The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอน เสียง ม5

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jatoorong, 2022-09-02 04:04:37

แผนการสอน เสียง ม5

แผนการสอน เสียง ม5

รายวชิ า ฟิสกิ สเ์ พมิ เตมิ 3

ครจู าตรุ งค ์ พรหมสถติ ย ์

ตําแหน่ง ครู
โรงเรยี นคณะราษฎรบาํ รงุ จงั หวดั ยะลา

สาํ นกั งานเขตพนื ทกี ารศกึ ษมธั ยมศกึ ษา ยะลา

แผนการจัดการเรียนรทู ี่ 24 รายวชิ า ว32201 วิชาฟสกิ สเ พมิ่ เติม
กลมุ สาระการเรียนรูว ทิ ยาศาสตร ชั้น ม.5 เวลาเรียน 2 คาบ
หนวยการเรยี นรู 12 เรื่อง เสยี ง(การเคลื่อนท่ีของเสียง)
ครูผสู อน นศ.ปส.นัศรนู การีนา ครพู เ่ี ลย้ี ง ครูจาตุรงค พรหมสถิตย
โรงเรยี นคณะราษฎรบาํ รงุ จังหวัดยะลา สพม.15

1. มาตรฐานการเรยี นรู :
ว 5.2 เขาใจการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกสอยางงาย ธรรมชาติของคลื่น เสียงและการไดยิน

ปรากฏการณท่ีเกย่ี วของกับเสยี ง แสงและการมองเห็น ปรากฏการณท ่ีเกย่ี วขอ งกบั แสง รวมทั้งนาํ ความรไู ป
ใชป ระโยชน
2. ผลการเรยี นรู :

1. อธิบายการเกิดเสียง การเคลื่อนที่ของเสียง ความสัมพันธระหวางคล่ืนการกระจัดของอนุภาคกับ
คลื่นความดัน ความสัมพันธระหวางอัตราเร็วของเสียงในอากาศที่ขึ้นกับอุณหภูมิในหนวยองศาเซลเซียส
การสะทอน การหักเห การแทรกสอด การเล้ียวเบน ของคลื่นเสียง รวมทั้งคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ี
เก่ยี วขอ ง

3. จุดเนน (สพฐ., สพม., โรงเรียน/อัตลกั ษณ)
มงุ มัน่ ในการศึกษาและการทํางาน
แสวงหาความรเู พื่อการแกป ญ หา
มีทักษะการคิดขัน้ สงู

4. สาระสาํ คัญ :

คล่ืนเสียง (sound wave) เปนคล่ืนกลชนิดหนึ่ง ซึ่งตองอาศัยตัวกลางในการเคล่ือนที่ คลื่นเสียงเกิด
จากการส่ันของวัตถุ และเคล่ือนที่ผานตัวกลางจากที่หน่ึงไปยังอีกที่หนึ่ง เมื่อคล่ืนเสียงเคลื่อนท่ีไปก็จะเกิดการ
ถา ยโอนพลงั งานจากทีห่ นง่ึ ไปยังอีกทีห่ น่ึง

เสียงเกิดจากการส่นั ของแหลงกาํ เนิดเสยี ง และถา ยโอนพลังงานการส่ันไปยังอนุภาคของตัวกลางท่ีอยู
ตดิ กบั แหลงกําเนดิ เสยี ง ทาํ ใหอนภุ าคของตัวกลางสนั่ และถายโอนพลังงานตอไปยังอนุภาคท่ีอยูถัดกนั ไปเรื่อยๆ
จนถึงหผู ูฟง ทําใหเ กดิ การเคลอ่ื นท่ขี องเสยี ง (Sound propagation)

คลื่นเสียงในอากาศ เม่ือตัวกอเกิดเสียงมีการส่ัน โมเลกุลของอากาศจะทําหนาท่ีเปนตัวกลางในการ
ถายโอนพลังงานของการสัน่ ใหก บั โมเลกลุ ของอากาศที่อยรู อบๆ โดยการชน

กรณีการเคล่ือนท่ีของเสียงในอากาศ พบวาทิศการเคล่ือนท่ีของคลื่นเสียงกับทิศการส่ันของอนุภาค
ของอากาศอยูในแนวเดียวกนั ดังน้ัน เสยี งจงึ เปน คลื่นเสียงตามยาว

5. จุดประสงคการเรยี นรู

5.1 ดา นความรู (Knowledge; K)
1) อธบิ ายการเกดิ เสยี งและการเคล่อื นท่ขี องเสยี ง

2) อธิบายความสมั พันธร ะหวา งคลื่นการกระจดั ของอนภุ าคกับคลืน่ ความดันขณะคล่ืนเสียง

5.2 ดานทกั ษะกระบวนการ (Process; P)

1) นักเรยี นสามารถจดั กระทาํ และสอ่ื ความหมายของขอ มูลท่ศี กึ ษาคนควาได

5.3 ดานคุณลกั ษณะอันพึงประสงค (Attitude; A)

1. การตรงตอเวลา

2. ความรบั ผิดชอบตองานทไี่ ดร บั มอบหมาย

3. นักเรยี นมจี ติ วิทยาศาสตรด า นความมเี หตผุ ล

6. สมรรถนะสําคัญ :

สมรรถนะสําคัญของผูเรียนหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน มุงใหผเู รียนเกิดสมรรถนะสําคัญ 5 ประการ ดังนี้

1. ความสามารถในการสอื่ สาร

2. ความสามารถในการคดิ

3. ความสามารถในการแกปญ หา

4. ความสามารถในการใชทักษะชวี ติ

5. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี

7. บูรณาการ

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง อาเซยี น ทองถิ่น

สงเสริมใหนักเรียนเรียนรูคําศัพทเฉพาะภาษาอังกฤษท่ีเกี่ยวกับการเคลื่อนท่ีแบบฮารมอนิกอยางงาย และ
เสริมแนวทางการนําความรูเรื่องการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย ไปใชอธิบายปรากฏการณที่เกิดข้ึนและ
แกป ญหาในทอ งถ่นิ

8. ส่ือ/แหลง เรยี นรู :
8.1 คลปิ วดี โี อ เพลง ตราบธุรดี นิ -PMC Fingerstyle Guitar Cover by ToeyGuitar (TAB)
- https://www.youtube.com/watch?v=GnTnOhdQkig
8.2 ใบกิจกรรม เรื่อง การเกดิ เสยี งและการเคล่ือนที่ของเสียง
8.3 หนังสือเรียนรายวิชาเพ่ิมเติมวิทยาศาสตร (ฟสิกส) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 เลม 4 (ฉบับปรับปรุง

พ.ศ.2560)
8.4 หองสมดุ

8.5 อินเทอรเ น็ต

9.การวัดและประเมินผล :

จุดประสงคการเรียนรู วธิ ีการวดั เครื่องมอื เกณฑก ารประเมิน

ดา นความรู (K)

1) อธบิ ายการเกิดเสียงและการเคลื่อนท่ีของ 1) ตรวจใบกจิ กรรม 1) แบบประเมินการ 1) นกั เรยี นสามารถ

เสียง เรอื่ ง การเกิดเสียงและ ทาํ กิจกรรม ตอบคาํ ถามในใบ

2) อธิบายความสัมพันธระหวางคล่นื การ การเคล่ือนทข่ี องเสยี ง 2) ใบกจิ กรรม เรอื่ ง กจิ กรรมไดร ะดบั ดี

กระจัดของอนภุ าคกับคลนื่ ความดันขณะ การเกดิ เสยี งและการ ผานเกณฑ

คลื่นเสียงเคลอื่ นท่ีผาน เคลอ่ื นที่ของเสยี ง

ดา นกระบวนการ (P)

1) นักเรียนสามารถจัดกระทาํ และส่ือ 1) ตรวจใบกิจกรรม 1) แบบประเมินการ 1) นกั เรียนสามารถ

ความหมายของขอ มูลทศี่ ึกษาคนควาได เรอ่ื ง การเกดิ เสียงและ ทํากิจกรรม ตอบคาํ ถามในใบ

การเคลือ่ นที่ของเสยี ง 2) ใบกิจกรรม เรอื่ ง กิจกรรมไดระดับดี

การเกิดเสียงและการ ผานเกณฑ

เคลอ่ื นที่ของเสยี ง

ดา นคณุ ลกั ษณะ (A) 1) ตรวจใบกจิ กรรม 1) แบบประเมินการ 1) นกั เรียนทาํ ภาระ
1) เปนผมู ีความรับผิดชอบและ
เปน ผูมคี วามมงุ มัน่ ในการทาํ งาน เร่ือง การเกดิ เสยี งและ ทํากจิ กรรม งานท่ไี ดร ับ

การเคลือ่ นท่ีของเสียง มอบหมายไดระดับดี

ผา นเกณฑ

10. กิจกรรมการเรียนรู :
ขั้นท่ี 1 ขัน้ สรางความสนใจ
1.1 ครูใหนักเรียนยกตัวอยางเกี่ยวกับเสียงท่ีไดยินในชีวิตประจําวัน และใหนักเรียนทุกคน
ทดลองเอามอื จับทลี่ ําคอขณะเปลง เสยี ง แลว สงั เกตการสัน่ ของลาํ คอ
1.2 ครูถามนักเรียนวาเกิดอะไรข้ึนบาง (นักเรียนควรตอบไดวา รูสึกไดวามีบางอยางส่ันใน
ลําคอระหวา งเปลงเสียงออกมา)

1.3 ครูอธิบายตามรายละเอียดในหนังสือเรียน หนา 3 เพื่อชี้ใหนักเรียนเห็นวาเสียงมี
ความสําคัญตอ มนษุ ยมาก

1.4 ครูตั้งคําถามเพ่ือนาํ เขาสูก ารทาํ กิจกรรม
1) ครูเปดวีดิโอเก่ียวกับดีดกีตาร พรอมกับถามนักเรียนวา เสียงที่ไดยินเกิดขึ้นได

อยางไร (แนวตอบ เสยี งเกดิ จากการดีดกตี าร)
2) เมอ่ื ดีดกตี ารท าํ ไมจงึ เกิดเสยี ง และในขณะดีดสายกีตารจ ะมลี กั ษณะเปน อยางไร

(แนวการตอบ เมื่อดดี สายกีตารจะเกดิ การส่นั ของสายกตี าร ทําใหเ กิดเสียง)
3) นักเรียนคิดวา เมื่อดีดสายกีตารใหส่ัน แลวจับสายกีตารใหหยุดทันที (แนวการ

ตอบ เมอ่ื จบั สายกตี ารใหหยดุ สนั่ เสยี งจะเงยี บทันที)
4) ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายจนไดขอสรุปวา เสียงเกิดจากการส่ันของวัตถุ

(แหลงกําเนิดเสียง) เสียงเปนคล่ืนกล เสียงที่เราไดยินทุกวันอาศัยอากาศเปนตัวกลางในการถายโอน
พลงั งาน

5) การสัน่ ทุกชนิดทาํ ใหเกดิ เสยี งท่ีมนษุ ยไ ดย ินหรอื ไม
6) ขณะเกิดคลืน่ เสียง อนภุ าคของตวั กลางมีการเคลอื่ นที่อยางไร และเคล่ือนที่ไปกับ
คลืน่ หรือไม

ขน้ั ท่ี 2 ข้นั สํารวจและคนหา
2.1 นักเรยี นทกุ คนศึกษาคน ควา เร่อื ง การเกดิ เสยี งและการเคลอ่ื นท่ีของเสยี ง ในหนงั สอื

เรียน หนา 3 - 8
2.2 นกั เรยี นทาํ กิจกรรม เรือ่ ง การเกิดเสียงและการเคลื่อนทีข่ องเสียง ลงในใบกจิ กรรมท่ีครู
แจกให

ข้ันท่ี 3 ขน้ั อธบิ ายและลงขอสรุป
3.1 ครสู มุ นักเรยี น 1 คน ออกมานําเสนอผลงานของตนเองหนา ชั้นเรยี น
3.2 ครนู ํานกั เรียนอภปิ รายเพือ่ นําไปสกู ารสรปุ โดยใชคําถามตอ ไปนี้
1) เสียงเกิดขน้ึ ไดอยา งไร (แนวการตอบ เกดิ จากการสั่นของวัตถุ)
2) คล่ืนเสียงเปนคลื่นชนิดใด (แนวการตอบ คลื่นเสียงเปนคล่ืนกล หรือ คล่ืน

ตามยาว)
3) จงอธิบายความหมายของคล่ืนเสียง (แนวการตอบ เปนคลื่นกลชนิดหน่ึง ซ่ึงตอง

อาศัยตัวกลางในการเคลื่อนท่ี คลื่นเสียงเกิดจากการส่ันของวัตถุ และเคลื่อนที่ผานตัวกลางจากที่หนง่ึ
ไปยังอีกทห่ี นง่ึ เม่อื คล่นื เสยี งเคล่ือนท่ีไปกจ็ ะเกิดการถา ยโอนพลังงานจากทีห่ นึ่งไปยังอีกที่หนึง่ )

4) นักฟสิกสไดจําแนกชนิดของคล่ืนเสียงตามความถี่ของคล่ืนและความสามารถใน
การไดยนิ ของมนุษย กคี่ ล่ืน อะไรบา ง จงอธิบาย (แนวการตอบ 3 คลน่ื คือ 1) คลื่นทไี่ ดยิน หรือ เสียง

(audible waves หรือ sounds) เปนคล่ืนเสียงที่มีความถี่ที่อยูในชวงท่ีมนุษยไดยิน คือ อยูในชวง 20
– 20000 เฮิรตซ 2) คลื่นใตเสียง (infrasonic waves หรือ infrasounds) เปนคลื่นเสียงที่มีความถ่ี
ต่ํากวาชวงที่มนุษยไดยิน คือ ต่ํากวา 20 เฮิรตซ และ 3) คลื่นเหนือเสียง (ultrasonic waves หรือ
ultrasounds) เปน คลน่ื เสียงทม่ี ีความถสี่ ูงกวา ชวงท่ีมนุษยไดย ิน คอื สูงกวา 20000 เฮิรตซ)

5) ขณะเกดิ คล่ืนเสียง อนภุ าคของตัวกลางมีการเคลื่อนท่ีอยา งไร และเคล่ือนท่ีไปกับ
คล่ืนหรือไม (แนวการตอบ อนุภาคตัวกลางไมไดเคล่ือนที่ไปกับคลื่นเสียง เพราะอนุภาคตัวกลางสั่น
กลบั ไปกลบั มา และถายโอนพลังงานใหกับอนภุ าคทอี่ ยถู ัดกันตอเนื่องกันไป)

3.3 นักเรยี นและครูรวมกนั อภปิ รายและสรปุ การศึกษาคนควาจนสรปุ ได ดังนี้
คล่ืนเสียง (sound wave) เปนคลื่นกลชนิดหน่ึง ซ่ึงตองอาศัยตัวกลางในการ

เคลื่อนท่ีคลื่นเสียงเกิดจากการสั่นของวัตถุ และเคล่ือนท่ีผานตัวกลางจากที่หน่ึงไปยังอีกท่ีหนึ่ง เม่ือ
คล่นื เสยี งเคล่อื นท่ไี ปก็จะเกดิ การถา ยโอนพลังงานจากทหี่ น่งึ ไปยังอีกทห่ี น่ึง

เสียงเกดิ จากการส่ันของวัตถุ แตก ารสน่ั ของวตั ถุทุกชนิดไมจ ําเปน ตองทาํ ใหเ กดิ เสียง
เน่ืองจากเมื่อเราพูดถึง “เสียง” เช่ือมโยงกับการไดยินของมนุษย ซ่ึงการไดยินเสียงของมนุษยขึ้นกับ
ปจจัยหลายดาน เชน ความถี่ของคลื่น แอมพลิจูดของคลื่น เปนตน วัตถุท่ีสั่นและมีการถายโอน
พลังงานไปยงั ตัวกลางท่ีทําใหหูของมนุษยต อบสนองตอการส่ัน เรียกคลน่ื ท่ีเกดิ จากการส่นั น้ันวา เสียง
(sound)

นักฟสิกสไดจําแนกชนิดของคลื่นเสียงตามความถี่ของคลื่นและความสามารถในการ
ไดยนิ ของมนุษย ดงั นี้

1) คลื่นท่ีไดยิน หรือ เสียง (audible waves หรือ sounds) เปนคล่ืนเสียงที่มี
ความถ่ีท่อี ยูใ นชวงทม่ี นษุ ยไดยิน คอื อยูในชว ง 20 – 20000 เฮิรตซ

2) คล่ืนใตเสียง (infrasonic waves หรือ infrasounds) เปนคล่ืนเสียงท่ีมีความถ่ี
ตํ่ากวาชวงทมี่ นุษยไ ดยิน คือ ตํา่ กวา 20 เฮริ ตซ

3) คล่ืนเหนือเสียง (ultrasonic waves หรือ ultrasounds) เปนคลื่นเสียงที่มี
ความถีส่ ูงกวา ชวงทม่ี นษุ ยไ ดย ิน คอื สงู กวา 20000 เฮิรตซ

การเคลื่อนท่ีของเสียง เสียงเกิดจากการสั่นของแหลงกําเนิดเสียง และถายโอน
พลังงานการสั่นไปยังอนุภาคของตัวกลางที่อยูติดกับแหลงกําเนิดเสียง ทําใหอนุภาคของตัวกลางส่ัน
และถา ยโอนพลังงานตอไปยังอนุภาคที่อยูถดั กันไปเร่ือยๆ จนถึงหูผฟู ง พิจารณาการเคลื่อนทข่ี องเสียง
ท่ีเกิดจากการเคาะสอมเสียงยาง ขาสอมเสียงจะสั่นกางออกและหุบเขา ทําใหความหนาแนนของ
อากาศบริเวณรอบสอมเสียงเปล่ียนไป กลาวคือขณะที่ขาสอมเสียงกางออก อนุภาคของอากาศท่ีอยู
ดานที่คลื่นเสียงผานไป จะอยูชิดกันมากข้ึน ความดันอากาศจึงสูงกวาปกติ เรียกวา สวนอัด
(compression) เมื่อขาสอมเสียงหุบเขา อนุภาคของอากาศดานนั้นจะอยูหางกันมาก ความดัน

อากาศจึงต่ํากวาปกติ เรียกวา สวนขยาย(rarefaction) ทําใหอากาศถูกอัดและขยายอยางตอเน่ือง
ตามการสั่นของสอมเสยี ง เกิดเปน คล่ืนเสียงเคลือ่ นทแ่ี ผออกไป

ขัน้ ที่ 4 ขน้ั ขยายความรู
4.1 ครูใหความรูเพิ่มเติมเก่ียวกับ การกระจายตัวของอนุภาคอากาศที่ตําแหนงตางๆ เมื่อ

คล่ืนเสยี งเคล่อื นทผี่ า นไป ณ เวลาหน่ึงเปรียบเทยี บกับคลืน่ ตามยาวในสปรงิ ในหนังสือเรยี น หนา 6- 8
4.2 ครใู หนักเรียนแตล ะคนเลาสูกนั ฟงถึงความรูท ่ีไดจ ากการทํากิจกรรม และปญ หาท่ีเกิดขึ้น

ระหวา งการทํากจิ กรรม

ขนั้ ที่ 5 ขน้ั ประเมินผล
5.1 นกั เรยี นสง ใบกจิ กรรม เรือ่ ง การเกดิ เสียงและการเคลื่อนทขี่ องเสียง

11. บนั ทกึ หลังสอน :

หวั ขอ ม. 5/2 ม.5/5

ชั้น
ผลการจดั การเรียนการสอน

 ความรคู วามสามารถ

 ทักษะกระบวนการ

 คณุ ลกั ษณะอันพงึ
ประสงค

ปญหา/อุปสรรค
 ความรูความสามารถ

หัวขอ ม.5/5
ม. 5/2

ชัน้

 ทักษะกระบวนการ

 คณุ ลักษณะอนั พงึ
ประสงค

แนวทางแกไข
 ความรคู วามสามารถ

 ทกั ษะกระบวนการ

 คุณลกั ษณะอนั พึง
ประสงค

ลงช่ือ…………………………………………………
(……………………………………………………..)

ครูผสู อน

ความคดิ เหน็ ของหัวหนา กลุมสาระการเรยี นรู

ลงช่ือ…………………………………………………
(……………………………………………………..)

หวั หนา กลมุ สาระการเรยี นรู

ความเห็นของรองผูอาํ นวยการกลมุ บรหิ ารวิชาการ/ผูบรหิ าร หรอื ผทู ีไ่ ดรับมอบหมาย

ลงชอื่ …………………………………………………
(……………………………………………………..)
ตาํ แหนง…………………………………………..

ช่อื ชั้น เลขที่ ‘

ใบกิจกรรม เรื่อง การเกิดเสยี งและการเคลือ่ นที่ของเสียง

1. สรปุ สง่ิ ที่ไดจ ากการศกึ ษาคนควา

คลื่นเสียง (sound wave) เปนคล่ืนกลชนิดหน่ึง ซึ่งตองอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ คล่ืนเสียงเกิด

จากการส่ันของวัตถุ และเคล่ือนท่ีผานตัวกลางจากท่ีหน่ึงไปยังอีกที่หนึ่ง เมื่อคล่ืนเสียงเคล่ือนที่ไปก็จะเกิดการถาย

โอนพลังงานจากท่ีหน่ึงไปยังอีกที่หน่ึงเสียงเกิดจากการส่ันของวัตถุ จําแนกชนิดของคล่ืนเสียงตามความถี่ของคลื่น

และความสามารถในการไดยินของมนุษย ดังนี้ 1) คลื่นท่ีไดยิน หรือ เสียง (audible waves หรือ sounds) เปน

คล่ืนเสียงท่ีมีความถ่ีที่อยูในชวงที่มนุษยไดยิน คือ อยูในชวง 20 – 20000 เฮิรตซ 2) คล่ืนใตเสียง (infrasonic

waves ห รื อ infrasounds)

เปนคล่ืนเสียงที่มีความถ่ีต่ํากวาชวงที่มนุษยไดยิน คือ ตํ่ากวา 20 เฮิรตซ 3) คลื่นเหนือเสียง (ultrasonic waves

หรือ ultrasounds) เปนคล่ืนเสียงท่ีมีความถี่สูงกวาชวงที่มนุษยไดยิน คือ สูงกวา 20000 เฮิรตซ การเคลื่อนท่ีของ

เ สี ย ง

เสียงเกิดจากการสั่นของแหลงกําเนิดเสียง และถายโอนพลังงานการสั่นไปยังอนุภาคของตัวกลางที่อยูติดกับ

แหลงกาํ เนดิ เสยี ง ทาํ ใหอ นุภาคของตัวกลางสั่นและถายโอนพลังงานตอไปยังอนุภาคทอี่ ยูถดั กนั ไปเรอ่ื ยๆ จนถงึ หู

2. ตรวจสอบความเขา ใจ (การเกดิ เสยี งและการเคล่อื นที่ของเสยี ง)

2.1 เสียงเกดิ ขน้ึ ไดอยางไร

ตอบ แหลงกําเนิดเสยี ง ทาํ ใหอนภุ าคของตวั กลางสนั่ และถายโอนพลงั งานตอไปยงั อนภุ าคทอ่ี ยูถดั กนั ไปเรื่อยๆ

2.2 คลืน่ เสยี งเปน คล่ืนชนิดใด

ตอบแหลง กําเนิดเสียง ทาํ ใหอนุภาคของตวั กลางส่ันและถายโอนพลงั งานตอไปยงั อนุภาคท่อี ยูถัดกนั ไปเร่ือยๆ

2.3 จงอธบิ ายความหมายของคลน่ื เสยี ง

ตอบ เปนคลื่นกลชนิดหน่ึง ซึ่งตองอาศัยตัวกลางในการเคล่ือนที่ คลื่นเสียงเกิดจากการสั่นของวัตถุ และ

เคลื่อนท่ีผานตัวกลางจากท่ีหน่ึงไปยังอีกท่ีหนึ่ง เมื่อคล่ืนเสียงเคลื่อนที่ไปก็จะเกิดการถายโอนพลังงานจากท่ี

หนง่ึ ไปยงั อีกทห่ี นึง่ v

2.4 นักฟสกิ สไ ดจําแนกชนิดของคลื่นเสยี งตามความถ่ีของคลนื่ และความสามารถในการไดยินของมนุษย กคี่ ลน่ื

อะไรบาง จงอธบิ าย

ตอบ 3 คลื่น คือ 1) คลืน่ ทีไ่ ดย ิน หรอื เสียง (audible waves หรือ sounds) เปน คลน่ื เสียงท่มี ีความถ่ีทอ่ี ยูในชวง

ท่ีมนุษยไดยิน คือ อยูในชวง 20 – 20000 เฮิรตซ 2) คลื่นใตเสียง (infrasonic waves หรือ infrasounds) เปน

คล่ืนเสียงท่ีมีความถ่ีตํ่ากวาชวงท่ีมนุษยไดยิน คือ ต่ํากวา 20 เฮิรตซ และ 3) คล่ืนเหนือเสียง (ultrasonic waves

หรอื ultrasounds) เปน คลื่นเสยี งที่มคี วามถส่ี งู กวา ชว งทม่ี นษุ ยไดย นิ คือ สูงกวา 20000 เฮิรตซ .

2.5 ขณะเกดิ คลน่ื เสียง อนภุ าคของตัวกลางมีการเคลอ่ื นที่อยา งไร และเคล่อื นที่ไปกบั คลน่ื หรอื ไม

ตอบ อนุภาคตัวกลางไมไดเคล่ือนท่ีไปกับคลื่นเสียง เพราะอนุภาคตัวกลางสั่นกลับไปกลับมา และถายโอนพลังงาน

3. จากกมราฟระหวา งการกระจัดของอนภุ าคอากาศหนง่ึ (แทนดวยจุดสแี ดง) กับเวลา ใหน ักเรยี นตอบคาํ ถามลงใน
ชองวางใหถ ูกตองสมบรู ณ

อดั ขยาย อดั ขยาย

3.1ขวา

ทเี่ วลา t = 0
ตําแหนงสมดลุ - การกระจดั ของอนภุ าค มีคา
0 ม

- อนุภาคอยทู ่ตี ําแหนง สมดลุ ใ

ซา ย

3.2 ทเี่ วลา t = T/4
ขวา
ตําแหนง สมดลุ - การกระจัดของอนุภาค มีคา มากที่สุดไปทางขวา
ซา ย
3.3 ขวา (เปน บวก) ว

ซาย - อนภุ าคอยทู ่ตี ําแหนง สนั คลืน่ ใ
3.4 ขวา
ทเ่ี วลา t = T/2 ม
ซา ย ตําแหนง สมดลุ - การกระจดั ของอนภุ าค มีคา 0 ใ

- อนภุ าคอยทู ี่ตําแหนง สมดลุ

ทเี่ วลา t = 3T/4

ตาํ แหนงสมดลุ - การกระจัดของอนุภาค มีคา มากท่ีสุดไปทางซา ย ม
(เปนลบ)

- อนุภาคอยูท ต่ี ําแหนง ทอ งคลืน่ ใ



3.5 ทเี่ วลา t = T ม
ขวา ใ
ซา ย ตําแหนงสมดุล - การกระจัดของอนุภาค มีคา 0
- อนภุ าคอยูที่ตําแหนง สมดุล



3.6 การเคลอื่ นทขี่ องอนุภาคอากาศมลี กั ษณะอยางไร

ตอบ อนุภาคของอากาศจะเคลื่อนท่ีกลับไปกลับมาในแนวเดียวกับทิศทางการเคล่ือนท่ีของคล่ืนเสียง โดยไม

เคลื่อนทีไ่ ปพรอ มกับคลื่นเสี ยง

4. ตรวจสอบความเขาใจ (ความสัมพนั ธร ะหวา งคลน่ื การกระจดั ของอนุภาคกบั คล่นื ความดนั ขณะคล่ืนเสียงเคล่ือนท่ีผาน)

4.1 กราฟระหวา งความดนั อากาศทีต่ ําแหนงตา ง ๆ ของอนุภาคของอากาศกับตําแหนงตามแนวการเคลื่อนที่ของคลื่น

เสียง

เปน ดงั รปู

1) ตําแหนงใดบาง ทีข่ นาดการกระจดั ของอนภุ าคของอากาศมคี า มากท่ีสดุ
ตอบ ตําแหนงทีค่ วามดันอากาศเทา กับความดนั ปกติ การกระจัดของโมเลกุลของอากาศ จะหา งจากตําแหนง
2) ตําแหนง ใดบา ง ทเี่ ปนตําแหนง กึ่งกลางสวนอดั ของอนุภาคของอากาศ
ตอบ ตําแหนแหลงกําเนิดเสยี ง ทาํ ใหอนภุ าคของตวั กลางสั่นและถายโอนพลงั งานตอไปยังอนภุ าคที่อยถู ัดกนั F
3) ตําแหนง ใดบา ง ท่ีเปนตาํ แหนง กงึ่ กลางสว นขยายของอนุภาคของอากาศ
ตอบ ตาํ แหนง ก่ึงกลางสว นขยาย จะมีความดันต่าํ กวาความดันปกติมากท่ีสุด คือ แหลงกําเนดิ เสยี ง ทําให D
4.2 ขณะเกดิ คล่นื เสยี งในอากาศ การกระจัดของอนภุ าคและความดนั ของอากาศมคี วามสมั พันธก นั อยางไร
ตอบ ขณะเกิดคล่นื เสยี งในอากาศ อนุภาคอากาศมกี ารส่นั กลบั ไปกลับมารอบตําแหนง สมดุลในแนวเดยี วกับทิศ
ทางการเคล่ือนท่ี แตไมเคล่ือนท่ีไปกับคลื่น ทําใหการกระจัดของอนุภาคและความดันขอแหลงกําเนิดเสียง ทํา
ใหอนุภาคของตวั กลางสนั่ และถายโอนพลังงานตอไปยงั อนุภาคที่อยูถดั กันไปเรอ่ื ยๆ งอากาศ (หรอื แหลงกําเนิด
เสียง ทาํ ใหอนภุ าคของตวั กลางสนั่ และถายโอนพลังงานตอไปยังอนุภาคทอี่ ยูถดั กันไปเร่ือยๆ

ช่ือ ช้นั เลขท่ี ‘

เฉลยใบกิจกรรม เรื่อง การเกดิ เสยี งและการเคล่ือนท่ีของเสียง

1. สรปุ สิ่งท่ไี ดจากการศกึ ษาคนควา

คล่ืนเสียง (sound wave) เปนคลื่นกลชนิดหน่ึง ซ่ึงตองอาศัยตัวกลางในการเคล่ือนที่ คลื่นเสียงเกิด

จากการส่ันของวัตถุ และเคลื่อนท่ีผานตัวกลางจากท่ีหน่ึงไปยังอีกที่หน่ึง เมื่อคลื่นเสียงเคลื่อนที่ไปก็จะเกิดการถาย

โอนพลังงานจากที่หน่ึงไปยังอีกท่ีหน่ึงเสียงเกิดจากการสั่นของวัตถุ จําแนกชนิดของคลื่นเสียงตามความถ่ีของคล่ืน

และความสามารถในการไดยินของมนุษย ดังน้ี 1) คล่ืนที่ไดยิน หรือ เสียง (audible waves หรือ sounds) เปน

คลื่นเสียงที่มีความถ่ีท่ีอยูในชวงท่ีมนุษยไดยิน คือ อยูในชวง 20 – 20000 เฮิรตซ 2) คล่ืนใตเสียง (infrasonic

waves หรือ infrasounds) เปนคล่ืนเสียงที่มีความถ่ีต่ํากวาชวงที่มนุษยไดยิน คือ ต่ํากวา 20 เฮิรตซ 3) คล่ืนเหนือ

เสยี ง (ultrasonic waves หรือ ultrasounds) เปนคลน่ื เสยี งทมี่ ีความถี่สงู กวาชว งที่มนุษยไดยิน คือ สูงกวา 20000

เฮิรตซ การเคล่ือนที่ของเสียง เสียงเกิดจากการสั่นของแหลงกําเนิดเสียง และถายโอนพลังงานการส่ันไปยังอนุภาค

ของตัวกลางท่ีอยูต ิดกับแหลง กําเนิดเสียง ทาํ ใหอนุภาคของตัวกลางส่ันและถายโอนพลังงานตอไปยังอนภุ าคที่อยูถัด

กันไปเรอ่ื ยๆ จนถึงหผู ฟู ง

2. ตรวจสอบความเขาใจ (การเกดิ เสยี งและการเคลื่อนท่ีของเสยี ง)

2.1 เสยี งเกิดข้นึ ไดอ ยางไร

ตอบ เกดิ จากการสน่ั ของวัตถุ

2.2 คลน่ื เสียงเปน คลน่ื ชนิดใด

ตอบ คลนื่ เสยี งเปน คลนื่ กล หรอื คลื่นตามยาว

2.3 จงอธิบายความหมายของคลื่นเสียง

ตอบ เปนคล่ืนกลชนิดหนึ่ง ซ่ึงตองอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ คลื่นเสียงเกิดจากการสั่นของวัตถุ และ

เคล่ือนท่ีผานตัวกลางจากท่ีหนึ่งไปยังอีกท่ีหน่ึง เมื่อคล่ืนเสียงเคล่ือนที่ไปก็จะเกิดการถายโอนพลังงานจากท่ี

หน่งึ ไปยังอกี ทหี่ น่ึง v

2.4 นกั ฟส ิกสไดจ ําแนกชนดิ ของคล่ืนเสียงตามความถ่ีของคล่ืนและความสามารถในการไดยนิ ของมนษุ ย ก่ีคลน่ื
อะไรบา ง จงอธบิ าย
ตอบ 3 คลื่น คอื 1) คล่ืนท่ไี ดยนิ หรอื เสียง (audible waves หรอื sounds) เปน คลน่ื เสียงที่มคี วามถี่ท่อี ยูในชวง

ที่มนุษยไดยิน คือ อยูในชวง 20 – 20000 เฮิรตซ 2) คลื่นใตเสียง (infrasonic waves หรือ infrasounds) เปน

คล่ืนเสียงที่มีความถี่ต่ํากวาชวงท่ีมนุษยไดยิน คือ ต่ํากวา 20 เฮิรตซ และ 3) คลื่นเหนือเสียง (ultrasonic waves

หรือ ultrasounds) เปน คล่ืนเสยี งทีม่ คี วามถี่สงู กวา ชวงท่มี นุษยไ ดย นิ คอื สงู กวา 20000 เฮิรตซ .

2.5 ขณะเกิดคลน่ื เสยี ง อนภุ าคของตวั กลางมกี ารเคลือ่ นทอ่ี ยา งไร และเคล่อื นทไ่ี ปกับคลนื่ หรือไม
ตอบ อนุภาคตัวกลางไมไดเคล่ือนที่ไปกับคล่ืนเสียง เพราะอนุภาคตัวกลางสั่นกลับไปกลับมา และถายโอนพลังงาน

ใหกับอนุภาคท่อี ยถู ัดกนั ตอ เน่ืองกันไป ม

3. จากกราฟระหวางการกระจัดของอนภุ าคอากาศหน่ึง (แทนดว ยจุดสีแดง) กับเวลา ใหนกั เรยี นตอบคาํ ถามลงใน

ชองวา งใหถูกตองสมบรู ณ

อดั ขยาย อัด ขยาย

3.1 ขวา ทเ่ี วลา t = 0

ซาย ตาํ แหนงสมดลุ - การกระจดั ของอนุภาค มีคา 0 ม
3.2 ใ
- อนภุ าคอยูทต่ี ําแหนง สมดลุ
ขวา
ทเ่ี วลา t = T/4
ซาย
3.3 ขวา ตาํ แหนงสมดุล - การกระจดั ของอนภุ าค มีคา มากทส่ี ดุ ไปทางขวา

3.4ซขาวยา (เปน บวก) ว

ซา ย - อนภุ าคอยทู ีต่ ําแหนง สันคลน่ื ใ

ทเี่ วลา t = T/2 ม
ตาํ แหนงสมดุล - การกระจดั ของอนภุ าค มีคา 0 ใ

- อนภุ าคอยทู ่ตี ําแหนง สมดลุ

ทเ่ี วลา t = 3T/4

ตาํ แหนง สมดุล - การกระจัดของอนุภาค มีคา มากทีส่ ุดไปทางซา ย ม
(เปน ลบ)

- อนุภาคอยทู ีต่ ําแหนง ทองคลน่ื ใ



3.5 ทเี่ วลา t = T
ขวา

ตาํ แหนงสมดุล - การกระจดั ของอนุภาค มีคา 0 ม
- อนภุ าคอยทู ่ีตําแหนง สมดลุ ใ

ซา3ย.6 การเคลอ่ื นทีข่ องอนุภาคอากาศมลี ักษณะอยางไร ใ

ตอบ อนุภาคของอากาศจะเคลือ่ นที่กลับไปกลบั มาในแนวเดียวกับทศิ ทางการเคลือ่ นท่ขี องคลืน่ เสยี ง โดยไม

เคลอ่ื นที่ไปพรอมกับคล่นื เสียง

4. ตรวจสอบความเขา ใจ (ความสมั พันธร ะหวา งคลน่ื การกระจดั ของอนุภาคกับคลนื่ ความดันขณะคลนื่ เสียงเคลอื่ นท่ีผา น)

4.1 กราฟระหวา งความดันอากาศทต่ี ําแหนง ตา ง ๆ ของอนุภาคของอากาศกบั ตาํ แหนงตามแนวการเคล่ือนที่ของคล่ืน

เสยี ง

เปน ดังรปู

1) ตําแหนงใดบา ง ท่ีขนาดการกระจัดของอนภุ าคของอากาศมีคา มากที่สดุ
ตอบ ตาํ แหนง ทค่ี วามดันอากาศเทากับความดนั ปกติ การกระจัดของโมเลกุลของอากาศ จะหา งจากตําแหนง
เดิมมากทสี่ ุด คือ A, C, E, G
2) ตําแหนงใดบาง ที่เปนตําแหนง ก่ึงกลางสว นอัดของอนภุ าคของอากาศ
ตอบ ตาํ แหนงกึ่งกลางสว นอดั จะมีความดันสงู กวาความดนั ปกติมากท่สี ุด คือ B, F
3) ตาํ แหนงใดบาง ทเ่ี ปน ตําแหนงก่งึ กลางสว นขยายของอนุภาคของอากาศ
ตอบ ตําแหนง กง่ึ กลางสวนขยาย จะมีความดันต่าํ กวา ความดนั ปกตมิ ากทีส่ ดุ คือ D
,
4.2 ขณะเกดิ คล่ืนเสยี งในอากาศ การกระจดั ของอนุภาคและความดันของอากาศมคี วามสัมพนั ธก นั อยางไร
ตอบ ขณะเกิดคลื่นเสยี งในอากาศ อนภุ าคอากาศมีการสั่นกลบั ไปกลบั มารอบตําแหนงสมดลุ ในแนวเดยี วกบั ทศิ
ทางการเคลอื่ นท่ี แตไมเคลอ่ื นท่ไี ปกับคล่ืน ทาํ ใหการกระจัดของอนุภาคและความดันของอากาศ (หรือ
ตัวกลาง) ที่คลน่ื เสยี งเคล่ือนที่ผา นมกี ารเปล่ียนแปลง

แผนการจดั การเรยี นรูที่ 25 รายวิชา ว32201 วิชาฟสกิ สเพมิ่ เติม
กลมุ สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร ชั้น ม.5 เวลาเรียน 1 คาบ
หนว ยการเรยี นรู 12 เรื่อง เสียง(อตั ราเร็วเสียง)
ครูผสู อน นศ.ปส.นัศรนู การนี า ครูพเี่ ล้ยี ง ครจู าตุรงค พรหมสถติ ย
โรงเรยี นคณะราษฎรบํารุง จังหวดั ยะลา สพม.15

1. มาตรฐานการเรียนรู :
ว 5.2 เขาใจการเคล่ือนท่ีแบบฮารมอนิกสอยางงาย ธรรมชาติของคล่ืน เสียงและการไดยิน

ปรากฏการณทเ่ี ก่ยี วขอ งกบั เสียง แสงและการมองเหน็ ปรากฏการณท ี่เกย่ี วขอ งกับแสง รวมทง้ั นําความรไู ป
ใชป ระโยชน
2. ผลการเรียนรู :

1. อธิบายการเกิดเสียง การเคลื่อนที่ของเสียง ความสัมพันธระหวางคลื่นการกระจัดของอนุภาคกับ
คล่ืนความดัน ความสัมพันธระหวางอัตราเร็วของเสียงในอากาศที่ข้ึนกับอุณหภูมิในหนวยองศาเซลเซียส
การสะทอน การหักเห การแทรกสอด การเล้ียวเบน ของคล่ืนเสียง รวมท้ังคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ี
เก่ียวขอ ง

3. จดุ เนน (สพฐ., สพม., โรงเรยี น/อัตลักษณ)
มงุ มัน่ ในการศึกษาและการทาํ งาน
แสวงหาความรูเพือ่ การแกปญ หา
มที ักษะการคดิ ขนั้ สงู

4. สาระสําคัญ :

คลื่นเสียง (sound wave) เปนคลื่นกลชนิดหน่ึง ซ่ึงตองอาศัยตัวกลางในการเคล่ือนที่ คล่ืนเสียงเกิด
จากการสั่นของวัตถุ และเคล่ือนที่ผานตัวกลางจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หน่ึง เม่ือคลื่นเสียงเคลื่อนท่ีไปก็จะเกิดการ
ถา ยโอนพลงั งานจากทหี่ นึง่ ไปยงั อกี ท่หี นึ่ง

เสยี งเกดิ จากการส่ันของแหลงกาํ เนิดเสียง และถายโอนพลงั งานการสั่นไปยังอนุภาคของตัวกลางที่อยู
ตดิ กับแหลง กําเนดิ เสยี ง ทําใหอ นภุ าคของตัวกลางสัน่ และถายโอนพลงั งานตอไปยังอนภุ าคที่อยูถดั กนั ไปเรื่อยๆ
จนถึงหผู ูฟง ทําใหเ กดิ การเคล่อื นทีข่ องเสียง (Sound propagation)

คล่ืนเสียงในอากาศ เมื่อตัวกอเกิดเสียงมีการส่ัน โมเลกุลของอากาศจะทําหนาที่เปนตัวกลางในการ
ถายโอนพลงั งานของการสัน่ ใหก บั โมเลกุลของอากาศที่อยรู อบๆ โดยการชน

กรณีการเคลื่อนท่ีของเสียงในอากาศ พบวาทิศการเคล่ือนท่ีของคลื่นเสียงกับทิศการสั่นของอนุภาค
ของอากาศอยใู นแนวเดยี วกนั ดังนนั้ เสียงจงึ เปนคล่นื เสยี งตามยาว

5. จดุ ประสงคการเรยี นรู

5.1 ดา นความรู (Knowledge; K)
1) อธิบายความสัมพันธระหวางอัตราเร็วของเสียงในอากาศกับอุณหภูมิในหนวยองศา

เซลเซียสได

5.2 ดานทกั ษะกระบวนการ (Process; P)

1) คํานวณหาคา อัตราเร็วของเสียงในอากาศกับอุณหภูมใิ นหนวยองศาเซลเซยี สได

5.3 ดานคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค (Attitude; A)

1. การตรงตอ เวลา

2. ความรบั ผิดชอบตองานท่ีไดร ับมอบหมาย

3. นกั เรียนมจี ติ วทิ ยาศาสตรด านความมีเหตผุ ล

6. สมรรถนะสาํ คัญ :

สมรรถนะสําคัญของผูเรียนหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรแกนกลาง

การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน มุงใหผ เู รียนเกดิ สมรรถนะสาํ คญั 5 ประการ ดงั น้ี

1. ความสามารถในการสอ่ื สาร

2. ความสามารถในการคิด

3. ความสามารถในการแกป ญ หา

4. ความสามารถในการใชท กั ษะชีวิต

5. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี

7. บูรณาการ

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง อาเซยี น ทองถน่ิ

สงเสริมใหนักเรียนเรียนรูคําศัพทเฉพาะภาษาอังกฤษท่ีเก่ียวกับการเคลื่อนท่ีแบบฮารมอนิกอยางงาย และ
เสริมแนวทางการนําความรูเร่ืองการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย ไปใชอธิบายปรากฏการณท่ีเกิดขึ้นและ
แกปญ หาในทอ งถ่ิน

8. ส่ือ/แหลง เรียนรู :
8.1 ใบกจิ กรรม เรื่อง อัตราเรว็ เสียง
8.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพ่ิมเติมวิทยาศาสตร (ฟสิกส) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 เลม 4 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560)
8.3 หอ งสมุด
8.4 อินเทอรเ นต็
8.5 อนิ เทอรเ น็ต

9.การวัดและประเมนิ ผล :

จดุ ประสงคก ารเรยี นรู วธิ ีการวัด เครื่องมือ เกณฑการประเมนิ

ดานความรู (K)

1) อธิบายความสัมพันธระหวางอัตราเร็ว 1) ตรวจใบกิจกรรม 1) ใบกิจกรรม เรื่อง 1) นักเรียนสามารถ

ของเสียงในอากาศกับอุณหภูมิในหนวย เรอ่ื ง อตั ราเรว็ เสยี ง อตั ราเรว็ เสียง ต อ บ คํ า ถ า ม ใ น ใ บ

องศาเซลเซยี สได กิ จ ก ร ร ม ไ ด ร ะ ดั บ ดี

ผานเกณฑ

ดา นกระบวนการ (P)

1) คาํ นวณหาคา อัตราเร็วของเสยี งในอากาศ 1) ตรวจใบกิจกรรม 1) ใบกิจกรรม เร่ือง 1) นักเรียนสามารถ

กับอณุ หภูมิในหนวยองศาเซลเซียสได เรือ่ ง อัตราเร็วเสยี ง อตั ราเรว็ เสยี ง ต อ บ คํ า ถ า ม ใ น ใ บ

กิ จ ก ร ร ม ไ ด ร ะ ดั บ ดี

ผา นเกณฑ

ดานคณุ ลกั ษณะ (A)

1) เปน ผูมคี วามรับผิดชอบและ 1) ตรวจใบกิจกรรม 1) ใบกิจกรรม เร่ือง 1) นักเรียนทําภาระ

เปนผูมีความมงุ มั่นในการทํางาน เร่ือง อตั ราเร็วเสียง อตั ราเร็วเสยี ง ง า น ที่ ไ ด รั บ

มอบหมายไดระดับดี

ผา นเกณฑ

10. กจิ กรรมการเรยี นรู :
ขนั้ ท่ี 1 ขนั้ สรา งความสนใจ
1.1 ครูต้ังคําถามวา “คนในสมัยกอน เวลาออกไปหาของปา จะใชวิธีใดเพ่ือใหตนเองรูวามี
สัตวกาํ ลงั เคล่ือนทีอ่ ยู (แนวการตอบ ใชหูแนบกบั พืน้ ดนิ )
1.2 ครูนําสนทนารวมกันกับนักเรียนเกี่ยวกับวา “คนสมัยกอน ถาเราตองการจะทราบวามี
รถไฟเคลื่อนทม่ี าหรือไม เราควรทําอยางไร” (แนวการตอบ ใชห ูแนบกับรางรถไฟ)
1.3 ครูนําอภิปรายวา “โมเลกุลของตัวกลางตางๆ เชน ของแข็ง ของเหลว และแกส จะมี
ระยะหา งระหวา งโมเลกุลชิดกันหรือหางกันอยางไร (แนวการตอบ ขน้ึ อยกู ับชนดิ เชน ถาเปน ของแข็ง
โมเลกุลจะอยูชิดกันมาก ของเหลวโมเลกุลจะอยูชิดกันไมมาก และถาเปนแกสโมเลกุลจะอยูแบบ
หลวมๆ)
1.4 ครูตง้ั คาํ ถามเพือ่ นาํ เขา สูการทาํ กิจกรรม

1) ครูตั้งประเด็นใหนักเรียนอภิปรายวา การถายโอนพลังงานผานตัวกลางในแตละ
สถานะจะแตกตางกันหรือไมอยางไร (ทิ้งชวงใหนักเรียนคิด และหาคําตอบ) พรอมท้ังแจงใหนักเรียน
ทราบวา ในเรือ่ งนีเ้ ราจะไดศึกษา ในเร่อื งของอัตราเรว็ ของเสยี ง

2) เมื่ออุณหภูมิในตัวกลางเปล่ียน การเปลี่ยนแปลงของอัตราเร็วเสยี งในตัวกลางทํา
ใหเกดิ การเปล่ยี นความยาวคลน่ื หรอื ความถ่ี อยา งไร

3) ความสมั พนั ธ = ไดม าอยางไร (นักเรียนแสดงความคิดเหน็ อยางอสิ ระ)
ขั้นที่ 2 ข้ันสํารวจและคนหา

2.1 นกั เรียนแตล ะคนศึกษาคน ควา เรอ่ื ง อตั ราเร็วเสียง ในหนังสือเรยี น หนา 9 - 10
2.2 นักเรียนแตละคนทาํ กิจกรรม เรื่อง อัตราเร็วเสียง ลงในใบกจิ กรรมทคี่ รูแจกให
ขนั้ ที่ 3 ข้นั อธิบายและลงขอสรุป
3.1 ครูสุมนักเรียน 1 คน ออกมานาํ เสนอผลการสบื คนของกลุมตนเองหนา ชัน้ เรียน
3.2 ครนู าํ นักเรียนอภิปรายเพอื่ นาํ ไปสูการสรปุ โดยใชคําถามตอไปน้ี

1) เสียงจะถายโอนพลังงานผานตัวกลางในแตละสถานะเหมือนหรือแตกตางกัน
(แนวการตอบ แตกตา งกัน)

2) เสยี งจะถายโอนพลังงานผานตัวกลางชนิดใดไดด ีท่สี ุด ระหวางของแข็ง ของเหลว
และแกส (แนวการตอบ เสียงจะถายโอนพลังงานผานตัวกลางที่เปนของแข็งไดดีที่สุด รองลงมาคือ
ของเหลว และแกส ตามลําดับ)

3) เม่ืออุณหภูมิในตัวกลางเปล่ียน การเปล่ียนแปลงของอัตราเร็วเสยี งในตัวกลางทาํ
ใหเกิดการเปลี่ยนความยาวคล่ืนหรือความถี่ อยางไร (แนวการตอบ เมื่ออุณหภูมิในตัวกลางเปล่ียน
อัตราเร็วเสียงจะมีการเปล่ียนแปลง แตความถี่ยังมีคาเทาเดิม ทําใหความยาวคลื่นเปล่ียน เชน เม่ือ
อณุ หภมู ิในตัวกลางสูงขน้ึ อตั ราเร็วเสยี งจะเพิม่ ข้ึน โดยความถีย่ งั มีคาเทา เดิม ทาํ ใหความยาวคลืน่ มีคา
มากขนึ้ )

4) นอกจากอัตราเร็วของเสียงจะข้ึนอยูกับชนิดของตัวกลางแลว อัตราเร็วของเสียง
ในอากาศจะขึ้นอยูกับอะไร (แนวการตอบ อัตราเร็วของเสียงในอากาศจะข้ึนอยูกับอุณหภูมิ ในหนวย
องศาเซลเซียส)

5) จงบอกสมการความสัมพันธระหวางความเร็วกับความยาวคล่ืน (แนวการตอบ

=)
6) อตั ราเรว็ ของเสียงในอากาศมคี าข้ึนกบั อุณหภูมิ โดยสามารถหาความเร็วของเสียง

ไดจากสมการใด ในกรณีท่ีอุณหภูมิอากาศอยูในชวง –50 องศาเซลเซียส ถึง 50 องศาเซลเซียส (แนว

การตอบ = + 0.6 หรอื = 331 + 0.6 )
3.3 นักเรยี นและครรู ว มกนั อภปิ รายและสรปุ การศกึ ษาคน ควาจนสรุปได ดังนี้

เสียงจะถายโอนพลังงานผานตัวกลางท่ีเปนของแข็งไดดีท่ีสุด รองลงมาคือของเหลว
และแกสตามลําดบั เม่ืออุณหภมู ิในตัวกลางเปลี่ยน อัตราเร็วเสียงจะมกี ารเปล่ยี นแปลง แตความถ่ียังมี
คาเทาเดิม ทําใหความยาวคลื่นเปล่ียน เชน เมื่ออุณหภูมิในตัวกลางสูงขึ้น อัตราเร็วเสียงจะเพิ่มขึ้น
โดยความถ่ียังมีคาเทาเดิม ทําใหความยาวคล่ืนมีคามากข้ึน นอกจากอัตราเร็วของเสียงจะข้ึนอยูกับ
ชนิดของตัวกลางแลว อตั ราเรว็ ของเสยี งในอากาศจะขึน้ อยูกบั อุณหภมู ิ ในหนวยองศาเซลเซยี ส

ข้ันที่ 4 ขน้ั ขยายความรู
4.1 ครูอธิบายใหความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับ อัตราเร็วของเสียง คือ ระยะทางท่ีเสียงเดินทางไป

ในตัวกลางใดๆ ไดในหนึ่งหนวยเวลา โดยทั่วไปเสียงเดินทางในอากาศที่มีอุณหภูมิ 25°C ไดประมาณ
346 เมตร/วินาที และในอากาศท่ีอุณหภูมิ 20°C ไดประมาณ 343 เมตร/วินาที อัตราเร็วท่ีเสียง
เดินทางไดนั้นอาจมีคามากข้ึนหรือนอยลงขึ้นอยูกับอุณหภูมิของตัวกลางเปนหลัก และอาจไดรับ
อิทธิพลจากความช้ืนบางเล็กนอย แตไมข้ึนกับความดันอากาศ เน่ืองจากการเดินทางของเสียงอาศัย
การส่ันของโมเลกุลของตัวกลาง ดังนั้นเสียงจะเดินทางไดเร็วข้ึนหากตัวกลางมีความหนาแนนมาก ทํา
ใหเสียงเดินทางไดเร็วในของแข็ง แตเดินทางไมไดในอวกาศ เพราะอวกาศเปนสุญญากาศจึงไมมี
โมเลกุลของตัวกลางอยู

4.2 ครูอธิบายใหความรูเพิม่ เตมิ
- คลื่นเสียงและคลื่นน้ํามีคุณสมบัตเิ หมือนเหมือนกัน คือ เมื่อคล่ืนที่ผานตัวกลางที่มี

ความหนาแนนไมเ ทา กันหรืออุณหภูมิไมเทากัน จะทาํ ใหท ศิ ทางการเคลื่อนท่ีเปลย่ี นไป แตค วามถี่ของ
คล่นื เสียงและคลื่นน้ําจะคงตัว

- เสียงเมื่อเคลื่อนที่ผานตัวกลางใดๆ เสียงมีอัตราเร็วมากหรือนอยข้ึนอยูกับความ
หนาแนน และอุณหภูมขิ องตวั กลาง)

4.3 ครอู ธบิ ายตวั อยางโจทยปญหา ในหนงั สอื เรียน หนา 11
4.4 ครูใหความรูเพิ่มเติมเก่ียวกับอัตราเร็วของคล่ืนเสียงในตัวกลางสถานะตาง ๆ และ
อัตราเร็วเสียงในอากาศ
4.5 ครูใหน ักเรียนแตละคนเลาสูกันฟงถึงความรูท่ีไดจากการทํากิจกรรม และปญ หาทีเ่ กิดข้ึน
ระหวางการทาํ กจิ กรรม

ขั้นที่ 5 ข้นั ประเมินผล
5.1 นักเรยี นสงใบกิจกรรม เรื่อง อัตราเร็วเสยี ง

11. บนั ทึกหลังสอน : ม. 5/2 ม.5/5

หวั ขอ
ช้ัน

ผลการจัดการเรียนการสอน

 ความรูความสามารถ

 ทักษะกระบวนการ

 คณุ ลกั ษณะอันพงึ
ประสงค

ปญ หา/อุปสรรค

 ความรูความสามารถ

 ทกั ษะกระบวนการ

 คณุ ลักษณะอนั พงึ
ประสงค

หัวขอ

ชน้ั ม. 5/2 ม.5/5

แนวทางแกไ ข ลงช่อื …………………………………………………
(……………………………………………………..)
 ความรคู วามสามารถ
ครผู สู อน
 ทักษะกระบวนการ

 คุณลกั ษณะอนั พึง
ประสงค

ความคดิ เหน็ ของหัวหนา กลุมสาระการเรยี นรู

ลงช่ือ…………………………………………………
(……………………………………………………..)

หวั หนา กลมุ สาระการเรยี นรู

ความเห็นของรองผูอาํ นวยการกลมุ บรหิ ารวิชาการ/ผูบรหิ าร หรอื ผทู ีไ่ ดรับมอบหมาย

ลงชอื่ …………………………………………………
(……………………………………………………..)
ตาํ แหนง…………………………………………..

ช่อื ชั้น เลขท่ี ‘

ใบกจิ กรรม เร่อื ง อัตราเร็วเสียง

1. จงตอบคาํ ถามใหถ ูกตองสมบูรณ

1.1 เสยี งจะถา ยโอนพลงั งานผานตวั กลางในแตล ะสถานะเหมอื นหรือแตกตา งกัน

ตอบ เสียงจะถา ยโอนพลังงานผานตัวกลางที่เปนของแขง็ ไดด ีทสี่ ุด รองลงมาคือของเหลว และแกส ตามลําดับ

1.2 เสยี งจะถา ยโอนพลังงานผา นตวั กลางชนิดใดไดด ีท่ีสุด ระหวา งของแข็ง ของเหลว และแกส

ตอบ เสยี งจะถายโอนพลังงานผานตวั กลางที่เปนของแขง็ ไดด ีท่ีสดุ รองลงมาคอื ของเหลว และแกสตามลําดับ

1.3 เม่ืออุณหภูมิในตัวกลางเปลี่ยน การเปล่ียนแปลงของอัตราเร็วเสียงในตัวกลางทําใหเกิดการเปลี่ยนความยาว

คลน่ื หรือ ความถี่ อยา งไร

ตอบ เมื่ออุณหภูมิในตัวกลางเปลี่ยน อัตราเร็วเสียงจะมีการเปลี่ยนแปลง แตความถ่ียังมีคาเทาเดิม ทําให

ความยาวคล่ืนเปล่ียน เชน เมือ่ อณุ หภมู ใิ นตัวกลางสงู ข้ึน อตั ราเร็วเสียงจะเพิ่มขน้ึ โดยความถ่ยี งั มคี า เทา เดมิ

1.4 นอกจากอตั ราเรว็ ของเสยี งจะข้นึ อยกู บั ชนดิ ของตัวกลางแลว อตั ราเร็วของเสียงในอากาศจะขึ้นอยูกับอะไร

ตอบ อตั ราเร็วของเสียงในอากาศจะขึน้ อยกู ับอณุ หภูมิ ในหนวยองศาเซลเซยี ส v

1.5 จงบอกสมการความสัมพันธระหวา งความเร็วกบั ความยาวคลืน่

ตอบ = v .

1.6 อัตราเร็วของเสียงในอากาศมีคาข้ึนกับอุณหภูมิ โดยสามารถหาความเร็วของเสียงไดจากสมการใด ในกรณีท่ี

อุณหภมู ิอากาศอยูในชว ง –50 องศาเซลเซยี ส ถงึ 50 องศาเซลเซียส

ตอบ = + 0.6 หรือ = 331 + 0.6 v

2. จงแสดงวธิ กี ารหาคําตอบใหถ กู ตอ ง

2.1 เสยี งความถ1่ี 000 เฮริ ตซและความยาวคลนื่ 1.5 เมตร เคลื่อนท่ีผานนา้ํ อตั ราเร็วเสียงในนาํ้ มีคาเทา ใด

วิธที ํา หา จากสูตร = v ม

แทนคา = 1000(1.5) = 1500 / ม

ตอบ อตั ราเรว็ ของเสียงในน้ําเทากับ 1500 เมตรตอวินาที v

2.2 ถา อุณหภมู ิของอากาศ 30 องศาเซลเซียส อตั ราเร็วเสียงในอากาศมีคาเทา ใด

วธิ ีทาํ หา จากสูตร = 331 + 0.6 v ม

แทนคา = 331 + 0.6(30) = 331 + 18 = 349 /

ตอบ อตั ราเร็วของเสียงในอากาศเทากบั 349 เมตรตอ วนิ าที v

2.3 ถาอัตราเร็วเสียงในอากาศเทากับ 347.2 เมตรตอวินาทีอุณหภูมิของอากาศขณะน้ันมีคาเทาใดวิธีทํา

หา จากสตู ร = 331 + 0.6 หา จากสตู ร =

331 + 0.6 หา จากสตู ร = 3310.6
ณะนนั้ มคี า เทา กบั 27 อ
ตอบ อุณหภูมขิ องอากาศข

เฉลยใบกจิ กรรม เร่ือง อตั ราเรว็ เสยี ง

1. จงตอบคาํ ถามใหถ กู ตอ งสมบรู ณ

1.1 เสียงจะถายโอนพลงั งานผา นตวั กลางในแตล ะสถานะเหมอื นหรือแตกตางกัน

ตอบ แตกตา งกัน ,

1.2 เสยี งจะถา ยโอนพลังงานผานตวั กลางชนิดใดไดด ีทสี่ ดุ ระหวางของแข็ง ของเหลว และแกส

ตอบ เสียงจะถา ยโอนพลงั งานผา นตัวกลางท่เี ปนของแขง็ ไดด ที สี่ ดุ รองลงมาคอื ของเหลว และแกส ตามลําดบั

1.3 เม่ืออุณหภูมิในตัวกลางเปล่ียน การเปลี่ยนแปลงของอัตราเร็วเสียงในตัวกลางทําใหเกิดการเปลี่ยนความยาว

คลื่นหรือความถี่ อยางไร

ตอบ เมื่ออุณหภูมิในตัวกลางเปลี่ยน อัตราเร็วเสียงจะมีการเปลี่ยนแปลง แตความถี่ยังมีคาเทาเดิม ทําให

ความยาวคลื่นเปลี่ยน เชน เมื่ออุณหภูมิในตัวกลางสูงข้ึน อัตราเร็วเสียงจะเพ่ิมข้ึน โดยความถี่ยังมีคาเทาเดิม

ทําใหความยาวคลืน่ มีคา มากขนึ้ v

1.4 นอกจากอัตราเร็วของเสียงจะข้ึนอยกู บั ชนดิ ของตัวกลางแลว อตั ราเร็วของเสียงในอากาศจะข้ึนอยูกับอะไร

ตอบ อตั ราเรว็ ของเสียงในอากาศจะข้นึ อยูกับอณุ หภมู ิ ในหนว ยองศาเซลเซียส v

1.5 จงบอกสมการความสมั พันธระหวางความเรว็ กบั ความยาวคลน่ื

ตอบ = v .

1.6 อัตราเร็วของเสียงในอากาศมีคาข้ึนกับอุณหภูมิ โดยสามารถหาความเร็วของเสียงไดจากสมการใด ในกรณีท่ี

อุณหภมู อิ ากาศอยูใ นชว ง –50 องศาเซลเซียส ถึง 50 องศาเซลเซียส

ตอบ = + 0.6 หรอื = 331 + 0.6 v

2. จงแสดงวิธกี ารหาคําตอบใหถ ูกตอง

2.1 เสียงความถ1่ี 000 เฮริ ตซแ ละความยาวคลน่ื 1.5 เมตร เคล่ือนท่ผี านนํ้า อัตราเรว็ เสียงในน้าํ มีคา เทา ใด

วิธที าํ หา จากสตู ร = v ม

แทนคา = 1000(1.5) = 1500 / ม

ตอบ อัตราเรว็ ของเสียงในนํ้าเทา กับ 1500 เมตรตอ วินาที v

2.2 ถา อุณหภูมิของอากาศ 30 องศาเซลเซียส อัตราเร็วเสยี งในอากาศมีคา เทา ใด

วธิ ที าํ หา จากสูตร = 331 + 0.6 v ม

แทนคา = 331 + 0.6(30) = 331 + 18 = 349 /
ตอบ อัตราเรว็ ของเสียงในอากาศเทา กับ 349 เมตรตอวินาที v

2.3 ถาอตั ราเร็วเสียงในอากาศเทากับ 347.2 เมตรตอวนิ าทีอุณหภมู ขิ องอากาศขณะน้นั มีคา เทา ใด

วิธที ํา หา จากสูตร = 331 + 0.6 v ม

แทนคา 347.2 = 331 + 0.6( ) = 331 + 18 =
347.2 − 331 16.2

= 0.6 = 0.6 = 27 °
ตอบ อณุ หภมู ขิ องอากาศขณะนน้ั มคี าเทา กับ 27 องศาเซลเซยี ส

แผนการจดั การเรยี นรูท่ี 26

กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร รายวิชา ว32201 วชิ าฟส กิ สเพ่ิมเตมิ

หนว ยการเรียนรู 12 เรื่อง เสยี ง(การสะทอนของเสยี ง และการหักเหของเสียง) ช้ัน ม.5 เวลาเรียน 1 คาบ

ครผู ูสอน นศ.ปส.นศั รนู การนี า ครพู ่เี ลี้ยง ครูจาตรุ งค พรหมสถิตย

โรงเรยี นคณะราษฎรบาํ รุง จังหวดั ยะลา สพม.15

1. มาตรฐานการเรียนรู :
ว 5.2 เขาใจการเคลื่อนท่ีแบบฮารมอนิกสอยางงาย ธรรมชาติของคลื่น เสียงและการไดยิน

ปรากฏการณท ่ีเกี่ยวขอ งกบั เสียง แสงและการมองเหน็ ปรากฏการณท ่เี ก่ยี วของกับแสง รวมทงั้ นําความรูไป
ใชประโยชน
2. ผลการเรียนรู :

1. อธิบายการเกิดเสียง การเคล่ือนที่ของเสียง ความสัมพันธระหวางคล่ืนการกระจัดของอนุภาคกับ
คลื่นความดัน ความสัมพันธระหวางอัตราเร็วของเสียงในอากาศท่ีขึ้นกับอุณหภูมิในหนวยองศาเซลเซียส
การสะทอน การหักเห การแทรกสอด การเล้ียวเบน ของคลื่นเสียง รวมท้ังคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ี
เก่ียวขอ ง

3. จดุ เนน (สพฐ., สพม., โรงเรยี น/อตั ลักษณ)
มุง ม่นั ในการศกึ ษาและการทํางาน
แสวงหาความรเู พ่อื การแกปญ หา
มีทกั ษะการคดิ ข้ันสูง

4. สาระสาํ คญั :

คล่ืนเสียงแสดงพฤติกรรม 4 อยาง ไดแก การสะทอน การหักเห การเลี้ยวเบนและการแทรกสอด
เชนเดียวกับคล่ืนอื่น ๆ เม่ือคลื่นเสียงเคล่ือนท่ีไปพบสิ่งกีดขวางแลวจะเคลื่อนท่ีกลับมาในตัวกลางเดิม จะเกิด
การสะทอน ถาไดยินเสียงสะทอนหลังจากไดยินเสียงครั้งแรกมีเวลาตางกันมากกวา 0.1 วินาที หูจะแยกเสียง
ทั้งสองครง้ั ไดเ สยี งสะทอนนี้เรยี กวา เสียงสะทอ นกลับ (echo) แตหากมเี วลาตางกนั นอยกวา 0.1 วนิ าที หูจะ
ไมสามารถแยกเสียงทั้งสองครั้งไดเสียงท่ีไดยิน เรียกวา การกังวาน (reverberation) เม่ือคล่ืนเสียงเคลื่อนที่
จากตัวกลางหนึ่งเขาไปในอีกตัวกลางหน่ึงจะเกิดการหักเห เม่ือคล่ืนเสียงเคล่ือนท่ีไปพบขอบสิ่งกีดขวางหรือ
ผานชอ งแคบจะเกดิ การเล้ียวเบน และเม่อื คล่ืนเสียงสองคลืน่ มาพบกนั จะเกิดการแทรกสอด

5. จุดประสงคการเรยี นรู

5.1 ดานความรู (Knowledge; K)

1) อธบิ ายการสะทอ นของเสยี งได
5.2 ดา นทกั ษะกระบวนการ (Process; P)

1) คาํ นวณหาปรมิ าณตา งๆ ท่โี จทยก าํ หนดได

5.3 ดา นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค (Attitude; A)

1. การตรงตอ เวลา

2. ความรับผดิ ชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย

3. นักเรยี นมจี ิตวิทยาศาสตรด า นความมีเหตุผล

6. สมรรถนะสาํ คัญ :

สมรรถนะสําคัญของผูเรียนหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน มงุ ใหผเู รยี นเกดิ สมรรถนะสาํ คัญ 5 ประการ ดังนี้

1. ความสามารถในการส่อื สาร

2. ความสามารถในการคดิ

3. ความสามารถในการแกป ญ หา

4. ความสามารถในการใชทกั ษะชวี ติ

5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

7. บรู ณาการ

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง อาเซียน ทอ งถน่ิ

สงเสริมใหนักเรียนเรียนรูคําศัพทเฉพาะภาษาอังกฤษที่เก่ียวกับการเคล่ือนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย และ
เสริมแนวทางการนําความรูเร่ืองการเคล่ือนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย ไปใชอธิบายปรากฏการณที่เกิดข้ึนและ
แกป ญหาในทอ งถ่ิน

8. สอ่ื /แหลงเรยี นรู :
8.1 ใบกจิ กรรม เรอ่ื ง การสะทอ นของเสียง
8.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพ่ิมเติมวิทยาศาสตร (ฟสิกส) ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 5 เลม 4 (ฉบับปรับปรุง

พ.ศ.2560)
8.3 หองสมุด
8.4 อินเทอรเนต็

9.การวัดและประเมนิ ผล :

จุดประสงคการเรยี นรู วิธกี ารวัด เครือ่ งมอื เกณฑการประเมนิ

ดา นความรู (K)

1) อธิบายการสะทอ นของเสยี งได 1) ตรวจใบกิจกรรม 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนสามารถ

เร่ือง การสะทอนของ ทาํ กิจกรรม ต อ บ คํ า ถ า ม ใ น ใ บ

เสียง 2) ใบกิจกรรม เร่ือง กิจกรรมไดระดับดี

การสะทอนของเสียง ผานเกณฑ

ดานกระบวนการ (P)

1) คํานวณหาปริมาณตางๆ ที่โจทยกําหนด 1) ตรวจแบบฝกหัด 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนสามารถ

ได ทํากิจกรรม ทํ า แ บ บ ฝ ก หั ด ไ ด

2) แ บ บ ฝ ก หั ด ใ น ระดบั ดี ผานเกณฑ

หนงั สอื เรียน หนา 20

ขอ 4. – 6.

ดา นคุณลักษณะ (A)

1) เปนผมู ีความรบั ผิดชอบและ 1) ตรวจใบกิจกรรม 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนทําภาระ

เปนผูม คี วามมุง มน่ั ในการทํางาน เรื่อง การสะทอนของ ทาํ กจิ กรรม ง า น ท่ี ไ ด รั บ

เสียง มอบหมายไดระดับดี

2) ตรวจแบบฝกหดั ผา นเกณฑ

10. กจิ กรรมการเรียนรู :
ขั้นท่ี 1 ข้ันสรางความสนใจ
1.1 ครทู บทวนความรูเดมิ เร่อื ง การเคล่ือนที่ของเสยี ง และอตั ราเรว็ เสียง
1.2 ครตู ้งั คําถามเพอ่ื นําเขาสูการทาํ กจิ กรรม
1) เสียงสามารถจะแสดงพฤติกรรมของคลืน่ ไดหรอื ไม (แนวการตอบ ได/ ไมไ ด)
2) นักเรยี นคิดวาเสียงเปน คล่ืนทีม่ พี ฤติกรรมกอ่ี ยา ง อะไรบา ง
3) การสะทอนของเสียง คืออะไร
4) นักเรยี นคิดวา เสยี งสะทอนกับเสยี งกังวาน เปน อยา งไร
5) นักเรยี นคิดวา เสียงสะทอ นกับเสยี งกังวาน เหมอื นหรือแตกตา งกันอยา งไร
6) นักเรียนคิดวาในโรงภาพยนตรหรอื หองประชุมขนาดใหญ มีการเกิดเสียงสะทอน
หรอื ไมเ พราะเหตุใด
7) เสยี งสะทอนเกดิ ข้นึ ไดอยา งไร
8) เสยี งกังวานเกดิ ข้นึ ไดอ ยา งไร

9) เมื่อเสยี งไปตกกระทบกับผวิ ของวัตถลุ ักษณะใด จะสะทอนเสียงไดด ี

ขน้ั ที่ 2 ขนั้ สํารวจและคนหา
2.1 นกั เรยี นแตละคนศกึ ษาคนควา เรือ่ ง การสะทอ นของเสียง ในหนังสอื เรยี น หนา 12 - 14
2.2 นกั เรียนแตละคนทํากจิ กรรม เรื่อง การสะทอ นของเสียง ลงในใบกจิ กรรมทีค่ รแู จกให

ขั้นที่ 3 ข้ันอธิบายและลงขอ สรปุ
3.1 ครูสุมนักเรียน 1 คน ออกมานําเสนอผลการสืบคนของกลุมตนเองหนาชั้นเรียน

(https://random.thaiware.com/) หรือ โปรแกรม Super Soomm And Goomm
3.2 ครูนํานกั เรียนอภปิ รายเพื่อนําไปสกู ารสรุปโดยใชคาํ ถามตอไปน้ี
1) เสียงเปนคลื่นที่มีพฤติกรรมกี่อยาง อะไรบาง (แนวการตอบ เสียงเปนคล่ืนท่ีมี

พฤตกิ รรม 4 อยาง ไดแก การสะทอ น การหักเห การแทรกสอด และการเลยี้ วเบน)
2) การสะทอ นของเสียง คืออะไร (แนวการ ปรากฏการณท ี่เกิดข้ึนเมื่อเสียงเคล่ือนที่

จากตัวกลางหนง่ึ ไปตกกระทบสิ่งกีดขวางหรือตัวกลางท่ีมีความหนาแนนแตกตางจากตวั กลางเดิมแลว
เกิดการสะทอนเขาสูตัวกลางเดิม การสะทอนจะเกิดไดดีถาความยาวคลื่นของเสียงนอยกวาส่ิงกีด
ขวาง)

3) นักเรียนคิดวา เสียงสะทอนกับเสียงกังวาน เปนอยางไร (แนวการตอบ เม่ือไดยิน
เสียงเสมือนเปน 2 เสียง คือ เสียงจากแหลงจริง และหลังจากน้ัน เล็กนอยก็จะไดยินเสียงท่ีสะทอน
จากผนัง เราเรียกเสียงสะทอนในกรณีน้ีวา เสียงสะทอน (echo) แตเมื่อไดยินเสียงจากแหลงจริงและ
เสียงสะทอนตอเน่ือง เหมือนเปนเสียงเดียวกัน เสียงท่ีสะทอนในกรณีหลังนี้เราเรียกวา เสียงกังวาน
(reverberation))

4) นักเรียนคิดวา เสียงสะทอนกับเสียงกังวาน เหมือนหรือแตกตางกันอยางไร (แนว
การตอบ เสียงสะทอนกับเสียงกังวานเหมือนกันที่ เปนการสะทอนของเสียงเม่ือไปกระทบกับวัตถุ แต
ตางกันที่ระยะทางระหวางแหลงกําเนิดเสียงกับวัตถุที่เสียงไปกระทบ หากวัตถุอยูใกลจะไดยินเสียง
กงั วาน หากวตั ถอุ ยูไ กลจะไดยนิ เสยี งสะทอน)

5) นักเรียนคิดวาในโรงภาพยนตรห รือหองประชุมขนาดใหญ มีการเกิดเสียงสะทอน
หรือไมเพราะเหตุใด (แนวการตอง มีการเกิดเสียงสะทอนข้ึนเพราะวา ในโรงภาพยนตรห รือหอประชมุ
ขนาดใหญ จะมกี ารใชเ สียงทีต่ องไปกระทบกบั วัตถุซึ่งเปน ผนังทั้ง 4 ดาน ดังนนั้ จึงตองเกดิ การสะทอน
ของเสยี ง)

6) เสียงสะทอนเกิดขึ้นไดอยางไร (แนวการตอบ เมื่อคลื่นเสียงเคล่ือนท่ีไปพบสิ่งกีด
ขวางแลวจะเคล่ือนที่กลับมาในตัวกลางเดิม จะเกิดการสะทอน ถาไดยินเสียงสะทอนหลังจากไดยิน
เสียงคร้งั แรกมเี วลาตางกันมากกวา 0.1 วินาที หูจะแยกเสียงทัง้ สองครง้ั ได)

7) เสียงกังวานเกิดข้ึนไดอยางไร (แนวการตอบ เมื่อคลื่นเสียงเคล่ือนท่ีไปพบสิ่งกีด
ขวางแลวสะทอ นกลบั ในเวลาท่ีนอยกวา 0.1 วนิ าที หูจะไมส ามารถแยกเสยี งทง้ั สองคร้ังไดเสยี งท่ีได)

8) เม่ือเสียงไปตกกระทบกับผิวของวัตถุลักษณะใด จะสะทอนเสียงไดดี (แนวการ
ตอบ การสะทอนของเสียงข้ึนอยูกับลักษณะผิวท่ีสะทอน โดยพื้นผิวแข็งจะสะทอนเสียงไดดีกวาผิว
ออนนุม)

3.3 นักเรียนและครูรว มกันอภปิ รายและสรปุ การศึกษาคนควา จนสรุปได ดงั น้ี
เมื่อคล่ืนเสียงเคลื่อนที่ไปพบส่ิงกีดขวางแลวจะเคลื่อนท่ีกลับมาในตัวกลางเดิม จะ

เกิดการสะทอน ถาไดยินเสียงสะทอนหลังจากไดยินเสียงครั้งแรกมีเวลาตางกันมากกวา 0.1 วินาที หู
จะแยกเสียงทงั้ สองครัง้ ไดเสยี งสะทอนนีเ้ รียกวา เสียงสะทอนกลบั (echo) แตห ากมเี วลาตา งกันนอย
กวา 0.1 วินาที หูจะไมสามารถแยกเสียงท้ังสองครั้งไดเสียงท่ีไดยิน เรียกวา การกังวาน
(reverberation)

การสะทอ นของเสียงขน้ึ อยูกบั ลักษณะผิวทสี่ ะทอน โดยพ้ืนผิวแข็งจะสะทอนเสียงได
ดีกวาผิวออนนุม เนื่องจากเสียงเปนคล่ืน การสะทอนของเสียงจะเกิดไดดีเมื่อความยาวคลื่นมีคา
เทา กับหรอื นอยกวาขนาดวตั ถุที่คล่ืนตกกระทบ

ขนั้ ท่ี 4 ขั้นขยายความรู
4.1 ครูอธิบายใหความรเู พ่มิ เติมเกี่ยวกับ การสะทอ นของเสียงอกี คร้ัง
- การไดยินเสียงที่เราตะโกนออกไปแลว ไดยินอีกครั้งหนงึ่ หรือหลาย ๆ ครั้ง เกิดจาก
เสียงท่ีเราตะโกนไปกระทบวตั ถุเชน ผนังหอง เพดาน แลวเกิดการสะทอนของเสียงกลับมาที่
หเู รา
- ปกติหูคนจะแยกเสียงท่ีตะโกนกับเสียงที่สะทอนไดเมื่อไดยินเสียงตะโกนกับเสียง
สะทอ นหา งกนั เทากับหรือมากกวา 0.1 วินาทีโดยเรยี กเสยี งสะทอนที่ไดย ินนี้วา เสียงสะทอน
กลับ
- เม่ือไดยินเสียงตะโกนกับเสียงสะทอนหางกันนอยกวา 0.1 วินาทีเราจะไมสามารถ
แยกเสียงทัง้ สองออกจากกันไดแตไดยินเสยี งมลี ักษณะตา งออกไป โดยเรยี กปรากฏการณนี้วา
การกงั วาน
4.2 ครูอธิบายใหความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ขนาดของหองท่ีทําใหไมไดยินเสียงสะทอนกลับ
และปจจัยอ่ืน ๆ ท่มี ผี ลตอการไดยินเสียงสะทอ นกลบั
ขนาดความกวางและความยาวของหองท่ีทําใหไมไดยินเสียงสะทอนกลับ อยางมาก
ประมาณ 17.3 เมตร [(346 m/s) (0.05 s) =17.3 m] (โดยผูฟงยืนชิดผนังหองดานหนึ่ง) แต
เมื่อความกวางหรือความยาวของหองมีคาเทากับหรือมากกวา 17.3 เมตร ผูฟงจะสามารถ
แยกระหวางเสียงตะโกนและเสียงสะทอนไดจึงไดยินเสียงสะทอนกลับ นอกจากน้ียังมีปจจัย
อ่ืน ๆ ที่มีผลตอการไดยินเสียงสะทอนกลบั เชน ผิวของวัสดุที่สะทอนเสียง โดยพื้นผิวแข็งจะ

สะทอนเสียงไดดีกวาผิวออนนุม ความดังของเสียงจะตองมากพอที่จะไดยินเสียงท่ีสะทอน
กลับมา
4.3 ครูอธิบายใหความรูเ พ่ิมเติมเกยี่ วกบั การหกั เหของเสยี ง ตามหนงั สอื เรียน หนา 15
4.4 ครอู ธบิ ายตัวอยางโจทยปญ หา ในหนังสือเรียน หนา 13 – 14
4.5 ครูใหนกั เรยี นแตละคนเลาสูกันฟงถึงความรูท่ีไดจากการทาํ กิจกรรม และปญหาที่เกิดข้ึน
ระหวางการทาํ กจิ กรรม

ข้นั ที่ 5 ข้นั ประเมินผล
5.1 นกั เรียนสง ใบกจิ กรรม เรอื่ ง การสะทอนของเสียง
5.2 นกั เรยี นทําแบบฝก หดั ในหนังสือเรยี น หนา 20 ขอ 4. – 6.

11. บนั ทกึ หลงั สอน : ม. 5/2 ม.5/5

หวั ขอ
ชน้ั

ผลการจัดการเรียนการสอน

 ความรคู วามสามารถ

 ทกั ษะกระบวนการ

 คุณลักษณะอนั พงึ
ประสงค

ปญ หา/อุปสรรค
 ความรูความสามารถ

หัวขอ ม.5/5
ม. 5/2

ชัน้

 ทักษะกระบวนการ

 คณุ ลักษณะอนั พงึ
ประสงค

แนวทางแกไข
 ความรคู วามสามารถ

 ทกั ษะกระบวนการ

 คุณลกั ษณะอนั พึง
ประสงค

ลงช่ือ…………………………………………………
(……………………………………………………..)

ครูผสู อน

ความคดิ เหน็ ของหัวหนา กลุมสาระการเรยี นรู

ลงช่ือ…………………………………………………
(……………………………………………………..)

หวั หนา กลมุ สาระการเรยี นรู

ความเห็นของรองผูอาํ นวยการกลมุ บรหิ ารวิชาการ/ผูบรหิ าร หรอื ผทู ีไ่ ดรับมอบหมาย

ลงชอื่ …………………………………………………
(……………………………………………………..)
ตาํ แหนง…………………………………………..

ชอ่ื ช้ัน เลขที่ ‘

ใบกจิ กรรม เรอ่ื ง การสะทอ นของเสียง

1. จงตอบคําถามใหถ ูกตองสมบรู ณ

1.1 เสยี งเปน คลน่ื ทีม่ ีพฤติกรรมกี่อยา ง อะไรบา ง

ตอบ เสียงเปนคล่ืนที่มีพฤติกรรม 4 อยาง ไดแก การสะทอน การหักเห การแทรกสอด และการเล้ียวเบน

,,

1.2 การสะทอนของเสยี ง คืออะไร

ตอบ ปรากฏการณที่เกดิ ข้ึนเมื่อเสยี งเคลื่อนทจ่ี ากตวั กลางหนึ่งไปตกกระทบสิ่งกีดขวางหรือตวั กลางที่มีความ

หนาแนนแตกตางจากตัวกลางเดิมแลวเกิดการสะทอนเขาสูตัวกลางเดิม การสะทอนจะเกิดไดดีถาความยาว

คลน่ื ของเสียงนอยกวา สิง่ กีดขวาง v

1.3 เสียงสะทอ นกบั เสียงกังวาน เปนอยางไร

ตอบ เม่ือไดยินเสียงเสมือนเปน 2 เสียง คือ เสียงจากแหลงจรงิ และหลังจากนั้น เล็กนอยก็จะไดยินเสียงท่ี

สะทอนจากผนัง เราเรียกเสียงสะทอนในกรณีน้ีวา เสียงสะทอน (echo) แตเม่ือไดยินเสียงจากแหลงจริงและ

เสียงสะทอนตอ เนอื่ ง เหมือนเปนเสียงเดียวกนั เสียงท่ีสะทอ นในกรณหี ลงั นี้เราเรยี กวา เสียงกังวาน

1.4 เสียงสะทอ นกบั เสียงกังวาน เหมอื นหรือแตกตางกนั อยางไร

ตอบ เสียงสะทอนกับเสียงกังวานเหมือนกันที่ เปนการสะทอนของเสียงเม่ือไปกระทบกับวัตถุ แตตางกันที่

ระยะทางระหวางแหลงกําเนิดเสียงกับวัตถุท่ีเสียงไปกระทบ หากวัตถุอยูใกลจะไดยินเสียงกังวาน หากวัตถุอยู

ไกลจะไดย ินเสยี งสะทอ น v

1.5 เสยี งสะทอ นเกิดขึ้นไดอยางไร

ตอบ เม่อื คล่ืนเสียงเคลื่อนที่ไปพบสิ่งกีดขวางแลวจะเคล่ือนท่ีกลบั มาในตัวกลางเดมิ จะเกิดการสะทอน ถา ได

ยินเสียงสะทอ นหลงั จากไดยินเสยี งครัง้ แรกมเี วลาตา งกนั มากกวา 0.1 วนิ าที หูจะแยกเสียงทั้งส อง

1.6 เสยี งกังวานเกดิ ขึ้นไดอยางไร

ตอบ เมื่อคลื่นเสียงเคลื่อนท่ีไปพบส่ิงกีดขวางแลวสะทอนกลับในเวลาที่นอยกวา 0.1 วินาที หูจะไมสามารถ

แยกเสียงทงั้ สองคร้ังไดเสียงทไี่ ด ;

1.7 นักเรียนคิดวา ในโรงภาพยนตรหรอื หองประชุมขนาดใหญ มกี ารเกิดเสยี งสะทอนหรือไมเพราะเหตุใด

ตอบ มีการเกิดเสียงสะทอนข้ึนเพราะวาในโรงภาพยนตรหรือหอประชุมขนาดใหญ จะมีการใชเสียงท่ีตองไป

กระทบกบั วัตถซุ ่ึงเปนผนงั ทั้ง 4 ดาน ดังนั้นจงึ ตอ งเกิดการสะทอ นของเสียง ;

1.8 เมือ่ เสียงไปตกกระทบกบั ผิวของวตั ถลุ ักษณะใด จะสะทอนเสยี งไดดี

ตอบ การสะทอนของเสียงข้ึนอยูกับลักษณะผิวที่สะทอน โดยพ้ืนผิวแข็งจะสะทอนเสียงไดดีกวาผิวออนนุม

v;

ชอ่ื ชน้ั เลขที่ ‘

เฉลยใบกจิ กรรม เรอ่ื ง การสะทอ นของเสียง

1. จงตอบคาํ ถามใหถูกตองสมบรู ณ

1.1 เสยี งเปน คล่ืนทม่ี ีพฤติกรรมก่อี ยาง อะไรบาง

ตอบ เสียงเปนคลนื่ ท่ีมีพฤตกิ รรม 4 อยาง ไดแ ก การสะทอ น การหักเห การแทรกสอด และการเล้ียวเบน

1.2 การสะทอนของเสยี ง คืออะไร

ตอบ ปรากฏการณที่เกดิ ขึ้นเมื่อเสยี งเคล่ือนท่ีจากตวั กลางหน่ึงไปตกกระทบสิ่งกีดขวางหรือตวั กลางท่ีมีความ

หนาแนนแตกตางจากตัวกลางเดิมแลวเกิดการสะทอนเขาสูตัวกลางเดิม การสะทอนจะเกิดไดดีถาความยาว

คล่นื ของเสยี งนอยกวาสิ่งกีดขวาง v

1.3 เสียงสะทอนกับเสียงกังวาน เปนอยา งไร

ตอบ เมื่อไดยินเสียงเสมือนเปน 2 เสียง คือ เสียงจากแหลงจริง และหลังจากน้ันเล็กนอยก็จะไดยินเสียงท่ี

สะทอนจากผนัง เราเรียกเสียงสะทอนในกรณีนี้วา เสียงสะทอน (echo) แตเม่ือไดยินเสียงจากแหลงจริงและ

เสียงสะทอนตอเนื่อง เหมือนเปนเสียงเดียวกัน เสียงท่ีสะทอนในกรณีหลังนี้เราเรียกวา เสียงกังวาน

(reverberation)

1.4 เสียงสะทอนกับเสยี งกังวาน เหมอื นหรอื แตกตางกนั อยางไร

ตอบ เสียงสะทอนกับเสียงกังวานเหมือนกันที่ เปนการสะทอนของเสียงเม่ือไปกระทบกับวัตถุ แตตางกันท่ี

ระยะทางระหวางแหลงกําเนิดเสียงกับวัตถุที่เสียงไปกระทบ หากวัตถุอยูใกลจะไดยินเสียงกังวาน หากวัตถุอยู

ไกลจะไดยนิ เสียงสะทอน v

1.5 เสียงสะทอ นเกิดขึ้นไดอยางไร

ตอบ เมื่อคลืน่ เสียงเคลื่อนที่ไปพบส่ิงกดี ขวางแลว จะเคล่ือนท่ีกลับมาในตวั กลางเดิม จะเกิดการสะทอน ถาได

ยินเสยี งสะทอ นหลังจากไดยินเสียงคร้งั แรกมเี วลาตางกันมากกวา 0.1 วนิ าที หูจะแยกเสียงทง้ั สองครั้งได

1.6 เสยี งกังวานเกดิ ข้ึนไดอยา งไร

ตอบ เม่ือคลื่นเสียงเคลื่อนที่ไปพบส่ิงกีดขวางแลวสะทอนกลับในเวลาที่นอยกวา 0.1 วินาที หูจะไมสามารถ

แยกเสยี งทง้ั สองครงั้ ไดเ สียงที่ได ;

1.7 นกั เรยี นคิดวา ในโรงภาพยนตรหรือหองประชุมขนาดใหญ มีการเกิดเสียงสะทอนหรือไมเพราะเหตใุ ด

ตอบ มีการเกิดเสียงสะทอนขึ้นเพราะวาในโรงภาพยนตรหรือหอประชุมขนาดใหญ จะมีการใชเสียงที่ตองไป

กระทบกับวตั ถุซ่งึ เปน ผนงั ท้ัง 4 ดา น ดงั น้ันจงึ ตองเกดิ การสะทอ นของเสียง ;

1.8 เม่อื เสียงไปตกกระทบกับผิวของวตั ถุลักษณะใด จะสะทอนเสียงไดดี

ตอบ การสะทอนของเสียงขึ้นอยูกับลักษณะผิวที่สะทอน โดยพื้นผิวแข็งจะสะทอนเสียงไดดีกวาผิวออนนุม

v;

แผนการจดั การเรียนรทู ี่ 27 รายวชิ า ว32201 วิชาฟสิกสเพมิ่ เติม
กลุม สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ชนั้ ม.5 เวลาเรยี น 1 คาบ
หนว ยการเรียนรู 12 เรอื่ ง เสียง(การเลีย้ วเบนของเสยี ง)
ครผู ูสอน นศ.ปส.นศั รนู การนี า ครูพีเ่ ลี้ยง ครูจาตุรงค พรหมสถติ ย
โรงเรยี นคณะราษฎรบํารงุ จังหวัดยะลา สพม.15

1. มาตรฐานการเรียนรู :
ว 5.2 เขาใจการเคลื่อนท่ีแบบฮารมอนิกสอยางงาย ธรรมชาติของคล่ืน เสียงและการไดยิน

ปรากฏการณท่ีเกีย่ วขอ งกบั เสยี ง แสงและการมองเห็น ปรากฏการณท ีเ่ กยี่ วของกับแสง รวมทั้งนาํ ความรูไป
ใชป ระโยชน
2. ผลการเรยี นรู :

1. อธิบายการเกิดเสียง การเคล่ือนที่ของเสียง ความสัมพันธระหวางคล่ืนการกระจัดของอนุภาคกับ
คล่ืนความดัน ความสัมพันธระหวางอัตราเร็วของเสียงในอากาศที่ขึ้นกับอุณหภูมิในหนวยองศาเซลเซียส
การสะทอน การหักเห การแทรกสอด การเลี้ยวเบน ของคลื่นเสียง รวมท้ังคํานวณปริมาณตาง ๆ ที่
เก่ยี วของ

3. จุดเนน (สพฐ., สพม., โรงเรียน/อตั ลักษณ)
มงุ มนั่ ในการศกึ ษาและการทาํ งาน
แสวงหาความรเู พือ่ การแกป ญหา
มที กั ษะการคิดขั้นสงู

4. สาระสําคญั :

คล่ืนเสียงแสดงพฤติกรรม 4 อยาง ไดแก การสะทอน การหักเห การเล้ียวเบนและการแทรกสอด
เชนเดียวกับคล่ืนอื่น ๆ เมื่อคล่ืนเสียงเคลื่อนที่ไปพบสิ่งกีดขวางแลวจะเคล่ือนที่กลับมาในตัวกลางเดิม จะเกิด
การสะทอน ถาไดยินเสียงสะทอนหลังจากไดยินเสียงคร้ังแรกมีเวลาตางกันมากกวา 0.1 วินาที หูจะแยกเสียง
ทงั้ สองครงั้ ไดเสยี งสะทอนนี้เรียกวา เสียงสะทอ นกลับ (echo) แตหากมีเวลาตางกนั นอยกวา 0.1 วนิ าที หจู ะ
ไมสามารถแยกเสียงทั้งสองคร้ังไดเสียงท่ีไดยิน เรียกวา การกังวาน (reverberation) เม่ือคล่ืนเสียงเคล่ือนท่ี
จากตัวกลางหน่ึงเขาไปในอีกตัวกลางหนึ่งจะเกิดการหักเห เม่ือคล่ืนเสียงเคลื่อนท่ีไปพบขอบสิ่งกีดขวางหรือ
ผา นชองแคบจะเกิดการเลยี้ วเบน และเมอ่ื คลน่ื เสียงสองคล่ืนมาพบกนั จะเกดิ การแทรกสอด

5. จดุ ประสงคการเรียนรู

5.1 ดา นความรู (Knowledge; K)

1) อธิบายการเลยี้ วเบนของเสยี งได
5.2 ดา นทกั ษะกระบวนการ (Process; P)

1) ทดลองหาความสัมพนั ธของการเล้ยี วเบนของเสยี งกบั ตาํ แหนงได

5.3 ดา นคุณลักษณะอันพึงประสงค (Attitude; A)

1. การตรงตอเวลา

2. ความรบั ผิดชอบตองานท่ีไดร บั มอบหมาย

3. นกั เรียนมีจิตวิทยาศาสตรดานความมีเหตุผล

6. สมรรถนะสําคญั :

สมรรถนะสําคัญของผูเรียนหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน มุงใหผเู รียนเกิดสมรรถนะสําคญั 5 ประการ ดงั น้ี

1. ความสามารถในการสื่อสาร

2. ความสามารถในการคิด

3. ความสามารถในการแกปญหา

4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

5. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี

7. บูรณาการ

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง อาเซยี น ทอ งถนิ่

สงเสริมใหนักเรียนเรียนรูคําศัพทเฉพาะภาษาอังกฤษท่ีเกี่ยวกับการเคล่ือนท่ีแบบฮารมอนิกอยางงาย และ
เสริมแนวทางการนําความรูเรื่องการเคลื่อนท่ีแบบฮารมอนิกอยางงาย ไปใชอธิบายปรากฏการณท่ีเกิดข้ึนและ
แกปญ หาในทอ งถน่ิ

8. สอื่ /แหลงเรยี นรู :
8.1 ใบกิจกรรม เรอ่ื ง การเลีย้ วเบนของเสยี ง
8.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพ่ิมเติมวิทยาศาสตร (ฟสิกส) ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 เลม 4 (ฉบับปรับปรุง

พ.ศ.2560)
8.3 หองสมดุ
8.4 อินเทอรเ น็ต
8.5 ชดุ อุปกรณก ารทดลอง เร่ือง การเลี้ยวเบนของเสียง

9.การวดั และประเมนิ ผล :

จดุ ประสงคการเรยี นรู วิธกี ารวัด เครอ่ื งมอื เกณฑการประเมนิ

ดานความรู (K)

1) อธบิ ายการเลี้ยวเบนของเสียงได 1) ตรวจใบกิจกรรม 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนสามารถ

เร่ือง การเลี้ยวเบนของ ทํากิจกรรม ต อ บ คํ า ถ า ม ใ น ใ บ

เสียง 2) ใบกิจกรรม เร่ือง กิจกรรมไดระดับดี

การเลี้ยวเบนของ ผา นเกณฑ

เสยี ง

ดา นกระบวนการ (P)

1) ทดลองหาความสมั พันธของการเลี้ยวเบน 1) ตรวจใบกิจกรรม 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนสามารถ

ของเสียงกับตาํ แหนงได เรื่อง การเล้ียวเบนของ ทาํ กิจกรรม ทํ า ใ บ กิ จ ก ร ร ม ไ ด

เสียง 2) ใบกิจกรรม เร่ือง ระดบั ดี ผานเกณฑ

ก า ร เ ล้ี ย ว เ บ น ข อ ง

เสียง

ดานคุณลกั ษณะ (A)

1) เปน ผูมีความรบั ผดิ ชอบและ 1) ตรวจใบกิจกรรม 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนทําภาระ

เปน ผมู คี วามมงุ ม่ันในการทาํ งาน เรื่อง การเล้ียวเบนของ ทํากจิ กรรม ง า น ที่ ไ ด รั บ

เสียง มอบหมายไดระดับดี

ผานเกณฑ

10. กจิ กรรมการเรียนรู :
ขนั้ ที่ 1 ข้ันสรา งความสนใจ
1.1 ครทู บทวนความรเู ดิมท่ีเรยี นผา นมาในภาคเรยี นท่ี 1 เรอ่ื ง การเลย้ี วเบนของคลน่ื ผวิ นา้ํ
1.2 ครูถามนักเรียนเพื่อทบทวนความรูท่ีไดเรียนมาในคาบที่แลว โดยใชคําถามวา
“พฤตกิ รรมของคล่นื มีก่อี ยา ง อะไรบาง” (แนวการตอบ มี 4 อยา ง ไดแ ก การแทรกสอด การเลี้ยวเบน
การสะทอน และการหักเห)
1.3 ครตู ัง้ คาํ ถามเพือ่ นาํ เขาสูการทาํ กิจกรรม
- การเล้ยี วเบนของเสียงมีลักษณะอยางไร

ขัน้ ท่ี 2 ขั้นสํารวจและคนหา
2.1 นกั เรยี นแบง กลุมๆ ละ 5-6 คน โดยคละเพศ คละความสามารถ
2.2 นักเรยี นแตล ะกลุม ศกึ ษาใบกจิ กรรมเร่ือง การเลีย้ วเบนของเสยี ง
2.3 ครแู จงจดุ ประสงคก ารเรยี นรู อุปกรณ และขน้ั ตอนการทดลองอยา งละเอยี ด

2.4 นักเรียนรบั อุปกรณก ารทดลอง พรอมตดิ ตง้ั อุปกรณ
2.5 นกั เรยี นแตล ะกลุมทาํ การทดลอง สงั เกตและบันทกึ ผลการทดลอง

ขัน้ ที่ 3 ขั้นอธบิ ายและลงขอ สรปุ
3.1 ครูสมุ นกั เรียน 2 คน ออกมานาํ เสนอสรุปท่ไี ดจากการศกึ ษาหนา ชนั้ เรยี น
3.2 ครนู ํานกั เรยี นอภิปรายเพอ่ื นาํ ไปสูการสรุปโดยใชคําถามตอไปน้ี
1) นักเรยี นแตล ะกลุมไดผลการทํากจิ กรรมเหมือนหรือแตกตางกันอยา งไร (แนวการ
ตอบ ไดผ ลเหมือนกัน)
2) ณ ตําแหนง A, B และ C จะไดยินเสียงดังแตกตางกันหรือไม อยางไร (แนวการ
ตอบจะไดยินเสียงดังแตกตางกัน โดยตําแหนง A เสียงคอยที่สุด ตําแหนง B เสียงดังกวาท่ี
ตําแหนง A แตด ังนอ ยกวา C และตาํ แหนง C เสยี งดังทส่ี ดุ )
3) ถาเสียงจากลําโพงเคลื่อนที่ไปถึงบานประตูไมออมขอบบานประตูจะไดยินเสียง
ณ ตําแหนง A และ B หรอื ไม (แนวการตอบ ไมไดย ินเสยี ง ณ ตาํ แหนง A และ B)
3.3 นักเรียนและครูรวมกนั อภิปรายและสรปุ ผลการทาํ การทดลอง จนสรุปได ดังนี้
1) เม่ือรับฟงเสียงท่ีตําแหนง A, B และ C จะพบวาท่ี A เสียงคอยท่ีสุด ที่ B เสียงดัง
ขน้ึ และท่ี C เสยี งดงั ทส่ี ุด
2) การไดยินเสียงท่ีตําแหนง A และ B ซ่ึงอยูดานหลังส่ิงกีดขวางไดแสดงวาเสียง
สามารถเคล่ือนท่อี อ มส่งิ กีดขวางได
3) การไดย ินเสียงท่ีตําแหนง A คอยท่ีสดุ เพราะพลงั งานเสยี งไปถงึ ตาํ แหนง A ลดลง
4) เสยี งแสดงพฤติกรรมการเล้ยี วเบนได

ขั้นท่ี 4 ข้นั ขยายความรู
4.1 ครูอธิบายใหความรูเพิ่มเติมเก่ียวกับ เสียงความถ่ีตํ่า กับเสียงความถี่สูง เสียงความถ่ีใด
สามารถเล้ียวเบนไดดีกวา กนั
- เนื่องจากเสียงท่ีมีความยาวคล่ืนมาก จะเล้ียวเบนไดดีกวาเสียงท่ีมีความยาวคล่ืน
นอยดังนั้นเสียงความถี่ตํ่า ซึ่งมีความยาวคลื่นมาก จะเลี้ยวเบนไดดีกวาเสียงความถี่สูงซ่ึงมี
ความยาวคลน่ื นอย

ข้นั ท่ี 5 ข้ันประเมนิ ผล
5.1 นกั เรยี นสง ใบกิจกรรม เร่อื ง การเลยี้ วเบนของเสียง.

11. บนั ทึกหลังสอน : ม. 5/2 ม.5/5

หวั ขอ
ช้ัน

ผลการจัดการเรียนการสอน

 ความรูความสามารถ

 ทักษะกระบวนการ

 คณุ ลกั ษณะอันพงึ
ประสงค

ปญ หา/อุปสรรค

 ความรูความสามารถ

 ทกั ษะกระบวนการ

 คณุ ลักษณะอนั พงึ
ประสงค

หัวขอ

ชน้ั ม. 5/2 ม.5/5

แนวทางแกไ ข ลงช่อื …………………………………………………
(……………………………………………………..)
 ความรคู วามสามารถ
ครผู สู อน
 ทักษะกระบวนการ

 คุณลกั ษณะอนั พึง
ประสงค

ความคดิ เหน็ ของหัวหนา กลุมสาระการเรยี นรู

ลงช่ือ…………………………………………………
(……………………………………………………..)

หวั หนา กลมุ สาระการเรยี นรู

ความเห็นของรองผูอาํ นวยการกลมุ บรหิ ารวิชาการ/ผูบรหิ าร หรอื ผทู ีไ่ ดรับมอบหมาย

ลงชอื่ …………………………………………………
(……………………………………………………..)
ตาํ แหนง…………………………………………..

ใบกิจกรรม เรอื่ ง การเล้ียวเบนของเสียง

1. รายชอื่ สมาชิกที่ …………………………………………………….. ชนั้ …………………………………
ช่อื ……………………………………………………………………………....................................เลขท.ี่ ..................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขท.ี่ ..................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขที.่ ..................
ช่อื ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขท่ี...................

2. จุดประสงคการทาํ กิจกรรม
ศกึ ษาความสมั พนั ธของการเล้ียวเบนของเสยี งกบั ตําแหนง

3. วสั ดุ-อปุ กรณ 1 เครอ่ื ง
1) เครื่องกาํ เนดิ สญั ญาณเสยี ง 1 ตวั
2) ลําโพง 2 เสน
3) สายไฟ

4. วธิ ที ํากิจกรรม
1) ตอ เครอ่ื งกาํ เนดิ สัญญาณเสยี งกับลาํ โพง 1 ตวั หมนุ ปุมเลือกความถี่ไปท่ี 1 กโิ ลเฮิรตซ และปรับความดังของ
เสยี งให ดงั พอสมควร
2) นําลําโพงไปวางไวดานหลังประตหู อ งเรยี นซง่ึ เปดอยู แลวฟง เสยี งทอี่ ีกดานหนึ่งของประตนู อกหองซง่ึ บงั ลําโพง
ไว ณ ตําแหนง ตา งๆ ดงั รูป

5. ผลการทําการทดลอง

ตําแหนง ทีร่ บั ฟง เสียง ลกั ษณะความดังคอ ยของเสียง ระดับเสียง (dB)
ตําแหนง A

ตาํ แหนง B

ตําแหนง C

6. คาํ ถามทา ยการทดลอง
1) ณ ตาํ แหนง A, B และ C จะไดยนิ เสียงดังแตกตางกนั หรือไม อยางไร

ตอบ จะไดยนิ เสียงดงั แตกตางกัน โดยตําแหนง A เสยี งคอ ยที่สดุ ตาํ แหนง B เสยี งดังกวาทต่ี ําแหนง A แตดงั นอ ย

กวา C และตาํ แหนง C เสยี งดังทีส่ ดุ มกี กวา C

และตาํ แหนง C เสียงดังที่สุด มีกกวา C และ

ตาํ แหนง C เสียงดังท่สี ดุ มีการ

2) ถา เสยี งจากลําโพงเคล่ือนท่ีไปถงึ บานประตูไมออมขอบบานประตจู ะไดยินเสยี ง ณ ตาํ แหนง A และ B หรือไม

ตอบ ไมไดยินเสียง ณ ตําแหนง A และ B เขตน้ําลึกและเขตนํ้าต้ืน ถา หนาคล่ืนตกกระทบทํามุมกับ

รอยตอกวา C และตาํ แหนง C เสียงดงั ที่สดุ มกี ก

วา C และตําแหนง C เสียงดังที่สุด มีกกวา C

และตําแหนง C เสยี งดังทส่ี ดุ มีกกวา C และb

7. สรปุ ผลการทดลอง
จากการทําการทดลอง พบวา ไดยนิ เสยี งท้ังสามตําแหนง โดยเสยี งทไ่ี ดยนิ ณ ตําแหนง A ซ่งึ อยดู านหลัง

สง่ิ กดี ขวางจะดังนอยกวา เสียง้ัไดย ิน ณ ตําแหนง B และ C ซ่ึงอธิบายไดวา การไดยินเสยี งทตี่ ําแหนง A และ B ท้งั ท่ี

มีสิ่งกีดขวางกน้ั เสยี งไว เพราะเสยี งสามารถเคล่ือนท่อี อ มไปยงั ดา นหลังของสิ่งกดี ขวางได ดังนั้นเสียงแสดงพฤตกิ รรม

การเล้ยี วเบนไดสะ ทอ น

เฉลยใบกิจกรรม เรอื่ ง การเลย้ี วเบนของเสยี ง

1. รายช่ือสมาชิกท่ี …………………………………………………….. ชนั้ …………………………………
ช่ือ……………………………………………………………………………....................................เลขที.่ ..................
ช่อื ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขที.่ ..................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขท่ี...................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขท.ี่ ..................

2. จดุ ประสงคก ารทาํ กจิ กรรม
ศกึ ษาความสัมพนั ธของการเลี้ยวเบนของเสยี งกับตําแหนง

3. วัสดุ-อุปกรณ 1 เคร่ือง
1) เคร่ืองกาํ เนดิ สญั ญาณเสียง 1 ตวั
2) ลาํ โพง 2 เสน
3) สายไฟ

4. วิธีทาํ กิจกรรม
1) ตอเครอ่ื งกําเนิดสัญญาณเสียงกบั ลําโพง 1 ตวั หมนุ ปุมเลอื กความถไี่ ปท่ี 1 กิโลเฮริ ตซ และปรับความดังของ
เสียงให ดงั พอสมควร
2) นาํ ลําโพงไปวางไวด านหลังประตหู อ งเรยี นซงึ่ เปดอยู แลวฟง เสยี งที่อีกดา นหนงึ่ ของประตูนอกหอ งซ่งึ บงั ลําโพง
ไว
ณ ตําแหนงตางๆ ดงั รปู

5. ผลการทาํ การทดลอง

ตําแหนง ท่ีรบั ฟง เสียง ลักษณะความดงั คอยของเสียง ระดบั เสียง (dB)
ตําแหนง A เสยี งคอยที่สดุ กรณโี รงเรยี นมเี คร่ืองวัดระดับเสยี ง
ควรใหนกั เรยี นทดลองวัด หรือใช
ตําแหนง B เสียงดงั กวาทตี่ ําแหนง A แอปพลเิ คชันในการวดั เสียง
(สามารถดาวนโ หลดแอปพลิเคชนั
ตาํ แหนง C เสียงดงั ท่ีสดุ ในการวัดเสยี ง sound
experiment ของสสวท. ไดจาก
QR code ประจําบท)

6. คําถามทายการทดลอง
1) ณ ตาํ แหนง A, B และ C จะไดยินเสียงดังแตกตางกนั หรอื ไม อยางไร

ตอบ จะไดย นิ เสยี งดังแตกตา งกัน โดยตาํ แหนง A เสียงคอยทส่ี ุด ตําแหนง B เสียงดงั กวา ทีต่ าํ แหนง A แตดงั นอย

กวา C และตาํ แหนง C เสียงดังทีส่ ดุ มีการ

2) ถา เสยี งจากลําโพงเคลื่อนที่ไปถึงบานประตูไมออ มขอบบานประตูจะไดยินเสียง ณ ตําแหนง A และ B หรอื ไม

ตอบ ไมไดย นิ เสยี ง ณ ตําแหนง A และ B เขตนํา้ ลกึ และเขตนํา้ ต้ืน ถา หนาคลื่นตกกระทบทาํ มมุ กับ

7. สรปุ ผลการทดลอง
จากการทําการทดลอง พบวา ไดย ินเสียงทงั้ สามตําแหนง โดยเสียงทไี่ ดยนิ ณ ตําแหนง A ซงึ่ อยดู านหลัง

สิง่ กีดขวางจะดังนอยกวา เสียงั้ไดยิน ณ ตําแหนง B และ C ซ่งึ อธิบายไดว า การไดย นิ เสยี งท่ีตําแหนง A และ B ทัง้ ท่ี

มีส่ิงกดี ขวางกั้นเสียงไว เพราะเสยี งสามารถเคล่อื นที่ออมไปยังดานหลังของสงิ่ กดี ขวางได ดังนนั้ เสยี งแสดงพฤติกรรม

การเล้ียวเบนไดส ะ ทอน

แผนการจดั การเรยี นรูที่ 28 รายวชิ า ว32201 วชิ าฟส ิกสเพม่ิ เตมิ
กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ชน้ั ม.5 เวลาเรยี น 2 คาบ
หนว ยการเรยี นรู 12 เรอ่ื ง เสียง(การแทรกสอดของเสยี งของเสียง)
ครูผูสอน นศ.ปส.นัศรูน การีนา ครพู ่เี ลยี้ ง ครูจาตุรงค พรหมสถติ ย
โรงเรยี นคณะราษฎรบาํ รงุ จงั หวดั ยะลา สพม.15

1. มาตรฐานการเรยี นรู :
ว 5.2 เขาใจการเคล่ือนท่ีแบบฮารมอนิกสอยางงาย ธรรมชาติของคล่ืน เสียงและการไดยิน

ปรากฏการณท ี่เก่ยี วขอ งกบั เสียง แสงและการมองเห็น ปรากฏการณท่เี กี่ยวของกับแสง รวมทั้งนําความรไู ป
ใชป ระโยชน
2. ผลการเรยี นรู :

1. อธิบายการเกิดเสียง การเคลื่อนที่ของเสียง ความสัมพันธระหวางคล่ืนการกระจัดของอนุภาคกับ
คลื่นความดัน ความสัมพันธระหวางอัตราเร็วของเสียงในอากาศที่ข้ึนกับอุณหภูมิในหนวยองศาเซลเซียส
การสะทอน การหักเห การแทรกสอด การเลี้ยวเบน ของคล่ืนเสียง รวมทั้งคํานวณปริมาณตาง ๆ ที่
เกย่ี วขอ ง

3. จุดเนน (สพฐ., สพม., โรงเรียน/อตั ลกั ษณ)
มงุ ม่นั ในการศกึ ษาและการทํางาน
แสวงหาความรเู พือ่ การแกป ญ หา
มที ักษะการคิดขัน้ สงู

4. สาระสําคญั :

คลื่นเสียงแสดงพฤติกรรม 4 อยาง ไดแก การสะทอน การหักเห การเลี้ยวเบนและการแทรกสอด
เชนเดียวกับคล่ืนอ่ืน ๆ เมื่อคลื่นเสียงเคล่ือนที่ไปพบสิ่งกีดขวางแลวจะเคล่ือนที่กลับมาในตัวกลางเดิม จะเกิด
การสะทอน ถาไดยินเสียงสะทอนหลังจากไดยินเสียงคร้ังแรกมีเวลาตางกันมากกวา 0.1 วินาที หูจะแยกเสียง
ท้ังสองครัง้ ไดเสียงสะทอนน้ีเรยี กวา เสียงสะทอ นกลับ (echo) แตห ากมีเวลาตางกันนอยกวา 0.1 วนิ าที หูจะ
ไมสามารถแยกเสียงท้ังสองคร้ังไดเสียงท่ีไดยิน เรียกวา การกังวาน (reverberation) เม่ือคลื่นเสียงเคลื่อนท่ี
จากตัวกลางหนึ่งเขาไปในอีกตัวกลางหนึ่งจะเกิดการหักเห เมื่อคลื่นเสียงเคลื่อนท่ีไปพบขอบส่ิงกีดขวางหรือ
ผา นชองแคบจะเกดิ การเลยี้ วเบน และเมอื่ คลน่ื เสียงสองคลนื่ มาพบกันจะเกิดการแทรกสอด

5. จุดประสงคการเรียนรู

5.1 ดานความรู (Knowledge; K)

1) อธิบายการแทรกสอดของเสยี งได
5.2 ดา นทักษะกระบวนการ (Process; P)

1) ทดลองหาความสัมพันธข องการแทรกสอดของเสียงกบั ตําแหนงได

5.3 ดา นคณุ ลักษณะอันพึงประสงค (Attitude; A)

1) เปน ผมู คี วามรบั ผดิ ชอบและเปนผูม คี วามมุงมั่นในการทํางาน

6. สมรรถนะสาํ คญั :

สมรรถนะสําคัญของผูเรียนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรแกนกลาง

การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน มุงใหผเู รียนเกิดสมรรถนะสําคญั 5 ประการ ดังนี้

1. ความสามารถในการสื่อสาร

2. ความสามารถในการคดิ

3. ความสามารถในการแกป ญ หา

4. ความสามารถในการใชท ักษะชวี ติ

5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

7. บรู ณาการ

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง อาเซียน ทอ งถนิ่

สงเสริมใหนักเรียนเรียนรูคําศัพทเฉพาะภาษาอังกฤษที่เกี่ยวกับเสียง และเสริมแนวทางการนําความรูเรื่อง
เสียง ไปใชอธิบายปรากฏการณทเี่ กิดข้ึนและแกปญหาในทอ งถิ่น

8. ส่ือ/แหลง เรียนรู :
8.1 ใบกจิ กรรม เรอื่ ง การเลี้ยวเบนของเสยี ง
8.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพ่ิมเติมวิทยาศาสตร (ฟสิกส) ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 5 เลม 4 (ฉบับปรับปรุง

พ.ศ.2560)
8.3 หอ งสมดุ
8.4 อนิ เทอรเน็ต
8.5 ชุดอปุ กรณการทดลอง เร่ือง การแทรกสอดของเสยี ง

9.การวัดและประเมินผล :

จดุ ประสงคการเรียนรู วิธีการวัด เคร่อื งมือ เกณฑก ารประเมิน

ดา นความรู (K)

1) อธิบายการแทรกสอดของเสียง 1) ตรวจใบกิจกรรม เร่ือง 1) แบบประเมินการทํา 1) นักเรียนสามารถ

ได การแทรกสอดของเสยี ง กิจกรรม สรุปผลการทดลองได

2) ใบกิจกรรม เร่ือง การ ระดับดี ผา นเกณฑ

แทรกสอดของเสยี ง

ดานกระบวนการ (P)

1) ทดลองหาความสัมพันธของ 1) ตรวจใบกิจกรรม เร่ือง 1) แบบประเมินการทํา 1) นักเรียนสามารถ

การแทรกสอดของเสยี งกบั ตาํ แหนง การแทรกสอดของเสียง กจิ กรรม บันทึกผลกิจกรรมได

ได 2) ใบกิจกรรม เร่ือง การ ระดับดี ผานเกณฑ

แทรกสอดของเสียง

ดานคุณลักษณะ (A)

1) เปนผมู ีความรับผดิ ชอบและ 1) ตรวจใบกิจกรรม เร่ือง 1) แบบประเมินการทํา 1) นักเรียนทําภาระ

เปน ผมู ีความมงุ มั่นในการทํางาน การแทรกสอดของเสยี ง กิจกรรม ง า น ที่ ไ ด รั บ

มอบหมายไดระดับดี

ผา นเกณฑ

10. กิจกรรมการเรียนรู :
ขัน้ ท่ี 1 ขัน้ สรา งความสนใจ
1.1 ครูทบทวนความรูเดิมท่ีเรียนผานมาในภาคเรียนท่ี 1 เรื่อง การแทรกสอดของคลื่นผิวน้ํา
และการแทรกสอดของแสง
1.2 ครูต้งั คาํ ถามเพอื่ นาํ เขาสูก ารทาํ กิจกรรม
- การแทรกสอดของเสียงมีลักษณะแตกตางหรือเหมือนกันกับการแทรกสอดของ
คล่ืนผิวนาํ้ และการแทรกสอดของแสง
- การแทรกสอดของเสียงมีลักษณะอยา งไร

ขนั้ ท่ี 2 ข้นั สาํ รวจและคน หา
2.1 นักเรียนแบง กลุมๆ ละ 5-6 คน โดยคละเพศ คละความสามารถ
2.2 นกั เรยี นแตล ะกลุมศึกษาใบกิจกรรมเร่ือง การแทรกสอดของเสยี ง
2.3 ครูแจง จุดประสงคการเรียนรู อุปกรณ และขนั้ ตอนการทดลองอยางละเอยี ด
2.4 นกั เรียนรับอปุ กรณการทดลอง พรอมติดต้ังอุปกรณ
2.5 นกั เรยี นแตล ะกลุมทาํ การทดลอง สงั เกตและบันทกึ ผลการทดลอง


Click to View FlipBook Version