The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เครื่องมือพัฒนาสู่ความเป็นโรงเรียนสุขภาวะ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kreethapon102, 2021-05-26 11:13:38

เครื่องมือพัฒนาสู่ความเป็นโรงเรียนสุขภาวะ

เครื่องมือพัฒนาสู่ความเป็นโรงเรียนสุขภาวะ

ช่อื หนงั สือ : เครื่องมือพัฒนาสูค่ วามเปน็ โรงเรยี นสุขภาวะ
ผู้เขยี น : มลู นิธิสถาบนั วจิ ยั ระบบการศึกษา

สงวนลขิ สทิ ธต์ิ ามพระราชบญั ญตั ิลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗
ห้ามคัดลอก เลียนแบบ ดดั แปลง ทาสาเนา หรอื นาไปกระทาการดว้ ยวธิ อี ่ืนใด

โดยมไิ ด้รบั อนุญาตเป็นลายลักอกั ษร

ข้อมูลสาหรบั การอ้างอิง

มลู นธิ ิสถาบันวจิ ยั ระบบการศึกษา. (๒๕๖๐). เคร่ืองมอื พัฒนาสคู่ วามเป็นโรงเรียนสขุ ภาวะ.

มหาสารคาม : สถาบนั วิจยั ระบบการศึกษา.

จานวนพมิ พ์ ๑,๐๐๐ เลม่

ISBN : ๙๗๘-๙๗๔-๑๙-๖๐๑๘-๗ สานกั งาน\กองทนุ สนับสนนุ การสร้างเสริมสขุ ภาพ (สสส.)
ได้รับการสนับสนนุ งบประมาณจาก

พพิมมิพพท์ ์ที่ ี่ : บ:รษิ สัทาสรคาราคมากมารกพารมิ พพมิ์ –พส์ จาำ�รกคัดามเปเปอร์
๓๗๕๘๔หมถู่ น๑น๒ผบด้างุ วนิถเจี ตริญาบสลขุ ตตล.าเดกง้ิ อ.เมือง จ.มหาสารคาม 44000

โทรศอัพาเทภ์ อ: เม๐ือ-ง๔จ๓ัง๗ห๑ว-ดั ๒ม๘ห๙า๙สา, ร๐ค-า๔ม๓๔๗๔๒๐-๒๐๓๐๔๔
โทรสโทารร ศัพ: ท๐/์ โ-ท๔ร๓ส๗า๑ร-:๒๐๘-๙๔๗๓๗๔-๒๒๐๐
E-mโโaททilรร ส. า๐: ร-.๔s๐p๓p-๗๔_๒๓p-๗r๒in๔๓t-i๔๒n๔g๒@,๐๐h๐-o๔t๓m๗a๔il.-c๒o๕m๓๓, ๐๘-๑๘๗๓-๕๘๗๒

E-mail : [email protected]
www.spp.in.th

คานา

มูลนธิ ิสถาบันวิจัยระบบการศึกษา หรือ IRES ไดร้ ิเร่ิมโครงการเสริมสรา้ งพลังอานาจการจัดการศึกษาที่สร้าง
สุขภาวะในโรงเรียน หรือ โครงการโรงเรียนสุขภาวะมาตั้งแต่ปีการศกึ ษา ๒๕๕๖ โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณ
จากสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โครงการนี้มีเป้าหมายสาคัญ คือ การเสริมสร้างพลัง
การทางานของผู้เกี่ยวข้องกับโรงเรียน คือ ผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง ชุมชน ผู้ นาท้องถ่ิน ให้เข้ามามีส่วนร่วม
ในการพัฒนาโรงเรยี นไปสคู่ วามเป็น “โรงเรียนสุขภาวะ” ซึ่งมอี งคป์ ระกอบสาคัญ คอื โรงเรียนเป็นสขุ สภาพแวดลอ้ ม
เปน็ สุข ครอบครัวเปน็ สขุ ชมุ ชนเปน็ สุข โดยมีเปา้ หมายคือ ผเู้ รยี นเป็นสขุ หรอื การสร้างสขุ ภาวะผเู้ รยี น

ในการพัฒนาโรงเรียนสู่ความเปน็ โรงเรียนสุขภาวะน้ัน ใช้แนวคิดการพัฒนาแบบองค์รวม โดยบูรณาการวิธีการ
ทางานกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องการใช้ภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารโรงเรียน ลงสู่การทางานในห้องเรียน
ของครู เพื่อสร้างสุขภาวะในระดับการเรียนรู้ รวมไปถึงการสร้างเครือข่ายโรงเรียนเพื่อให้ครูมีการเรียนรู้ร่วมกันอย่าง
ต่อเน่ือง และเกดิ พลังการเปลี่ยนแปลงการจัดการศึกษาเพื่อสุขภาวะผู้เรียนในท้ายท่ีสุด ซ่ึง IRES ไดร้ วบรวมเครอื่ งมือ
พัฒนาสู่ความเป็นโรงเรียนสุขภาวะนี้ข้ึน จากการถอดบทเรียนการพัฒนาของโรงเรียนต่างๆ ในระยะท่ี ๑ และระยะ
ท่ี ๒ ท่ีผ่านมา และคาดหวงั วา่ จะเปน็ แนวทางในการขยายผลไปสู่โรงเรยี นอ่ืนๆ ต่อไปในอนาคต

มูลนิธิสถาบันวจิ ยั ระบบการศึกษา

สารบญั หน้า

เร่อื ง ๑

ตอนท่ี ๑ ความเป็นโรงเรียนสขุ ภาวะ
๑. แนวคิดการพัฒนาโรงเรยี นสุขภาวะ ๑๓
๒. องค์ประกอบและตวั บง่ ช้คี วามเปน็ โรงเรียนสขุ ภาวะ ๓๘
๕๐
ตอนที่ ๒ เครอ่ื งมอื พฒั นา ๖๙
๑. เคร่ืองมือจดั ทาแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาของโรงเรยี นสขุ ภาวะ ๙๕
๒. เคร่ืองมือสร้างชมุ ชนการเรยี นรใู้ นโรงเรียนสขุ ภาวะ ๑๐๖
๓. เครอ่ื งมอื เตรยี มผู้เรียนสูก่ ระบวนการเรยี นรู้ ๑๒๑
๔. เครือ่ งมือจัดกระบวนการเรียนรทู้ ่ีมุ่งสุขภาวะผเู้ รียน
๕. เคร่ืองมือพัฒนาความร่วมมอื กับครอบครวั และชุมชน ๑๒๙
๖. เคร่อื งมอื แลกเปลี่ยนเรยี นรูแ้ ละพฒั นาเครือขา่ ย โดยใชส้ ่อื ออนไลน์
๗. เครื่องมือการประเมินผลโรงเรยี นสุขภาวะ

เอกสารอา้ งองิ

แนวคิดการพฒั นาโรงเรยี นสุขภาวะ

แนวคิดการพัฒนาสุขภาวะโดยใช้ฐานโรงเรียนนั้นถือว่าเป็นยุทธศาสตร์ท่ีมีความสาคัญอย่างย่ิง
เพราะประชากรประเทศที่เปน็ เยาวชนในวัยเรยี นแทบจะท้ังหมดอยู่ในระบบโรงเรยี น การปลกู ฝงั เรื่องสุขภาวะ
ให้เกิดข้ึนกับผู้เรียน ถือว่าเป็นโอกาสที่ดีอย่างยิ่งที่ได้จะหล่อหลอมเยาวชนของประเทศให้เป็นบุคคลที่มีสุข
ภาวะเม่ือเติบโตขึ้น ดังนั้น จึงจาเป็นต้องมีการพัฒนาในโรงเรียนและเครือข่ายครูในการเสริมสร้างศักยภาพ
และพัฒนาโรงเรียนให้สามารถบริหารจัดการและจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีสร้างสุขภาวะแก่ผู้เรียนให้มากย่ิง ข้ึน
จนสามารถเป็นมวลท่มี พี ลงั การขบั เคล่อื นการพฒั นาให้เป็นกระแสหลกั ไดใ้ นอนาคต

แนวคดิ เร่อื งสขุ ภาวะ

สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ได้อธิบายว่า “สุขภาพ” ต้องให้ความหมาย
กว้างขวางขึ้นจนสามารถทะลุกรอบการมองสุขภาพแบบเดิมที่นิยามสุขภาพคือ “การไม่เป็นโรค” และมอง
ปัญหาสุขภาพคือ “เชื้อโรคท่ีสามารถกาจัดได้ด้วยวัคซีนและยา” เท่านั้น นิยามของสุขภาพแนวใหม่จึงมอง
สุขภาพคือ “สุขภาวะที่ครอบคลุมและบูรณาการทั้งมิติของกาย ใจ สังคม และจิตวิญญาณ เข้าเป็นวิถีชีวิตที่
เชือ่ มโยงและสมั พนั ธ์กันในตวั มนุษย์และสมั พนั ธ์กับสิ่งแวดล้อมท้ังทางกายภาพและสังคม”

แนวคิดเร่ืองระบบสุขภาพของโลกนั้น เดิมวางอยู่บนฐานคิดอยู่ท่ีคติทางวัตถุนิยม ความหมายของ
สุขภาพ หรือสุขภาวะ จึงมีความโน้มเอียงไปสู่การจัดการสุขภาพ
ในทางกายภาพ (physical) ที่มองมนุษย์ ธรรมชาติ และสังคม
แบบแยกส่วน ตัดขาดจากกันอย่างส้ินเชิง สร้างเทคโนโลยีทาง
การแพทย์และการสาธารณสุขเพื่อเอาชนะความเจ็บป่วย และ
ความตาย แต่กลับไปสร้างความบีบคั้น ทุกข์ทรมานให้กับมนุษย์
และเกิดขัดแย้งไม่สมดุลในระบบสุขภาพ การมองสุขภาวะแบบ
แยกส่วน หรือในเชิงปัจเจก จงึ ไม่เพียงพอท่ีจะเข้าใจระบบสุขภาพ
ท่ีเป็นจริงเพราะระบบสุขภาพที่เป็นจริงคือ ความเช่ือมโยง และ
สัมพันธ์กันอย่างบูรณาการ ท้ังระบบภายในร่างกายของมนุษย์
สัมพันธ์กันกับธรรมชาติแวดล้อม และสัมพันธ์กันระหว่างมนุษย์
ทุกสรรพสิ่งล้วนเช่ือมโยงเป็นเหตุปัจจัยซ่ึงกันและกัน ที่อาจทาให้
เกิด “สุขภาวะ”หรอื “ทุกขภาวะ” ทง้ั บุคคล ครอบครัว ทีท่ างาน
องคก์ ร ชมุ ชน สังคม ระบบนเิ วศ และจกั รวาล

เครือ่ งมอื พัฒนาสูค่ วามเปน็ โรงเรียนสุขภาวะ ๑

à¤Ã่×ͧÁÍ× ¾Ñ²¹ÒÊ‹Ù¤ÇÒÁ໚¹âçàÃÕÂ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ ๑

ดังนั้น สุขภาวะในมุมมองใหม่จึงหมายถึง ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย ทางจิต
ทางปญั ญา และทางสังคม เชือ่ มโยงกันเปน็ องคร์ วมอยา่ งสมดลุ ซง่ึ ประกอบดว้ ย

(๑) สุขภาวะทางกาย คือ การมีร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง มีเศรษฐกิจพอเพียง อยู่ท่ามกลาง
สิ่งแวดลอ้ มทีด่ ี ไม่มอี บุ ตั ภิ ัย

(๒) สุขภาวะทางจิต คือ จิตใจทเี่ ปน็ สขุ ปรบั ตัวไดเ้ มอื่ เผชญิ ปญั หาและความเปลี่ยนแปลง
(๓) สุขภาวะทางปัญญา คือ การรอบรู้ รู้เท่าทันสรรพส่ิง มเี มตตากรุณา มสี ติ มสี มาธิ
(๔) สุขภาวะทางสังคม คือ การอยู่ร่วมกันด้วยดี ในครอบครัว ชุมชน สถานท่ีทางาน
คนในชมุ ชน รวมถึงการมบี รกิ ารทางสังคมที่ดี มีความเสมอภาคและสันตภิ าพ

อยา่ งไรก็ตาม สสส. ได้วิเคราะห์แนวโนม้ และสถานการณ์สาคญั ที่จะสง่ ผลต่อสุขภาวะในอนาคตข้างหน้า
ว่ามี ๔ ประการคือ

(๑) พลวัตทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคและระดับโลก ทาให้เกิดการเคล่ือนย้ายปัจจัยการผลิตและสินค้า
อยา่ งเสรีมากขึ้น ซึง่ จะเปน็ ปัจจัยเอ้อื ต่อการระบาดของปัญหาสุขภาพทสี่ าคัญ

(๒) พลวัตการพฒั นาเทคโนโลยี ซึ่งจะส่งผลต่อการเฝ้าระวัง การเส่ียงจากการเกิดโรค การตรวจวินิจฉัย
การคัดกรอง การปอ้ งกนั และรักษาโรค

(๓) พลวัตทางสังคมและการเมือง สังคมไทยจะก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างรวดเร็ว ความผูกพัน
ในครอบครัวอ่อนแอลง อานาจรวมศูนย์จะลดพลังลง ท้องถ่ินชุมชนจะมีบทบาทจัดการตนเองมากขึ้น
ประชาธปิ ไตยและการมสี ว่ นรว่ มขยายตัวมากขึ้น ขณะทคี่ วามขัดแย้งในสงั คมไทยยงั คงอยู่แต่มีแนวโนม้ ทดี่ ีข้นึ

(๔) พลวัตด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะรุนแรงข้ึน
เกิดภยั พิบตั ิทางธรรมชาติที่รนุ แรงขึ้น และปัญหาการเส่อื มโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ และอาจเกิดวกิ ฤตอาหาร
และขาดแคลนพลงั งาน

นอกจากนีป้ ระเด็นทา้ ทายตอ่ การเสรมิ สร้างสุขภาวะคือ
(๑) พฤตกิ รรมเส่ียง ได้แก่ การบริโภคสรุ า ยาสูบ และสารเสพตดิ การขับขท่ี ไ่ี ม่ปลอดภยั การมี

เพศสมั พันธ์ที่ไม่ปลอดภัย การบริโภคอาหารทไี่ ม่เหมาะสม ทานผกั ผลไมน้ ้อย และขาดการเคลอ่ื นไหวร่างกาย
(๒) สภาพแวดล้อมยังไม่เอื้อต่อการมีพฤติกรรมสุขภาวะ ท้ังสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ชีวภาพ

และสภาพแวดลอ้ มทางสังคม เศรษฐกจิ และการเมอื ง
(๓) ความเหลอ่ื มล้าและความไม่เปน็ ธรรม ท้งั เรื่องรายได้ โอกาสและสถานะทางสังคม

๒ à¤ÃÍ่× §ÁÍ× ¾²Ñ ¹ÒÊÙ‹¤ÇÒÁ໚¹âçàÃÕÂ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ

เป้าหมายในการสรา้ งสุขภาวะ

สสส. กำหนดวิสัยทัศน์ในกำรเสริมสร้ำงสุขภำวะไว้ว่ำ "ทุกคนบนแผ่นดินไทย มีขีดควำมสำมำรถ สังคม
และสิง่ แวดลอ้ มทเ่ี อื้อต่อสุขภำวะ" โดยทุกคนในแผน่ ดินไทย ไม่แบง่ แยกเช้ือชำติ สญั ชำติ สถำนะทำงเศรษฐกิจและ
วังคม ล้วนมีควำมรู้ควำมสำมำรถที่จะดูแลตนเองและครอบครัวให้มีสุขภำวะที่ดี สังคมไทยและสภำพแวดล้อม
ท้ังกำยภำพ คำ่ นยิ ม วฒั นธรรม และระบบสุขภำพโดยรวมของไทย สนับสนนุ ใหท้ กุ คนมีสขุ ภำวะดีถว้ นหนำ้

เปำ้ หมำยเฉพำะ สสส.กำหนดไว้ ๑๐ ประกำรคือ
(๑) ลดอตั รำกำรสูบบุหรีข่ องคนไทย
(๒) ลดอตั รำกำรดม่ื สุรำของคนไทย
(๓) ลดอุบัติกำรณก์ ำรตดิ เชือ้ ในหญงิ ตัง้ ครรภ์
(๔) เพม่ิ อัตรำกำรบริโภคผกั และผลไมอ้ ย่ำงเพียงพอตำมข้อแนะนำ (๔๐๐ กรัมตอ่ วัน)
(๕) เพิ่มกำรมกี ิจกรรมทำงกำยประจำของคนไทยอำยุ ๑๑ ปขี ้นึ ไป
(๖) ลดควำมชกุ ของภำวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนในเดก็
(๗) ลดอัตรำกำรตำยจำกอุบตั ิเหตทุ ำงถนนสัดสว่ นไม่เกนิ ๑๐ ต่อประชำกรแสนคน
(๘) เพิ่มสัดสว่ นของคนไทยอำยุ ๑๕ ปีข้นึ ปที ม่ี ีควำมสขุ ในกำรดำรงชวี ติ
(๙) เพม่ิ สัดส่วนของครอบครวั อบอ่นุ
(๑๐) ชมุ ชนและทอ้ งถ่ินเขม้ แข็ง

โรงเรียนสุขภาวะ คอื อะไร

จำกแนวคิดเร่ืองสุขภำวะ แนวโน้มและสถำนกำรณ์สำคัญที่จะส่งผลต่อสุขภำวะ ประเด็นท้ำทำยต่อ
กำรเสริมสร้ำงสุขภำวะในทศวรรษหน้ำและเป้ำหมำยเฉพำะ ของ สสส. จะเห็นว่ำพื้นท่ีฐำน (platform)
ท่ีสำคัญที่สุดในกำรเสริมสร้ำงสุขภำวะให้เกิดกับกลุ่มเป้ำหมำยที่เป็นเด็กและเยำวชนคือ "โรงเรียน"
ซ่ึงองค์ประกอบของโรงเรียนสุขภำวะมี ๕ องค์ประกอบคือ (๑) ผู้เรียนเป็นสุข (๒) โรงเรียนเป็นสุข
(๓) สภำพแวดล้อมเปน็ สุข (๔) ครอบครวั เปน็ สขุ และ (๕) ชุมชนเป็นสขุ ทง้ั ๕ องค์ประกอบมคี วำมเกี่ยวเนอื่ งและ
ส่งผลต่อกัน กล่ำวคือ โรงเรียนสุขภำวะนั้นต้องมีเป้ำหมำยเพ่ือสร้ำงเสริมให้ "ผู้เรียนเป็นสุข" โดยกำรปรับสภำพ
ลดปัจจัยเสี่ยง จัดโครงสร้ำงและระบบต่ำงๆ ให้โรงเรียน สภำพแวดล้อม ครอบครัว และชุมชนเป็นพื้นท่ีปลอดภัย
และสง่ เสริมสุขภำวะของผ้เู รียนทั้งด้ำนกำย ใจ สงั คม และปญั ญำ

à¤Ã่Í× §ÁÍ× ¾Ñ²¹ÒÊÙ¤‹ ÇÒÁ໚¹âçàÃÂÕ ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ ๓

(๑) ผู้เรียนเป็นสุข หมายถึง ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่ดี ในด้านร่างกาย จิตใจ ทักษะชีวิต ความเป็น
พลเมอื งดี และมคี วามรกั ในการเรียนรู้

(๒) โรงเรียนเป็นสุข หมายถึง โรงเรียนท่ีมีระบบการบริหารจัดการท่ีเอื้อต่อการสร้างเสริมสุข
ภาวะของผู้เรยี น โดยใชก้ ระบวนการมสี ่วนรว่ มของทุกภาคส่วน

(๓) สภาพแวดล้อมเป็นสุข หมายถึง โรงเรียนที่จัดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย ปลอดอบายมุข
เออื้ ตอ่ การสร้างเสริมสุขภาวะผ้เู รียน

(๔) ครอบครัวเปน็ สุข หมายถงึ โรงเรียนทมี่ คี วามสัมพนั ธ์ทด่ี กี ับผูป้ กครองของผู้เรยี น
(๕) ชุมชนเป็นสุข หมายถึง โรงเรียนท่ีมีความสัมพันธ์ท่ีดีกับบุคคล และองค์กรในชุมชน
เพ่ือเสรมิ สรา้ งสุขภาวะของผ้เู รยี น

ผเู้ รียนเปน็ สขุ

โรงเรยี นเป็นสขุ

ครอบครัวเปน็ สุข ชมุ ชนเปน็ สุข

สภาพแวดลอ้ มเป็นสุข

แผนภาพ ความสมั พนั ธ์ขององคป์ ระกอบโรงเรยี นสุขภาวะ

๔ เàค¤รÃ่อืÍ×่ ง§Áม×Íือ¾พ²Ñ ฒั ¹นÒาÊส‹¤Ù ู่คÇวÒาÁมà»เปš¹â็นÃโ§รàÃงÂÕ เร¹ยี Êน¢Ø สÀุขÒÇภÐาวะ ๔

การพัฒนาโรงเรียนสุขภาวะ เป็นการใช้แนวคิดการเสริมสร้างพลังอานาจ (empowerment)
ของผู้เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาเพื่อสร้างสุขภาวะให้เกิดข้ึนในโรงเรียน เพื่อเป็นฐานการพัฒนาไปสู่ชุมชน
และสังคม ดงั แผนภาพ

ทุกคนบนแผ่นดินไทยมคี วามสามารถ สงั คม และสิ่งแวดลอ้ มที่เอ้ือต่อสขุ ภาวะ

กาย จติ ปญั ญา สังคม

ผู้เรียนมสี ุขภาวะ

โรงเรียนมสี ุขภาวะ ครอบครัวมสี ุขภาวะ สภาพแวดล้อมมสี ขุ ภาวะ ชมุ ชนสงั คมมสี ขุ ภาวะ

การบริหารจัดการและ
การจดั การเรยี นรู้ในโรงเรยี น

แผนภาพ กรอบการพฒั นาสุขภาวะในโรงเรยี น

เครอื่ งมอื พฒั นาสูค่ วามเปน็ โรงเรยี นสขุ ภาวะ à¤Ã่×ͧÁ×;²Ñ ¹Òʤ‹Ù ÇÒÁ໚¹âçàÃÕÂ¹Ê¢Ø À๕ÒÇÐ ๕

เป้าหมายของการพัฒนา

เป้าหมายสาคัญคือ การพัฒนาโรงเรียนสุขภาวะตามกรอบคุณลักษณะโรงเรียนสุขภาวะท้ัง ๕ ด้าน
เพ่ือสะท้อนต่อเป้าหมายเฉพาะใน ๑๐ ปีของ สสส. คือ ลดอัตราการสูบบุหร่ี ลดอัตราการด่ืมสุรา ลดอุบัติการณ์
การติดเช้อื ในหญิงต้ังครรภ์ เพิ่มอัตราการบริโภคผักและผลไม้อย่างเพียงพอ เพ่ิมการมีกิจกรรมทางกายประจา
ลดความชุกของภาวะน้าหนักเกินและโรคอ้วน ลดอัตราการตายจากอุบัติเหตุทางถนน เพิ่มสัดส่วนของคนไทย
อายุ ๑๕ ปีข้ึนปีที่มีความสุขในการดารงชีวิต เพ่ิมสัดส่วนของครอบครัวอบอุ่น และสร้างชุมชนและท้องถิ่น
เขม้ แข็ง

การพัฒนาให้บรรลเุ ปา้ หมายเหล่าน้ีจาเป็นต้องใหเ้ กดิ พลวตั การเปลีย่ นแปลง กล่าวคือ การเปลีย่ นแปลง
จากหน่วยย่อยไปสู่หน่วยใหญ่ และเปลี่ยนจากฐานล่างไปสู่เบื้องบน ซ่ึง "โรงเรียน" "ครอบครัว" และ "ชุมชน" คือ
หน่วยพ้ืนฐานทางสังคมท่ีต้องมีเคล่ือนไหว โดยใช้แนวคิด "โรงเรียนสุขภาวะ" เป็นฐานการเปลี่ยนแปลง ดังนั้น
เป้าหมายการพัฒนาสุขภาวะในโรงเรียนจะต้องเร่ิมต้นจากการเปลี่ยนแปลงภายในโรงเรียนแล้วค่อยวิวัฒน์
(evolving) ไปสู่เครือข่ายโรงเรียนและสังคม และนาไปสู่การขับเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษาในที่สุด แนวคิดการ
พัฒนาโรงเรียนของโครงการน้จี งึ ออกแบบการพัฒนาจากลา่ งสบู่ น

โดยมีเป้าหมายของการพัฒนาโรงเรียนสขุ ภาวะแบ่งเป็น ๓ ระดับคือ ระดับโรงเรียน ระดับเครอื ข่าย
โรงเรยี น และระดบั สงั คม ดงั น้ี

๑. ระดับโรงเรียนสขุ ภาวะ
การพัฒนาโรงเรียนสุขภาวะ เร่ิมต้นจากการพัฒนาผู้เก่ียวข้องในโรงเรียนคือ ผู้ปกครอง ชุมชน
กรรมการสถานศึกษา ผู้บริหาร และครู ซ่ึงถือว่าเป็น “เจ้าของโรงเรียนร่วมกัน” และมีเป้าหมายอยู่ท่ีตัว
นักเรียน โดยนาหลักความเป็นธรรมและเสมอภาคเข้ามาสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาเพ่ือให้เกิด
ความยั่งยืนและต่อเน่ืองไม่ผูกติดอยู่กับผู้ใดผู้หน่ึง และใช้กระบวนการทางปัญญาในการขยายวงการเรียนรู้ไป
สู่เครือข่าย และสร้างกระบวนการให้เกิดการวิพากษ์วิจารณ์อย่างสร้างสรรค์ข้ึนในสังคม เพ่ือสร้างสังคมสุข
ภาวะในทีส่ ุด
การพัฒนาโรงเรียนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจึงเน้นการจัดกระบวนการทางานให้เกิดการเรียนรู้ท่ีมี
ปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างกนั (interactive learning through action) ๔ ฝ่ายคือ ผ้ปู กครองและชุมชน กรรมการ

๖ เàค¤รÃื่อ่×Íง§Áม×Íอื ¾พѲฒั ¹นÒาÊส¤Ù‹ คู่ ÇวÒาÁมà»เป¹š â็นÃโ§รàÃงÕÂเร¹ียÊนØ¢สÀขุÒÇภÐาวะ ๖

สถานศกึ ษา ผบู้ ริหาร และครู โดยอาศยั แนวคดิ สาคัญ ๓ ประการ คอื
(๑) แนวคิดเชิงยุทธศาสตร์ เพ่ือให้ท้ัง ๓ ฝ่ายร่วมสร้างแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนสุข

ภาวะ (School Improvement Plan : SIP)
(๒) แนวคดิ เชิงระบบ เพอื่ ออกแบบกระบวนการทางานในโรงเรยี นให้เกิดความย่ังยนื และ
(๓) การเรยี นรู้การทางานเป็นทีมโดยใช้ชมุ ชนการเรยี นรู้เชิงวิชาชพี

นอกจากน้ีโรงเรียนจะได้รับการเสริมสร้างพลังอานาจให้ผู้เก่ียวข้องคือ ชุมชน ผู้ปกครอง กรรมการ
สถานศึกษา ผู้บริหาร และครู ให้สามารถร่วมกันพัฒนาและบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-
Based Development and Management : SBM) โดยปรับเปลี่ยนวิธีคิด จากการรอรับนโยบายและการสั่ง
การ เป็นการความรับผิดชอบในการบริหารจัดการด้วยตัวเองมากข้ึน ต้ังแต่กาหนดเป้าหมาย วางนโยบาย
จัดสรรงบประมาณ ดาเนินการ และประเมินผลภายใต้การตัดสินใจของผู้เก่ียวข้องในโรงเรียน และมุ่งเน้น
การปรบั ปรุงพัฒนาโรงเรียนตามสภาพจรงิ โดยเปา้ หมายการเปลี่ยนแปลง ๓ สว่ น คอื

(๑) เสริมสร้างพลังอานาจผู้มีส่วนได้เสีย (Empowering Stakeholder) ให้ชุมชน ผู้ปกครอง
กรรมการสถานศึกษา ผู้บริหาร และครู สามารถร่วมกันพัฒนาและบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
โดยใช้รูปแบบการบริหารโรงเรียนด้วย คณะกรรมการเป็นกลไกสาคัญ และปรับเปล่ียนบทบาทจากการเป็น
คณะทป่ี รกึ ษา (Advisory Board) ใหม้ ี ลักษณะการทางานเป็นคณะผรู้ ว่ มรบั ผดิ ชอบมากข้นึ

(๒) ปรับปรุงระบบการทางานและเงื่อนไขการทางานในโรงเรียน (Adjust Systems and Work
Conditions in School) โดยเน้นการสร้างกระบวนการพฒั นาโรงเรียนโดยมผี ู้อานวยการโรงเรียนเปน็ ผนู้ าการ
เปลีย่ นแปลง

(๓ ) พั ฒ น า ค รู เ ชิ ง วิ ช า ชี พ (Professional Development) ใ ห้ เ กิ ด ชุ ม ช น ท า ง วิ ช า ชี พ
(Professional Leaning Community : PLC) ให้สามารถปรับเปลี่ยนวิธีการสอนและการจัดกระบวนการ
เรียนรู้ โดยเน้นวิธีการเรียนรูท้ ี่หลากหลาย ท้งั การเรียนรู้จากปัญหา (Problem- Based Leaning) และการบูร
ณาการวิชาและทักษะต่างๆ เพ่ือการแก้ปัญหาและค้นหาทางออกในสถานการณ์ชีวิตจริง รวมท้ังสร้าง
วัฒนธรรมการทางานใหมท่ เ่ี น้นการเรยี นรู้ร่วมกัน (Collective Leaning) ใหเ้ กิดข้นึ กบั ครู

๒. ระดับเครอื ขา่ ยโรงเรียนสุขภาวะ
การพัฒนาเครือข่ายครูและเครือข่ายโรงเรียนสุขภาวะเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับการสร้างพลวัตการ
เปล่ยี นแปลง ดงั นั้นการมีเครือข่ายเพ่ือสร้างพลงั การเรียนรู้รว่ มกนั จึงจาเป็น โดยเน้นการจัดเครือข่าย ๒ ระดับ
คือ เครือข่ายครูและเครือข่ายโรงเรียน เพื่อแลกเปล่ียนเรียนรู้ โดยใช้โรงเรียนต้นแบบ (Node) เป็นฐาน
การขยายตัวไปสูโ่ รงเรยี นอื่นๆ ท่มี ีความสนใจท่ีจะแลกเปล่ียนเรียนรู้ดา้ นหลักสูตร นวัตกรรมการเรียนการสอน
การประเมนิ และการบริหารจัดการโรงเรียน ซึง่ เน้นการใช้เครือขา่ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศเขา้ มาชว่ ยในการแลกเปล่ยี น
ในเครอื ขา่ ย เช่น ระบบ SIP ระบบแลกเปลยี่ นวธิ ีปฏบิ ัติท่ีดี การสรา้ งกลุ่มเรยี นรู้ใน Social Media เปน็ ต้น

เคร่ืองมือพัฒนาสคู่ วามเปน็ โรงเรยี นสุขภาวะ à¤ÃÍ×่ §Á×;Ѳ¹ÒÊ‹Ù¤ÇÒÁ໹š âçàÃÂÕ ¹ÊØ¢À๗ÒÇÐ ๗

๓. ระดับสังคมสขุ ภาวะ
แนวทางการสร้างสังคมสุขภาวะ โดยใช้โรงเรียนสุขภาวะเป็นฐานน้ัน จาเป็นต้องมองภาพรวม
การศึกษาทั้งระบบ และจุดเริ่มต้นท่ีตรงประเด็นปัญหา และผู้เกี่ยวข้องจาเป็นต้องเปลี่ยนวิธีคิดของตนเอง
โดยยึดหลักการ “ความเสมอภาค” กล่าวคือ ไม่มีใครเก่งหรือฉลาดกว่าใคร ไม่มองว่าใครคือเจ้าของหรือผู้มี
อานาจ แต่เปิดใจกว้างว่าการศึกษาเป็นเร่ืองของทุกคนในสังคม และ “การศึกษาเป็นกระบวนการทางปัญญา”
ไม่สามารถใชอ้ านาจทางกฎหมายสง่ั การให้เกดิ การปฏริ ปู แต่ตอ้ งใช้ปญั ญาในการวพิ ากษ์และสรา้ งสรรคร์ ว่ มกัน
ดังนั้น เครือข่ายโรงเรียนสุขภาวะต้องร่วมกันเป็นภาคีเครือข่ายเชื่อมโยงกับองค์กรพันธมิตร (Linkage with
Alliance Organizations) อ่ืนที่ขับเคลื่อนแนวทางการปฏิรูปการศึกษา หรือเครือข่ายโรงเรียนอื่น หรือเวที
สมัชชาต่างๆ เพื่อเปิดพื้นที่ให้ภาคส่วนต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมวิพากษ์เพื่อยกระดับประเด็นเร่ืองสุขภาวะใน
โรงเรียนเป็นประเด็นคุณภาพทางการศึกษาของประเทศ เพื่อสร้างพลวัตทางสังคมผลักดันให้เกิดการปฏิรูป
การศึกษาท้ังระบบทั้งด้านโครงสร้าง ระบบการจัดการศึกษา และงบประมาณ เพ่ือให้การจัดการศึกษาของ
ประเทศไปส่สู ขุ ภาวะทแี่ ทจ้ รงิ ตามกรอบแนวคดิ การพัฒนาของโครงการท้งั หมด แสดงในแผนภาพ

สุขภาวะในโรงเรยี น

แผนภาพ กรอบแนวคดิ การเสริมสรา้ งพลังอานาจการจดั การศึกษาท่ีสรา้ งสุขภาวะในโรงเรียน

๘ เàค¤รÃอ่ื×่Íง§ÁมÍ×ือ¾พ²Ñ ฒั ¹นÒาÊส‹Ù¤ูค่ ÇวÒาÁมà»เปš¹âน็ Ãโ§รàÃงÂÕ เร¹ียÊนØ¢สÀขุÒÇภÐาวะ ๘

องคป์ ระกอบและตวั บ่งชี้ความเป็นโรงเรียนสขุ ภาวะ

องค์ประกอบของโรงเรียนสุขภาวะมี ๕ องค์ประกอบคือ (๑) ผู้เรียนเป็นสุข (๒) โรงเรียนเป็นสุข
(๓) สภาพแวดล้อมเปน็ สุข (๔) ครอบครัวเป็นสุข และ (๕) ชุมชนเป็นสุข ท้งั ๕ องค์ประกอบมีความเก่ียวเนื่อง
และสง่ ผลตอ่ กนั ซ่ึงมคี ุณลกั ษณะร่วมทัง้ หมด ๓๒ คณุ ลักษณะ ดังรายละเอยี ดต่อไปนี้

องค์ประกอบ ตัวบง่ ช้ี/พฤติกรรม

ด้านท่ี ๑ ผู้เรียนเป็นสุข หมายถึง ผู้เรียนมีคุณลักษณะท่ีดี ในด้านร่างกาย จิตใจ ทักษะชีวิต ความเป็น

พลเมืองดี และมคี วามรักในการเรยี นรู้ ประกอบดว้ ย ๗ ตัวบ่งช้ี

๑) ผู้เรียนมสี ขุ ภาพกายแข็งแรง ไดแ้ ก่

๑.๑ รบั ประทานอาหารถูกสขุ ลักษณะ

๑.๒ ดูแลความสะอาดของร่างกายและเส้ือผ้า

๑.๓ ออกกาลงั กายสม่าเสมอ

๑.๔ ไมส่ ูบบุหร่ี*

๑.๕ ไมด่ ื่มสรุ า*

๑.๖ ร่างกายสมส่วน ไม่เป็นโรคอ้วน*

๑.๗ บรโิ ภคผักและผลไม้อยา่ งเพียงพอ*

๒) ผเู้ รยี นร่าเรงิ แจ่มใส ไดแ้ ก่

๒.๑ มองโลกในแง่ดี

๒.๒ ทกั ทายปราศรัย

๓) ผู้เรยี นมีทักษะการปฏเิ สธให้ตนเองพน้ จากอนั ตราย ได้แก่

๓.๑ ปฏิเสธการถูกชักชวนให้ดื่มแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ ส่ิงเสพติดอื่นๆ

ปฏเิ สธการมีเพศสัมพันธ์

๓.๒ ไมเ่ ล่นการพนนั ทกุ ชนิด

๓.๓ การต้ังครรภ์ในวัยเรียน*

๓.๔ การตายดว้ ยอุบตั ิเหตุ*

เครื่องมอื พฒั นาสู่ความเปน็ โรงเรยี นสุขภาวะ à¤Ã่Í× §ÁÍ× ¾²Ñ ¹ÒÊ‹¤Ù ÇÒÁ໹š âçàÃÕÂ¹Ê¢Ø À๙ÒÇÐ ๙

องคป์ ระกอบ ตัวบ่งชี้/พฤตกิ รรม

๔) ผู้เรยี นอยู่ร่วมกนั อยา่ งมีความสุข ไดแ้ ก่

๔.๑ ปฏบิ ัตติ ามกฎระเบยี บของโรงเรยี น

๔.๒ รัก และเอ้อื อาทรต่อเพ่อื น

๔.๓ มาโรงเรยี นทกุ วนั

๔.๔ มกี ารทากจิ กรรมทางกายเปน็ ประจา*

๔.๕ มีความสุขในการดาเนนิ ชีวติ *

๔.๖ อยู่ในครอบครัวท่อี บอุ่น*

๔.๗ อยู่ในชมุ ชนและทอ้ งถ่นิ เข้มแข็ง*

๕) ผู้เรยี นมวี ินยั รู้หนา้ ที่ มคี วามรับผดิ ชอบ

๖) ผู้เรียนมีจติ สาธารณะ อนรุ ักษ์ทรัพยากร และสิง่ แวดลอ้ ม ไดแ้ ก่

๖.๑ ชอบอาสา ชว่ ยเหลอื ผอู้ น่ื

๖.๒ ประหยัดนา้ ประหยดั ไฟ

๗) ผู้เรียนกระตือรือร้นให้ความสนใจในการเรียน หม่ันแสวงหาความรู้จาก

แหล่งเรยี นรู้ เช่น ห้องสมุด ครปู ระจาวิชา หรอื อนิ เตอร์เน็ต

ด้านที่ ๒ โรงเรยี นเป็นสุข หมายถงึ โรงเรยี นท่ีมรี ะบบการบริหารจัดการที่เอือ้ ตอ่ การสร้างเสริมสขุ ภาวะของ

ผเู้ รียน โดยใชก้ ระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน มขี อ้ กาหนดในการพฒั นาแบง่ เป็น ๓ ส่วน ๑๔ ตัวบ่งชี้

ดังนี้

๒.๑ ระบบการบริหาร ๑) ผู้บริหารใช้การส่ือสารแนวราบเพ่ือให้เกิดพลังการขับเคล่ือนการบริหาร

หมายถึง การจัดการองค์กร จัดการองค์กร ได้แก่ โรงเรียนมีแผนการดาเนินงานด้านสุขภาวะอันเกิดจาก

เพอ่ื การ เปลย่ี นแปลงแบบมี การระดมความคิดเห็นของบุคลากรในโรงเรียน มีโครงสร้างคณะทางานและ

ส่วนร่วมและร่วมรับผิดชอบ ติดตามการสร้างเสริมสุขภาวะที่ชัดเจน และ มีแผนการประเมินการ

โดยการสร้างชมุ ชนการ ดาเนินงานสร้างเสรมิ สุขภาวะอยา่ งเปน็ ขนั้ ตอน

เรยี นรู้วิชาชีพ ประกอบด้วย ๒) ผู้บริหารเป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ที่มุ่งสู่

๔ ตัวบ่งชี้ โรงเรียนสุขภาวะ โดยจัดการเรียนโดยใช้ชีวิต ชุมชน และสิ่งแวดล้อมเป็นตัว

ต้ัง มีหนว่ ยการเรยี นทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับผ้เู รียน

๓) การบริหารจัดการโดยสร้างกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เป็นทีมเพื่อให้

เกิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู โดย ผู้บริหารและครูได้พูดคุยเก่ียวกับ

การเรียนการสอน ในทกุ สัปดาห์

๑๐ เàค¤รÃื่อÍ่× ง§ÁมÍ×อื ¾พѲฒั ¹นÒาÊสÙ‹¤ูค่ ÇวÒาÁมà»เป¹š âน็ Ãโ§รàÃงÂÕ เร¹ียÊนØ¢สÀุขÒÇภÐาวะ ๑๐

องค์ประกอบ ตัวบง่ ช้ี/พฤตกิ รรม

๔) มีการบริหารองค์กรแบบมีส่วนร่วม โดยทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้องร่วมกาหนด

วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ แผนพัฒนากลยุทธ์และแผนปฏิบัติการที่มุ่ง

ไปสู่โรงเรยี นสขุ ภาวะ และร่วมรบั ผดิ ชอบตอ่ ผลการบรหิ าร

๒.๒ การพัฒนาครู ๑) สร้างวุฒิภาวะความเป็นครู ส่งเสริมให้มีคุณธรรม จริยธรรม แสวงหา

ประกอบดว้ ย ๕ ตวั บง่ ชี้ ความรู้ เพ่อื พัฒนาศักยภาพของตนเอง

๒) ส่งเสริมให้ครูมีการออกแบบและจัดการเรียนรู้บูรณาการแบบมีส่วนร่วม

อย่างหลากหลาย ใช้จิตวิทยาเชิงบวกในการพัฒนากระบวนการเรียนรู้มุ่งสู่

ผ้เู รยี น

๓) ส่งเสริมและพัฒนาครูเพ่ือสร้างนวัตกรรม ที่สามารถนาไปใช้สาหรับ

การวดั ผล ประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ

๔) ส่งเสริมให้ครูมีทักษะความรู้ความสามารถ ในการใช้เทคโนโลยี เพ่ือเกิด

ประโยชน์แกผ่ ู้เรยี น

๕) สร้างให้ครูเป็นผู้ท่ีมีมนุษย์สัมพันธ์และส่ือสารท่ีดี มีทักษะการทางานเป็น

ทีมแบบกัลยาณมิตร สามารถทางานรว่ มกบั ผอู้ ่ืนได้เปน็ อย่างดี

๒.๓ การจัดการเรยี นการ ๑) ออกแบบการเรียนรู้บูรณาการแบบมีส่วนร่วม เพื่อพัฒนาปัญญาภายใน

สอน ประกอบดว้ ย ๕ ตัว และภายนอก

บง่ ช้ี ๒) จัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดทักษะ

ในศตวรรษท่ี ๒๑

๓) จดั บรรยากาศและสอื่ ท่เี อื้อต่อการเรียนรู้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

๔) จดั กิจกรรมแลกเปล่ียนเรยี นรอู้ ย่างเปน็ วิถี

๕) วัดและประเมินผลตามสภาพจริงด้วยวธิ กี ารทหี่ ลากหลาย

ดา้ นท่ี ๓ สภาพแวดลอ้ มเปน็ สขุ หมายถึง โรงเรยี นทีจ่ ดั สภาพแวดล้อมท่ีปลอดภยั ปลอดอบายมุข เออ้ื ต่อการสรา้ ง

เสริมสขุ ภาวะผู้เรยี น ประกอบดว้ ย ๕ ตัวบง่ ช้ี

๑) โรงเรียนบูรณาการระบบบรหิ ารจดั การสภาพแวดล้อมอย่างเป็นองคร์ วม

๒) โรงเรียนพฒั นาระบบป้องกนั ภยั และตรวจสอบสม่าเสมออย่างต่อเนอ่ื ง

๓) โรงเรียนสร้างบรรยากาศสภาพแวดล้อมที่สะอาด ปลอดภัย ปลอดอบายมุข

ส่งิ เสพตดิ เอ้อื ต่อการเรยี นรู้

๔) โรงเรยี นเป็นตน้ แบบในการจัดสภาพแวดล้อมท่เี ออื้ ต่อการจัดการเรียนรู้

๕) โรงเรียนบรหิ ารจดั การสภาวะโภชนาการไดอ้ ยา่ งเป็นระบบตามมาตรฐาน

เคร่อื งมอื พัฒนาสูค่ วามเปน็ โรงเรยี นสขุ ภาวะ à¤Ã่×ͧÁ×;Ѳ¹Òʤً ÇÒÁ໚¹âçàÃÕÂ¹Ê¢Ø À๑ÒÇ๑Ð ๑๑

องคป์ ระกอบ ตัวบ่งชี้/พฤตกิ รรม

ด้านท่ี ๔ ครอบครวั เป็นสขุ หมายถึง โรงเรียนท่มี คี วามสมั พนั ธท์ ่ีดีกับผูป้ กครองของผ้เู รยี น ประกอบดว้ ย ๓ ตวั บง่ ชี้

๑) สร้างความรู้ความเข้าใจของครอบครัวเก่ียวกับแนวคิดโรงเรียนและครอบครัว

สขุ ภาวะ

๒) พฒั นาความสัมพันธท์ ่ดี รี ะหว่างผ้ปู กครองกับโรงเรยี น

๓) สง่ เสริมให้ครอบครวั มีส่วนร่วมในการจัดการเรยี นรู้และดูแลชว่ ยเหลือผู้เรียนให้

มีสขุ ภาวะ เชน่ การอาสาเปน็ วิทยากรท้องถ่นิ การอาสาเป็นกรรมการสถานศึกษา

เปน็ ตน้

ด้านที่๕ ชุมชนเป็นสุข หมายถึง โรงเรียนที่มีความสัมพันธ์ที่ดีกับบุคคล และองค์กรในชุมชน เพ่ือเสริมสร้าง

สขุ ภาวะของผู้เรียน ประกอบดว้ ย ๓ ตวั บง่ ชี้

๑) ชมุ ชนและโรงเรียนดาเนินการรว่ มกันสเู่ ปา้ หมายโรงเรียนสขุ ภาวะ

๒) ชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษา เช่น การถ่ายทอด

ภูมิปัญญาชาวบา้ นใหแ้ กผ่ ูเ้ รยี น การสนบั สนนุ ทรัพยากร เปน็ ตน้

๓) สร้างเครอื ข่ายความร่วมมือในการจดั การศกึ ษาด้านต่างๆ อย่างหลากหลาย

รวม ๓๒ ตวั บ่งชี้

หมายเหตุ * เป้าหมายเฉพาะ ๑๐ ประการของ สสส.

๑๒ เàค¤รÃอ่ื่Í× ง§Áม×Íือ¾พ²Ñ ัฒ¹นÒาÊส‹¤Ù ่คู ÇวÒาÁมà»เปš¹â็นÃโ§รàÃงÂÕ เร¹ียÊนØ¢สÀุขÒÇภÐาวะ ๑๒


เครื่องมอื จดั ทาแผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรยี นสุขภาวะ

การเรมิ่ ตน้ พฒั นาโรงเรียนสุขภาวะ จะเรมิ่ จากเครื่องมือสาคัญคือ การจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาของโรงเรียน (School Improvement Plan : SIP)

ความหมาย

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน (School Improvement Plan) เป็นข้อตกลงร่วมกัน
ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน โดยคณะกรรมการสถานศึกษา เพ่ือใช้เป็นแผนแม่บทที่จะกาหนดเป้าหมายและ
แนวทางในการพฒั นาการจดั การศึกษาในช่วงระยะเวลาทีก่ าหนด โดยจัดทาไวเ้ ป็นลายลักษณ์อกั ษรเพ่ือให้เกิด
ความมัน่ ใจวา่ โรงเรียนจะดาเนนิ งานตามข้อตกลงท่กี าหนดร่วมกนั นั้น

หลกั การจัดทาแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา

กฎกระทรวงว่าด้วย ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓
ในราชกิจจานุเบกษา ลงวันท่ี ๒ เมษายน ๒๕๕๓ กาหนดไว้ในข้อ ๑๔ ( ๒ ) ว่า “ให้สถานศึกษาจัดทา
แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่ีมุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยได้
กาหนดเป้าหมาย หลักการ เน้ือหา กระบวนการจัดทา และบทบาทหน้าที่ของผู้ท่ีเก่ียวข้องที่สถานศึกษาต้อง

เคร่ืองมอื พฒั นาส่คู วามเปน็ โรงเรยี นสุขภาวะ à¤ÃÍ×่ §Á×;Ѳ¹Òʤً ÇÒÁ໚¹âçàÃÂÕ ¹Ê¢Ø À๑ÒÇ๓Ð ๑๓

คานึงและนาไปปฏิบัติ ภายใต้การส่งเสริม สนับสนุน และร่วมพัฒนาจากสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและ
หน่วยงานตน้ สังกัด”

เป้าหมายการพัฒนา
คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน

เน้ือหา แผนพฒั นาการจัดการศึกษา
ของโรงเรียน
 หลักสูตรสถานศกึ ษา
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี แนวคดิ /หลักการ
 การจดั ประสบการณ์ - บทบาทหน้าท่แี ละแนวทางการมี
การเรียนรู้ สว่ นรว่ ม

 กระบวนการเรยี นรู้  ครู

 การส่งเสริมการเรียนรู้  ผู้เรยี น

 การวัดและประเมินผล  บิดา มารดา ผูป้ กครอง และชมุ ชน
- การใช้ผลการประเมนิ คุณภาพทง้ั
 การพัฒนาบคุ ลากร
ภายในและภายนอก
 การบรหิ ารจดั การ - การใชง้ บประมาณและทรพั ยากร
- การใชแ้ หล่งวทิ ยาการภายนอก
 ผลการประเมนิ
คุณภาพท้ังภายในและ
ภายนอก

๑๔ เàค¤รÃื่อÍ่× ง§ÁมÍ×ือ¾พѲัฒ¹นÒาÊส¤‹Ù คู่ ÇวÒาÁมà»เปš¹âน็ Ãโ§รàÃงÕÂเร¹ียÊน¢Ø สÀขุÒÇภÐาวะ ๑๔

การจัดทาแผนพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาของโรงเรียน

แผนพัฒนาการจัดการศึกษา เป็นเครื่องมือในการสื่อสารให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้องทั้งผู้บริหาร ครู ผู้เรียน
กรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ได้รับรู้และเข้าใจในการบริหารและจัดการ
คุณภาพที่มีการแสดงเป้าหมาย ทิศทางการดาเนินงานท่ีชัดเจน มีแนวทางปฏิบัติเพ่ือนาไปสู่ทิศทางที่ต้องการ
โดยการขับเคล่ือนท่ียึดโรงเรียนเป็นฐาน ด้วยความร่วมมือและความรับผิดชอบของบุคลากรภายในโรงเรียน
ตลอดการกากบั ดแู ล สง่ เสริม สนับสนุนจากหน่วยงานต้นสังกัด

๑ วิสัยทัศน์
ในอนาคต...เราตอ้ งการไปสจู่ ุดใด

๒ วนิ จิ ฉยั สภาพการณ์
ปจั จุบนั ...เราอยู่ ณ จุดใด

๓ พนั ธกิจ
เราจะไปสจู่ ุดนั้น...ไดอ้ ยา่ งไร

๔ กลยุทธ/์ แผนงาน
เราจะต้องทาหรือปรบั เปล่ยี น...อะไรบ้าง โครงการ/กจิ กรรม

คาถามเพือ่ นาไปส่กู ระบวนการจดั ทาแผนพัฒนาการจดั การศึกษา

เครอื่ งมือพฒั นาสูค่ วามเป็นโรงเรียนสุขภาวะ à¤Ã่Í× §ÁÍ× ¾Ñ²¹ÒÊÙ‹¤ÇÒÁ໹š âçàÃÕÂ¹Ê¢Ø À๑ÒÇ๕Ð ๑๕

เครื่องมือในการจดั ทา SIP

การวเิ คราะห์บรบิ ทของโรงเรยี น
SWOT Analysis เป็นกระบวนการวิเคราะห์บริบทของโรงเรียนเพื่อให้ได้ผลสรุปสาหรับกาหนด
วิสัยทัศน์และกลยุทธ์เพ่ือพัฒนาโรงเรียนท่ีมีความชัดเจน จากข้อมูลที่เก่ียวข้องทั้งภายในและภายนอก
สถานศึกษา SWOT เป็นคาย่อมาจากคาว่า Strengths, Weaknesses, Opportunities, Threats โดยมี
ความหมาย ดงั น้ี

ปัจ ัจย ปัจ ัจย ช่วยให้บรรลุ ทาให้ไม่บรรลุ
ภายนอก ภายใน วตั ถุประสงค์ วตั ถุประสงค์

จดุ เด่น จดุ ทคี่ วรพฒั นา

โอกาส อุปสรรค

กระบวนการวิเคราะห์บรบิ ทของโรงเรยี นด้วย SWOT Analysis

S - Strengths คอื จุดแข็งหรือจุดเด่น หมายถึง การดาเนินงานภายในทบ่ี รรลวุ ตั ถปุ ระสงค์
W - Weaknesses คือ จุดอ่อนหรือจุดที่ควรพัฒนา หมายถึง การดาเนินงานภายในท่ียังไม่บรรลุ
วัตถุประสงค์
O - Opportunities คอื โอกาส หมายถึง ปัจจยั หรือสภาพแวดล้อมภายนอกท่ีเอ้ือประโยชน์ต่อการ
ดาเนินการใหบ้ รรลวุ ัตถุประสงค์
T - Threats คือ อปุ สรรค หมายถึง ปัจจยั และสถานการณ์ภายนอกที่ทาให้งานไมบ่ รรลุวตั ถปุ ระสงค์

๑๖ เàค¤รÃ่ือ×่Íง§Áม×Íือ¾พѲัฒ¹นÒาÊสÙ‹¤่คู ÇวÒาÁมà»เปš¹â็นÃโ§รàÃงÂÕ เร¹ียÊน¢Ø สÀขุÒÇภÐาวะ ๑๖

วงจรการบริหารงานเชิงระบบ (PDCA)

การทางานที่ประสบความสาเร็จได้เร็วและยั่งยืนล้วนสะท้อนให้เห็นว่ามีการดาเนินงานอย่างเป็นข้ัน
เป็นตอน มีระบบท่ีตรวจสอบได้ วงจรเดมม่ิง (Deming cycle) เป็นกระบวนการดาเนินงานเชิงระบบรูปแบบ
หนึ่งใช้กันอย่างแพร่หลาย PDCA มาจากคาว่า Plan (วางแผน) Do (ปฏิบัติ) Check (ตรวจสอบ) และ Act
(ดาเนนิ งานให้เหมาะสม)

วางแผน

วางแผน

ดาเนนิ งาน ดาเนินงานให้ ปฏบิ ัติ ปฏิบตั ิ
ใหเ้ หมาะสม เหมาะสม

ตรวจสอบ

ตรวจสอบ

ขั้นตอนการดาเนินงาน สรปุ ไดด้ งั น้ี
ข้ันวางแผน (Plan) เป็นการกาหนดกรอบงานท่ีต้องการแก้ปัญหา/ต้องการปรับปรุงเปล่ียนแปลง
รวมถึงการพัฒนาสิ่งใหม่ ๆ โดยพิจารณาว่า ต้องนาข้อมูลอะไรบ้างที่เกี่ยวข้องมาวิเคราะห์ แล้วกาหนดทางเลือก

ในการปรับปรุง เปล่ียนแปลง การวางแผนจะช่วยให้สามารถคาดการณ์สิ่งที่จะเกิดข้ึนในอนาคต และช่วยลดความ

สูญเสียตา่ ง ๆ ทอ่ี าจจะเกดิ ขนึ้ ได้

ขัน้ ปฏิบัติ (DO) เป็นการลงมือปรับปรุง เปล่ียนแปลง และพัฒนา ตามทางเลือกท่ีกาหนดไว้ในแผน
ขณะเดียวกนั มีการตรวจสอบระหว่างการปฏบิ ัตดิ ว้ ยว่าดาเนนิ ไปในทศิ ทางท่กี าหนดไวห้ รอื ไม่

ข้ันตรวจสอบ (Check) เป็นการประเมินผลท่ีได้รับจากการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง และพัฒนา
ซ่ึงทาให้ทราบว่าการปฏิบัติบรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายที่กาหนดไว้หรือไม่ โดยกาหนดความถ่ี

ของการตรวจสอบตามความเหมาะสม
ขั้นดาเนินงานให้เหมาะสม (Act) เป็นการพิจารณาผลการตรวจสอบ และอาจจะนาผล

การตรวจสอบมาดาเนนิ การ ๒ กรณี คือ

กรณีที่ ๑ ถ้ามีผลการปฏิบัติงานท่ีดี ให้นากระบวนการปฏิบัติน้ันมาจัดทาเป็นมาตรฐาน
การปฏบิ ัติงานของโรงเรยี น

เครอ่ื งมอื พฒั นาสคู่ วามเปน็ โรงเรียนสขุ ภาวะ à¤Ã×Í่ §Á×;²Ñ ¹ÒÊÙ‹¤ÇÒÁ໹š âçàÃÕÂ¹Ê¢Ø À๑ÒÇ๗Ð ๑๗

กรณีที่ ๒ ถ้าผลงานยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ต้องนาผลการประเมินมาพิจารณาว่าควรดาเนิน
การอย่างไรตอ่ ไป เพ่ือใหบ้ รรลุผลตามท่กี าหนดไว้

เม่ือนาวงจรเดมมง่ิ มาใช้ในการทางานอย่างต่อเนื่อง จะทาให้การทางานมีการพฒั นาไปอย่างต่อเน่ือง

ไม่หยุดนง่ิ ดงั แผนภาพ

P

AD
P

P AD C
AD
C มาตรฐาน
C
มาตรฐาน ปรับปรงุ อยา่ ง
มาตรฐาน ต่อเน่อื ง

ปรับปรงุ และยกระดับ
มาตรฐานใหส้ งู ขึ้น

การจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนสุขภาวะ

แนวทางการประชมุ เชิงปฏบิ ัติการจัดทาแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรยี นสขุ ภาวะ
มแี นวทางการดาเนินงาน ดังนี้

๑๘ เàค¤รÃอ่ื×่Íง§Áม×Íอื ¾พѲฒั ¹นÒาÊส‹¤Ù ่คู ÇวÒาÁมà»เปš¹â็นÃโ§รàÃงÂÕ เร¹ยี Êน¢Ø สÀขุÒÇภÐาวะ ๑๘

ข้นั ตอน กิจกรรม ผลลพั ธ์ สอ่ื /อุปกรณ์

๑. นาเสนอกรอบแนวคดิ ๑. ชมวีดโิ อประสบการณ์การพฒั นา ทุกคนเข้าใจ - power point
เรอื่ ง สุขภาวะในโรงเรียน โรงเรยี น เปา้ หมายของ เร่ืองสุขภาวะ
๒. ผอู้ านวยการโรงเรียนนาเสนอกรอบ "สขุ ภาวะใน
แนวคดิ เรอื่ ง สุขภาวะในโรงเรยี น ๔ โรงเรยี น"
ดา้ น ทสี่ รปุ จากการศึกษาดงู านท่ี
โรงเรยี นตน้ แบบการพฒั นาสขุ ภาวะ
๓. ซักถามพูดคยุ

๒. ประเมนิ สุขภาวะใน ๑. ผูเ้ ขา้ ประชมุ แต่ละคนทาแบบ ได้สภาพปจั จบุ ัน - แบบประเมนิ สขุ
โรงเรียนของตนเอง ประเมินสขุ ภาวะในโรงเรยี น และความต้องการ ภาวะในโรงเรียน
๒. สง่ แบบประเมนิ ใหท้ ีมเลขานกุ าร จาเปน็ เกีย่ วกับสขุ
วเิ คราะห์ผลและจัดทาแบบสรปุ เป็น ภาวะของโรงเรียน
กราฟ

๓. ระดมสมองสะทอ้ นความ ๑. แบ่งกล่มุ ผู้มีสว่ นร่วมเปน็ ๓ กลุ่ม คอื ได้คุณลักษณะ - Flip Chart
คาดหวัง
(๑) นักเรียน "โรงเรยี นดที ีส่ รา้ งสุข - ปากกาเมจิก

(๒) ผู้ปกครอง ชมุ ชน ภาวะ" ตามความ

(๓) ครู ความหวงั

๒. แต่ละกลมุ่ คดั เลือกประธานและเลขา ของแต่ละฝ่าย

ฯ แลว้ ระดมสมองเพื่อตอบคาถาม

“โรงเรยี นดีๆ ท่มี ีความสขุ ทที่ ่านอยาก

ใหเ้ ป็น มีลกั ษณะอยา่ งไร"

ตามประเดน็ ต่อไปน้ี

(๑) นกั เรียนมสี ุขภาวะ

(๒) โรงเรยี นมีสุขภาวะ

(๓) สิง่ แวดลอ้ มมีสุขภาวะ

(๔) ครอบครวั ชุมชน สังคม

มีสุขภาวะ

เครือ่ งมือพฒั นาสู่ความเปน็ โรงเรยี นสุขภาวะ à¤Ã่×ͧÁÍ× ¾²Ñ ¹ÒÊ‹¤Ù ÇÒÁ໹š âçàÃÂÕ ¹ÊØ¢À๑ÒÇ๙Ð ๑๙

ขั้นตอน กจิ กรรม ผลลพั ธ์ สือ่ /อปุ กรณ์
๔. นาเสนอความคาดหวงั
ของแตล่ ะกลุม่ ๑. แตล่ ะกล่มุ สง่ ตวั แทนนาเสนอผลการ สรุปภาพรวม - Flip Chart

๕. กาหนดเปา้ หมายและ ระดมสมอง "โรงเรยี นดที ี่สร้างสขุ - ปากกาเมจกิ
จุดเนน้ ร่วมกัน
๒. ท่ปี ระชมุ กลุ่มใหญ่อภิปรายภาพรวม ภาวะ" ของโรงเรียน
๖. พัฒนาโครงการและ
กิจกรรม และปรับเปลย่ี นใหไ้ ดค้ ุณลักษณะท่ี

ชดั เจน

๑. ทมี เลขานกุ ารนาเสนอผลวิเคราะห์ (๑) เปา้ หมายในการ - กระดาษ

ความตอ้ งการจาเปน็ จากการทาแบบ สร้างสุขภาวะใน Flip Chart

ประเมิน (ในข้ันตอนที่ ๒) โรงเรียนภายใน ๓ ปี - ปากกาเมจกิ

๒. พจิ ารณาความตอ้ งการจาเปน็ (๒) จุดเนน้ ของ

(Needs) จากความหา่ งระหวา่ ง โรงเรยี นท่จี ะ

เสน้ กราฟ ๒ เส้น (สภาพปจั จบุ นั กบั ดาเนินการในปีท่ี ๑

สภาพท่ีอยากเหน็ ) ถ้าห่างมากแสดงวา่ มี

ความตอ้ งการจาเปน็ สูง

๓. รว่ มกนั หาข้อสรปุ เพ่ือให้ได้เป้าหมาย

การสร้างสขุ ภาวะในเวลา ๓ ปี และ

จุดเน้นท่ีสามารถดาเนนิ การไดภ้ ายใน

๑ ปี

๑. ร่วมกันอภปิ รายและเสนอแนะ โครงการและ - Flip Chart
เพอ่ื กาหนดโครงการและกจิ กรรมท่จี ะ
ดาเนินการ กจิ กรรมที่จะ - ปากกาเมจิก
๒. แบ่งบทบาทหนา้ ท่คี วามรับผดิ ชอบ
เพือ่ เขียนโครงการ เพ่ือเสนอตอ่ ที่ ดาเนนิ การในปที ี่ ๑
ประชมุ ของโรงเรียนต่อไป

โครงร่างแผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรียนสุขภาวะ

การจัดทา แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนสุขภาวะ ควรยึดหลักการมีส่วนร่วม
ของผู้เก่ียวข้องฝ่ายต่างๆ ทั้งบุคลากรในโรงเรียน นักเรียน ชุมชน และศิษย์เก่า เพื่อให้เป้าหมายและวิสัยทัศน์
ของโรงเรยี นตอบสนองความตอ้ งการของชมุ ชน และจะทาใหเ้ กดิ ความร่วมมืออย่างยง่ั ยืน

๒๐ เàค¤รÃ่อื่×Íง§ÁมÍ×อื ¾พ²Ñ ัฒ¹นÒาÊส¤‹Ù ู่คÇวÒาÁมà»เปš¹âน็ Ãโ§รàÃงÕÂเร¹ียÊน¢Ø สÀขุÒÇภÐาวะ ๒๐

โครงร่าง
แผนพฒั นาเพ่อื สรา้ งสขุ ภาวะในโรงเรยี น
โรงเรยี น...........................................................
สงั กดั ................................................................

ปีการศึกษา........................

๑. สภาพและบรบิ ทของโรงเรยี น
วิสยั ทัศน์...............................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................. ............................................

ตัวอย่างวสิ ัยทัศน์

ภายในป.ี ........ โรงเรียน....(ระบุชอื่ โรงเรียน).........มุ่งพัฒนาไปสู่โรงเรียนท่ีมีความเขม้ แข็งด้านการ
เสรมิ สรา้ งสุขภาวะของนกั เรียนและชุมชน เปน็ ต้นแบบด้านการจดั หลกั สตู รและการเรยี นการสอนแบบ
บรู ณาการท่ีเนน้ ปัญหาเป็นฐาน มุ่งเนน้ พัฒนาการคิด ทกั ษะวิชาชีพ และจติ สาธารณะของนักเรยี น โดย

การมีสว่ นรว่ มอย่างเต็มทีข่ องชุมชน

ข้อมลู การจัดการศกึ ษา..........................................................................................................................
........................................................................................................................................................ ......................
............................................................................................................ ..................................................................

เคร่อื งมือพัฒนาสคู่ วามเปน็ โรงเรียนสขุ ภาวะ à¤Ã่×ͧÁÍ× ¾²Ñ ¹Òʤً ÇÒÁ໚¹âçàÃÂÕ ¹ÊØ¢À๒ÒÇ๑Ð ๒๑

ขอ้ มูลนักเรยี น/บคุ ลากร.......................................................................................................................
.................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................. .............................

ข้อมูลสภาพชมุ ชน ทรัพยากร................................................................................................................
....................................................................................................................... .......................................................
............................................................................................................................. .................................................
...................................................................................................................................................... ........................

การวเิ คราะห์ข้อมลู เกย่ี วกับสภาพภายในและสภาพภายนอก (SWOT)……………….………….................
............................................................................................... ...............................................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ตวั อยา่ งผลการวิเคราะห์ข้อมลู ดว้ ยวิธกี าร SWOT Analysis

ดา้ นคณุ ภาพผู้เรียน - ผเู้ รยี นมีสุขภาพกาย สขุ ภาพจติ ดี มวี นิ ัย ประหยัด และซื่อสตั ย์
จดุ เด่น - ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นตา่ กว่าเกณฑ์ท่ีกาหนด
จุดท่ีควรพฒั นา
- ครูทกุ คนจบระดับปริญญาตรขี ึน้ ไป
ดา้ นการจัดการศกึ ษา - ครปู ระพฤตติ นเป็นแบบอยา่ งท่ีดี
จดุ เดน่ - ผู้บริหารมคี ุณธรรม จริยธรรม
- ครูจดั การเรยี นการสอนทเี่ น้นผู้เรียนเป็นสาคัญทุกคนเพิ่มขน้ึ
จดุ ทค่ี วรพัฒนา - ผบู้ รหิ ารเป็นผนู้ าทางวชิ าการเพิ่มข้ึน
- ด้านการสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้
โอกาส - ชุมชนมเี อกลักษณ์ ขนบธรรมเนยี มประเพณีทเี่ ดน่ ชัด
อุปสรรค - ชมุ ชนมสี ว่ นรว่ มในการบรหิ ารจัดการศึกษาค่อนขา้ งนอ้ ย
- โรงเรยี นใช้แหลง่ เรียนร้ภู ายนอกอยา่ งคุ้มค่า

เครื่องมอื พัฒนาสคู่ วามเปน็ โรงเรียนสุขภาวะ ๒๒

๒๒ à¤ÃÍ่× §Á×;²Ñ ¹ÒÊ‹Ù¤ÇÒÁ໹š âçàÃÕ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ

ดา้ นอัตลักษณข์ องสถานศึกษา
จดุ เด่น - ผเู้ รียนมคี วามสามารถด้านการคิดแกป้ ัญหาอย่างเป็นระบบ
- ผ้เู รียนร่าเริง แจ่มใส
- ครูทกุ คนมีความโอบอ้อมอารี
- ผ้บู ริหารมคี วามเป็นประชาธิปไตย
- กรรมการสถานศกึ ษาและบุคลากรในสถานศกึ ษาเปน็ ผู้มวี ินัยและ
ใหค้ วามร่วมมอื ในการจดั การศึกษาของสถานศึกษา
จุดท่คี วรพฒั นา - ผูเ้ รียนใชค้ าพดู สภุ าพและไพเราะเพ่ิมข้ึน

ดา้ นมาตรการสง่ เสริม
จุดเดน่ - สถานศึกษาจัดโครงการพฒั นาการอ่านและการเขียนของผเู้ รยี นได้
ส่งผลใหน้ กั เรียนอ่านออกทุกคนและเขียนไดร้ อ้ ยละ ๙๐
จดุ ที่ควรพัฒนา - สถานศึกษาจดั โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นยังไม่
บรรลเุ ป้าหมาย

ควรวิเคราะห์และทาความเข้าใจข้อมูลจากผลการวเิ คราะห์ให้ชัดเจนว่า โรงเรยี นมีจุดเด่นด้านใดบ้าง
เพื่อพัฒนาสง่ เสริมต่อไป มจี ุดท่ีควรพัฒนาด้านใดบา้ งเพื่อปรับปรุง แก้ไข ภายใต้สภาพโอกาสและอุปสรรคของ
โรงเรียนแล้วนาข้อมูลเหล่านี้ไปสู่การกาหนดจุดยืนของโรงเรียนในลักษณะของวิสัยทัศน์ที่แม่นยา จะทาให้
แผนพฒั นาบรรลเุ ป้าหมายได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ

เครอ่ื งมอื พัฒนาส่คู วามเป็นโรงเรียนสุขภาวะ ๒๓

à¤Ã่×ͧÁÍ× ¾²Ñ ¹Òʤً ÇÒÁ໹š âçàÃÕÂ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ ๒๓

๒. การประเมินผลด้านผเู้ รียนเปน็ สขุ
ดาเนนิ การประเมินผลลพั ธ์ผู้เรยี นโดยใช้แบบประเมนิ ด้านผู้เรียนเปน็ สขุ เพอื่ ดสู ภาพการณ์ผลลัพธ์

เบอ้ื งตน้ ของโรงเรยี นตามแบบประเมนิ ในเครอื่ งมือที่ ๗

๓. ความตอ้ งการจาเปน็

ความต้องการจาเป็นของโรงเรียนในการพัฒนาสุขภาวะ (เสนอผลประเมินสุขภาวะในโรงเรียน
ตามแบบประเมินในด้านโรงเรียนเป็นสุข สภาพแวดล้อมเป็นสุข ครอบครัวเป็นสุข และชุมชนเป็นสุข
รวม ๒๕ ตัวบง่ ช้ี)

ระดบั ความต้องการ







ตัวบง่ ช้ี ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕

รายการประเมินสุขภาวะในโรงเรียน
การวิเคราะห์ความต้องการจาเป็นของโรงเรียนในการพัฒนาสุขภาวะ แต่ละโรงเรียนจะต้องประเมิน
ตนเองตามตัวบ่งชโ้ี รงเรียนสุขภาวะ ๒๕ ตวั บง่ ชี้ ดังนี้

เคร่ืองมอื พฒั นาส่คู วามเป็นโรงเรียนสขุ ภาวะ ๒๔

๒๔ à¤ÃÍ่× §ÁÍ× ¾Ñ²¹ÒÊ‹¤Ù ÇÒÁ໚¹âçàÃÂÕ ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ

สภาพที่เหน็ สภาพทอ่ี ยากเหน็

ตัวบง่ ชี้ ในปัจจบุ ัน ใน ๓ ปี

๐๑๒๓๐๑๒๓

ด้านโรงเรียนเป็นสุข

๑) ผู้บรหิ ารใชก้ ารส่ือสารแนวราบเพอื่ ใหเ้ กิดพลงั การขับเคลื่อน
การบริหารจัดการองคก์ ร ไดแ้ ก่ โรงเรยี นมแี ผนการดาเนนิ งานดา้ น
สขุ ภาวะอนั เกิดจากการระดมความคิดเหน็ ของบุคลากรในโรงเรยี น
มโี ครงสรา้ งคณะทางานและตดิ ตามการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาวะทช่ี ดั เจน และ
มีแผนการประเมนิ การดาเนนิ งานสรา้ งเสริมสุขภาวะอยา่ งเปน็ ขนั้ ตอน

๒) ผู้บริหารเป็นผูน้ าการเปลยี่ นแปลงเพ่อื ให้เกิดกระบวนการเรยี นรู้
ท่มี งุ่ สู่โรงเรียนสขุ ภาวะ โดยจดั การเรยี นโดยใชช้ ีวติ ชุมชน และ
สิง่ แวดล้อมเป็นตวั ตงั้ มหี น่วยการเรยี นที่เกย่ี วขอ้ งกับผู้เรยี น

๓) การบรหิ ารจดั การโดยสรา้ งกระบวนการแลกเปล่ียนเรยี นรู้เปน็ ทมี
เพอ่ื ให้เกดิ ชุมชนการเรียนรูท้ างวชิ าชีพครู โดย ผบู้ ริหารและครไู ด้พูดคุย
เกี่ยวกบั การเรียนการสอน ในทกุ สปั ดาห์

๔) มีการบรหิ ารองคก์ รแบบมสี ว่ นรว่ ม โดยทกุ ฝา่ ยทเี่ กีย่ วขอ้ ง
รว่ มกาหนดวิสัยทศั น์ พนั ธกิจ เป้าประสงค์ แผนพัฒนากลยทุ ธแ์ ละ
แผนปฏบิ ตั กิ ารท่ีมุ่งไปสโู่ รงเรียนสขุ ภาวะ และรว่ มรบั ผิดชอบตอ่ ผล
การบริหาร

๕) สรา้ งวฒุ ภิ าวะความเปน็ ครู ส่งเสรมิ ใหม้ คี ุณธรรม จริยธรรม แสวงหา
ความรู้ เพื่อพัฒนาศกั ยภาพของตนเอง

๖) สง่ เสรมิ ใหค้ รมู กี ารออกแบบและจัดการเรยี นรบู้ ูรณาการแบบมีสว่ น
ร่วมอยา่ งหลากหลาย ใชจ้ ติ วิทยาเชิงบวกในการพัฒนากระบวนการ
เรยี นรู้มุง่ ส่ผู ูเ้ รยี น

๗) สง่ เสรมิ และพฒั นาครเู พอ่ื สร้างนวตั กรรมทีส่ ามารถนาไปใชส้ าหรับ
การวัดผล ประเมินผลตามสภาพจรงิ

เคร่อื งมือพัฒนาส่คู วามเป็นโรงเรยี นสุขภาวะ ๒๕

à¤ÃÍ่× §ÁÍ× ¾²Ñ ¹Òʤ‹Ù ÇÒÁ໚¹âçàÃÂÕ ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ ๒๕

สภาพทเ่ี ห็น สภาพทอี่ ยากเหน็

ตวั บ่งชี้ ในปัจจบุ ัน ใน ๓ ปี

๐๑๒๓๐๑๒๓

๘) ส่งเสริมใหค้ รูมีทักษะความรคู้ วามสามารถ ในการใชเ้ ทคโนโลยี
เพอื่ เกดิ ประโยชนแ์ กผ่ เู้ รียน

๙) สรา้ งให้ครเู ปน็ ผทู้ ีม่ ีมนษุ ย์สมั พนั ธแ์ ละสอ่ื สารที่ดี มที กั ษะการทางาน
เป็นทีมแบบกลั ยาณมิตร สามารถทางานรว่ มกับผูอ้ ืน่ ได้เปน็ อย่างดี

๑๐) ออกแบบการเรยี นร้บู รู ณาการแบบมสี ว่ นรว่ ม เพ่อื พฒั นาปญั ญา
ภายในและภายนอก

๑๑) จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้เชงิ รุก (Active Learning) เพือ่ ใหผ้ ูเ้ รยี น
เกดิ ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑

๑๒) จัดบรรยากาศและสื่อทเี่ อ้อื ตอ่ การเรียนรู้อย่างมีประสิทธภิ าพ

๑๓) จัดกจิ กรรมแลกเปลย่ี นเรยี นรู้อย่างเป็นวิถี

๑๔) วดั และประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ด้วยวิธกี ารทห่ี ลากหลาย

ด้านสภาพแวดล้อมเป็นสขุ

๑๕) โรงเรยี นบรู ณาการระบบบริหารจัดการสภาพแวดลอ้ มอยา่ ง
เปน็ องค์รวม

๑๖) โรงเรียนพฒั นาระบบปอ้ งกนั ภัยและตรวจสอบสมา่ เสมออยา่ ง
ตอ่ เน่ือง

๑๗) โรงเรยี นสร้างบรรยากาศสภาพแวดลอ้ มท่สี ะอาด ปลอดภัย
ปลอดอบายมขุ สง่ิ เสพติด เออื้ ตอ่ การเรยี นรู้

๑๘) โรงเรียนเปน็ ตน้ แบบในการจดั สภาพแวดล้อมท่ีเออ้ื ต่อการจัด
การเรยี นรู้

๑๙) โรงเรยี นบริหารจดั การสภาวะโภชนาการไดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ
ตามมาตรฐาน

เคร่ืองมอื พัฒนาสคู่ วามเปน็ โรงเรียนสขุ ภาวะ ๒๖

๒๖ à¤ÃÍ×่ §Á×;Ѳ¹Òʤ‹Ù ÇÒÁ໹š âçàÃÂÕ ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ

สภาพที่เห็น สภาพทีอ่ ยากเห็น

ตวั บ่งชี้ ในปัจจุบัน ใน ๓ ปี

๐๑๒๓๐๑๒๓

ครอบครัวเป็นสุข

๒๐) สร้างความรู้ความเข้าใจของครอบครวั เกยี่ วกับแนวคิดโรงเรยี นและ
ครอบครวั สขุ ภาวะ

๒๑) พัฒนาความสมั พนั ธ์ทดี่ ีระหวา่ งผู้ปกครองกับโรงเรยี น

๒๒) สง่ เสริมให้ครอบครัวมีสว่ นร่วมในการจัดการเรียนรู้และดูแล
ช่วยเหลือผเู้ รยี นใหม้ สี ุขภาวะ เชน่ การอาสาเปน็ วทิ ยากรทอ้ งถ่นิ การ
อาสาเปน็ กรรมการสถานศกึ ษา เปน็ ตน้

ชมุ ชนเปน็ สขุ

๒๓) ชมุ ชนและโรงเรียนดาเนนิ การรว่ มกันส่เู ป้าหมายโรงเรียนสุขภาวะ

๒๔) ชมุ ชนมสี ว่ นรว่ มในการส่งเสรมิ สนบั สนนุ การจัดการศึกษา เช่น
การถ่ายทอดภูมปิ ัญญาชาวบา้ นให้แกผ่ ู้เรยี น การสนบั สนนุ ทรพั ยากร
เป็นตน้

๒๕) สรา้ งเครือข่ายความร่วมมอื ในการจัดการศึกษาดา้ นต่างๆ อยา่ ง
หลากหลาย

เครอ่ื งมอื พฒั นาสู่ความเป็นโรงเรยี นสุขภาวะ ๒๗

à¤Ã×่ͧÁÍ× ¾²Ñ ¹ÒÊÙ¤‹ ÇÒÁ໹š âçàÃÂÕ ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ ๒๗

ตัวอยา่ ง ผลการวเิ คราะห์ความตอ้ งการจาเป็น

3.00

2.00

1.00

0.00
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25
ตวั บ่งช้ี
สภาพทเ่ี หน็ ในปัจจบุ นั
สภาพที่อยากเหน็ ใน ๓ ปี

๔. คุณลักษณะโรงเรียนดที สี่ ร้างสขุ ภาวะท่ีอยากเป็น

ก) กลุม่ ตวั แทนนักเรยี น ชมุ ชน มสี ขุ ภาวะ
โรงเรยี นมสี ขุ ภาวะ สภาพแวดลอ้ มมีสุขภาวะ ครอบครวั มีสุขภาวะ

๑) ๑) ๑) ๑)
๒) ๒) ๒) ๒)
๓) ๓) ๓) ๓)
.. .. .. ..

๒๘ เàค¤รÃ่อื่Í× ง§Áม×Íอื ¾พѲัฒ¹นÒาÊส¤‹Ù ูค่ ÇวÒาÁมà»เปš¹âน็ Ãโ§รàÃงÂÕ เร¹ยี Êน¢Ø สÀขุÒÇภÐาวะ ๒๘

ตวั อยา่ ง ผลการวิเคราะหข์ องโรงเรียน

โรงเรยี นมีสุขภาวะ สภาพแวดล้อม ครอบครัวมีสุขภาวะ ชุมชน
มสี ุขภาวะ มสี ุขภาวะ

๑) มีคอมพวิ เตอร์ ๑) ชว่ ยกันปลูกตน้ ไม้ ๑) ผปู้ กครองช่วยกนั ๑) ชมุ ชนช่วยกันดแู ลความ

เพียงพอต่อการเรียน ๒) ช่วยกันประหยดั ดูแลนกั เรยี น ปลอดภัยของโรงเรยี น

๒) ครมู าโรงเรียนแต่ ไฟฟา้ ๒) ให้ครอบครวั ช่วยกนั ๒) ชมุ ชนช่วยกันรกั ษา

เช้า ตรงเวลาสอน ๓) ไมท่ าลาย พฒั นาโรงเรียน ทรพั ยากรธรรมชาติ

๓) มเี คร่อื งออกกาลงั สิ่งแวดลอ้ ม ๓) ชมุ ชนปลอดยาเสพติด

กาย ๔) ชว่ ยกันรักษาความ

๔) โรงเรยี นสะอาด สะอาด

สวยงาม ๕) อยากให้ชุมชน

๕) มพี ดั ลมทกุ ชว่ ยกนั เกบ็ ขยะ

หอ้ งเรยี น

ข) กลุ่มครู ชมุ ชนมีสขุ ภาวะ
โรงเรียนมสี ขุ ภาวะ สงิ่ แวดล้อมมีสุขภาวะ ครอบครวั มสี ุขภาวะ

๑) ๑) ๑) ๑)
๒) ๒) ๒) ๒)
๓) ๓) ๓) ๓)
.. .. .. ..

เคร่ืองมือพฒั นาสคู่ วามเป็นโรงเรียนสุขภาวะ à¤Ã×่ͧÁÍ× ¾²Ñ ¹ÒÊ‹¤Ù ÇÒÁ໚¹âçàÃÕ¹ÊØ¢À๒ÒÇ๙Ð ๒๙

ตัวอย่าง ผลการวเิ คราะห์ของโรงเรียน

โรงเรียนมสี ุขภาวะ สภาพแวดลอ้ มมสี ุข ครอบครัวมสี ุขภาวะ ชมุ ชน
ภาวะ มสี ุขภาวะ

๑) องค์กรแห่ง ๑) ภูมิทัศนร์ ม่ ร่ืน ๑) ดแู ลเอาใจใส่ ๑) สนับสนนุ ทรพั ยากร
เกยี่ วกบั สุขภาพและ ๒) รว่ มอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรม
การเรียนรู้ สวยงาม ความประพฤติ และทรัพยากรธรรมชาติ
๒) เฝา้ ระวังป้องกนั ๓) รกั ษาทรัพย์สินสว่ นรวม
๒) สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ ๒) มีคดั แยกขยะและ ปญั หานกั เรยี นร่วมกัน

อย่างมีความสขุ กาจัดขยะ

๓) จรรยาบรรณครู/ ๓) โภชนาการภายใน

ศรทั ธา/ตรงเวลา/ โรงเรยี น

อุทศิ เวลา ๔) ปรับปรงุ พัฒนา

๔) ผูน้ าองค์กรทีด่ ี หอ้ งสมดุ

๕) ความสามัคคี ๕) ปรบั ปรุงหอ้ งเรียนให้

ชว่ ยเหลอื กัน นา่ เรยี น

ค) กลุ่มตัวแทนผ้ปู กครอง/ชมุ ชน ชมุ ชนมสี ขุ ภาวะ
โรงเรยี นมสี ุขภาวะ สภาพแวดล้อมมสี ุขภาวะ ครอบครัวมสี ุขภาวะ

๑) ๑) ๑) ๑)
๒) ๒) ๒) ๒)
๓) ๓) ๓) ๓)
.. .. .. ..

เครือ่ งมอื พัฒนาสูค่ วามเปน็ โรงเรยี นสุขภาวะ ๓๐

๓๐ à¤Ã่×ͧÁ×;Ѳ¹ÒÊÙ¤‹ ÇÒÁ໚¹âçàÃÕ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ

ตวั อยา่ ง ผลการวิเคราะห์ของโรงเรยี น

โรงเรยี นมสี ขุ ภาวะ สภาพแวดลอ้ มมสี ุขภาวะ ครอบครัวมสี ุขภาวะ ชมุ ชนมีสขุ ภาวะ

๑) ครูเป็นแบบอย่างทด่ี ี ๑) มรี ว้ั รอบขอบชดิ ๑) พอ่ แมผ่ ูป้ กครอง ๑) สง่ เสริม อนรุ กั ษ์

ให้กบั ศิษย์ ๒) มถี นนคอนกรตี รอบ เป็นตัวอยา่ งทดี่ ีใหก้ ับ ประเพณี วัฒนธรรม

๒) ครูจัดกิจกรรมการ โรงเรียน บตุ รหลาน ไทย

เรียนการสอนร่วมกบั ๓) มีระบบกาจัดขยะ ๒) ครอบครัวมสี ว่ นร่วม ๒) ชมุ ชนรรู้ ักสามัคคี

ผ้ปู กครองอยา่ งมีคุณภาพ ๔) ให้มนี ้าดมื่ สะอาดและ ให้ความร่วมมือในการ ๓) ชมุ ชนร่วมมือกับ

๓) มีระบบดแู ลชว่ ยเหลือ พอเพยี ง จัดการศึกษา โรงเรียนแก้ปัญหา

นกั เรียนทุกด้าน ๕) มแี หลง่ เรียนรธู้ รรมชาติ นกั เรียน

๔) ครมู ีสือ่ อปุ กรณก์ าร เชน่ สวนสมนุ ไพร

เรยี นทีห่ ลากหลาย

๕) บริหารแบบมสี ว่ นร่วม

๕. ภาพรวม "โรงเรียนดีที่สรา้ งสุขภาวะ" ที่โรงเรียนต้องการเป็น
ก. โรงเรยี นมสี ขุ ภาวะ
๑) .....................................................................................
๒)......................................................................................
ข. สิ่งแวดล้อมมสี ุขภาวะ
๑) .....................................................................................
๒)......................................................................................
ค. ครอบครวั มีสขุ ภาวะ
๑) .....................................................................................
๒)......................................................................................
ง. ชมุ ชนมสี ขุ ภาวะ
๑) .....................................................................................
๒)......................................................................................

เคร่อื งมือพฒั นาสู่ความเป็นโรงเรยี นสขุ ภาวะ ๓๑

à¤Ã×Í่ §ÁÍ× ¾²Ñ ¹Òʤ‹Ù ÇÒÁ໚¹âçàÃÂÕ ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ ๓๑

ตัวอย่าง ผลการวเิ คราะหข์ องโรงเรยี น

ก. โรงเรยี นมีสุขภาวะ
๑) ครมู จี รรยาบรรณ มีศรัทธา มคี วามสามคั คี ตรงต่อเวลาเปน็ แบบอย่างทีด่ ีต่อศิษย์
๒) องค์กรแห่งการเรยี นรู้ ครูมสี อื่ /อปุ กรณ์การเรยี นท่ีหลากหลาย จัดการเรยี น

การสอนอย่างมีคุณภาพรว่ มกับชุมชน
๓) สง่ เสรมิ การเรยี นรู้อยา่ งมีความสุข มรี ะบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียนทด่ี ี
๔) การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม
๕) โรงเรียนสะอาดสวยงาม

ข. สภาพแวดลอ้ มมสี ุขภาวะ
๑) ภมู ทิ ัศนร์ ่มรน่ื สะอาด สวยงาม มีรว้ั รอบขอบชิด มถี นนคอนกรีต
๒) มีการคัดแยกขยะ กาจัดขยะ รีไซเคิล
๓) ประหยดั พลังงานไฟฟ้า นา้ ดมื่ น้าใช้
๔) โภชนาการภายในโรงเรยี นดี มนี ้าด่มื ทสี่ ะอาดและเพยี งพอ
๕) ปรับปรุงพัฒนาห้องสมดุ หอ้ งเรียนใหส้ วยงามและเอื้อตอ่ การเรยี นรู้
๖) อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ไม่ทาลายส่งิ แวดล้อมในโรงเรียน

ค. ครอบครวั มีสุขภาวะ
๑) พ่อแม่ ผปู้ กครองเปน็ แบบอย่างท่ีดี เฝา้ ระวงั ป้องกันปญั หานักเรียนรว่ มกนั

ง. ครอบครัวชุมชนมสี ุขภาวะ
๑) ชุมชมมีส่วนร่วมใหค้ วามร่วมมอื ในการพัฒนาโรงเรียน สนับสนุนงบประมาณ
๒) อนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ ประเพณี วฒั นธรรมทด่ี งี าม
๓) ชมุ ชนแก้ไขปัญหานักเรยี นรว่ มกนั ดแู ลเอาใจใส่สุขภาพและความประพฤติของ

นกั เรียน และเยาวชน
๔) ชุมชนปลอดยาเสพติด

๓๒เครือ่à¤งÃม×่Íือ§พÁ×Íัฒ¾น²Ñ าส¹ู่คÒÊว¤Ù‹ามÇÒเปÁàน็»โš¹รâงÃเ§รàÃยี ÂÕ น¹สÊขุ ¢Ø ภÀาÒวÇÐะ ๓๒

๖. เปา้ หมายในการสรา้ งสุขภาวะในโรงเรียนภายใน ๓ ปี

ปที ่ี ๑
๑)............................................................................................................................ .........
๒)......................................................................................................... ...........................
๓)............................................................................................................................ ........

ปีท่ี ๒
๑)....................................................................................................................................
๒)............................................................................................................................ ........
๓)....................................................................................................................................

ปที ี่ ๓
๑)............................................................................................................................ ........
๒)....................................................................................................................................
๓)............................................................................................................................ ........

ตัวอย่าง การวเิ คราะห์เปา้ หมายของโรงเรยี น

ดา้ น ความตอ้ งการตาม ความต้องจากการระดมสมอง มคี วามสัมพนั ธ์กันและสาคญั ลาดับตน้ ๆ
นักเรียน ตวั บง่ ชี้ ของผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง

โรงเรียน ๐ มีจติ สานึกอนรุ ักษ์ ๑. รู้จักคิดแกป้ ญั หา กล้า ๑. มที กั ษะชีวิต ร้จู ักคดิ แก้ปญั หา กล้า
ธรรมชาติ แสดงออก กล้าคดิ กล้าทา แสดงออก กล้าคดิ กล้าทา
๒. สขุ ภาพกาย สุขภาพจติ ดี ๒. มที ักษะสุขภาพ สุขภาพกาย
รกั การออกกาลังกาย สขุ ภาพจิตดี รักการออกกาลงั กาย

๐ มรี ะบบป้องกนั แก้ไข ๑. องค์กรแห่งการเรยี นรู้ ครูมี ๑. องคก์ รแห่งการเรยี นรู้ ครมู ีสื่อ/
พฤติกรรมการบริโภค สื่อ/อปุ กรณ์การเรยี นท่ี
อปุ กรณก์ ารเรียนทีห่ ลากหลายมกี ารจัด
อาหาร ขนม และ หลากหลาย จัดการเรยี นการ กระบวนการเรียนรู้
สอนอยา่ งมคี ณุ ภาพรว่ มกับชมุ ชน ทีม่ คี วามสุข
เครอื่ งดมื่ ทไี่ มม่ ี ๒. ส่งเสรมิ การเรยี นรู้อยา่ งมี
ประโยชนข์ องนักเรยี น ความสุข มรี ะบบดแู ลช่วยเหลือ ๒. มีระบบส่งเสรมิ การทากจิ กรรมเพ่อื การ
นกั เรียนทดี่ ี เรียนรขู้ องนกั เรียน มรี ะบบดแู ลช่วยเหลือ
นกั เรยี นที่ดี

เครื่องมอื พัฒนาส่คู วามเป็นโรงเรยี นสุขภาวะ ๓๓ ๓๓

à¤ÃÍ่× §Á×;²Ñ ¹ÒÊÙ‹¤ÇÒÁ໹š âçàÃÂÕ ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ

ดา้ น ความตอ้ งการตาม ความตอ้ งจากการระดมสมอง มคี วามสมั พันธก์ ันและสาคญั ลาดับตน้ ๆ
สภาพแวดล้อม ตวั บ่งช้ี ของผ้มู สี ่วนเก่ียวขอ้ ง

๐ สะอาด ปลอดภัย ๑. ภมู ิทัศนร์ ม่ ร่ืน สะอาด ๑. สะอาด ปลอดภยั
เออื้ ต่อสุขภาพ สวยงาม มรี ว้ั รอบขอบชิ เออ้ื ตอ่ สุขภาพ มีการคดั แยกขยะ กาจัด
๒. มกี ารคดั แยกขยะ กาจดั ขยะ
ขยะ ๒. มีการจัดการด้านโภชนาการ สขุ าภิบาล
และส่งิ แวดลอ้ มถูกสขุ ลกั ษณะ มนี า้ ดื่มที่
สะอาดและเพยี งพอ

ครอบครัว ๐ มีสว่ นร่วมกับครใู น พ่อแม่ ผู้ปกครองเป็น ๑. มรี ะบบเฝ้าระวงั ปอ้ งกันปัญหานักเรยี น
การจดั การเรยี นรแู้ ละ
แกไ้ ขปญั หานักเรียน แบบอยา่ งที่ดี เฝ้าระวงั ป้องกัน ร่วมกบั โรงเรยี น

ปัญหานักเรียนร่วมกนั ๒. มสี ่วนร่วมกบั ครใู นการจัดการเรียนรู้

และแก้ไขปัญหานกั เรียน

ชุมชน ๐ มสี ว่ นร่วมในการ ๑. ระดมทรพั ยากรและอนรุ กั ษ์ ๑. ระดมทรพั ยากรสนบั สนนุ โรงเรียน
พัฒนาโรงเรยี นและ ทรพั ยากรธรรมชาติ ประเพณี ๒. แก้ไขปญั หานกั เรยี นใหป้ ลอดยาเสพติด
แกไ้ ขปัญหานักเรยี น และวฒั นธรรม

เคร่อื งมือพัฒนาสู่ความเปน็ โรงเรียนสขุ ภาวะ ๓๔

๓๔ à¤ÃÍ×่ §Á×;Ѳ¹ÒÊ‹¤Ù ÇÒÁ໹š âçàÃÂÕ ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ

ตัวอยา่ ง การกาหนดเป้าหมายของโรงเรียน
เป้าหมายในการสรา้ งสขุ ภาวะปีท่ี ๑

๑) ผ้เู รยี นมีคุณธรรมจรยิ ธรรม
๒) ผ้เู รยี นมีทกั ษะชวี ิต มกี ารเรียนทหี่ ลากหลายใฝเ่ รยี นใฝร่ ู้ ตั้งใจเรียน
๓) ผเู้ รียนมีทักษะสขุ ภาพ
๔) ป้องกนั แก้ไขพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารขนมและเครอื่ งดื่มที่ไมม่ ีประโยชน์
๕) การออกแบบการเรยี นรขู้ องครู การแลกเปลีย่ นเรียนรโู้ ดยใช้กระบวนการชมุ ชมการเรยี นรู้ การจัด
กิจกรรมการเรยี นการสอนบูรณาการ
๖) พัฒนาสงิ่ แวดล้อมภายในโรงเรยี นทีเ่ อือ้ ตอ่ การเรยี นรู้
๗) โภชนาการ สขุ าภิบาล และส่งิ แวดลอ้ มถูกสขุ ลักษณะ มนี ้าดืม่ ที่สะอาดและเพียงพอ
มกี ารคดั แยกขยะกาจัดขยะรไี ซเคลิ ขยะ
๘) สง่ เสรมิ จติ สานกึ อนรุ กั ษ์ธรรมชาติ และวฒั นธรรมทอ้ งถ่นิ
๙) ชมุ ชมมสี ่วนรว่ มใหค้ วามรว่ มมอื ในการพัฒนาโรงเรยี น สนบั สนุนงบประมาณ
เป้าหมายในการสรา้ งสขุ ภาวะปที ่ี ๒
๑) ผู้เรียนรจู้ กั คิดแกป้ ัญหา กล้าแสดงออกกล้าคดิ กลา้ ทา
๒) ผเู้ รียนมคี วามรทู้ างเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์
๓) องค์กรแห่งการเรยี นรู้ ครมู สี อื่ /อุปกรณก์ ารเรยี นท่ีหลากหลาย จดั การเรียนการสอนอย่างมคี ุณภาพ
๔) ปรับปรงุ พัฒนาหอ้ งสมดุ หอ้ งเรียนใหส้ วยงามและเออื้ ต่อการเรียนรู้
๕) พ่อแม่ ผู้ปกครองเปน็ แบบอย่างท่ีดี เฝา้ ระวงั ป้องกันปญั หานักเรยี นรว่ มกนั
๖) มีระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น
๗) มกี ารระดมทรัพยากรเพ่ือจัดการศึกษาและชว่ ยเหลือนักเรยี น
๘) การบรหิ ารจดั การแบบมีสว่ นรว่ ม
เปา้ หมายในการสรา้ งสุขภาวะปที ี่ ๓
๑) สุขภาพกาย สขุ ภาพจติ ดี รักการออกกาลังกาย
๒) ครูมจี รรยาบรรณวชิ าชพี มีศรทั ธามีความสามคั คี ตรงตอ่ เวลาเปน็ แบบอยา่ งท่ีดีต่อศษิ ย์
๓) สง่ เสริมการเรียนรอู้ ยา่ งมีความสุขมรี ะบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นทด่ี ี
๔) โรงเรียนสะอาดสวยงาม
๕) ภูมทิ ศั นร์ ่มรน่ื สะอาดสวยงามมีรวั้ รอบขอบชิด มถี นนคอนกรตี
๖) ชุมชนแก้ไขปัญหานักเรยี นรว่ มกนั ดูแลเอาใจใสส่ ุขภาพและความประพฤติของนักเรียนและเยาวชน

เครือ่ งมือพัฒนาสูค่ วามเปน็ โรงเรียนสุขภาวะ ๓๕

à¤Ã่Í× §Á×;²Ñ ¹Òʤً ÇÒÁ໹š âçàÃÕÂ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ ๓๕

๖. กลยุทธใ์ นการพัฒนา........................................................................................................................................
........................................................................................... ...................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ตัวอยา่ ง กลยุทธก์ ารพัฒนาของโรงเรียน

กลยทุ ธ์ ๑ : การพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น
๑.๑ โครงการสง่ เสริมคุณธรรม จรยิ ธรรมนกั เรยี น
๑.๒ โครงการส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อการอยู่อย่างพอเพียง : ประยุกต์ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

สู่ทกั ษะชวี ติ
๑.๓ โครงการสขุ ภาพดไี ม่มขี าย อยากได้ต้องออกกาลังกาย
๑.๔ โครงการป้องกนั แก้ไขพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร ขนม และเคร่อื งด่ืมท่ไี ม่มีประโยชน์

กลยุทธ์ ๒ : การพัฒนาศกั ยภาพครู
๒.๑ โครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร การออกแบบการเรยี นรู้ PBLและการจัดการเรยี นรแู้ บบบูรณาการ
๒.๒ โครงการการแลกเปล่ยี นเรยี นร้โู ดยใช้กระบวนการชมุ ชนการเรียนรู้ (PLC)

กลยทุ ธ์ ๓ : การสง่ เสรมิ และพฒั นาคุณภาพสถานศึกษา
๓.๑ โครงการพัฒนาสง่ิ แวดล้อมภายในโรงเรียน เพ่อื ให้สถานศกึ ษาสะอาด ปลอดภัย เออ้ื ต่อสุขภาพ

ภูมทิ ัศนร์ ม่ ร่ืน สวยงาม ตลอดจนมีการคดั แยกขยะ กาจัดขยะอยา่ งถูกวิธี
๓.๒ โครงการโภชนาการ สุขาภิบาล และสิง่ แวดล้อมถูกสุขลักษณะเพ่อื ให้นกั เรียนมีภาวะโภชนาการ

ได้มาตรฐานของกรมอนามัย มสี ่ิงแวดล้อมภายในโรงเรียนที่ถูกสุขลักษณะ มีอาหารกลางวัน น้าดื่มท่ีสะอาด
และเพียงพอ เป็นต้น
กลยทุ ธ์ ๔ : การสง่ เสรมิ ความรว่ มมือกับครอบครวั และชุมชนในการจดั การศึกษา

๔.๑ โครงการสานสัมพันธ์บ้าน - วัด - โรงเรียน มีระบบเฝ้าระวังป้องกันปัญหานักเรียนร่วมกับ
โรงเรียน เปิดโอกาสใหช้ มุ ชนได้มีสว่ นร่วมในการใช้ประโยชน์ทรพั ยากรของโรงเรยี น ใหบ้ ุคคลภายนอกไดเ้ ขา้ มา
มีส่วนร่วมในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ภายในโรงเรียน และมีการเชิญวิทยากรบุคคลภายนอก ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ
ดา้ นเขา้ มาใหค้ วามรูแ้ ก่นกั เรียน

๔.๒ โครงการสง่ เสริมจติ สานึกอนุรกั ษ์ธรรมชาติ และวฒั นธรรมท้องถิ่น เพื่อส่งเสริมให้นกั เรียนมีจิต
อาสา มีจิตสานึกในการอนรุ ักษธ์ รรมชาตใิ นโรงเรยี นและทอ้ งถิน่ ร่วมสบื สานประเพณที อ้ งถ่นิ

เครอ่ื งมอื พฒั นาสู่ความเปน็ โรงเรยี นสุขภาวะ ๓๖

๓๖ à¤ÃÍ×่ §Á×;Ѳ¹ÒÊ‹Ù¤ÇÒÁ໚¹âçàÃÕ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ

๔.๓ โครงการถอดบทเรียนของโรงเรียน เพื่อถอดบทเรียนร่วมกันระหว่างกรรมการสถานศึกษา
ข้ันพื้นฐาน ครูและบุคลากรทางการศึกษา และตัวแทนผู้ปกครอง นาข้อมูลไปปรับเพื่อพัฒนาคุณภาพของ
โรงเรียนให้ดียง่ิ ข้นึ
๗. โครงการพัฒนาสขุ ภาวะ...................................................................................................................................
........................................................................................... ...................................................................................
........................................................................................... ...................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ตวั อยา่ ง โครงการพฒั นาของโรงเรยี น

กลยุทธ์ โครงการ งบประมาณ ผู้รับผดิ ชอบ

กลยทุ ธ์ ๑ : ๑.๑ โครงการสง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรมนกั เรียน ๒,๐๐๐

การพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี น ๑.๒ โครงการส่งเสริมการเรียนรเู้ พอ่ื การอยู่อยา่ งพอเพยี ง : ๔,๕๐๐
๓,๐๐๐
ประยกุ ตป์ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒,๕๐๐

สทู่ ักษะชวี ติ

๑.๓ โครงการสุขภาพดไี มม่ ขี าย อยากไดต้ อ้ งออกกาลังกาย

๑.๔ โครงการปอ้ งกันแก้ไขพฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหาร

ขนม และเครือ่ งดื่มท่ีไม่มีประโยชน์

กลยทุ ธ์ ๒ : ๒.๑ โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการการออกแบบการเรยี นรู้ ๘,๐๐๐
การพฒั นาศกั ยภาพครู PBL และการจดั การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการ
๒.๒ โครงการการแลกเปล่ยี นเรียนร้โู ดยใชก้ ระบวนการ ๔,๐๐๐
ชมุ ชนการเรยี นรู้ (PLC) ๓๐,๐๐๐

กลยทุ ธ์ ๓ : ๓.๑ โครงการพัฒนาสงิ่ แวดลอ้ มภายในโรงเรียน ๑๖,๐๐๐
การส่งเสรมิ และพฒั นา ๓.๒ โครงการโภชนาการ สุขาภบิ าล และสง่ิ แวดลอ้ มถกู ๖,๐๐๐
สุขลกั ษณะ
คุณภาพสถานศึกษา ๒๒,๐๐๐
๙,๐๐๐
กลยุทธ์ ๔ : ๔.๑ โครงการสานสมั พันธบ์ า้ น - วัด - โรงเรยี น
การสง่ เสรมิ ความร่วมมอื ๔.๒ โครงการส่งเสริมจิตสานกึ อนุรกั ษ์ธรรมชาติ และ
วฒั นธรรมทอ้ งถิน่
กบั ชุมชนในการจดั ๔.๓ โครงการถอดบทเรียนของโรงเรียน

การศกึ ษา

เคร่ืองมอื พฒั นาสคู่ วามเป็นโรงเรียนสขุ ภาวะ ๓๗

à¤Ã×่ͧÁÍ× ¾²Ñ ¹Òʤ‹Ù ÇÒÁ໹š âçàÃÕÂ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ ๓๗


เครอ่ื งมอื สรา้ งชุมชนการเรียนร้ใู นโรงเรยี นสขุ ภาวะ

การสรา้ งชุมชนการเรียนร้ทู างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) เป็นเครอื่ งมือ
สาคัญในการพัฒนาโรงเรียนอกี ประการหน่ึงทตี่ ้องอาศัยการเรียนรู้ร่วมกันของผู้บริหารและครูในการขับเคล่ือน
สูก่ ารเปน็ โรงเรียนสุขภาวะอย่างย่งั ยนื

PLC คอื อะไร

ความหมาย
ชุมชนการเรียนรู้ หมายถงึ การรวมตวั ของผบู้ ริหารและครใู นการเรยี นรูร้ ่วมกนั ทเ่ี นน้ ปฏิสัมพันธแ์ ละ
การเป็นผู้นาร่วมกัน ซ่ึงเร่ิมจากการเห็นคณุ ค่า วิสัยทัศน์ การเรียนรู้ และการนาส่ิงท่ีเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้อย่าง
สร้างสรรค์ร่วมกัน สมาชิกใน PLC จะมองว่า “ศิษย์ของเรา” มากกว่ามองว่า “ศิษย์ของฉัน” และ
การเปลี่ยนแปลงคุณภาพการจัดการเรียนรู้ท่ีเริ่มจาก “การเรียนรู้ ของครู” เรียนรู้ท่ีจะมองเห็นการปรับปรุง
เปลี่ยนแปลง พัฒนาการจดั การเรียนรู้ของตนเอง เพอื่ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั
การประชุมหรือการท่ีครูจานวนหนึ่งนัดมาประชุมร่วมกันสม่าเสมอ ยังไม่ใช่ PLC ที่แท้จริง เพราะ
PLC ที่แท้จริงต้องเป็นความพยายามรว่ มกันท้ังโรงเรยี นในการเปลีย่ นแปลงหรอื พัฒนาการจัดการจดั การเรยี นรู้
เปล่ียนวัฒนธรรมการทางาน ที่อาศัยสัมพันธภาพเชิงบวก บรรยากาศท่ีไม่เป็นทางการ มีการพัฒนาวิธีการ
เรียนรูข้ องศษิ ยอ์ ย่างต่อเน่ืองเป็นวงจรไม่ร้จู บ เปน็ ผลแหง่ การเรียนรจู้ ากการปฏบิ ตั ทิ ี่ทาให้ผู้เก่ียวขอ้ งเกดิ ทักษะ
การเรียนรู้ และเป็นบุคคลเรียนรู้ เป็นการพัฒนาตนเองของครูและร่วมกับสมาชิกพัฒนาซ่ึงกันและกันด้วยการ
เรยี นรรู้ ว่ มกนั ผา่ นการปฏบิ ตั ิ ซ่ึงจะชว่ ยนาไปสกู่ ารพัฒนาเรื่องอื่น ๆ ของโรงเรยี นด้วย

เครอื่ งมอื พฒั นาส่คู วามเป็นโรงเรียนสุขภาวะ ๓๘

๓๘ à¤Ã่Í× §Á×;²Ñ ¹Òʤ‹Ù ÇÒÁ໹š âçàÃÕ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ

หลกั การ
ชมุ ชนการเรียนร้มู หี ลักการสาคญั ดงั นี้

๑. การเปิดพื้นท่ีส่วนรวม หมายถึง การเปิดห้องเรียนให้ครูทุกคนรบั ทราบด้วยกันถือว่าห้องเรียน
เป็นของทกุ คน เป็นพื้นที่ส่วนรวมท่ผี ู้มีสว่ นเกย่ี วขอ้ งทุกคนเรียนรไู้ ด้ ตราบใดท่ีหอ้ งเรยี นยังเป็นของส่วนตน ก็จะ
ทาใหก้ ารจดั การเรยี นรไู้ ม่บรรลุผลตามทตี่ ้องการ

๒. ความเป็นประชาธิปไตย หมายถึง การให้ความสาคัญและปฏิบัติกับนักเรียนทุกคนอย่างเท่า
เทียมด้วยการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก ซึ่งเปน็ จุดเร่ิมต้นของการเปลีย่ นแปลงอย่างแท้จริง หรืออาจกล่าวได้ว่าการ
เปน็ ชมุ ชนการเรยี นรู้ คอื การเร่มิ จากความเทา่ เทยี มกันในทกุ ระดบั และทุกมติ ิ

๓. ความเปน็ เลศิ หมายถึง การพัฒนาเด็กตามศกั ยภาพ ไม่ได้หมายถึงต้องยอดเย่ียมเมื่อเทียบกับ
คนอ่ืน เมื่อโรงเรียนเจออุปสรรคหรือเง่ือนไขของนกั เรียนไม่ว่าแบบใด ก็สามารถรับมือกบั อุปสรรคหรือเง่ือนไข
นัน้ อย่างดีทสี่ ดุ

หลักการของชมุ ชนการเรียนรู้ในโรงเรียน

ความสาคัญ
ในศตวรรษท่ี ๒๑ การเรียนรู้ในสถานศึกษาจาเป็นต้องเปล่ียนไปจากเดิม ครูต้องเปล่ียนบทบาท
จากครูผ้สู อนมาเป็นโค้ช (Coach) หรอื ครผู ู้อานวยความสะดวกในการเรียน (Learning Facilitator) หอ้ งเรียน
ต้องเปลี่ยนจากห้องสอน (Classroom) มาเป็นห้องทางาน (Studio) ใช้การเรียนเป็นกลุ่มและทางานร่วมกัน
เปลีย่ นจากการเรยี นแบบแขง่ ขันมาเปน็ เนน้ ความร่วมมอื ช่วยเหลอื แบ่งปนั กนั ครคู ือผ้ทู าหนา้ ที่สร้างแรงบันดาลใจ สร้างความ

เคร่อื งมือพัฒนาสู่ความเป็นโรงเรียนสุขภาวะ ๓๙

à¤ÃÍ่× §ÁÍ× ¾Ñ²¹ÒÊÙ‹¤ÇÒÁ໹š âçàÃÂÕ ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ ๓๙

ท้าทาย ความสนกุ ในการเรียนให้แก่ศิษย์ โดยเน้นออกแบบโครงการใหน้ ักเรียนแบ่งกลมุ่ กันลงมือทาเพื่อเรยี นรู้
จากการลงมือทาเพอื่ ใหไ้ ด้ฝกึ ฝนทกั ษะเพื่อการดารงชวี ติ

การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านการจัดการเรียนรู้ของครูเป็นเร่ืองที่มีความท้าทายเป็นอย่างย่ิง ท้ังน้ี
การเปล่ียนแปลงใดๆ เป็นไปได้ยากที่จะทาเพียงลาพังหรือเพียงนโยบาย เพ่ือให้เกิดการขับเคลื่อนท้ังระบบ
โรงเรียนจงึ จาเป็นต้องสรา้ ง PLC ที่สอดคล้องกับธรรมชาติของครูในโรงเรียน ชุมชนท่ีสามารถขบั เคล่ือนให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงทางวิชาชีพไดน้ ้ัน จึงจาเปน็ ตอ้ งชุมชนท่สี ัมพนั ธ์กนั อย่างแน่นแฟน้ มอี ยู่รว่ มกนั อยา่ งมคี วามสุข
เออื้ อาทร มีฉันทะและศรัทธาในการทางานเพื่อนกั เรียน

การพัฒนาสู่โรงเรียนสุขภาวะ จึงเป็นการพัฒนาโรงเรียนท่ีพยายามช่วยให้ครูได้กลับมาทบทวน
เก่ียวกับวิชาชีพของตนเอง แล้วครูชวนกันทบทวนไตร่ตรองเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้หรือทักษะท่ีซับซ้อนและ
เช่ือมโยง รวมท้ังเช่ือมโยงประสบการณ์ตรงเข้ากับทฤษฎี ทาให้เกิดการเรียนรู้เชิงทฤษฎีจากการปฏิบัติ หัวใจ
สาคัญของการเปล่ียนแปลง คือเปล่ียนจากเรียนรู้จากฟังมาเป็นเรียนรู้จากการลงมือทาทั้งหมด จึงเป็น
การเปลี่ยนแปลงโรงเรียนในระดับจิตสานึกที่มุ่งการแก้ปญั หาในการจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนโดยตรง โรงเรียน
สุขภาวะที่นา PLC ไปใช้ จะช่วยเสริมพลังของครูทุกคนและเป็นกลยุทธ์สาคัญของโรงเรียน และจะพบ
การเปล่ยี นแปลงท่สี าคญั ๒ ประการ คอื

(๑) ผลดีต่อครูผู้สอน กล่าวคือ การนา PLC ไปใช้จะทาให้ครูได้พูดคุยและเข้าใจกันมากขึ้น
ลดการทางานและความรู้สึกโดดเดี่ยวของครู เพ่ิมความรู้สึกผูกพันต่อพันธกิจ และเป้าหมายของโรงเรียนมาก
ขึ้น มีความกระตือรือร้นท่ีจะสอนอย่างเข้มแข็ง มีความแตกฉานในสาระและการออกแบบกิจกรรมการจัดการ
เรียนรูม้ ากข้ึน รบั รู้ข้อมูลสาระสนเทศเพอื่ การเปล่ยี นแปลงอยู่ตลอดเวลา มีแรงบันดาลใจเพื่อจะพฒั นางานมาก
ข้นึ และมอี ตั ราการลางานน้อยลง

เครื่องมอื พฒั นาส่คู วามเป็นโรงเรียนสุขภาวะ ๔๐

๔๐ à¤Ã×่ͧÁ×;²Ñ ¹ÒÊÙ¤‹ ÇÒÁ໹š âçàÃÕÂ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ

(๒) ผลต่อผู้เรียน PLC ส่งผลให้จานวนการขาดโรงเรียนของนักเรียนน้อยลง เด็กมีความ
กระตือรือร้นสนใจจะเข้าร่วมกิจกรรมที่ทางโรงเรียนจัดข้ึน มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนที่สูงข้ึนอย่างชัดเจน
เม่ือเทยี บกับโรงเรียนแบบเดิม

องค์ประกอบ
องค์ประกอบสาคญั ของ PLC มดี งั น้ี

๑. การสร้างคา่ นยิ มและบรรทดั ฐานรว่ มกนั ท่ีจะสร้างชมุ ชนเพือ่ การแลกเปลย่ี นเรียนรู้
๒. การปฏิบัตทิ มี่ เี ป้าหมายร่วมกนั คอื การเรยี นรู้ของนกั เรียน
๓. การร่วมมือรวมพลังของสมาชิกชุมชน ท้ังร่วมวางแผน ร่วมสังเกต ร่วมลงมือปฏิบัติ และ
รว่ มแลกเปล่ยี นเรยี นรู้
๔. การเปิดรับการช้ีแนะในการสอน ในการสร้าง PLC ห้องเรียนคือห้องท่ีทุกคนไปเยี่ยมชม
การจัดการเรียนรู้ เพ่ือสังเกตการเรียนรู้ของนักเรียน หรืออาจเรียกว่าเป็นการเปิดชั้นเรียน หรือ Open Class
๕. การสนทนาท่มี งุ่ สะท้อนผลการปฏบิ ตั งิ านอย่างสม่าเสมอและต่อเน่ือง
ท้ัง ๕ องค์ประกอบน้ีถ้าเกิดข้ึนในโรงเรียนก็จัดได้ว่าเป็นส่วนสาคัญของการเป็น PLC ซ่ึงจะเกิด
จากองคป์ ระกอบใดก่อนก็ได้

ชมุ ชนการเรียนรทู้ าอยา่ งไร

กระบวนการ
กระบวนการในการสร้าง PLC เร่ิมจากคาถามเชิงคุณค่าว่า “โรงเรยี นดารงอยู่เพ่ืออะไร ทาไมจึงต้อง
มีโรงเรียนน้ี ไม่มีได้ไหม” “เม่ือมีอยู่ต้องทาอะไรให้แก่สังคม แก่ชุมชน” “อย่างไรเรียกว่าทาหน้าที่ได้ดี

เครอื่ งมือพัฒนาสคู่ วามเปน็ โรงเรียนสขุ ภาวะ ๔๑

à¤Ã×่ͧÁÍ× ¾²Ñ ¹ÒÊ‹Ù¤ÇÒÁ໚¹âçàÃÂÕ ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ ๔๑

น่าภาคภูมิใจ” และ “เราจะช่วยกันทาให้โรงเรียนของเราทาหน้าที่ได้ดีเช่นนั้น ได้อย่างไร” ซ่ึงคาตอบไม่หนีไป
จากการมคี ณุ ค่าต่อศษิ ยต์ อ่ การสร้างอนาคตใหแ้ กอ่ นชุ นร่นุ หลัง ดงั น้ี

๑. กาหนดเป้าหมายหรือฉันทะร่วมกันในด้านการจัดการเรียนรู้ เป็นจุดเร่ิมต้นสาคัญของ
การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ของครู โดยผู้บริหารโรงเรียนจะต้องมีบทบาทสาคัญในการให้ครูทั้งโรงเรียนได้
ร่วมทบทวนและกาหนดทิศทางหรือเป้าหมายเหล่าน้ันอย่างแท้จริง กรณีตัวอย่าง เช่น โรงเรียนสุขภาวะ มี
ฉนั ทะร่วมกันในการเรียนรู้ของนักเรยี นโดยทีจ่ ะจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้โดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน) เพื่อพัฒนา
ปัญญาภายนอก และการใช้กิจกรรมจิตศึกษาเป็นฐานพัฒนาปัญญาภายในหรือการที่โรงเรียนมีเป้าหมาย
ร่วมกันท่ีพัฒนาด้านการเรียนรู้ด้านการอ่านออกเขียนได้ของผู้เรียน สิ่งสาคัญของการเริ่มต้น PLC จึงเน้นไปท่ี
เปา้ หมายการเรยี นรขู้ องเดก็ เปน็ หลัก

๒. การแสวงหาแนวทางแก้ปัญหาร่วมกัน ซึ่งเร่ิมต้นจากผู้บริหารและครูในโรงเรียนร่วม
แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากเป้าหมายขององค์กรโดยนาประสบการณ์และความรู้จากการปฏิบัติหรือความรู้ท่ีฝังอยู่
จากการทางานของครูแต่ละคน (Tacit Knowledge) ถ่ายทอดและบูรณาการร่วมกันท้ังองค์กรและนาไปสู่
การปฏิบัติที่ชัดเจน และถ้าการแก้ปญั หาในบางเรอื่ งทย่ี ังไม่สามารถคลค่ี ลายอปุ สรรคเหลา่ น้ันได้ดี จาเป็นต้อง
อาศัยผู้ชี้แนะ (Coach) ที่เป็นไปตามความต้องการของครูโดยการช้ีแนะน้ันก็ต้องสอดคล้องกับบริบทของพ้ืนที่
อยา่ งแทจ้ ริง

เคร่อื งมือพฒั นาส่คู วามเปน็ โรงเรียนสุขภาวะ ๔๒

๔๒ à¤ÃÍ×่ §Á×;²Ñ ¹ÒÊ‹¤Ù ÇÒÁ໚¹âçàÃÕ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ

๓. ทบทวนผลการปฏิบัติท่ีได้ร่วมกันวางแผนพัฒนาการสอนอย่างสม่าเสมอ เม่ือคุณครูได้ร่วม
ทบทวนวธิ ที ่ีจะปฏิบตั ริ ว่ มกันกอ่ นไปสอนจรงิ (Before Action Review : BAR) ในวง PLC แลว้ มคี วามจาเป็น
อย่างย่ิงที่จะต้องนาผลปฏิบัติเหล่านั้นมาทบทวนถึงผลที่เกิดข้ัน ส่ิงที่เห็นและเรียนรู้อะไร หรืออาจเรียก
กิจกรรมนว้ี ่า การทบทวนหลังจากได้ปฏิบัติ (After Action Review : AAR) โดยในวง AAR จะเปน็ วงที่ทบทวน
การปฏิบัติ โดยบอกเล่าถึงสิ่งที่ทา และส่ิงที่ได้เรียนรู้ ส่วนเพ่ือนครูทา่ นอ่ืนก็จะได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในส่ิงท่ีเห็น
และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากเพื่อนครู วงน้ีจึงเป็นวงที่ทาอย่างต่อเน่ืองสม่าเสมอ ด้วยบรรยากาศท่ีไม่เป็นทางการ
ตัวอย่างเช่นครูจะนัดรวมกันทุกเย็นวันศุกร์ เวลา ๑๖.๐๐ น. เพ่ือมานั่งต้ังวง PLC เพื่อทบทวน
การจดั การเรียนรทู้ ่ผี ่านมาในสัปดาห์นน้ั และทบทวนสิง่ ท่จี ะปฏิบัติในสัปดาห์ตอ่ ไป

๔. ร่วมเรียนรู้จากการปฏิบัติจริงของเพ่ือนร่วมวิชาชีพ เม่ือมีเป้าหมายร่วมกันของครู การไว้เนื้อ
เชอื่ ใจต่อกัน การมสี ัมพันธภาพท่ดี ี ในวงสนทนา กจิ กรรมท้ังหลายท้งั มวลในวง PLC จงึ ไม่ใช่แคเ่ วทแี ลกเปลยี่ น
เรียนรู้ แต่รวมถึง สังเกตการสอนของเพื่อน การนาส่ือมาอธิบายในวง PLC การสร้างแรงบันดาลใจจากผู้
ประสบความสาเร็จ การสร้างความมั่นใจจากส่ิงที่ปฏิบัตินาไปสู่ทฤษฎี หรือการสร้างเครือข่ายกับครูต่าง
โรงเรียนที่มีเป้าหมายเดียวกัน กิจกรรมทั้งหลายท้ังมวลเหล่าน้ีล้วนมีเป้าหมายสาคัญ เพ่ือปรับปรุง
การจัดการเรียนรู้ของครใู ห้สผู่ เู้ รยี นอยา่ งแทจ้ ริง

เครื่องมือพัฒนาสคู่ วามเป็นโรงเรียนสขุ ภาวะ ๔๓

à¤ÃÍ่× §Á×;Ѳ¹ÒÊÙ‹¤ÇÒÁ໚¹âçàÃÕÂ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ ๔๓

๕. เผยแพร่สู่สาธารณะและสร้างเครือข่าย เม่ือกระบวนการในการพัฒนาการเรียนรู้ของเด็ก
มีความสาเร็จ วิธีท่ีจะก่อให้เกิดความย่ังยืน และแพร่ขยาย คือการนาเรื่องราวหรือกลไกเหล่าน้ันสู่สาธารณชน
ไม่ว่าจะเปน็ การเปิดให้ชมุ ชนอ่นื ได้มาศึกษาและแลกเปลี่ยนรว่ มกัน ที่สาคัญการเปิดกว้างสูส่ าธารณะคือการใช้
พน้ื ที่ของโรงเรียนเป็นแหล่งเรยี นรู้และแลกเปล่ียน ในเวลาทไ่ี ม่กระทบต่อการจดั กิจกรรมปกติของครู ซง่ึ จะทา
ให้องค์กรมีความยงั่ ยืนและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

เทคนิคของ PLC
เทคนคิ ทใี่ ช้ในการสรา้ งชุมชนการเรียนรูข้ องครูมีหลายเทคนิค เช่น

(๑) เทคนิคสุนทรียะสนทนาเพื่อการเรียนรู้ (Dialogue) ซึ่งเป็นการพูดคุยในระดับราบ เน้นการ
ฟังอย่างรูเ้ ทา่ ทันจติ ใจของตน เพ่ือขจัดการตัดสินระหว่างการฟงั

(๒) เทคนิคการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์ (Share and Learn) เป็นเทคนิคท่ีอภิปราย
ร่วมกนั อย่างสร้างสรรค์ โดยมีเจตจานงทก่ี ารเรียนรขู้ องเดก็

เคร่ืองมอื พัฒนาสู่ความเปน็ โรงเรยี นสุขภาวะ ๔๔

๔๔ à¤ÃÍ่× §ÁÍ× ¾²Ñ ¹ÒÊÙ‹¤ÇÒÁ໚¹âçàÃÂÕ ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ

(๓) เทคนิคการใช้เรอ่ื งเลา่ (Story Telling) ทีใ่ ห้ความสาคัญกบั การศกึ ษาเรื่องของผู้ใหข้ ้อมูลผ่าน
วธิ ีการเลา่ เรอ่ื ง ให้ความสาคญั กับเสียงและประสบการณ์ท่ีผ่านการเล่าเร่ืองโดยผู้ให้ข้อมูล ทาใหท้ ราบและรับรู้
ถงึ ชวี ิตของผู้ใหข้ ้อมูล

(๔) เทคนิคการทบทวนผลการปฏิบัติงาน (After Action Review : AAR) เป็นเครื่องมือถอด
บทเรียน หรือองค์ความรู้ท่ีได้จากการปฏิบัติ ไม่ว่าการปฏิบัตินั้นๆ จะประสบผลสาเร็จหรือล้มเหลว โดยมี
เป้าหมายท่ีจะเพ่ิมประสิทธิภาพของการปฏิบัติน้ันในครั้งต่อไป การทา AAR จะอยู่ในส่วนหนึ่งของวงจรแห่ง
การวางแผนการ เตรยี มความพรอ้ ม การปฏิบตั ิ และการทบทวน ซึ่งคลา้ ยกบั วงจร PDCA (Plan, Do, Check, Act)

โดย AAR จะเป็นการทบทวน
วิธีการทางานท้ังด้านความสาเร็จและ
ปัญหาที่เกิดขึ้น ทั้งน้ีไม่ใช่เพื่อค้นหาคน
ที่ทาผิดพลาดไม่ใช่การกล่าวโทษใครแต่
เป็ นก า รท บท ว นเ พื่ อแ ลก เ ปลี่ ย น
ประสบการณ์การทางานเพื่อแกป้ ญั หาท่ี
เกิดขึ้นและเพื่อไม่ให้เกิดปัญหานี้ข้ึนอีก
ในขณะเดียวกันก็คงไว้ซ่ึงวิธีการที่ดีอยู่
แล้ว โดยท่ีผู้ทบทวนจะต้องทราบถึง
เป้าหมายหรือสิ่งท่ีตั้งเป้าไว้แล้วนามา
เ ป รี ย บ เ ที ย บ กั บ ส่ิ ง ท่ี บ ร ร ลุ เ ป็ น ก า ร
ทบทวนการทางานการปฏิบัติงานของตนเองโดย ยังไมต่ ้องไปทบทวนหรอื วิพากษ์วิจารณ์การทางานของเพื่อน
ร่วมงานคนอ่ืนๆ การทา AAR จะทาเป็นระยะๆ ต่อเนื่องหรือทาเฉพาะภารกิจหลักๆในแต่ละคร้ังก็ได้ วิธีการนี้
จะทาให้สมาชิกได้มีโอกาสในการทบทวนพฤติกรรมการทางานของตนเองในกิจกรรมหน่ึงๆช่วยให้ทีมงานได้
เข้าใจในเนือ้ งานมากข้ึนและเรียนรู้จากประสบการณ์นั้นๆการที่ทีมงานได้มโี อกาสเรียนรซู้ ่ึงกันและกนั จะช่วยใน
การพัฒนาสมรรถนะการทางานได้ดขี ้ึน

นา PLC ไปใช้อย่างไร

กระบวนการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) เป็นวิธีการหนึ่งของ PLC ซึ่งมีข้ันตอนท่ีง่ายต่อ
การนาไปปฏิบัติในโรงเรียน ซึง่ มีขนั้ ตอนทสี่ าคญั ประกอบด้วย การวางแผนการสอน (Plan) การปฏบิ ตั ิการสอน
และสังเกตการเรียนรู้ (Do) และการสะท้อนการปฏิบัติงาน (See) ซ่ึงเป็นวิธีที่ถึงคุณภาพที่ห้องเรียนโดยตรง
ซงึ่ การศกึ ษาชน้ั เรียนนอ้ี าจจะเรมิ่ ตน้ อยา่ งงา่ ยที่สุด ระหวา่ งครู ๒ คน คือ ครูผสู้ อน (Model Teacher)

เครื่องมอื พฒั นาส่คู วามเป็นโรงเรยี นสุขภาวะ ๔๕

à¤Ã่×ͧÁÍ× ¾²Ñ ¹ÒÊ‹Ù¤ÇÒÁ໹š âçàÃÂÕ ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ ๔๕

กับเพอื่ นครู (Buddy Teacher) ดงั นี้ โดยมกี ระบวนการ ดังน้ี

ข้ันการวางแผนการสอน (Plan) ครูผู้สอนจะ
เลือกเนื้อหาท่ีมีปัญหาในการจัดการเรียนรู้ที่เกิดข้ึนกับ
นักเรียนของตน มาออกแบบการสอนใหม่ และรับการ
สะท้อนจากเพื่อนครู ซ่ึงในขั้นน้ีครูจะต้องเปิดใจรับการ
แลกเปล่ียนเรียนรู้ และทาการปรับปรุงกิจกรรมการ
จดั การเรยี นรู้ตามคาแนะนาที่เหมาะสมกบั บริบทของครู

ขั้นปฏิบัติการสอนและสังเกตการเรียนรู้ (Do)
ข้ันนี้ครูจะทาการสอนตามแผนที่ได้ปรับปรุงจากคาแนะนา
ของเพ่ือนครู ซึ่งในการสังเกตการณ์ผู้สังเกต จะสังเกตที่
การเรียนรู้ของผู้เรียน ว่าผู้เรียนทาอะไร คิดอะไร หรือเห็น
สิ่งใดบ้างที่เกิดกับผู้เรียน โดยไม่รบกวนการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนซ่ึงผู้สังเกตอาจใช้เครื่องมือในการบันทึกภาพถ่าย
วีดโี อได้แตไ่ ม่รบกวนการเรยี นรู้

ข้ันการสะท้อนการปฏิบัติงาน (See) ข้ันน้ีควร
ทาทันที หรือตอนเย็นในแต่ละวันหลงั จากการสังเกตการ
สอน โดยครูผู้สอนจะต้องได้เล่าความรู้สึกเก่ียวกับการ
จัดการเรียนรู้ของตนเองก่อน ว่าเห็นอะไร รู้สึกอย่างไร
เรียนรู้อะไร หลังจากนั้นผู้สังเกตจะเป็นการสะท้อนการ
สอน โดยสะท้อนที่การเรียนรู้ของเด็ก อาจะเร่ิมด้วยการ
ให้กาลังใจ และแนะนาในส่วนท่ีจะเกิดผลกับผู้เรียนดีข้ึน
โดยผู้สอนหรือเพ่ือนครูทาการบันทึกการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Logbook) เพ่ือนาไปใช้ในการปรับปรุงการจัดการ
เรยี นรตู้ อ่ ไป
ในการทากิจกรรมเปิดห้องเรียนสาหรับครู ๑ คน ควรมีโอกาสได้เปิดห้องเรียน ๒ คร้ังต่อภาคเรียน
เพ่อื ใหเ้ ห็นการเปลี่ยนแปลงทีเ่ กดิ ขึ้นในการปรบั ปรุงกิจกรรม ส่วนจะมากนอ้ ยเท่าไรสดุ แลว้ แต่ระบบการบริหาร
ของโรงเรียนในวง PLC

๔๖ เàค¤รÃอ่ืÍ่× ง§ÁมÍ×อื ¾พѲฒั ¹นÒาÊส¤Ù‹ ่คู ÇวÒาÁมà»เป¹š âน็ Ãโ§รàÃงÕÂเร¹ียÊน¢Ø สÀุขÒÇภÐาวะ ๔๖


Click to View FlipBook Version