The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอน เสียง ม5

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jatoorong, 2022-09-02 04:04:37

แผนการสอน เสียง ม5

แผนการสอน เสียง ม5

ขน้ั ที่ 3 ขัน้ อธบิ ายและลงขอสรปุ
3.1 ครูสุมนักเรียน 2 คน ออกมานําเสนอสรุปทไ่ี ดจากการศกึ ษาหนาช้ันเรยี น
3.2 ครูนํานักเรียนอภิปรายเพ่อื นาํ ไปสูการสรุปโดยใชคําถามตอไปนี้
1) นักเรยี นแตละกลุมไดผลการทํากิจกรรมเหมือนหรือแตกตางกนั อยา งไร (แนวการ
ตอบ ไดผลเหมือนกัน)
2) ความถี่ของเสียงจากลําโพงท้ังสองตัวแตกตางกันหรือไม อยางไร (แนวการตอบ
ไมแ ตกตางกัน เพราะเปนเสยี งจากเครอื่ งกาํ เนดิ สญั ญาณเสยี งเดียวกนั )
3) ความดงั ของเสยี งท่ีไดย ิน ณ ตําแหนงตา ง ๆ เมื่อใชลาํ โพง 2 ตัว เปนอยางไร และ
จะอธิบายไดอยางไร (แนวการตอบ บางตําแหนงไดยินเสียงดัง บางตําแหนงไดยินเสียงคอย
ตําแหนงท่ีไดยินเสียงดังเกิดจากการรวมกันแบบเสริม และตําแหนงท่ีไดยินเสียงคอยเกิดจาก
การรวมกนั แบบหกั ลาง)
3.3 นกั เรยี นและครูรว มกันอภปิ รายและสรุปผลการทาํ การทดลอง จนสรุปได ดงั นี้
1) ลําโพง 2 ตัวเปนแหลงกําเนิดเสียงอาพันธ(มีความถี่เทากันเพราะเปนเสียงจาก
เคร่ืองกําเนดิ สัญญาณเสยี งเดียวกัน
2) เม่ือรับฟง เสียงจากลาํ โพง 2 ตัว ทส่ี งเสยี งพรอ มกนั ทต่ี ําแหนงตา ง ๆ ในแนวขนาน
กับ ขอบโตะท่ีบางตําแหนงจะไดยินเสียงดัง ที่บางตําแหนงจะไดยินเสียงคอย ถาเล่ือน
ตําแหนงท่ีรับฟงไปเร่ือย ๆ ตามแนวเสนตรงท่ีขนานกับขอบโตะ จะไดยินเสียงดังคอย
สลับกนั ไป
3) การไดย ินเสียงดงั บางตาํ แหนง และเสียงคอ ยบางตาํ แหนง ตามขอ 2 นนั้ เกิดจาก
การแทรกสอดของเสียงจากแหลงกําเนิดอาพันธ 2 แหลง ตําแหนงท่ีเสริมกันของเสียงจะได
ยนิ เสยี งดัง และตาํ แหนงทีห่ กั ลา งกันของเสียงจะไดยนิ เสยี งคอ ย
4) เสียงแสดงพฤติกรรมการแทรกสอดได

ขน้ั ที่ 4 ข้ันขยายความรู
4.1 ครอู ธิบายใหค วามรูเพ่ิมเติมเกีย่ วกบั แหลง กาํ เนดิ เสยี งอาพนั ธ
แหลงกําเนิดเสียงอาพันธ คือ แหลงกําเนิดคลื่นที่มีความถ่ีเทากัน ความยาวคล่ืน
เทากัน
อัตราเรว็ เทากัน แอมพลิจูด เทากนั มเี ฟสตรงกนั หรอื ตางกันคงท่ี

ขน้ั ที่ 5 ขน้ั ประเมนิ ผล
5.1 นักเรียนสงใบกิจกรรม เรือ่ ง การแทรกสอดของเสียง

11. บันทกึ หลงั สอน : ม. 5/2 ม.5/5
หัวขอ

ช้ัน
ผลการจัดการเรยี นการสอน

 ความรคู วามสามารถ

 ทักษะกระบวนการ

 คณุ ลักษณะอันพึง
ประสงค

ปญ หา/อุปสรรค

 ความรคู วามสามารถ

 ทักษะกระบวนการ

หวั ขอ ม. 5/2 ม.5/5
ชน้ั

 คณุ ลักษณะอันพึง
ประสงค

แนวทางแกไ ข

 ความรูความสามารถ

 ทกั ษะกระบวนการ

 คณุ ลักษณะอนั พงึ
ประสงค

ลงชอ่ื …………………………………………………
(……………………………………………………..)

ครูผสู อน

ความคดิ เหน็ ของหัวหนา กลุมสาระการเรยี นรู

ลงช่ือ…………………………………………………
(……………………………………………………..)

หวั หนา กลมุ สาระการเรยี นรู

ความเห็นของรองผูอาํ นวยการกลมุ บรหิ ารวิชาการ/ผูบรหิ าร หรอื ผทู ีไ่ ดรับมอบหมาย

ลงชอื่ …………………………………………………
(……………………………………………………..)
ตาํ แหนง…………………………………………..

ใบกิจกรรม เรอ่ื ง การแทรกสอดของเสียง

1. รายช่อื สมาชิกที่ …………………………………………………….. ชนั้ …………………………………
ชอื่ ……………………………………………………………………………....................................เลขท่.ี ..................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขที.่ ..................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขท.ี่ ..................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขท่ี...................
ชือ่ ……………………………………………………………………………....................................เลขท่.ี ..................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขท.ี่ ..................
2. จดุ ประสงคการทํากิจกรรม
ศกึ ษาความสัมพันธข องการแทรกสอดของเสยี งกับตําแหนง

3. วสั ด-ุ อุปกรณ 4 1 เครอื่ ง
1) เครื่องกาํ เนดิ สญั ญาณเสียง 2 ตัว
2) ลาํ โพง เสน
3) สายไฟ

4. วธิ ีทาํ กจิ กรรม
1) ตอเคร่ืองกําเนิดสัญญาณเสียงกับลําโพง 2 ตัว หมุนปุมเลือกความถ่ีไปท่ี 3 กิโลเฮิรตซ และปรับความดัง
ของเสยี งให ดงั พอสมควร
2) วางลําโพงไวที่ขอบโตะ จัดหนา ลําโพงหนั ออกนอกโตะ ดังรูป

3) ฟงเสียงทางดานหนาลําโพง ณ ตําแหนงตางๆ กันในแนวขนานกับขอบโตะ เปรียบเทียบความดังของเสยี ง
ณ ตาํ แหนง ตา งๆ ตามแนวทฟี่ งเสยี ง

5. ผลการทาํ การทดลอง

6. คาํ ถามทายการทดลอง
1) ความถ่ีของเสียงจากลาํ โพงทั้งสองตัวแตกตางกันหรือไม อยางไร
ตอบ

2) ความดงั ของเสียงท่ไี ดย นิ ณ ตาํ แหนง ตาง ๆ เมือ่ ใชลาํ โพง 2 ตัว เปน อยา งไร และจะอธิบายไดอยางไร
ตอบ

7. สรุปผลการทดลอง

เฉลยใบกจิ กรรม เรอื่ ง การแทรกสอดของเสียง

1. รายชือ่ สมาชิกที่ …………………………………………………….. ชัน้ …………………………………
ชือ่ ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขที.่ ..................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................
2. จุดประสงคก ารทํากจิ กรรม
ศึกษาความสัมพันธของการแทรกสอดของเสยี งกบั ตําแหนง

3. วัสด-ุ อุปกรณ 4 1 เครอื่ ง
1) เคร่ืองกาํ เนิดสัญญาณเสียง 2 ตวั
2) ลําโพง เสน
3) สายไฟ

4. วิธที าํ กจิ กรรม
1) ตอเคร่ืองกําเนิดสัญญาณเสียงกับลําโพง 2 ตัว หมุนปุมเลือกความถ่ีไปที่ 3 กิโลเฮิรตซ และปรับความดัง
ของเสียงให ดังพอสมควร
2) วางลําโพงไวท่ขี อบโตะ จัดหนาลาํ โพงหนั ออกนอกโตะ ดงั รปู

3) ฟงเสียงทางดานหนาลําโพง ณ ตําแหนงตางๆ กันในแนวขนานกับขอบโตะ เปรียบเทียบความดังของเสยี ง
ณ ตาํ แหนงตา งๆ ตามแนวทฟ่ี ง เสยี ง

5. ผลการทาํ การทดลอง
เสยี งท่ีไดยนิ จากลาํ โพง 2 ตวั ตอพวงกนั พบวา บางตาํ แหนงจะไดย ินเสียงดงั บางตําแหนงจะไดยนิ เสียงคอย
6. คาํ ถามทา ยการทดลอง
1) ความถข่ี องเสียงจากลาํ โพงทง้ั สองตัวแตกตางกันหรือไม อยา งไร
ตอบ ไมแตกตา งกัน เพราะเปนเสียงจากเคร่ืองกําเนิดสัญญาณเสียงเดียวกัน
2) ความดังของเสยี งทไ่ี ดย นิ ณ ตาํ แหนง ตาง ๆ เมอื่ ใชล าํ โพง 2 ตวั เปน อยา งไร และจะอธบิ ายไดอ ยางไร
ตอบ บางตําแหนงไดยินเสียงดัง บางตําแหนงไดยินเสียงคอย ตําแหนงที่ไดยินเสียงดังเกิดจากการรวมกันแบบ
เสรมิ และตาํ แหนงทไ่ี ดยินเสยี งคอ ยเกดิ จากการรวมกันแบบหกั ลา ง
7. สรุปผลการทดลอง

จากการทําการทดลอง พบวา เม่ือใชลําโพง 2 ตวั ตอ พวงกัน จะมคี วามถเี่ ทากันเพราะเปน เสยี งท่ีมา
จากเครอ่ื กําเนดิ สัญญาณเสียงเดียวกัน ในการยินฟง เสยี ง ณ บางตาํ แหนง จะไดยินเสียงดงั ทบ่ี างตาํ แหนงจะได
ยินเสียงคอย เน่ืองจากตําแหนงที่ไดยินเสียงดังเกิดจากการรวมกันแบบเสริมกันของคล่ืนเสียง และตําแหนงที่
ไดย ินเสยี งคอย เกดิ จากการรวมกนั แบบหักลา งกันของคลื่นเสียง ดังน้นั สามารถสรุปไดว า เสยี งมกี ารแทรกสอด
เชนเดยี วกบั คลืน่ อน่ื ๆ

แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ 29

กลมุ สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร รายวิชา ว32201 วิชาฟสิกสเ พม่ิ เตมิ

หนว ยการเรียนรู 12 เรอ่ื ง เสียง(ความเขมเสียง ระดับเสยี งความถ่ีเสียงกับการไดยิน และคุณภาพเสยี ง)

ช้นั ม.5 เวลาเรยี น 2 คาบ

ครูผสู อน นศ.ปส.นศั รนู การีนา ครูพเ่ี ลี้ยง ครูจาตุรงค พรหมสถิตย

โรงเรียนคณะราษฎรบํารงุ จังหวดั ยะลา สพม.15

1. มาตรฐานการเรียนรู :
ว 5.2 เขาใจการเคล่ือนที่แบบฮารมอนิกสอยางงาย ธรรมชาติของคล่ืน เสียงและการไดยิน

ปรากฏการณท ่เี กย่ี วขอ งกับเสียง แสงและการมองเห็น ปรากฏการณท ่เี กย่ี วขอ งกับแสง รวมท้ังนําความรไู ป
ใชประโยชน
2. ผลการเรยี นรู :

1. อธิบายการเกิดเสียง การเคล่ือนที่ของเสียง ความสัมพันธระหวางคล่ืนการกระจัดของอนุภาคกับ
คลื่นความดัน ความสัมพันธระหวางอัตราเร็วของเสียงในอากาศที่ข้ึนกับอุณหภูมิในหนวยองศาเซลเซียส
การสะทอน การหักเห การแทรกสอด การเล้ียวเบน ของคลื่นเสียง รวมท้ังคํานวณปริมาณตาง ๆ ที่
เกีย่ วขอ ง

3. จดุ เนน (สพฐ., สพม., โรงเรยี น/อตั ลกั ษณ)
มงุ ม่ันในการศกึ ษาและการทาํ งาน
แสวงหาความรเู พื่อการแกป ญหา
มีทักษะการคิดขนั้ สูง

4. สาระสาํ คัญ :

พลังงานเสียงท่ีสงออกจากแหลงกําเนิดเสียงในหน่ึงหนวยเวลา เรียกวา กําลังเสียง (power of a
sound)กําลังเสียงท่ีแหลงกําเนิดเสียงสงออกไปตอหนวยพ้ืนที่ที่ต้ังฉากกับทิศทางการเคล่ือนท่ีของคลื่นเสียง

เรียกวา ความเขมเสียง (sound intensity) ซึ่งหาไดจาก = ในกรณีแหลงกําเนิดเสียงเปนจุด

= ในการบอกความดังของเสียงพจิ ารณาจากสเกลลอการิทมึ เรียกวา ระดบั เสียง (sound level)

ตามสมการ = 10
เสียงจากแหลงกําเนิดเสียงตาง ๆ มีระดับสูงต่ําของเสียงและคุณภาพเสียงที่ตางกัน ระดับสูงต่ําของ

เสียง (pitch)สัมพันธก ับความถี่ของเสยี ง เสียงทมี่ คี วามถ่ีสูง เรยี กวา เสียงสูงหรอื เสียงแหลม เสยี งทม่ี คี วามถ่ี
ต่ํา เรียกวา เสียงตํ่าหรือเสียงทุม สวนคุณภาพเสียง (quality of sound)เปนลักษณะเฉพาะของเสียงท่ีทํา

ใหผูฟงจําแนกเสียงนั้น ๆ เสียงท่ีมีคุณภาพเสียงตางกันมีรูปแบบของเสียงแตกตางกัน ท้ังนี้เพราะเสียงแตละ
รปู แบบเกิดจากผลรวมของหลายฮารมอนิกและแอมพลจิ ดู แตละฮารมอนิกที่แตกตางกนั

เสียงรบกวนเปนเสียงท่ีดังหรือมีระดับเสียงสูง และกอใหเกิดความรําคาญ ถือวาเปนมลพิษทางเสียง
(noise pollution) อาจเปนอันตรายตอสุขภาพและจิตใจ การลดหรือควบคุมระดับเสียง อาจทําได 3 วิธีคือ
การควบคุมท่แี หลง กาํ นดิ เสยี ง การควบคมุ ทางผานของเสียง และการควบคมุ ที่ผรู บั ฟงเสยี ง

5. จดุ ประสงคการเรียนรู

5.1 ดา นความรู (Knowledge; K)

1) อธบิ ายความเขมเสียงได

2) อธิบายระดับเสียงความสัมพันธร ะหวา งระดับเสยี งและความเขมเสียงได

3) อธบิ ายระดบั เสยี งและความถ่ีที่มผี ลตอการไดย นิ

4) อธบิ ายระดับสูงตํา่ ของเสียงและคุณภาพเสยี ง

5.2 ดา นทักษะกระบวนการ (Process; P)

1) คาํ นวณหาปริมาณตางๆ ท่ีโจทยกําหนด

5.3 ดานคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค (Attitude; A)

1) เปนผูมีความรับผดิ ชอบและเปนผูม ีความมงุ ม่นั ในการทํางาน

6. สมรรถนะสาํ คญั :

สมรรถนะสําคัญของผูเรียนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรแกนกลาง

การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน มุงใหผเู รียนเกิดสมรรถนะสาํ คัญ 5 ประการ ดงั น้ี

1. ความสามารถในการส่ือสาร

2. ความสามารถในการคิด

3. ความสามารถในการแกปญหา

4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

7. บรู ณาการ

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง อาเซียน ทอ งถิ่น

สงเสริมใหนักเรียนเรียนรูคําศัพทเฉพาะภาษาอังกฤษท่ีเก่ียวกับเสียง และเสริมแนวทางการนําความรูเรื่อง
เสยี ง ไปใชอธิบายปรากฏการณท่เี กดิ ขึน้ และแกป ญ หาในทองถน่ิ

8. สื่อ/แหลง เรยี นรู :
9.1 หนังสอื เรียนรายวชิ าเพิ่มเติมวิทยาศาสตร (ฟส ิกส) ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 เลม 4 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.
2560)
9.2 หองสมุด
9.3 อินเทอรเ น็ต

9.การวดั และประเมนิ ผล :

จดุ ประสงคก ารเรยี นรู วธิ ีการวดั เครอ่ื งมือ เกณฑการประเมนิ

ดา นความรู (K)

1) อธบิ ายความเขม เสียงได 1) ต ร ว จ ก ร ะ ด า ษ 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนสามารถ

2) อธิบายระดับเสียงความสัมพันธระหวาง ปรูฟ (นํ้าตาล)ของแต ทาํ กิจกรรม สรุปเน้ือหาท่ีศึกษา

ระดับเสียงและความเขม เสยี งได ล ะ ก ลุ ม ที่ ไ ด จ า ก และทําความเขาใจได

3) อธิบายระดบั เสยี งและความถ่ที ี่มีผลตอการ การศึกษาคนควา ระดับดี ผา นเกณฑ

ไดยิน

4) อธิบายระดับสูงต่ําของเสียงและคุณภาพ

เสียง

ดา นกระบวนการ (P)

1) คาํ นวณหาปรมิ าณตา งๆ ทีโ่ จทยก ําหนดได 1) ตรวจแบบฝก หัด 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนสามารถ

ทํากจิ กรรม ทํ า แ บ บ ฝ ก หั ด ไ ด

ระดบั ดี ผานเกณฑ

ดานคุณลักษณะ (A)

1) เปน ผูมีความรบั ผดิ ชอบและ 1) ตรวจใบกิจกรรม 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนทําภาระ

เปน ผมู คี วามมุงมน่ั ในการทํางาน เรอื่ ง การสะทอ นของ ทํากจิ กรรม ง า น ท่ี ไ ด รั บ

เสยี ง มอบหมายไดระดับดี

2) ตรวจแบบฝกหดั ผานเกณฑ

10. กจิ กรรมการเรยี นรู :
ขน้ั ที่ 1 ขัน้ สรางความสนใจ
1.1 ครูทบทวนความรูเดิม เร่ือง พฤตกิ รรมของเสียง
1.2 ครูถามนักเรียนวาเสียงเกิดข้ึนไดอยางไรและเสียงมาถึงผูฟงไดอยางไร (แนวการตอบ
เสียงเกดิ จากการส่ันของแหลงกําเนิดเสียง และถา ยโอนพลังงานใหอนภุ าคของอากาศที่อยูรอบๆ แลว
ถายโอนตอ กนั เปน ทอดๆ มาถึงผูฟง แลวไดย นิ เสยี ง)

1.3 ครตู ้งั คาํ ถามเพอ่ื นําเขาสกู ารทํากิจกรรม
1) ถาเปดวิทยุไวกลางสนาม แลวเดินหางจากวิทยุออกไปเรื่อยๆ เสียงท่ีไดยินจาก

วิทยจุ ะเปนอยา งไร (แนวการตอบ เสียงจะดังคอยลงเร่อื ยๆ ตามระยะที่เพ่มิ ขึน้ )
2) ครูช้ีใหนักเรียนเห็นวาผูฟงจะไดยินเสียงจากแหลงกําเนิดเสียงนั้นมีองคประกอบ

หลายประการ โดยความเขมเสียงเปนองคประกอบหนงึ่ ของการไดยิน
3) นกั เรียนคดิ วา คําวา “ระดับเสียง” หมายความวา อยา งไร
4) นกั เรียนคดิ วา คําวา “ความถเ่ี สยี งกับการไดยิน” หมายความวาอยางไร
5) นักเรียนคิดวา คําวา “คุณภาพเสียง” หมายความวา อยางไร

ขั้นท่ี 2 ขน้ั สาํ รวจและคน หา
2.1 จัดกลุม นักเรยี น กลุมละประมาณ 8 คน โดยใหสมาชกิ แตละกลุมมีความรคู วามสามารถ

ทีค่ ละกันกลมุ น้จี ะเปนกลุมประจํา
2.2 ครูจัดแบงเนื้อหาทีจ่ ะเรยี นเปน เนือ้ หายอย ๆ เทา กบั จาํ นวนสมาชิกในกลุมของนักเรยี น

อาจจัดทาํ เปนบทเรยี นหนา เดียวกไ็ ด
2.3 ใหสมาชิกในแตละกลุมจับฉลากหมายเลขของเนื้อหา คนละ 1 ฉลาก เพ่ือรับผิดชอบใน

การศึกษาหวั ขอยอยของเนื้อหา คนละ 1 หัวขอ
2.4 ใหนักเรียนแตละคนศึกษาและทําความเขาใจเน้ือหาตามหมายเลขท่ีตัวเองได ซึ่งครูติด

เนอ้ื หาบนโตะ
2.5 นักเรียนแตละคนท่ีศึกษาและทําความเขาใจเน้ือหา (ใชเวลา 15 นาที) ใหกลับไปยังกลุม

ตนเองแลวอธิบายความรทู ี่ไดจ ากการศกึ ษาและทําความเขาใจในเนื้อหาท่ีไดร บั มอบหมายใหเพอ่ื นฟง
2.6 นกั เรยี นแตละกลมุ ชวยกันสรปุ ความรทู ี่ไดใ นการศึกษาลงในกระดาษปรูฟ (นาํ้ ตาล)

ขน้ั ท่ี 3 ขน้ั อธบิ ายและลงขอสรปุ
3.1 ครูสุมนักเรียน 2 กลุม ออกมานําเสนอผลการสืบคนของกลุมตนเองหนาชั้นเรียน

(https://random.thaiware.com/) หรอื โปรแกรม Super Soomm And Goomm
3.2 ครูนาํ นักเรยี นอภิปรายเพ่อื นําไปสกู ารสรปุ โดยใชค ําถามตอ ไปนี้
1) การที่เราไดยินเสียงดังเสียง-คอย ข้ึนอยูกับพลังงานของเสียงที่สงมาถึงหูอยางไร

(แนวการตอบ การไดยินเสียงดังคอยข้ึนกับพลังงานของคลื่นเสียง โดยพลังงานของคลื่นเสียงข้ึนกับ
แอมพลจิ ดู ของคล่นื เสยี ง)

2) คําวา “ความเขม เสยี ง” หมายความวาอยางไร (แนวการกําลงั เสยี งที่แหลง กําเนิด
เสียงสงออกไปตอหนวยพ้ืนท่ีท่ีตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนท่ีของคล่ืนเสียงสวนพลังงานเสียงเปนผล
คณู ระหวางกําลัง เสียงท่แี หลง กําเนิดเสียงสงออกไปกับเวลา)

3) เดซิเบลเปน หนว ยของคาใด (แนวการตอบ ระดับเสียง)

4) การไดยินเสียงนอกจากจะขึ้นอยูกับระดับเสียงแลวยังขึ้นอยูกับคาใด (แนวการ
ตอบ ความถ่เี สียง)

5) ความเขมเสียงมีผลตอการไดยินเสียงดัง-คอยอยางไร (แนวการตอบ ความเขม
เสียงมีผลตอความดังของเสียงท่ีไดยิน โดยความเขมเสียงมากไดยินเสียงดังกวาขณะความเขมเสียง
นอ ย)

6) เสียงเบาท่ีสุดที่คนปกติสามารถไดยินมีความเขมเสียงตางกัน ขึ้นอยูกับคาใด
(แนวการตอบ ความถีเ่ สยี ง)

7) ทคี่ วามถ่ี 1000 เฮริ ตซเสยี งเบาท่สี ุดทีม่ นุษยสามารถไดยนิ มีความเขม เสยี งเทาใด
(แนวการตอบ 10-12 W/m2)

8) ท่ีความถ่ี 1000 เฮิรตซเสียงดังที่สุดท่ีไมเปนอันตรายตอแกวหู มีความเขมเสียง
เทาใด (แนวการตอบ 1 W/m2)

9) สาํ หรับเสยี งความถี่ 1000 เฮริ ตซทีม่ นษุ ยไดยนิ และไมเปน อันตรายตอหูอยใู นชวง
กเี่ ดซเิ บล (แนวการตอบ อยใู นชวง 0-120 เดซเิ บล)

10) สัตวแตละชนิดจะไดยินเสียงในชวงความถี่เหมือนหรือแตกตางกัน (แนวการ
ตอบ แตกตา งกัน)

11) มนุษยสามารถไดยินเสียงที่มีระดับเสียงตํ่ากวา 0 เดซิเบล ไดหรือไม (แนวการ
ตอบ ไดข ้นึ อยูก ับความถข่ี องเสียง เชน เสยี งความถ่ปี ระมาณ 1800-5300 เฮิรตซ)

12) มนุษยสามารถไดยินเสียงท่ีมีระดับเสียงเกินกวา 120 เดซิเบล โดยไมเจ็บปวด
ไดหรือไม (แนวการตอบ ไดขึ้นอยูกับความถี่ของเสียง เชน เสียงความถี่ประมาณ 20-720 เฮิรตซและ
เสียงความถ่ีสูงกวา ประมาณ 10000 เฮิรตซ)

13) การที่มนุษยไดยินเสียงสูงเสียงตํ่า ข้ึนอยูกับส่ิงใดของเสียง (แนวการตอบ
ความถีเ่ สยี ง)

14) มนุษยสามารถจําแนกเสียงที่ไดยินจากแหลงกําเนิดเสียงที่ตางกันไดอยางไร
(แนวการตอบ ไดข้ึนอยูกับความถ่ีของเสียง เชน เสียงความถ่ีประมาณ 20-720 เฮิรตซและ เสียง
ความถี่สงู กวา ประมาณ 10000 เฮิรตซ)

15) เสียงที่มีความถี่สูงมีระดับสูงตํ่าของเสียงสูง เรียกวาอีกอยางวา (แนวการตอบ
เสยี งสงู หรือเสียงแหลม)

16 )เสียงท่ีมีความถี่ต่ํา มีระดับสูงต่ําของเสียงตํ่า เรียกวาอีกอยางวา (แนวการตอบ
เสยี งต่าํ หรอื เสยี งทมุ )

17) ขลยุ แคน ซอ โดยเลน โนต ตวั เดยี วกนั ทาํ ไมเสยี งจากเครอ่ื งดนตรีตางชนิดกันจึง
ใหเสยี งท่แี ตกตา งกัน (แนวการตอบ เพราะเครอ่ื งดนตรีแตละชนิดมคี ุณภาพเสียงแตกตาง)

18) เสียงที่ไดยินมีลักษณะเฉพาะตัวแตกตางกันเรียกวา (แนวการตอบ มีคุณภาพ
เสียงแตกตา งกนั )

3.3 นกั เรยี นและครูรวมกันอภปิ รายและสรุปการศึกษาคนควาจนไดข อสรปุ เร่ือง ความเขม
เสยี งระดับเสยี ง ความถีเ่ สยี งกบั การไดย นิ และคุณภาพเสียง

ขน้ั ที่ 4 ขัน้ ขยายความรู
4.1 ครอู ธิบายใหค วามรเู พิม่ เติมเกย่ี วกบั สมการและตัวแปรทเ่ี กี่ยวของ
4.2 ครูอธิบายใหความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับเครื่องวัดระดับเสียง (sound level meter) ใน

หนังสอื เรยี น หนา 25
4.3 ครูอธิบายใหค วามรูเพิม่ เตมิ เกยี่ วกับหนว ยฟอน ในหนังสือเรยี น หนา 37
4.4 ครูอธิบายตวั อยา งโจทยป ญหา ในหนงั สือเรียน หนา 23 และ 25
4.5 ครใู หนกั เรยี นแตละคนเลาสูกันฟงถึงความรูท่ีไดจ ากการทาํ กิจกรรม และปญ หาที่เกิดขึ้น

ระหวา งการทํากิจกรรม

ขนั้ ท่ี 5 ขน้ั ประเมินผล
5.1 นักเรยี นสงกระดาษปรูฟ (นํ้าตาล) ของแตละกลมุ ที่ไดจากการศึกษาคน ควา
5.2 นกั เรยี นทําแบบฝกหดั 12.2 ในหนังสอื เรยี น หนา 34 ขอ 1. – 5.

11. บันทกึ หลังสอน : ม. 5/2 ม.5/5
หัวขอ

ชัน้
ผลการจัดการเรยี นการสอน

 ความรูค วามสามารถ

 ทกั ษะกระบวนการ

หวั ขอ ม. 5/2 ม.5/5
ชั้น

 คณุ ลักษณะอนั พงึ
ประสงค

ปญหา/อุปสรรค

 ความรคู วามสามารถ

 ทกั ษะกระบวนการ

 คุณลักษณะอันพงึ
ประสงค

แนวทางแกไข
 ความรูความสามารถ

 ทกั ษะกระบวนการ

หวั ขอ ม. 5/2 ม.5/5
ช้ัน
ลงชื่อ…………………………………………………
 คุณลักษณะอันพึง (……………………………………………………..)
ประสงค
ครูผูสอน

ความคิดเหน็ ของหัวหนา กลุมสาระการเรยี นรู

ลงชอ่ื …………………………………………………
(……………………………………………………..)

หัวหนา กลุมสาระการเรยี นรู

ความเหน็ ของรองผูอํานวยการกลุมบรหิ ารวิชาการ/ผูบ รหิ าร หรือผูทไ่ี ดรบั มอบหมาย

ลงชือ่ …………………………………………………
(……………………………………………………..)
ตําแหนง …………………………………………..

ฉลากหมายเลข

12345
67

ความเขม เสยี ง(sound intensity) หมายเลข
1

ความเขม เสียงเสียงเกิดจากการสัน่ ของแหลง กําเนิดเสียงและเกดิ การถายโอนพลังงาน

ไปยังอนุภาคอากาศท่ีอยูรอบๆจนกระทั่งถึงหูเราทําใหเราไดยินเสียงเสียงที่หูไดยนิ อาจจะดัง

หรือคอยข้ึนอยูกับพลังงานของคล่ืนเสียงโดยพลังงานของคลื่นเสียงจะมากหรือนอยก็ข้ึนอยู

กั บ แ อ ม พ ลิ จู ด ข อ ง ค ลื่ น เ สี ย ง นั้ น ท้ั ง นี้ แ อ ม พ ลิ จู ด ข อ ง ค ล่ื น เ สี ย ง ขึ้ น อ ยู กั บ

แอมพลิจูดการส่ันของแหลงกําเนิดเสียงหรือข้ึนอยูกับพลังงานของแหลงกําเนิดเสียง

รูป12.8แสดงการเปรียบเทียบเสียงท่ีมีความยาวคล่ืนทากันแตมีแอมพลิจูดตางกันจะเห็นวา

เสียงที่มีแอมพลิจูดมากกวา (รูป 12.8ก.) จะมีความดันอากาศท่ีเปล่ียนไปมากกวา(อนุภาค

ของตัวกลางเบียดเขาใกลกันไดชิดมากกวา หรือความสูงของรูปคล่ืนสูงกวา)เมื่อเทียบกับ

เสียงท่ีมีแอมพลิจูดนอยกวา (รูป12.8 ข.) ซ่ึงมีความดันอากาศท่ีเปลี่ยนไปนอยกวา(อนุภาค

ของตัวกลางเบยี ดเขาใกลกนั ไดชิดนอยกวา หรอื ความสูงของรปู คล่ืนต่าํ กวา )

รปู 12.8 การเปรยี บเทยี บเสียงที่มีมาก (ก.) กบั เสียงทม่ี ีแอมพลจิ ดู นอย (ข.)

กําลงั เสยี ง (power of a sound)

อัตราการถายโอนพลังงานเสียงของแหลงกําเนิด มีคาเทากับพลังงานเสียงที่ออกจาก
แหลงกําเนิดตอ หนว ยเวลา ซ่ึงเรียกวา กําลงั เสียง (power of a sound) ผฟู ง จะไดยนิ เสยี ง
จากแหลงกําเนิดเสียงที่มีกําลังเสียงมาก ดังกวาเสียงจากแหลงกํานิดเสียงที่มีกําลังเสียงนอย
เมอื่ อยูหา งจากแหลง กําเนดิ เสียงเทา กัน

กําลังเสียงที่แหลงกําเนิดเสียงสงออกไปตอหนวยพ้ืนที่ที่ตั้งฉากกับทิศทางการ
เคลอื่ นท่ีของคลืน่ เสียง เรียกวาความเขมเสยี ง (sound intensity)

สมการความเขม เสียงและกําลังเสียง หมายเลข
2

= เมอ่ื คอื ความเขมเสียง มีหนวยวตั ตตอ ตารางเมตร

คือ กาํ ลังเสียงของแหลงกาํ เนิดเสียง มหี นวยวัตต

คอื พ้ืนทีท่ เ่ี สียงเคล่ือนทีผ่ า นในทศิ ตั้งฉาก มีหนว ยตารางเมตร

โดยความเขมเสียงมีคาลดลงเม่ือระยะหางจากแหลงกําเนิดเสียงมากข้ึน สําหรับ
แหลง กําเนดิ เสียงทเ่ี ปนจดุ จะแผคล่นื เสียงออกมาทุกทิศทางโดยมลี กั ษณะเปนพ้ืนผวิ ทรงกลม
ทม่ี แี หลงกําเนดิ เสียงอยูท ีศ่ ูนยกลางของทรงกลมความเขม สยี งจากแหลงกําเนิด ณตําแหนงที่
อยูหางจากแหลง กําเนดิ เสยี งเปน ระยะ r มีคา

=4

น่ันคือความเขมเสียงแปรผกผันกับกําลังสองของระยะหางจากแหลงกําเนิดเสียงเชน
ที่ระยะหางจากแหลงกําเนิดเสียง (ที่เปนจุด) เปนระยะ r, 2r และ 3r มีความเขมเสียงเปน
, /4 และ /9 ตามลาํ ดบั ดังรปู 12.9

รูป 12.9 การเปรยี บเทยี บความเขมเสยี งท่ตี าํ แหนงหา งจากแหลงกําเนดิ เสียงเปน ระยะตา งๆ

ระดับเสยี ง (sound level) หมายเลข
3

การไดยินของคนปกติ พบวา ความเขมเสียงที่มนุษยสามารถไดยินอยูในชวงที่กวาง

มาก เชน ที่ความถี่เสียง 100 เฮิรตซ เสียงท่ีเบาสุดมนุษยสามารถไดยินมีความเขม 10-12

วัตตตอตารางเมตร และเสียงที่ดังท่ีสุดที่ไมเปนอันตรายตอแกวหู มีความเขม 1 วัตตตอ

ตารางเมตร เพื่อลดชวงที่กวางมาก จึงพิจารณาการไดยินจากปริมาณที่ใชสเกลลอการิทึม

(logarihmic scale) และเรียกปริมาณนวี้ า ระดับเสยี ง (sound level)ดงั นี้
เมื่อ คือ ระดับเสยี ง มหี นวย เดซิเบล (dB)
= 10 คอื ความเขมเสียงทพ่ี จิ ารณา มหี นว ยวตั ตตอ ตารางเมตร (W/m2)

คือ ความเขมเสียงอางองิ มคี าเทา กับ (1.0 x 10-12 W/m2)
ตาราง 12.2 ระดับเสียงจากแหลง กําเนดิ ตางๆ

แหลง กาํ เนิด ระดบั เสยี ง ผลการรบั ฟง
(เดซเิ บล: dB)

การหายใจปกติ 10 แทบจะไมไ ดย นิ

การกระซบิ แผวเบา 30 เงียบมาก

สาํ นักงานทเ่ี งยี บ 50 เงยี บ

การพดู คยุ ธรรมดา 60 ปานกลาง

เครอ่ื งดดู ฝุน 75 ดงั

โรงงานทวั่ ไป, ถนนทม่ี ีการจราจรหนาแนน 80 ดัง
เครอ่ื งเสยี งสเตอรโิ อในหอง 90 รบั ฟงบอ ยๆ

เครือ่ งเจาะถนนแบบอัดลม 90 การไดย นิ

เครอ่ื งตัดหญา 100 จะเสอ่ื ม

ดิสโกเธค, การแสดงดนตรีประเภทร็อก 120 อยา งถาวร

ฟาผา ระยะใกล 130 ไมส บายหู

เคร่อื งบนิ ไอพน ขนึ้ ระยะใกล 150 เจบ็ ปวดในหู
เครือ่ งยนตจรวดขนาดใหญใ นระยะใกล 180 แกวหชู ํารุดทันที

เรอื่ ง ความถเ่ี สยี งกบั การเริ่มไดย นิ หมายเลข
4

สําหรับเสียงท่ีมีความถ่ี 100 เอิรตชระดับเสียงท่ีมนุษยไดยินจะอยูในชวง 0 จนถึง 120
เดซิเบลหากเสยี งมีความถ่เี ปล่ียนไประดับเสยี งที่ไดยนิ ก็จะเปลยี่ นไปดวย เชนเสยี งความถ่ี 100
เฮิรตช ระดับเสียงท่ีเบาท่ีสุดท่ีมนุษยไดยินมีคาประมาณ 35 เดซิเบล ดังรูป 12.10
ซึ่งแสดงความสัมพันธระหวางระดับเสียงที่ความถี่ตาง ๆจะเห็นวา การท่ีเราจะไดยินเสียงที่มี
ความถ่ีต่ําน้ันเสียงนั้นจะตองมีระดับเสียงสูงกวาการไดยินเสียงที่มีความถ่ีสูงกวานอกจากนี้จะ
เห็นวา ขีดเร่ิมเปล่ียนของการไดยิน (threshold of hearing) และขีดเร่ิมเปล่ียนของการ
เจ็บปวด(threshold of pain) สําหรับเสียงแตล ะความถ่ีน้ันมคี า ไมเทากนั

รูป 12.10 ความสมั พันธร ะหวางระดบั เสียงที่มนษุ ยไดยินทคี่ วามถต่ี างๆ

ชว งความถเี่ สยี งท่สี ัตว- มนุษยผลติ หมายเลข
และชวงความถเ่ี สียงทม่ี นุษย- สัตวไ ดย ิน 5

มนุษยไดยินเสียงในชวงความถี่หนึ่ง สําหรับสัตวอื่นๆจะไดยินเสียงในชวงความถ่ีหน่ึง
ๆเชน กนั และตา งกส็ ามารถใหเสยี งทีม่ ีชว งความถ่ีตางๆกันดวยซ่งึ พิจารณาไดจ ากรปู 12.11

รปู 12.11 แผนภาพแสดงชวงความถเ่ี สยี งที่สตั ว- มนุษยผลิต
และชวงความถ่ีเสยี งทม่ี นษุ ย-สัตวไ ดยิน

ระดับสงู ต่ําของเสียง หมายเลข
6

ระดับสูงตํ่าของเสียงเม่ือเราไดยนิ เสียงพูด เสียงดนตรหี รือเสยี งรองเพลงบางคน
อาจบอกวาเสียงนี้เปนเสียงสูงหรือเสียงต่ําการระบุวาเปนเสียงสูงเสียงตํ่า เสียงแหลม
เสียงทุมนี้เปนการบอกถึงระดับสูงต่ําของเสียง (pitch)ซ่ึงเปนการบอกในเชิงคุณภาพ
ข้ึนอยูกับผูฟงแตละคนบางคนอาจบอกวาเสยี งนี้สูงมาก ในขณะท่ีอีกคนหน่ึงบอกวาเปน
เสียงสูงธรรมดา ปริมาณที่สัมพันธกับระดับสูงต่ําของเสียงคือความถี่ของเสียง ซ่ึงเปน
การบอกในเชิงปริมาณสามารวัดคาเปนตัวเลขเพ่ือใชเปรียบเทียบกันไดโดยตรง
โดยทวั่ ไป เมอ่ื กลาวถึงเสียงสงู (high pitch) หรือเสยี งแหลม (treble) หมายถึงเสียง
ท่ีมีความถีส่ ูงและเสียงต่ํา (low pitch) หรอื เสียงทุม (bass) หมายถงึ เสียงทีม่ ีความถ่ี
ต่ํา

รูป 12.12 การเปรียบเทียบเสยี งท่ีมคี วามถ่ีสงู (ก.) กบั เสียงท่มี ีความถีต่ ํา่ (ข.)

คณุ ภาพเสยี ง (quality of sound) หมายเลข
7

เครื่องดนตรีสองชนิดเชนเปยโน และ ขลุยเลนตัวโนตตัวเดียวกันที่มีความถี่
เทากัน แตเราก็สามารถแยกไดวาเสียงใดเปนเสียงจากเปยโนเสียงใดเปนเสียงจากขลุย
ในวิชาฟสิกสเราบอกวาเสียงจากเครื่องดนตรีท้ังสองนี้มีคุณภาพเสียง (quality of
sound)แตกตางกันคุณภาพเสียงในวิชาฟสิกสจึงไมใชการระบุวาเสียงจากเคร่ืองตนตรี
ชนิดใดดีกวากันหรือไพเราะกวากันแตเปนการบอกถึงรูปแบบของเสียงที่มีความ
เฉพาะตัวของเครอื่ งดนตรีแตล ะชนดิ คลา ยกบั ลายนว้ิ มือของแตละคน

เมื่อเครื่องคนตรีเลนโนตตัวหน่ึง เคร่ืองดนตรีจะผลิตเสียงท่ีมีความถี่หลายคา
ออกมาพรอมกันเรียกวาอารมอนิก (harmonics)เสียงที่มีความถี่ต่ําสุดเรียกวาฮารมอ
นิกท่ีหน่ึง (first harmonic) หรือความถ่ีมูลฐาน(fundamental frequency)เสียง
ที่เหลือจะมีความถ่ีเปนจํานวนเต็มเทาของความถ่ีมูลฐานฮอรมอนิกท่ีสองมีความถ่ีเปน
สองเทาของความถ่ีมูลฐานฮารมอนิกที่สามมีความถี่เปนสามเทาของความถี่มูลฐานเปน

ตน หรือเขียนแทนดวย = โดย คือความถี่ของฮารมอนิกท่ี1หรือ ความถี่
มลู ฐาน ซ่ึงเปนความถ่ีตํา่ สดุ ของการสัน่ ฮารมอนกิ เหลา นี้จะรวมกันเปน สียงทีเ่ ราไดยินดัง
ตวั อยา งในรูป 12.13

รปู 12.13 การรวมฮารมอนกิ ตางๆ ที่มแี อมพลจิ ดู ตางกนั

แผนการจัดการเรยี นรูที่ 30 รายวิชา ว32201 วิชาฟส ิกสเพิม่ เติม
กลุมสาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ชน้ั ม.5 เวลาเรยี น 2 คาบ
หนวยการเรียนรู 12 เรือ่ ง เสียง(มลพิษทางเสียงและการปองกนั )
ครผู ูส อน นศ.ปส.นศั รนู การนี า ครูพีเ่ ลยี้ ง ครจู าตรุ งค พรหมสถิตย
โรงเรยี นคณะราษฎรบาํ รุง จังหวดั ยะลา สพม.15

1. มาตรฐานการเรยี นรู :
ว 5.2 เขาใจการเคล่ือนที่แบบฮารมอนิกสอยางงาย ธรรมชาติของคลื่น เสียงและการไดยิน

ปรากฏการณท เี่ กย่ี วของกบั เสยี ง แสงและการมองเห็น ปรากฏการณท เี่ ก่ยี วของกบั แสง รวมท้ังนาํ ความรไู ป
ใชป ระโยชน
2. ผลการเรียนรู :

1. อธิบายการเกิดเสียง การเคลื่อนที่ของเสียง ความสัมพันธระหวางคลื่นการกระจัดของอนุภาคกับ
คลื่นความดัน ความสัมพันธระหวางอัตราเร็วของเสียงในอากาศท่ีข้ึนกับอุณหภูมิในหนวยองศาเซลเซียส
การสะทอน การหักเห การแทรกสอด การเล้ียวเบน ของคลื่นเสียง รวมทั้งคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ี
เก่ยี วของ
3. จดุ เนน (สพฐ., สพม., โรงเรียน/อตั ลกั ษณ)

มงุ ม่ันในการศกึ ษาและการทาํ งาน
แสวงหาความรูเพ่ือการแกปญหา
มีทักษะการคดิ ข้ันสูง
4. สาระสําคัญ :

พลังงานเสียงท่ีสงออกจากแหลงกําเนิดเสียงในหนึ่งหนวยเวลา เรียกวา กําลังเสียง (power of a
sound)กําลังเสียงท่ีแหลงกําเนิดเสียงสงออกไปตอหนวยพื้นท่ีท่ีต้ังฉากกับทิศทางการเคล่ือนที่ของคลื่นเสียง

เรียกวา ความเขมเสียง (sound intensity) ซึ่งหาไดจาก = ในกรณีแหลงกําเนิดเสียงเปนจุด

= ในการบอกความดงั ของเสียงพิจารณาจากสเกลลอการทิ มึ เรียกวา ระดับเสียง (sound level)

ตามสมการ = 10

เสียงจากแหลงกําเนิดเสียงตาง ๆ มีระดับสูงต่ําของเสียงและคุณภาพเสียงท่ีตางกัน ระดับสูงตํ่าของ
เสยี ง (pitch)สัมพันธกับความถี่ของเสยี ง เสียงทมี่ ีความถี่สูง เรยี กวา เสยี งสูงหรอื เสียงแหลม เสียงทมี่ ีความถ่ี
ต่ํา เรียกวา เสียงตํ่าหรือเสียงทุม สวนคุณภาพเสียง (quality of sound)เปนลักษณะเฉพาะของเสียงท่ีทํา
ใหผูฟงจําแนกเสียงน้ัน ๆ เสียงที่มีคุณภาพเสียงตางกันมีรูปแบบของเสียงแตกตางกัน ทั้งนี้เพราะเสียงแตละ
รูปแบบเกดิ จากผลรวมของหลายฮารมอนิกและแอมพลจิ ดู แตละฮารมอนกิ ท่ีแตกตางกัน

เสียงรบกวนเปนเสียงที่ดังหรือมีระดับเสียงสูง และกอใหเกิดความรําคาญ ถือวาเปนมลพิษทางเสียง
(noise pollution) อาจเปนอันตรายตอสุขภาพและจิตใจ การลดหรือควบคุมระดับเสียง อาจทําได 3 วิธีคือ
การควบคมุ ท่แี หลง กาํ นิดเสยี ง การควบคุมทางผา นของเสียง และการควบคมุ ทีผ่ รู ับฟง เสยี ง

5. จุดประสงคการเรยี นรู

5.1 ดานความรู (Knowledge; K)

1) อธิบายมลพิษทางเสยี งทม่ี ีตอสุขภาพและการปอ งกัน

5.2 ดานทักษะกระบวนการ (Process; P)

1) นกั เรียนสามารถจดั กระทําและส่อื ความหมายของขอมูลทีศ่ กึ ษาคน ควา ได

5.3 ดา นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค (Attitude; A)

1) เปน ผมู คี วามรบั ผดิ ชอบและเปนผมู ีความมุงม่ันในการทํางาน

6. สมรรถนะสําคัญ :

สมรรถนะสําคัญของผูเรียนหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน มุงใหผูเรยี นเกดิ สมรรถนะสําคญั 5 ประการ ดังน้ี

1. ความสามารถในการสือ่ สาร

2. ความสามารถในการคิด

3. ความสามารถในการแกปญ หา

4. ความสามารถในการใชทกั ษะชวี ติ

5. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี

7. บูรณาการ

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อาเซยี น ทองถน่ิ

สงเสริมใหนักเรียนเรียนรูคําศัพทเฉพาะภาษาอังกฤษท่ีเกี่ยวกับเสียง และเสริมแนวทางการนําความรูเร่ือง
เสียง ไปใชอธบิ ายปรากฏการณท ี่เกิดขน้ึ และแกป ญ หาในทองถ่ิน

8. ส่อื /แหลงเรียนรู :
9.1 หนังสือเรยี นรายวชิ าเพิ่มเติมวิทยาศาสตร (ฟสิกส) ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 5 เลม 4 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.
2560)
9.2 หองสมุด
9.3 อนิ เทอรเน็ต

9.การวัดและประเมนิ ผล :

จดุ ประสงคการเรยี นรู วิธีการวดั เคร่อื งมือ เกณฑก ารประเมนิ

ดา นความรู (K)

1) อธบิ ายมลพษิ ทางเสยี งที่มตี อสุขภาพและ 1) ตรวจใบสรุปองค 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนสามารถ

การปอ งกนั ความรูจากการศึกษา ทาํ กจิ กรรม สรุปเน้ือหาท่ีศึกษา

คน ควา และทําความเขาใจได

ระดับดี ผานเกณฑ

ดา นกระบวนการ (P)

1) นักเรียนสามารถจัดกระทําและส่ือ 1) ตรวจใบสรุปองค 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนสามารถ

ความหมายของขอ มลู ทีศ่ ึกษาคนควา ได ความรูจากการศึกษา ทาํ กจิ กรรม สรุปเนื้อหาที่ศึกษา

คน ควา และทําความเขาใจได

ระดบั ดี ผา นเกณฑ

ดา นคุณลกั ษณะ (A)

1) เปน ผูมีความรบั ผิดชอบและ 1) ตรวจใบสรุปองค 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนทําภาระ

เปน ผมู ีความมงุ มน่ั ในการทํางาน ความรูจากการศึกษา ทาํ กิจกรรม ง า น ท่ี ไ ด รั บ

คน ควา มอบหมายไดระดับดี

ผานเกณฑ

10. กจิ กรรมการเรยี นรู :
ขนั้ ที่ 1 ขนั้ สรางความสนใจ
1.1 ครูทบทวนความรูเ ดิม เร่ือง ความเขม ระดบั เสียง ความถเ่ี สยี ง และคณุ ภาพเสียง
1.2 ครูตงั้ คาํ ถามเพ่อื นําเขาสกู ารทํากิจกรรม
1) เสียงประเภทใดที่เปนเสียงท่ีนักเรียนไมตองการไดยิน และเสียงนั้น ๆ มีผลตอ
นกั เรียนอยางไร (โดยเปดโอกาสใหนกั เรยี นตอบอภปิ รายอยา งอิสระ ไมคาดหวังคําตอบทถี่ ูกตอง)
2) นักเรียนรูจัก คําวา “มลพิษทางเสียง” หรือไม และนิยามหมายความวาอยางไร
(โดยเปด โอกาสใหนักเรยี นตอบอภิปรายอยางอสิ ระ ไมคาดหวังคําตอบท่ีถกู ตอ ง)
3) หากนักเรียนไดยินเสียงดงั มากๆ นักเรียนมีวิธีการปอ งกันและใหไดยนิ เสยี งลดลง
ไดอ ยางไร (โดยเปด โอกาสใหน ักเรียนตอบอภิปรายอยา งอิสระ ไมค าดหวังคําตอบทีถ่ ูกตอ ง)

ข้ันท่ี 2 ขั้นสํารวจและคนหา
2.1 นักเรยี นทุกคนศึกษาคนควา และทาํ ความเขาใจเนื้อหา เรอื่ ง มลพิษทางเสยี งและการ

ปองกัน ในหนังสือเรียน หนา 31-32 แลว สรปุ องคความรูจากการศึกษาคนควาลงใน กระดาษ A4 ทค่ี รู
แจกให

ขนั้ ท่ี 3 ขนั้ อธิบายและลงขอสรปุ
3.1 ครูสมุ นักเรียน 1 คน ออกมานําเสนอผลงานของตนเองหนา ช้นั เรยี น
3.2 ครนู าํ นกั เรียนอภปิ รายเพอื่ นําไปสูการสรปุ โดยใชค าํ ถามตอไปนี้
1) เสียงประเภทใดที่เปนเสียงที่นักเรียนไมตองการไดยิน และเสียงน้ัน ๆ มีผลตอ

นกั เรียนอยา งไร (แนวการตอบ เสยี งท่ีมีระดับเสียงสูงและเสียงทกี่ อใหเ กดิ ความราํ คาญ)
2) คําวา “เสยี งรบกวน (noise)” หมายความวาอยางไร (แนวการตอบ มรี ะดับเสียง

สูง นอกจากน้ยี งั มีเสยี งทีก่ อ ใหเกิดความราํ คาญ)
3) คําวา “มลพิษทางเสียง” หมายความวาอยางไร (แนวการตอบ เสียงรบกวนท่ีมี

ระดับเสียงสูง และเสียงรบกวนท่ีกอใหเกิดความรําคาญหรือเสียงที่ไมตองการ อาจเปนอันตรายตอ
ผูฟง ทง้ั อนั ตรายตอ การไดย นิ และอันตรายตอสุขภาพและจติ ใจ)

4) เสียงท่ีมีความถ่ีสูง จัดเปนมลพิษทางเสียงหรือไม เพราะเหตุใด (แนวการตอบ
เปน เพราะเสียงท่ีมีความถ่ีสูงท่ีหูไดยินเปนเวลานาน จะกอใหเกิดความรําคาญและนอกจากนี้ยังมี
พลังงานสูงจงึ สง ผลตอ เนื้อเย่อื ของอวัยวะท่ีไดรบั พลงั งานเสยี ง ทําใหเ กดิ ความเสียหายไดแ ตท้ังน้ีขึ้นอยู
กบั ระดบั เสียงและระยะเวลาทไี่ ดย ินเสียงน้ัน)

4) เสียงท่ีมีความถ่ีสูง จัดเปนมลพิษทางเสียงหรือไม เพราะเหตุใด (แนวการตอบ
เปน เพราะเสียงท่ีมีความถี่สูงท่ีหูไดยินเปนเวลานาน จะกอใหเกิดความรําคาญและนอกจากนี้ยังมี
พลังงานสงู จงึ สงผลตอเนือ้ เยื่อของอวยั วะที่ไดรับพลังงานเสียง ทําใหเ กดิ ความเสียหายไดแ ตท ง้ั น้ีข้ึนอยู
กับระดับเสียงและระยะเวลาทีไ่ ดยนิ เสียงนน้ั )

5) เสียงรบกวนในชุมชนที่มีระดับเสียงไมเกินก่ีเดซิเบล จะไมเปนอันตรายตอการได
ยิน (แนวการตอบ ไมเกิน 70 เดซเิ บล)

6) คาํ วา “WHO” คอื (แนวการตอบ องคก ารอนามัยโลก (World Health
Organization ; WHO)

7) แนวทางการลดมลพิษทางเสียงมีก่ีวิธี อะไรบาง (แนวการตอบ 3 วิธี 1.การ
ควบคุมที่แหลงกําเนิดเสยี ง 2.การควบคมุ ทางผานของเสยี ง และ 3.การควบคุมที่ผูร บั ฟงเสยี ง)

3.3 นักเรียนและครรู ว มกันอภปิ รายและสรุปการศึกษาคน ควาจนไดข อสรปุ เรือ่ ง มลพิษทาง
เสยี งและการปองกนั

ข้ันที่ 4 ขน้ั ขยายความรู
4.1 ครูอธบิ ายใหความรูเพิ่มเตมิ เก่ียวกบั คลน่ื ใตเ สยี งกบั มลพิษทางเสียง
4.2 ครูใหน กั เรยี นแตละคนเลาสูกนั ฟงถึงความรทู ี่ไดจากการทาํ กิจกรรม และปญ หาทีเ่ กิดขึ้น

ระหวา งการทาํ กิจกรรม

ขน้ั ที่ 5 ข้นั ประเมนิ ผล
5.1 นักเรียนสงสรปุ องคค วามรูจากการศกึ ษาคน ควา

11. บันทกึ หลังสอน : ม. 5/2 ม.5/5
หัวขอ

ช้ัน
ผลการจัดการเรยี นการสอน

 ความรคู วามสามารถ

 ทักษะกระบวนการ

 คณุ ลักษณะอนั พงึ
ประสงค

ปญหา/อุปสรรค

 ความรคู วามสามารถ

 ทกั ษะกระบวนการ

หวั ขอ ม. 5/2 ม.5/5
ชน้ั

 คณุ ลักษณะอันพึง
ประสงค

แนวทางแกไ ข

 ความรูความสามารถ

 ทกั ษะกระบวนการ

 คณุ ลักษณะอนั พงึ
ประสงค

ลงชอ่ื …………………………………………………
(……………………………………………………..)

ครูผสู อน

ความคดิ เหน็ ของหัวหนา กลุมสาระการเรยี นรู

ลงช่ือ…………………………………………………
(……………………………………………………..)

หวั หนา กลมุ สาระการเรยี นรู

ความเห็นของรองผูอาํ นวยการกลมุ บรหิ ารวิชาการ/ผูบรหิ าร หรอื ผทู ีไ่ ดรับมอบหมาย

ลงชอื่ …………………………………………………
(……………………………………………………..)
ตาํ แหนง…………………………………………..

แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ 31 รายวชิ า ว32201 วิชาฟสกิ สเ พม่ิ เตมิ
กลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ช้ัน ม.5 เวลาเรียน 1 คาบ
หนวยการเรียนรู 12 เรอื่ ง เสียง(คล่นื น่งิ ของเสียง)
ครูผสู อน นศ.ปส.นัศรูน การีนา ครพู ี่เลีย้ ง ครจู าตุรงค พรหมสถิตย
โรงเรยี นคณะราษฎรบํารงุ จังหวัดยะลา สพม.15

1. มาตรฐานการเรยี นรู :
ว 5.2 เขาใจการเคลื่อนท่ีแบบฮารมอนิกสอยางงาย ธรรมชาติของคล่ืน เสียงและการไดยิน

ปรากฏการณท เี่ กย่ี วของกบั เสียง แสงและการมองเหน็ ปรากฏการณท ีเ่ กย่ี วขอ งกบั แสง รวมทั้งนาํ ความรไู ป
ใชประโยชน
2. ผลการเรียนรู :

1. อธิบายการเกิดเสียง การเคลื่อนที่ของเสียง ความสัมพันธระหวางคลื่นการกระจัดของอนุภาคกับ
คลื่นความดัน ความสัมพันธระหวางอัตราเร็วของเสียงในอากาศท่ีข้ึนกับอุณหภูมิในหนวยองศาเซลเซียส
การสะทอน การหักเห การแทรกสอด การเลี้ยวเบน ของคลื่นเสียง รวมทั้งคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ี
เกีย่ วของ
3. จุดเนน (สพฐ., สพม., โรงเรียน/อตั ลกั ษณ)

มงุ ม่นั ในการศกึ ษาและการทาํ งาน
แสวงหาความรเู พือ่ การแกปญหา
มที กั ษะการคดิ ข้ันสูง
4. สาระสาํ คญั :

ปรากฏการณทางเสียง ไดแก คลื่นน่ิง การส่ันพอง บีต (beats) ปรากฏการณดอปเพลอร (Doppler
effect)

คล่ืนน่ิงของเสียงเกิดจากการแทรกสอดของคล่ืนเสียงอาพันธสองขบวนเคล่ือนท่ีสวนทางกัน ทําใหได
ยินเสียงดัง-คอยตลอดเวลา ตามตําแหนงปฏบิ ัพความดัน-บพั ความดัน ตามลําดับ โดยสองตําแหนงที่มีเสียงดงั
ถัดกนั หรือมีเสยี งคอ ยถดั กัน มีระยะหา งเทา กบั คร่ึงหน่งึ ของความยาวคลืน่

การส่ันพองของเสียงเกิดจากลําอากาศในทอถูกทําใหสั่นดวยเสียงที่มีความถ่ีเทากับความถ่ีธรรมชาติ
ของลํา อากาศในทอลําอากาศจะส่ันมากท่ีสุด และไดยินเสียงดังท่ีสุด ความถี่ที่ทําใหเกิดการสั่นพอง เรียกวา
ความถี่สั่นพอง หรือ ความถี่เรโซแนนซ (resonant frequency) สําหรับทอปลายปดหนึ่งดาน ความถี่สั่น
พองมีความสมั พนั ธกับความยาวของลําอากาศในทอ ตามสมการ

บีตของเสียงเกิดจากการรวมกันของคลื่นเสียงจากแหลงกําเนิดเสียง 2 แหลงท่ีมีความถี่ตางกัน
เล็กนอยใหไดยินเสียงดังคอยสลับกันไปเปนจังหวะคงตัว โดยหูจะไดยินเสียงของการบีต เม่ือเสียงท้ังสองมี

ความถ่ีตางกันไมเกิน 7 เฮิรตซ จํานวนครั้งท่ีไดยินเสียงดังในหนึ่งวินาทีเรียกวา ความถี่บีต (beat

frequency) ซ่งึ หาไดจาก =
ปรากฏการณดอปเพลอรของเสียงเปนปรากฏการณท่ีผูฟงไดยินเสียงมีความถ่ีเปลี่ยนไปจากความถ่ี

ของแหลง กําเนิดเสยี ง ซึง่ เกดิ จากแหลงกําเนดิ เสียงหรอื ผฟู ง เคล่ือนที่สมั พทั ธกัน
เมื่อแหลงกําเนิดคล่ืนเสียงมีอัตราเร็วมากกวาอัตราเร็วเสียง ทําใหหนาคลื่นเสียงอัดตัวกัน เกิดคลื่น

กระแทก (shock wave) และเรียกหนาคล่ืนวา หนาคลื่นกระแทก โดยหนาคล่ืนกระแทกมีพลังงานสูง ทําให
ผูท่ีอยู ณ ตําแหนงขณะหนาคลื่นกระแทกเคล่ือนท่ีผานไดยินเสียงดังมาก เรียกวา ซอนิกบูม (sonic boom)
โดยแนวหนาคลนื่ กระแทกทํามุมกบั แนวการเคลอื่ นท่ีของแหลง กาํ เนิด เรียกวา มุมมคั (Mach angle)

ความรูเกี่ยวกับเสียงนํา ไปอธิบายและประยุกตใชในดานตาง ๆ เชน การเปลงเสียงของมนุษย การ
ทํางานของเครื่องดนตรี การปรับเทยี บเสยี งเครื่องดนตรี การประมง การแพทยธ รณีวทิ ยา อุตสาหกรรม

5. จุดประสงคการเรยี นรู

5.1 ดานความรู (Knowledge; K)

1) อธบิ ายการเกิดคล่ืนนง่ิ ของเสียง

5.2 ดา นทกั ษะกระบวนการ (Process; P)

1) ทดลองการเกิดคลนื่ นิง่ ของเสยี งได

5.3 ดานคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค (Attitude; A)

1) เปนผมู ีความรบั ผิดชอบและเปนผูมีความมุงมน่ั ในการทํางาน

6. สมรรถนะสาํ คัญ :

สมรรถนะสําคัญของผูเรียนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรแกนกลาง

การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน มุง ใหผเู รียนเกดิ สมรรถนะสําคญั 5 ประการ ดังนี้

1. ความสามารถในการสอ่ื สาร

2. ความสามารถในการคิด

3. ความสามารถในการแกป ญ หา

4. ความสามารถในการใชท ักษะชวี ิต

5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

7. บูรณาการ

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง อาเซียน ทอ งถน่ิ

สงเสริมใหนักเรียนเรียนรูคําศัพทเฉพาะภาษาอังกฤษท่ีเก่ียวกับเสียง และเสริมแนวทางการนําความรูเร่ือง
เสยี ง ไปใชอธบิ ายปรากฏการณที่เกิดข้ึนและแกป ญหาในทอ งถ่ิน

8. สือ่ /แหลงเรยี นรู :
8.1 ใบกิจกรรม เรื่อง คลื่นน่ิงของเสยี ง
8.2 หนงั สอื เรียนรายวิชาเพม่ิ เติมวทิ ยาศาสตร (ฟส ิกส) ช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี 5 เลม 4 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.
2560)
8.3 หองสมุด
8.4 อินเทอรเ นต็
8.5 ชุดอปุ กรณการทดลอง เร่ือง คล่นื นิ่งของเสียง

9.การวดั และประเมนิ ผล : วธิ กี ารวดั เครอ่ื งมือ เกณฑก ารประเมนิ
จุดประสงคก ารเรยี นรู
ดานความรู (K) 1) ตรวจใบกิจกรรม 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนสามารถ
1) อธิบายการเกดิ คล่ืนน่ิงของเสียง
เร่อื ง คล่นื นิ่งของเสยี ง ทาํ กิจกรรม สรุปผลการทดลองได
ดา นกระบวนการ (P)
1) ทดลองการเกดิ คล่ืนนิง่ ของเสียงได 2) ใ บ กิ จ ก ร ร ม ระดบั ดี ผา นเกณฑ

ดา นคุณลักษณะ (A) เรื่อง คลื่ นน่ิงของ
1) เปน ผูมคี วามรับผิดชอบและ
เปน ผมู ีความมงุ มัน่ ในการทํางาน เสยี ง

1) ตรวจใบกิจกรรม 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนสามารถ

เรอ่ื ง คล่ืนน่งิ ของเสียง ทํากจิ กรรม บั น ทึ ก ผ ล ก า ร ทํ า

2) ใ บ กิ จ ก ร ร ม กิจกรรมไดระดับดี

เร่ือง คลื่ นน่ิงของ ผานเกณฑ

เสียง

1) ตรวจใบกิจกรรม 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนทําภาระ

เร่อื ง คลื่นนิง่ ของเสียง ทาํ กิจกรรม ง า น ท่ี ไ ด รั บ

มอบหมายไดระดับดี

ผานเกณฑ

10. กิจกรรมการเรียนรู :
ขัน้ ที่ 1 ข้ันสรางความสนใจ
1.1 ครูใหตัวอยางการเกิดคลื่นนิ่งของคล่ืนในเสนเชือก โดยใชรูป 12.17 ในหนังสือเรียน ครู
เนน วา ณ ตาํ แหนงบัพการกระจัดของคลื่นนิ่งในเสน เชือก อนุภาคเสน เชือกจะอยนู ิ่ง สว น ณ ตาํ แหนง
ปฏบิ พั การกระจัด อนภุ าคเชือกจะสัน่ ดว ยแอมพลิจูดมากทีส่ ดุ และคลนื่ นิ่งไมมีการเคลื่อนท่ี
1.2 ครูอภิปรายการซอนทับของคล่ืนสองขบวนท่ีมีแอมพลิจูด ความถี่ และความยาวคล่ืน
เทากัน เคลื่อนที่ในทิศสวนทางกนั ตามรายละเอยี ดในหนังสือเรียน โดยใชรปู 12.16 ประกอบจนสรุป
ไดวา ณ ตําแหนงบัพการกระจัดของคล่ืนลัพธ อนุภาคตัวกลางอยูน่ิง และ ณ ตําแหนงปฏิบัพการ
กระจัด อนุภาคตัวกลางสั่นไปมาดวยแอมพลิจูดสูงสุด เนื่องจากคล่ืนลัพธท่ีเกิดข้ึนมีตําแหนงบัพและ
ตําแหนงปฏิบัพอยูกับท่ี คล่ืนลัพธนี้จึงไมมีการเคล่ือนท่ีไปตามการเคลื่อนท่ีของคลื่นท้ังสอง และ
เรยี กวา คล่นื นิ่ง
1.3 ครูตงั้ คาํ ถามเพ่อื นําเขาสกู ารทํากจิ กรรม
1) คล่นื นิ่งของเสยี งสามารถเกดิ ขน้ึ ไดเ ชน เดยี วกบั คลนื่ นงิ่ ในเสนเชือกหรือไม และจะ
สังเกตไดอยางไร

ขนั้ ท่ี 2 ข้ันสาํ รวจและคน หา
2.1 นักเรียนแบง กลุมๆ ละ 5-6 คน โดยคละเพศ คละความสามารถ
2.2 นกั เรยี นแตล ะกลมุ ศึกษาใบกิจกรรมเร่ือง คล่นื น่งิ ของเสยี ง
2.3 ครูแจงจุดประสงคการเรียนรู อปุ กรณ และขั้นตอนการทดลองอยา งละเอยี ด
2.4 นกั เรยี นรบั อปุ กรณการทดลอง พรอมติดต้ังอุปกรณ
2.5 นักเรยี นแตล ะกลุม ทาํ การทดลอง สงั เกตและบันทกึ ผลการทดลอง

ขั้นท่ี 3 ขนั้ อธบิ ายและลงขอ สรปุ
3.1 ครสู ุมนักเรยี น 2 คน ออกมานําเสนอสรปุ ทีไ่ ดจากการศกึ ษาหนาชนั้ เรยี น

(https://random.thaiware.com/) หรือ โปรแกรม Super Soomm And Goomm
3.2 ครนู ํานักเรียนอภิปรายเพือ่ นําไปสกู ารสรุปโดยใชค าํ ถามตอ ไปนี้
1) นักเรยี นแตละกลุมไดผ ลการทํากิจกรรมเหมือนหรือแตกตางกันอยา งไร (แนวการ
ตอบ ไดผ ลเหมอื นกัน)
2) เสียงท่ีไดยินจากการรับฟงเสียง ณ ตําแหนงตาง ๆ ระหวางลําโพงกับพื้นโตะมี
ความดังเทากันหรือไม อยางไร (แนวการตอบ เสียงท่ีไดยินมีความดังไมเทากัน โดยไดยิน
เสียงดงั และคอ ยสลับกันไป)
3) เสียงดังและเสียงคอยที่ตําแหนงตางๆ ระหวางพื้นโตะกับลําโพงนั้นเกิดจาก
หลกั การใด (แนวการตอบ หลักการการซอนทับของเสยี ง)

4) เสียงท่ีออกจากลําโพงกับเสียงที่สะทอนจากพื้นโตะ ทําใหเกิดปรากฏการณใด
และมลี ักษณะอยางไร (แนวการตอบ ปรากฏการณก ารแทรกสอด มลี ักษณะเปน คลนื่ น่งิ )
3.3 นักเรียนและครรู วมกันอภปิ รายและสรุปผลการทาํ การทดลอง จนสรปุ ได ดังนี้

1. เสียงดังและเสียงคอยท่ีตําแหนงตางๆ ระหวางพ้ืนโตะกับลําโพงนั้นเกิดจากการ
ซอนทับ ของเสียงท่ีออกจากลําโพงกับเสียงท่ีสะทอนจากพ้ืนโตะ ทําใหเกิดปรากฏการณ
แทรกสอดมลี ักษณะเปน คลืน่ น่งิ

2. ตําแหนงที่ไดยินเสียงดังมีการแทรกสอดแบบเสริมและตําแหนงน้ันจะเปนปฏิบัพ
ของ ความดัน สวนตําแหนงที่เสียงคอยจะมีการแทรกสอดแบบหักลางและตําแหนงนั้นจะ
เปน บพั ของความดัน

3. ขณะท่ีเกิดคล่ืนน่ิงของเสียง ระยะระหวางบัพของความดันคูหน่ึงท่ีอยูถัดกันมีคา
เทากบั ครึง่ หนง่ึ ของความยาวคลืน่ เสียง

ขน้ั ท่ี 4 ข้ันขยายความรู
4.1 ครอู ธบิ ายใหความรูชวนคดิ
1) ขณะท่ีเกดิ คล่นื น่ิงของเสยี ง ระยะระหวา งบพั ความดันคูห น่ึงทอ่ี ยถู ัดกนั มีคาเทาใด
เมอ่ื เทยี บกับความยาวคล่นื ของคลนื่ เสยี ง (ขณะท่ีเกิดคล่นื นง่ิ ของเสยี ง ระยะระหวา งบัพความ
ดนั คู
หน่งึ ท่อี ยถู ัดกนั มคี า เปน ครงึ่ หนงึ่ ของความยาวคลนื่ เสยี ง เชน เดยี วกบั การเกดิ คล่ืนนิ่งทั่วไป)
2) วางลําโพงหันหนาเขาหากําแพง ขณะที่ลําโพงใหเสียงออกมาอยางตอเน่ืองและ
สม่ําเสมอผูที่เดินในแนวระหวางลําโพงกับกําแพงจะไดยินเสียงที่มีความดังไมสม่ําเสมอ
ปรากฏการณนี้เกิดจากพฤติกรรมใดของเสียง (การแทรกสอดของเสียงระหวางคลื่นที่ออก
จากลาํ โพง และคล่นื ทีส่ ะทอ นจากกําแพง)

ขนั้ ที่ 5 ขัน้ ประเมินผล
5.1 นกั เรียนสงใบกิจกรรม เร่อื ง คล่นื นงิ่ ของเสียง

11. บนั ทึกหลังสอน : ม. 5/2 ม.5/5
หวั ขอ

ช้ัน
ผลการจัดการเรียนการสอน

 ความรูความสามารถ

 ทักษะกระบวนการ

 คณุ ลกั ษณะอันพงึ
ประสงค

ปญ หา/อุปสรรค

 ความรูความสามารถ

 ทกั ษะกระบวนการ

 คณุ ลักษณะอนั พงึ
ประสงค

หัวขอ ม. 5/2 ม.5/5
ชน้ั

แนวทางแกไ ข
 ความรคู วามสามารถ

 ทักษะกระบวนการ

 คุณลกั ษณะอนั พึง
ประสงค

ลงช่อื …………………………………………………
(……………………………………………………..)

ครผู สู อน

ความคดิ เหน็ ของหัวหนา กลุมสาระการเรยี นรู

ลงช่ือ…………………………………………………
(……………………………………………………..)

หวั หนา กลมุ สาระการเรยี นรู

ความเห็นของรองผูอาํ นวยการกลมุ บรหิ ารวิชาการ/ผูบรหิ าร หรอื ผทู ีไ่ ดรับมอบหมาย

ลงชอื่ …………………………………………………
(……………………………………………………..)
ตาํ แหนง…………………………………………..

ใบกิจกรรม เรอ่ื ง คล่ืนน่งิ ของเสยี ง

1. รายช่ือสมาชิกท่ี …………………………………………………….. ชัน้ …………………………………
ชือ่ ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................
ช่ือ……………………………………………………………………………....................................เลขท่ี...................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................
ช่ือ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขที.่ ..................

2. จดุ ประสงคก ารทํากิจกรรม
ศึกษาคล่ืนนง่ิ ของเสียง

3. วสั ดุ-อุปกรณ 1 เคร่อื ง
1) เครื่องกาํ เนดิ สญั ญาณเสยี ง 1 ชดุ
2) ชุดขาตง้ั พรอมตวั ยึด 1 ชุด
3) ชดุ ทอ รบั ฟงเสียง 1 ตวั
4) ลาํ โพง 4 เสน
3) สายไฟ

4. วิธที าํ กจิ กรรม
1) ตอสายไฟจากเคร่ืองกาํ เนิดสญั ญาณเสยี งกับลาํ โพงทาํ ใหเกดิ เสยี งความถ่ี 3 กิโลเฮิรตซ ปรับความดงั ของเสยี ง
ใหด ังชัดเจน
2) ยดึ ลาํ โพงกบั ขาตั้งโดยปรับใหลาํ โพงอยูเหนือพ้ืนโตะประมาณ 60 เซนตเิ มตร ดังรปู

3) จากน้ันใชชุดทอรบั ฟง เสยี งสงั เกตเสยี ง ณ ตาํ แหนง ตา งๆ ในแนวดง่ิ ระหวางลําโพงกบั พน้ื โตะ

5. ผลการทาํ การทดลอง
ผลการไดยินเสยี ง ณ ตาํ แหนงตา งๆ ระหวางลําโพงกับพน้ื โตะ ดงั รูป เสียงทไี่ ดย ินมคี วามดังไมเทากัน โดยไดย ินเสยี ง

ดงั และคอ ยสลับกันไป .

6. คําถามทา ยการทดลอง
1) เสียงทไี่ ดยนิ จากการรับฟงเสียง ณ ตําแหนง ตาง ๆ ระหวา งลาํ โพงกับพ้นื โตะมีความดงั เทา กันหรือไม อยางไร

ตอบ เสียงท่ีไดยนิ มคี วามดงั ไมเทากนั โดยไดยนิ เสียงดังและคอยสลับกนั ไป มี

7. สรุปผลการทดลอง
จากการทดลองพบวา เสียงดังและเสียงคอยท่ีตําแหนงตางๆ ระหวางพ้ืนโตะกับลําโพงน้ันเกิดจากการ

ซอนทับ ของเสียงที่ออกจากลําโพงกับเสียงท่ีสะทอนจากพื้นโตะ ทําใหเกิดปรากฏการณแทรกสอด มีลักษณะเปน
คล่ืนน่ิง ตําแหนงท่ีไดยินเสยี งดังมีการแทรกสอดแบบเสริมและตําแหนงน้ันจะเปนปฏบิ ัพ
ของความดัน สวนตาํ แหนง ที่เสียงคอยจะมีการแทรกสอดแบบหักลา งและตาํ แหนงน้นั จะเปน บพั ของความดัน และ
ขณะทเ่ี กิดคล่นื นงิ่ ของเสียง ระยะระหวางบพั ของความดันคูหนึ่งทีอ่ ยูถัดกันมีคา เทากับ คร่ึงหนึ่งของความยาวคล่ืน

เฉลยใบกจิ กรรม เรอื่ ง คลื่นนงิ่ ของเสียง

1. รายชอ่ื สมาชิกที่ …………………………………………………….. ชัน้ …………………………………
ช่ือ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................
ช่ือ……………………………………………………………………………....................................เลขท่.ี ..................
ช่ือ……………………………………………………………………………....................................เลขท่ี...................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................
ชือ่ ……………………………………………………………………………....................................เลขท่.ี ..................
ช่ือ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................

2. จุดประสงคก ารทาํ กจิ กรรม
ศึกษาคลื่นนงิ่ ของเสยี ง

3. วัสดุ-อปุ กรณ 1 เคร่ือง
1) เคร่ืองกาํ เนิดสัญญาณเสียง 1 ชุด
2) ชดุ ขาต้งั พรอมตัวยดึ 1 ชดุ
3) ชดุ ทอรับฟง เสยี ง 1 ตวั
4) ลําโพง 4 เสน
3) สายไฟ

4. วิธีทาํ กจิ กรรม
1) ตอสายไฟจากเคร่ืองกําเนิดสญั ญาณเสียงกับลําโพงทาํ ใหเกดิ เสียงความถี่ 3 กิโลเฮิรตซ ปรบั ความดังของเสียง
ใหดงั ชดั เจน
2) ยึดลาํ โพงกับขาตัง้ โดยปรับใหลาํ โพงอยูเหนือพน้ื โตะประมาณ 60 เซนตเิ มตร ดังรปู

3) จากน้ันใชช ุดทอรับฟง เสยี งสังเกตเสียง ณ ตาํ แหนง ตางๆ ในแนวดง่ิ ระหวางลําโพงกบั พื้นโตะ

5. ผลการทาํ การทดลอง
ผลการไดย ินเสยี ง ณ ตําแหนง ตางๆ ระหวา งลําโพงกับพนื้ โตะ ดงั รปู เสยี งทไ่ี ดยนิ มคี วามดังไมเ ทากัน โดยไดย ินเสียง

ดังและคอยสลับกนั ไป .

6. คําถามทายการทดลอง
1) เสยี งที่ไดยิน จากการรับฟงเสยี ง ณ ตําแหนง ตาง ๆ ระหวา งลาํ โพงกบั พนื้ โตะมีความดังเทากนั หรือไม อยางไร

ตอบ เสียงท่ีไดย นิ มีความดงั ไมเ ทา กัน โดยไดยินเสียงดงั และคอยสลบั กนั ไป มี

7. สรุปผลการทดลอง
จากการทดลองพบวา เสียงดังและเสียงคอยท่ีตําแหนงตางๆ ระหวางพ้ืนโตะกับลําโพงน้ันเกิดจากการ

ซอนทับ ของเสียงท่ีออกจากลําโพงกับเสียงที่สะทอนจากพ้ืนโตะ ทําใหเกิดปรากฏการณแทรกสอด มีลักษณะเปน

คลื่นน่ิง ตําแหนงท่ไี ดยนิ เสียงดังมีการแทรกสอดแบบเสริมและตําแหนง น้ันจะเปน ปฏิบัพของความดัน สว นตาํ แหนง

ที่เสียงคอยจะมีการแทรกสอดแบบหักลางและตาํ แหนงนั้นจะเปน บัพของความดัน และขณะท่ีเกดิ คล่ืนน่ิงของเสียง

ระยะระหวางบพั ของความดันคูหนึ่งท่ีอยถู ัดกันมีคา เทา กับ ครงึ่ หนง่ึ ของความยาวคลน่ื เสยี ง

แผนการจดั การเรยี นรูที่ 32 รายวิชา ว32201 วิชาฟสิกสเ พิม่ เตมิ
กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตร ช้ัน ม.5 เวลาเรียน 2 คาบ
หนว ยการเรียนรู 12 เรือ่ ง เสียง(การสน่ั พองของอากาศในทอ )
ครูผสู อน นศ.ปส.นศั รูน การนี า ครพู ี่เลีย้ ง ครูจาตุรงค พรหมสถติ ย
โรงเรียนคณะราษฎรบํารุง จงั หวดั ยะลา สพม.15

1. มาตรฐานการเรยี นรู :
ว 5.2 เขาใจการเคล่ือนที่แบบฮารมอนิกสอยางงาย ธรรมชาติของคลื่น เสียงและการไดยิน

ปรากฏการณท เี่ กย่ี วขอ งกับเสยี ง แสงและการมองเหน็ ปรากฏการณทเี่ กี่ยวขอ งกบั แสง รวมทั้งนาํ ความรไู ป
ใชป ระโยชน
2. ผลการเรียนรู :

1. อธิบายการเกิดเสียง การเคลื่อนท่ีของเสียง ความสัมพันธระหวางคลื่นการกระจัดของอนุภาคกับ
คล่ืนความดัน ความสัมพันธระหวางอัตราเร็วของเสียงในอากาศท่ีขึ้นกับอุณหภูมิในหนวยองศาเซลเซียส
การสะทอน การหักเห การแทรกสอด การเล้ียวเบน ของคล่ืนเสียง รวมทั้งคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ี
เกี่ยวขอ ง
3. จุดเนน (สพฐ., สพม., โรงเรยี น/อัตลกั ษณ)

มุงมัน่ ในการศึกษาและการทาํ งาน
แสวงหาความรูเพ่อื การแกปญหา
มที ักษะการคดิ ขน้ั สงู
4. สาระสาํ คัญ :

ปรากฏการณทางเสียง ไดแก คล่ืนนิ่ง การส่ันพอง บีต (beats) ปรากฏการณดอปเพลอร (Doppler
effect)

คลื่นนิ่งของเสียงเกิดจากการแทรกสอดของคล่ืนเสียงอาพันธสองขบวนเคลื่อนท่ีสวนทางกัน ทําใหได
ยินเสียงดัง-คอยตลอดเวลา ตามตําแหนงปฏิบัพความดัน-บัพความดัน ตามลําดับ โดยสองตําแหนงที่มีเสียงดัง
ถัดกันหรอื มีเสียงคอยถัดกนั มรี ะยะหางเทากบั ครึ่งหนึ่งของความยาวคลืน่

การสั่นพองของเสียงเกิดจากลําอากาศในทอถูกทําใหส่ันดวยเสียงที่มีความถ่ีเทากับความถี่ธรรมชาติ
ของลํา อากาศในทอลําอากาศจะส่ันมากท่ีสุด และไดยินเสียงดังที่สุด ความถี่ท่ีทําใหเกิดการสั่นพอง เรียกวา
ความถี่สั่นพอง หรือ ความถ่ีเรโซแนนซ (resonant frequency) สําหรับทอปลายปดหนึ่งดาน ความถี่สั่น
พองมคี วามสมั พนั ธกบั ความยาวของลาํ อากาศในทอ ตามสมการ

บีตของเสียงเกิดจากการรวมกันของคล่ืนเสียงจากแหลงกําเนิดเสียง 2 แหลงที่มีความถี่ตางกัน
เล็กนอยใหไดยินเสียงดังคอยสลับกันไปเปนจังหวะคงตัว โดยหูจะไดยินเสียงของการบีต เมื่อเสียงทั้งสองมี

ความถ่ีตางกันไมเกิน 7 เฮิรตซ จํานวนคร้ังที่ไดยินเสียงดังในหน่ึงวินาทีเรียกวา ความถ่ีบีต (beat

frequency) ซ่ึงหาไดจ าก =
ปรากฏการณดอปเพลอรของเสียงเปนปรากฏการณท่ีผูฟงไดยินเสียงมีความถ่ีเปล่ียนไปจากความถี่

ของแหลงกาํ เนดิ เสยี ง ซ่ึงเกดิ จากแหลง กาํ เนิดเสียงหรอื ผฟู ง เคลอื่ นที่สัมพัทธกัน
เม่ือแหลงกําเนิดคลื่นเสียงมีอัตราเร็วมากกวาอัตราเร็วเสียง ทําใหหนาคลื่นเสียงอัดตัวกัน เกิดคล่ืน

กระแทก (shock wave) และเรียกหนาคลื่นวา หนาคลื่นกระแทก โดยหนาคล่ืนกระแทกมีพลงั งานสูง ทําให
ผูที่อยู ณ ตําแหนงขณะหนาคล่ืนกระแทกเคล่ือนท่ีผานไดยินเสียงดังมาก เรียกวา ซอนิกบูม (sonic boom)
โดยแนวหนาคล่นื กระแทกทาํ มุมกับแนวการเคลอ่ื นท่ีของแหลง กาํ เนดิ เรยี กวา มุมมคั (Mach angle)

ความรูเกี่ยวกับเสียงนํา ไปอธิบายและประยุกตใชในดานตาง ๆ เชน การเปลงเสียงของมนุษย การ
ทํางานของเคร่ืองดนตรี การปรับเทยี บเสยี งเครอ่ื งดนตรี การประมง การแพทยธ รณวี ทิ ยา อตุ สาหกรรม

5. จุดประสงคการเรียนรู

5.1 ดานความรู (Knowledge; K)

1) อธบิ ายการเกดิ การสัน่ พองของอากาศในทอปลายปด หนึ่งดาน

5.2 ดานทักษะกระบวนการ (Process; P)

1) ทดลองการสัน่ พองของอากาศในทอ ปลายปดหน่ึงดา นและการวัดความยาวคลืน่ ของเสยี ง

ในอากาศ

5.3 ดานคุณลักษณะอันพงึ ประสงค (Attitude; A)

1) เปนผมู ีความรบั ผดิ ชอบและเปนผมู คี วามมุงม่นั ในการทํางาน

6. สมรรถนะสําคัญ :

สมรรถนะสําคัญของผูเรียนหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรแกนกลาง

การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน มงุ ใหผ เู รยี นเกิดสมรรถนะสาํ คัญ 5 ประการ ดงั น้ี

1. ความสามารถในการสอื่ สาร

2. ความสามารถในการคดิ

3. ความสามารถในการแกปญ หา

4. ความสามารถในการใชท ักษะชวี ติ

5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

7. บรู ณาการ

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อาเซียน ทอ งถน่ิ

สงเสริมใหนักเรียนเรียนรูคําศัพทเฉพาะภาษาอังกฤษท่ีเก่ียวกับเสียง และเสริมแนวทางการนําความรูเรื่อง
เสยี ง ไปใชอธิบายปรากฏการณท ีเ่ กดิ ขนึ้ และแกปญ หาในทอ งถิ่น

8. ส่ือ/แหลง เรียนรู :
8.1 ใบกจิ กรรม 12.2 เรอื่ ง การทดลองการสัน่ พองของอากาศในหลอดเรโซแนนซ
8.2 ใบกิจกรรม 12.3 เร่อื ง การทดลองการวดั ความยาวคลื่นเสยี ง
8.3 หนงั สอื เรยี นรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร (ฟสิกส) ชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 5 เลม 4 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.
2560)
8.4 หองสมดุ
8.5 อินเทอรเน็ต
8.6 ชดุ อุปกรณการทดลอง เรื่อง การส่นั พองของอากาศในหลอดเรโซแนนซ
8.7 ชุดอุปกรณการทดลอง เรื่อง การทดลองการวดั ความยาวคลืน่ เสยี ง

9.การวัดและประเมนิ ผล : วธิ ีการวดั เครื่องมือ เกณฑการประเมนิ
จุดประสงคการเรยี นรู
ดานความรู (K) 1) ตรวจใบกิจกรรม 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนสามารถ
1) อธิบายการเกดิ คล่นื น่ิงของเสียง
เรอ่ื ง คลื่นนิง่ ของเสียง ทาํ กจิ กรรม สรุปผลการทดลองได
ดา นกระบวนการ (P)
1) ทดลองการเกดิ คลนื่ น่งิ ของเสียงได 2) ใ บ กิ จ ก ร ร ม ระดับดี ผานเกณฑ

ดานคณุ ลักษณะ (A) เรื่อง คลื่ นน่ิงของ
1) เปนผูมีความรบั ผดิ ชอบและ
เปนผูมีความมงุ มั่นในการทาํ งาน เสยี ง

1) ตรวจใบกิจกรรม 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนสามารถ

เรือ่ ง คลื่นนิ่งของเสียง ทํากจิ กรรม บั น ทึ ก ผ ล ก า ร ทํ า

2) ใ บ กิ จ ก ร ร ม กิจกรรมไดระดับดี

เร่ือง คล่ื นน่ิงของ ผา นเกณฑ

เสยี ง

1) ตรวจใบกิจกรรม 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนทําภาระ

เรอื่ ง คลน่ื นง่ิ ของเสยี ง ทํากจิ กรรม ง า น ที่ ไ ด รั บ

มอบหมายไดระดับดี

ผา นเกณฑ

10. กจิ กรรมการเรียนรู :
ขน้ั ที่ 1 ขัน้ สรางความสนใจ
1.1 ครทู บทวนความรทู ี่เรียนในคาบทแ่ี ลว เร่อื ง คล่นื น่งิ ของเสียง
1.2 ครูทบทวนความรูเดิม เรื่อง ความถี่ธรรมชาติและการส่ันพอง และกิจกรรม 8.3 ความถ่ี
ธรรมชาติและการส่ันพองของวัตถุ ที่ไดศึกษามาแลวในบทที่ 8 โดยใชรูปการจัดวางอุปกรณประกอบ
ดังรปู 12.7 พรอ มตง้ั คําถามใหนักเรียนตอบ

1) เม่ือแกวงลูกตุมขนาดใหญ การแกวงของลูกตุมขนาดเล็กเปนอยางไร โดยให
นกั เรียนอภิปรายรวมกนั จนสรุปไดว า

ลูกตุมขนาดเล็กทุกลูกมีการแกวง โดยลูกตุมขนาดเล็กที่ผูกดวยเชือกที่มีความยาว
เทากับความยาวของเชือกท่ีผูกลกู ตุมขนาดใหญ มีแอมพลิจูดกวางกวาลกู ตุมลูกอื่น ๆ ปรากฏการณน้ี
เรยี กวา การส่ันพอ ง ซง่ึ เกดิ ขนึ้ เมื่อวัตถุถูกกระตุนใหสัน่ หรือแกวง ดวยความถ่ีทเี่ ทากับความถธ่ี รรมชาติ
ของวัตถนุ นั้ ความถีน่ ้ีเรียกวา ความถ่ีสั่นพอ ง

1.3 ครตู ัง้ คาํ ถามเพอื่ นาํ เขา สกู ารทํากจิ กรรม
1) หากวัตถุถูกกระตุนดวยความถ่ีเทากับหรือใกลเคียงกับความถ่ีธรรมชาติของวัตถุ

วัตถุก็จะเกิดการสั่นพอง ปรากฏการณเดียวกันน้ีสามารถเกิดข้ึนกับลําอากาศในทอท่ีถูกกระตุนดวย
คลื่นเสียงไดหรือไม (โดยเปดโอกาสใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นอยางอิสระ ไมคาดหวังคําตอบที่
ถกู ตอง)

2) จากความรูท่ีวาวัตถุตาง ๆ มีความถี่ธรรมชาติและเกิดการส่ันพองได อากาศซึ่ง
เปนตัวกลางของคล่ืนเสียงจะมีความถี่ธรรมชาติและเกิดการสั่นพองไดหรือไม และการสั่นพองของ
อากาศแสดงใหเราทราบในรูปแบบอยางไร (โดยเปดโอกาสใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นอยางอิสระ
ไมคาดหวังคาํ ตอบที่ถกู ตอ ง)

ขน้ั ที่ 2 ขนั้ สํารวจและคน หา
2.1 นกั เรยี นแบง กลุมๆ ละ 5-6 คน โดยคละเพศ คละความสามารถ

2.2 นกั เรยี นแตละกลมุ ศึกษาใบกิจกรรม 12.2 เรือ่ ง การทดลองการสั่นพอ งของอากาศใน
หลอด
เรโซแนนซ และใบกิจกรรม 12.3 เรื่อง การทดลองการวัดความยาวคลืน่ เสียง

2.3 ครแู จง จุดประสงคการเรียนรู อุปกรณ และขน้ั ตอนการทดลองอยางละเอียด
2.4 นักเรยี นรับอปุ กรณการทดลอง พรอมตดิ ตั้งอปุ กรณ
2.5 นักเรยี นแตละกลุม ทําการทดลอง สังเกตและบันทกึ ผลการทดลอง

ข้นั ที่ 3 ข้ันอธิบายและลงขอสรุป
3.1 ครสู ุมนกั เรียน 2 คน ออกมานาํ เสนอสรุปท่ไี ดจ ากการศึกษาหนาชน้ั เรียน
3.2 ครูนํานักเรียนอภิปราย กิจกรรม 12.2 เร่ือง การทดลองการส่ันพองของอากาศในหลอด

เรโซแนนซ เพ่ือนําไปสูการสรปุ โดยใชคําถามตอ ไปน้ี
1) นกั เรยี นแตล ะกลุมไดผลการทาํ กจิ กรรมเหมือนหรือแตกตางกนั อยา งไร (แนวการ

ตอบไดผ ลเหมอื นกัน)
2) ความดังของเสียงท่ีไดยินเมื่อเลื่อนลูกสูบไปอยูท่ีตําแหนงตาง ๆ แตกตางกัน

หรือไม อยางไร (แนวการตอบ ความดังของเสียงที่ตําแหนงตาง ๆ แตกตางกัน โดยจะไดยินเสียงดัง
คอ ยสลบั กัน)

3) เมื่อความถี่ของเสียงเปลี่ยนไปตําแหนงที่ไดยินเสียงดังมีความสัมพันธกับความถ่ี
อยางไร (แนวการตอบ ความถี่ของเสียงเปล่ียนไป ตําแหนงท่ีไดยินเสียงดังเปล่ียนไป มีความสัมพันธ
กับความถ่ีโดยความถี่ของเสียงเพิม่ ขนึ้ ตําแหนง ทไ่ี ดยนิ เสียงดงั จะใกลป ากหลอดยง่ิ ขึน้ และระยะหางที่
ไดย ินเสียงดังถัดกนั จะลดลง)

3.3 นักเรียนและครูรว มกนั อภปิ รายและสรุปผลการทาํ การทดลอง จนสรุปได ดงั นี้
1. ความดังของเสียงท่ีไดยินเมื่อเล่ือนลูกสูบไปตําแหนงตาง ๆ จะแตกตางกันบาง

ตําแหนงเสียงคอย บางตําแหนงเสียงดัง ตําแหนงของลูกสูบที่ทําใหไดยินเสียงดังท่ีสุดมีหลายตาํ แหนง
ข้นึ อยูก ับความถีข่ องแหลง กาํ เนิดเสียงทใี่ ช

2. เมื่อลูกสูบอยูท่ีตําแหนงหนึ่ง จะไดยินเสียงดังท่ีสุดน้ัน เนื่องจากความถี่ของเสียง
จากลําโพง มีคาเทากับความถี่ธรรมชาติของลําอากาศในหลอดพอดีเปนผลใหอนุภาคอากาศสั่นแรง
ท่สี ุด ปรากฏการณท ่เี กดิ ขึ้นนเี้ รียกวา การส่นั พองของเสยี ง

3.4 ครูนํานักเรียนอภิปราย กิจกรรม 12.3 เร่ือง การทดลองการวัดความยาวคล่ืนเสียง เพื่อ
นําไปสูก ารสรปุ โดยใชคาํ ถามตอ ไปนี้

1) นักเรยี นแตล ะกลุมไดผ ลการทาํ กิจกรรมเหมือนหรือแตกตางกันอยา งไร (แนวการ
ตอบ ไดผลเหมือนกนั )


Click to View FlipBook Version