดำเนินการ
จัดการขยะมูลฝอยเองภายในพื้นที่ พบวา การดำเนินการจัดการขยะมูลฝอยเองภายใน
พื้นที่มีตนทุนตอหนวยต่ำกวา 544 บาทตอตัน (ตนทุนสงขยะมูลฝอยไปฝงกลบภายนอก
เทา กบั 1,585 บาทตอตัน) ดังตารางที่ 3.8

บทที่ 3 แนวทางจดั การขยะมูลฝอยปลายทางฯ 49

ตารางท่ี 3.8 ตน ทนุ ตอ หนวยของโรงจัดการขยะแบบครบวงจร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี

ปงบประมาณ ปรมิ าณขยะ คาใชจา ย รายได ตนทนุ ตอหนว ย
(ตนั ) (บาท/ป) (บาท/ป)
บาท/ป บาท/ตนั

2557 732 1,904,512 201,276 1,703,236 2,327
2558 1,049 2,241,357 310,500 1,930,857 1,841
2559 1,136 2,442,306 777,801 1,664,505 1,465
2560 2,946 2,418,061 1,379,837 1,038,224 352
2561 2,553 2,394,012 1,224,552 1,169,460 458
2562 2,869 2,716,859 1,312,697 1,404,162 489
2563 2,689 2,688,133 910,403 1,777,730 661
2564 2,456 2,711,098 901,079 1,810,019 737
เฉล่ยี 2,054 2,439,542 877,268 1,562,274 1,041

4) ความคุม คา ทางเศรษฐศาสตร
ผลการประเมินความคุมคาทางเศรษฐศาสตร จากการวิเคราะหตนทุน

และผลตอบแทน 4 คา คือ 1) มูลคาปจจุบันสุทธิ (NPV) มีคาเทากับ 2,555,585 บาท
2) อัตราสวนผลประโยชนตอตนทุน (B/C Ratio) มีคาเทากับ 0.96 3) อัตราผลตอบแทน
ภายในของโครงการ (IRR) มีคาเทากับ 15.47% และ 4) ระยะเวลาคืนทุน (PB) เทากับ
13.79 ป (ประมาณ 14 ป) เมื่อเทียบกับระยะเวลาประเมินโครงการ 15 ป สรุปโดย
ภาพรวมการลงทุนของโรงจัดการขยะแบบครบวงจร มีความคุมคาและนาลงทุน
ดังตารางท่ี 3.9

50 บทท่ี 3 แนวทางจัดการขยะมลู ฝอยปลายทางฯ

ตารางที่ 3.9 ผลการประเมนิ ความคมุ คา ทางเศรษฐศาสตร ของโรงจัดการขยะแบบครบวงจร

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี ุรนารี

ลำดับ รายการ หนวย ผลการ ความเปน ไปได

ประเมนิ ของการลงทนุ

1 มลู คาปจจุบนั สทุ ธิ (NPV) บาท 2,555,585 คุมคา

2 อตั ราสวนผลประโยชนตอทุน - 0.96 นาลงทนุ

(B/C Ratio)

3 อัตราผลตอบแทนภายใน (IRR) % 15.47 คุมคา

4 ระยะเวลาคืนทนุ (PB) ป 13.79 นาลงทุน

ท่ีมา : รายงานวิจัย เร่ือง ความคุมคาของโรงจัดการขยะแบบครบวงจร มหาวิทยาลัย

เทคโนโลยสี รุ นาร,ี ภทั รานิษฐ ปริญญากุลเสฏฐ, 2560

5) รูปแบบบริหารจดั การ
การบรหิ ารจัดการโรงจดั การขยะแบบครบวงจรใชก ระบวนการจา งเหมา

บ ริ ก า ร จั ด เก็ บ แ ล ะ ก ำ จั ด ข ย ะ มู ล ฝ อ ย โ ด ย ม อ บ ห ม า ย ใ ห ห น ว ย งา น เท ค โน ธ า นี ข อ ง
มหาวิทยาลัยเปนผูรับสัญญาในการจัดหาแรงงาน จัดหาอะไหลและซอมบำรุง รวมถึงการ
จัดหาแรงงานสำหรับจัดเก็บขยะมูลฝอยจากอาคารตาง ๆ สวนมหาวิทยาลัยรับผิดชอบคา
สาธารณูปโภค เชน คาน้ำประปา คาไฟฟา คาน้ำมันเชื้อเพลิง และคาถุงดำ เปนตน โดยมี
ระยะเวลาจางเหมา 2 ปตอสัญญา และมหาวิทยาลัยมีคณะกรรมการตรวจการจางเพื่อ
พจิ ารณาผลดำเนนิ งานตามบันทึกขอขอ ตกลง

6) ผลสำเร็จจากการดำเนนิ งาน
การกอสรางและบริหารจัดการโรงจัดการขยะแบบครบวงจรภายใน

มหาวทิ ยาลยั สง ผลดีทั้งในดานสิ่งแวดลอ มและสังคม ดังตารางท่ี 3.10 และภาพท่ี 3.12

บทที่ 3 แนวทางจัดการขยะมลู ฝอยปลายทางฯ 51

ตารางท่ี 3.10 ผลสำเรจ็ ของโรงจัดการขยะแบบครบวงจร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยสี ุรนารี
ลำดับ ผลสำเร็จ

1 การกำจัดขยะไดเองในพืน้ ท่ีชว ยลดปญหาวิกฤตสิ ถานทฝี่ ง กลบภายนอก
- จัดการเองไดภายในมหาวิทยาลัย ลดการสงไปกำจัดภายนอก ชวยลด
ปญหาวิกฤตสิ ถานทฝี่ ง กลบขยะของเทศบาลเมือง

2 การนำรายไดไปใชประโยชนดานสิ่งแวดลอม
- มีรายไดจากการบริหารจัดการไปใชสำหรับกองทุนส่ิงแวดลอม
ของมหาวิทยาลัยโดยการนำไปจัดสรรทุนเพ่ืองานวิจัยและโครงการที่
ชวยแกปญหาสิ่งแวดลอมภายในมหาวิทยาลยั

3 เปนแหลง เรยี นรขู องนกั ศึกษา และแหลงถายทอดความรสู ชู ุมชน
- เปน สถานท่ศี ึกษาดูงานของนักศึกษาภายในมหาวิทยาลยั
- เปน สถานทศ่ี กึ ษาดูงานองคก รปกครองสวนทอ งถนิ่

4 การเขา รวมโครงการดา นสิ่งแวดลอม
- การจดั อนั ดบั ดานการพัฒนาอยางยั่งยนื (Times Higher Education
Impact Rankings)
- การจัดอนั ดบั มหาวทิ ยาลัยสีเขยี วโลก (UI GreenMetric World
University Ranking)
- โครงการสำนกั งานสเี ขียว (Green Office)
- โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School)
- เครือขายมหาวิทยาลยั ย่งั ยืนของประเทศไทย หรอื Sustainable
University Network of Thailand หรอื SUN Thailand
- โครงการสนบั สนนุ กจิ กรรมลดกาซเรือนกระจก (Low Emission
Support Scheme, LESS)

52 บทท่ี 3 แนวทางจัดการขยะมลู ฝอยปลายทางฯ

ภาพที่ 3.13 ประสทิ ธิภาพการจัดการขยะมูลฝอยของโรงจัดการขยะแบบครบวงจร
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี ุรนารี

การแปรรูปขยะมูลฝอยของมหาวิทยาลัยทำใหเกิดผลพลอยไดประเภท
ขยะรีไซเคิล วัสดุปรับปรุงดิน และเช้ือเพลิงขยะ สามารถจำหนายเปนรายไดเขากองทุน
ส่ิงแวดลอมของมหาวิทยาลัย เฉล่ีย 1 ลานบาทตอป ดังภาพที่ 3.13 และนำไปจัดสรรทุน
สำหรับการวิจัยและโครงการดานสิ่งแวดลอมเพื่อพัฒนาคุณภาพส่ิงแวดลอมภายใน
มหาวิทยาลยั เฉลยี่ 9 ทนุ ตอป ดงั ตารางที่ 3.11

ภาพที่ 3.14 รายไดจากโรงจัดการขยะแบบครบวงจร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยสี ุรนารี

บทที่ 3 แนวทางจดั การขยะมลู ฝอยปลายทางฯ 53

ตารางที่ 3.11 การจดั สรรทุนจากกองทนุ สงิ่ แวดลอ ม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี

ปงบประมาณ จำนวน (ทนุ ) งบประมาณ (บาท)

ปงบประมาณ 2559 6 111,000

ปง บประมาณ 2560 7 237,000

ปง บประมาณ 2561 13 403,500

ปงบประมาณ 2562 15 1,140,000

ปงบประมาณ 2563 8 1,508,000

ปงบประมาณ 2564 5 460,000

รวม 54 3,859,500

เฉลี่ย 9 643,250

7) ปญหาอุปสรรค
การดำเนินงานบริหารจัดการขยะ มูลฝอยในชวงท่ีผานมาของ

มหาวิทยาลัยพบปญหาอุปสรรคในเรื่องของของราคาจำหนายผลพลอยไดมีคาลดลง และ
เร่ืองของการไมคดั แยกขยะตนทางทำใหตองใชแรงงานในการคัดแยกซำ้ ดังตารางที่ 3.12

ตารางที่ 3.12 ปญ หาอปุ สรรคจากการบริหารจัดการขยะมูลฝอย มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยสี ุรนารี

ลำดับ ปญหาอุปสรรค

1 ปญหาการไมคัดแยกประเภทขยะมูลฝอยจากตนทาง สงผลทำใหคนงาน
ที่ประจำจุดสายพานคัดแยกขยะตองใชเวลาในการคัดแยกขยะ มูลฝอยซ้ำ
โดยเฉพาะขยะอันตราย (หลอดไฟฟา ถานฉาย แบตเตอรี่) และขยะ
รีไซเคิล

2 ไมสามารถกำจัดขยะประเภทเศษผา เศษหนัง ยาง และขยะชิ้นใหญได
ทำใหตองสงไปฝงกลบภายนอก

3 ความไมแนนอนของราคาจำหนายวัสดุปรับปรุงดินและเชื้อเพลิงขยะ
มีแนวโนมลดลงขึ้นอยูกับกลไกของตลาด

54 บทท่ี 3 แนวทางจดั การขยะมูลฝอยปลายทางฯ

3.3.2 ศูนยบ ริหารจดั การชีวมวลครบวงจร มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม
1) กระบวนการทำงาน
ศูนยบริหารจัดการชีวมวลครบวงจร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

เปดดำเนินการในป พ.ศ. 2561 ถือเปนโรงจัดการขยะตนแบบดาน Zero Waste
ท่ีเนนการจัดการขยะมูลฝอยใหกลายเปนพลังงานทดแทนไดอยางแทจริง โดยบูรณาการ
เทคโนโลยีการคัดแยกขยะมูลฝอย เทคโนโลยีกาซชีวภาพ และเทคโนโลยีการผลิตกาซ
ไบโอมีเท นอัด (compressed bio-methane gas, CBG) ไวดวยกัน สามารถผลิต
กระแสไฟฟาใชภายในศูนยฯ และผลิตไบโอมีเทนสำหรับรถโดยสารของมหาวิทยาลัย
โดยสามารถรองรับขยะมูลฝอยได 30 วันตอตัน ปจจุบันมีขยะมูลฝอยเขาระบบ ประมาณ
15 ตนั ตอ วัน กระบวนการทำงานมี 3 ระบบ ดงั ตารางที่ 3.13

ตารางที่ 3.13 กระบวนการทำงานของศนู ยบ ริหารจัดการชีวมวลครบวงจร

ระบบ รายการ กระบวนการทำงาน

1 ระบ บ คั ด แ ย ก ข ย ะ เมื่อรับขยะมูลฝอยมาแลวขยะจะถูกปอนเขาสู

มูลฝอย ระบบสายพานลำเลียง

1. คนงานฉีกถุงขยะมูลฝอยเพ่ือคัดแยกขยะ

อนั ตราย และขวดแกวออกจากสายพาน

2. ขยะมลู ฝอยทเี่ หลือจะถกู สง ไปแยกดว ยเคร่ือง

Primary Separator และ Magnetic

Separator แยกขยะมูลฝอยไดด ังน้ี

- สายพานแยกขยะ 2D : แยกขยะพลาสติก

ที่มีความหนานอย มีน้ำหนักเบา เชน

ถงุ พลาสตกิ กระดาษ ขยะสงฝงกลบ (เศษ

ผา ยาง หนัง) และขยะรีไซเคลิ

- สายพานแยกขยะ 3 D : แยกขยะที่มี

นำ้ หนกั มาก เชน เศษอาหาร

- เครอื่ งแยกโลหะ : ขยะประเภทโลหะ

- เค ร่ื อ ง สั บ ข ย ะ เศ ษ อ า ห า ร : ข ย ะ

เศษอาหารที่ไดจะถูกสับกอนสงไปยัง

ระบบผลติ กาซชวี ภาพ

บทท่ี 3 แนวทางจดั การขยะมูลฝอยปลายทางฯ 55

ตารางท่ี 3.13 กระบวนการทำงานของศนู ยบรหิ ารจดั การชวี มวลครบวงจร (ตอ)

ระบบ รายการ กระบวนการทำงาน

2 ระบบผลิตกา ซชีวภาพ ขยะอินทรียท่ีไดจากระบบคัดแยกขยะมูลฝอย

จะสงมาหมักและยอยรวมกับพืชชีวมวลและ

มูลสัตวท่ีระบบผลิตกาซชีวภาพแบบหมักแหง

เพือ่ ผลิตเปนกาซชีวภาพ

3 ระบบนำกาซชวี ภาพไปใช กาซชีวภาพที่ไดจะถูกนำมาปรับปรุงคุณภาพ

ประโยชน เพื่อผลิตกระแสไฟฟา และผลิตเปนกาซ

ไ บ โ อ มี เท น อั ด ส ำ ห รั บ ร ถ ย น ต โด ย ส า ร ข อ ง

มหาวทิ ยาลัย

4 การผลติ เชอื้ เพลงิ ขยะ ขยะพลาสติกที่ไดจ ากระบบคัดแยกขยะมูลฝอย

จะถูกสงนำไปขาย และบางสวนจะนำไปลาง

ดวยเคร่ือง และอัดแทงเพ่ือนำไปใชสำหรับเปน

สว นผสมยางมะตอย

56 บทท่ี 3 แนวทางจัดการขยะมลู ฝอยปลายทางฯ

ระบบคดั แยกขยะมลู ฝอย

ระบบผลติ กาซชวี ภาพ

กา ซไบโอมีเทนอัดสำหรับรถยนต

ภาพท่ี 3.15 ศนู ยบ รหิ ารจดั การชวี มวลครบวงจร มหาวิทยาลัยเชยี งใหม
ทีม่ า : https://erdi.cmu.ac.th/?p=1251

บทที่ 3 แนวทางจัดการขยะมลู ฝอยปลายทางฯ 57

2) ประสทิ ธภิ าพของระบบ
จากกระบวนการคัดแยกขยะมูลฝอยเพ่ือนำไปแปรรูปเปน

พลังงานแบบตาง ๆ พบวามีขยะมูลฝอยประเภท เศษผา เศษหนัง และอ่ืน ๆ ที่ระบบ
ยงั จัดการไมไดต อ งสง ไปฝงกลบ รอยละ 21 ดงั ภาพท่ี 3.15

ภาพท่ี 3.16 สัดสวนการจดั การขยะมลู ฝอย ศนู ยบ ริหารจดั การชวี มวลครบวงจร
มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม

3) ผลสำเรจ็ จากการดำเนนิ งาน
การบริหารจัดการขยะมูลฝอยภายในศูนยบริหารจัดการชีวมวล

ครบวงจร มหาวิทยาลัยเชียงใหม สามารถนำขยะมูลฝอยมาผลิตพลังงาน และนำไปใชได
อยางสมบูรณ ตลอดจนสามารถชวยลดคาใชจายในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของ
มหาวิทยาลัยได ดงั ตารางที่ 3.14
ตารางที่ 3.14 ผลสำเร็จของศนู ยบริหารจดั การชวี มวลครบวงจร มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม
ลำดับ ผลสำเรจ็

1 ประหยัดงบประมาณคาจดั การขยะไดป ระมาณ 2,500,000 บาท/ป
2 ผลิตไฟฟา ไดว ันละ 240 kWh คิดเปน เงนิ 320,000 บาท/ป
3 ผลิตกา ซไบโอมเี ทนอัดไดวันละ 420 กก. คดิ เปนเงิน 2,300,000 บาท/ป
4 สามารถผลิตปยุ อนิ ทรียไ ดวันละ 3 ตัน หรอื 990 ตันตอ ป
5 ไดขยะรีไซเคลิ และเชอื้ เพลงิ ขยะกวา วันละ 12 ตนั หรอื 3,960 ตนั ตอป
6 ลดการนำขยะไปฝง กลบไดไ มน อยกวา รอ ยละ 90 หรือ 8,900 ตนั ตอป

58 บทที่ 3 แนวทางจดั การขยะมลู ฝอยปลายทางฯ

3) การบริหารจัดการ
ภายในศูนยบริหารจัดการชีวมวลครบวงจร มีแรงงาน 8 คน

ชางเทคนิค 2 คน และผูจัดการโครงการ 1 คน ทำงาน 8 ชั่วโมงตอวัน มีคาใชจายในการ
เดินระบบ พรอมบำรุงรักษาอุปกรณ รวมกับคาจางบุคลากรของโครงการประมาณ
ปละ 2,600,000 บาท

4) ปญหาอปุ สรรค
การดำเนินงานบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชวงที่ผานมาของ

มหาวิทยาลัยมีปญหาอุปสรรคในเร่ืองของราคาจำหนายผลพลอยไดท่ีมีคาลดลงตามราคา
ตลาดเชน เดียวกับมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และปญ หาการซอมบำรุงรักษาเคร่อื งจักร
ดังตารางที่ 3.15

ตารางท่ี 3.15 ปญหาอุปสรรคของศนู ยบ ริหารจดั การชวี มวลครบวงจร มหาวิทยาลยั เชยี งใหม
ลำดับ ปญ หาอุปสรรค

1 ไมม ีผูรบั ซื้อเช้อื เพลงิ ขยะ หรือรบั ซื้อแตร าคาถกู ทำใหต องหาวิธีนำขยะพลาสติก
ไปพัฒนาตอยอด เชน ใชเ ปน สวนผสมของยางมะตอย และวิจยั อ่ืน ๆ

2 การซอมบำรุงเครอื่ งจักร ตองมกี ารวางแผนซอมบำรงุ อยางมปี ระสทิ ธภิ าพ
เพือ่ ใหส ามารถจัดการขยะมูลฝอยไดอ ยา งตอเนอ่ื ง

3 ไมสามารถกำจัดขยะมูลฝอยประเภท เศษผา เศษหนัง ยางรถยนต ไวนิล
ตองสง ไปฝง กลบภายนอก

จากกรณีศึกษาของทั้งสองมหาวิทยาลัยที่มีโรงจัดการขยะมูลฝอยเปนของตนเอง
ภายในมหาวิทยาลัย สามารถนำขยะมูลฝอยมาผลิตพลังงานทดแทน มีรายไดจากการ
ดำเนินงาน ชวยลดคาใชจายในการจัดการขยะมูลฝอย และเปนที่พึ่งของสังคมในการ
ถา ยทอดความรอู ันจะนำไปสกู ารจดั การขยะมลู ฝอยที่ยั่งยนื ตอไป

บทที่ 3 แนวทางจัดการขยะมูลฝอยปลายทางฯ 59

บทท่ี 4 การประกวดและจัดอนั ดับ

การดำเนินกิจกรรมดานการจัดการขยะมูลฝอย รวมถึงการจัดการสิ่งแวดลอม
ดานตาง ๆ ของสถานศึกษา (การจัดการพลังงาน การจัดการน้ำ และการจัดระบบขนสง
มวลชน) สถานศึกษาสามารถนำผลสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อสงเขารวมประกวดและ
จดั อนั อันดบั สถานศึกษาทเี่ ปนมติ รตอสิ่งแวดลอมได ปจจุบนั มโี ครงการประกวดและการจัด
อันดบั ท่ีหลากหลายและเหมาะสมกบั สถานศึกษาแตละระดับสถานศึกษา ดงั ตารางที่ 4.1

ตารางที่ 4.1 การประกวดและจัดอนั ดบั สถานศึกษาทเ่ี ปน มิตรตอ ส่งิ แวดลอม

ลำดับ รายการ ระดับสถานศกึ ษา

ปฐมศึกษา มธั ยมศึกษา อาชวี ศกึ ษา อุดมศึกษา

1 โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste √ √ √ -
School)

2 สำนักงานสเี ขียว (Green Office) - - √ √

3 โครงการสนับสนุนกิจกรรมลด √ √ √ √
กา ซเรอื นกระจก (Low Emission
Support Scheme, LESS)

4 มหาวิทยาลัยสีเขียวโลก (UI - - - √
GreenMetric World University
Ranking)

5 การจดั อันดบั ดานการพฒั นาอยาง - - - √
ยั่งยืน (Times Higher
Education Impact Rankings)

4.1 โรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School)
โครงการนี้จัดโดยกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวง

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา
กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา และสนับสนุนการสรางเครือขายสถานศึกษาที่ดำเนิน
กิจกรรมลด คัดแยก การนำกลับมาใชประโยชน การสรางระบบการเรยี นรูผ านกิจกรรมตา ง ๆ
และสงเสริมการมีสวนรวมของนักเรียนในการจัดการขยะมูลฝอยภายในสถานศึกษาอยาง
ยง่ั ยืน

60 บทท่ี 4 การประกวดและจดั อันดบั

โครงการแบงการประกวดออกเปน 3 ระดับได แก ระดับจังหวัด ระดับเขต
สำนักงานสิ่งแวดลอมภาค และระดับประเทศ และ 2 กลุม คือ กลุม A โรงเรียน
ระดับประถมศึกษา และโรงเรียนขยายโอกาส และกลุม B โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา
โดยสถานศึกษาสามารถขอรับใบสมัครเขารวมโครงการทางเว็บไซต www.deqp.go.th
และทาง Facebook : โครงการโรงเรียนปลอดขยะ และโรงเรียนที่เขารวมโครงการตอง
ดำเนินการจดั ทำเลม รายงาน ประกอบดว ย 6 สวน ดังน้ี

1. สว นท่ี 1 : นโยบาย การสนับสนุน และแผนการดำเนินงาน
2. สว นที่ 2 : กระบวนการสงเสรมิ ความรคู วามเขาใจ และการสราง

วนิ ยั ในการจดั การขยะมลู ฝอย
3. สวนที่ 3 : กระบวนการสง เสรมิ การมสี ว นรวมในการจดั การขยะมูลฝอย
4. สวนที่ 4 : การดำเนินกจิ กรรมโรงเรยี นปลอดขยะโดยใชหลกั 3Rs
5. สวนท่ี 5 : ผลสำเรจ็ และความย่งั ยืนของโรงเรียนปลอดขยะ
6. สวนที่ 6 : การจัดการขยะมูลฝอยตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง

และสงเสริมคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ ม
เมื่อจัดสงรายงานแลว คณะกรรมการจะพิจารณาโรงเรียนที่ผานเขารอบที่ 1
โ ด ย ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร จ ะ เ ข  า เ ย ี ่ ย ม พ ื ้ น ท ี ่ จ ร ิ ง เ พ ื ่ อ ค ั ด เ ล ื อ ก ส ถ า น ศ ึ ก ษ า ท่ี ผ  า น เ ข  า ร อ บ
ระดับประเทศ กลุม A จำนวน 5 แหง และกลุม B จำนวน 5 แหง และมีคณะกรรมการ
ระดับประเทศเขาตรวจพื้นที่เพื่อคัดเลือกผูชนะเลิศระดับประเทศตอไป รายละเอียด
ดงั ภาพที่ 4.1

บทที่ 4 การประกวดและจัดอันดับ 61

ภาพที่ 4.1 กรอบการดำเนินงานโรงเรียนปลอดขยะ

บทท่ี 4 การประกวดและจดั อันดบั 62

ตารางท่ี 4.2 ขอมูลประกอบการเขารวมโรงเรียนปลอดขยะ

ลำดับ เกณฑป ระเมนิ ขอมลู ประกอบ

1 นโยบาย การสนับสนุน 1. ประกาศนโยบายและวิสยั ทศั นในการดำเนนิ งาน

และแผนการดำเนนิ งาน 2. คำสัง่ แตง ต้งั คณะทำงานหรือผูรบั ผดิ ชอบโครงการ

3. แนวทางการส่ือสารนโยบายและวสิ ยั ทัศน

4. แผนงาน งบประมาณ กำหนดเปาหมาย ตวั ชี้วัด

5. การประชุมตดิ ตามอยา งตอ เน่ือง

2 กระบวนการสงเสริม 1. หลักสูตรบูรณาการการจัดการขยะมูลฝอยภายในโรงเรียน

ความรูความเขาใจและ ปลอดขยะ หรอื หลกั สตู รเพม่ิ เติม

การสรางวินัยในการ 2. จุดเรยี นรูห รอื แหลงเรยี นรูในโรงเรียน

จดั การขยะมลู ฝอย 3. สรปุ ผลดำเนินงาน

3 กระบวนการสงเสริมการ 1. จำนวนคนผมู ีสวนรวมทง้ั นักเรียนและคณุ ครู

มีสวนรวมในการจัดการ 2. หลักฐานการสรางกลุมหรอื การสงเสรมิ ใหมีการสบื ทอดการ

ขยะมลู ฝอย ดำเนนิ งานโรงเรียนปลอดขยะ

3. กระบวนการประเมนิ การมีสว นรวมของภาคสว นตาง ๆ นอก

โรงเรยี น

4. กระบวนการสรางแรงจูงใจ

4 ก า ร ด ำ เ น ิ น กิ จกรรม 1. แผนการดำเนนิ โครงการดานการจัดการขยะมลู ฝอยภายใน

โรงเรียนปลอดขยะ โรงเรียน

โดยใชห ลกั 3Rs 2. กจิ กรรมการลดปริมาณขยะมลู ฝอยตงั้ แตตน ทาง

3. กิจกรรมการจัดการขยะมูลฝอยทั้ง 4 ประเภทอยางมี

ประสิทธภิ าพ

4. นวตั กรรมการจัดการขยะมลู ฝอยของโรงเรยี น

5 ผลสำเร็จและความยั่งยืน 1. กระบวนการประเมนิ จิตสำนึก พฤตกิ รรมของผเู รียน ครู

ของโรงเรียนปลอดขยะ อาจารย และบคุ ลากรในโรงเรยี น

2. ปริมาณขยะมลู ฝอยท่ีนำกลบั มาใชประโยชนผา นกิจกรรม

3. ปริมาณขยะมูลฝอยที่นำไปกำจดั ลดลง (รอยละ)

4. ความตอเน่ืองของการดำเนินงานอยา งนอ ย 3 ปข ึ้นไป

5. จำนวนเครอื ขา ยโรงเรยี น/ชุมชน

6. การรวบรวมองคค วามรดู า นการจัดการขยะมลู ฝอยเพอ่ื เผยแพร

ใหแ กโ รงเรียนอ่ืน ๆ หรือคณะท่ีมาเยี่ยมชมศกึ ษาดูงาน

6 จัดการขยะมูลฝอยตาม 1. กิจกรรมอนุรักษท รัพยากรธรรมชาติ (นำ้ /ไฟฟา /ดนิ /นำ้ เสีย)

หลักปรัชญาเศรษฐกิจ 2. กจิ กรรมการเพ่มิ พนื้ ทสี่ เี ขียวภายในโรงเรยี น

พอเพียงและสงเสริม 3. กจิ กรรมเดนิ ทางมาพรอ มกัน (Car Pool)

คณุ ภาพส่ิงแวดลอ ม 4. การจัดบริเวณท่ีจอดรถของผเู รียน บุคลากร และผปู กครอง

5. การจัดภมู ทิ ศั นโ ดยใชหลักการจดั การทเ่ี ปนมิตรกับส่ิงแวดลอ ม

บทที่ 4 การประกวดและจดั อนั ดบั 63

4.2 สำนักงานสเี ขยี ว (Green Office)
โครงการนี้จัดโดยกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวง

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และมหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อสงเสริมใหสำนักงานท้ัง
ภาครัฐและเอกชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในสำนักงานที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
ลดการใชพลังงาน ลดการเกิดขยะมูลฝอย และมีการจัดซื้อจัดจางที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
สามารถสงใบสมัครเขารวมโครงการทางเว็บไซต http://www.datacenter.deqp.go.th
เกณฑก ารใหค ะแนนมี 6 หมวด คอื

1. นโยบาย แผนการดำเนินงานและการปรับปรุงอยางตอเน่ือง : รอ ยละ 25
2. การส่ือสารและสรางจิตสำนกึ : รอยละ 15
3. การใชท รพั ยากรและพลงั งาน : รอยละ 15
4. การจัดการของเสยี : รอยละ 15
5. สภาพแวดลอมและความปลอดภยั : รอยละ 15
6. การจัดซือ้ และจดั จาง : รอ ยละ 15
สำนักงานท่ผี านเกณฑการประเมนิ จะไดร บั โลร างวัล 3 ระดับ คอื ระดบั
ดีเยย่ี ม (G ทอง) ระดับดมี าก (G เงิน) และระดับดี (G ทองแดง) โดยจะไดรับมอบรางวลั ใน
วนั สง่ิ แวดลอ มไทยประจำป โดยสำนักงานท่เี ขา รว มตรวจประเมนิ จะตอ งสง แบบประเมนิ
ตนเองเพือ่ แสดงถึงความพรอมในการรองรับการตรวจประเมนิ ดงั นี้
1. ขอ มูลการใชท รัพยากร พลงั งาน ของเสีย (ระยะเวลา 4 เดือน)
2. ประกาศนโยบายสงิ่ แวดลอม และคำสงั่ แตง ต้ังคณะทำงาน
3. เปาหมายการใชทรัพยากร พลังงาน ของเสีย และปริมาณกาซเรือน

กระจก
4. แผนการฝก อบรม
5. รปู แบบประชาสัมพันธ เชน ปายประชาสมั พนั ธ และส่อื ออนไลน เปน ตน
6. การจดั ถงั ขยะมลู ฝอยแยกประเภท
7. การจดั การนำ้ เสีย
8. การรกั ษาความสะอาด
9. การวัดคาเสยี งและแสงในสำนกั งาน
10. การซอมอพยพหนีไฟ
11. รายการจดั ซือ้ จัดจา งทีเ่ ปน มติ รตอ ส่งิ แวดลอ ม
12. การจัดกิจกรรมและโครงการทเี่ ปนมติ รตอสิ่งแวดลอ ม
รายละเอยี ดดงั ภาพท่ี 4.2 และตารางที่ 4.3

64 บทที่ 4 การประกวดและจัดอนั ดบั

ภาพที่ 4.2 กรอบการดำเนินงานสำนกั งานสเี ขยี ว

บทท่ี 4 การประกวดและจดั อันดบั 65

ตารางท่ี 4.3 ขอ มูลประกอบการเขารวมโครงการสำนักงานสเี ขยี ว

ลำดบั เกณฑป ระเมิน ขอ มลู ประกอบ

1 น โ ย บ า ย แ ผ น ก า ร 1. ประกาศนโยบายสง่ิ แวดลอม

ด ำ เ น ิ น ง า น แ ล ะ ก า ร 2. ประกาศมาตรการประหยดั

ปรับปรุงอยางตอเนื่อง 3. คำสั่งแตงตงั้ คณะทำงาน

4. แผนดำเนินงาน ตัวชีว้ ดั งบประมาณ และผูร บั ผดิ ชอบ

5. ผลการประเมนิ ปญ หาส่ิงแวดลอมและทรพั ยากร

6. ผลการประเมินการปลอ ยกาซเรือนกระจก

7. ทะเบยี นกฎหมายท่ตี อ งปฏิบตั ิตามของสำนักงาน

8. เอกสารโครงการและกจิ กรรม

9. การประชุมทบทวนฝา ยบรหิ าร

2 การสื่อสารและสราง 1. แผนการสอื่ สาร

จติ สำนกึ 2. หลักฐานการประชาสมั พนั ธร ปู แบบตา ง ๆ

3. ผลประเมนิ วดั ความรคู วามเขาใจของคนในสำนักงาน

4. การดำเนนิ การแกไขตามขอรองเรยี น/ขอ เสนอแนะ

3 การใชทรัพยากรและ 1. ขอมูลการใชพลังงานและทรัพยากรรายเดือน (น้ำ/ไฟฟา/เชื้อเพลิง/

พลังงาน กระดาษ)

2. ปายประชาสมั พนั ธรณรงคตา ง ๆ

3. การประชุมและนิทรรศการที่เนนการสื่อสารทางอิเล็กทรอนิกส และ

การใชวสั ดทุ ี่เปนมติ รตอสงิ่ แวดลอ มในการจัดนิทรรศการ

4. เปา หมาย และผลการลดการใชพลังงานและทรพั ยากร

4 การจดั การของเสีย 1. ขอมูลปริมาณขยะมลู ฝอย

2. หลักฐานการจัดการขยะมูลฝอยแตล ะประเภท

3. ผลการลด คัดแยก และการนำขยะมลู ฝอยมาใชป ระโยชน

4. ปายรณรงคเกี่ยวกบั การคดั แยกขยะมูลฝอย

5. การจัดการนำ้ เสยี และดแู ลถังดกั ไขมัน

6. ผลการบำบัดนำ้ เสยี เทยี บเกณฑมาตรฐาน

5 สภาพแวดลอมและความ 1. การบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศ เครื่องถายเอกสาร การทำความ

ปลอดภยั สะอาดสำนักงาน และหอ งน้ำ

2. กำหนดจุด จดั ทำปา ยจดุ สบู บหุ ร่ี และการรณรงคไ มส บู บหุ ร่ี

3. ขอ มูลการตรวจวดั คาแสง

4. การจดั พื้นท่สี ีเขียว

5. การจดั การมลพษิ ทางเสียงและอากาศจากการกอสรา ง และปรบั ปรุง

6. การอบรมฝก ซอ มดับเพลงิ และความพรอ มของอุปกรณดับเพลิง

6 การจัดซ้ือและจัดจาง 1. บัญชีสนิ คา และบริการที่เปนมติ รตอ ส่ิงแวดลอ ม

2. หลกั ฐานการคดั เลือกสินคาและบรกิ ารที่เปน มติ รตอ สง่ิ แวดลอม

3. สรุปรอ ยละของการใชส นิ คาและบริการทีเ่ ปนมติ รตอสง่ิ แวดลอม

66 บทที่ 4 การประกวดและจัดอันดับ

การดำเนินกิจกรรม Green Ofiice ถือเปนอีกกิจกรรมหนึ่งที่เปนการปรับ
พฤติกรรมใหเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมของพนักงานที่อยูในสำนักงานไดเปนอยางดี ชวยลด
การใชพลังงานและทรัพยากรของสำนักงาน มีการจัดสภาพแวดลอมที่ดี และหาก
สถานศึกษาเริ่มตนที่สำนักงานตนแบบไดจะสามารถขยายผลไปยังอาคารอื่น ๆ ของ
สถานศึกษาไดอ ยา งเปนรูปธรรมตอไป ดังภาพที่ 4.3

ภาพที่ 4.3 ผลสำเรจ็ จากการดำเนินงานโครงการสำนกั งานสีเขยี ว
ท่ีมา : สำนกั งานสว นอาคารสถานท่ี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยสี รุ นารี จังหวัดนครราชสีมา
4.3 โครงการสนับสนุนกจิ กรรมลดกา ซเรอื นกระจก (Low Emission Support

Scheme, LESS)
โครงการ LESS เปนโครงการสงเสริมใหเกิดกิจกรรมลดกาซเรือนกระจก

และยกยอ งผูทำความดีโดยการมอบใบประกาศเกียรตคิ ุณ (Letter of Recognition: LOR)
เพื่อใหผูดำเนินกิจกรรมลดกาซเรือนกระจกไดรับการยอมรับ โดยผานกระบวนการ
วิเคราะหและประเมนิ ทางเทคนิควิชาการ และเพื่อเปนการเตรียมความพรอ มในการพัฒนา
โครงการลดกาซเรือนกระจกไปสูระดับที่สามารถซื้อ-ขายคารบอนเครดิตได ทั้งนี้ การ
ประเมินการลดกาซเรือนกระจกจากโครงการ LESS เปนการประเมินเบื้องตนเพื่อประกาศ
เกียรตคิ ุณจงึ ยังไมสามารถซื้อ-ขายคารบ อนเครดิตได สถานศึกษาจะเปน ผูประเมินปริมาณ
กาซเรือนกระจกที่ลดไดจากโครงการหรือกิจกรรม และจัดทำเปนรายงานสรุป

บทที่ 4 การประกวดและจดั อนั ดับ 67

ผลการประเมินการลดกาซเรือนกระจก (LESS Summary Report) พรอมใบสมัคร สงไป
ยังองคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) หรือ อบก. เพื่อขอการรับรอง
ผลการประเมนิ ปรมิ าณกาซเรือนกระจกทลี่ ดได ดังตารางที่ 4.4

ตารางที่ 4.4 ประเภทกิจกรรมลดกา ซเรือนกระจกของ LESS

ลำดับ ประเภทกจิ กรรม รายละเอียดกจิ กรรม

1 การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการใชพลังงาน การติดตั้ง/เปลี่ยนหลอดไฟหรือ

อุปกรณประหยัดพลังงาน อาคาร

ประหยัดพลงั งาน

2 การพัฒนาพลงั งานทดแทน การพัฒนาโครงการจากพลังงาน

ชีวมวล

การพัฒนาโครงการพลังงาน

แสงอาทติ ย

การพัฒนาโครงการพลังงานจากกาซ

ชวี ภาพ

3 การจัดการของเสีย ธนาคารขยะรีไซเคิล และการจัดการ

ขยะมลู ฝอยอยางถกู วิธี

การจัดการของเสียโดยการนำมาใช

ประโยชน

4 การพัฒนาระบบการเดินทางที่ลด การพฒั นาระบบขนสง มวลชน

การปลอ ยกาซเรือนกระจก การพฒั นาทางจกั รยาน

5 การเพิ่มพื้นที่การดูดซับกาซเรือน การปลูกปา

กระจก การฟน ฟูปา เสือ่ มโทรม

การเพ่มิ พ้นื ทส่ี ีเขยี วในเมอื ง

6 การเกษตรที่ลดการปลอยกาซเรือน การทำการเกษตรท่ีลดการใชปยุ เคมี

กระจก

7 ภาคอตุ สาหกรรม การลดการใชพลังงานไฟฟา และ

มาตรการอนื่ ๆ

ท่ีมา : http://ghgreduction.tgo.or.th/less.html

68 บทท่ี 4 การประกวดและจัดอันดบั

การดำเนินกจิ กรรมลดกา ซเรือนกระจกตามโครงการ LESS ของสถานศึกษา
สามารถสงขอมูลเขารวมโครงการกับ อบก. ไดโดยการคำนวณผลการลดกาซเรือน
กระจกของสถานศึกษาไดจาก http://ghgreduction.tgo.or.th/th/less.html ซึ่งเปน
โปรแกรมที่สามารถใชงานงายและสะดวก ทั้งนี้ ขอยกตัวอยางกิจกรรมที่สถานศึกษา
สามารถสงเขารวมโครงการได คือ กิจกรรมธนาคารขยะรีไซเคิล ซึ่งเปนกิจกรรมท่ี
สถานศึกษาทุกระดบั มีการดำเนนิ การอยางแพรหลายในปจ จบุ ัน ดงั ภาพท่ี 4.4

ภาพท่ี 4.4 ประเมินปรมิ าณลดกาซเรือนกระจกจากกิจกรรมธนาคารขยะรีไซเคลิ
(ทมี่ า : ธนาคารขยะรีไซเคิล มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี)

บทท่ี 4 การประกวดและจดั อันดบั 69

4.4 การจดั อนั ดับมหาวิทยาลยั สเี ขยี วโลก (UI GreenMetric World University Rankings)
การจัดอันดับมหาวิทยาลัยสีเขียวโลก หรือ UI GreenMetric World University

Rankings จัดอันดับโดย University of Indonesia โดยสถาบันอุดมศึกษาสามารถสมัคร
เขารวมการจัดอันดับไดที่ http://greenmetric.ui.ac.id โดยเกณฑการจัดอันดับของป
ค.ศ. 2021 ประกอบดวย 6 ดาน คะแนนเตม็ 10,000 คะแนน ดงั นี้

1) ที่ต้งั และโครงสรางพนื้ ฐาน (1,500 คะแนน, 15%)
2) การจดั การพลังงานและการเปล่ยี นแปลงภูมิอากาศ (2,100 คะแนน, 21%)
3) การจัดการของเสีย (1,800 คะแนน, 18%)
4) การใชน ำ้ (1,000 คะแนน, 10%)
5) การขนสง ที่เปน มิตรตอ ส่ิงแวดลอม (1,800 คะแนน, 18%)
6) ความสามารถในการใหก ารศกึ ษาดา นสิ่งแวดลอ ม (1,800 คะแนน, 18%)
จากเกณฑการจัดอันดับดังกลาวจะเห็นไดวาการจัดการขยะมูลฝอยของ
สถานศึกษาถือเปนหนึ่งในเกณฑประเมินที่มีความสำคัญ โดยแตละเกณฑมีแนวทาง
ประเมนิ ดงั ภาพท่ี 4.5 และตารางท่ี 4.5

70 บทท่ี 4 การประกวดและจดั อันดบั

ภาพท่ี 4.5 กรอบการจดั อนั ดบั มหาวิทยาลยั สเี ขยี วโลก

บทท่ี 4 การประกวดและจดั อันดบั 71

ตารางท่ี 4.5 ขอ มูลประกอบการจดั อันดับมหาวิทยาลัยสเี ขียวโลก

ลำดับ เกณฑประเมนิ ขอ มลู ประกอบ

1 Setting and 1. ประเภทของมหาวิทยาลัย

Infrastructure (SI) 2. ตำแหนง ทต่ี ง้ั

3. ลักษะภูมอิ ากาศ

4. จำนวนวทิ ยาเขต

5. พื้นทขี่ องมหาวทิ ยาลยั

6. พื้นท่อี าคารท้ังหมด (ทกุ ชั้น)/พืน้ ที่

อาคารชนั้ 1/พนื้ ทีล่ านจอดรถ

7. พ้ืนทีป่ าธรรมชาติ/พืน้ ท่ีปาปลูก

8. พืน้ ที่ดูดซับน้ำ (พ้ืนดนิ /หญา /บลอ็ ก/

คอนกรีต/นำ้ )

9. จำนวนนักศึกษาภาคปกติ ภาคออนไลน

อาจารย และเจา หนาท่ี

10. สดั สวนพ้นื ทเ่ี ปด ตอ จำนวนประชากร

11. งบประมาณที่ใชในโครงการดานสิ่งแวดลอม

และการพฒั นาอยา งย่ังยนื

12. งบประมาณท้ังหมดของมหาวิทยาลัย

13. สดั สว นงบประมาณที่ใชใ นโครงการดาน

สิ่งแวดลอมและการพัฒนาอยา งยั่งยนื

เทียบกบั งบประมาณทั้งหมด

14. จำนวนประชากรและการใชพ้นื ทอี่ าคาร

ในชว งสถานการณ COVID-19

15. สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรบั คนพกิ าร

หญิงใหน มบุตร

16. การใหบ ริการรักษาความปลอดภยั

17. โครงสรา งพ้ืนฐานดานสขุ ภาพ

18. การอนุรักษพ ืช สตั ว และแหลง พันธกุ รรม

ทางอาหารและการเกษตร

2 Energy and Climate 1. จำนวนอุปกรณเครื่องใชไฟฟาที่มีประสิทธิภาพ

Change (EC) (แอร พัดลม ตเู ยน็ หลอดประหยดั ไฟฟา)

72 บทท่ี 4 การประกวดและจัดอนั ดับ

ตารางท่ี 4.5 ขอ มูลประกอบการจัดอันดับมหาวทิ ยาลยั สเี ขียวโลก (ตอ )

ลำดบั เกณฑประเมนิ ขอ มลู ประกอบ

2 Energy and Climate 2. จำนวนอปุ กรณเ คร่อื งใชไฟฟาแบบดัง้ เดมิ

Change (EC) 3. สัดสวนเครื่องใชไฟฟาที่มีประสิทธิภาพเทียบ

จำนวนเครอื่ งใชไ ฟฟา ทงั้ หมด

4. พน้ื ทอี่ าคารที่ระบบ Smart Building -

ระบบอัตโนมัติตาง ๆ

- ระบบ sensor

- ระบบ CCTV

- ระบบตรวจจับพลงั งาน

- ระบบแสงสวา งอัตโนมัติ

- ระบบ Building Management

System (BMS)

- ระบบ Building Information Modelling

(BIM)/Building Automation System (BAS)

- ระบบ Facility Management System

(FMS)

5. สดั สว นพน้ื ทอ่ี าคารทีม่ รี ะบบ Smart

Building เทียบพ้นื ทอี่ าคารทั้งหมด

6. จำนวนแหลง พลังงานทดแทนและปรมิ าณการผลติ

เพ่ือใชท ดแทน

7. ปรมิ าณการใชไฟฟาตอป

8. สัดสวนพลังงานทดแทนเทียบปรมิ าณการใชไฟฟา

ท้งั หมด

9. สัดสวนการใชไ ฟฟาตอจำนวนประชากร

10.ปริมาณการปลอยกาซเรอื นกระจก

11.สัดสวนการปลอยกา ซเรือนกระจกตอจำนวน

ประชากร

12.การพฒั นานวัตกรรมในชว งสถานการณ

COVID-19

13.การดำเนนิ กิจกรรมเพอื่ ลดผลกระทบสง่ิ แวดลอม

ใหกบั ชุมชน

บทท่ี 4 การประกวดและจัดอันดบั 73

ตารางท่ี 4.5 ขอ มูลประกอบการจดั อันดับมหาวิทยาลัยสเี ขียวโลก (ตอ)

ลำดบั เกณฑประเมนิ ขอมลู ประกอบ

3 Waste (WS) 1. การดำเนินกิจกรรมรีไซเคิลของเสีย

2. การดำเนนิ กจิ กรรมลดการใชกระดาษและ

พลาสติก

3. การจัดการขยะอินทรีย

4. การจัดการขยะอนนิ ทรยี 

5. การจดั การขยะพษิ

6. การจดั การน้ำเสยี

4 Water (WR) 1. การดำเนินกิจกรรมอนุรกั ษนำ้

2. การรีไซเคลิ น้ำ

3. จำนวนอปุ กรณประหยัดน้ำ

4. สัดสวนการใชอุปกรณประหยัดน้ำเทียบอุปกรณ

ทัง้ หมด

5. ปรมิ าณการใชน ้ำประปา

6. สดั สวนการใชน ำ้ ประปาเทียบกบั การใชน ้ำทง้ั หมด

7. สิ่งอำนวยความสะดวกดานสุขาภิบาลในชวง

สถานการณ COVID-19

5 Transportation (TR) 1. จำนวนรถยนตท่มี หาวทิ ยาลัยเปนเจา ของ

2. จำนวนรถยนตทวี่ ิ่งเขา มหาวิทยาลัย (เฉลยี่ คัน/วนั )

3. จำนวนรถจักรยานยนตท วี่ ิง่ เขา มหาวทิ ยาลยั

(เฉล่ยี คัน/วัน)

4. สัดสวนยานพาหนะ (รถยนตที่มหาวิทยาลัยเปน

เจาของ รถยนตและรถจักรยานยนตที่วิ่งเขา

มหาวทิ ยาลยั ) เทียบกบั จำนวนประชาการ

5. รูปแบบการใหบริการรถโดยสารสาธารณะ (ฟรี

หรือเกบ็ คา บรกิ าร/ประเภทรถโดยสารที่ใช เชน ใช

ไฟฟา หรอื น้ำมันเชื้อเพลิง)

6. จำนวนเทย่ี ววิ่งใหบ ริการ/จำนวนผูโดยสารตอ เทย่ี ว

7. นโยบายการใชรถ Zero Emission Vehicles

(ZEV) เชน รถไฟฟา รถจักรยาน เปนตน

74 บทท่ี 4 การประกวดและจัดอนั ดับ

ตารางที่ 4.5 ขอมูลประกอบการจดั อันดบั มหาวิทยาลยั สีเขียวโลก (ตอ )

ลำดบั เกณฑประเมนิ ขอ มูลประกอบ

8. จ ำ น ว น ร ถ ป ร ะ เ ภ ท Zero Emission Vehicles

(ZEV)

9. สัดสวนรถ Zero Emission Vehicles (ZEV) เทียบ

กบั จำนวนประชากร

10. สดั สว นพืน้ ท่ีลานจอดรถเทยี บจำนวนประชากร

11. โครงการลดพ้ืนทีล่ าดจอดรถ

12. พื้นที่ลานจอดรถที่สามารถลดได และคำนวณเปน

รอ ยละเทียบพื้นทล่ี านจอดรถทั้งหมด

13. การใชงานทางเดินหลังคาคลุม มีรูปแบบที่อำนวย

ความสะดวก มีความปลอดภัยและเหมาะสมกับผู

พิการ

6 Education (ED) 1. จำนวนรายวชิ าท่เี ปด สอนทั้งหมด

2. จำนวนรายวิชาที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอมและการ

พฒั นาอยา งยั่งยืน

3. สัดสวนรายวิชาที่เกี่ยวกับสิ่งแวดลอมฯ เทียบ

รายวิชาทั้งหมด

4. จำนวนผลงานตพี มิ พที่เกี่ยวกับสง่ิ แวดลอมฯ

5. จำนวนกจิ กรรมที่เกยี่ วกับส่งิ แวดลอมฯ

6. จำนวนชมรมนักศึกษาจัดกิจกรรม เกี่ยวกับ

ส่ิงแวดลอมฯ

7. ระบุ web site ที่ประชาสัมพันธการดำเนินงาน

เกยี่ วกับส่งิ แวดลอ มฯ

8. การจดั ทำรายงานประจำป และรปู แบบการเผยแพร

9. จำนวน Startup ดานสิ่งแวดลอ มฯ

10. การพัฒนานวัตกรรมเพื่อรับมือกับการระบาดของ

ไวรสั COVID-19

ทม่ี า : https://greenmetric.ui.ac.id

บทท่ี 4 การประกวดและจดั อันดับ 75

4.5 การจดั อันดบั ดา นการพัฒนาอยา งยัง่ ยืน (Times Higher Education Impact
Rankings)
องคกรจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก (Times Higher Education, THE) จาก

ประเทศอังกฤษ เปนผูจัดอันดับมหาวิทยาลัยดานการพัฒนาอยางยั่งยืน โดยวัดความสำเรจ็
ของมหาวิทยาลัยทั่วโลกในการดำเนินการตามเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) 17 ขอ
ขององคการสหประชาชาติ โดยวัดผลจากคะแนนรวมของแตละมหาวิทยาลัย มาจากการ
คำนวณคะแนนของ SDG 17 Partnerships for the Goals (ความรวมมือเพื่อการพัฒนา
ท่ียงั่ ยนื ) และอีก 3 เปาหมายท่มี หาวิทยาลยั ไดคะแนนสูงสุด ดงั ตารางท่ี 4.6

ตารางที่ 4.6 เปาหมายการพฒั นาทย่ี ่ังยนื ของสหประชาชาติ

SDGs รายการ รายละเอยี ด

1 No poverty ขจัดความยากจน

2 Zero hunger ขจดั ความหวิ โหย

3 Good health and well-being มีสขุ ภาพและความเปนอยูท่ีดี

4 Quality Education การศกึ ษาท่เี ทาเทยี ม

5 Gender Equality ความเทา เทยี มทางเพศ

6 Clean water and sanitation การจัดการนำ้ และสขุ าภบิ าล

7 Affordable and clean energy พลังงานสะอาดทท่ี ุกคนเขา ถงึ ได

8 Decent work and economic growth การจางงานที่มีคุณคาและการเติบโตทาง

เศรษฐกิจ

9 Industry, innovation and อุตสาหกรรม นวัตกรรม โครงสรา งพน้ื ฐาน

infrastructure

10 Reduced inequalities ลดความเหล่อื มล้ำ

11 Sustainable cities and communities เมืองและถิ่นฐานมนษุ ยอ ยางยง่ั ยืน

12 Responsible consumption and แผนการบริโภคและการผลิตทย่ี ่งั ยืน

production

13 Climate action การรับมอื การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ

14 Life below water การใชประโยชนจากมหาสมุทรและทรัพยากร

ทางทะเล

15 Life on land การใชป ระโยชนจากระบบนิเวศทางบก

16 Peace, justice and strong สงั คมสงบสุข ยตุ ธิ รรม ไมแบง แยก

institutions

17 Partnerships for the goals ความรว มมอื เพือ่ การพฒั นาทย่ี ่งั ยืน

ทีม่ า : https://www.timeshighereducation.com

76 บทท่ี 4 การประกวดและจัดอันดบั

ทั้งนี้ ในสวนของการจัดการขยะมูลฝอยของสถานศึกษาเชื่อมโยงกับ SDGs 12
Responsible consumption and production (แผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน)
มีขอมูลท่ีตองกรอกในระบบประเมินผลการจัดอนั ดบั ดงั ตารางท่ี 4.7

ตารางท่ี 4.7 แนวทางการจัดทำขอมลู SDGs 12

ลำดบั รายการ ขอมลู

1 การดำเนินงานเกี่ยวกับ 1. ประกาศของมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวของกับการ

การจดั การขยะมลู ฝอย จัดการขยะมูลฝอย

x นโยบายเกี่ยวกับการ x แนวปฏิบัตงิ ดการใชก ลอ งโฟม

จัดการขยะมลู ฝอย x แนวปฏิบัติลดการใชพลาสติกแบบใช

x นโยบายลดการใชของ คร้ังเดียว

ที่ใชครั้งเดียวใหนอย 2. การดำเนินงานที่เกี่ยวของ

ทีส่ ุด x ภาพถาย/วิดีทัศนที่แสดงถึงการจัดการ

x นโยบายเพื่อการใช ขยะมูลฝอย เชน การจัดการขยะเศษ

ทรัพยากรใหนอยที่สุด อาหาร การแปรรูปขยะมูลฝอยเปน

ท ี ่ ข ย า ย ไ ป ส ู  ผ ู  ผ ลิ ต เชือ้ เพลงิ ขยะ การผลิตไบโอแกส เปนตน

ภายนอกและหวงโซ x สามารถแสดง Link ทจ่ี ัดเกบ็ ขอ มูล
อุปทาน
(web site/you tube)

2 รอยละของการรีไซเคิล 1. กรอกขอมลู ปรมิ าณขยะมูลฝอย

ขยะมูลฝอย x ปรมิ าณขยะมลู ฝอยท้งั หมด

x ปรมิ าณขยะรไี ซเคิล

x ปรมิ าณขยะมลู ฝอยท่สี งฝงกลบ

3 รายงานเกี่ยวกับความ 1. รายงานประจำปท เ่ี กี่ยวของกบั การจดั การขยะ

ยง่ั ยืน มูลฝอย การจัดการน้ำ การจัดการพลังงาน

การจัดระบบขนสงมวลชน และอื่น ๆ ท่ี

เก่ียวขอ ง

2. ใชขอมูลผลดำเนินงานของการจัดอันดับ

มหาวิทยาลัยสีเขยี วโลก

3. สามารถแสดง Link ที่จัดเก็บขอมูลขอมูล

(web site/you tube)

บทท่ี 4 การประกวดและจัดอันดบั 77

หากสถานศกึ ษามกี ารดำเนนิ การจัดการขยะมลู ฝอยตามแนวทาง Zero Waste แลว
สามารถนำผลดำเนินงานเขารวมประกวดและจัดอันดับสถานศึกษาที่เปนมิตรตอ
ส่งิ แวดลอมได อนั จะกอใหเ กดิ ผลดีตอ สถานศกึ ษาดานตา ง ๆ ดงั ตารางที่ 4.8

ตารางท่ี 4.8 ประโยชนจ ากการจัดอันดับสถานศึกษาท่เี ปน มติ รตอ ส่ิงแวดลอม

ลำดับ รายการ ประโยชนทไ่ี ดร บั

1 โรงเรียปลอดขยะ 1. เงินรางวัลพรอ มใบประกาศเกียรติคณุ

(Zero Waste School) 2. สงเสริมภาพลักษณท ี่ดีในการรกั ษาสง่ิ แวดลอม

3. ใชเ ปนขอมูลในการประกนั คุณภาพการศึกษา

4. ชวยลดปรมิ าณขยะมลู ฝอยและคาใชจาย

5. เปน แหลงเรียนรทู ง้ั ภายในและนอกสถานศึกษา

2 สำนักงานสเี ขยี ว 1. โลและเกียรติบัตรการรับรองสำนักงานสีเขียว

(Green Office) ระยะเวลา 3 ป

2. ลดตนทุนและคาใชจายจากการใชพลังงานและ

ทรพั ยากร

3. สง เสริมภาพลักษณท ด่ี ใี นการรกั ษาส่ิงแวดลอ ม

4. มีการปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวของกับ

สำนกั งาน

5. พนักงานในสำนักงานมีการปรับเปลี่ยน

พฤติกรรมทีเ่ ปนมิตรตอ สง่ิ แวดลอม

6. มีการจดั ซื้อจัดจา งทเ่ี ปน มิตรตอ ส่งิ แวดลอม

7. ใชเ ปน ขอ มูลในการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา

8. เริ่มตนจากอาคารตนแบบและขยายผลไปยัง

อาคารตาง ๆ ภายในสถานศึกษา

3 โครงการสนบั สนุน 1. แสดงความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม

กิจกรรมลดกาซเรอื น (CSR) สรางความตระหนัก ในการมีสวนรวมใน

กระจก (Low Emission การลดกา ซเรือนกระจก

Support Scheme, 2. มีโอกาสไดรับการสนับสนุนทั้งทางดานเงินทุน

LESS) เทคโนโลยี และการพัฒนาศักยภาพในการ

ดำเนินกิจกรรมลดกาซเรือนกระจก

3. สนบั สนุนใหเกิดการพัฒนาเทคโนโลยกี ารลดกาซ

เรอื นกระจกภายในประเทศ

78 บทที่ 4 การประกวดและจดั อันดับ

ตารางท่ี 4.8 ประโยชนจากการจดั อันดับสถานศกึ ษาท่ีเปน มิตรตอ สง่ิ แวดลอ ม (ตอ)

ลำดบั รายการ ประโยชนที่ไดร บั

4. ใชเ ปนขอ มูลในการประกนั คุณภาพการศึกษา

5. สามารถตอยอดโครงการเพื่อขายเปนคารบอน

เครดิตได

4 มหาวทิ ยาลยั สเี ขยี วโลก 1. สรางความย่ังยืนดา นการรกั ษาส่ิงแวดลอม

(UI GreenMetric 2. ใชเ ปน ขอมลู ในการประกนั คณุ ภาพการศึกษา

World University 3. เปนเครื่องมือประเมินตนเองในดานการ

Ranking) ดำเนินงานดานสิ่งแวดลอม

4. ทำใหมหาวิทยาลัยมีความเปนสากลและไดรับ

การยอมรบั ท้งั ในระดบั ประเทศและระดบั โลก

5. สรา งเครอื ขา ยและสามารถแลกเปล่ียนเรียนรูวธิ ี

ปฏิบัติที่เปนเลิศของโครงการตาง ๆ ที่เกี่ยวขอ ง

กบั ส่ิงแวดลอ ม

5 การจัดอันดับดานการ 1. ทำใหมหาวิทยาลัยมีความเปนสากลและไดรับ

พฒั นาอยางยงั่ ยนื การยอมรบั ทั้งในระดับประเทศและระดบั โลก

(Times Higher Education 2. เปนกลไกในการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยเพ่ือ

Impact Rankings) แขงขันในระดบั โลก

3. ใชเปนแนวทางในการพัฒนาแบบบูรณาการใน

การจัดการศกึ ษา

4. เปนเครื่องมือประเมินตนเองในดานการพัฒนา

อยางย่งั ยืน

บทที่ 4 การประกวดและจดั อนั ดบั 79

บทที่ 5
บทสรุป

5.1 โมเดลจัดการขยะมลู ฝอยแบบ Zero Waste
การจัดการขยะมมูลฝอยแบบ Zero Waste เพื่อความย่ังยืน สถานศึกษาควร

พิจารณาดำเนินกิจกรรมที่เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา โดยสามารถสรุป
เปนแนวทางจดั การขยะมูลฝอยแบบ Zero Waste สำหรับสถานศึกษา ดงั น้ี

1) กิจกรรมลดและคัดแยกขยะมลู ฝอยตนทาง
เปนกิจกรรมพ้ืนฐานท่ีสถานศึกษาควรใหความสำคัญเปนอยางยิ่ง โดยเปน

กิจกรรมท่ีเนนปลูกจิตสำนึกใหกับประชากรในสถานศึกษาชวยกันลดและคัดแยกขยะ
มูลฝอยตนทาง ผานรูปแบบกิจกรรมท่ีหลากหลาย เชน กิจกรรมธนาคารขยะรีไซเคิล
กจิ กรรมรณรงคใชภาชนะทเ่ี ปน มิตรตอ สิง่ แวดลอม การจดั ถงั ขยะมูลฝอยแบบแยกประเภท
และการจัดกิจกรรมแบบลดโลกรอน เปนตน ท้ังนี้ กิจกรรมลดและคัดแยกขยะมูลฝอย
ตนทางสามารถชว ยลดปริมาณขยะมูลฝอยท่ีตองสงไปกำจัดไดค อนขางมาก ตลอดจนชวย
ลดคา ใชจายในการจัดเก็บและกำจดั ขยะมูลฝอยของสถานศกึ ษาได

2) การจดั การขยะมูลฝอยปลายทาง
เมื่อสถานศึกษาดำเนินกิจกรรมลดและคัดแยกขยะมูลฝอยตนทางแลว

ขยะมูลฝอยท่ีเหลือท้ิง สามารถพิจารณาดำเนินการได 2 แนวทาง คือ 1) สงไปกำจัด
ภายนอก หรือ 2) กอสรางโรงจัดการขยะมูลฝอย โดยการกอสรางโรงจัดการขยะมูลฝอย
จะเหมาะสมกับสถานศึกษาที่มีความพรอมดานสถานที่ ดานเทคโนโลยี และดานการ
บริหารจัดการ โดยโรงจัดการขยะมูลฝอยท่ีกอสรางข้ึนน้ีจะเปนสถานที่ในการแปรสภาพ
ขยะมูลฝอย ใหสามารถนำมาใชประโยชนดวยกระบวนการทางวิศวกรรม เชน การผลิต
เช้ือเพลิงขยะ การผลิตกระแสไฟฟา และปุยอินทรีย เปนตน ทำใหเกิดผลพลอยไดส ามารถ
นำไปใชประโยชนหรือจำหนายเพ่ือกอใหเกิดรายไดในรูปเงินสดตามมา และเกิดประโยน
ดา นตาง ๆ ดงั ภาพที่ 5.1

80 บทท่ี 5 บทสรปุ

ภาพท่ี 5.1 ประโยชนข องโรงจัดการขยะมูลฝอย
3) การจัดการรายได

รายไดท่ีเกิดข้ึนจากการจำหนายผลพลอยไดของโรงจัดการขยะมูลฝอย
สถานศึกษาสามารถพิจารณาการนำรายไดเขาสูกองทุนส่ิงแวดลอมของสถานศึกษา และมี
คณะกรรมการกำกับดูแลใหมีการพิจารณาจัดสรรทุนสำหรับจัดกิจกรรมรักษโลก เชน การ
จัดกิจกรรม โครงการ การวิจัยและสรางนวัตกรรมเพ่ือแกไขปญหาส่ิงแวดลอมเพ่ือใหเกิด
ความยัง่ ยนื ตอไป ดังภาพท่ี 5.2

ภาพท่ี 5.2 รปู แบบการจดั การรายไดจ ากการบริหารจัดการขยะมลู ฝอย

บทที่ 5 บทสรุป 81

4) การดำเนนิ กจิ กรรมรกั ษโลก
รายไดจากการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของสถานศึกษาในรูปของกองทุน

สิ่งแวดลอม สามารถนำไปจัดสรรทนุ ใหกบั หนวยงาน คณาจารย และนักศึกษาเพอ่ื นำไปจัด
กิจกรรม โครงการ วิจัยและสรางนวัตกรรมเพ่ือแกไขปญหาสิ่งแวดลอมภายในสถานศึกษา
ในดา นตาง ๆ ดงั น้ี

ƒ การจัดการขยะมลู ฝอย
ƒ การจัดการน้ำและน้ำเสียอยา งย่ังยืน
ƒ การจัดการอาคารที่เปน มิตรกับสิ่งแวดลอ ม
ƒ การจัดการระบบขนสง มวลชนทเี่ ปน มติ รกับสง่ิ แวดลอม
ƒ การจัดการดานอาชีวอนามัยและสิ่งแวดลอม และการจัดการมลพิษ
5) การประเมนิ ผลสำเรจ็
สถานศึกษาควรมีการตง้ั เปาหมาย และประเมินผลสำเร็จในการจัดการขยะ
มลู ฝอยเพื่อใหเกิดการปรับปรงุ และพัฒนาอยางตอเน่อื ง ท้งั นี้ สามารถมอบหมายหนวยงาน
หรือต้ังคณะกรรมการมากำกับดูแล และบริหารจัดการเพ่ือใหเกิดผลสำเร็จอยางเปน
รปู ธรรมตอ ไป
6) การประกวดและจัดอนั ดับ
การเขารวมประกวดและจัดอันดับที่เกี่ยวกับสิ่งแวดลอม และการพัฒนา
อยางย่ังยืน ถือเปนการนำผลสำเร็จจากการดำเนินงานดานการจัดการขยะมูลฝอยมา
วิเคราะหและสรุปผลเพ่ือสงขอมูลใหกับหนวยงานท่ีจัดประกวดและจัดอันดับตาง ๆ ท้ัง
ระดับประเทศและระดบั โลก โดยการเขารวมประกวดและจัดอันดับน้ี นอกจากจะเปนการ
สงเสริมภาพลักษณท่ีดีในการรักษาส่ิงแวดลอมแลว ยังชวยใหสถานศึกษาไดประเมินตนเอง
และปรับปรุงอยางตอเน่ือง ซ่ึงการประกวดและจัดอันดบั นี้ สถานศึกษาสามารถพจิ ารณาเลือก
เขา รวมตามความพรอ มของสถานศึกษา ดังภาพท่ี 5.3
โมเดลการจัดการขยะมูลฝอยแบบ Zero Waste สำหรับสถานศึกษา ถือเปน
แนวทางหน่ึงใหกับสถานศึกษา ไดพิจารณาดำเนินการตามแนวทาง 6 ขอ ประกอบดวย
1) กิจกรรมลดและคัดแยกขยะมลู ฝอยตน ทาง 2) การจัดการขยะมูลฝอยปลายทาง 3) การ
จัดการรายได 4) การดำเนินกิจกรรมรักษโลก 5) การประเมินผลสำเร็จ และ 6) การ
ประกวดและจัดอันดับ ซึ่งจะสงผลใหสถานศึกษาสามารถบริหารจัดการขยะมูลฝอยไดด วย
ตนเอง อันจะนำไปสคู วามยั่งยืนดานการจัดการขยะมูลฝอยตอ ไป ดังภาพที่ 5.4

82 บทที่ 5 บทสรุป

ระดับประเทศ ระดับโลก

ภาพที่ 5.3 การประกวดและจดั อันดบั สถานศกึ ษาที่เปน มติ รตอ ส่ิงแวดลอม

บทท่ี 5 บทสรุป 83

ภาพที่ 5.4 โมเดลจดั การขยะมูลฝอยแบบ Zero Waste สำหรบั สถานศกึ ษา

บทท่ี 5 บทสรปุ 84

5.2 ปญหาและขอเสนอแนะในการจัดการขยะมูลฝอยของสถานศกึ ษา
การดำเนินการจัดการขยะมูลฝอยของสถานศึกษามักพบปญหาอุปสรรคในการ

ดำเนินงานในชวงเริ่มตน ทั้งนี้ เน่ืองมาจากการรณรงคใหมีการลดและคัดแยกขยะ
มลู ฝอยตนทางน้ันเปนการปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมของคนจากความเคยชินไปสูพฤติกรรมใหม
แตในระยะยาวจะเกิดผลดีตอส่ิงแวดลอมและสังคมไดอยางยั่งยืน ผูแตงจึงไดรวบรวม
ประเดน็ ปญ หา และเสนอแนะวิธีในการแกไขปญหาจากประสบการณจ ากการทำงาน ดงั นี้

ตารางท่ี 5.1 ปญ หาและขอเสนอแนะในการจดั การขยะมูลฝอยของสถานศึกษา

ลำดบั ปญหา ขอ เสนอแนะ

1 การดำเนินกิจกรรมไมตอเนื่อง ƒ สถานศึกษาควรมีการประกาศนโยบาย

และไมย ั่งยนื ใน ก า ร ให ค ว า ม ส ำ คั ญ เก่ี ย ว กั บ

สงิ่ แวดลอ มและการพัฒนาท่ยี ง่ั ยนื

ƒ มีการแตงต้ังหนวยงานที่กำกับดูแล

นโยบายของสถานศึกษา
ƒ มกี ารจัดทำแผนและตัวชว้ี ัดประจำป

ƒ มีการสนับสนุนงบประมาณประจำปท่ี

เหมาะสม
ƒ สง เสริมใหมีการประกวดและจัดอันดับ

ท่เี กี่ยวขอ งกับสิ่งแวดลอมฯ
ƒ สงเสริมใหมีการศึกษาดูงาน และ

แ ล ก เป ลี่ ย น เรี ย น รู กั บ ส ถ า น ศึ ก ษ า

เครือขา ย

2 การประชาสัมพันธไมทั่วถึง และ ƒ มีการแตงตั้งผูรับ ผิดชอบ ใน การ

ขาดความรวมมือจากประชากร ประชาสัมพันธกิจกรรมตาง ๆ ของ

ภายในสถานศึกษา สถานศึกษา

ƒ จัดทำแผนการใหความรูและการ

ประชาสัมพันธใหมีหลายรูปแบบ เชน

การอบรม การสัมมนา roadshow

แ ล ะ ก า ร เผ ย แ พ ร ผ า น สื่ อ อ อ น ไ ล น

เปน ตน

บทท่ี 5 บทสรปุ 85

ตารางท่ี 5.1 ปญหาและขอเสนอแนะในการจัดการขยะมลู ฝอยของสถานศกึ ษา (ตอ)

ลำดบั ปญหา ขอ เสนอแนะ

ƒ สรางแรงจูงใจในรูปแบบตาง ๆ ใหกับ

ผูท่ีรวมเปนสวนหนึ่งในกิจกรรมดาน

สิ่งแวดลอมฯ
ƒ สอดแทรกกิจกรรมดานสิ่งแวดลอมฯ

ใหเปน สว นหนึ่งของการเรียนการสอน
ƒ สงเสริมใหมีการวิจัย และพัฒ นา

นวัตกรรมที่เกี่ยวของกับส่ิงแวดลอม ฯ

โด ย ก ารจั ด ส รรทุ น จ าก ก อ งทุ น

สงิ่ แวดลอ ม

3 ขาดงบประมาณในการดำเนิน ƒ จัดต้ังกองทุนสิ่งแวดลอมภายใน

กจิ กรรม สถานศึกษา โดยสถานศึกษาสนับสนุน

ทุนประเดิม และมีการหารายไดเขา

กองทนุ ฯ ในรูปแบบตา ง ๆ เชน

x คาบริหารจัดการธนาคารขยะ

รีไซเคลิ

x คาจำหนายขยะรีไซเคิลของ

สถานศึกษา

x คาจำหนายผลพลอยไดจ ากการ

จัดการขยะมูลฝอยปลายทาง

เชน คาจำหนายปุยอินทรีย

คาจำหนายเช้ือเพลิงขยะ และ

ค าจ ำห น าย ก ร ะ แ ส ไฟ ฟ า

เปน ตน

86 บทท่ี 5 บทสรุป


Click to View FlipBook Version