The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอน เสียง ม5

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jatoorong, 2022-09-02 04:04:37

แผนการสอน เสียง ม5

แผนการสอน เสียง ม5

2) ระยะระหวางตําแหนงของลูกสูบขณะไดยินเสยี งดังท่ีสุดสองครั้ง โดยตําแหนงทั้ง
สองอยถู ัดกันจะเปลยี่ นไปหรอื ไม เมื่อความถ่ีของเสียงเปลีย่ นไป (แนวการตอบ ระยะระหวางตําแหนง
ของลูกสูบเปลี่ยนไป)

3) ระยะเฉล่ียระหวางตําแหนงของลูกสูบ ขณะไดยินเสียงดังท่ีสุดสองคร้ังถัดกันกับ
คร่ึงหนึ่งของความยาวคลื่นเสียงที่คํานวณไดจากตอนท่ี 1 มีคาเทากันหรือไม (แนวการตอบ มีคา
เทากนั (โดยประมาณ))

3.3 นกั เรยี นและครูรว มกนั อภปิ รายและสรุปผลการทาํ การทดลอง จนสรปุ ได ดงั นี้
1. ระยะระหวางตําแหนงของลูกสูบท่ีอยูถัดกัน เมื่อไดยินเสียงดังที่สุดจะมีคา

เปล่ยี นไป ถา ความถเ่ี ปล่ียนไป
2. เปรียบเทียบความยาวคล่นื ท่ีไดจากการคํานวณในตอนท่ี 1 กับการหาโดยการสนั่

พองของเสียงเมื่อความถี่เทากันจะไดวา ระยะระหวางลูกสูบท่ีอยูถัดกันเม่ือไดยินเสียงดังเทากับ
ครงึ่ หน่งึ ของความยาวคลน่ื เสียง

ขนั้ ท่ี 4 ขั้นขยายความรู
4.1 ครูอธิบายใหความรูเพิ่มเติมเก่ียวกับการเกิดการส่ันพองคร้ังแรกในทอปลายปดหน่ึงดาน

และการเกิดการสัน่ พอ งคร้งั ท่สี องในทอปลายปดหน่ึงดาน ในหนังส่ือเรียน หนา 43 - 44

ขนั้ ท่ี 5 ขัน้ ประเมินผล
5.1 นกั เรยี นสง ใบกิจกรรม 12.2 เรือ่ ง การทดลองการสน่ั พองของอากาศในหลอดเรโซแนนซ
5.1 นกั เรยี นสงใบกจิ กรรม 12.3 เรือ่ ง การทดลองการวดั ความยาวคลน่ื เสียง

11. บันทกึ หลังสอน : ม. 5/2 ม.5/5
หวั ขอ

ชนั้
ผลการจัดการเรียนการสอน

 ความรคู วามสามารถ

 ทักษะกระบวนการ

หวั ขอ ม. 5/2 ม.5/5
ชั้น

 คณุ ลักษณะอนั พงึ
ประสงค

ปญหา/อุปสรรค

 ความรคู วามสามารถ

 ทกั ษะกระบวนการ

 คุณลักษณะอันพงึ
ประสงค

แนวทางแกไข
 ความรูความสามารถ

 ทกั ษะกระบวนการ

หวั ขอ ม. 5/2 ม.5/5
ช้ัน
ลงชื่อ…………………………………………………
 คุณลักษณะอันพึง (……………………………………………………..)
ประสงค
ครูผูสอน

ความคิดเหน็ ของหัวหนา กลุมสาระการเรยี นรู

ลงชอ่ื …………………………………………………
(……………………………………………………..)

หัวหนา กลุมสาระการเรยี นรู

ความเหน็ ของรองผูอํานวยการกลุมบรหิ ารวิชาการ/ผูบ รหิ าร หรือผูทไ่ี ดรบั มอบหมาย

ลงชือ่ …………………………………………………
(……………………………………………………..)
ตําแหนง …………………………………………..

ใบกิจกรรม 12.2 เร่อื ง การทดลองการสั่นพอ งของอากาศในหลอดเรโซแนนซ

1. รายช่ือสมาชิกที่ …………………………………………………….. ช้ัน …………………………………
ชอื่ ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขท่ี...................
ช่อื ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................
ช่อื ……………………………………………………………………………....................................เลขท.ี่ ..................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขท.ี่ ..................

2. จุดประสงคก ารทํากจิ กรรม
ศึกษาความสัมพันธร ะหวา งความถกี่ บั ตาํ แหนงของการสนั่ พองกับเสียงทเี่ กิดจากทอปลายเปด หนง่ึ ดาน

3. วสั ดุ-อปุ กรณ

1) เคร่อื งกาํ เนดิ สัญญาณเสียง 1 เครื่อง

2) ลาํ โพง 1 ตวั

3) หลอดเรโซแนนซ 1 ชดุ

(ทอปลายปดหนงึ่ ดานท่ีปรบั ความยาวของลําอากาศในทอ)

4) สายไฟ 4 เสน

4. วธิ ีทาํ กจิ กรรม
1) ตอ ลาํ โพงกับเคร่ืองกําเนิดสญั ญาณเสียง และนาํ ลาํ โพงไปวางใกลก ับปลายหลอด ดานทเี่ ปดของหลอดเรโซแนนซ
ดงั รูป

2) ปรับความถข่ี องเสียงเปน 1 กโิ ลเฮริ ตซ พรอมทั้งปรับความดงั ของเสยี งใหพอเหมาะ
3) เลือ่ นลูกสบู ของหลอดเรโซแนนซมาชิดปลายหลอดดานท่ีวางลําโพงเสียงแลว เลื่อนลูกสูบออกจากลําโพงชาๆ จน
ไดย ินเสยี งดังท่สี ดุ และบนั ทึกตําแหนงท่ีไดยินเสียงดังทีส่ ุดน้ัน
4) ทําซํ้าขอ 2-3 แตเปล่ียนความถีข่ องเสียงเปน 2 และ 3 กิโลเฮิรตซ ตามลําดับ

5. ผลการทาํ การทดลอง
ตารางบันทกึ ผลการทําการทดลองการสัน่ พองของอากาศในทอเรโซแนนซ

ความถี่เสยี ง (kHz) ตาํ แหนงจากปากหลอดที่ไดยินเสยี งดงั (cm)

1 ตาํ แหนง ท่ี 1 ตําแหนงท่ี 2 ตําแหนงที่ 3
2
3

6. คาํ ถามทา ยการทดลอง
1) ความดงั ของเสียงทไ่ี ดย ินเม่ือเลอ่ื นลูกสูบไปอยูทีต่ าํ แหนงตา ง ๆ แตกตางกนั หรือไม อยางไร

ตอบ ความดังของเสยี งท่ตี ําแหนงตา ง ๆ แตกตางกนั โดยจะไดย นิ เสยี งดังคอยสลบั กนั ม

ตาํ แหนงที่ไดยนิ เสยี งดงั จะใกลป ากหลอดยิ่งขึน้ และระยะหา งท่ีไดยินเสยี งดังถดั กันจะลดลง)

2) เมอื่ ความถี่ของเสียงเปล่ยี นไปตาํ แหนงที่ไดยนิ เสียงดังมีความสัมพนั ธก ับความถี่อยางไร
ตอบ ความถขี่ องเสยี งเปลีย่ นไป ตําแหนง ทไ่ี ดย นิ เสยี งดังเปลยี่ นไป มคี วามสมั พนั ธก ับความถีโ่ ดยความถีข่ องเสยี ง
เพิ่มขึน้ ตําแหนง ที่ไดย นิ เสียงดงั จะใกลปากหลอดย่ิงขึน้ และระยะหางที่ไดยินเสยี งดังถใั …………………..ดกันจะลดลง)
ตาํ แหนงที่ไดยินเสยี งดงั จะใกลป ากหลอดยงิ่ ขน้ึ และระยะหางที่ไดยินเสียงดังถัดกันใ………………………………จะลดลง)

7. สรปุ ผลการทดลอง
จากการทดลองพบวา ความดังของเสียงที่ไดยินเม่ือเล่ือนลูกสูบไปตําแหนงตาง ๆ จะแตกตางกันบาง

ตําแหนงเสียงคอย บางตําแหนงเสียงดัง ตําแหนงของลูกสูบที่ทําใหไดยินเสียงดังที่สุดมีหลายตําแหนงข้ึนอยูกับ
ความถี่ของแหลงกําเนิดเสียงที่ใช เมื่อลูกสูบอยูที่ตําแหนงหน่ึง จะไดยินเสียงดังที่สุดนั้น เนื่องจากความถ่ีของเสียง
จากลําโพง มีคาเทากับความถ่ีธรรมชาติของลําอากาศในหลอดพอดีเปนผลใหอนุภาคอากาศสั่นแรงท่ีสุด
ปรากฏการณท ่ปี รากฏการณที่เกิดขน้ึ นเี้ รียกวา การสน่ั พองของเสียง

ใบกจิ กรรม 12.3 เรื่อง การทดลองการวัดความยาวคลน่ื เสยี ง

1. รายชื่อสมาชิกที่ …………………………………………………….. ช้ัน …………………………………
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขท่ี...................
ช่อื ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขที.่ ..................
ชือ่ ……………………………………………………………………………....................................เลขท่.ี ..................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................

2. จุดประสงคการทํากจิ กรรม
ศึกษาวิธกี ารวดั ความยาวคลน่ื เสยี งโดยอาศยั ปรากฏการณการส่ันพอ งของเสยี ง

3. วัสดุ-อุปกรณ 1 เคร่ือง 4) สายไฟ 4 เสน
1) เครอ่ื งกําเนดิ สญั ญาณเสียง 1 ตัว 5) เทอรมอมเิ ตอร 1 อัน
2) ลําโพง 1 ชดุ
3) หลอดเรโซแนนซ

4. วิธีทาํ กจิ กรรม
ตอนท่ี 1
1) ใชเ ทอรมอมเิ ตอรวัดอุณหภูมขิ องอากาศขณะนน้ั คาํ นวณอัตราเรว็ เสียงในอากาศโดยใชความสัมพันธ

= 331 + 0.6

2) นาํ อตั ราเรว็ เสยี งที่ไดมาคํานวณหาความยาวคลน่ื เสยี งในอากาศ เม่ือความถี่ของเสียงเทา กบั ความถีเ่ สียงจาก

เครอ่ื ง กําเนดิ สญั ญาณเสยี ง คือ 1,2 และ 3 กโิ ลเฮิรตซ ตามลําดบั บันทกึ ความยาวคลืน่ เสียงเมอื่ ความถ่ีของเสยี งมี

คา ตางๆ กนั

ตอนที่ 1
1) ตอ เครื่องกําเนดิ สัญญาณเสยี งเขา กับลําโพง นาํ ลําโพงไปวางชิดกับปลายขางหนง่ึ
ของหลอดเรโซแนนซ ดงั รปู
2) หมนุ ปมุ ปรับความถ่ีของเครอื่ งกําเนิดสญั ญาณเสยี งไปท่ี 1 กิโลเฮิรตซ พรอมทง้ั ปรบั ความดงั ใหเ หมาะสม
3) เลอ่ื นลกู สูบมาชดิ กับปลายหลอดเรโชแนนซดา นท่ีอยูใกลกบั ลําโพง แลวเล่อื นลูกสูบออกชา ๆ จนกระทั่งไดยิน
เสยี งดัง เพิม่ ขน้ึ มากทส่ี ดุ บันทึกตาํ แหนง x1 ของลูกสูบท่ีหา งจากปลายหลอดเรโชแนนซ
4) คอยๆ เลอ่ื นลูกสูบออกไปอีก จนกระทง่ั ไดยนิ เสียงดงั เพิ่มขนึ้ มากทีส่ ุดเปน ครั้งท่ี 2 บันทึกตาํ แหนง คอยๆ เลอื่ นลูกสูบ
ออกไปอกี จนกระทัง่ ไดยินเสยี งดงั เพ่ิมขึ้นมากท่ีสดุ เปน ครัง้ ที่ 3,4....บันทึกตาํ แหนง x3, x4, ...
5) หาระยะระหวา งตาํ แหนงของลกู สบู ทีไ่ ดยินเสยี งดังที่สดุ สองตําแหนง ทอ่ี ยูถดั กัน แลว หาคาเฉลี่ยของระยะดงั กลา ว
บนั ทกึ ผลทําการทดลองซ้าํ โดยเปลย่ี นความถี่ของเคร่ืองกําเนดิ สัญญาณเสยี งเปน 2 และ 3 กโิ ลเฮิรตซ ตามลาํ ดบั แลวบันทกึ ผล

5. ผลการทาํ การทดลอง

ตอนท่ี 1 ความยาวคล่นื ของเสียงจากการคาํ นวณ

อณุ หภูมขิ องอากาศขณะท่ีทํา การทดลอง 28 oC

อตั ราเร็วของเสียงในอากาศ = 331 + 0.6

= 331 + 0.6(28) = 331 + 16.8 = 348 /

ตารางบันทกึ ผลการทาํ การทดลองการวดั ความยาวคลื่นเสียง ตอนที่ 1

ความถี่เสียง (kHz) ความยาวคลน่ื เสียง = (cm) (cm)
17.4
1000 34.8 8.7
2000 17.4 5.8
3000 11.6

ตอนท่ี 2 ความยาวคล่นื ของเสียงจากการสั่นพอ ง
ตารางบนั ทกึ ผลการทาํ การทดลองการวัดความยาวคลนื่ เสยี ง ตอนท่ี 2

ตาํ แหนงของลูกสบู ขณะเกิดการสน่ั ระยะหางของลกู สูบขณะเกดิ

ความถี่ พอ ง การส่ันพอ ง 2 คร้ังถัดกนั คา เฉล่ีย
(cm)
(Hz) x1 (cm) x2 (cm) x3 (cm) x2 - x1 x3 - x2 (cm)
(cm) 18.0
8.3
1000 8.5 26.5 - 18.0 - 5.6

2000 4.5 13.5 22.0 9.0 8.5

3000 2.9 8.5 14.0 5.6 5.5

6. คําถามทา ยการทดลอง
1) ระยะระหวา งตาํ แหนงของลูกสบู ขณะไดยนิ เสยี งดังทสี่ ดุ สองคร้งั โดยตําแหนงทง้ั สองอยูถัดกนั จะเปลย่ี นไป
หรือไม
เม่ือความถขี่ องเสียงเปลี่ยนไป

ตอบ ระยะระหวา งตําแหนงของลูกสบู เปล่ียนไป มี

2) ระยะเฉลีย่ ระหวา งตาํ แหนงของลูกสูบ ขณะไดย ินเสียงดังท่ีสดุ สองครั้งถดั กันกับครงึ่ หนง่ึ ของความยาวคลื่นเสียงที่

คํานวณไดจากตอนท่ี 1 มีคาเทากันหรือไม

ตอบ มีคา เทากัน (โดยประมาณ) มี

7. สรปุ ผลการทดลอง
จากการทดลองพบวา ระยะระหวางตําแหนงของลูกสูบท่ีอยูถัดกัน เม่ือไดยินเสียงดังท่ีสุดจะมี คาใ

ใ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ถา ความถ่ีเปลย่ี นไป เปรียบเทียบความยาวคล่นื ท่ีไดจากการคาํ นวณในตอนที่ 1 กบั การหาโดยการสนั่ พอ งของเสีย..ใ
งเมอื่ ความถเ่ี ทากนั จะไดวา ระยะระหวางลูกสูบที่อยถู ัดกันเมื่อไดยินเสียงดงั เทา กบั ครึ่งหนึ่งของความยาวคลื่นใ…..สี
ยง ความถเ่ี ทา กนั จะไดว า ระยะระหวา งลูกสูบท่อี ยูถัดกนั เม่อื ไ….ด

เฉลยใบกิจกรรม 12.2 เรื่อง การทดลองการสนั่ พองของอากาศในหลอดเรโซแนนซ

1. รายชือ่ สมาชิกที่ …………………………………………………….. ช้นั …………………………………
ชอื่ ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................
ชือ่ ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................
ชอื่ ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขท่ี...................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขที.่ ..................
ชอื่ ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................

2. จดุ ประสงคการทํากจิ กรรม
ศกึ ษาความสัมพันธร ะหวา งความถก่ี ับตําแหนง ของการสั่นพองกับเสยี ง ท่ีเกดิ จากทอปลายเปดหนง่ึ ดา น

3. วสั ดุ-อุปกรณ

1) เคร่อื งกําเนดิ สญั ญาณเสยี ง 1 เครือ่ ง

2) ลําโพง 1 ตัว

3) หลอดเรโซแนนซ 1 ชุด

(ทอปลายปดหนง่ึ ดา นท่ีปรับความยาวของลาํ อากาศในทอ)

4) สายไฟ 4 เสน

4. วธิ ที าํ กจิ กรรม
1) ตอ ลําโพงกับเครื่องกาํ เนดิ สัญญาณเสยี ง และนาํ ลาํ โพงไปวางใกลกบั ปลายหลอด ดานทเี่ ปดของหลอดเรโซแนนซ
ดังรปู

2) ปรับความถข่ี องเสยี งเปน 1 กิโลเฮิรตซ พรอมท้ังปรับความดังของเสียงใหพอเหมาะ
3) เลอื่ นลูกสูบของหลอดเรโซแนนซม าชดิ ปลายหลอดดานท่วี างลาํ โพงเสียงแลวเลือ่ นลกู สูบออกจากลําโพงชาๆ จน
ไดยินเสียงดังท่สี ุด และบันทึกตาํ แหนง ที่ไดย ินเสยี งดังท่สี ดุ นั้น
4) ทําซาํ้ ขอ 2-3 แตเปลย่ี นความถ่ขี องเสียงเปน 2 และ 3 กิโลเฮิรตซ ตามลําดบั

5. ผลการทําการทดลอง
ตารางบันทึกผลการทําการทดลองการสน่ั พองของอากาศในทอ เรโซแนนซ

ความถ่ีเสยี ง (kHz) ตาํ แหนง จากปากหลอดทีไ่ ดย นิ เสยี งดงั (cm)
1
2 ตําแหนงท่ี 1 ตําแหนงท่ี 2 ตําแหนง ท่ี 3
3
8.62 26.01 43.15

4.30 13.00 21.63

2.86 8.70 14.30

6. คําถามทา ยการทดลอง มี
1) ความดงั ของเสยี งทีไ่ ดย ินเม่ือเลื่อนลกู สูบไปอยูท่ีตาํ แหนง ตา ง ๆ แตกตางกันหรือไม อยางไร

ตอบ ความดงั ของเสียงทต่ี าํ แหนง ตา ง ๆ แตกตางกัน โดยจะไดยินเสียงดังคอยสลับกัน

2) เมอื่ ความถี่ของเสียงเปลีย่ นไปตาํ แหนงที่ไดย นิ เสยี งดงั มีความสมั พันธก ับความถ่ีอยางไร

ตอบ ความถี่ของเสียงเปลย่ี นไป ตาํ แหนง ทไ่ี ดย ินเสียงดังเปลย่ี นไป มคี วามสัมพันธกบั ความถโี่ ดยความถี่ของเสยี ง
เพ่ิมขนึ้ ตําแหนง ที่ไดย ินเสยี งดังจะใกลป ากหลอดยิ่งข้นึ และระยะหางที่ไดยินเสยี งดังถัดกันจะลดลง)

7. สรุปผลการทดลอง
จากการทดลองพบวา ความดังของเสียงที่ไดยินเมื่อเลื่อนลูกสูบไปตําแหนงตาง ๆ จะแตกตางกันบาง

ตําแหนงเสียงคอย บางตําแหนงเสียงดัง ตําแหนงของลูกสูบท่ีทําใหไดยินเสียงดังท่ีสุดมีหลายตําแหนงขึ้นอยูกับ
ความถี่ของแหลงกําเนิดเสียงท่ีใช เม่ือลูกสูบอยูท่ีตําแหนงหน่ึง จะไดยินเสียงดังท่ีสุดน้ัน เน่ืองจากความถ่ีของเสียง
จากลําโพง มีคาเทากับความถี่ธรรมชาติของลําอากาศในหลอดพอดีเปนผลใหอนุภาคอากาศส่ันแรงท่ีสุด
ปรากฏการณท ่เี กดิ ข้นึ นี้เรยี กวา การส่นั พองของเสียง

เฉลยใบกจิ กรรม 12.3 เรอ่ื ง การทดลองการวดั ความยาวคล่นื เสียง

1. รายช่ือสมาชิกท่ี …………………………………………………….. ชน้ั …………………………………
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................
ชอื่ ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขท่ี...................

2. จดุ ประสงคก ารทาํ กิจกรรม
ศึกษาวธิ ีการวัดความยาวคลน่ื เสยี งโดยอาศัยปรากฏการณการส่นั พอ งของเสยี ง

3. วสั ดุ-อุปกรณ 1 เคร่ือง 4) สายไฟ 4 เสน
1) เครอ่ื งกําเนดิ สัญญาณเสยี ง 1 ตวั 5) เทอรม อมเิ ตอร 1 อนั
2) ลาํ โพง 1 ชดุ
3) หลอดเรโซแนนซ

4. วธิ ีทํากิจกรรม
ตอนที่ 1
1) ใชเ ทอรมอมิเตอรวดั อณุ หภูมขิ องอากาศขณะนัน้ คาํ นวณอัตราเร็วเสยี งในอากาศโดยใชค วามสัมพันธ

= 331 + 0.6

2) นาํ อัตราเร็วเสียงทไ่ี ดมาคํานวณหาความยาวคลน่ื เสยี งในอากาศ เมื่อความถขี่ องเสียงเทากับความถเ่ี สียงจาก
เครือ่ ง

กําเนดิ สัญญาณเสียง คอื 1,2 และ 3 กิโลเฮริ ตซ ตามลําดบั บนั ทกึ ความยาวคลน่ื เสยี งเม่อื ความถ่ีของเสียงมคี า ตางๆ
กนั

ตอนท่ี 1
1) ตอเครื่องกําเนิดสัญญาณเสียงเขา กับลําโพง นาํ ลาํ โพงไปวางชิดกับปลายขางหนง่ึ ของหลอดเรโซแนนซ ดังรูป

2) หมนุ ปุม ปรบั ความถี่ของเครอื่ งกาํ เนดิ สัญญาณเสียงไปท่ี 1 กโิ ลเฮิรตซ พรอมทั้งปรับความดังใหเหมาะสม

3) เลือ่ นลกู สูบมาชดิ กับปลายหลอดเรโชแนนซดานท่อี ยูใกลก ับลาํ โพง แลว เล่อื นลูกสูบออกชา ๆจนกระท่ังไดย นิ

เสยี งดัง

เพมิ่ ขนึ้ มากท่ีสุดบนั ทึกตาํ แหนง x1 ของลูกสูบที่หางจากปลายหลอดเรโชแนนซ
4) คอยๆ เลอ่ื นลูกสบู ออกไปอีก จนกระทั่งไดย นิ เสยี งดังเพ่ิมขนึ้ มากทสี่ ุดเปน ครัง้ ที่ 2 บนั ทึกตําแหนง คอยๆ เลอ่ื นลกู สูบ

ออกไปอีกจนกระทง่ั ไดยินเสียงดังเพ่มิ ขึ้นมากทส่ี ดุ เปนคร้ังท่ี 3,4....บนั ทึกตําแหนง x3, x4, ...
5) หาระยะระหวางตําแหนงของลูกสูบที่ไดยนิ เสยี งดงั ท่สี ุดสองตําแหนงทีอ่ ยูถัดกัน แลวหาคาเฉลี่ยของระยะดงั กลา ว

บันทกึ ผลทาํ การทดลองซํา้ โดยเปลยี่ นความถ่ีของเคร่ืองกําเนิดสัญญาณเสยี งเปน 2 และ 3 กโิ ลเฮิรตซ ตามลาํ ดบั
บันทึกผล

5. ผลการทาํ การทดลอง

ตอนท่ี 1 ความยาวคลื่นของเสยี งจากการคาํ นวณ

อณุ หภมู ขิ องอากาศขณะทีท่ าํ การทดลอง 28 oC

อตั ราเร็วของเสยี งในอากาศ = 331 + 0.6

= 331 + 0.6(28) = 331 + 16.8 = 348 /

ตารางบนั ทกึ ผลการทําการทดลองการวัดความยาวคลืน่ เสียง ตอนที่ 1

ความถเ่ี สยี ง (kHz) ความยาวคลน่ื เสียง = (cm) (cm)
17.4
1000 34.8 8.7
2000 17.4 5.8
3000 11.6

ตอนท่ี 2 ความยาวคลืน่ ของเสยี งจากการสน่ั พอ ง
ตารางบันทึกผลการทําการทดลองการวดั ความยาวคลื่นเสียง ตอนท่ี 2

ตาํ แหนงของลูกสูบขณะเกดิ การสัน่ ระยะหา งของลูกสูบขณะเกดิ

ความถี่ พอง การสั่นพอ ง 2 ครั้งถัดกัน คาเฉล่ยี
(cm)
(Hz) x1 (cm) x2 (cm) x3 (cm) x2 - x1 x3 - x2 (cm)
(cm) 18.0
8.3
1000 8.5 26.5 - 18.0 - 5.6

2000 4.5 13.5 22.0 9.0 8.5

3000 2.9 8.5 14.0 5.6 5.5

6. คําถามทายการทดลอง
1) ระยะระหวา งตําแหนง ของลกู สบู ขณะไดยินเสียงดังทสี่ ุดสองคร้ัง โดยตาํ แหนงทง้ั สองอยูถดั กนั จะเปลี่ยนไป
หรือไม
เมอื่ ความถีข่ องเสียงเปลยี่ นไป

ตอบ ระยะระหวางตําแหนงของลูกสบู เปลย่ี นไป ม

2) ระยะเฉลีย่ ระหวางตาํ แหนงของลูกสูบ ขณะไดยินเสยี งดังท่สี ุดสองครั้งถดั กันกบั คร่ึงหน่งึ ของความยาวคล่นื เสยี งที่
คํานวณไดจ ากตอนที่ 1 มีคา เทา กันหรอื ไม

ตอบ มีคา เทา กนั (โดยประมาณ) ม

7. สรุปผลการทดลอง
จากการทดลองพบวา ระยะระหวางตําแหนงของลูกสูบท่ีอยูถัดกัน เมื่อไดยินเสียงดังท่ีสุดจะมีคา

เปลยี่ นไป

ถาความถี่เปล่ียนไป เปรียบเทียบความยาวคล่ืนที่ไดจากการคํานวณในตอนที่ 1 กับการหาโดยการสั่นพองของเสียง

เม่ือความถเ่ี ทากันจะไดว า ระยะระหวา งลกู สูบท่ีอยถู ัดกนั เมอ่ื ไดย นิ เสียงดังเทา กบั คร่งึ หนงึ่ ของความยาวคลื่นเสยี ง

แผนการจดั การเรยี นรูที่ 33 รายวิชา ว32201 วิชาฟสิกสเ พิม่ เตมิ
กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตร ช้ัน ม.5 เวลาเรียน 1 คาบ
หนว ยการเรียนรู 12 เรือ่ ง เสียง(การสน่ั พองของอากาศในทอ )
ครูผสู อน นศ.ปส.นศั รูน การนี า ครพู ี่เลีย้ ง ครูจาตุรงค พรหมสถติ ย
โรงเรียนคณะราษฎรบํารุง จงั หวดั ยะลา สพม.15

1. มาตรฐานการเรยี นรู :
ว 5.2 เขาใจการเคล่ือนที่แบบฮารมอนิกสอยางงาย ธรรมชาติของคลื่น เสียงและการไดยิน

ปรากฏการณท เี่ กย่ี วขอ งกับเสยี ง แสงและการมองเหน็ ปรากฏการณทเี่ กี่ยวขอ งกบั แสง รวมทั้งนาํ ความรไู ป
ใชป ระโยชน
2. ผลการเรียนรู :

1. อธิบายการเกิดเสียง การเคลื่อนท่ีของเสียง ความสัมพันธระหวางคลื่นการกระจัดของอนุภาคกับ
คล่ืนความดัน ความสัมพันธระหวางอัตราเร็วของเสียงในอากาศท่ีขึ้นกับอุณหภูมิในหนวยองศาเซลเซียส
การสะทอน การหักเห การแทรกสอด การเล้ียวเบน ของคล่ืนเสียง รวมทั้งคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ี
เกี่ยวขอ ง
3. จุดเนน (สพฐ., สพม., โรงเรยี น/อัตลกั ษณ)

มุงมัน่ ในการศึกษาและการทาํ งาน
แสวงหาความรูเพ่อื การแกปญหา
มที ักษะการคดิ ขน้ั สงู
4. สาระสาํ คัญ :

ปรากฏการณทางเสียง ไดแก คล่ืนนิ่ง การส่ันพอง บีต (beats) ปรากฏการณดอปเพลอร (Doppler
effect)

คลื่นนิ่งของเสียงเกิดจากการแทรกสอดของคล่ืนเสียงอาพันธสองขบวนเคลื่อนท่ีสวนทางกัน ทําใหได
ยินเสียงดัง-คอยตลอดเวลา ตามตําแหนงปฏิบัพความดัน-บัพความดัน ตามลําดับ โดยสองตําแหนงที่มีเสียงดัง
ถัดกันหรอื มีเสียงคอยถัดกนั มรี ะยะหางเทากบั ครึ่งหนึ่งของความยาวคลืน่

การสั่นพองของเสียงเกิดจากลําอากาศในทอถูกทําใหส่ันดวยเสียงที่มีความถ่ีเทากับความถี่ธรรมชาติ
ของลํา อากาศในทอลําอากาศจะส่ันมากท่ีสุด และไดยินเสียงดังที่สุด ความถี่ท่ีทําใหเกิดการสั่นพอง เรียกวา
ความถี่สั่นพอง หรือ ความถ่ีเรโซแนนซ (resonant frequency) สําหรับทอปลายปดหนึ่งดาน ความถี่สั่น
พองมคี วามสมั พนั ธกบั ความยาวของลาํ อากาศในทอ ตามสมการ

บีตของเสียงเกิดจากการรวมกันของคล่ืนเสียงจากแหลงกําเนิดเสียง 2 แหลงที่มีความถี่ตางกัน
เล็กนอยใหไดยินเสียงดังคอยสลับกันไปเปนจังหวะคงตัว โดยหูจะไดยินเสียงของการบีต เมื่อเสียงทั้งสองมี

ความถ่ีตางกันไมเกิน 7 เฮิรตซ จํานวนคร้ังที่ไดยินเสียงดังในหน่ึงวินาทีเรียกวา ความถ่ีบีต (beat

frequency) ซ่ึงหาไดจ าก =
ปรากฏการณดอปเพลอรของเสียงเปนปรากฏการณท่ีผูฟงไดยินเสียงมีความถ่ีเปล่ียนไปจากความถี่

ของแหลงกาํ เนดิ เสยี ง ซ่ึงเกดิ จากแหลง กาํ เนิดเสียงหรอื ผฟู ง เคลอื่ นที่สัมพัทธกัน
เม่ือแหลงกําเนิดคลื่นเสียงมีอัตราเร็วมากกวาอัตราเร็วเสียง ทําใหหนาคลื่นเสียงอัดตัวกัน เกิดคล่ืน

กระแทก (shock wave) และเรียกหนาคลื่นวา หนาคลื่นกระแทก โดยหนาคล่ืนกระแทกมีพลงั งานสูง ทําให
ผูที่อยู ณ ตําแหนงขณะหนาคล่ืนกระแทกเคล่ือนท่ีผานไดยินเสียงดังมาก เรียกวา ซอนิกบูม (sonic boom)
โดยแนวหนาคล่นื กระแทกทาํ มุมกับแนวการเคลอ่ื นท่ีของแหลง กาํ เนดิ เรยี กวา มุมมคั (Mach angle)

ความรูเกี่ยวกับเสียงนํา ไปอธิบายและประยุกตใชในดานตาง ๆ เชน การเปลงเสียงของมนุษย การ
ทํางานของเคร่ืองดนตรี การปรับเทยี บเสยี งเครอ่ื งดนตรี การประมง การแพทยธ รณวี ทิ ยา อตุ สาหกรรม

5. จุดประสงคการเรียนรู

5.1 ดานความรู (Knowledge; K)

1) อธบิ ายการเกดิ การสัน่ พองของอากาศในทอปลายปด หนึ่งดาน

5.2 ดานทักษะกระบวนการ (Process; P)

1) ทดลองการสัน่ พองของอากาศในทอ ปลายปดหน่ึงดา นและการวัดความยาวคลืน่ ของเสยี ง

ในอากาศ

5.3 ดานคุณลักษณะอันพงึ ประสงค (Attitude; A)

1) เปนผมู ีความรบั ผดิ ชอบและเปนผมู คี วามมุงม่นั ในการทํางาน

6. สมรรถนะสําคัญ :

สมรรถนะสําคัญของผูเรียนหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรแกนกลาง

การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน มงุ ใหผ เู รยี นเกิดสมรรถนะสาํ คัญ 5 ประการ ดงั น้ี

1. ความสามารถในการสอื่ สาร

2. ความสามารถในการคดิ

3. ความสามารถในการแกปญ หา

4. ความสามารถในการใชท ักษะชวี ติ

5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

7. บรู ณาการ

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อาเซียน ทอ งถน่ิ

สงเสริมใหนักเรียนเรียนรูคําศัพทเฉพาะภาษาอังกฤษท่ีเก่ียวกับเสียง และเสริมแนวทางการนําความรูเรื่อง
เสยี ง ไปใชอธิบายปรากฏการณท ีเ่ กดิ ขนึ้ และแกปญ หาในทอ งถิ่น

8. สื่อ/แหลงเรียนรู :

8.1 หนงั สือเรียนรายวชิ าเพิ่มเติมวทิ ยาศาสตร (ฟสิกส) ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 5 เลม 4 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.

2560)

8.2 อนิ เทอรเน็ต

9.การวัดและประเมินผล :

จุดประสงคการเรยี นรู วธิ ีการวดั เคร่อื งมือ เกณฑการประเมนิ

ดานความรู (K)

1) อธิบายการเกิดการส่ันพองของอากาศใน 1) ตรวจสมุดบันทกึ 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนสามารถ

ทอ ปลายปดหน่งึ ดา น ทํากจิ กรรม ต อ บ คํ า ถ า ม ใ น ใ บ

กิ จ ก ร ร ม ไ ด ร ะ ดั บ ดี

ผา นเกณฑ

ดา นกระบวนการ (P)

1) คํานวณปริมาณที่เก่ียวของกับการเกิด 1) ตรวจแบบฝก หดั 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนสามารถ

การสั่นพองของอากาศในทอปลายปดหนึ่ง ทํากจิ กรรม ทํ า แ บ บ ฝ ก หั ด ไ ด

ดา น 2) แ บ บ ฝ ก หั ด ใ น ระดบั ดี ผานเกณฑ

หนงั สือเรยี น

ดา นคุณลกั ษณะ (A)

1) เปนผมู ีความรับผิดชอบและ 1) ตรวจสมุดบนั ทึก 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนทําภาระ

เปน ผมู คี วามมุงม่ันในการทาํ งาน 2) ตรวจแบบฝก หัด ทํากจิ กรรม ง า น ที่ ไ ด รั บ

มอบหมายไดระดับดี

ผานเกณฑ

10. กิจกรรมการเรยี นรู :
ขนั้ ท่ี 1 ขั้นสรางความสนใจ
1.1 ครูและนกั เรยี นรว มกันทบทวนผลการทดลองในกิจกรรม 12.2 และ 12.3 ท่ผี านมา

ขน้ั ท่ี 2 ขน้ั สาํ รวจและคน หา
2.1 นกั เรยี นแตล ะคนศึกษาคนควาและทาํ ความเขาใจเนือ้ หา เรอื่ ง การสนั่ พองครงั้ แรก และ

การสั่นพองครง้ั ทสี่ อง ในหนังสือเรยี น หนา 46 แลวสรุปความรูท ไ่ี ดลงในสมุดบนั ทึก

ขัน้ ที่ 3 ขั้นอธิบายและลงขอสรปุ
3.1 ครสู มุ นกั เรียน 1 คน ออกมานาํ เสนอผลการสืบคน ของกลุม ตนเองหนาช้นั เรียน
3.2 ครูนาํ นกั เรียนอภปิ รายเพือ่ นําไปสูการสรุปโดยใชค าํ ถามตอไปนี้

1) การส่ันพองครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อลําอากาศในทอมีความยาวเปนเทาใด (แนวการ
ตอบ = )

2) การส่ันพองคร้ังท่ีสองเกิดขึ้นเม่ือลําอากาศในทอมีความยาว (แนวการตอบ
=)

3) การสัน่ พองครัง้ แรกเกิดข้ึนเมื่อลําอากาศในทอมีความยาว =
อยากทราบวา ความถี่เปน เทาใด (แนวการตอบ = = )

4) การสั่นพองครัง้ ทส่ี องเกดิ ขึ้นเมื่อลาํ อากาศในทอมีความยาว =
อยากทราบวา ความถี่เปน เทาใด (แนวการ = = )

5) สมการความสมั พนั ธระหวางความถี่การสัน่ พองกบั ความยาวของลาํ อากาศในทอ
ปลายปดหน่ึงดา น (แนวการตอบ = )

ขัน้ ท่ี 4 ขนั้ ขยายความรู
4.1 ครูอธบิ ายตัวอยา งโจทยป ญ หา ในหนังสอื เรยี น หนา 46 - 47

ข้ันท่ี 5 ขน้ั ประเมินผล
5.1 นกั เรยี นสง สมดุ บันทกึ เรือ่ ง การสัน่ พอ งคร้งั แรก และการสน่ั พองคร้ังทสี่ อง
5.2 นักเรียนทําแบบฝกหัด 12.3 ขอ 1, 6
5.3 นักเรยี นทาํ แบบฝกหดั ทายบท ขอ 10

11. บันทึกหลงั สอน : ม. 5/2 ม.5/5
หัวขอ

ชัน้
ผลการจัดการเรียนการสอน

 ความรูความสามารถ

 ทักษะกระบวนการ

หวั ขอ ม. 5/2 ม.5/5
ชั้น

 คณุ ลักษณะอนั พงึ
ประสงค

ปญหา/อุปสรรค

 ความรคู วามสามารถ

 ทกั ษะกระบวนการ

 คุณลักษณะอันพงึ
ประสงค

แนวทางแกไข
 ความรูความสามารถ

 ทกั ษะกระบวนการ

หวั ขอ ม. 5/2 ม.5/5
ช้ัน
ลงชื่อ…………………………………………………
 คุณลักษณะอันพึง (……………………………………………………..)
ประสงค
ครูผูสอน

ความคิดเหน็ ของหัวหนา กลุมสาระการเรยี นรู

ลงชอ่ื …………………………………………………
(……………………………………………………..)

หัวหนา กลุมสาระการเรยี นรู

ความเหน็ ของรองผูอํานวยการกลุมบรหิ ารวิชาการ/ผูบ รหิ าร หรือผูทไ่ี ดรบั มอบหมาย

ลงชือ่ …………………………………………………
(……………………………………………………..)
ตําแหนง …………………………………………..

แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ 34 รายวชิ า ว32201 วิชาฟสกิ สเ พม่ิ เตมิ
กลุมสาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร ช้ัน ม.5 เวลาเรียน 2 คาบ
หนว ยการเรยี นรู 12 เรอ่ื ง เสียง(การบตี ของเสียง)
ครูผูสอน นศ.ปส.นศั รนู การนี า ครพู ี่เลีย้ ง ครจู าตุรงค พรหมสถิตย
โรงเรยี นคณะราษฎรบาํ รงุ จังหวัดยะลา สพม.15

1. มาตรฐานการเรียนรู :
ว 5.2 เขาใจการเคล่ือนที่แบบฮารมอนิกสอยางงาย ธรรมชาติของคล่ืน เสียงและการไดยิน

ปรากฏการณทเี่ ก่ยี วของกับเสยี ง แสงและการมองเห็น ปรากฏการณท ีเ่ กย่ี วขอ งกบั แสง รวมทั้งนาํ ความรไู ป
ใชป ระโยชน
2. ผลการเรยี นรู :

1. อธิบายการเกิดเสียง การเคลื่อนที่ของเสียง ความสัมพันธระหวางคลื่นการกระจัดของอนุภาคกับ
คลื่นความดัน ความสัมพันธระหวางอัตราเร็วของเสียงในอากาศท่ีข้ึนกับอุณหภูมิในหนวยองศาเซลเซียส
การสะทอน การหักเห การแทรกสอด การเล้ียวเบน ของคลื่นเสียง รวมทั้งคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ี
เก่ียวขอ ง
3. จุดเนน (สพฐ., สพม., โรงเรียน/อตั ลกั ษณ)

มุงม่ันในการศึกษาและการทาํ งาน
แสวงหาความรูเ พื่อการแกป ญ หา
มที กั ษะการคิดขั้นสงู
4. สาระสําคัญ :

ปรากฏการณทางเสียง ไดแก คลื่นน่ิง การส่ันพอง บีต (beats) ปรากฏการณดอปเพลอร (Doppler
effect)

คล่ืนน่ิงของเสียงเกิดจากการแทรกสอดของคล่ืนเสียงอาพันธสองขบวนเคล่ือนท่ีสวนทางกัน ทําใหได
ยินเสียงดัง-คอยตลอดเวลา ตามตําแหนงปฏิบัพความดัน-บพั ความดัน ตามลําดับ โดยสองตําแหนงที่มีเสียงดงั
ถัดกนั หรอื มีเสียงคอยถัดกนั มรี ะยะหา งเทา กบั ครงึ่ หนงึ่ ของความยาวคลืน่

การส่ันพองของเสียงเกิดจากลําอากาศในทอถูกทําใหสั่นดวยเสียงที่มีความถ่ีเทากับความถ่ีธรรมชาติ
ของลํา อากาศในทอลําอากาศจะสั่นมากท่ีสุด และไดยินเสียงดังท่ีสุด ความถี่ที่ทําใหเกิดการสั่นพอง เรียกวา
ความถี่สั่นพอง หรือ ความถ่ีเรโซแนนซ (resonant frequency) สําหรับทอปลายปดหนึ่งดาน ความถี่สั่น
พอ งมีความสัมพันธกับความยาวของลําอากาศในทอ ตามสมการ

บีตของเสียงเกิดจากการรวมกันของคลื่นเสียงจากแหลงกําเนิดเสียง 2 แหลงท่ีมีความถี่ตางกัน
เล็กนอยใหไดยินเสียงดังคอยสลับกันไปเปนจังหวะคงตัว โดยหูจะไดยินเสียงของการบีต เม่ือเสียงท้ังสองมี

ความถ่ีตางกันไมเกิน 7 เฮิรตซ จํานวนคร้ังที่ไดยินเสียงดังในหน่ึงวินาทีเรียกวา ความถ่ีบีต (beat

frequency) ซ่ึงหาไดจ าก =
ปรากฏการณดอปเพลอรของเสียงเปนปรากฏการณท่ีผูฟงไดยินเสียงมีความถ่ีเปล่ียนไปจากความถี่

ของแหลงกาํ เนดิ เสยี ง ซ่ึงเกดิ จากแหลง กาํ เนิดเสียงหรอื ผฟู ง เคลอื่ นที่สัมพัทธกัน
เม่ือแหลงกําเนิดคลื่นเสียงมีอัตราเร็วมากกวาอัตราเร็วเสียง ทําใหหนาคลื่นเสียงอัดตัวกัน เกิดคล่ืน

กระแทก (shock wave) และเรียกหนาคลื่นวา หนาคลื่นกระแทก โดยหนาคล่ืนกระแทกมีพลงั งานสูง ทําให
ผูที่อยู ณ ตําแหนงขณะหนาคล่ืนกระแทกเคล่ือนท่ีผานไดยินเสียงดังมาก เรียกวา ซอนิกบูม (sonic boom)
โดยแนวหนาคล่นื กระแทกทาํ มุมกับแนวการเคลอ่ื นท่ีของแหลง กาํ เนดิ เรยี กวา มุมมคั (Mach angle)

ความรูเกี่ยวกับเสียงนํา ไปอธิบายและประยุกตใชในดานตาง ๆ เชน การเปลงเสียงของมนุษย การ
ทํางานของเคร่ืองดนตรี การปรับเทยี บเสยี งเครอ่ื งดนตรี การประมง การแพทยธ รณวี ทิ ยา อตุ สาหกรรม

5. จุดประสงคการเรียนรู

5.1 ดานความรู (Knowledge; K)

1) อธบิ ายการเกดิ การสัน่ พองของอากาศในทอปลายปด หนึ่งดาน

5.2 ดานทักษะกระบวนการ (Process; P)

1) ทดลองการสัน่ พองของอากาศในทอ ปลายปดหน่ึงดา นและการวัดความยาวคลืน่ ของเสยี ง

ในอากาศ

5.3 ดานคุณลักษณะอันพงึ ประสงค (Attitude; A)

1) เปนผมู ีความรบั ผดิ ชอบและเปนผมู คี วามมุงม่นั ในการทํางาน

6. สมรรถนะสําคัญ :

สมรรถนะสําคัญของผูเรียนหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรแกนกลาง

การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน มงุ ใหผ เู รยี นเกิดสมรรถนะสาํ คัญ 5 ประการ ดงั น้ี

1. ความสามารถในการสอื่ สาร

2. ความสามารถในการคดิ

3. ความสามารถในการแกปญ หา

4. ความสามารถในการใชท ักษะชวี ติ

5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

7. บรู ณาการ

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อาเซียน ทอ งถน่ิ

สงเสริมใหนักเรียนเรียนรูคําศัพทเฉพาะภาษาอังกฤษท่ีเก่ียวกับเสียง และเสริมแนวทางการนําความรูเรื่อง
เสยี ง ไปใชอธิบายปรากฏการณท ีเ่ กดิ ขนึ้ และแกปญ หาในทอ งถิ่น

8. สื่อ/แหลงเรียนรู :

8.1 หนงั สือเรียนรายวชิ าเพิ่มเติมวทิ ยาศาสตร (ฟสิกส) ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 5 เลม 4 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.

2560)

8.2 อนิ เทอรเน็ต

9.การวัดและประเมินผล :

จุดประสงคการเรยี นรู วธิ ีการวดั เคร่อื งมือ เกณฑการประเมนิ

ดานความรู (K)

1) อธิบายการเกิดการส่ันพองของอากาศใน 1) ตรวจสมุดบันทกึ 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนสามารถ

ทอ ปลายปดหน่งึ ดา น ทํากจิ กรรม ต อ บ คํ า ถ า ม ใ น ใ บ

กิ จ ก ร ร ม ไ ด ร ะ ดั บ ดี

ผา นเกณฑ

ดา นกระบวนการ (P)

1) คํานวณปริมาณที่เก่ียวของกับการเกิด 1) ตรวจแบบฝก หดั 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนสามารถ

การสั่นพองของอากาศในทอปลายปดหนึ่ง ทํากจิ กรรม ทํ า แ บ บ ฝ ก หั ด ไ ด

ดา น 2) แ บ บ ฝ ก หั ด ใ น ระดบั ดี ผานเกณฑ

หนงั สือเรยี น

ดา นคุณลกั ษณะ (A)

1) เปนผมู ีความรับผิดชอบและ 1) ตรวจสมุดบนั ทึก 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนทําภาระ

เปน ผมู คี วามมุงม่ันในการทาํ งาน 2) ตรวจแบบฝก หัด ทํากจิ กรรม ง า น ที่ ไ ด รั บ

มอบหมายไดระดับดี

ผานเกณฑ

10. กิจกรรมการเรยี นรู :
ขนั้ ท่ี 1 ขั้นสรางความสนใจ
1.1 ครูและนกั เรยี นรว มกันทบทวนผลการทดลองในกิจกรรม 12.2 และ 12.3 ท่ผี านมา

ขน้ั ท่ี 2 ขน้ั สาํ รวจและคน หา
2.1 นกั เรยี นแตล ะคนศึกษาคนควาและทาํ ความเขาใจเนือ้ หา เรอื่ ง การสนั่ พองครงั้ แรก และ

การสั่นพองครง้ั ทสี่ อง ในหนังสือเรยี น หนา 46 แลวสรุปความรูท ไ่ี ดลงในสมุดบนั ทึก

ขัน้ ที่ 3 ขั้นอธิบายและลงขอสรปุ
3.1 ครสู มุ นกั เรียน 1 คน ออกมานาํ เสนอผลการสืบคน ของกลุม ตนเองหนาช้นั เรียน
3.2 ครูนาํ นกั เรียนอภปิ รายเพือ่ นําไปสูการสรุปโดยใชค าํ ถามตอไปนี้

1) การส่ันพองครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อลําอากาศในทอมีความยาวเปนเทาใด (แนวการ
ตอบ = )

2) การส่ันพองคร้ังท่ีสองเกิดขึ้นเม่ือลําอากาศในทอมีความยาว (แนวการตอบ
=)

3) การสัน่ พองครัง้ แรกเกิดข้ึนเมื่อลําอากาศในทอมีความยาว =
อยากทราบวา ความถี่เปน เทาใด (แนวการตอบ = = )

4) การสั่นพองครัง้ ทส่ี องเกดิ ขึ้นเมื่อลาํ อากาศในทอมีความยาว =
อยากทราบวา ความถี่เปน เทาใด (แนวการ = = )

5) สมการความสมั พนั ธระหวางความถี่การสัน่ พองกบั ความยาวของลาํ อากาศในทอ
ปลายปดหน่ึงดา น (แนวการตอบ = )

ขัน้ ท่ี 4 ขนั้ ขยายความรู
4.1 ครูอธบิ ายตัวอยา งโจทยป ญ หา ในหนังสอื เรยี น หนา 46 - 47

ข้ันท่ี 5 ขน้ั ประเมินผล
5.1 นกั เรยี นสง สมดุ บันทกึ เรือ่ ง การสัน่ พอ งคร้งั แรก และการสน่ั พองคร้ังทสี่ อง
5.2 นักเรียนทําแบบฝกหัด 12.3 ขอ 1, 6
5.3 นักเรยี นทาํ แบบฝกหดั ทายบท ขอ 10

11. บันทึกหลงั สอน : ม. 5/2 ม.5/5
หัวขอ

ชัน้
ผลการจัดการเรียนการสอน

 ความรูความสามารถ

 ทักษะกระบวนการ

หวั ขอ ม. 5/2 ม.5/5
ชั้น

 คณุ ลักษณะอนั พงึ
ประสงค

ปญหา/อุปสรรค

 ความรคู วามสามารถ

 ทกั ษะกระบวนการ

 คุณลักษณะอันพงึ
ประสงค

แนวทางแกไข
 ความรูความสามารถ

 ทกั ษะกระบวนการ

หวั ขอ ม. 5/2 ม.5/5
ช้ัน
ลงชื่อ…………………………………………………
 คุณลักษณะอันพึง (……………………………………………………..)
ประสงค
ครูผูสอน

ความคิดเหน็ ของหัวหนา กลุมสาระการเรยี นรู

ลงชอ่ื …………………………………………………
(……………………………………………………..)

หัวหนา กลุมสาระการเรยี นรู

ความเหน็ ของรองผูอํานวยการกลุมบรหิ ารวิชาการ/ผูบ รหิ าร หรือผูทไ่ี ดรบั มอบหมาย

ลงชือ่ …………………………………………………
(……………………………………………………..)
ตําแหนง …………………………………………..



แผนการจัดการเรียนรทู ่ี 35

กลุมสาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร รายวชิ า ว32201 วชิ าฟส กิ สเพม่ิ เติม

หนว ยการเรียนรู 12 เรอื่ ง เสียง(ปรากฏการณดอปเพลอรและคลน่ื กระแทกของเสยี ง)

ช้ัน ม.5 เวลาเรยี น 2 คาบ

ครูผสู อน นศ.ปส.นศั รนู การนี า ครพู ่ีเล้ียง ครจู าตรุ งค พรหมสถิตย

โรงเรยี นคณะราษฎรบํารุง จงั หวัดยะลา สพม.15

1. มาตรฐานการเรยี นรู :
ว 5.2 เขาใจการเคล่ือนท่ีแบบฮารมอนิกสอยางงาย ธรรมชาติของคล่ืน เสียงและการไดยิน

ปรากฏการณที่เกี่ยวของกับเสยี ง แสงและการมองเหน็ ปรากฏการณท่เี ก่ยี วขอ งกับแสง รวมทงั้ นาํ ความรไู ป
ใชป ระโยชน
2. ผลการเรียนรู :

1. อธิบายการเกิดเสียง การเคล่ือนท่ีของเสียง ความสัมพันธระหวางคลื่นการกระจัดของอนุภาคกับ
คล่ืนความดัน ความสัมพันธระหวางอัตราเร็วของเสียงในอากาศท่ีข้ึนกับอุณหภูมิในหนวยองศาเซลเซียส
การสะทอน การหักเห การแทรกสอด การเลี้ยวเบน ของคล่ืนเสียง รวมทั้งคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ี
เกยี่ วขอ ง
3. จดุ เนน (สพฐ., สพม., โรงเรียน/อัตลักษณ)

มงุ มน่ั ในการศกึ ษาและการทาํ งาน
แสวงหาความรูเพื่อการแกปญ หา
มีทักษะการคดิ ขั้นสูง
4. สาระสําคัญ :

ปรากฏการณทางเสียง ไดแก คล่ืนน่ิง การส่ันพอง บีต (beats) ปรากฏการณดอปเพลอร (Doppler
effect)

คล่ืนน่ิงของเสียงเกิดจากการแทรกสอดของคลื่นเสียงอาพันธสองขบวนเคลื่อนท่ีสวนทางกัน ทําใหได
ยินเสียงดัง-คอยตลอดเวลา ตามตําแหนงปฏิบัพความดัน-บพั ความดัน ตามลําดับ โดยสองตําแหนงท่ีมีเสียงดงั
ถดั กันหรอื มีเสียงคอยถัดกนั มีระยะหา งเทากับครง่ึ หน่งึ ของความยาวคลน่ื

การสั่นพองของเสียงเกิดจากลําอากาศในทอถูกทําใหส่ันดวยเสียงที่มีความถ่ีเทากับความถ่ีธรรมชาติ
ของลํา อากาศในทอลําอากาศจะสั่นมากท่ีสุด และไดยินเสียงดังท่ีสุด ความถี่ที่ทําใหเกิดการส่ันพอง เรียกวา
ความถ่ีสั่นพอง หรือ ความถ่ีเรโซแนนซ (resonant frequency) สําหรับทอปลายปดหนึ่งดาน ความถ่ีสั่น
พองมีความสมั พนั ธก บั ความยาวของลําอากาศในทอ ตามสมการ

บีตของเสียงเกิดจากการรวมกันของคลื่นเสียงจากแหลงกําเนิดเสียง 2 แหลงที่มีความถ่ีตางกัน
เล็กนอยใหไดยินเสียงดังคอยสลับกันไปเปนจังหวะคงตัว โดยหูจะไดยินเสียงของการบีต เมื่อเสียงท้ังสองมี
ความถี่ตางกันไมเกิน 7 เฮิรตซ จํานวนคร้ังที่ไดยินเสียงดังในหนึ่งวินาทีเรียกวา ความถี่บีต (beat

frequency) ซงึ่ หาไดจ าก =
ปรากฏการณดอปเพลอรของเสียงเปนปรากฏการณท่ีผูฟงไดยินเสียงมีความถี่เปล่ียนไปจากความถ่ี

ของแหลงกาํ เนิดเสียง ซ่งึ เกดิ จากแหลง กาํ เนดิ เสยี งหรอื ผฟู ง เคลอ่ื นท่สี มั พทั ธกนั
เมื่อแหลงกําเนิดคลื่นเสียงมีอัตราเร็วมากกวาอัตราเร็วเสียง ทําใหหนาคล่ืนเสียงอัดตัวกัน เกิดคล่ืน

กระแทก (shock wave) และเรียกหนาคลื่นวา หนาคล่ืนกระแทก โดยหนาคล่ืนกระแทกมีพลังงานสูง ทําให
ผูท่ีอยู ณ ตําแหนงขณะหนาคล่ืนกระแทกเคล่ือนท่ีผานไดยินเสียงดังมาก เรียกวา ซอนิกบูม (sonic boom)
โดยแนวหนา คลืน่ กระแทกทาํ มุมกบั แนวการเคล่อื นที่ของแหลงกําเนดิ เรยี กวา มุมมคั (Mach angle)

ความรูเก่ียวกับเสียงนํา ไปอธิบายและประยุกตใชในดานตาง ๆ เชน การเปลงเสียงของมนุษย การ
ทาํ งานของเคร่ืองดนตรี การปรับเทียบเสยี งเครอ่ื งดนตรี การประมง การแพทยธรณวี ทิ ยา อุตสาหกรรม

5. จดุ ประสงคการเรียนรู
5.1 ดา นความรู (Knowledge; K)
1) อธิบายปรากฏการณด อปเพลอรและคล่นื กระแทกของเสียงได
5.2 ดานทักษะกระบวนการ (Process; P)
1) คํานวณหาปริมาณตางๆ ที่เกย่ี วขอ งกบั คล่นื กระแทกเม่ือกาํ หนดสถานการณมาใหได
5.3 ดา นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค (Attitude; A)
1) เปน ผูมคี วามรับผิดชอบและเปน ผมู ีความมงุ มัน่ ในการทํางาน

6. สมรรถนะสําคัญ :
สมรรถนะสําคัญของผูเรียนหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรแกนกลาง

การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน มุงใหผูเรยี นเกดิ สมรรถนะสาํ คัญ 5 ประการ ดังน้ี
1. ความสามารถในการสอื่ สาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกป ญ หา
4. ความสามารถในการใชท กั ษะชีวติ
5. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี

7. บรู ณาการ อาเซยี น ทอ งถิ่น
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สงเสริมใหนักเรียนเรียนรูคําศัพทเฉพาะภาษาอังกฤษที่เก่ียวกับเสียง และเสริมแนวทางการนําความรูเรื่อง
เสียง ไปใชอธบิ ายปรากฏการณท ่เี กิดขน้ึ และแกป ญ หาในทอ งถนิ่

8. สอื่ /แหลงเรยี นรู :

8.1 หนงั สอื เรียนรายวิชาเพิ่มเตมิ วิทยาศาสตร (ฟส ิกส) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 5 เลม 4 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.

2560)

8.2 อนิ เทอรเ น็ต

9.การวัดและประเมนิ ผล :

จุดประสงคการเรยี นรู วิธกี ารวัด เครอ่ื งมือ เกณฑก ารประเมิน

ดา นความรู (K)

1) อธบิ ายปรากฏการณดอปเพลอรและ 1) สังเกตบทบาท 1) แบบประเมินกจิ กรรม 1) นกั เรยี นสามารถ

คลืน่ กระแทกของเสยี งได สมมติ เรือ่ ง 2) ใบกิจกรรม เรอ่ื ง ตอบคาํ ถามในใบ

ปรากฏการณ ปรากฏการณดอปเพลอร กิจกรรมไดร ะดบั ดี

ดอปเพลอร และคล่นื กระแทก ผา นเกณฑ

2) ตรวจใบกจิ กรรม

เร่ือง ปรากฏการณ

ดอปเพลอรแ ละคลน่ื

กระแทก

ดา นกระบวนการ (P)

1) คาํ นวณหาปริมาณตา งๆ ที่เกีย่ วของ 1) ตรวจใบกิจกรรม 1) แบบประเมินกิจกรรม 1) นักเรยี นสามารถ

กบั คลน่ื กระแทกเมื่อกําหนดสถานการณ เรอื่ ง ปรากฏการณ 2) ใบกิจกรรม เรอ่ื ง ทาํ แบบฝก หัดได

มาใหได ดอปเพลอรและคลื่น ปรากฏการณดอปเพลอร ระดบั ดี ผานเกณฑ

กระแทก และคลืน่ กระแทก

ดานคุณลกั ษณะ (A) 1) ตรวจใบกิจกรรม เรือ่ ง 1) แบบประเมนิ 1) นกั เรียนทําภาระ
1) เปน ผูม ีความมุงม่นั ในการทาํ งาน ปรากฏการณ กจิ กรรม งานทไ่ี ดร บั มอบหมาย
ดอปเพลอรแ ละคลืน่ ไดร ะดับดี ผา นเกณฑ
กระแทก

10. กิจกรรมการเรียนรู :
ขนั้ ท่ี 1 ขน้ั สรางความสนใจ
1.1 ครูต้ังปญหาเกี่ยวกับการไดยินเสียงจากแหลงกําเนิดเสียงที่อยูน่ิงและกําลังเคลือ่ นที่ เชน
หวูดรถไฟขณะเลน เขา สูสถานี เสียงรถไซเรนท่ีแลน ผานนกั เรียน
1.2 ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงความแตกตางของเสียงท่ีไดยิน เพื่อนําไปสูขอสรุปวา
เสียงที่ไดยินจากแหลงกําเนิดเสียงที่กําลังเคล่ือนที่จะมีระดับเสียงเปลี่ยนไปจากเสียงที่ไดยินจาก
แหลง กําเนิดเสยี งทีอ่ ยนู ิ่ง
1.3 ครตู ง้ั ปญ หาใหนกั เรียนคดิ วา เหตใุ ดจึงเปน เชนน้ัน เพอ่ื นําเขาสกู ิจกรรม

ขนั้ ที่ 2 ขนั้ สาํ รวจและคน หา
2.1 จัดกลุม นักเรียน จํานวน 8 กลุม โดยใหส มาชิกแตล ะกลมุ มคี วามรคู วามสามารถท่ีคละกนั

กลุมนีจ้ ะเปน กลุม ประจาํ
2.2 ครูจดั แบงเนื้อหาทีจ่ ะเรยี นเปน เน้ือหายอย ๆ เทา กบั จาํ นวนกลุมของนักเรียน
2.3 ใหแ ตล ะกลมุ จับฉลากหมายเลขของเน้ือหา กลุมละ 1 ฉลาก เพอื่ รบั ผิดชอบในการศึกษา

หัวขอ ยอย
2.4 ใหนกั เรยี นแตล ะกลุม ศกึ ษาและทําความเขา ใจเนื้อหาตามหมายเลขท่ีตวั เองได ซึง่ ครแู บง

เนือ้ หาใหตามหนงั สือเรียน
กลุมท่ี 1 แหลงกาํ เนดิ เสยี งเคลอ่ื นทีเ่ ขา หาผูส ังเกตทอ่ี ยนู ่งิ
กลุมที่ 2 แหลง กําเนดิ เสยี งเคลือ่ นที่ออกหาผสู งั เกตท่ีอยูน่งิ
กลุมท่ี 3 ผูสังเกตเคลอ่ื นทเ่ี ขาหาแหลง กาํ เนิดเสยี งท่ีอยูน่ิง
กลุม ท่ี 4 ผูส งั เกตเคลือ่ นที่ออกจากแหลง กําเนดิ เสียงท่ีอยนู งิ่
กลุม ที่ 5 แหลงกาํ เนดิ เสียงและผูสังเกตเคลอ่ื นทเ่ี ขา หากนั
กลมุ ที่ 6 แหลง กําเนดิ เสยี งและผสู ังเกตเคลอ่ื นท่ีออกจากกนั
กลุมที่ 7 แหลงกาํ เนดิ เสยี งเคลอื่ นทตี่ ามผสู ังเกต
กลุมท่ี 8 ผูสังเกตเคลอื่ นที่ตามแหลง กําเนิดเสียง

2.5 นกั เรียนแตล ะกลุม ทศี่ กึ ษาและทาํ ความเขาใจเนื้อหา (ใชเวลา 10 นาที)
2.6 นักเรียนแตละกลุมชวยกันสรุปความรูที่ไดโดยออกมาแสดงบทบาทสมมติ พรอมเขียน
สมการหาความถีผ่ ูสงั เกตใหถกู ตอง

ขนั้ ที่ 3 ข้ันอธิบายและลงขอสรุป
3.1 ครนู ํานักเรียนอภปิ รายเพอื่ นาํ ไปสูการสรุปโดยใชคําถามตอ ไปน้ี

1) จงอธิบายความหมายของปรากฏการณดอปเพลอร (Doppler effect) (แนวการ
ตอบการที่เราไดยินเสียงจากแหลงกําเนิดเสียงมีความถ่ีเปล่ียนไปจากเดิมเนื่องจากการเคลื่อนที่
สมั พทั ธระหวางแหลงกําเนิดเสียงและผสู ังเกต)

2) อธบิ ายปรากฏการณด อปเพลอร ในกรณที แ่ี หลง กําเนดิ เสียงเคลื่อนที่เขาหรือออก
ผูสังเกตอยูนิ่ง ผูสังเกตจะไดยินเสียงที่มีความถ่ีเปนอยางไร (แนวการตอบ เม่ือแหลงกําเนิดเสียง
เคลอ่ื นทีเ่ ขา หาผูส ังเกต ผูสังเกตจะไดย ินเสยี งท่ีมคี วามถี่มากขึ้น แตเ มื่อแหลง กําเนิดเสียงเคลอื่ นท่ีออก
จากผูสงั เกตผสู งั เกตจะไดย ินเสียงทม่ี คี วามถี่นอยลง)

3) อธิบายปรากฏการณดอปเพลอร ในกรณีท่ีแหลงกําเนิดเสียงอยูน่ิง ผูสังเกต
เคล่ือนที่เขาหรือออก ผูสังเกตจะไดยินเสียงที่มีความถี่เปนอยางไร (แนวการตอบ เมื่อแหลงกําเนิด
เสียงอยูนิ่ง ผูสังเกตที่เคล่ือนท่ีเขาหาแหลงกําเนิดเสียงจะไดยินเสียงที่มีความถี่มากขึ้น แตผูสังเกตท่ี
เคลอื่ นท่อี อกจากแหลงกําเนิดเสียงจะไดย นิ เสียงท่มี ีความถีน่ อยลง)

4) อธิบายปรากฏการณดอปเพลอร ในกรณที แ่ี หลง กําเนิดเสยี งและผสู ังเกตเคลื่อนท่ี
ผสู งั เกตจะไดย ินเสยี งที่มีความถ่ีเปนอยางไร (แนวการตอบ แหลงกาํ เนิดเสยี งและผูส ังเกตเคล่ือนท่ีเขา
หากนั ผสู งั เกตจะไดย ินสยี งท่ีมคี วามถี่มากขึ้น แตถ า แหลง กํานิดเสียงและผูส ังเกตเคล่ือนท่ีออกจากกัน
ผสู ังเกตจะไดยินเสียงท่มี ีความถนี่ อ ยลง)

3.2 ครูและนักเรียนรว มกันสรปุ ความรู เรอ่ื ง ปรากฏการณด อปเพลอร และสมการท่เี กยี่ วของ

ขัน้ ที่ 4 ขั้นขยายความรู
4.1 ครูถามตอไปวา เวลาเรือหางยาววิ่งในน้ําดวยความเร็วสูง ลักษณะของคลื่นน้ําจะเปน

อยางไร (ทง้ิ ชวงใหนักเรียนคดิ ) (นกั เรยี นอาจจะตอบไดวา ลักษณะของหนา คลน่ื เปนรปู ทรงกรวย)
4.2 เม่ือเคร่ืองบินไอพนบินผานเราไป เราจะไดยินเสียงเปนอยางไร (ท้ิงชวงใหนักเรียนคิด)

(นกั เรียนอาจจะตอบไดว า เสียงดังมาก บางทไี ดย นิ แตเสียง มองไมเ ห็นเครอื่ งบิน)
4.3 ครูอธบิ ายความรเู พม่ิ เติม เรอื่ ง เรดาร (radar : radio detection and ranging)
4.4 ครอู ธิบายความรูเพม่ิ เติม เรื่อง เลขมัค (Mach number)

ขนั้ ที่ 5 ข้นั ประเมนิ ผล
5.1 นักเรียนแตละกลุมนําเสนอบทบาทสมมติ
5.2 นักเรียนทําใบกิจกรรม เรอื่ ง ปรากฏการณดอปเพลอรแ ละคลืน่ กระแทก

11. บนั ทึกหลังสอน :

หวั ขอ ม. 5/2 ม.5/5

ชั้น
ผลการจัดการเรยี นการสอน

หวั ขอ ม. 5/2 ม.5/5
ช้นั

 ความรคู วามสามารถ

 ทักษะกระบวนการ

 คณุ ลักษณะอนั พงึ
ประสงค

ปญหา/อุปสรรค

 ความรคู วามสามารถ

 ทักษะกระบวนการ

 คณุ ลกั ษณะอันพงึ
ประสงค

แนวทางแกไข
 ความรคู วามสามารถ

หวั ขอ ม. 5/2 ม.5/5
ชน้ั
ลงชอื่ …………………………………………………
 ทักษะกระบวนการ (……………………………………………………..)

 คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ครผู ูสอน
ประสงค

ความคดิ เหน็ ของหัวหนา กลุมสาระการเรยี นรู

ลงช่ือ…………………………………………………
(……………………………………………………..)

หวั หนา กลมุ สาระการเรยี นรู

ความเห็นของรองผูอาํ นวยการกลมุ บรหิ ารวิชาการ/ผูบรหิ าร หรอื ผทู ีไ่ ดรับมอบหมาย

ลงชอื่ …………………………………………………
(……………………………………………………..)
ตาํ แหนง…………………………………………..

ชอ่ื ช้ัน เลขที่ ‘

ใบกจิ กรรม เรือ่ ง ปรากฏการณด อปเพลอรและคลื่นกระแทก

จงคาํ ตอบคําถามใหถกู ตองสมบูรณ

1) จงอธบิ ายความหมายของปรากฏการณด อปเพลอร (Doppler effect)

ตอบ แนวการตอบการที่เราไดยินเสียงจากแหลงกําเนิดเสียงมีความถี่เปล่ียนไปจากเดิมเนื่องจากการเคล่ือนท่ี

สัมพทั ธระหวา งแหลงกําเนดิ เสียงและผสู ังเกต ท

แนวการตอบการทเ่ี ราไดยนิ เสียงจากแหลง กําเนิดเสยี งมีความถเ่ี ปลี่ยนไปจากเดมิ เน่ืองจากการเคลือ่ นท่ี

2) อธิบายปรากฏการณดอปเพลอร ในกรณีที่แหลงกําเนิดเสียงเคลื่อนที่เขาหรือออก ผูสังเกตอยูน่ิง ผูสังเกตจะไดยิน

เสยี งทีม่ ีความถเี่ ปนอยา งไร
ตอบ เมื่อแหลงกําเนิดเสียงเคล่ือนที่เขาหาผูสังเกต ผูสังเกตจะไดยินเสียงที่มีความถี่มากขึ้น แตเมื่อแหลแนวการ

ตอบการท่ีเราไดยินเสียงจากแหลงกําเนิดเสียงมีความถ่ีเปล่ียนไปจากเดิมเน่ืองจากการเคลื่อนท่ีงกําเนิดเสียง

เคลื่อนทอี่ อกจากผูสงั เกต ผูส ังเกตจะไดย ินเสยี งทีม่ คี วามถี่นอยลง

3) อธิบายปรากฏการณดอปเพลอร ในกรณีที่แหลงกําเนิดเสียงอยูน่ิง ผูสังเกตเคลื่อนที่เขาหรือออก ผูสังเกตจะไดยิน
เสียงทีม่ ีความถเ่ี ปน อยา งไร
ตอบ เม่ือแหลงกําเนิดเสียงอยูน่ิง ผูสังเกตท่ีเคลื่อนท่ีเขาหาแหลงกําเนิดเสียงจะไดยินเสียงที่มีความถ่ีมากขึ้น แตผู

สังเกตทีเ่ คลือ่ นท่ีออกจากแหลง กาํ เนดิ เสียงจะไดย นิ เสียงทมี่ ีความถน่ี อยลง ท

4) อธิบายปรากฏการณดอปเพลอร ในกรณีที่แหลงกําเนิดเสียงและผูสังเกตเคล่ือนท่ีผูสังเกตจะไดยินเสียงท่ีมีความถี่

เปน อยางไร

ตอบ แหลงกําเนิดเสียงและผูสังเกตเคล่ือนท่ีเขาหากัน ผูสังเกตจะไดยินสียงท่ีมีความถ่ีมากขึ้น แตถาแหลงกํานิด

เสยี งและผูสังเกตเคล่ือนท่ีออกจากกนั ผูสงั เกตจะไดยินเสยี งทม่ี คี วามถ่ีนอ ยลง ท

5) จงอธิบายความหมายของคล่นื กระแทก

ตอบ การเคล่ือนท่ีของแหลงกําเนิดเสียงท่ีมีอั แนวการตอบการท่ีเราไดยินเสียงจากแหลงกําเนิดเสียงมีความถ่ี
เปล่ียนไปจากเดิมเนื่องจากการเคล่ือนท่ีตราเร็วนอยกวาอัตราเร็วเสียงในอากาศ จะเกิดอะไรข้ึนถาแหลงกําเนิด
เสยี งเคลอ่ื นที่ดว ยอัตราเร็ว ( ) ท่ีมากกวา อตั ราเรว็ เสียงในอากาศ ( )

6) เคร่ืองบินลําหนึ่งบินดวยความเร็ว 510 m/s ในแนวระดับเหนือพ้ืนดิน ถาอัตราเร็วเสียงในอากาศขณะน้ันเทากับ 340
m/s มมุ ระหวา งหนา คลน่ื กระแทกกับแนวการเคลอื่ นทีข่ องเครื่องบนิ มคี า เทาไร

วิธีทํา sin = = = 0.66 ท

= sin 0.66 แนวการตอบการท่ีเราไดยินเสียงจากแหลงกําเนิดเสียงมี

ความถี่เปล่ยี นไปจากเดมิ เนอื่ งจากการเคลือ่ นที่ ท

7) เครื่องบินลําหน่ึงบินดวยความเร็ว 540 m/s ในแนวระดับเหนือพื้นดิน ถาอัตราเร็วเสียงในอากาศขณะนั้นเทากับ 300
m/s มุมระหวา งหนา คลนื่ กระแทกกบั แนวการเคลือ่ นท่ขี องเคร่ืองบนิ มคี าเทาไร

วิธที ํา sin = = = 0.56 ท
= sin 0.66 ท

ชอ่ื ชน้ั เลขท่ี ‘

เฉลยใบกิจกรรม เร่ือง ปรากฏการณดอปเพลอรและคลน่ื กระแทก

จงคาํ ตอบคาํ ถามใหถกู ตอ งสมบูรณ

1) จงอธบิ ายความหมายของปรากฏการณด อปเพลอร (Doppler effect)
ตอบ แนวการตอบการที่เราไดยินเสียงจากแหลงกําเนิดเสียงมีความถ่ีเปล่ียนไปจากเดิมเน่ืองจากการเคลื่อนที่

สมั พัทธระหวา งแหลงกําเนิดเสยี งและผสู ังเกต ท

2) อธิบายปรากฏการณดอปเพลอร ในกรณีท่ีแหลงกําเนิดเสียงเคล่ือนท่ีเขาหรือออก ผูสังเกตอยูนิ่ง ผูสังเกตจะไดยนิ
เสียงที่มคี วามถี่เปน อยางไร

ตอบ เมื่อแหลงกําเนิดเสียงเคล่ือนที่เขาหาผูสังเกต ผูสังเกตจะไดยินเสียงท่ีมีความถี่มากข้ึน แตเม่ือแหลงกําเนิด

เสยี งเคล่ือนท่อี อกจากผูสงั เกต ผสู งั เกตจะไดย ินเสียงทม่ี คี วามถ่ีนอยลง ท

3) อธิบายปรากฏการณดอปเพลอร ในกรณีท่ีแหลงกําเนิดเสียงอยูน่ิง ผูสังเกตเคล่ือนที่เขาหรือออก ผูสังเกตจะไดยนิ

เสียงทม่ี คี วามถี่เปนอยางไร

ตอบ เม่ือแหลงกําเนิดเสียงอยูนิ่ง ผูสังเกตท่ีเคล่ือนท่ีเขาหาแหลงกําเนิดเสียงจะไดยินเสียงที่มีความถี่มากข้ึน แตผู

สงั เกตทเ่ี คลื่อนทอ่ี อกจากแหลงกําเนิดเสยี งจะไดยินเสยี งทมี่ ีความถ่ีนอยลง ท

4) อธิบายปรากฏการณดอปเพลอร ในกรณีท่ีแหลงกําเนิดเสียงและผูสังเกตเคล่ือนที่ผูสังเกตจะไดยินเสียงที่มีความถี่
เปนอยางไร
ตอบ แหลงกําเนิดเสียงและผูสังเกตเคล่ือนท่ีเขาหากัน ผูสังเกตจะไดยินสียงท่ีมีความถี่มากข้ึน แตถาแหลงกํานิด

เสียงและผสู ังเกตเคล่อื นทอี่ อกจากกนั ผสู ังเกตจะไดย ินเสยี งทมี่ คี วามถี่นอยลง ท

5) จงอธิบายความหมายของคล่ืนกระแทก
ตอบ การเคล่ือนท่ีของแหลงกําเนิดเสียงท่ีมีอัตราเร็วนอยกวาอัตราเร็วเสียงในอากาศ จะเกิดอะไรข้ึนถา
แหลงกาํ เนดิ เสียงเคลอื่ นท่ีดว ยอัตราเรว็ ( ) ท่มี ากกวา อตั ราเร็วเสยี งในอากาศ ( )

6) เครื่องบินลําหนึ่งบินดวยความเร็ว 510 m/s ในแนวระดับเหนือพื้นดิน ถาอัตราเร็วเสียงในอากาศขณะนั้นเทากับ 340
m/s

มุมระหวา งหนา คลน่ื กระแทกกับแนวการเคลอ่ื นที่ของเคร่ืองบนิ มีคาเทา ไร

วิธีทาํ sin = = = 0.66 ท
= sin 0.66 ท

7) เครื่องบินลําหนึ่งบินดวยความเร็ว 540 m/s ในแนวระดับเหนือพ้ืนดิน ถาอัตราเร็วเสียงในอากาศขณะนั้นเทากับ 300
m/s

มุมระหวางหนา คลื่นกระแทกกบั แนวการเคลื่อนทข่ี องเคร่ืองบนิ มีคา เทา ไร

วิธีทาํ sin = = = 0.56 ท
= sin 0.56 ท

แผนการจัดการเรียนรทู ี่ 36 รายวิชา ว32201 วิชาฟส ิกสเ พ่ิมเตมิ
กลมุ สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร ชนั้ ม.5 เวลาเรียน 1 คาบ
หนวยการเรียนรู 12 เรอ่ื ง เสียง(การประยุกตใ ชความรเู รือ่ งเสยี ง)
ครูผสู อน นศ.ปส.นศั รนู การนี า ครพู เ่ี ล้ยี ง ครจู าตรุ งค พรหมสถิตย
โรงเรยี นคณะราษฎรบาํ รงุ จงั หวดั ยะลา สพม.15

1. มาตรฐานการเรยี นรู :
ว 5.2 เขาใจการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกสอยางงาย ธรรมชาติของคลื่น เสียงและการไดยิน

ปรากฏการณท ีเ่ กีย่ วขอ งกบั เสยี ง แสงและการมองเหน็ ปรากฏการณทีเ่ กีย่ วขอ งกบั แสง รวมทั้งนาํ ความรไู ป
ใชประโยชน
2. ผลการเรียนรู :

1. อธิบายการเกิดเสียง การเคล่ือนที่ของเสียง ความสัมพันธระหวางคลื่นการกระจัดของอนุภาคกับ
คล่ืนความดัน ความสัมพันธระหวางอัตราเร็วของเสียงในอากาศท่ีข้ึนกับอุณหภูมิในหนวยองศาเซลเซียส
การสะทอน การหักเห การแทรกสอด การเลี้ยวเบน ของคล่ืนเสียง รวมท้ังคํานวณปริมาณตาง ๆ ที่
เกย่ี วขอ ง
3. จุดเนน (สพฐ., สพม., โรงเรยี น/อัตลักษณ)

มงุ มนั่ ในการศกึ ษาและการทํางาน
แสวงหาความรเู พ่ือการแกป ญ หา
มที กั ษะการคิดขัน้ สูง
4. สาระสําคัญ :

ปรากฏการณทางเสียง ไดแก คล่ืนนิ่ง การสั่นพอง บีต (beats) ปรากฏการณดอปเพลอร (Doppler
effect)

คล่ืนนิ่งของเสียงเกิดจากการแทรกสอดของคลื่นเสียงอาพันธสองขบวนเคล่ือนท่ีสวนทางกัน ทําใหได
ยินเสียงดัง-คอยตลอดเวลา ตามตําแหนงปฏบิ ัพความดัน-บัพความดัน ตามลําดับ โดยสองตําแหนงที่มีเสียงดงั
ถดั กนั หรือมีเสยี งคอยถัดกนั มรี ะยะหา งเทา กับคร่ึงหนง่ึ ของความยาวคลน่ื

การส่ันพองของเสียงเกิดจากลําอากาศในทอถูกทําใหสั่นดวยเสียงท่ีมีความถ่ีเทากับความถ่ีธรรมชาติ
ของลํา อากาศในทอลําอากาศจะส่ันมากท่ีสุด และไดยินเสียงดังที่สุด ความถี่ที่ทําใหเกิดการสั่นพอง เรียกวา
ความถี่ส่ันพอง หรือ ความถ่ีเรโซแนนซ (resonant frequency) สําหรับทอปลายปดหน่ึงดาน ความถี่ส่ัน
พองมคี วามสัมพนั ธกบั ความยาวของลําอากาศในทอ ตามสมการ

บีตของเสียงเกิดจากการรวมกันของคลื่นเสียงจากแหลงกําเนิดเสียง 2 แหลงท่ีมีความถี่ตางกัน
เล็กนอยใหไดยินเสียงดังคอยสลับกันไปเปนจังหวะคงตัว โดยหูจะไดยินเสียงของการบีต เมื่อเสียงทั้งสองมี

ความถ่ีตางกันไมเกิน 7 เฮิรตซ จํานวนครั้งท่ีไดยินเสียงดังในหนึ่งวินาทีเรียกวา ความถ่ีบีต (beat

frequency) ซ่งึ หาไดจ าก =
ปรากฏการณดอปเพลอรของเสียงเปนปรากฏการณท่ีผูฟงไดยินเสียงมีความถ่ีเปล่ียนไปจากความถี่

ของแหลงกาํ เนดิ เสยี ง ซึ่งเกดิ จากแหลง กําเนดิ เสียงหรือผูฟงเคลื่อนท่ีสัมพทั ธกัน
เม่ือแหลงกําเนิดคลื่นเสียงมีอัตราเร็วมากกวาอัตราเร็วเสียง ทําใหหนาคล่ืนเสียงอัดตัวกัน เกิดคล่ืน

กระแทก (shock wave) และเรียกหนาคล่ืนวา หนาคลื่นกระแทก โดยหนาคลื่นกระแทกมีพลังงานสูง ทําให
ผูที่อยู ณ ตําแหนงขณะหนาคล่ืนกระแทกเคลื่อนที่ผานไดยินเสียงดังมาก เรียกวา ซอนิกบูม (sonic boom)
โดยแนวหนาคลื่นกระแทกทาํ มุมกับแนวการเคล่อื นที่ของแหลงกาํ เนดิ เรียกวา มมุ มัค (Mach angle)

ความรูเก่ียวกับเสียงนํา ไปอธิบายและประยุกตใชในดานตาง ๆ เชน การเปลงเสียงของมนุษย การ
ทํางานของเคร่ืองดนตรี การปรับเทียบเสียงเครอื่ งดนตรี การประมง การแพทยธ รณวี ทิ ยา อุตสาหกรรม

5. จุดประสงคการเรียนรู

5.1 ดานความรู (Knowledge; K)

1) อธิบายความรูเกีย่ วกับเสียงนําไปอธิบายและประยกุ ตใชในดา นตา งๆ ได

5.2 ดานทกั ษะกระบวนการ (Process; P)

1) นกั เรียนสามารถจัดกระทาํ และสื่อความหมายของขอมูลทศี่ กึ ษาคน ควาได

5.3 ดา นคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค (Attitude; A)

1) เปน ผมู ีความรบั ผิดชอบและเปน ผูม คี วามมุงมนั่ ในการทํางาน

6. สมรรถนะสาํ คญั :

สมรรถนะสําคัญของผูเรียนหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรแกนกลาง

การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน มุงใหผูเรยี นเกิดสมรรถนะสําคญั 5 ประการ ดงั นี้

1. ความสามารถในการส่อื สาร

2. ความสามารถในการคดิ

3. ความสามารถในการแกปญ หา

4. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวติ

5. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี

7. บรู ณาการ

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง อาเซียน ทองถ่ิน

สงเสริมใหนักเรียนเรียนรูคําศัพทเฉพาะภาษาอังกฤษท่ีเกี่ยวกับเสียง และเสริมแนวทางการนําความรูเรื่อง
เสยี ง ไปใชอธิบายปรากฏการณท ่เี กดิ ขนึ้ และแกป ญหาในทอ งถิ่น

8. ส่ือ/แหลง เรยี นรู :

8.1 หนังสอื เรียนรายวิชาเพิม่ เตมิ วิทยาศาสตร (ฟสิกส) ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 5 เลม 4 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.

2560)

8.2 อินเทอรเ นต็

9.การวัดและประเมินผล :

จุดประสงคการเรียนรู วธิ ีการวัด เคร่ืองมือ เกณฑก ารประเมนิ

ดานความรู (K)

1) อธบิ ายความรูเ กย่ี วกับเสียงนําไปอธิบาย 1) ตรวจใบสรปุ องค 1) แบบประเมิน 1) นักเรยี นสามารถ
สรปุ เนอ้ื หาทศี่ ึกษา
และประยุกตใ ชใ นดา นตา งๆ ได ความรจู ากการศึกษา กิจกรรม และทาํ ความเขาใจได
ระดบั ดี ผา นเกณฑ
คน ควา

ดานกระบวนการ (P)

1) นกั เรียนสามารถจดั กระทาํ และสือ่ 1) ตรวจใบสรุปองค 1) แบบประเมิน 1) นกั เรียนสามารถ
ความหมายของขอ มลู ที่ศึกษาคนควา ได ความรจู ากการศกึ ษา กจิ กรรม สรุปเน้อื หาท่ศี ึกษา
คน ควา และทาํ ความเขาใจได
ดา นคณุ ลักษณะ (A) ระดบั ดี ผา นเกณฑ

1) เปนผูม คี วามรับผิดชอบและ 1) ตรวจใบสรุปองค 1) แบบประเมิน 1) นักเรียนทาํ ภาระ
เปนผูม คี วามมุง มั่นในการทาํ งาน ความรจู ากการศึกษา กจิ กรรม งานที่ไดร ับมอบหมาย
คนควา ไดร ะดบั ดี ผานเกณฑ

10. กิจกรรมการเรยี นรู :
ขนั้ ที่ 1 ขน้ั สรา งความสนใจ
1.1 ครูทบทวนความรูเดิม เรื่อง ธรรมชาติของเสียง การไดยินเสียง และปรากฏการณ
เกี่ยวกบั เสยี ง

ข้นั ท่ี 2 ข้ันสํารวจและคน หา
2.1 นักเรยี นทุกคนศึกษาคนควาและทําความเขาใจเนื้อหา เรื่อง การประยุกตใชค วามรเู ร่ือง

เสียง
ในหนงั สือเรียน หนา 59-63 แลวสรปุ องคค วามรจู ากการศึกษาคนควาลงใน กระดาษ A4 ท่คี รูแจกให

ขน้ั ที่ 3 ข้ันอธบิ ายและลงขอสรปุ
3.1 ครูสมุ นกั เรยี น 2 คน ออกมานาํ เสนอผลงานของตนเองหนา ช้นั เรยี น

3.2 นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายและสรุปการศึกษาคนควาจนไดขอสรุป เรื่อง การ
ประยุกตใ ชค วามรเู ร่อื งเสียง

ขนั้ ที่ 4 ขั้นขยายความรู
4.1 ครอู ธบิ ายความรเู พ่ิมเตมิ เกย่ี วกบั คําถามทา ยบท หนา 67 - 69

ขัน้ ที่ 5 ข้นั ประเมินผล
5.1 นักเรียนสง สรปุ องคค วามรูจากการศึกษาคน ควา

11. บนั ทกึ หลงั สอน : ม. 5/2 ม.5/5
หัวขอ

ชัน้
ผลการจัดการเรียนการสอน

 ความรคู วามสามารถ

 ทักษะกระบวนการ

 คณุ ลักษณะอันพงึ
ประสงค

ปญ หา/อุปสรรค

 ความรคู วามสามารถ

 ทักษะกระบวนการ

หวั ขอ ม.5/5
ม. 5/2

ชน้ั

 คณุ ลักษณะอันพึง
ประสงค

แนวทางแกไ ข
 ความรูความสามารถ

 ทกั ษะกระบวนการ

 คณุ ลักษณะอนั พงึ
ประสงค

ลงชอ่ื …………………………………………………
(……………………………………………………..)

ครูผสู อน

ความคดิ เหน็ ของหัวหนา กลุมสาระการเรยี นรู

ลงช่ือ…………………………………………………
(……………………………………………………..)

หวั หนา กลมุ สาระการเรยี นรู

ความเห็นของรองผูอาํ นวยการกลมุ บรหิ ารวิชาการ/ผูบรหิ าร หรอื ผทู ีไ่ ดรับมอบหมาย

ลงชอื่ …………………………………………………
(……………………………………………………..)
ตาํ แหนง…………………………………………..


Click to View FlipBook Version