The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เครื่องมือพัฒนาสู่ความเป็นโรงเรียนสุขภาวะ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kreethapon102, 2021-05-26 11:13:38

เครื่องมือพัฒนาสู่ความเป็นโรงเรียนสุขภาวะ

เครื่องมือพัฒนาสู่ความเป็นโรงเรียนสุขภาวะ

ความสาเรจ็ ของ PLC ประเมนิ อยา่ งไร

ความสาเร็จประเมนิ ได้ดงั น้ี
๑. โรงเรียนมภี าวะผู้นาร่วมกนั การท่ีผูบ้ ริหารโรงเรยี นใช้หลักประชาธิปไตยและการมีส่วนร่วมใน

การบริหาร กระจายอานาจ ใหค้ วามรับผิดชอบ การตัดสนิ ใจส่งเสรมิ ภาวะการณเ์ ป็นผู้นาในทมี
๒. โรงเรียนมีคา่ นยิ มและวิสัยทัศน์รว่ มที่ยดึ การเรยี นรู้ของผู้เรยี น โดยทกุ คนร่วมเป็นส่วนหน่ึงของ

การกาหนดข้อปฏิบตั ติ ่างๆ ท่เี ก่ยี วกับการจดั การเรียนรู้
๓. ทุกคนร่วมกันเรียนรู้สู่การปฏิบัติ ร่วมแบ่งปันข้อมูลสารสนเทศ และร่วมมือร่วมใจกนั วางแผน

เพื่อแก้ปญั หาและพัฒนาการจดั การจัดการเรียนรู้ ร่วมกันคน้ หาความรู้ ทักษะและกลยุทธ์ พร้อมท้ังเรยี นรู้และ
นาไปสู่การปฏิบัติงานของตน

๔. ทุกคนร่วมแบ่งปันประสบการณ์ โดยเข้าร่วมในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ เย่ียม และสังเกต
หอ้ งเรียน และใหค้ วามเหน็ ต่อการการปฏิบัตกิ ารสอน

๕. โรงเรียนจัดสภาพแวดล้อมเก้ือหนุน การให้ความเคารพ จริงใจ ยึดการแสวงหาความรู้อย่างมี
วิจารณญาณ ใชจ้ ิตวิทยาเชิงบวก ใส่ใจต่อความสัมพันธร์ ะหว่างผู้เรียน ผู้สอน และผู้บริหาร มีระบบการสื่อสาร
และจดั ตารางเวลา สถานท่ี สาหรับ PLC

เครอ่ื งมือพฒั นาสู่ความเปน็ โรงเรยี นสุขภาวะ à¤Ã×Í่ §ÁÍ× ¾²Ñ ¹Òʤً ÇÒÁ໚¹âçàÃÂÕ ¹ÊØ¢À๔ÒÇ๗Ð ๔๗

โรงเรียนสามารถประเมนิ ตนเองเกย่ี วกบั ความเปน็ PLC ได้จากแบบประเมินน้ี
แบบประเมนิ ตนเองในการเป็นชมุ ชนการเรยี นรู้ในโรงเรยี นสขุ ภาวะ

ขอใหท้ ่านพจิ ารณากจิ กรรมและรายการต่อไปนี้ โดยทาเคร่ืองหมาย ✔ ในชอ่ งมีหรือไม่มใี นโรงเรียน
ของท่าน (การเป็น PLC ควรมที กุ ชอ่ ง ถา้ พบว่ายังไม่มกี ใ็ ห้แลกเปล่ยี นเรยี นรใู้ นการสร้างกิจกรรมตามรายการ)

รายการ มี ไม่มี หมายเหตุ
๑. การสร้างคา่ นยิ มและบรรทัดฐานร่วมกัน
๑.๑ ร่วมกันกาหนดปฏทิ นิ การทา PLC
๑.๒ รว่ มสรา้ งค่านยิ มใหท้ กุ คนปฏบิ ัติตาม
๑.๓ รว่ มแบง่ ปันประสบการณ์เพ่อื เป้าหมายในการพัฒนานกั เรียน
๑.๔ รว่ มแลกเปลี่ยนเรยี นรใู้ นการแกป้ ัญหานักเรยี น
๒.การมเี ป้าหมายรว่ มกันคอื การเรียนรขู้ องนกั เรียน
๒.๑ ร่วมสรา้ งเป้าหมายทมี่ ุง่ การเรียนรู้ใหก้ บั นักเรยี นทกุ คน
๒.๒ รว่ มแลกเปลย่ี นแนวทางปฏิบัติที่ดีในการพฒั นานักเรยี น
๒.๓ ร่วมกาหนดการเปล่ยี นแปลงในการเรยี นรู้ของนกั เรยี น
๓. การร่วมมือรวมพลัง
๓.๑ สมาชิกทุกคนรว่ มมือรว่ มใจทุกขน้ั ทกุ ตอน
๓.๒ รว่ มรบั ฟังซึง่ กันและกนั
๓.๓ ผบู้ รหิ ารรว่ มวางแผนการจดั การเรียนรู้ของนักเรียน
๓.๕ สมาชกิ ทุกคนนาผลการประเมนิ ไปปรบั ปรงุ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
๔. การเปดิ รบั คาช้แี นะ
๔.๑ ครทู ุกคนมโี อกาสจดั การเรียนรู้เพ่อื ใหส้ มาชกิ ได้สังเกตครบชั่วโมงการสอน
๔.๒ มสี มาชกิ รว่ มสงั เกตห้องเรยี นครบช่วั โมงการสอน

เคร่ืองมอื พัฒนาสูค่ วามเป็นโรงเรียนสุขภาวะ ๔๘

๔๘ à¤Ã×Í่ §ÁÍ× ¾²Ñ ¹ÒÊÙ‹¤ÇÒÁ໚¹âçàÃÕ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ

รายการ มี ไมม่ ี หมายเหตุ
๔.๓ ผ้บู รหิ ารสังเกตการเรยี นการจัดการเรยี นรู้ครบชวั่ โมงการสอน
๕. การสนทนาท่มี งุ่ สะท้อนการปฏบิ ตั ิงาน
๕.๑ การรบั ฟังอยา่ งตั้งใจและการใหค้ วามคิดเหน็ เชงิ บวก
๕.๒ การนาผลการสนทนาไปทบทวนและพฒั นาอยา่ งต่อเนื่อง
๕.๓ การสอ่ื สารอยา่ งเปน็ มิตร บรรยากาศผอ่ นคลายไม่เปน็ ทางการ

สรปุ

ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) เป็นเคร่ืองมือสาคัญ
ในการพัฒนาครูท่ีสร้างการเปล่ียนแปลงและเห็นผลท่ียั่งยืนในการพัฒนาโรงเรียนสุขภาวะ โดยอาศัยการ
แลกเปล่ียนเรียนรู้ การทางานร่วมกันด้วยสัมพันธภาพท่ีดี โดยมีค่านิยมท่ีมีนักเรียนเป็นเป้าหมายสาคัญ
นอกจากผลท่ีเกิดขนึ้ จะส่งผลท่ีดตี ่อนักเรยี นแลว้ ยังช่วยทาใหโ้ รงเรียนมคี วามเขม้ แขง็ และสามารถทางานอนื่ ได้
อยา่ งมีประสิทธิภาพ

เครือ่ งมือพัฒนาส่คู วามเป็นโรงเรียนสุขภาวะ ๔๙

à¤Ã×Í่ §ÁÍ× ¾Ñ²¹ÒÊ‹Ù¤ÇÒÁ໹š âçàÃÂÕ ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ ๔๙


เครอ่ื งมอื เตรยี มผู้เรียนสกู่ ระบวนการเรียนรู้

โรงเรียนสุขภาวะใช้การเตรียมผู้เรียนสู่กระบวนการเรียนรู้เป็นเครื่องมือสาคัญในการเตรียมความ
พร้อม เตรียมสภาวะจิตของผู้เรียนให้พร้อมต่อการเรียนรู้ ขัดเกลาปัญญาด้านในของเด็กและปรับท่าทีของ
คุณครู กระบวนการดงั กลา่ วเน้นให้ผู้เรียนอยู่กบั ความเป็นจรงิ มีความเป็นอิสระ มีความสุข รักเพอ่ื นมนุษยแ์ ละ
ธรรมชาติ การเตรียมผู้เรียนสู่กระบวนการเรียนรู้มุ่งพัฒนามนุษย์อย่างเป็นองค์รวม เน้นการปฏิบัติ ฝึกฝนจริง
โดยมีเปา้ หมายเพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มและพฒั นาผูเ้ รยี นใหม้ สี ขุ ภาวะในการเรียนรู้

การเตรยี มผู้เรียนสกู่ ระบวนการเรยี นรคู้ ืออะไร

การเตรียมผู้เรียนสู่กระบวนการเรียนรู้ คือ กจิ กรรมเตรียมความพร้อมให้กับผู้เรียน เตรียมสภาวะจิตให้
พร้อมที่จะเรียนรู้ การรับรู้อารมณ์และความรู้สึกของตนเอง (รู้ตัว) และผู้อ่ืน การเห็นคุณค่าในตัวเอง คนอื่น
และสิ่งตา่ งๆ เพอื่ การดาเนินชีวิตอย่างมีเป้าหมายและมคี วามหมาย การอยู่ดว้ ยกันอย่างมีความสุข ยอมรับใน
ความแตกต่าง เคารพและให้เกียรติกัน การมีวินัย มีความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม โดยการจะเตรียม
ผู้เรียนสู่กระบวนการเรียนรู้จะทาในตอนเช้าช่วงก่อนเรียนคาบแรกของแต่ละวัน ประมาณ ๒๐ – ๓๐ นาทีและ

๕๐ เคร่ืองมอื พัฒนาสคู่ วามเปน็ โรงเรยี นสุขภาวะ ๕๐

à¤ÃÍ่× §Á×;Ѳ¹ÒÊ‹Ù¤ÇÒÁ໚¹âçàÃÂÕ ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ

ในช่วงบ่ายจะมีกิจกรรมบอดี้สแกน (Body Scan) เพื่อเตรียมคล่ืนสมองให้ต่าก่อนเรียนภาคบ่าย ประมาณ ๑๐ –
๑๕ นาทีของทุกๆ วัน เพื่อปรับจิตใจของผู้เรียนให้มีความพร้อมในการเรียน เป็นวิถีการเปล่ียนพฤติกรรมการ
จัดการเรียนการสอนของครู กิจกรรมการเตรียมผู้เรียนสู่กระบวนการเรียนรู้น้ัน ครูเตรียมความพร้อมของเด็ก
และตนเองให้พร้อมต่อการเรียนรู้ ใช้จิตวิทยาเชิงบวก ให้ครูรักเด็ก เด็กรักครู สร้างสัมพันธภาพที่ดี
มีปฏิสัมพันธ์เชิงบวกต่อกัน สร้างบรรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้และวิถีชุมชนของโรงเรียนทั้งน้ีครูผู้สอน
สามารถออกแบบหรือประยกุ ต์ ใชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน กระตุน้ ความสนใจของผ้เู รียน

การเตรียมผู้เรียนสู่กระบวนการเรียนรู้ มีผู้รู้ให้คาจากัดความแตกต่างกันไป เช่น “จิตศึกษา” หรือ
“จติ ปัญญาศึกษา” หรือ “จติ ตปัญญา” หรือ “จติ สานกึ ใหม่” หรอื “การพฒั นาปัญญาภายใน” จงึ เปน็ วาท
กรรมที่นาคนในยุคปัจจุบันหันหน้าเข้าหาสัจธรรม ด้วยวิธีการท่ีสามารถเชื่อมโยงเอาคุณค่าของโลกวิชาการ
ท่ีสอนให้คนชานาญเร่ืองการคิดวิเคราะห์ เรื่องนอกตัว ได้กลับเข้ามาหาการดูจิต ซ่ึงเป็นเร่ืองขา้ งในตัวได้อย่าง
กลมกลืน เพ่ือก้าวสู่หนทางแห่งความจริงและชีวิต ซึ่งต้องอาศัยการเรียนรู้ด้วยใจอย่างใคร่ครวญ และการ
เปลี่ยนแปลงท่ีสร้างอิสรภาพแห่งความสุข ความรักอันไพศาลทั้งกับตน ผู้คนรอบข้าง ตลอดจนองค์กรและ
สงั คมทมี่ นุษยท์ ่ีสมั พันธเ์ กย่ี วเนื่องกบั ธรรมชาติ กรณีผู้เรียนก็เพื่อทาใหเ้ กดิ ความพรอ้ มสู่กระบวนการเรียนรูแ้ ละ
รู้เท่าทันต่ออารมณ์ความรู้สึกของตนเองและผู้อ่ืน แยกแยะสาเหตุและเข้าถึงความจริง ทาให้เกิดการเปล่ียน
มุมมองเกยี่ วกับโลกและผอู้ นื่ จากดา้ นในเกิดความสขุ ปญั ญา และความรกั ตอ่ เพือ่ นมนษุ ย์และสรรพส่ิง

หลักการเตรยี มผ้เู รียนส่กู ระบวนการเรียนรู้

โรงเรียนสุขภาวะได้นาแนวคิดและกระบวนการพัฒนาท้ังครูและเด็กให้เกิดการเรียนรู้และงอกงาม
ด้านความฉลาดทางด้านอารมณ์และความฉลาดด้านจิตวิญญาณ โดยใช้กระบวนการที่เรียกว่า การเตรียม
ผู้เรียนสู่กระบวนการเรียนรู้ มาประยุกต์ใช้ท่ีโรงเรียนสุขภาวะต้ังแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๖ จนถึงปัจจุบัน
โดยกระบวนการ ๓ องค์ประกอบ คือ ใช้กจิ กรรม จิตวทิ ยาเชิงบวกของครู (Growth Mindset) และการปฏบิ ัติ
ใหเ้ ป็นประจา มีรายละเอียดดงั นี้

๑. ใชก้ ิจกรรม
ครูเตรียมความพร้อมให้ผู้เรียนด้วยการจัดกระทาผ่านกิจกรรมการเตรียมผู้เรียนสู่กระบวนการ

เรยี นรู้ ใชก้ ิจกรรมเป็นตัวเชอ่ื มท่ีจะไปถึง จิตวิทยาเชิงบวกของครู และการปฏิบตั ิให้เป็นประจา เพราะกิจกรรม
เน้นการลงมือปฏิบัติจะเริ่มในคาบเวลาของ “การเตรียมผู้เรียนสู่กระบวนการเรียนรู้” ในภาคเช้าของทุกวัน
กล่าวคือหลังเข้าแถวเคารพธงชาติเสร็จเรียบร้อยแล้ว โดยใช้เวลา ประมาณ ๒๐ - ๓๐ นาที ในภาคเช้าก่อน
การจดั กระบวนการเรยี นการสอนวชิ าอื่นทุกวัน ทุกระดับชน้ั ตวั อยา่ งกิจกรรม เช่น

เคร่ืองมอื พฒั นาสคู่ วามเป็นโรงเรยี นสุขภาวะ ๕๑

à¤ÃÍ×่ §ÁÍ× ¾Ñ²¹Òʤ‹Ù ÇÒÁ໹š âçàÃÂÕ ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ ๕๑

๑.๑ กิจกรรมมุ่งให้เกิดสติ เพ่ือให้ผู้เรียนกลับมารู้ตัวรู้เท่าทันอารมณ์ ว่าควรหยุดหรือจะทา
กิจกรรมนั้นต่อผ่านกิจกรรม Brain Gym เดินต่อเท้า ไปข้างหน้าและเดินถอยหลัง จีบ L ต้ังตะเกียบ บิงโก
ตัก ตัก มือ Password เป็นต้น เมื่อผู้เรียนทากิจกรรมคล่องและชานาญแล้วก็จะมีการนาเพลง สูตรคูณบท
ทอ่ งจา ประกอบท่าทางเพือ่ ให้ผ้เู รียนมีสติและไม่เบื่อ เกดิ ความสนกุ สนานด้วย

๑.๒ กิจกรรมฝึกสมาธิหรือการจดจ่อ เป็นกิจกรรมเพ่ือให้ผู้เรียนมีสมาธิท่ียาวขึ้น เช่น
การส่งนา้ ส่งเทียน การคีบเมด็ ยาง คีบเมด็ มะขาม ในระหว่างท่ีสง่ อาจมีการกล่าวขอบคณุ ผทู้ ีท่ าส่งิ ดีๆ ใหก้ ับ
เราหรือเราได้ทาสิ่งดีๆ อะไรบ้างเป็นการนอบน้อมต่อสรรพสิ่ง เกิดความรักในส่ิงต่างๆ ท่ีอยู่รอบตัว มีคุณค่า
ในตัวเอง ฝึกฝนคุณธรรมจริยธรรมผ่านกิจกรรม เช่นการไหว้ ความอดทน มีน้าใจ โดยไม่ต้องสอนคุณธรรม
จริยธรรม

เครอ่ื งมือพฒั นาสู่ความเปน็ โรงเรยี นสุขภาวะ ๕๒

๕๒ à¤Ã่×ͧÁÍ× ¾Ñ²¹Òʤ‹Ù ÇÒÁ໚¹âçàÃÕ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ

๑.๓ กจิ กรรมส่งเสริมพลังสงบ เปน็ กจิ กรรมทม่ี งุ่ ใหเ้ กิดความผอ่ นคลาย เชน่ โยคะ การทา
Body Scan เพอื่ ทาให้คลน่ื สมองตา่ โดยการเปิดเพลงเบาๆ เล่านิทาน สอดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรม หรือ
ส่ิงดีๆ ในช่วงท่ผี เู้ รียนกงึ่ หลับกง่ึ ตน่ื ซง่ึ ในช่วงนผี้ ูเ้ รยี นจะรบั รู้ได้ดี เพื่อเป็นการเปดิ สมองท่ีจะเรียนในชว่ งบ่าย

๑.๔ กิจกรรมท่ีมุ่งบ่มเพาะพลังความรักความเมตตา เช่น การไหว้กันและไหว้สิ่งต่างๆ
การกอด การขอบคุณกนั และขอบคุณสง่ิ ต่างๆ การยกยอ่ งชนื่ ชมความดงี ามของคนอน่ื ๆ เปน็ ตน้

๑.๕ กิจกรรมฝึกความคิดสร้างสรรคแ์ ละกลา้ แสดงออก เชน่ เลา่ เรือ่ งจากภาพ การต่อภาพ
จากเม็ดยาง ตะเกยี บ แล้วให้ผู้เรียนบอกความรู้สึกจากภาพที่ต่อวา่ ทาไมต้องต่อเป็นภาพน้ี จากนั้นใหเ้ ลา่ เรือ่ ง
จากภาพทต่ี ่อโดยเช่อื มโยงใหเ้ ป็นเร่อื งเดียวกัน เพ่ือฝกึ ทักษะกระบวนการคดิ กลา้ พดู กล้าแสดงออกของผู้เรยี น

เครื่องมอื พัฒนาสู่ความเป็นโรงเรียนสุขภาวะ ๕๓

à¤Ã×่ͧÁ×;²Ñ ¹Òʤً ÇÒÁ໹š âçàÃÂÕ ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ ๕๓

เพื่อให้เห็นเป็นรูปธรรมในช่วงพัฒนาการเตรียมผู้เรียนสู่กระบวนการเรียนรู้ใหม่ๆ อาจออกแบบ
กิจกรรมดงั ตวั อย่างตารางกิจกรรมในโรงเรียนสขุ ภาวะทัว่ ไป ดงั นี้

วัน เชา้ (๐๘.๓๐-๐๙.๐๐ น.) บา่ ย (๑๓.๐๕-๑๓.๒๐น.)

จนั ทร์ วัสดุธรรมชาติ ส่ือ อปุ กรณต์ า่ งๆ Body Scan

อังคาร โยคะ BBL เคลอ่ื นไหวรา่ งกายอยา่ งมีสติ Body Scan

พธุ บูรณาการวิชาต่างๆ คณติ ไทย E วิทย์ Body Scan

พฤหัสบดี ดนตรี ศิลปะ Body Scan

ศกุ ร์ วรรณกรรม นทิ าน เร่ืองเล่า ประสบการณ์ Body Scan

๒. การใชจ้ ติ วทิ ยาเชิงบวกของครู
จิตวิทยาเชิงบวก เป็นการพัฒนาบุคลิกภาพของมนุษย์ให้มีความสุข โดยมีพื้นฐานมาจากการ

พัฒนาตนเอง เป็นคนดี และมองโลกในแง่ดี สาหรับแนวคิดโรงเรียนสุขภาวะ คุณครูใช้จิตวิทยาเชิงบวก
เพ่ือสร้างแบบที่ดีอย่างด้วยการไม่เปรียบเทียบชิงดีชิงเด่นหรือตีค่า ในสิ่งท่ีผู้เรียนเป็นหรือผู้เรียนทา ลดการ
ตัดสินผู้เรียนด้วยด้านลบไม่สร้างความกลัวหรือการลงโทษด้วยความรุนแรง นอกจากนั้นยังเน้นการเห็นคุณค่า
ความเป็นมนุษย์ เคารพ ให้เกียรติ สรา้ งศรัทธา ส่งเสริมภาพลักษณด์ ้านบวก สร้างคุณคา่ ความสามารถและให้
ความรักกบั ผ้เู รียนทกุ คน ซง่ึ จติ วิทยาเชิงบวกของครกู ค็ อื ครทู ี่มี Growth Mindset นั่นเอง

เคร่ืองมอื พัฒนาสู่ความเป็นโรงเรียนสขุ ภาวะ ๕๔

๕๔ à¤Ã×่ͧÁÍ× ¾²Ñ ¹ÒÊ‹Ù¤ÇÒÁ໹š âçàÃÕ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ

กรอบคิดทางจิตวิทยาเชิงบวก คือ ศรัทธาในความดีงามของมนุษย์และบ่มเพาะผู้เรียนให้มีคุณค่าที่ดี
งามซึ่งมีอยู่แล้วให้งอกงามยิ่งขึ้น โดยปฏิบัติต่อผู้เรียนอย่างมนุษย์ท่ีมีคุณค่าและมีศักด์ิศรีเท่าเทียมกัน โดยมี
หลักอยสู่ องประการ คือสงิ่ ท่คี วรลดหรือเลกิ และส่งิ ทค่ี วรทา ดงั น้ี

ส่ิงท่ีควรลดหรอื เลกิ ไดแ้ ก่
๑. ลดการสร้างภาพของความกลวั เพอ่ื การควบคุม ความกลัวกระตุ้นการทางานของสมองทา

ให้เด็กเข้าสู่โหมดปกป้อง (สมองส่วนหน้า) หลบหลีกจากส่ิงท่ีจะทาให้เจ็บปวด สิ่งคุกคาม หรือภัยอันตราย
ซึง่ เปน็ อปุ สรรคต่อการเรยี นรู้ เพราะทาใหเ้ ด็กไมก่ ลา้ เผชญิ กบั สิง่ นัน้

๒. ลดการเปรียบเทียบ ครูไม่ควรเปรียบเทียบเด็กๆ ไม่ว่าจะโดยการพูดหรือการกระทา
เพราะไม่มีใครอยากถูกเปรียบเทียบว่าตนเองเป็นผู้ที่ด้อยค่ากว่า เด็กทุกคนแสดงพฤติกรรมออกมาอย่างเป็น
ธรรมชาติของตัวเองจึงไม่ควรเปรียบเทียบพฤติกรรมท่ีต้องแก้ไขควรกระทาต่อเขาโดยตรงโดยไม่เปรียบเทียบ
กับคนอื่น

๓. ลดการตีค่า การตัดสิน และการชี้โทษ เด็กทุกคนทาช้ินงานออกมาตามศักยภาพของ
ตนเองอยา่ งไม่เสแสร้ง งานท่ีออกมาจะบอกถงึ ส่ิงที่เด็กรู้ สงิ่ ทเ่ี ข้าใจหรือความสามารถของเด็ก ครมู ีหน้าที่ต้อง
รู้ว่ายังเหลือส่วนใดบ้างท่ีเด็กแต่ละคนยังไม่เข้าใจหรือยังไม่มีความสามารถเพื่อจะได้ช่วยยกระดับเร่ืองน้ันให้
สูงขึน้

ส่งิ ที่ควรทา ได้แก่
การปรับพฤติกรรมเชิงบวก พฤติกรรมด้านลบที่แสดงออกมานั้นอาจสืบเนื่องมาจากการ

ทางานของสมอง ซึ่งจะแสดงออกอยา่ งอัตโนมัตเิ ม่อื อยู่ในภาวะกังวล ตระหนกหรือกลัว ทัง้ นเ้ี พื่อปกปอ้ งตนเอง
ส่วนพฤติกรรมที่แสดงออกด้วยอารมณ์ทางบวกหรือด้านของความดีงามมาจากการทางานของสมองส่วนหน้า
แต่ด้วยการทางานของสมองสองส่วนท่ีเป็นปฏิภาคกัน นั่นคือเม่ือสมองส่วนหน้าทางาน สมองอีกส่วนจะไม่
ทางานหรอื แบบตรงกันข้าม เราจงึ มีโอกาสท่ีจะฝึกฝนให้สมองส่วนหน้าได้ทางานเพื่อให้เด็กๆ ได้แสดงออกด้าน
บวกหรอื ดา้ นดงี ามมากยง่ิ ข้นึ โดยเด็กรู้ตัว ให้การเรียนรู้และให้การฝึกฝน

ตัวอย่าง การใช้จิตวทิ ยาเชงิ บวก เชน่ เม่ือ
ผเู้ รียนมาโรงเรียนสายแทนที่ครูจะทาโทษด้วยความรุนแรง
ครูกลับใช้วิธีการตั้งคาถามให้ผู้เรียนอธบิ ายสาเหตุที่มาสาย
และให้คิดวิธีการที่จะมาโรงเรียนให้ทันเวลาในวันต่อไป
เพื่อฝึกให้คิดทบทวน รู้ตัวและพยายามปรับปรุงแก้ไข
พฤตกิ รรมด้วยตนเอง แลว้ ครกู จ็ ะคอยชืน่ ชมและใหก้ าลังใจ
ในความพยายามหรือการเปล่ียนแปลงในทางท่ีดีขึ้นของ
ผู้เรียน

เครอื่ งมือพัฒนาสคู่ วามเป็นโรงเรียนสุขภาวะ ๕๕

à¤Ã×่ͧÁ×;Ѳ¹ÒÊ‹Ù¤ÇÒÁ໹š âçàÃÂÕ ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ ๕๕

๓. การปฏิบัติใหเ้ ป็นประจา
การปฏิบัติให้เป็นประจาของการเตรียมผู้เรียนสู่กระบวนการเรียนรู้น้ี เป็นการปฏิบัติร่วมกันของ

ครูในโรงเรียนอย่างกลมกลนื ต่อเน่ืองและสมา่ เสมอ จนกลายเปน็ วฒั นธรรมของโรงเรียนเกิดความตระหนักกับ
บุคคลทุกระดับ การเตรียมผู้เรียนสู่กระบวนการเรียนรู้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาผู้เรียนและตนเองใน
สภาพแวดล้อมที่สะอาด ร่มรื่น สวยงาม ปลอดภัย สร้างความเป็นกัลยาณมิตรท่ีดีของครู การปฏิบัติให้เป็น
ประจาเริ่มต้ังแต่การจัดสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนท่ีเหมาะสมและเอ้ือต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน มีครูท่ีเป็น
กัลยาณมิตรที่คอยเกื้อหนุนให้คาแนะนาและให้ความรักความเมตตาเสมอ ความรู้สึกปลอดภัยของเด็ก
มีแรงจูงใจเชิงบวก โรงเรียนเริ่มสร้างวัฒนธรรมองค์กรท่ีดี มีการปฏิบัติจริงสร้างความเป็นชุมชนและวิถีของ
โรงเรียน

การทาการเตรียมผู้เรียนสู่กระบวนการเรียนรู้แต่ละกิจกรรมจะต้องทาอย่างมีความหมาย
มีเหตุผลและคงเส้นคงวา ในขณะเดียวกันโรงเรียนยังต้องตระหนักอยู่เสมอว่าผู้ปกครองผู้เรียนทุกคนมีส่วน
เก้ือกูลต่อความก้าวหน้าของเด็ก การสร้างความเข้าใจอย่างต่อเน่ืองด้วยวิธีการอย่างหลากหลาย จะช่วยให้
ผปู้ กครองเห็นความสาคัญต่อการพัฒนาในเชงิ จิตวิญญาณซึ่งเป็นสิ่งนามธรรม ในทสี่ ุดผ้ปู กครองจะเข้ามามาก
ข้ึน พร้อมท่ีจะเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนโรงเรียน เม่ือผู้ปกครองได้เรียนรู้วิถีชุมชนโรงเรียนจากบทเรียน
ท่เี กดิ ขนึ้ จรงิ ภายในโรงเรียน ผู้ปกครองก็จะนากลับไปสชู่ ุมชนจริงของตนเอง เพ่ือให้เกิดความยั่งยืนและเป็นวิถี
ชุมชน ต้องมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกัน โรงเรียนสุขภาวะได้กาหนดมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สม่าเสมอ
อย่างน้อยสัปดาห์ละ ๑ ครั้ง ข้ึนอยู่กับสภาพบริบทของแต่ละโรงเรียน เพ่ือให้ครูเรียนรู้ไปด้วยกัน ครูไม่
จาเป็นต้องเก่งต้ังแตแ่ รก ครสู ามารถรวมตัวกนั เพื่อแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนอื่ ง ไม่ว่าจะเป็น
PLC ในโรงเรียน ข้ามโรงเรียน ข้ามเขต ข้ามจังหวัด สาหรับครูจะเห็นคุณค่าของตนเอง คุณค่าของวิชาชีพครู

เครื่องมือพฒั นาส่คู วามเปน็ โรงเรียนสุขภาวะ ๕๖

๕๖ à¤Ã×่ͧÁ×;²Ñ ¹Òʤ‹Ù ÇÒÁ໹š âçàÃÕÂ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ

มีความสุขที่ได้เห็นผู้เรียนพัฒนา เข้าถึงสุขภาวะทางจิตวิญญาณและเข้าถึงจิตวิญญาณความเป็นครู เพ่ือให้
มองเหน็ ภาพการสรา้ งวถิ ีชุมชนของโรงเรียนสขุ ภาวะ

ตัวอย่าง การสร้างวิถีของของโรงเรียนสุขภาวะ เช่น การตั้งกติการ่วมกันในการไม่ด่ืมน้าอัดลมและ
นา้ หวานในโรงเรียน ทุกคนในโรงเรียนจะต้องชว่ ยกันรักษากติกา ไม่วา่ จะเป็นผบู้ ริหาร ครู และผู้เรียนล้วนต้อง
ปฏิบัติเหมือนกนั เมือ่ ผู้เรยี นปฏิบัติจนคุ้นเคยแล้วกจ็ ะขยายไปปฏบิ ัตใิ นครอบครัวและชุมชนต่อไป

จากหลักการเตรียมผู้เรียนสู่กระบวนการเรียนรู้ ๓ ประการที่กล่าวมาข้างต้น สามารถสรุปเป็น
แผนภาพหลักการเตรยี มผู้เรยี นสูก่ ระบวนการเรยี นรู้ในโรงเรยี นสุขภาวะได้ดังนี้

แผนภาพ หลกั การเตรียมผเู้ รยี นสกู่ ระบวนการเรยี นรู้ในโรงเรียนสขุ ภาวะ

เครื่องมือพัฒนาส่คู วามเปน็ โรงเรียนสุขภาวะ ๕๗

à¤Ã่Í× §ÁÍ× ¾²Ñ ¹ÒÊÙ‹¤ÇÒÁ໹š âçàÃÕ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ ๕๗

ข้นั ตอนการออกแบบการเตรยี มผเู้ รียนสู่กระบวนการเรียนรู้

โรงเรียนท่ีจะนาการเตรียมผู้เรียนสู่กระบวนการเรียนรู้ไปใช้เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับผู้เรียน
เรม่ิ ต้นจากผู้บรหิ ารสถานศึกษาและครูมานั่งคยุ กับถึงโครงสร้างหลกั สูตร ปรับปรุงตารางเรียนตารางสอนให้เอื้อ
ต่อการจัดการเรียนรู้ท่ีได้ออกแบบไว้ มีตารางกิจกรรมที่ชัดเจนและบูรณาการ เพื่อสร้างความเป็นวิถีชุมชน
ในโรงเรียน การปรับตารางเรียนตารางสอนของห้องเรียนให้มีช่วงเวลาให้ครูกับนักเรียนได้ทากิจกรรม
การเตรียมผู้เรียนสู่กระบวนการเรียนรู้ ทาจนเป็นเร่ืองปกติ ยกตัวอย่างตารางเรียนให้เห็นเป็นรูปธรรมมากขึ้น
เชน่

มีขน้ั ตอนมีดังนี้
๑. ครูต้องมีความรู้ความเข้าใจของกระบวนทัศน์ของการเตรียมผู้เรียนสู่กระบวนการเรียนรู้

โดยการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการจากผูท้ ไ่ี ด้ลงมือปฏิบตั จิ ริงหรอื มีประสบการณ์มาก่อน
๒. ครูออกแบบกิจกรรมการเตรียมผเู้ รียนสู่กระบวนการเรยี นรู้สอดคล้องกับเป้าหมายต่างๆ

เตรยี มความพรอ้ มของผู้เรียน เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ ซ่ึงมีท้งั แบบใชอ้ ุปกรณ์ประกอบหรือแบบไมม่ อี ุปกรณ์
๓. เม่อื ครูออกแบบกจิ กรรมการเตรยี มผูเ้ รียนสูก่ ระบวนการเรียนรู้แล้วต้องนาไปทดลองใช้กับผเู้ รยี นจริง
๔. นาการเตรยี มผู้เรียนสู่กระบวนการเรยี นรู้ท่ีไปทดลองใช้มาปรบั ปรงุ แก้ไขใหม้ ีความเหมาะสมมากข้ึน
๕. นาการเตรียมผเู้ รียนสู่กระบวนการเรียนรมู้ าแลกเรยี นรู้และเผยแพร่กับครูชัน้ อน่ื ๆ

เครอื่ งมือพัฒนาสคู่ วามเป็นโรงเรียนสขุ ภาวะ ๕๘

๕๘ à¤ÃÍ×่ §Á×;Ѳ¹ÒÊ‹Ù¤ÇÒÁ໚¹âçàÃÕ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ

ครูในโรงเรียนสุขภาวะจะมีการออกแบบกิจกรรมการเตรียมผู้เรียนสู่กระบวนการเรียนรู้ที่แปลกใหม่
และให้สอดคล้องกับผู้เรียนอย่างสม่าเสมอ แล้วครูจะมีการนาเอาการเตรียมผู้เรียนสู่กระบวนการเรียนรู้ที่
ออกแบบมาแลกเปลยี่ นเรยี นร้กู ันในวง PLC แล้วเพ่ือนครคู นอื่นๆ ก็นาไปปรับใช้ทหี่ อ้ งเรยี น ยกตัวอย่างเชน่ ถ้า
โรงเรียนหนึ่งมีครู ๑๒ คน ออกแบบการเตรียมผู้เรียนสู่กระบวนการเรียนรู้คนละ ๒ กิจกรรม แล้วนามา
แลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยคนออกแบบเป็นคนนาวง ๒ กิจกรรมท่ีตัวเองออกแบบและให้เพ่ือนครูคนอื่นๆ เรียนรู้
โรงเรียนนี้จะได้กิจกรรมการเตรียมผู้เรียนสู่กระบวนการเรียนรู้ ๒๔ กิจกรรม โดยท่ีครูออกแบบจริงคนละ ๒
กิจกรรมเท่าน้ัน นอกจากเป็นการประหยัดเวลา แล้วครูยังได้เรียนรู้ร่วมกันและวิพากษ์กิจกรรมการเตรียม
ผเู้ รียนสู่กระบวนการเรยี นรเู้ พ่ิมเตมิ ให้ดียิง่ ขึ้นและเหมาะสมกับผูเ้ รียนตามชว่ งวัยมากขึน้

เพ่ือให้เห็นเป็นตัวอย่างที่ชัดเจน จะได้ยกตัวอย่างรูปแบบออกแบบกิจกรรมการเตรียมผู้เรียนสู่
กระบวนการเรยี นรู้ ดังน้ี

เครอ่ื งมือพฒั นาส่คู วามเป็นโรงเรียนสขุ ภาวะ ๕๙

à¤ÃÍ×่ §Á×;Ѳ¹Òʤً ÇÒÁ໹š âçàÃÂÕ ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ ๕๙

๑. ชือ่ กิจกรรม...................................................................................................................
๒. เปา้ หมายของกิจกรรม..................................................................................................
๓. สื่อ/อปุ กรณ์..................................................................................................................
๔. การจดั กิจกรรม (๒๐-๓๐ นาท)ี

ขัน้ นา (๓-๕ นาที)
............................................................................................................................. .............
..........................................................................................................................................

ข้นั กจิ กรรม (๑๕-๒๕ นาท)ี
............................................................................................ ..............................................
............................................................................................................................. .............

ขั้นสรปุ (๓-๕ นาท)ี
..........................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............
๕. ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติม/เงอ่ื นไขการนาไปใช้
............................................................................................................................. .............
..........................................................................................................................................

ตวั อยา่ งการออกแบบการเตรียมผู้เรยี นสู่กระบวนการเรียนรู้ ๖๐

เคร่อื งมือพัฒนาสู่ความเป็นโรงเรยี นสขุ ภาวะ

๖๐ à¤Ã่×ͧÁ×;²Ñ ¹ÒÊÙ¤‹ ÇÒÁ໹š âçàÃÂÕ ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ

ช่ือกจิ กรรม จับคพู่ าเพลิน
เปา้ หมาย

๑. เพื่อให้นักเรยี นเกิดสมาธิเตรยี มความพร้อมท่ีจะเรยี น

๒. เพอ่ื ให้นกั เรยี นเกดิ การจดจ่อกับกจิ กรรมจับคู่พาเพลิน

๓. เพื่อฝกึ ประสาทสัมผัสท่ีดีของตวั ผู้เรียน
4. เพื่อใหน้ กั เรียนไดเ้ รียนรูส้ ่วนประกอบต่างๆ ของอวัยวะภายนอกของร่างกาย
สอ่ื /อุปกรณ์
๑. กระดาษลังนมหรือเศษฟวิ เจอรบ์ อรด์ เกา่
๒. ถ้วยปีโป้
การจดั กจิ กรรม
ขั้นนา
๑.นักเรียนและครูนั่งเปน็ วงกลม ครูพานกั เรยี นร้องเพลง ร่างกายของเรา

๒. ครูสร้างข้อตกลงกับนักเรียนในการทากิจกรรมการเตรียมผู้เรียนสู่กระบวนการเรียนรู้โดยครูพา

นกั เรียนรอ้ งเพลง รา่ งกายเพอื่ เรยี กสตแิ ละสมาธใิ หก้ บั นักเรยี นเพ่อื พรอ้ มในการทากิจกรรมต่อไป
ขนั้ กจิ กรรม
๑. ครูผู้นาวงเล่าถึงชื่อกิจกรรมการเตรียมผู้เรียนสู่กระบวนการเรียนรู้ จับคู่พาเพลิน ขั้นตอนและ

วิธกี ารเล่นกิจกรรมการเตรียมผู้เรยี นสูก่ ระบวนการเรยี นรู้
๒. ครูสาธิตวิธีการเล่น จับคู่พา

เพลนิ โดยครูจะจบั ถว้ ยปีโปม้ าหนงึ่ ถ้วย ว่า

ได้ภาพอะไรในถ้วยปีโป้และตรงกันกับ
ภาพในตารางท่ีวางถ้วยหรือไม่ ถ้าไม่

เหมือนกันก็ให้เปิดหาและวางให้ตรงกับ

ภาพในตารางถ้วยปีโป้
๓. ครูให้นักเรียนเล่นกิจกรรม

เป็นคู่เพ่ือให้นักเรียนรู้จักช่วยเหลือและทา

กิจกรรมร่วมกัน สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อ
เพ่อื นๆในห้องเรยี น

ขน้ั สรปุ
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนากันภายในวงว่าจากการที่นกั เรียนไดท้ ากจิ กรรม จบั คู่พาเพลินแลว้ น้ัน
นักเรียนไดเ้ รยี นรู้อะไรบ้าง ครูสรุปถงึ กจิ กรรมการเตรียมผูเ้ รียนสู่กระบวนการเรียนรู้ จับคพู่ าเพลินไดด้ ังน้ี

เครอ่ื งมอื พัฒนาสคู่ วามเป็นโรงเรียนสุขภาวะ ๖๑

à¤Ã×่ͧÁÍ× ¾Ñ²¹ÒÊÙ‹¤ÇÒÁ໚¹âçàÃÕÂ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ ๖๑

๑. นักเรียนเกิดสมาธิพร้อมที่จะเรียนในการทากิจกรรมการเตรียมผู้เรียนสู่กระบวนการเรียนรู้และ
มีความพรอ้ มท่ีจะเรยี นร้ตู ่อไป

๒. นกั เรียนเกดิ การจดจ่อขณะท่ีเราทากิจกรรมการเตรยี มผ้เู รยี นส่กู ระบวนการเรียนรู้
๓. นกั เรียนมปี ระสาทสมั ผสั ทดี่ ีขึ้น
๔. นักเรียนได้เรียนรู้ส่วนประกอบของอวัยวะภายนอกของร่างกายเราที่สามารถมองเห็นได้ด้วย
ตาเปลา่
ข้อเสนอแนะเพิ่มเตมิ
๑. ครูสามารถทาเป็นสองภาษาได้ เช่น ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพ่ือให้นักเรียนได้เรียนรู้
ที่หลากหลาย
๒. ครสู ามารถทาเป็นตารางเพิ่มให้มากกว่านเ้ี พอ่ื จบั คู่ปโี ปเ้ ปน็ คๆู่ ได้
๓. กิจกรรมนีส้ ามารถนาไปประยุกตไ์ ด้หลายวิชา เช่น ภาษาไทย คณิตศาสตร์ อังกฤษ การงานและ
เทคโนโลยีได้

ผลจากการจัดทากจิ กรรมการเตรยี มผูเ้ รยี นสกู่ ระบวนการเรียนรกู้ ับนักเรยี น
หลังจากการทากิจกรรมพบว่านักเรียนมีความสนใจในการเรียนมากข้ึน มีความกระตือรือร้นเพ่ือหา

คาตอบ มคี วามต้งั ใจ รู้จักการสังเกตมากขน้ึ รจู้ กั การช่วยเหลือเพ่ือนและสามารถที่จะสอนเพื่อนๆได้

ช่ือกิจกรรม ทอยลกู เต๋าคาหรรษา
เปา้ หมาย

๑. เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดสมาธิเตรียมความพร้อมท่ีจะเรียนรู้

๒. เพื่อใหผ้ ูเ้ รียนมใี จจดจ่ออยู่กบั สง่ิ ท่ที า

๓. เพ่ือสรา้ งเสรมิ ทักษะการอ่าน

๔. เพ่ือความสนุกสนานของนักเรยี น

สอ่ื /อุปกรณ์
๑. ลกู เต๋าคาหรรษา

๒. กระจาดใส่ลกู เตา๋ คาหรรษา

การจดั กิจกรรม
ข้นั นา
๑. นักเรียนน่ังเป็นวงกลม แล้วกลา่ วสวัสดีพรอ้ มกันอยา่ งนอบน้อม

๒. ครูทาข้อตกลงกับนกั เรยี นวา่ ในการทากจิ กรรมนีต้ อ้ งใชส้ มาธใิ นการนับเลข

๑ – ๕๐ และฝึกการอา่ นของนกั เรียน ควรตั้งใจในการทากจิ กรรมนดี้ ว้ ย

เครอื่ งมอื พฒั นาสคู่ วามเป็นโรงเรียนสุขภาวะ ๖๒

๖๒ à¤ÃÍ×่ §ÁÍ× ¾²Ñ ¹ÒÊÙ¤‹ ÇÒÁ໚¹âçàÃÂÕ ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ

ข้ันกิจกรรม
๑. ครูนากระจาดใส่ลูกเต๋าคาหรรษา ท่ีเตรียมไว้แล้ว มาว่างไว้หน้าตัวเอง ให้นักเรียนทายว่า คืออะไร
(เพื่อดงึ ดดู ความสนใจของนักเรยี น)
๒. ครูส่งกล่องไปทางซ้ายมือ พร้อมกับร้องเพลงและส่งกระจาดใส่ลูกเต๋าคาหรรษา ไปเร่ือยๆ ครูส่ัง
หยุดกระจาดใส่ลูกเต๋าคาหรรษาต้องหยุด แล้วหยิบลูกเต๋าขึ้นมาหน่ึงลูกแล้วทอยลงไปข้ึนคาว่าอะไรต้องอ่าน
พรอ้ มสะกดคาแบบแจกลูกใหเ้ พ่ือนอ่านตาม
๓. ถา้ นักเรียนคนนนั้ อ่านไม่ได้ ใหค้ รอู า่ นให้พรอ้ มกบั สะกดคาแบบแจกลกู แล้วใหน้ ักเรียนในวงอา่ นตาม
๔. ปฏบิ ตั ิแบบนไี้ ปเรื่อยๆ จนกวา่ จะหมดทกุ คนหรอื อาจจะตามเวลาที่กาหนดในการทากจิ กรรมแตล่ ะอย่าง
ขัน้ สรปุ
นกั เรียนและครสู นทนากันในวง วา่ จากการทีป่ ฏบิ ัติกจิ กรรมนแ้ี ลว้ เกดิ อะไรขึ้นบ้าง สรุปได้ดังน้ี
๑. นกั เรยี นมีสมาธใิ นการทากจิ กรรมและพรอ้ มท่จี ะเรยี นรู้
๒. นักเรยี นมีใจจดจอ่ อยู่กับส่งิ ทีท่ า เพราะกลัวจะไดค้ าทอ่ี า่ นไมไ่ ด้
๓. นักเรยี นมคี วามสนกุ สนานในการทากจิ กรรมและมคี วามท้าทายในการเล่น
ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เติม/เงอ่ื นไขการนาไปใช้
๑. เปลี่ยนจากเพลงมาเป็นการนับก็ไดเ้ พือ่ เปล่ียนบรรยากาศในการเลน่
๒. เพลงท่ีใช้ร้องสามารถใช้ได้หลายๆเพลงก็ได้ ไม่จากดั ต้องเป็นเพลงเดิม
๓. กจิ กรรมน้สี ามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ไดห้ ลายๆคร้ังในวชิ าภาษาไทย และคาต้องยากข้ึนเพ่อื เพ่ิม
ทกั ษะในการอ่าน

ผลการจัดกิจกรมการเตรยี มผูเ้ รียนสกู่ ระบวนการเรียนรกู้ ับนกั เรียน
หลังทากิจกรรมพบวา่ ผเู้ รยี นมีความกระตือรือรน้ ตัง้ ใจทากิจกรรม มีความคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ และ

สามารถสะกดคาและอา่ นคาๆ นัน้ ได้

เครือ่ งมอื พัฒนาสู่ความเปน็ โรงเรยี นสขุ ภาวะ ๖๓

à¤Ã่×ͧÁ×;Ѳ¹Òʤً ÇÒÁ໹š âçàÃÕ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ ๖๓

ชื่อกจิ กรรม สูตรคูณหรรษา
เป้าหมาย

๑. เพอื่ ให้ผ้เู รยี นเกดิ สมาธิและสติ มีความพรอ้ มท่ีจะเรยี นรู้

๒. เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นมใี จจดจ่ออย่กู ับส่งิ ท่ีทา

๓. เพ่อื ใหผ้ เู้ รยี นมีความร้ใู นเรื่องสูตรคณู และนาไปใชไ้ ด้ในชวี ิตประจาวัน
๔. เพือ่ ความสนกุ สนานของนักเรียน
สอ่ื /อุปกรณ์
๑. กลอ่ งใส่ฝาขวดท่ีเขียนตวั เลขการคณู
๒. ฝาขวดทเี่ ขยี นตวั เลขการคณู

๓. บอรด์ ตัวเลข ๑-๑๐๐
การจดั กิจกรรม

ข้ันนา
๑. นกั เรยี นน่งั เป็นวงกลม แล้วกล่าวสวสั ดพี รอ้ มกนั อยา่ งนอบนอ้ ม

๒. ผู้นาวงทาข้อตกลงกับนักเรียนว่า ในการทากิจกรรมนี้ต้องใช้สมาธิในการร้องเพลง การส่งของ
และท่องสูตรคณู ในใจ ควรตง้ั ใจในการทากจิ กรรมนดี้ ว้ ย

ขน้ั กิจกรรม
๑. ผูน้ าวงนากล่องท่ีเตรยี มไวแ้ ล้ว มาวางไวห้ น้าตวั เอง ให้นักเรยี นทายว่า คืออะไร
(เพอื่ ดงึ ดูดความสนใจของนักเรยี น)

๒. ผู้นาวงส่งกล่องไปทางขวามือ พร้อมกับร้องเพลงที่เตรียมไว้ไปพร้อมๆ กับส่งกล่องฝาขวดที่เขียน

ตวั เลขการคณู ไปเร่ือยๆ
๓. เม่อื เพลงจบแล้ว กล่องฝาขวดทเ่ี ขยี นตัวเลขการคูณก็ตอ้ งหยดุ ดว้ ย

๔. กล่องฝาขวดท่ีเขียนตัวเลขการคณู อยู่กบั ใคร คนนั้นต้อง ล้วงมือไปจับฝาขวดท่ีเขียนตัวเลขการคูณ

มา ๑ ฝา แลว้ นาไปวางที่บอรด์ ตัวเลข ๑-๑๐๐ พรอ้ มกบั พูดตวั เลขการคูณในฝาขวดท่เี ราไดใ้ หเ้ พ่อื นฟังดว้ ย
๕. ถา้ นกั เรียนคนนนั้ ตอบไมไ่ ด้ ให้เพ่อื นช่วยบอก แลว้ ใหน้ ักเรียนในวงพูดตาม

๖. ปฏิบัตแิ บบน้ไี ปเรื่อยๆ จนกวา่ จะหมดทุกคนหรืออาจจะตามเวลาที่กาหนดในการทากจิ กรรมแตล่ ะอย่าง
ขนั้ สรุป
นักเรยี นและครูสนทนากนั ในวง วา่ จากการที่ปฏิบตั ิกจิ กรรมนี้แลว้ เกิดอะไรขนึ้ บ้าง สรุปไดด้ ังน้ี

๑. นกั เรยี นมีสมาธใิ นการทากจิ กรรมและพร้อมท่ีจะเรียนรู้

๒. นกั เรยี นมีใจจดจ่ออยกู่ ับสง่ิ ทที่ า เพราะกลวั จะไดค้ าทีอ่ ่านไมไ่ ด้
๓. นกั เรยี นมีความสนกุ สนานต่นื เตน้ ในการร่วมกิจกรรม

๖๔ เครื่องมอื พัฒนาสคู่ วามเป็นโรงเรียนสุขภาวะ ๖๔

à¤Ã่×ͧÁ×;²Ñ ¹ÒÊÙ¤‹ ÇÒÁ໹š âçàÃÕÂ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ

๔. นกั เรยี นมนี า้ ใจต่อเพ่อื นและชว่ ยเหลอื ซ่งึ กันและกัน

ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม/เงื่อนไขการนาไปใช้
๑. เพลงหรือคาคล้องจองบทอาขยานที่ใช้ในการปฏิบัติกิจกรรมอาจจะเป็นสิ่งที่นักเรียนสนใจ

สามารถท่องหรือรอ้ งไดท้ กุ คน จะทาให้กจิ กรรมสนกุ มากข้นึ
๒. เพลงหรือคาคล้องจองบทอาขยานท่ีใช้ร้องสามารถใช้ได้หลายๆอย่างก็ได้ ไม่จากัดต้องเป็น

แบบเดิม
๓. กิจกรรมน้ีสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ในวิชาคณิตศาสตร์ ในชีวิตประจาวัน และในวิชาอ่ืนก็

สามารถ นาไปใชไ้ ด้ดว้ ย

ผลการจัดกิจกรมจติ ศกึ ษากับนกั เรยี น
หลังทากิจกรรมพบว่าผู้เรียนมีความกระตือรือร้น ต้ังใจทากิจกรรม มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และ

สามารถทอ่ งสตู รคูณไดเ้ พ่มิ ข้ึน

เครอ่ื งมอื พัฒนาสคู่ วามเปน็ โรงเรยี นสขุ ภาวะ ๖๕ ๖๕

à¤ÃÍ่× §ÁÍ× ¾Ñ²¹Òʤ‹Ù ÇÒÁ໹š âçàÃÂÕ ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ

ช่ือกิจกรรม บัตรคาสระลดรูป
เปา้ หมาย

๑. เพื่อใหผ้ ู้เรียนเกิดสมาธิจติ จดจอ่ พร้อมทีจ่ ะเรียนรู้
๒. เพื่อสร้างความสนกุ สนาน
๓. เพื่อสรา้ งเสริมทักษะการอ่าน การคิด การริเริ่มสรา้ งสรรค์
สอ่ื /อุปกรณ์
บัตรคาพยัญชนะไทย ๔๔ ตัว
การจัดกิจกรรม
ขนั้ นา
๑. นักเรียนนั่งเปน็ วงกลมแล้วกล่าวสวัสดีพร้อมกันอยา่ งนอบนอ้ ม
๒. ผู้นาวงสร้างข้อตกลงกบั นักเรยี นในการทากจิ กรรม

ข้นั กิจกรรม
๑. ผนู้ าวงนาบตั รคาพยัญชนะทเี่ ตรยี มไวว้ างไวต้ รงกลางวง (เรยี งตามตวั อกั ษรหรอื ไม่เรียงก็ได้)
๒. ผู้นาวงแจง้ กติกาในการเล่นว่า หาคาที่ประสมกันแล้วได้คา ๑ คา และมีความหมาย โดยท่ีไม่ต้อง
มสี ระปรากฏอยู่ (ในท่ีน้ใี หเ้ ปน็ สระ โ-ะ) สระลดรปู
๓. โดยให้เริ่มทีละคนเวียนไปทางขวา อ่านคาน้ันพร้อมสะกดไปด้วย ปฏิบัติแบบนี้ไปจนกว่าจะครบ
ทกุ คน
ขน้ั สรุป
นักเรียนร่วมสนทนาและแสดงความคิดเห็นว่าได้เรียนรู้อะไรบ้างจากกิจกรรมที่ทา เพ่ือแลกเปลี่ยน
ความคิด และเสริมสร้างประสบการณใ์ นการเรยี นร้มู ากขึน้

ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติม/เงื่อนไขการนาไปใช้
๑. กิจกรรมบตั รคาสระลดรูปนนั้ สามารถเพ่ิมสระได้เรื่อยๆจนครบ
๒. เพมิ่ บัตรคาสระใหค้ รบ หรอื อาจจะเพมิ่ เป็นสองชดุ เดก็ จะไดฝ้ กึ ประสมสระ พยญั ชนะมากขึ้น

ผลการจัดกิจกรมการเตรียมผู้เรยี นสกู่ ระบวนการเรยี นร้กู บั นักเรยี น
หลังทากิจกรรมพบว่าผู้เรียนมีความสนุกสนานในการเรียนภาษาไทย ผ่อนคลาย มีความ

กระตอื รือรน้ ในการทากจิ กรรมและสามารถมสี มาธแิ ละมใี จจดจ่ออยู่กับสิง่ ที่ทาพร้อมทจ่ี ะเรยี นรตู้ ่อไป

๖๖ เàค¤รÃ่อื×่Íง§Áม×Íอื ¾พ²Ñ ฒั ¹นÒาÊสÙ‹¤ู่คÇวÒาÁมà»เป¹š â็นÃโ§รàÃงÕÂเร¹ยี Êน¢Ø สÀขุÒÇภÐาวะ ๖๖

ผลท่เี กิดขน้ึ จากการทาการเตรียมผเู้ รียนส่กู ระบวนการเรียนรู้

การเตรียมผู้เรียนสู่กระบวนการเรียนรู้ เป็นกิจกรรมเตรียมความพร้อม เตรียมสภาวะจิตของผู้เรียน
ม่งุ ให้เกิดสติ เพ่ือให้ผู้เรียนกลับมารู้ตัวร้เู ท่าทันอารมณ์ว่าควรหยุดหรือจะทากิจกรรมน้ันต่อไป เช่น การบรหิ าร
สมอง (Brain Gym) โยคะ กิจกรรม Body Scan เพื่อลดความถี่ของคล่ืนสมองของผู้เรียนก่อนการเรียนรู้
กิจกรรมเล่าเรื่องจากภาพ โรงเรียนสุขภาวะท้ังหมดจะทากิจกรรมศึกษา ๒ ช่วงคือ ช่วงเช้าก่อนเร่ิมเรียนวิชา
หลัก และช่วงบ่ายก่อนเริ่มเรียน บูรณาการโดยใช้ปัญหาเป็นฐานจากการแลกเปล่ียนเรียนรู้ของครูทุกวัน
พฤหัสบดี (PLC) ครูได้แลกเปล่ียนเรียนรู้ด้านวิชาการมากขึ้น ครูทุกคนได้ปรับและจูนความคิดกันมากข้ึน
ผู้บริหารมีโอกาสได้แทรกความรู้ เทคนิคกระบวนการสอนเพ่ิมขึ้นเมื่อเป็นผู้นาวง PLC ครูส่วนใหญ่จะเล่าให้
ฟังว่า “เด็กๆ จะเงียบลงมาก” “เริ่มที่จะคิด กล้าแสดงออกมากขึ้น รู้จักการรอคอยมากข้ึน คนท่ีไม่กล้าพูดจะ
เริ่มพูด เพราะครูจะต้ังคาถามและให้เด็กคิด โดยเฉพาะคิดตามจินตนาการ ไม่มีถูกไม่มีผิด และเปิดโอกาสให้
เด็กทุกคนได้พูด ได้คิดตามความสามารถของเด็กเอง” “แรกๆ เด็กอาจจะไม่กล้าพูดทุกคน บางคนยังลอก
คาพูดของเพ่ือนอยู่ก็มี พอเริ่มไปได้ระยะหน่ึงเด็กจะกล้าพูด กล้าแสดงความคิดเห็นมากข้ึน” “เด็กเริ่มมีความ
ไว้วางใจครูมากขึ้น ส่วนตัวของครูเองเกิดความภาคภูมิใจและอยากเล่าให้ครูคนอื่นฟังในวง PLC จากสิ่งที่
ตนเองทาแล้วประสบความสาเร็จ” ทาให้มกี ารแลกเปลี่ยนและเรียนรู้ รว่ มกันทุกสัปดาห์

เครอ่ื งมือพฒั นาสู่ความเปน็ โรงเรยี นสขุ ภาวะ à¤Ã×่ͧÁ×;Ѳ¹ÒÊÙ‹¤ÇÒÁ໹š âçàÃÕ¹ÊØ¢À๖ÒÇ๗Ð ๖๗

สิ่งท่ีสังเกตเห็นจากกระบวนการ “การเตรียม
ผู้เรียนสู่กระบวนการเรียนรู้” เช่น ผู้เรียนแต่ละคนมี
ความคิดที่แตกต่างและหลากหลาย รู้จักผู้เรียนที่อ่าน
และเขียนไม่คลอ่ ง เห็นพฒั นาการทางภาษาที่งดงามของ
เด็กๆ รู้จักผู้เรียนแต่ละคนถึงความคิดและการมองส่ิงๆ
ตา่ งท่ไี ด้รบั ฟงั เกดิ ความสัมพันธ์ระดบั ราบระหวา่ งครูและ
ผเู้ รียน เกิดบรรยากาศทีผ่ อ่ นคลาย

ข้อเสนอแนะเพมิ่ เติม

ข้อเสนอแนะจากการทากิจกรรมการเตรียมผู้เรียนสู่กระบวนการเรียนรู้ในแต่ละวันจะต้องเป็น
กิจกรรมที่ไม่ซ้ากันหรือกิจกรรมเดิมๆ เพราะจะทาให้นักเรียนเบื่อจะต้องมีการปรับเปลี่ยนออกแบบกิจกรรม
ใหม่ๆ บางคร้ังอาจให้นักเรียนได้ร่วมกันคิดออกแบบกิจกรรมใหม่ๆ สาหรับครูเม่ือมีการออกแบบกิจกรรม
ใหม่ๆ ได้ จะต้องนากิจกรรมน้ันมา
ทดลองใช้กับครูด้วยกันในวง PLC
ก่อนว่ากิจกรรมน้ันนักเรียนจะทาได้
ไหม เหมาะกับนักเรียนหรือไม่ เป็น
การแลกเปล่ียนเรียนรู้กัน คุณครูคน
อื่นสามารถนากิจกรรมการเตรียม
ผู้เรียนสู่กระบวนการเรียนรู้ท่ีเพ่ือน
น า ม า แ ล ก เ ป ล่ี ย น ไ ป ป รั บ ใ ช้ ที่
ห้องเรียนของตัวเองอีกทีหนึ่ง ครู
จะ ต้อ งป รับ ใช้ ให้ เห มา ะส มกั บ
นักเรียนแต่ละระดับช้ัน กิจกรรมการเตรียมผู้เรียนสู่กระบวนการเรียนรู้บางกิจกรรมมุ่งเป้าหมายเพียงด้านใด
ด้านหน่ึง บางกิจกรรมอาจครอบคลุมเป้าหมายมากกว่า ๒ ด้านไปจนถึงทั้ง ๕ ด้าน คือกิจกรรมมุ่งให้เกิดสติ
กิจกรรมฝึกสมาธิหรือการจดจ่อ กิจกรรมส่งเสริมพลังสงบ กิจกรรมท่ีมุ่งบ่มเพาะพลังความรักความเมตตา
กจิ กรรมฝกึ ความคดิ สรา้ งสรรค์และกลา้ แสดงออก

เคร่อื งมอื พัฒนาสู่ความเป็นโรงเรียนสุขภาวะ ๖๘

๖๘ à¤Ã×่ͧÁ×;Ѳ¹Òʤً ÇÒÁ໹š âçàÃÂÕ ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ


เคร่ืองมือจัดกระบวนการเรียนรทู้ มี่ งุ่ สขุ ภาวะผเู้ รียน

“I hear, I forget ถำ้ ฉนั ไดย้ ิน , ฉันกจ็ ะลืม
I see, I remember ถ้ำฉนั ไดเ้ ห็น , ฉันจะจำได้
I do, I understand” ถ้ำฉันไดล้ งมือทำ , ฉันจะเข้ำใจ”

เครื่องมือสำคัญในกำรพัฒนำโรงเรียนสุขภำวะอีกหนึ่งอย่ำง คือ กำรจัดกระบวนกำรเรียนรู้
ทีม่ ุ่งสุขภำวะผู้เรยี น ซ่ึงเป็นเคร่อื งมือเรียนรู้ท่ีปรับเปลี่ยนกรอบคิด (Mindset) จำกกำรเรียนรู้แบบต้ังรับ (Passive
Learning) เป็นกำรเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ปรับเปล่ียนบทบำทของผู้เรียนจำกผู้รับควำมรู้ (Passive
Learners) เป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมกำรเรียนรู้ (Active Learners) ปรับเปลี่ยนบทบำทของครูจำกผู้บอกควำมรู้
(Passive Teachers) เป็นผู้จัดกิจกรรมกำรเรียนรู้
(Active Learners) กระบวนกำรเรียนรู้ลักษณะน้ี
เป็นกระบวนกำรเรียนรู้แบบ Active Learning
เน้นให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ สร้ำงบรรยำกำศ
ก ำ ร เ รี ย น รู้ ท่ี ดี มี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ เ ชิ ง บ ว ก เ ป็ น
กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ช่วยเสริมสร้ำงทักษะกำรเรียนรู้ ทักษะที่จำเป็น
และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ อันนำไปสู่กำรสร้ำง
สุขภำวะของผ้เู รียน

Active Learning คืออะไร

Active Learning คือ กำรจัดกำรเรียนรู้ท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ มีส่วนร่วมในกิจกรรม
กำรเรียนรู้ และได้ใช้กระบวนกำรคิดเกี่ยวกับส่ิงที่เขำได้ลงมือปฏิบัติ กำรเรียนรู้ด้วย Active Learning ตั้งอยู่บน
สมมติฐำน ๒ ประกำร คือ ๑) กำรเรียนรู้เป็นควำมพยำยำมโดยธรรมชำติของมนุษย์ และ ๒) บุคคลแต่ละบุคคล
มีแนวทำงในกำรเรียนรู้ที่แตกต่ำงกัน ซ่ึงสมมติฐำน ๒ ประกำรน้ี นำมำสู่กำรออกแบบกิจกรรมกำรเรียนรู้ท่ีเปิด
โอกำสใหผ้ ้เู รียนได้ลงมือปฏบิ ัติ เนน้ กำรมปี ระสบกำรณ์ตรงผำ่ นกจิ กรรมรำยบุคคลและกิจกรรมกลุ่ม

à¤Ã×่ͧÁÍ× ¾²Ñ ¹ÒÊ‹¤Ù ÇÒÁ໚¹âçàÃÂÕ ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ ๖๙

มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ครูให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อการปรับปรุงพัฒนา ส่งผลต่อประสิทธิภาพการเรียนรู้ของ
ผู้เรยี น ลักษณะกิจกรรมการเรยี นรู้ Active Learning อธิบายด้วยกรวยการเรยี นรู้ ดงั แผนภาพ

จากภาพกรวยแห่งการเรียนรู้ อธิบายกระบวนการเรียนรู้ ๒ แบบ ท่มี ีต่อประสทิ ธิภาพการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนแตกต่างกัน กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการอ่าน ฟัง ดู เป็นกระบวนการเรียนรู้แบบ Passive Learning
การจัดกิจกรรมเหล่านี้ส่งผลต่อประสิทธิภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนน้อย ส่วนกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการที่
ผูเ้ รียนได้ลงมอื ปฏบิ ตั ิในสถานการณ์จริง สะท้อนผลการปฏิบัติผ่านการอภิปราย การนาเสนอผลงาน มีส่วนรว่ ม
อย่างกระตือรือร้นในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือค้นพบองค์ความรู้ด้วยตนเอง เป็นกระบวนการเรียนรู้แบบ
Active Learning ซ่งึ ส่งผลตอ่ ประสิทธิภาพการเรยี นรูข้ องผู้เรยี นมากกว่า ดังคากลา่ วของนักวิทยาศาสตร์ทา่ น
หนึ่งทก่ี ล่าวถงึ ความหมายของการเรยี นรู้ไวว้ า่ ...

“We cannot teach people anything;
we can only help them discover it within themselves.”
Galileo Galilei
“เราไม่สามารถสอนทุกสง่ิ ทุกอย่างแก่ผเู้ รยี น
เราทาไดเ้ พียงช่วยเขาให้คน้ พบสง่ิ ต่าง ๆ ด้วยตวั เขาเอง”

กาลเิ ลโอ กาลเิ ลอิ

เครื่องมอื พัฒนาส่คู วามเป็นโรงเรียนสุขภาวะ ๗๐

๗๐ à¤ÃÍ่× §Á×;Ѳ¹Òʤً ÇÒÁ໹š âçàÃÂÕ ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ

ดังนั้น กุญแจแห่งความสาเร็จของ Active Learning จึงเน้นการลงมือปฏิบัติ การมีส่วนร่วมใน
กจิ กรรมอย่างกระตือรือร้นของผู้เรียน การให้โอกาสผู้เรียนในการร่วมกจิ กรรมอยู่เสมอ การพัฒนาผู้เรียนด้วย
วิธีการท่ีเหมาะสม การเสริมแรงผู้เรียนแต่ละบุคคล และสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่ผ่อนคลาย อันจะนาไปสู่
ความสุขในการเรยี นรู้

แนวทางการจัดการเรยี นร้ทู ี่เนน้ Active Learning ในชั้นเรยี น
แนวทางการจดั การเรียนร้ทู เี่ นน้ Active Learning สามารถแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ได้แก่
๑. รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้น Active Learning เป็นการจัดการเรียนรู้ท่ีมีลาดับข้ันตอน

การจัดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ี่ชดั เจน เช่น
- การเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน (Problem-Based Learning : PBL)
- การเรยี นรู้โดยใชโ้ ครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning : PBL)
- การเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื (Cooperative Learning)
- การเรียนรแู้ บบร่วมแรงรว่ มใจ (Collaborative Learning)
- การเรียนร้โู ดยใช้วิจัยเป็นฐาน (Research-based Learning : RBL)
- การเรียนร้แู บบสบื ค้นความรู้ (Inquiry-based Learning : IBL)
- การเรียนรโู้ ดยใชก้ จิ กรรมเปน็ ฐาน (Activity-Based Learning : ABL)
- การเรียนรเู้ ชงิ ประสบการณ์ (Experiential Learning)
- การเรยี นร้ดู ว้ ยการค้นพบ (Discovery Learning)
- การเรยี นรู้แบบสะเตม็ ศกึ ษา (Stem Education)

๒. เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรม Active Learning เป็นเทคนิคท่ีสามารถนาไปบูรณา
การในกิจกรรมการเรียนรู้ปกติ ใช้ได้ท้ังในขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ข้ันจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และข้ันสรุป ผู้สอน
สามารถเลือกกิจกรรมท่ีเหมาะสมไปใช้เพื่อให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ลงมือปฏิบัติ และเกิดการเรียนรู้มากที่สุด
ตัวอย่างเทคนิคจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรม Active Learning เน้นการมีส่วนร่วมของผู้เรียน มีหลากหลาย
เทคนิค ในจานวนนี้รวมถึงเทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมอื (Cooperation Learning Techniques) ของ Kagan
(๑๙๙๕) และเทคนิคการประเมินในชั้นเรียน (Classroom Assessment Techniques : CATs) ด้วย
ซง่ึ สามารถแบง่ ตามลกั ษณะของการร่วมกจิ กรรมของผเู้ รยี นไดด้ ังนี้

๒.๑ กิจกรรมรายบุคคล เช่น การอ่านอย่างกระตือรือร้น
(Active Reading), กระดาษหน่ึงนาที (One Minute Paper) การสะท้อนผล
ของผู้เรียน (Students’ Reflection) บันทึกลูกโซ่ (Chain Note) การ์ดจัด
ประเภท (Card Sorts )

เครือ่ งมอื พัฒนาสูค่ วามเปน็ โรงเรยี นสุขภาวะ ๗๑

à¤ÃÍ×่ §Á×;Ѳ¹ÒÊÙ‹¤ÇÒÁ໚¹âçàÃÂÕ ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ ๗๑

๒.๒ กิจกรรมคู่ เช่น คิดเดี่ยว-คิดคู่-นาเสนอผลการคิด (Think-
Pair-Share) คู่ตรวจสอบ(Pair-check) คู่ถาม-ตอบ (Question and
Answer Pairs) ค่อู ภิปราย (Pair discussion) สองพลงั (The power
of two) เขยี นเป็นคู่ (Rally table) พูดเปน็ คู่ (Rally Robin)

๒.๓ กิจกรรมกลุ่มย่อย เชน่ การระดมสมอง (Brain storming)
ชมนิทรรศการ (Gallery walk) จิ๊กซอว์ (Jigsaw) เห็นด้วย
หรือไม่เห็นด้วย (Agree & Disagree statement) ร่วมกันคิด
(Numbered heads together) ม้าหมุน (Carousel) เขียน
รอบวง (Rally table) เรียงลาดับ (Line-ups) มุมสนทนา
(Corners) ทีม-คู่-เด่ียว (Team - pair – solo) นิทรรศการ
การเรียนรู้ (Gallery of Learning) การประเมินเป็นกลุ่ม
(Group Evaluation) การอภิปรายกล่มุ (Debate)

๒.๔ กิจกรรมกลุ่มใหญ่ เช่น อัศวินโต๊ะกลม (Round table)
สัมภาษณ์เป็นทีม (Team– interview) , วงใน-วงนอก (Inside–outside
circle) เวทีละคร (Forum Theater) การอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Large
group discussion) (รายละเอียดข้ันตอนการจัดกิจกรรมของแต่ละ
เทคนิค นาเสนอในตอนทา้ ย)

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้น Active Learning นั้น ครูผู้สอนสามารถเลือกนาไปใช้ในการ
ออกแบบการเรียนรู้ โดยพิจารณาเป้าหมายการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ และช่วงอายุของผู้เรียน เพื่อให้การ
จัดการเรยี นรบู้ รรลปุ ระสทิ ธผิ ลสงู สุด

ปจั จัยความสาเรจ็ ของการเรียนรู้ทเี่ น้น Active Learning
Active Learning ไม่สามารถประสบผลสาเร็จได้ หากขาดปัจจัยสาคัญ ๒ ส่วน ได้แก่ ด้านตัวครู

และด้านผเู้ รียน
ด้านตัวครู การเปิดใจของครูมีความสาคัญ โดยเฉพาะอย่างย่ิงการตระหนักในความสาคัญของ

ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลของผู้เรยี น การสร้างบรรยากาศท่ดี ใี นการเรียนรู้ ใชจ้ ิตวิทยาเชิงบวกในช้ันเรียนให้
โอกาสผู้เรียนในการร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ มีการเสริมแรงที่เหมาะสม และสิ่งสาคัญคือ ครูต้องมีการวาง

๗๒ เàค¤รÃื่อ่×Íง§Áม×Íอื ¾พѲฒั ¹นÒาÊส¤Ù‹ ู่คÇวÒาÁมà»เป¹š âน็ Ãโ§รàÃงÂÕ เร¹ียÊนØ¢สÀขุÒÇภÐาวะ ๗๒

แผนการจัดการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงสู่เป้าหมายของหลักสูตรให้ครบถ้วน และนอกจากนี้ยังควรสามารถเช่ือมโยง
ไปสตู่ ัวบง่ ชขี้ องการสรา้ งสขุ ภาวะผู้เรยี นดว้ ย

ด้านผู้เรียน ผู้เรียนต้องมีความรับผิดชอบในการเรียนของตนเอง
ร่วมกิจกรรมด้วยความกระตือรือร้น เข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อจะได้ปฏิบัติ
กิจกรรมรว่ มกับผู้อื่นได้ และมีส่วนร่วมในกจิ กรรมเรียนรเู้ สมอ

การออกแบบการเรยี นรทู้ ีเ่ นน้ Active Learning
การจัดการเรียนรู้เป็นกระบวนการที่สาคัญในการนาหลักสูตรสู่การปฏิบัติ ดังนั้นการออกแบบ

การเรียนรู้ต้องยึดถือคือ หลักการ แนวคิดที่ระบุไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ ดงั แผนภาพ

เคร่อื งมอื พฒั นาสคู่ วามเปน็ โรงเรียนสุขภาวะ à¤Ã×่ͧÁÍ× ¾Ñ²¹ÒÊ‹Ù¤ÇÒÁ໚¹âçàÃÕÂ¹Ê¢Ø À๗ÒÇ๓Ð ๗๓

จากแผนภาพ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นหลักสูตรท่ีมี
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัด สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เป้าหมายใน
การพัฒนา ผู้เรียนมีความสาคัญทีส่ ุด โดยเช่ือวา่ ทุกคนมคี วามสามารถเรียนร้แู ละพัฒนาตนเองได้ กระบวนการ
จดั การเรยี นรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คานึงถึงความแตกต่าง
ระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมอง เน้นให้ความสาคัญท้ังความรู้และคุณธรรม ผู้สอนต้องพยายามคัดสรร
กระบวนการเรียนรู้ การออกแบบการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับศักยภาพและบริบทของผู้เรียน ใช้สื่อการเรียนรู้ท่ี
หลากหลาย ออกแบบการวัดและประเมินผลเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน เพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณภาพตาม
มาตรฐานการเรียนรู้ท้ัง ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ และนาไปสู่การสร้างสมรรถนะท่ีสาคัญของผู้เรียนและ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์

กระบวนการออกแบบการเรียนรู้ทีเ่ ชอื่ มโยงกับหลักสูตรแกนกลางและมุ่งเป้าหมายเพื่อพัฒนาผู้เรียน
ตามจุดเน้น มีลาดับตามแนวคิดการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design) เป็นการตอบ
คาถามสาคัญ ๓ ข้อ ดังน้ี

คาถามสาคัญ กิจกรรม แหล่งข้อมลู
๑. อะไรคือเป้าหมายท่ี ๑. วิเคราะหเ์ ป้าหมายการเรยี นรู้ - มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชวี้ ดั
ต้องการใหผ้ ้เู รียนบรรลุ (Objective) - สมรรถนะสาคัญ
- คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์
๒. อะไรเปน็ สงิ่ ที่แสดงถงึ สิง่ ที่ ๒. ออกแบบการประเมนิ ผล - ตัวบ่งชีส้ ขุ ภาวะ
ผ้เู รียนได้เรยี นรู้ (Evaluation) หรือ การประเมินการ - ชน้ิ งาน / ภาระงาน
เรยี นรู้ (Assessment) - เกณฑก์ ารให้คะแนน
๓. จะออกแบบกจิ กรรมให้
ผเู้ รียนเรียนรู้อยา่ งมี ๓. ออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้
ประสทิ ธภิ าพได้อย่างไร (Learning Experience) (รูปแบบ/เทคนคิ /สือ่ /แหลง่
เรยี นรู้)

จากคาถามสาคัญ ๓ ข้อ ข้างต้น เป็นส่ิงที่ครูต้องยึดเป็นหลักในการออกแบบการเรียนรู้ โดยต้องไม่
ขาดส่วนใดส่วนหนึ่งใน ๓ ส่วนน้ี องค์ประกอบดังกล่าวสามารถอธิบายด้วยแผนภาพวงจรการจัดเรียนรู้
(O-L-E) ดังน้ี

เคร่ืองมือพฒั นาสคู่ วามเปน็ โรงเรยี นสขุ ภาวะ ๗๔

๗๔ à¤Ã×่ͧÁ×;Ѳ¹ÒÊ‹Ù¤ÇÒÁ໚¹âçàÃÂÕ ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ

Learning Objectives
(เป้าหมายเรียนรู้)

การออกแบบกิจกรรม การประเมนิ ผล
การเรยี นรู้ (Evaluation)

(Learning Experiences)

เมื่อครูทราบองค์ประกอบของการเรียนรู้ที่ประกอบด้วย เป้าหมาย การวัดและประเมินผล และการ
ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้แล้ว การท่ีจะสามารถจัดการเรียนรู้ท่ีมุ่งสุขภาวะผู้เรียนให้เชื่อมโยงกับแนวการ
จัดการเรียนรู้ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ สามารถดาเนินการตามขน้ั ตอน ดงั นี้

๑. ออกแบบหน่วยการเรยี นรทู้ ่มี งุ่ สุขภาวะ

๒. ออกแบบกิจกรรมการเรยี นร้ทู ี่มุ่งสุขภาวะ

๓. จัดกจิ กรรมการเรยี นร้ทู ีม่ ุ่งสขุ ภาวะ

๔. ประเมนิ และสะทอ้ นผลการเรียนรู้ท่มี ่งุ สขุ ภาวะ

เครอื่ งมือพัฒนาส่คู วามเป็นโรงเรียนสุขภาวะ ๗๕

à¤Ã่×ͧÁÍ× ¾Ñ²¹ÒÊÙ‹¤ÇÒÁ໚¹âçàÃÕÂ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ ๗๕

ขั้นที่ ๑ การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ เปน็ หวั ใจสาคัญของหลกั สูตร การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ท่ีดีตอ้ งสามารถ

เชื่อมโยงเป้าหมายของหลักสูตรสู่การจัดการเรียนรู้ได้อย่างครบถ้วน รวมถึงจุดเน้นที่ต้องการเพ่ิมเติมให้ผู้เรียน
ได้รับการพัฒนา เช่นเดียวกับการกาหนดเป้าหมายในการสร้างสุขภาวะผู้เรียน การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
จงึ ตอ้ งเช่ือมโยงไปถึงตัวบ่งชก้ี ารสรา้ งสขุ ภาวะดว้ ย

องค์ประกอบของหนว่ ยการเรยี นรู้ทเี่ นน้ Active Learning เพื่อสร้างสขุ ภาวะผูเ้ รยี น มีดงั น้ี
๑. ชื่อหน่วยการเรียนรู้
๒. มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชีว้ ัด
๓. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
๔. สาระการเรยี นรู้
- สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
- สาระการเรียนรทู้ อ้ งถน่ิ
๕. สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน
๖. คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์
๗. ตวั บ่งช้สี ุขภาวะผู้เรียน
๘. ชิ้นงาน/ภาระงาน
๙. การวดั และประเมินผล
๑๐. กจิ กรรมการเรยี นรู้ (นาเสนอประเดน็ สาคัญในภาพรวมแต่ละชวั่ โมง)
๑๑. เวลาเรยี น/ชั่วโมง

เครื่องมือพฒั นาสูค่ วามเป็นโรงเรยี นสุขภาวะ ๗๖

๗๖ à¤Ã×Í่ §Á×;²Ñ ¹ÒÊÙ¤‹ ÇÒÁ໚¹âçàÃÂÕ ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ

ตวั อยา่ งการออกแบบหนว่ ยการเรียนรทู้ ่ีมุ่งสูส่ ุขภาวะผูเ้ รยี น กลมุ่ สาระการเรียนร้สู ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๔ ช่อื หน่วยการเรียนรู้ : ชีวิตปลอดภัย เวลาเรียน ๘ ช่วั โมง

มาตรฐานการ สาระสาคญั / สาระการเรียนรู้ สมรรถนะ คุณลกั ษณะ ตัวบ่งชี้ ภาระงาน/ กิจกรรมการเรยี นรู้
เรยี นรู้/ตัวช้ีวดั ความคิดรวบ แกนกลาง/ สาคญั ที่พงึ ประสงค์ สุขภาวะ ชิน้ งาน
ของผู้เรียน
ยอด สาระการเรยี นรู้
ท้องถิ่น

มาตรฐาน พ ๕.๑ หลกั การใชย้ า ๑. หลกั การใช้ยา ๑.การแก้ปัญหา ๑.ใฝเ่ รียนรู้ ดา้ นผเู้ รียน ๑.แผน่ พับ ๑. กจิ กรรม Round
ปอ้ งกนั และหลกี เลย่ี ง อย่างถกู วธิ ี การ อยา่ งถูกวธิ ี ๒. การคดิ ๒. มงุ่ ม่ันในการ ๑. ผูเ้ รียนมี สร้างสรรค์ table ประสบการณ์
ปจั จยั เสีย่ งพฤติกรรม ปฐมพยาบาล ๒. การปฐมพยาบาล ๓. การสอื่ สาร ทางาน ทักษะการ วิธกี ารใชย้ าที่ การใช้ยาของแต่ละคน
เสยี่ งตอ่ สุขภาพ การตระหนกั ใน เบ้อื งต้น ๔. การใช้ทักษะ ๓. มวี นิ ัย ปฏิเสธใหต้ นเอง ถูกวิธี ๒. เรียนรกู้ ารใชย้ าท่ี
อุบตั เิ หตกุ ารใช้ยา โทษของการสูบ -การใช้ยา ชวี ิต พน้ จากอันตราย ๒.หนังสือเล่ม ถกู วิธี จากผู้รู้ และ
สารเสพติด และ บุหร่ี การดม่ื -สารเคมี ๒. ผู้เรียนมี เล็ก เรอ่ื ง การ แหลง่ เรยี นรู้

ความรุนแรง ป.๔/๑ สรุ า และรู้จกั -แมลงสัตวก์ ัดต่อย วินัยรู้หนา้ ท่ี ปฐมพยาบาล ๓. เรียนรดู้ ว้ ยการสาธติ
อธิบายความสาคัญ วธิ กี ารป้องกนั -บาดเจ็บจากการเล่น และความ เบอ้ื งตน้ และการฝึกปฏิบัตกิ าร
ของการใชย้ าและใช้ เป็นการปฏิบัติ กฬี า รบั ผดิ ชอบ ๓.แผนผัง ปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น
ยาอยา่ งถูกวิธี ป.๔/๒ ตนเพ่ือความ ๓. ผลเสยี จากการสูบ ๓. ผู้เรยี น ก้างปลา ๔. แบง่ กลมุ่ ทาหนงั สือ
แสดงวิธีปฐมพยาบาล ปลอดภยั ในชีวติ บหุ รี่ และดืม่ สรุ า กระตือรือร้นให้ (Fishbone) เลม่ เล็ก เรอ่ื ง การปฐม
เมอ่ื ได้รบั อันตราย เปน็ ทกั ษะ ๔. แนวทางป้องกัน ความสนใจใน สาเหตุของการ พยาบาลเบ้ืองตน้
จากการใชย้ าผิด พื้นฐานทบ่ี คุ คล ตนเองจากบุหรแี่ ละ สูบบหุ รี่ การด่ืม ๕. แบง่ กลมุ่ วิเคราะห์
สารเคมี แมลงสตั ว์ ต้องตระหนัก สุรา การเรยี น หมั่น สรุ าและวธิ ีการ สาเหตุการสบู บหุ ร่ี การ
กัดต่อย และ และฝึกปฏบิ ตั ิ แสวงหาความรู้ ป้องกัน ดืม่ สรุ า ด้วยแผนผงั
การบาดเจ็บจากการ เพอื่ ปอ้ งกัน จากแหลง่ ๔. การแสดง กา้ งปลา (Fishbone)
เล่นกฬี า ป.๔/๓ ไม่ใหร้ ่างกาย เรียนรู้ ละคร เนือ้ หา ๖. นาเสนอผลงาน
วิเคราะหผ์ ลเสยี ของ ได้รับอนั ตราย ด้านการจัดการ เกยี่ วกับ ผลเสยี แผนผังกา้ งปลา
และเป็นการ เรยี นรู้ ๗. เขียนบทละคร
การสูบบุหร่ี และการ ดูแลรักษา ๑. การส่งเสริม ของการสูบบุหร่ี เนือ้ หาเกีย่ วกับ ผลเสีย
ด่มื สรุ าที่มีตอ่ สุขภาพ รา่ งกายให้ สนบั สนุนให้ครู และดื่มสรุ า ของการสูบบุหร่ีและดมื่
และการป้องกัน แข็งแรงและ จดั กิจกรรมการ และการป้องกัน สรุ า และการปอ้ งกัน
ปลอดภัย เรียนรเู้ ชงิ รกุ ตนเอง ตนเอง
เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียน ๕. นิทรรศการ ๘. แสดงละคร
เกิดทักษะใน “ชีวติ ปลอดภยั ๙. ออกแบบนิทรรศการ
ใส่ใจปอ้ งกัน “ชีวิตปลอดภัย ใส่ใจ
ศตวรรษที่ ๒๑ ตนเอง” ป้องกนั ตนเอง
๒. วิธกี าร ๖. การเขยี น ๑๐. กิจกรรม Gallery
สง่ เสริมให้ครใู ช้ Mind walk
การวัดและ mapping สรุป ๑๑. สะทอ้ นคิดจากการ
ประเมินผลตาม ความรู้ เรยี นรู้ ทั้งหนว่ ยการ
สภาพจริงด้วย เรยี นรแู้ ละสรปุ องค์
ความรู้ โดยการเขยี น
วธิ ีการที่ Mind mapping
หลากหลาย

ขน้ั ที่ ๒ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้น Active Learning สามารถแบ่งเป็น ๒ แนวทาง ดังที่ได้นาเสนอไปแล้ว

ได้แก่ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการเรียนรู้ที่เน้น Active Learning และ จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย
บรู ณาการเทคนคิ การเรียนรู้แบบ Active Learning ครูไม่จาเปน็ ต้องยึดรูปแบบใดรูปแบบเดียวตลอด แต่ควร

เครอื่ งมือพัฒนาส่คู วามเปน็ โรงเรียนสขุ ภาวะ ๗๗

à¤Ã×Í่ §Á×;²Ñ ¹ÒÊÙ¤‹ ÇÒÁ໚¹âçàÃÂÕ ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ ๗๗

ยดึ หลกั สาคญั ของการเรียนรแู้ บบ Active Learning การปรบั เปลีย่ นบทบาทครูจากผูส้ อน มาเป็นการใหผ้ ู้เรียน

มีบทบาทหลักในกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นการปฏิบัติ การมีส่วนร่วมในกิจกรรม ดังจะนาเสนอตัวอย่าง
การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้น Active Learning ทั้ง ๒ แนวทาง เพ่ือให้เห็นภาพชัดเจน สามารถนาไปสูก่ ารปฏิบัติให้

เกิดเป็นวิถีและเกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม นาเสนอตัวอย่างการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้น Active Learning

ทั้ง ๒ แนวทาง ดงั นี้
๑. ตัวอยา่ งแผนการจดั การเรียนรแู้ บบ Active Learning ที่สอดแทรกกิจกรรมทเี่ นน้ การ

ปฏิบัติของผู้เรยี น

๗๘ เàค¤รÃอ่ื่Í× ง§ÁมÍ×ือ¾พѲัฒ¹นÒาÊสÙ‹¤ู่คÇวÒาÁมà»เปš¹â็นÃโ§รàÃงÂÕ เร¹ยี ÊนØ¢สÀุขÒÇภÐาวะ ๗๘

ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรูท้ ่เี น้น Active Learning

กลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๕

หน่วยการเรยี นรู้ เรอ่ื ง ความปลอดภัยในชวี ติ เวลา ๘ ช่ัวโมง

เร่อื ง โทษของบุหรแี่ ละการป้องกันตนเองจากบหุ ร่ี เวลา ๑ ช่วั โมง

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

มาตรฐานการเรียนรู้ พ ๕.๑ ป้องกนั และหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤตกิ รรมเสย่ี งต่อสขุ ภาพ อบุ ัติเหตุ

การใช้ยาสารเสพติด และความรนุ แรง

ตัวช้ีวดั ป.๕/๓ วเิ คราะห์ผลเสียของการสูบบหุ รี่และการดมื่ สุราท่มี ีต่อสขุ ภาพและการป้องกัน

สาระสาคัญ

การสูบบุหร่ีและการดื่มสุรามีผลเสีย ต่อสุขภาพ อาจส่งผลกระทบต่อครอบครัว และสังคม เราจึงควรรู้จัก

วธิ กี ารปอ้ งกันท่ถี ูกตอ้ ง

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

เมื่อเรยี นจบกระบวนการเรียนรแู้ ล้วนักเรยี นสามารถ

๑. อธิบายโทษของบุหรี่ได้

๒. ออกแบบผลงานเพอ่ื นาเสนอข้อมูลโทษของบหุ รแี่ ละแนวทางการปอ้ งกนั ตนเองจากบหุ ร่ีได้

๓. เห็นความสาคญั ของการป้องกนั ตนเองจากบุหร่ี

สาระการเรียนรู้ โทษของบหุ รี่และการป้องกันตนเองจากบุหร่ี

สมรรถนะสาคัญ

๑. ความสามารถในการคดิ

๒. ความสามารถในการสื่อสาร

๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา

๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต

คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์

๑. ใฝ่เรยี นรู้

๒. มุ่งมัน่ ในการทางาน

๓. มวี ินยั

ตัวบ่งชโ้ี รงเรียนสุขภาวะ

ด้านผ้เู รียน

๑. ผู้เรยี นมวี นิ ัย ร้หู นา้ ท่ี มีความรับผิดชอบ

๒. ผู้เรยี นกระตอื รอื รน้ ใหค้ วามสนใจในการเรยี น หมั่นแสวงหาความรจู้ ากแหลง่ เรียนรู้

เครอ่ื งมือพัฒนาสคู่ วามเป็นโรงเรียนสุขภาวะ ๘๔ ๗๙

à¤ÃÍ×่ §Á×;Ѳ¹ÒÊ‹¤Ù ÇÒÁ໚¹âçàÃÕÂ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ

๓. ผูเ้ รียนมที ักษะการปฏิเสธให้ตนเองพน้ จากอันตราย
ดา้ นโรงเรยี นเป็นสขุ (การจดั การเรียนรู้)

๑. การส่งเสริมสนับสนุนให้ครูจดั กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพื่อให้ผู้เรียน

เกิดทักษะในศตวรรษท่ี ๒๑

๒. การสง่ เสริมสนับสนุนใหค้ รูใชก้ ารวัดและประเมนิ ผลตามสภาพจริงด้วยวิธีการที่หลากหลาย
ภาระงาน/ชิ้นงาน

๑. ตรวจผลงาน การจดั กล่มุ ประเด็นโทษของบุหร่ีโดยใชเ้ ทคนิค Card Sort

๒. ตรวจผลงานการจดั ทาคาขวญั รณรงคป์ ้องกันตนเองจากการสูบบหุ รี่
๓. สังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ ดา้ นใฝเ่ รียนรู้และความมงุ่ ม่ันในการทางาน
กจิ กรรมการเรยี นรู้
๑. ข้นั นา

นักเรียนทากิจกรรมเขียนรอบวง (Round table) ในประเด็น “บุหร่ี ในความคิดของฉัน”
เมื่อเขียนครบทุกคนแล้ว ครูช่วยสรุปส่ิงท่ีนักเรียนเขียน โดยแนะนาให้สังเกตและร่วมกันจัดกลุ่มความคิดจาก

ความคดิ เห็นของสมาชิก
๒. ข้ันกจิ กรรมการเรยี นรู้
๒.๑ นักเรียนชมคลิปวีดิโอ เกี่ยวกับ “โทษของบุหรี่และการป้องกัน” (ครูเลือกคลิปท่ีมี

ภาพเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน)
๒.๒ แบง่ กล่มุ กลมุ่ ละ ๔-๕ คน ทากจิ กรรม Brain storming อภิปรายเก่ียวกับเนือ้ หาของ

คลิปวีดิโอ ร่วมกันสรุปเน้ือหา จัดทา Card sort เพ่ือจาแนกประเด็นเกี่ยวกับโทษของบุหรี่ โดยแต่ละกลุ่ม

รว่ มกันกาหนด เกณฑ์
๒.๓ แต่ละกลุม่ รว่ มกนั นาเสนอผลงาน

๒.๔ นักเรียนจับคู่ ทากิจกรรม Think-pair-share โดยจับคู่คิดคาขวัญการรณรงค์ป้องกัน

การสูบบุหรี่ แล้วนาเสนอต่อเพื่อนทั้งช้ัน อาจไห้นักเรียนร่วมกันเลือกคาขวัญที่ดีที่สดุ ตามความคิดของตนเอง
โดยใหส้ ิทธิก์ ารโหวตเปน็ ความลบั

๓. ขนั้ สรุป
๓.๑ นักเรียนเขียนนาเสนอความคิดการ

ป้องกนั ตนเองจากบุหรพี่ รอ้ มแสดงเหตผุ ล

๓.๒ นักเรียนแลกเปล่ียนความคิดเห็น

ซกั ถามขอ้ สงสัย

เครื่องมือพัฒนาสู่ความเป็นโรงเรยี นสขุ ภาวะ ๘๕

๘๐ à¤Ã×Í่ §Á×;Ѳ¹Òʤ‹Ù ÇÒÁ໚¹âçàÃÂÕ ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ

ส่อื และแหล่งเรยี นรู้
คลิปวีดโิ อ เกย่ี วกับ “โทษของบหุ รี่และการปอ้ งกนั ”

การวดั และประเมนิ ผล

ส่ิงท่ีประเมิน วธิ กี ารประเมิน เคร่ืองมือประเมนิ เกณฑก์ ารผา่ นการประเมนิ

๑. อธบิ ายโทษของบหุ ร่ีได้ ๑. ประเมนิ ผลงาน ๑. เกณฑก์ ารให้ ๑. ได้ระดับคุณภาพ ดี ข้ึนไป
๒. ออกแบบผลงานเพื่อ ๒. การสังเกต คะแนนผลงาน
นาเสนอข้อมูลโทษของบุหรี่ พฤติกรรมการเรยี นรู้ ๒. แบบสงั เกต
และแนวทางการป้องกัน พฤติกรรม
ตนเองจากบุหรไ่ี ด้
๓. เห็นความสาคัญของการ
ป้องกนั ตนเองจากบหุ รี่

๒. ตัวอย่างการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้การเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน
(Problem-based Learning) ตวั อย่างจากโรงเรยี นบา้ นทุ่งยาวคาโปรย อาเภอกนั ทรลกั ษณ์ จงั หวัดศรสี ะเกษ

เครื่องมอื พฒั นาสูค่ วามเป็นโรงเรยี นสุขภาวะ ๘๖ ๘๑

à¤ÃÍ×่ §Á×;²Ñ ¹ÒÊ‹¤Ù ÇÒÁ໚¹âçàÃÂÕ ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ

แผนการเรียนร้บู รู ณาการ PBL
Quarter ๒/๒๕๖๐ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๕

เรอ่ื ง ชีวิตสขุ ี สุขภาพดีหรรษา

ทม่ี า/ภมู หิ ลงั ของปญั หา
การเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการส่ือสาร เป็นปัจจัยสาคัญส่งผลต่อสภาพสังคมและ

ส่ิงแวดล้อม ทาให้วิถชี ีวิตของเด็กวัยเรียนและเยาวชนเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ที่สาคัญมีผลต่อพฤติกรรมของ
เด็กและเยาวชนทาให้เกิดการเลียนแบบพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม สภาพปัญหาของเด็กและเยาวชนในปัจจุบัน
เชน่ ปญั หายาเสพติด เพอื่ น เพศสมั พันธ์ สุขภาพ จรยิ ธรรม อุบัติเหตุ สือ่ ย่ัวยุ ส่งิ แวดลอ้ ม ดังนนั้ เป้าหมายเพื่อ
ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันการเกิดปัญหาสุขภาพ สร้างให้เด็กเกิดความรู้ ความเข้าใจ มีทัศนคติท่ีถูกต้องในเรื่อง
สขุ ภาพ เป็นการลดปญั หาสุขภาพ สง่ ผลบวกตอ่ การเรียน ทัง้ นี้ตอ้ งอาศัยความรว่ มมอื และการประสานงานจาก
ทุกฝา่ ยท้งั ครอบครัว ชุมชน และโรงเรียน

เปา้ หมายใหญ่
๑. เพอ่ื ปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมการบรโิ ภคของให้เหมาะสม
๒. เพอ่ื ส่งเสริมสขุ ภาพที่ดีให้นักเรียน

คาถามหลัก
๑. นักเรียนมีวิธีการบรโิ ภคทถ่ี กู ตอ้ งอย่างไร
๒. นักเรียนมีวธิ กี ารสรา้ งเสริมสุขภาพที่ดีอย่างไร

ตวั บ่งชโ้ี รงเรยี นสขุ ภาวะ
ด้านผู้เรยี น
๑. ผ้เู รยี นมวี ินยั รู้หน้าที่ มีความรบั ผดิ ชอบ
๒. ผ้เู รยี นกระตอื รือรน้ ใหค้ วามสนใจในการเรยี น หม่นั แสวงหาความรจู้ ากแหลง่ เรยี นรู้
ด้านโรงเรียนเป็นสุข (การจดั การเรียนรู้)
๑. การส่งเสริมสนับสนุนให้ ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดทักษะในศตวรรษ

ท่ี ๒๑
๒. การส่งเสริมสนับสนุนให้ครูใชก้ ารวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจริงด้วยวธิ ีการทหี่ ลากหลาย

๘๒ เàค¤รÃอ่ื่Í× ง§Áม×Íอื ¾พѲฒั ¹นÒาÊสÙ‹¤่คู ÇวÒาÁมà»เปš¹â็นÃโ§รàÃงÂÕ เร¹ยี Êน¢Ø สÀุขÒÇภÐาวะ ๘๘

ผงั มโนทศั นก์ ารออกแบบการเรยี นรู้ หน่วยการเรียนรู้ ชีวิตสขุ ี สขุ ภาพดีหรรษา

เครื่องมอื พัฒนาสู่ความเปน็ โรงเรียนสขุ ภาวะ à¤ÃÍ่× §Á×;Ѳ¹Òʤ‹Ù ÇÒÁ໚¹âçàÃÂÕ ¹ÊØ¢À๘ÒÇ๙Ð ๘๓

แผนการจัดการเรียนร้บู ูรณาการโดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน (PBL)

ชอ่ื หน่วย“ชีวิตสุขี สขุ ภาพดีหรรษา” ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๕ ภาคเรยี นที่ ๒/๒๕๖๐

สปั ดาห์ท่ี ๔

สปั ดาห/์ วนั ที่ หัวเรอ่ื ง/Active เป้าหมาย กระบวนการ ภาระ/ชนิ้ งาน/ ผลทีค่ าดวา่ จะได้รบั
Learning มาตรฐาน/ตวั บง่ ชี้ (Process) นวตั กรรม

๔ การกนิ อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง - เขยี นสอื่ สารโดยใช้คาได้ วันจันทร์ - หนงั สอื เลม่ เล็ก ความรู้
วนั ท่ี ๒๘
- การเลอื กซ้ือ ถกู ตอ้ งชดั เจนและ - ให้นกั เรยี นแต่ละคน - แผน่ พับการ เข้าใจและสามารถ

ส.ค.- เลือกบริโภค เหมาะสม (ท๒.๑ป.๕/๒) เล่าเกีย่ วกบั การเลอื ก รบั ประทาน อธบิ ายการกินอยู่
๑ ก.ย.๖๐ - การผลติ - เขยี นแผนภาพโครง รบั ประทานอาหารของ อาหาร อย่างพอเพยี ง

- การขาย เรอ่ื งและแผนภาพ ตนเอง ครเู ล่าเร่อื ง - ประกอบ ทักษะ :
เกี่ยวกบั การรับประทาน อาหาร ทกั ษะชีวิต
- การคดิ วเิ คราะห์ขอ้ มูล ความคดิ เพอ่ื ใช้

และลาดับเรอื่ งราว พัฒนางานเขยี น (ท๒.๑ป. อาหารของตนเองและ - Mind ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการ
ความสัมพนั ธ์ของการเป็น ๕/๓) เลา่ เกีย่ วกบั การ Mapping

ผูผ้ ลติ ผ้ซู อื้ ผขู้ ายและการ - มมี ารยาทในการ รับประทานอาหารของ - สรุปการเรยี นรู้ ขอ้ มูล

กินอย่อู ย่างพอเพยี ง เขียน (ท๒.๑ป.๕/๙) ผูท้ ม่ี ีอาการเจ็บป่วย รายสปั ดาห์ ทักษะการอยู่รว่ มกนั
- การคดิ วิเคราะห์และ - พดู แสดงความรู้ความ (ผปู้ ่วยโรคมะเร็ง) คณุ ลกั ษณะ
เช่อื มโยงเกย่ี วกับการ คิดเห็นและความรสู้ กึ นกั เรยี นชว่ ยกนั แสดง - รูจ้ กั ตนเอง
กินอยอู่ ยา่ งพอเพียง จากเร่อื งทฟ่ี ังและดู ความคิดเห็น - เห็นความสมั พันธ์
การเปน็ ผู้ผลติ และการ (ท๓.๑ป.๕/๑) วนั อังคาร ของตนเองกบั ผอู้ ื่น
เป็นผูบ้ รโิ ภคทีด่ ี - ตง้ั คาถามและตอบ - นกั เรียนจบั ฉลากเลอื ก - เคารพ ยอมรบั
- การคดิ สังเคราะห์เนอื้ หา คาถามเชงิ เหตุผล กลุม่ แตล่ ะกลุ่มศกึ ษา ความแตกต่าง
เลือกทากจิ กรรมผา่ นการ จากเรือ่ งที่ฟงั และดู เกย่ี วกบั อาหารเพอ่ื หลากหลาย
ประกอบอาหารและการ (ท๓.๑ป.๕/๒) สขุ ภาพ หรืออาหาร
ขายอาหารแปรรูป - วเิ คราะหค์ วาม ประจาถน่ิ แลว้ เลือก
- ทกั ษะการสรปุ และ น่าเช่ือถอื จากเรื่องท่ี เมนูอาหารหน่งึ เมนู
รวบรวมความรูเ้ กย่ี วกบั ฟังและดูอย่างมี สมาชกิ ในกลมุ่ แบ่ง
การกินอยอู่ ยา่ งพอเพยี ง เหตผุ ล(ท๓.๑ป.๕/๓) หน้าท่รี บั ผิดชอบและ
- ทกั ษะการทางานร่วมกบั - วาดภาพ โดยใช้ เตรียมวตั ถุดิบในการ
ผูอ้ ืน่ เทคนิค ของแสงเงา ประกอบอาหารน้นั
- ทกั ษะการต้งั คาถาม น้าหนกั และ วรรณะ - แต่ละคนออกแบบ
และตอบคาถามเก่ยี วกบั สี หนงั สอื เล่มเล็กของ
การ (ศ ๑.๑ ป.๕/๓) ตวั เองโดยมีเน้อื หาท่ี
กินอยูอ่ ย่างพอเพียง การ - ค้นหา รวบรวม เกี่ยวกบั อาหารเพอื่
เลือกซ้ือ เลือกบริโภค ขอ้ มลู ท่สี นใจและ สขุ ภาพของกล่มุ ตนเอง
รวมท้ังการเปน็ ผู้ผลิตที่ดี เปน็ ประโยชน์ จาก ที่ไดร้ ับผิดชอบ
- ทกั ษะการใชเ้ ครื่องครัว แหล่งขอ้ มลู ตา่ งๆ วันพธุ
และการประกอบอาหาร ท่ีเชือ่ ถือได้ ตรงตาม - นกั เรยี นแต่ละกลุ่ม
วตั ถุประสงค์

(ง๓.๑ป.๕/๑)

เครื่องมอื พัฒนาส่คู วามเปน็ โรงเรยี นสุขภาวะ ๙๐

๘๔ à¤Ã่Í× §ÁÍ× ¾²Ñ ¹ÒÊÙ‹¤ÇÒÁ໚¹âçàÃÂÕ ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ

สปั ดาห/์ วันท่ี หวั เร่อื ง/Active เปา้ หมาย กระบวนการ ภาระ/ชิ้นงาน/ ผลที่คาดว่าจะได้รบั
Learning มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ (Process) นวตั กรรม
- อธบิ ายเหตุผลใน
- การต้ังคาถามประเด็นที่ การทางานแต่ละ ทบทวนวธิ ีการปรงุ
สงสยั เก่ยี วกบั การ ขัน้ ตอนถกู ต้องตาม
ประกอบอาหารหรือเร่อื ง กระบวนการทางาน อาหารและลงมือ
ที่สนใจ (ง ๑.๑ ป.๕/๑)
- กระบวนการจดั ลาดับ - ใชท้ กั ษะ การจดั ประกอบอาหารที่กลุ่ม
ขน้ั ตอนและการวาง การใน การทางาน
แผนการค้นคว้าขอ้ มลู อย่างเป็นระบบ เลอื ก เม่ือเสรจ็ แล้วแต่
การประกอบอาหาร ประณีตและ มี
-เขยี นสรปุ การเรียนรรู้ าย ความคิด สรา้ งสรรค์ ละกลุม่ ทดลองชมิ และ
(ง๑.๑ป.๕/๒)
สปั ดาหท์ ่ี ๔ - ปฏบิ ตั ิตน อยา่ งมี บอกคุณค่าและ
มารยาท ในการ
ทางาน กับสมาชิก ประโยชนท์ ่ไี ดจ้ าก
ในครอบครวั
(ง๑.๑ป.๕/๓) อาหารนัน้
- อภปิ ราย แนวทาง
ใน การทางานและ - ครตู ง้ั คาถาม “วันนี้
ปรบั ปรุง การทางาน
แตล่ ะข้ันตอน เดก็ ๆรับประทานอะไร
(ง๑.๑ป.๖/๑)
- ใช้ทกั ษะ การ เปน็ อาหารเชา้ ”
จดั การใน การทางาน
และ ทักษะการ “อาหารชนิดนัน้ มาจาก
ทางานรว่ มกนั (ง๑.
๑ป.๖/๒) ที่ใด” นักเรยี นทุกคน
- ปฏบิ ัตติ น อยา่ งมี
มารยาทใน การ ชว่ ยกันตอบคาถามและ
ทางานกบั ครอบครวั
และ ผู้อ่นื (ง๑.๑ป.๖/ สรปุ รว่ มกนั
๓)
- นาความรู้และ - แต่ละกลุ่มออกแบบ
ทักษะการสรา้ ง
ชน้ิ งานไป ประยุกต์ แผน่ พบั การรับประทาน
ใน การสรา้ ง ส่งิ ของ
อาหารสขุ ภาพ
วนั พฤหสั บดี
- ความคดิ เหน็ เพ่มิ เตมิ

ตามความเหมาะสม

ครชู ว่ ยสรปุ เพิม่ เตมิ

ครแู ละนกั เรียนช่วยกนั -

ทบทวนหวั ขอ้ และ

กิจกรรมประจาสปั ดาห์

แลว้ ให้นกั เรียนแต่ละ

คนศกึ ษาค้นควา้ ข้อมลู

ดงั กล่าวแลว้ สรปุ ความรู้

เป็น Mind Mapping
**ท้ายชวั่ โมงครแู ละ
นักเรยี นช่วยกันคิด
เก่ยี วกับการถนอม
อาหารโดยเลอื กถนอม
อาหารทมี่ วี ตั ถดุ บิ ใน
ครวั เรือนหรือในชมุ ชน
ตนเอง เชน่ กล้วยฉาบ

เครือ่ งมือพฒั นาสู่ความเปน็ โรงเรียนสขุ ภาวะ ๙๑

à¤Ã่×ͧÁÍ× ¾²Ñ ¹ÒÊÙ‹¤ÇÒÁ໚¹âçàÃÂÕ ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ ๘๕

สปั ดาห/์ วันท่ี หัวเร่อื ง/Active เปา้ หมาย กระบวนการ ภาระ/ชนิ้ งาน/ ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ บั
Learning มาตรฐาน/ตัวบ่งช้ี (Process) นวัตกรรม
เครอ่ื งใช้ ผักดอง ไข่เค็ม ฯลฯ
(ง๒.๑ป.๕๖/๓) นกั เรยี นแต่ละคนเลือก
- มีความคดิ เตรียมวตั ถุดบิ ทต่ี นเอง
สรา้ งสรรค์ อย่างน้อย มหี รอื สามารถหาได้
๒ ลกั ษณะ ในการ งา่ ย
แก้ปญั หา หรือสนอง วนั ศุกร์
ความต้องการ - นกั เรียนแต่ละคนแบง่
(ง๒.๑ป.๕/๔)
- เลือกใช้ เทคโนโลยี หน้าที่รบั ผดิ ชอบในการ
ใน ชีวติ ประจาวัน
อยา่ งสรา้ งสรรคต์ ่อ ถนอมอาหารแต่ละ
ชีวิต สังคม และมี
การจดั การ สง่ิ ของ ประเภท
เคร่ืองใช้ ด้วยการ
แปรรูปแล้วนา - ครูตงั้ คาถาม
กลับมาใช้ใหม่ (ง๒.
๑ป.๕/๕) “นักเรียนคิดว่าเราควร

เลอื กซอื้ เลือกบริโภค

อาหารอยา่ งไร และการ

กนิ อยู่อยา่ งพอเพยี งคือ

อะไร นักเรียนควร

ปฏิบัตติ ัวอยา่ งไร” สรุป

การเรียนรู้รายสปั ดาห์

- ครแู ละนักเรียนสรา้ ง

ข้อตกลงรว่ มกัน

เกย่ี วกบั การใช้ การเก็บ

และทาความสะอาด

ครัวหลังทาอาหารเสรจ็

ก่อนไปประกอบอาหาร

- นักเรยี นสรปุ การ

เรยี นรรู้ ายสัปดาห์ท่ี ๔

เครือ่ งมอื พัฒนาส่คู วามเป็นโรงเรียนสขุ ภาวะ ๙๒

๘๖ à¤ÃÍ×่ §Á×;Ѳ¹ÒÊÙ‹¤ÇÒÁ໚¹âçàÃÂÕ ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ

ภาพผลงานนักเรียนและบรรยากาศการเรยี นรู้
ตามแนวคดิ Active Learning : ผู้เรยี นไดป้ ฏบิ ตั กิ ิจกรรมและฝึกทกั ษะการคิดเกี่ยวกบั สิ่งท่เี รียน

เปน็ การเรยี นร้อู ย่างมีความหมาย

การประเมินการเรียนรู้ Active Learning
Active Learning มุ่งเน้นการสร้างทักษะการ

เรยี นรู้ท่ีสาคัญผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย การออกแบบ
การประเมินสามารถดาเนินการได้ครอบคลุมท้ังในด้าน
ความรู้ ด้านทักษะกระบวนการ/ทักษะปฏิบัติ และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยเน้นการประเมินตาม
สภาพจริงเพ่ือให้ได้ข้อมูล/ข้อค้นพบที่สอดคล้องกับ
สภาพท่ีเกิดจากการเรียนรู้ของผู้เรียนมากท่ีสุดมีแนวทาง
การประเมิน ๒ แนวทาง ได้แก่ การประเมินคุณภาพ/ความสามารถของผู้เรียน และการประเมินผลการปฏิบัติ
โดยการประเมนิ ควรเน้นการมสี ว่ นร่วมทผ่ี ู้ร่วมประเมนิ อาจมาจากทัง้ ครู ผเู้ รยี น และผปู้ กครอง

เครือ่ งมือพฒั นาส่คู วามเปน็ โรงเรียนสุขภาวะ ๙๓ ๘๗

à¤ÃÍ×่ §Á×;²Ñ ¹ÒÊÙ¤‹ ÇÒÁ໹š âçàÃÕ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ

การพัฒนาตอ่ ยอดทาอย่างไร
การเรียนรู้ Active Learning เปน็ การเรยี นรู้ทีก่ าหนดเปน็ จดุ เนน้ เพื่อใหผ้ ู้เรยี นสามารถพัฒนาการเรียนรู้

ได้อย่างรอบด้าน ผู้สอนสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ Active Learning โดยพิจารณาจากขอ้ มูลพื้นฐานท่ี
เป็นเป้าหมายการเรียนรู้ตามหลักสูตร บริบทและความต้องการของผู้เรียน แล้วนามาวางแผนและออกแบบ
กิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ โดยสามารถเลือกจัดการเรียนรู้ผ่านรูปแบบการจัดการเรียนรู้ หรือ
สอดแทรกเทคนิคการเรียนรู้แบบ Active Learning ลงไปในกิจกรรมการเรียนรู้ข้ันต่าง ๆ นอกจากน้ียังสามารถ
ประยุกต์และสร้างสรรค์เทคนิคใหม่ ๆ ที่เหมาะสมกับผู้เรียน โรงเรียนสามารถใช้วง PLC ในการออกแบบการ
เรียนรู้แบบ Active Learning ร่วมกัน ในลักษณะเป็นหน่วยการเรียนรู้ทง้ั โรงเรียน ทาเป็นระดับชั้น และระดับช้ัน
เรียน หากผู้สอนนาการเรียนรู้แบบ Active Learning มาใช้เป็นประจาจะช่วยฝึกทักษะการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน
สร้างวัฒนธรรมและบรรยากาศการเรียนรู้แบบใหม่ เมื่อผู้เรียนมีความเคยชินกับการได้ฝึกปฏิบัติ ได้สะท้อนผล
ได้แกป้ ัญหา ได้ส่อื สาร ผ่านกจิ กรรมต่าง ๆ ก็จะเป็นการสะสมทักษะที่สาคญั อันจะสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการ
เรียนและชีวิตประจาวันต่อไป

รายละเอยี ด : เทคนิคการจดั การเรยี นรู้ Active Learning (เพิ่มเตมิ )

ท่ี เทคนิค วิธกี ารดาเนนิ การ
๑ Active reading
นกั เรียนอ่านบทความ/บทอา่ น แล้วแลกเปลย่ี นความคิดกับเพื่อน
เกี่ยวกับสิ่งท่ีอ่าน สรุปส่งิ ทอี่ ่านเป็น ผงั มโนทัศน์ (Concept Map)

๒ Brain storming กาหนดหวั ขอ้ และเวลา แบ่งกลมุ่ ผู้เรียน กลมุ่ ละ ๔-๕ คน รว่ มกนั
อภิปรายเพ่ือหาข้อสรุปของกลมุ่ บนั ทกึ แนวคดิ ของทกุ คนในกลุ่ม
นาเสนอข้อสรุปของกลมุ่

๓ Agree & Disagree statement ผ้สู อนตงั้ คาถามให้ผู้เรียนตอบ อาจใช้สญั ลกั ษณแ์ สดงคาตอบ เช่น
กระดาษสีแดง : เหน็ ดว้ ย , กระดาษสนี ้าเงนิ : ไมเ่ หน็ ด้วย เมื่อ
นกั เรยี นยกสญั ลกั ษณแ์ ลว้ ผ้สู อนใหน้ กั เรียนเขา้ กลุ่มทเ่ี หมือนกัน
รว่ มกันอภปิ รายแลกเปล่ียนเก่ียวกับเหตผุ ลท่เี ลอื กเห็นด้วยและไม่
เหน็ ดว้ ย หลงั จากนั้นจึงให้ตัวแทนกลุ่มออกมานาเสนอ

เครอ่ื งมอื พฒั นาสคู่ วามเป็นโรงเรียนสขุ ภาวะ ๙๔

๘๘ à¤Ã×Í่ §Á×;Ѳ¹ÒÊÙ¤‹ ÇÒÁ໚¹âçàÃÂÕ ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ

ท่ี เทคนคิ วิธกี ารดาเนินการ
๔ Carousel
กาหนดหวั เรอื่ ง แล้วแบง่ เป็นหวั ข้อย่อยท่เี กีย่ วข้องสัมพันธก์ ัน
๕ Gallery Walk แบ่งกลุ่มผเู้ รียนให้ได้จานวนกลมุ่ เทา่ กับจานวนหวั ข้อยอ่ ย จากน้ัน
๖ Jigsaw เขยี นหวั ขอ้ ย่อยๆ ลงบนกระดาษโปสเตอร์ แล้วตดิ ไวร้ อบๆ ห้อง
แตล่ ะกล่มุ ระดมความคิดและเขียนลงในกระดาษโปสเตอร์ เม่อื
๗ Think – Pair – Share ครบ ๒-๓ นาที เปลยี่ นไประดมความคิดหนา้ โปสเตอรถ์ ดั ไป โดย
อา่ นแนวคดิ ของกลมุ่ ก่อนหนา้ ถา้ เหน็ ดว้ ยให้ใสเ่ คร่ืองหมายถกู และ
เพิม่ ส่งิ ท่ีคิดเหน็ แตกตา่ ง จากนัน้ สรปุ สงิ่ ที่ได้เรียนรรู้ ว่ มกัน

กาหนดหัวข้อเรื่อง เขียนแนวคิด วธิ ีการ ลงบนกระดาษโปสเตอร์
แลว้ ตดิ ไวร้ อบๆ หอ้ ง เพ่ือให้แลกเปลีย่ นเรียนร้รู ะหวา่ งการเดินชม
ผลงาน (อาจมอบหมายให้ทาเป็นกลมุ่ และในข้ันตอนการนาเสนอ
ให้มตี ัวแทนกลุ่ม ๑ คน ประจาอยู่ท่ีผลงานกลุ่มติดอยู่ เพื่อให้
ขอ้ มลู กับผู้ทม่ี าเย่ยี มชมผลงาน)

ผู้สอนเลอื กเน้ือหาที่แบง่ เป็นส่วนๆ ๓-๔ ชน้ิ แบง่ ผเู้ รยี นเปน็ กลุ่มๆ
โดยมีสมาชกิ ในกลุม่ เท่าๆ กนั กบั เน้อื หา
(Home group) สมาชิกแตล่ ะคนเลอื กเน้ือหาทตี่ นสนใจแล้วไป
รว่ มกับสมาชิกจากกลมุ่ อื่น (Expert group) เพื่อศกึ ษา ทาความ
เข้าใจหรือหาคาตอบรว่ มกนั ในกล่มุ จากน้ันกลบั ไปสอนท่ีกลุม่ เดิม
ของตนจนครบถ้วน

ผสู้ อนเปน็ ผู้ตัง้ คาถามให้ผูเ้ รียนคดิ หาคาตอบด้วยตนเอง หลังจาก
นั้นจงึ อภปิ รายแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ กนั กบั เพือ่ นในช้นั เรยี น
เร่ิมจากกลมุ่ ละ ๒-๓ คน แลว้ จึงเสนอตอ่ กลุ่มใหญ่

เครื่องมือพฒั นาสคู่ วามเปน็ โรงเรยี นสขุ ภาวะ ๙๕

à¤Ã่×ͧÁÍ× ¾²Ñ ¹Òʤ‹Ù ÇÒÁ໹š âçàÃÂÕ ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ ๘๙

ที่ เทคนิค วิธีการดาเนนิ การ

๘ Predict – Observe – Explain จาลองสถานการณท์ ีเ่ ก่ียวข้องกบั เรื่องทีจ่ ะเรยี นรู้ โดยผูเ้ รียนเขยี น
ทานายส่งิ ทน่ี ่าจะเกดิ ข้นึ สงั เกตและบนั ทกึ ผล อธิบายส่งิ ท่ีสงั เกต
ได้ อาจทาการทดลอง สารวจหรอื ค้นควา้ เพิ่มเติมได้ เช่น กิจกรรม
พลังงานเพอ่ื อนาคต ผู้สอนให้ผเู้ รียนแบ่งกลุ่ม โดยแต่ละกลุ่มจะ
ไดร้ ับอุปกรณ์การทดลอง ได้แก่ แผน่ โซลาเซลล์ ๒ ชนดิ มลั ติ
มิเตอร์ ไมบ้ รรทดั กระดาษสดี า และโคมไฟ เพื่อให้แตล่ ะกลมุ่ ทา
การทดลองเพ่ือวิเคราะหว์ ่าแผ่นโซลาเซลลช์ นิดใดมปี ระสทิ ธภิ าพ
ดีกวา่ กัน และให้ออกแบบเป็นผลติ ภณั ฑ์ นาเสนอผลงานกลุม่ หน้า
ชน้ั เรียน เป็นต้น

๙ Card Sorts ผู้สอนจัดเตรียมบัตรคา/บตั รภาพไวใ้ หผ้ เู้ รยี นจัดกลุ่มบัตรภาพนน้ั ๆ
และตอ้ งอธบิ ายเกณฑ์ท่ีใช้จัดกลมุ่ ใหเ้ พื่อนและผู้สอนฟงั และ
อภิปรายร่วมกนั ในช้ันเรยี น

๑๐ Chain Note ผู้สอนเตรยี มคาถาม/ข้อความที่เกี่ยวข้องกับเน้ือหาที่ต้องการไว้
โดยอาจพมิ พล์ งบนกระดาษ A ๔ แล้วให้ผเู้ รยี นแตล่ ะคนตอบ
คาถามหรือข้อความนั้นๆ เพียง ๑-๒ประโยค จากน้ันสง่ ตอ่
กระดาษแผ่นนัน้ ใหเ้ พือ่ นทน่ี ่งั ถัดไปเพอ่ื ชว่ ยกันตอบคาถามนั้นให้
สมบรู ณย์ ิ่งขึน้ สามารถใช้ก่อนเรยี นหรอื หลงั เรียนได้ และควรสง่
กระดาษแผน่ นนั้ กลบั ในทิศทางเดิม เพื่อใหผ้ ู้ท่ีเขียนก่อนได้อ่าน
ความเห็นทั้งหมดด้วย

เครอ่ื งมือพฒั นาส่คู วามเป็นโรงเรียนสุขภาวะ ๙๖

๙๐ à¤Ã×Í่ §Á×;Ѳ¹ÒÊÙ‹¤ÇÒÁ໚¹âçàÃÕÂ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ

ท่ี เทคนิค วธิ ีการดาเนนิ การ
๑๑ Students’ Reflection
นกั เรียนสรุปส่ิงท่ไี ดเ้ รียนรู้ในคาบเรยี น เสนอแนะเกยี่ วกับการเรียน
๑๒ One minute paper ถามคาถามท่ียงั สงสยั หรือให้ผู้เรียนคน้ คว้าเพิม่ เติมเกย่ี วกับสิง่ ท่ี
๑๓ Rally robin เรยี น เช่น
๑๔ Rally table
๑๕ Round robin - Know – Want – Learned เมือ่ เรม่ิ ต้นบทเรียน ใหผ้ ูเ้ รยี น
เขียนสง่ิ ที่รแู้ ละสิง่ ทอี่ ยากรู้เกี่ยวกับเน้อื หาท่ีจะเรียน เม่ือจบ
บทเรยี น ใหผ้ ้เู รียนเขยี นสรุปสงิ่ ทไ่ี ดเ้ รยี นรู้

- Got – Need และ Exit Ticket เม่อื จบบทเรยี น ให้ผู้เรยี น
เขยี นส่งิ ที่ได้เรียนรู้ อาจเปน็ การสรปุ ร่วมกนั หน้าชน้ั เรียน และ
วางแผนกจิ กรรมการเรยี นจากสิง่ ท่อี ยากร้เู พมิ่ เติม

- Diary/ Journal Note เขียนสรปุ สงิ่ ท่ไี ด้เรียนรู้ คาถามทย่ี ัง
สงสัย ความในใจ

นักเรียนเขยี นสงิ่ ท่ีกาหนดให้ลงในกระดาษ โดยกาหนดเวลาให้
๑ นาที อาจปรบั ใช้สาหรบั ข้ันนาเขา้ สู่บทเรยี น เพื่อเปน็ การ
ตรวจสอบความร้เู ดมิ ของนักเรยี น หรือขนั้ สรปุ สาหรับให้นักเรยี น
สรปุ ความรู้จากการเรียน

นกั เรยี นแบง่ เป็นกลุม่ ยอ่ ย แล้วครเู ปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นได้พูด
ตอบ แสดงความคดิ เห็นเป็นคู่ ๆ แต่ละค่จู ะผลดั กันพูด และฟังโดย
ใชเ้ วลาเท่าๆ กัน

เป็นเทคนคิ คลา้ ยกับการพูดเป็นคู่ ตา่ งกันเพยี งแต่ละคผู่ ลัดกัน
เขียนหรอื วาดแทนการพูด

นักเรียนในกลุม่ ผลดั กันพูด ตอบ อธบิ ายซ่งึ เป็นการพดู ที่ผลัดกันที
ละคนตามเวลาท่ีกาหนดจนครบทกุ คน (อาจเป็นกล่มุ ใหญ่หรือ
กลมุ่ ย่อย)

เครื่องมือพฒั นาส่คู วามเปน็ โรงเรียนสขุ ภาวะ ๙๗

à¤Ã×่ͧÁÍ× ¾Ñ²¹ÒÊ‹Ù¤ÇÒÁ໚¹âçàÃÂÕ ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ ๙๑

ท่ี เทคนคิ วธิ ีการดาเนินการ
๑๖ Round table
เปน็ เทคนคิ ที่เหมือนกับการพูดรอบวงแตกตา่ งกนั ที่เน้นการเขียน
๑๗ Simultaneous round table แทนการพูด เม่ือครถู ามปญั หาหรอื ให้นกั เรียนแสดงความคิดเหน็
๑๘ Pairs check นกั เรียนจะผลัดกันเขยี นลงในกระดาษท่เี ตรียมไวท้ ีละคนตามเวลา
ทกี่ าหนด

เทคนคิ นเ้ี หมือนการเขียนรอบวง แตกตา่ งกันทีเ่ น้นให้สมาชิกทุก
คนในกลมุ่ เขียนคาตอบพร้อมกนั

แบง่ กลมุ่ นักเรียน สมาชิกในกลุ่มจบั ค่กู นั ทางาน เมือ่ ไดร้ บั คาถาม
หรอื ปัญหาจากครู นกั เรียนคนหนงึ่ จะเปน็ คนทาและอีกคนหน่ึง
ทาหนา้ ทเ่ี สนอแนะหลังจากท่ีทาขอ้ ที่ ๑ เสร็จ นักเรยี นคู่นน้ั จะ
สลับหนา้ ท่ีกัน เมือ่ ทาเสรจ็ ครบแต่ละ ๒ ข้อ แตล่ ะคจู่ ะนาคาตอบ
มาและเปล่ียนและตรวจสอบคาตอบของคู่อื่น

๑๙ Numbered heads together แบ่งนักเรยี นเปน็ กลุ่มด้วยกลุ่มละ ๔ คน ทมี คี วามสามารถคละ
กนั แตล่ ะคนมหี มายเลขประจาตวั แลว้ ครูถามคาถาม หรือ
มอบหมายงานใหท้ า แล้วให้นกั เรยี นได้อภิปรายในกล่มุ ย่อยจน
ม่นั ใจว่าสมาชิกในกล่มุ ทุกคนเขา้ ใจคาตอบ ครูจึงเรยี นหมายเลข
ประจาตัวผเู้ รยี น หมายเลขท่ีครูเรยี กจะเป็นผู้ตอบคาถามดังกล่าว

๒๐ Line-ups นักเรียนยนื แถวเรียงลาดบั ภาพ คา หรอื สงิ่ ที่ครูกาหนดให้ เช่น
ครูใหภ้ าพตา่ งๆ แกน่ ักเรยี น แล้วใหน้ กั เรยี นยืนเรียงลาดบั ภาพ
ขั้นตอนของวงจรชวี ติ ของแมลง ห่วงโซอ่ าหาร เปน็ ต้น

๒๑ Inside–outside circle นกั เรยี นน่ังหรือยืนเป็นวงกลมซ้อนกนั ๒วง จานวนเทา่ กนั วงใน
หนั หน้าออก วงนอกหันหน้าเข้า นกั เรยี นที่อยู่ตรงกบั จบั คู่กันเพ่ือ
สมั ภาษณ์ซึง่ กนั และกัน หรอื อภิปรายปญั หารว่ มกนั จากน้นั จะ
หมนุ เวยี นโดยนักเรยี นวงนอกและวงในเคล่ือนไปในทิศทางตรง
ข้ามกันเพ่ือเปล่ยี นคู่ใหม่ไปเร่ือยๆ ไม่ซ้าคู่กัน

เครือ่ งมอื พฒั นาสู่ความเปน็ โรงเรียนสขุ ภาวะ ๙๘

๙๒ à¤Ã่Í× §ÁÍ× ¾Ñ²¹Òʤً ÇÒÁ໚¹âçàÃÂÕ ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ

ที่ เทคนคิ วิธกี ารดาเนนิ การ
๒๒ Corners
ครเู สนอปญั หา และประกาศในมุมต่าง ๆ ภายในหอ้ งเรยี นแทน
๒๓ Pair discussion แตล่ ะข้อ แลว้ นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มยอ่ ยเขยี นหมายเลขข้อท่ีชอบ
๒๔ Team - pair – solo มากกวา่ และเคล่ือนเข้าสู่มุมที่เลอื กไว้ นกั เรยี นร่วมกันอภิปราย
๒๕ Team – interview ภายในกลุ่มตามมุมตา่ งๆ หลงั จากนน้ั จะเปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนใน
มมุ ใดมุมหนงึ่ อภิปรายเรื่องราวท่ีไดศ้ ึกษาใหเ้ พื่อนในมุมอนื่ ฟงั
๒๖ The power of two
ครูกาหนดหัวข้อหรอื คาถาม แลว้ ใหส้ มาชกิ ทนี ง่ั ใกล้กนั ร่วมกันคดิ
และอภิปรายเป็นคู่

ครูกาหนดปัญหาหรืองานให้แลว้ นกั เรยี นทางานร่วมกันทงั้ กลุ่มจน
งานสาเรจ็ จากนน้ั จะแยกทางานเป็นคู่จนงานสาเรจ็ สดุ ท้าย
นกั เรียนแต่ละคนแยกมาทาเองจนสาเร็จไดด้ ้วยตนเอง

กาหนดหมายเลขของสมาชกิ แตล่ ะคนในกลุ่ม แลว้ ครผู ้สู อน
กาหนดหวั ข้อและอธิบายหัวข้อให้นักเรยี นท้งั ช้ันสมุ่ หมายเลขของ
นักเรยี นในกลุ่มยนื ข้นึ แลว้ ให้เพอ่ื นๆ รว่ มทีมเปน็ ผู้สมั ภาษณ์และ
ผลดั กันถาม โดยเรียงลาดับเพ่อื นให้ทกุ คนมสี ่วนร่วมเทา่ ๆ กนั
เม่อื หมดเวลาตามท่ีกาหนด คนทีถ่ ูกสมั ภาษณ์นั่งลง และนักเรยี น
หมายเลขต่อไปนแ้ี ละถูกสมั ภาษณ์หมนุ เวยี นเชน่ นเ้ี รือ่ ยไปจนครบ
ทุกคน

ให้นกั เรยี นจบั บตั รคาถาม คนละ ๑ คาถาม นกั เรยี นแตล่ ะคนคิด
หาคาตอบดว้ ยตนเอง แลว้ เขียนตอบ แล้วจับคู่กนั แลกเปล่ียน
คาถามและคาตอบ หลังจากน้ันนักเรียนแต่ละคู่ชว่ ยกนั เรยี บ
เรยี งคาตอบใหม่ นาคาตอบของคตู่ นเองไปเปรยี บเทียบกบั คาตอบ
ของค่อู ื่นๆ ในชั้นเรียน สดุ ท้ายครแู ละนกั เรียนชว่ ยกันสรุปคาตอบ

เคร่ืองมอื พฒั นาสู่ความเป็นโรงเรียนสุขภาวะ ๙๙

à¤Ã่Í× §Á×;Ѳ¹ÒÊÙ‹¤ÇÒÁ໚¹âçàÃÂÕ ¹ÊØ¢ÀÒÇÐ ๙๓

ที่ เทคนิค วธิ กี ารดาเนินการ
๒๗ Gallery of Learning
แบ่งนกั เรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๒-๔ คน ครตู ดิ กระดาษปรู๊ฟท่ี
บรเิ วณผนังห้อง สมาชกิ ของกลุ่มร่วมกนั อภปิ รายเกยี่ วกบั สิ่งที่
ไดร้ บั จากการเรียนรู้ อาจระบุเป็นหัวขอ้ เช่น ความรู้ใหม่, ทักษะ
ใหม่, สง่ิ ท่ีได้รับการพัฒนา, ค้นพบความสนใจใหมใ่ นเร่ือง…,
มีความมัน่ ใจในเรือ่ ง..., นักเรยี นแต่ละคนเขยี นประเดน็ ที่ได้เรียนรู้
ลงในกระดาษ post-it หรอื กระดาษทีต่ ัดเป็นช้นิ นาไปติดลงใน
กระดาษปรู๊ฟใหต้ รงตามคอลัมนข์ องประเดน็ ท่ตี นเองเขยี น
ครูและนกั เรียนร่วมกันตรวจสอบผล แล้วสรปุ ขอ้ ดแี ละข้อควร
ปรบั ปรุงในการเรียน

เครื่องมือพฒั นาส่คู วามเป็นโรงเรยี นสขุ ภาวะ ๑๐๐

๙๔ à¤ÃÍ่× §Á×;Ѳ¹ÒÊÙ‹¤ÇÒÁ໚¹âçàÃÂÕ ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ


เครื่องมอื พัฒนาความร่วมมือกับครอบครัวและชมุ ชน

หน่ึงในนักวิจัยชั้นนาทางด้านแนวคิดการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง (Parent involvem) คือ Dr.Joyce
L.Epstein ผู้ก่อตั้งและผู้อานวยการศูนย์พันธมิตรโรงเรียน ครอบครัว และชุมชน แห่งมหาวิทยาลัย จอห์น
ฮ็อบกินส์ รัฐแมรีแลนด์ สหรัฐอเมริกา ได้เสนอกรอบแนวคิดจากการวิจัยที่ประกอบด้วยองค์ประกอบ ๖ ด้าน
ท่ีมีผลอย่างมากต่อการประสบความสาเร็จทางการเรียนของนักเรียนซ่ึงปัจจัยท่ีมีผลต่อการเรียนประกอบด้วย ความเป็น
ผู้ปกครอง (Parenting) การสร้างช่องทางติดต่อสื่อสาร (Communicating) ผู้ปกครองอาสา (Volunteering) เรียนรู้
ท่ีบ้าน (Learning at Home) การร่วมตัดสินใจ (Decision Making) และพลังเสริมจากชุมชน (Collaborating with
Community) ซง่ึ โรงเรยี นสุขภาวะไดน้ ามาประยกุ ตใ์ ช้ในการพฒั นาโรงเรยี น ดงั น้ี

à¤Ã่×ͧÁ×;²Ñ ¹Òʤً ÇÒÁ໚¹âçàÃÂÕ ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ ๙๕

๑. ความเป็นผู้ปกครอง ประกอบด้วยทุกกิจกรรมที่ผู้ปกครองมีส่วนร่วมเพ่ืออบรมเลี้ยงดูบุตรให้มี
สุขภาพดีท้ังกายและใจ และมีความสุขซ่ึงจะเป็นนักเรียนที่มีความสามารถที่ดีต่อไป ครูที่มีปฏิสัมพันธ์กับนักเรียน
ค่อนข้างจากัดทาให้มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของนักเรียนน้อยกว่า ผู้ปกครองมีความรับผิดชอบจะต้องดูแลเล้ียงดู
บุตรตลอดชีวิตทาให้มีอิทธิพลต่อเด็กมากกว่า ดังนั้นกิจกรรมท่ีส่งเสริมช่วยเหลือคือการให้ข้อมูลแก่ผู้ปกครอง
เก่ียวกับพัฒนาการ สุขภาพ ความปลอดภัยของบุตรหลานของตน หรือข้อมูลทางด้านการจัดบรรยากาศในบ้านที่
ส่งเสริมการเรียนรู้ของบุตรหลาน รวมถึงการให้การศึกษาหรือการอบรมต่างๆแก่ผู้ปกครอง การจัดให้มีโปรแกรม
ส่งเสริมและช่วยเหลือครอบครัวด้านสุขภาพ โภชนาการ และบริการอื่นๆ และกิจกรรมการเย่ียมบ้านโดยเฉพาะ
ในชว่ งจุดเปลี่ยนตา่ งในขณะทน่ี กั เรียนเลือ่ นชัน้ ขน้ึ ไปชั้นประถม มัธยมตน้ และมัธยมปลาย

๒. การสร้างช่องทางติดต่อส่ือสาร ครอบครัวและโรงเรียนสามารถติดต่อส่ือสารกันได้หลายทางท้ังจาก
โรงเรียนถึงผู้ปกครอง และจากผู้ปกครองถึงโรงเรียน โดยเฉพาะการสื่อสารให้ผู้ปกครองรู้เก่ียวกับโปรแกรมการ

เรียนของโรงเรียน และความก้าวหน้าของบุตรหลาน เช่นโรงเรียนส่งข้อความหรือแผ่นพับแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับ

เหตุการณ์และกิจกรรมสาคัญต่างๆ หรือผู้ปกครองให้ข้อมูลกับทางโรงเรียนเกี่ยวกับประวิติทางสุขภาพหรือทาง
การศึกษา เว็บไซต์ของโรงเรียนก็เป็นอีกหนึ่งช่องทางเพ่ิมเติมท่ีจะส่ือสารกับผู้ปกครองและครอบครัวของนักเรียน

เครือ่ งมอื พฒั นาสู่ความเปน็ โรงเรียนสขุ ภาวะ ๑๐๒

๙๖ à¤Ã×Í่ §ÁÍ× ¾Ñ²¹Òʤ‹Ù ÇÒÁ໚¹âçàÃÕÂ¹Ê¢Ø ÀÒÇÐ


Click to View FlipBook Version