The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

(e-book) รายงานผลการดำเนินงาน 4 ปี 2561-2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by seesura.j, 2021-09-27 22:44:18

(e-book) รายงานผลการดำเนินงาน 4 ปี 2561-2564

(e-book) รายงานผลการดำเนินงาน 4 ปี 2561-2564

ECONOMICS

KASETSART UNIVERSITY

ECONOMICS ECONOMICS ECONOMICS

KASETSART UNIVERSITY KASETSART UNIVERSITY KASETSART UNIVERSITY

ECONOMICS ECONOMICS ECONOMICS

KASETSART UNIVERSITY KASETSART UNIVERSITY KASETSART UNIVERSITY

ECONOMICS ECONOMICS ECONOMICS

KASETSART UNIVERSITY KASETSART UNIVERSITY KASETSART UNIVERSITY

ECONOMICS ECONOMICS ECONOMICS

KASETSART UNIVERSITY KASETSART UNIVERSITY KASETSART UNIVERSITY

ECONOMICS ECONOMICS ECONOMICS

KASETSART UNIVERSITY KASETSART UNIVERSITY KASETSART UNIVERSITY

รายงานผลประจำ�ปี 2561-2564 NNOCESTT

2 44

สารคณบดี ผลการดำ�เนินงานตามพันธกิจ

4 44

บทสรุปผู้บริหาร ด้านวิชาการ

ว8ิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ 65

และเป้าประสงค์ ค่านิยมองค์กร ด้านการพัฒนานิสิต

10 9ด้า2นวิเทศสัมพันธ์
112
คณะผู้บริหาร
ด้านการวิจัย
1นโ4ยบายและ
123
แนวทางการบริหาร
ด้านการบริการทางวิชาการ
16
129
ผลงานเด่น
ด้านการบริหารและการจัดการ
4ข้อ0มูลทั่วไป
129

ดา้ นทรพั ยากรบคุ คล

137

ด้านการเงิน

141

ด้านแผนและพัฒนาองค์กร

ด1้า5น5กายภาพ

สารจากคณบดี นบั เปน็ เวลา 4 ปี ทดี่ ฉิ นั ไดร้ บั การแตง่ ตงั้ ใหด้ �ำ รงต�ำ แหนง่ คณบดี
คณะเศรษฐศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เพอ่ื ใหก้ ารบรหิ ารงานของ
คณะเศรษฐศาสตรด์ �ำ เนินไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย อาศัยอ�ำ นาจตามความ
ในมาตรา 42 วรรคหนึ่งแหง่ พระราชบัญญัติมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
พ.ศ. 2558 และโดยมตสิ ภามหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตรใ์ นการประชมุ ครง้ั
ท่ี 9/2560 เม่อื วนั จนั ทร์ที่ 30 ตลุ าคม พ.ศ. 2560
ดฉิ นั พรอ้ มดว้ ย ทมี งานผบู้ รหิ ารคณะ รองคณบดี ผชู้ ว่ ยคณบดี
หวั หนา้ ภาควชิ าหวั หนา้ ส�ำ นกั งานเลขานกุ ารคณะคณะกรรมการประจ�ำ คณะ
และผทู้ รงคณุ วุฒิ ตลอดจนบุคลากรของคณะ ช่วยกนั ท�ำ งานเพ่ือพฒั นา
คณะเศรษฐศาสตร์ ในสภาวการณท์ ส่ี งั คมและประเทศ มกี ารเปลยี่ นแปลง
อย่างรวดเร็วทั้งการศึกษา สภาพแวดล้อม เทคโนโลยี และโดยเฉพาะ
ในปี 2563-2564 ท่ีมีการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา2019
(COVID-19) อนั สง่ ผลใหก้ ารด�ำ รงชวี ติ เปน็ แบบวถิ ชี วี ติ ใหม่ (New normal)
น้ัน การดำ�เนินงานของคณะในช่วง 4 ปีท่ผี า่ นมา (พ.ศ. 2560 - 2564)
ไดม้ งุ่ เนน้ การพฒั นาคณะ โดยพยายามดงึ จดุ เดน่ ของคณะ มาสรา้ งคณุ คา่
ผ่านกลไกการเชื่อมโยงกับภายนอก และมีผลงานเด่นในด้านหลักต่างๆ
ดงั ต่อไปนี้
1. ด้านวชิ าการ/งานวจิ ัย มีความเปน็ นานาชาติ ท�ำ งานรว่ ม
กับมหาวทิ ยาลยั ตา่ งประเทศ/ในประเทศท้งั ในดา้ นการวจิ ัย การประชุม
วชิ าการ และการแลกเปลยี่ นอาจารย/์ นสิ ติ มกี ารพฒั นาปรบั ปรงุ หลกั สตู ร
ให้สอดคล้องกับสภาวการณ์และความต้องการของผู้เรียน มีการจัดการ
เรียนการสอนเป็นแบบ Module ในระดบั ปรญิ ญาตรี มีการจดั หลกั สูตร
2 ปรญิ ญา (Double Degree) กบั มหาวทิ ยาลยั ตา่ งประเทศ ตลอดจน
ผลักดันให้มีหลักสูตรนานาชาติในระดับปริญญาโท และมีโครงการ
Q-Econ KU ท่ีค้นหานักเรียนที่มีความสามารถโดดเด่นเข้าศึกษาท่ี
คณะเศรษฐศาสตร์

2 SMART Goals KU

2. ดา้ นการประกนั คณุ ภาพ มกี ารผลกั ดนั ทางคณุ ภาพทางการ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้สูงข้ึนอย่างก้าวกระโดดจากการผลิตบัณฑิต
ศกึ ษา วชิ าการ การวจิ ยั และการบรหิ าร จนท�ำ ใหก้ ารจดั อนั ดบั QS Ranking และบัณฑิตได้นำ�ความรู้ไปพัฒนาสังคมตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
ของคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในปี 2563 เลือ่ นขน้ึ สังคมและยทุ ธศาสตร์ชาตใิ นสัดส่วนทส่ี ูงมาก
เป็นอันดับ 3 ของประเทศไทย (จากเดิมอันดบั 6 ในปี 2560) พร้อมได้
รับรางวัลผลงานการสร้างช่ือเสยี งมากมาย การทำ�งานของคณะเศรษฐศาสตร์ท่ีผ่านมาได้รับความร่วมมือ
เปน็ อยา่ งดจี ากคณาจารย์ และบคุ ลากรสายสนบั สนนุ ของคณะ ตลอดจน
3. ด้านกิจการนิสิต ให้มีรูปแบบการเรียนการสอน ที่ทันสมัย ผบู้ รหิ ารมหาวทิ ยาลยั รองคณบดี ผ้ชู ่วยคณบดี หวั หน้าภาควชิ า หัวหนา้
ผ่านกิจกรรม และฝกึ งาน เพอื่ ใหไ้ ด้ คุณลกั ษณะของบณั ฑติ 4 รู้ (รรู้ อบ สำ�นักงานเลขานุการคณะ คณะกรรมการประจำ�คณะและผู้ทรงคุณวุฒิ
รนู้ �ำ รู้ประยกุ ต์ รูค้ ุณธรรม) ท่พี งึ ประสงค์ ตลอดจน มกี ารเปล่ยี นแปลง/ จงึ ขอขอบคณุ ทกุ ทา่ นมาณ โอกาสน ้ี และดฉิ นั จะรว่ มเปน็ กลไกหนง่ึ ในการ
เพิ่มเติมห้องปฎิบัติการคอมพิวเตอร์/อุปกรณ์การเรียนการสอน ส่ือการ ก�ำ หนดอนาคตและทศิ ทางของคณะเศรษฐศาสตร์ และสง่ ตอ่ งานบรหิ าร
เรียนรู้ รองรบั ระบบ Virtual/Online /Onsite ทที่ นั สมยั จัดการพัฒนาคณะเศรษฐศาสตร์ให้เจริญก้าวหน้าเป็น องค์กรช้ันนำ�
ด้านเศรษฐศาสตร์ สร้างความรู้ คูค่ ุณธรรม สู่ชุมชน สบื ไป
4. ดา้ นการบรหิ ารจดั การเงนิ ทม่ี รี ะบบการจา่ ยเงนิ /คา่ ตอบแทน
บุคลากรที่เป็นรูปแบบ Online One click มีความทันสมัย รวดเร็ว (รองศาสตราจารย์ ดร. วจิ ิตตศ์ รี สงวนวงศ์)
ทนั ต่อการเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี คณบดคี ณะเศรษฐศาสตร์ (คนท่ี 14)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
5. ดา้ นการบรหิ ารจดั การทางกายภาพ มกี ารอนรุ กั ษ์ ปรบั ปรงุ
ภมู ทิ ศั น์ โดยรอบคณะ และมพี ื้นทส่ี ีเขยี วเพ่มิ ข้ึนรอ้ ยละ 1258 ทำ�ใหเ้ ป็น SMART Goals KU 3
คณะสีเขยี ว (Green Faculty) ปรับปรงุ หอ้ งสมดุ พทิ ยาลงกรณ
ใหท้ นั สมยั มากขนึ้ และเพม่ิ พนื้ ทแ่ี หง่ การเรยี นรแู้ ละพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ (เพม่ิ
ขน้ึ ร้อยละ 156) ให้กบั นิสติ

6. ดา้ นการบรหิ ารบคุ คล มกี ารบรหิ ารงานอยา่ งมธี รรมาภบิ าล
ส่งเสริมให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนเข้าสู่ตำ�แหน่งงาน
วิชาการ/ช�ำ นาญการทสี่ งู ข้ึน เปน็ จ�ำ นวนมาก

นอกจากนี้คณะเศรษฐศาสตร์ยังได้รับมอบหมายจาก
สภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ดร. กฤษณพงศ์ กีรติกร นายกสภา
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร)์ ใหด้ �ำ เนนิ การศกึ ษาวจิ ยั เรอื่ ง “เกษตรศาสตร์
สร้างคน พฒั นาชาติ อย่างยั่งยืน” ภายใต้ความรว่ มมือกบั คณะต่างๆ อกี
6 คณะ ดว้ ยการตระหนกั ถงึ บทบาททางดา้ นการศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั
เกษตรศาสตร์ ต่อการพัฒนาประเทศ โดยผลการประเมินบทบาทและ
ผลกระทบจากการผลติ บณั ฑติ ชชี้ ดั ใหเ้ หน็ วา่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์

บทสรปุ ผู้บรหิ าร โดยมีพันธกิจท่ีสำ�คัญ คือ 1. สร้างพลังและขับเคลื่อนเครือข่ายวิจัย
และบริการวชิ าการทางเศรษฐศาสตร์ ทั้งภายในและภายนอก ในระดบั
การดําเนินงานของคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย ชาติและนานาชาติ เพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการด้านเศรษฐศาสตร์
เกษตรศาสตร์ ในช่วงปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2564 นัน้ เป็นการ 2. สรา้ งบณั ฑติ และผนู้ �ำ ทม่ี คี วามรู้ มงุ่ มน่ั สรา้ งสรรค์ มจี ติ ส�ำ นกึ เพอ่ื สรา้ ง
บริหารงานตามนโยบายหลักของมหาวิทยาลัย ภายใต้การกำ�กับดูแล ความสามารถในการแขง่ ขนั ทางเศรษฐกจิ และความเสมอภาคทางสงั คม
ของสภามหาวิทยาลัย ซ่ึงทีมผู้บริหารคณะเศรษฐศาสตร์ ได้นำ�พาคณะ 3. มีการบริหารอย่างมีธรรมาภิบาลและพัฒนาบุคลากรของคณะให้มี
ให้เจริญก้าวหน้าในด้านต่างๆ เป็นอย่างมาก โดยดำ�เนินการพัฒนา ความพร้อมและทันกาลกับกระแสการเปลี่ยนแปลงด้านนวัตกรรมและ
กระบวนงานด้านต่าง ๆ ทำ�ให้คณะมีการจัดอันดับของ QS Ranking เทคโนโลยีของโลก ซึ่งการดำ�เนินการนี้ขับเคล่ือนผ่าน 4 ยุทธศาสตร์
สาขาเศรษฐศาสตร์ ทเ่ี พม่ิ ขน้ึ จากอนั ดบั ท่ี 6 ของประเทศมาเปน็ อนั ดบั ท่ ี โดยมเี ป้าประสงคเ์ ชิงยทุ ธศาสตร์ ประกอบดว้ ย 1. การพฒั นางานวิจัยสู่
3 ของประเทศ ความเปน็ เลิศทางวิชาการในระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ 2. การพฒั นาการ
การพัฒนาการบริหารจัดการคณะให้เจริญก้าวหน้าน้ีประสบ บริการวิชาการที่ตอบสนองตอ่ ชุมชนและสงั คม 3. การผลิตบัณฑติ ด้าน
ความส�ำ เรจ็ ได้ เนอ่ื งจากความรว่ มมอื กนั ระหวา่ งคณาจารยแ์ ละบคุ ลากร เศรษฐศาสตร์ที่มีคุณภาพ รับผิดชอบต่อสังคมและดำ�รงตนเป็นคนดีมี
ทุกท่านท่ีพยายามพัฒนาการทำ�งานของตนอย่างต่อเน่ือง ผ่านการ จริยธรรม ภายใตค้ วามหลากหลายของวัฒนธรรมนานาชาติ และ 4. การ
สนับสนุนและผลักดันของผู้บริหารคณะให้มุ่งสู่ความเป็นเลิศ ในทิศทาง เพม่ิ คณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพการด�ำ เนนิ งานตามภารกจิ และการใชห้ ลกั
ทีก่ ำ�หนดไวต้ ามแผนยทุ ธศาสตรค์ ณะเศรษฐศาสตร์ ทมี่ ีความสอดคล้อง ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการอย่างยั่งยนื
กบั ประเด็นยทุ ธศาสตรข์ องมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ของ กรอบนโยบายและแนวทางการบรหิ ารใหค้ ณะมผี ลงานทไี่ ดร้ บั
กระทรวงอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม รวมถงึ ยทุ ธศาสตร์ รางวลั ในดา้ นตา่ งๆนน้ั อยภู่ ายใตแ้ บบจ�ำ ลอง SMART Goals Model ทม่ี งุ่
ชาตโิ ดยทค่ี ณะเศรษฐศาสตรม์ คี วามภาคภมู ใิ จทเ่ี ปน็ สว่ นหนง่ึ ของศาสตร์ เนน้ การพฒั นาทเี่ ฉพาะเจาะจง มคี วามชดั เจนสามารถวดั คา่ ได้ เมอ่ื พฒั นา
แหง่ แผ่นดิน เพ่ือการกินดีอยดู่ ีของชาติ ระบบและกลไกแลว้ กอ่ ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงทยี่ ง่ั ยนื การปรบั ปรงุ ตา่ งๆ
การดําเนินการของคณะเศรษฐศาสตร์ ครอบคลุมพันธกิจ ต้องมีความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกท่ีเผชิญ
หลัก 4 ด้านของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประกอบด้วย ด้านการ อยู่ นอกจากน้ียังต้องมีความสอดคล้องด้านจังหวะเวลาของการดำ�เนิน
จัดการเรียนการสอน ด้านการวิจัย ด้านการบริการวิชาการ และ ด้าน การ คณะเศรษฐศาสตร์ตระหนักถึงความสำ�คัญในการผลิตผลงานที่มี
การทาํ นบุ าํ รงุ ศลิ ปะและวฒั นธรรม ภายใต้ วสิ ยั ทศั น์ ทมี่ คี วามมงุ่ มน่ั ไปส ู่ คณุ ภาพสชู่ มุ ชนและสงั คม ชว่ ยสรา้ งชอ่ื เสยี งใหก้ บั คณะและมหาวทิ ยาลยั
“การเปน็ องคก์ รชน้ั น�ำ ดา้ นเศรษฐศาสตร์ สรา้ งความรู้ คคู่ ณุ ธรรมสชู่ มุ ชน” ผา่ นรางวลั ตา่ งๆ ทคี่ ณาจารยแ์ ละนสิ ติ ไดร้ บั จากภายนอกเปน็ ทปี่ ระจกั ษ์
ตอ่ สาธารณชนในระดบั ชาตแิ ละระดบั นานาชาติ ซง่ึ รางวลั ตา่ งๆน้ี เกดิ ขนึ้
4 SMART Goals KU ในระดบั ทมี และระดบั บคุ คล สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ การผสมผสานคณุ ภาพการ
เรียนการสอน การวิจัยและการบริการวิชาการ ของคณะเศรษฐศาสตร์

มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ในฐานะที่เปน็ สว่ นหน่ึงของมหาวทิ ยาลยั ใน คณะเศรษฐศาสตร์ได้ดำ�เนินการจัดการประชุมวิชาการระดับชาติและ
ก�ำ กบั ของรฐั จงึ ใหค้ วามส�ำ คญั อยา่ งมากในการสง่ มอบคณุ คา่ สชู่ มุ ชนและ การสร้างความร่วมมือทางวิชาการเพื่อความร่วมมืออย่างต่อเน่ืองกับ
สังคม ผ่านการผลิตบัณฑิต มหาบัณฑิต และดุษฎีบณั ฑติ ทมี่ คี ณุ ภาพสูง มหาวทิ ยาลยั ในตา่ งประเทศ เชน่ มหาวทิ ยาลยั ในประเทศ ญปี่ นุ่ เยอรมนั
สอดคล้องต่อทิศทางการพัฒนาประเทศ นอกจากน้ีคณะเศรษฐศาสตร์ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และอื่นๆ นอกจากน้ีคณะได้ลงทุนในการ
ทุ่มเททรัพยากรเพื่อทำ�การวิจัย เสริมสร้างและสะสมองค์ความรู้ และ พัฒนาสิ่งแวดล้อมทางกายภาพเพ่ือสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน
นวตั กรรมในสาขาเศรษฐศาสตรส์ าขาเศรษฐศาสตรเ์ กษตรและทรพั ยากร ภายใต้สถานการณค์ วามปกตใิ หม่ (New Normal) การสรา้ งระบบการ
สาขาเศรษฐศาสตร์สหกรณ์ ปอ้ งกนั และปญั หาการแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรสั COVID-19 มกี ารผลติ สอ่ื
เพ่ือให้คณะเศรษฐศาสตร์ดำ�เนินการให้บรรลุ วิสัยทัศน์ และ การสอนท่ีทันสมยั ในรูปแบบตา่ ง ๆ เช่น ในรูปของ Clip/E-courseware
พนั ธกจิ ได้อย่างมเี สถยี รภาพและย่ังยืน การพัฒนาคณุ ภาพอาจารยแ์ ละ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย และได้ปรับปรุงระบบและช่องทาง
บุคลากรสายสนับสนุนของคณะ จึงเป็นภารกิจที่สำ�คัญอย่างย่ิง ซ่ึงผล ด้านการสอ่ื สารองคก์ ร ผ่าน New Media ต่างๆ อาทิ YouTube Line
สัมฤทธ์ิจากการพัฒนาดังกล่าวแสดงให้เห็นผ่านจำ�นวนบุคลากรสาย และ Facebook เปน็ ตน้
วิชาการ และจำ�นวนบุคลากรสายสนับสนุนของคณะท่ีมีตำ�แหน่งทาง ในส่วนของการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการภายในเพื่อเพิ่ม
วิชาการหรือมีคุณวุฒิที่สูงขึ้น นอกจากนี้ คณะเศรษฐศาสตร์มีบุคลากร ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดำ�เนินงาน คณะเศรษฐศาสตร์มี
สายวิชาการที่เข้มแข็ง โดยมีบุคลากรสายวิชาการท่ีดำ�รงตำ�แหน่งทาง การปรับโครงสร้างองค์กรภายในสำ�นักงานเลขานุการคณะ เพื่อลดข้ัน
วชิ าการ รอ้ ยละ 71.95 อาจารยป์ ระจ�ำ ทมี่ วี ฒุ ปิ รญิ ญาเอก รอ้ ยละ 95.12 ตอนการทำ�งาน ลดความล่าช้าในการประสานงาน และปรับเปลี่ยน
ตามลำ�ดับ คณะเศรษฐศาสตรไ์ ดจ้ ัดสรรทรพั ยากรท่มี คี ุณคา่ นี้ ในการจัด ระบบประกันคุณภาพมาเพื่อใช้ในการวางแผนและพัฒนาองค์กร
ทำ�หลักสูตรแบบบูรณาการ การจัดทำ�หลักสูตร 2 ปริญญา (Double
Degree) ท้ังแบบข้ามคณะภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ SMART Goals KU 5
แบบความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ การจัดทำ�หลักสูตร
ท่ีมีการเรียนแบบ Module การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบสะสม
หนว่ ยกติ โดยไดร้ บั ประกาศนยี บตั ร เพอ่ื สง่ มอบทกั ษะการเรยี นรทู้ ส่ี �ำ คญั
ในศตวรรษท่ี 21 ใหน้ ิสิตมคี ณุ ลักษณะบัณฑติ ทพี่ งึ ประสงคข์ องหลักสตู ร
ตามกรอบมาตรฐาน TQF รวมถงึ ตามอตั ลกั ษณ์ IDKU และ ECON KU
คณะเศรษฐศาสตร์พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนให้มีมาตรฐาน
ระดับสากล มีเครือข่ายความร่วมมือเพื่อขับเคลื่อนกลยุทธ์ของคณะกับ
มหาวิทยาลัยชั้นนำ�ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพ่ือแลกเปลี่ยนนสิ ติ
หรอื ด�ำ เนนิ การท�ำ วจิ ยั รว่ มกบั 19 ประเทศ จ�ำ นวนมากกวา่ 70 มหาวทิ ยาลยั

เพ่ือมุ่งสู่ความเป็นเลิศในแนวทางของ EdPEx (Education for Microsoft Excel/ SQL / Infographic Presentation Design การพฒั นา
Performance Excellence) คณะเศรษฐศาสตรม์ กี ารน�ำ วธิ กี ารปฏบิ ตั งิ าน ความรใู้ หน้ สิ ติ บนเสน้ ทางสกู่ ารเปน็ Data Analyst การเตรยี มความพรอ้ ม
ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการลดข้ันตอนการดำ�เนินงาน รวมถึง ในการทำ�งาน และการพัฒนาบุคลิกภาพที่ดี (Smart Personality)
มีการพัฒนาปรับปรงุ ระบบฐานข้อมลู เพือ่ การบรหิ ารจดั การ (Decision การจัดกิจกรรมคนไทยยุคใหม่ใส่ใจเรื่องเงิน เพื่อให้นิสิตเรียนรู้
Support System) เพ่ือใช้เป็นระบบสนับสนุนที่สำ�คัญที่เช่ือมโยงการ เรอื่ งการเงนิ และ การอบรมเตรียมความพรอ้ มเพื่อการสอบแขง่ ขัน ก.พ.
ด�ำ เนนิ งานในระดบั คณะ ระดบั หนว่ ยงานภายใน และระดบั มหาวทิ ยาลยั ภาคความรคู้ วามสามารถทวั่ ไป (ภาค ก.) เปน็ ตน้ คณะเศรษฐศาสตรม์ กี าร
ท�ำ ใหก้ ารตดิ ตาม และการแกป้ ญั หาการด�ำ เนนิ งาน รวมถงึ การขบั เคลอ่ื น สนับสนุนทุนการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของนิสิตระดับ
ยทุ ธศาสตรข์ องคณะเกดิ ขนึ้ ไดอ้ ยา่ งคลอ่ งตวั ประกอบกบั การตดั สนิ ใจใน ปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษา โดยมีการจัดสรรทุนการศึกษาทั้ง
พนั ธกจิ ตา่ งๆ ใหม้ คี วามสอดคลอ้ งกบั กฎระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ประกาศ และ ภายนอกและภายในหนว่ ยงาน ประกอบดว้ ย 1. ทนุ ขาดแคลนทนุ ทรพั ย ์
แนวปฏิบตั ิทม่ี คี วามเกีย่ วขอ้ ง 2. ทนุ เรียนด ี 3. ทนุ ช่วยงาน 4. ทุนสนบั สนุนวิชาการ 5. ทุนสนับสนนุ
โครงการ Q-Econ KU เป็นโครงการค้นหานักเรียนผู้มีความ นิสิตสร้างช่ือเสียง และ 6. ทุนฉุกเฉิน ซ่ึงทุนพัฒนานิสิตของคณะน้ี
สามารถโดดเด่นเข้าศึกษา แนะแนวหรือสอนด้านเศรษฐศาสตร์กับ เป็นการจัดสรรเพ่ิมเติม นอกเหนือจาก ทุนการศึกษาท่ีได้รับจากส่วน
โรงเรยี นที่สนใจและใหท้ นุ นักเรยี นเข้ามาเรียนในคณะเศรษฐศาสตร์ โดย กลาง มก. ทนุ กู้ยืมจากกองทนุ เงินใหก้ ู้ยมื เพอื่ การศึกษา (กยศ.) กองทนุ
มกี ารสง่ เสรมิ กระบวนการคดั เลอื กนกั เรยี นทมี่ คี ณุ ภาพเขา้ มาศกึ ษาตอ่ ใน กยู้ ืมที่ผกู พนั กบั รายได้ในอนาคต (กรอ.) นอกจากน้ี คณะเศรษฐศาสตร์
คณะ ตลอดจนการประชาสมั พนั ธห์ ลกั สตู รแบบเชงิ รกุ จดั ท�ำ Road show ตระหนกั ถงึ การตอบแทนชมุ ชนและสงั คมเมอ่ื ประเทศเผชญิ สถาณการณ์
ยงั โรงเรยี นกลมุ่ เปา้ หมายตา่ งๆ การเรยี นแบบ Non-Degree ทเี่ ปดิ โอกาส ที่ยากลำ�บาก คณะเศรษฐศาสตร์จึงดำ�เนินการสนับสนุนทุนช่วยเหลือผู้
ให้ผู้สนใจสามารถเรียนได้อย่างอิสระ เลือกเรียนเฉพาะวิชาท่ีตรงกับ ปกครองและนสิ ิต เพือ่ บรรเทาผลกระทบของภัยพบิ ตั ิ และทุนชว่ ยเหลือ
ความสนใจทีศ่ กึ ษา โครงการความรว่ มมือเรยี นต่อเนือ่ ง 4 + 1 โดยเรียน เพื่อบรรเทาผลกระทบของ COVID-19 เปน็ ตน้
คณะวิศวกรรมศาสตร์ในระดับปริญญาตรีและเรียนคณะเศรษฐศาสตร์ โมเดลที่คณะเศรษฐศาสตร์ใช้เพ่ิมความสามารถในการปรับ
ตอ่ ในระดบั ปรญิ ญาโทยทุ ธศาสตรด์ า้ นกจิ การนสิ ติ มงุ่ เนน้ ไปทก่ี ารสรา้ งบณั ฑติ ตวั เพอื่ ตอบสนองต่อการเปลยี่ นแปลงต่างๆ ประกอบด้วย 1. ความเปน็
4 รู้ ประกอบดว้ ย “รู้รอบ รนู้ ำ� รปู้ ระยุกต์ และ รู้คุณธรรม” มีการด�ำ เนนิ เลศิ ด้านหลักสตู รและงานวจิ ัย 2. ความน่าเช่ือถือของกระบวนการ และ
การผา่ นกจิ กรรมนสิ ติ ทม่ี คี วามหลากหลาย เพอ่ื เสรมิ สรา้ งสมรรถนะใหแ้ ก่ 3. พฤตกิ รรมของบคุ ลากร การปรบั ปรงุ ทางกายภาพทคี่ ณะเศรษฐศาสตร์
นสิ ิตนอกเหนือการเรยี นการสอนในหลกั สูตร โดยมีระบบและกลไก รวม ไดด้ �ำ เนนิ การนน้ั เปน็ สง่ิ ส�ำ คญั ในการสรา้ ง บรรยากาศ และสภาพแวดลอ้ ม
ถึงเป้าหมายการพัฒนาสมรรถนะตามพัฒนาการของนิสิตในแต่ละช้ันปี ในการท�ำ งานทด่ี ี ท�ำ ใหส้ ถานทท่ี �ำ งานมคี วามสะอาด และความปลอดภยั
แบบ Competency Matrix มีการอบรมทกั ษะเสริมท่จี �ำ เป็นใหแ้ กน่ ิสิต ทำ�ให้บุคลากรสามารถทำ�งานร่วมกันได้อย่างมีความสุข การปรับปรุง
อาทิ การอบรมเพอ่ื เตรยี มสอบ TOEIC พฒั นาความรกู้ ารใชง้ านโปรแกรม ส�ำ นกั งานรว่ มกบั การปรบั ปรงุ โครงสรา้ งการบรหิ ารองคก์ รจะชว่ ยใหค้ ณะ
คอมพวิ เตอร์ ส�ำ หรบั นสิ ติ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั โปรแกรม Microsoft Access / เศรษฐศาสตรม์ กี ารสอื่ สารภายในสถานทที่ �ำ งานและการประสานงานทมี่ ี

6 SMART Goals KU

ความคล่องตัวขึ้น และทำ�ให้หน่วยงานต่างๆ ภายในคณะมีประสิทธิผล มีความโปร่งใสตรวจสอบได้ มีการระบุรายละเอียดของกิจกรรมต่างๆ
ของการปฏิบัติงาน (Productivity) ของพนักงานสูงข้ึน ประกอบกับ ที่เปน็ รปู ธรรมไวใ้ นแผนงาน ซึ่งผา่ นการอนมุ ัตขิ องคณะกรรมการประจ�ำ
คณะมีภาพลักษณ์ (Image) ท่ีดีข้ึน คณะเศรษฐศาสตร์ให้ความสำ�คัญ คณะ และมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ การบริหารจดั การทางการเงนิ ท่ีมี
กับด้านการใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน การปรับปรุงสาธารณูปโภค ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลนนั้ นอกจากท�ำ ใหค้ ณะเศรษฐศาสตรม์ กี าร
การปรับปรุงสิ่งแวดล้อมและบริการสาธารณะเพ่ือสร้างหรือพัฒนาคณะ พัฒนาในดา้ นตา่ งๆที่กล่าวมาแล้วข้างตน้ ยงั ช่วยให้คณะเศรษฐศาสตร์มี
ใหด้ ีข้ึน มสี ุขลักษณะ มคี วามสะดวกสบาย มคี วามเปน็ ระเบียบ มคี วาม เงินสะสมเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีเสถียรภาพทางการเงินท่ีจะพ่ึงพา
สวยงาม และมีความปลอดภัยของประชาคมคณะ รวมถงึ การเพ่มิ ตน้ ไม้ ตนเองไดใ้ นระยะยาว
เพือ่ ใหส้ อคคลอ้ งกับการเป็น Green Faculty และ Green University
การปรบั ปรุงระบบรกั ษาความปลอดภยั ภายในคณะ โดยใช้เทคโนโลยีที่ โดยสรปุ พบวา่ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร ์
ทันสมัย อาทิ การใช้เครื่องสแกนอัตโนมัติ การเพิ่มจุดบริการ wifi ในชว่ งปี พ.ศ. 2560 – 2564 นั้น มีผลการด�ำ เนินงานตามยุทธศาสตร์
ลดจุดอับสัญญาณ การเพิ่มอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และนำ้�ดื่มที่สะอาด และ ผลการดำ�เนินงานตามพันธกิจที่โดดเด่นในทุกด้าน เนื่องจากผู้
เพอื่ ให้บริการนสิ ติ การปรับปรงุ พื้นทร่ี อคอยระหวา่ งเรยี นเพือ่ เพิ่มความ บริหารและบุคลากรคณะเศรษฐศาสตร์ ได้ตระหนักถึงความสำ�คัญใน
สะดวกใหน้ สิ ติ นอกจากน้ี คณะเศรษฐศาสตรไ์ ดด้ �ำ เนนิ การปรบั ปรงุ หอ้ งสมดุ การขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพงานและการปรับปรุงกระบวนงาน
ใหท้ นั สมยั การปรบั ปรงุ ระบบการใชห้ อ้ งเรยี นควบคกู่ บั การใชม้ าตราการ (Quality improvement and Process improvement) โดยมุ่งเน้น
การประหยัดพลังงานผ่านการบริหารจัดการอาคาร และมีการปรับปรุง การเปล่ียนแปลงวัฒนธรรมของการทำ�งานท่ัวทั้งองค์กร เพื่อการเพ่ิม
ระบบการจัดการน�้ำ เสยี เพอื่ สิ่งแวดลอ้ มท่ดี ขี ้ึน ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการปฏิบัติงานและการให้บริการ ท่ี
สามารถลดเวลาและลดข้ันตอนการดำ�เนินงานอย่างเป็นรูปธรรม และ
การดำ�เนินการพัฒนาปรับปรุงคณะเศรษฐศาสตร์ด้านต่างๆ สามารถเป็นแนวปฏิบัติท่ีดี นอกจากนี้ คณะเศรษฐศาสตร์ ยกย่อง
มงุ่ เนน้ ทค่ี วามเปน็ เอกภาพ สอดคลอ้ ง ลดความสบั สน ซ�ำ้ ซอ้ นและสน้ิ เปลอื ง บคุ ลากรทมี่ ีผลงานเดน่ ทมุ่ เท เสียสละในการปฏิบตั งิ าน และบุคลากรที่
งบประมาณ ตลอดจนสร้างความเข้าใจร่วมกันระหว่างหน่วยงานต่างๆ สรา้ งช่ือเสียงให้แก่คณะเศรษฐศาสตร์ ท�ำ ให้เกิดกลไกในการกระตุ้นและ
ท่ีเกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกคณะฯ เนื่องจากคณะเศรษฐศาสตร์ ผลกั ดนั ใหน้ สิ ติ และบคุ ลากรภายในคณะมงุ่ ไปสอู่ งคก์ รแหง่ ความเปน็ เลศิ
มีงบประมาณจำ�กัด คณะเศรษฐศาสตร์จึงจัดสรรงบประมาณโดยยึด คณะเศรษฐศาสตร์มีการบริหารจัดการความรู้ การบริหารจัดการความ
หลักการพัฒนาเพื่อให้เกิดความก้าวหน้าเป็นหลัก โดยท่ีการพิจารณา เสี่ยง และการขับเคล่ือนระบบคุณภาพท้ังระบบแบบบูรณาการ อันจะ
จัดสรรงบประมาณมีการประชุมร่วมกันเพื่อให้เกิดความโปร่งใส มีการ น�ำ มาซึ่งเสถียรภาพและความยัง่ ยืนตอ่ ไป
จัดสรรงบประมาณตามสถานการณ์และตามความจำ�เป็น มีการเรียง
ลำ�ดับก่อนหลัง มีการกำ�หนดงบประมาณท่ีสอดคล้องกับปัจจัยที่ใช้ใน คณะผบู้ ริหาร คณะเศรษฐศาสตร์
การทำ�งาน มคี วามเหมาะสมสามารถจดั กจิ กรรมได้บรรลุตามเปา้ หมาย มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
ท่ีต้ังไว้ คณะเศรษฐศาสตร์มีการบริหารงบประมาณอย่างเป็นระบบ
SMART Goals KU 7

วิสยั ทัศน์

“เป็นองคก์ รชัน้ นำ�ดา้ นเศรษฐศาสตร์
สรา้ งความรู้ ค่คู ุณธรรม สู่ชมุ ชน”

พันธกิจ

1. สร้างพลังและขับเคลื่อนเครือข่ายวิจัย
และบริการวิชาการทางเศรษฐศาสตร์ ทั้งภายในและ
ภายนอก ท้ังระดับชาติและนานาชาติ เพื่อความเป็น
เลศิ ทางวชิ าการดา้ นเศรษฐศาสตร์
2. สร้างบัณฑิตและผู้นำ�ท่ีมีความรู้ มุ่งม่ัน
สรา้ งสรรค์ มจี ติ ส�ำ นกึ เพอ่ื สรา้ งความสามารถในการ
แขง่ ขนั ทางเศรษฐกิจ และความเสมอภาคทางสังคม
3. มกี ารบรหิ ารอยา่ งมธี รรมาภบิ าลและพฒั นา
บุคลากรของคณะให้มีความพร้อมและทันกาลกับ
กระแสการเปลย่ี นแปลงดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยี
ของโลก

8 SMART Goals KU

ยทุ ธศาสตร์และเปา้ ประสงค์

ยุทธศาสตร์ 1
การส่งเสรมิ การใช้หลกั เศรษฐศาสตร์เพื่อการพฒั นาเศรษฐกิจ สงั คมและสง่ิ แวดล้อมอย่างยง่ั ยืน

เป้าประสงค์: เพอ่ื พัฒนาการการบริการวิชาการที่ตอบสนองตอ่ ชุมชนและสังคม

ยุทธศาสตร์ 2
การพฒั นางานวิจยั สู่ความเปน็ เลิศทางวิชาการในระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ

เปา้ ประสงค:์ เพอ่ื สรา้ งงานวจิ ยั ทตี่ อบโจทยต์ ามยทุ ธศาสตรง์ านวจิ ยั แหง่ ชาตทิ นี่ �ำ ไปใชใ้ นการแกป้ ญั หา
ของชมุ ชนและสังคม พร้อมทั้งสรา้ งนักวจิ ัยและผลงานวิชาการท่มี คี ณุ ภาพในระดับชาติและนานาชาติ

ยุทธศาสตร์ 3
การพฒั นาของนิสติ และอาจารยส์ คู่ วามเป็นเลศิ ทางวชิ าการในระดับสากล

เป้าประสงค:์ เพ่ือผลติ บัณฑติ ด้านเศรษฐศาสตร์ทีม่ คี ุณภาพ รับผิดชอบต่อสงั คมและดำ�รงตนเป็นคนดี
มจี ริยธรรม ภายใตค้ วามหลากหลายของวฒั นธรรมนานาชาติ

ยุทธศาสตร์ 4
การเพม่ิ คณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพการด�ำ เนนิ งานตามภารกจิ และการใชห้ ลกั ธรรมาภบิ าลในการ

บริหารจัดการอยา่ งยั่งยนื
เปา้ ประสงค:์ เพอ่ื พฒั นาการบริหารจดั การองคก์ ร โดยยึดหลักธรรมาภิบาล

ค่านยิ มองค์กร (Core Value)
เรียนรู้ ทุม่ เท ม่งุ มนั่ ทนั กาล
SMART Goals KU 9

5 26 8 9
7

41 3

คแลณะคณะผะกู้บรรรมหิกาารรประจ�ำ คณะ

10 SMART Goals KU

1 รองศาสตราจารย์ ดร.วจิ ติ ตศ์ รี สงวนวงศ์
• คณบดคี ณะเศรษฐศาสตร์

2 ดร.ศกั ดิส์ ิทธ์ิ บศุ ยพลากร
• รองคณบดฝี ่ายบริหาร

3 รองศาสตราจารย์ ดร.ประพณิ วดี ศิริศุภลักษณ์
• รองคณบดีฝา่ ยวิชาการและวิจัย

4 รองศาสตราจารย์ ดร.สภุ าณี หาญพัฒนะนสุ รณ์
• รองคณบดีฝา่ ยการเงนิ และบญั ชี

5 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นนทร์ วรพาณิชช์
• รองคณบดีฝ่ายกจิ การนิสติ

6 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธนา สมพรเสริม
• รองคณบดีฝา่ ยประกนั คุณภาพ

7 รองศาสตราจารย์ ดร.อสิ ริยา บุญญะศิริ
• ผชู้ ่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ

8 ดร.กนกอร สีมานนท์
• ผู้ชว่ ยคณบดฝี า่ ยบรหิ าร
• เลขานกุ ารคณะกรรมการประจำ�คณะฯ

9 ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ธนสิน ถนอมพงษ์พันธ์
• ประธานคณะกรรมการดำ�เนนิ งานศูนยก์ ิจการนานาชาติ

SMART Goals KU 11

10 10 ดร.ณธิ ชิ า ธรรมธนากลู
11 • ผชู้ ่วยคณบดฝี า่ ยกิจการนสิ ติ

12 11 รองศาสตราจารย์ ดร.โสมสกาว เพชรานนท์
13 • หวั หน้าภาควิชาเศรษฐศาสตร์

14 12 ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กมั ปนาท วิจติ รศรกี มล
15 • หวั หนา้ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร

16 13 ดร.พรชยั ศุภวทิ ิตพัฒนา
• หัวหนา้ ภาควชิ าสหกรณ์
12 SMART Goals KU
14 รองศาสตราจารยจ์ ุฑาทิพย์ ภทั ราวาท
• ผอู้ �ำ นวยการสถาบนั วชิ าการด้านสหกรณ์

15 ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนารกั ษ์ เหล่าสุทธิ
• ผู้อ�ำ นวยการศูนยว์ ิจัยเศรษฐศาสตร์ประยุกต์

16 นางเบญจมาศ แย้มพลอย
• หัวหน้าส�ำ นักงานเลขานุการ

ผูบ้ ริหารคณะและหน่วยงานภายใน

คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.วิจติ ตศ์ รี สงวนวงศ์ หวั หนา้ ภาควชิ าเศรษฐศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.โมสกาว เพชรานนท์
รองคณบดีฝา่ ยบริหาร ดร.ศกั ดส์ิ ิทธิ์ บุศยพลากร ดร.ศกั ด์สิ ิทธ์ิ บศุ ยพลากร
ดร.พรประภา คคิ ุทจิ (ต้งั แต่ 27 พฤษภาคม 2558–28 กุมภาพนั ธ์ 2562)
(ตัง้ แต่ 1 พฤศจิกายน 2560 - 28 กมุ ภาพันธ์ 2562) หวั หน้าภาควชิ าเศรษฐศาสตร์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กัมปนาท วิจิตรศรีกมล
รองคณบดีฝา่ ยวิชาการและวิจยั รองศาสตราจารย์ ดร.ประพิณวดี ศิรศิ ภุ ลกั ษณ์ เกษตรและทรัพยกร
รองคณบดฝี า่ ยวิจยั รองศาสตราจารย์ ดร.เรวตั ร ธรรมาอภิรมย หัวหนา้ ภาควิชาสหกรณ์ ดร.พรชัย ศุภวทิ ติ พัฒนา
รองคณบดฝี ่ายประกันคณุ ภาพ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนา สมพรเสริม ผ้อู ำ�นวยการสถาบนั วิชาการ รองศาสตราจารย์ จุฑาทพิ ย์ ภัทราวาท
รองคณบดีฝา่ ยกจิ การนิสิต ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นนทร์ วรพาณชิ ช์ ดา้ นสหกรณ์
รองคณบดีฝ่ายการเงินและบัญชี รองศาสตราจารย์ ดร.สุภาณี หาญพัฒนะนุสรณ์ ผู้อ�ำ นวยการศนู ยว์ จิ ัย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธนารักษ์ เหล่าสุทธิ
ผชู้ ว่ ยคณบดฝี ่ายวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.อสิ รยิ า บุญญะศริ ิ เศรษฐศาสตร์ประยกุ ต์ รองศาสตราจารย์ ดร.เรวัตร ธรรมาอภริ มย์
ผู้ช่วยคณบดีฝา่ ยบรหิ าร ดร.กนกอร สีมานนท์ (ตั้งแต่ 1 สงิ หาคม 2562 -29 กมุ ภาพันธ์ 2563)
ผู้ชว่ ยคณบดฝี ่ายกจิ การนสิ ิต ดร.ณิธชิ า ธรรมธนากูล หัวหน้าสำ�นักงานเลขานุการ นางเบญจมาศ แย้มพลอย
ดร.พฒุ พิ ฒั น์ ทวีวชิรพัฒน์ (รักษาการแทน) นางสาววนิดา กมลจนิ ดา
(ตั้งแต่ 1 พฤศจกิ ายน 2560 – 28 กุมภาพันธ์ 2562) (ตง้ั แต่ 1 ตลุ าคม 2560 – 30 กนั ยายน 2562)
ประธานคณะกรรมการด�ำ เนิน ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนสนิ ถนอมพงษพ์ นั ธ์
คณะกรรมการประจ�ำ คณะ งานศนู ย์กจิ การนานาชาติคณะ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อภชิ าต ดะลณุ เพธย์

(พฤศจกิ ายน 2560 -ปจั จุบนั ) เศรษฐศาสตร์ (ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2562 -30 พฤศจิกายน 2563)

ผ้ทู รงคุณวุฒิ นางชตุ มิ า หาญเผชญิ กรรมการ รศ.ดร.วิษณุ อรรถวานชิ
(รองเลขาธกิ าร ส�ำ นกั งานคณะกรรมการข้าราชการ (กรรมการประจำ�คณะ (ตัง้ แต่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 – 20 กุมภาพันธ์ 2562)
ประธานกรรมการ พลเรือน (ก.พ.)) ซงึ่ เลือกจากคณาจารย)์ รศ.ดร.กนกวรรณ จนั ทรเ์ จรญิ ชัย
กรรมการ (ต้ังแต่ 20 มกราคม 2564 -19 มกราคม 2566) (ตง้ั แต่ 21 กุมภาพันธ์ 2562 – 19 มกราคม 2564)
กรรมการ คณบดคี ณะเศรษฐศาสตร์ รศ.ดร.สวุ รรณา ประณตี วตกลุ
กรรมการ รองคณบดีฝา่ ยบรหิ าร (ตงั้ แต่ 20 มกราคม 2564 - 19 มกราคม 2566)
กรรมการ รองคณบดีฝ่ายวชิ าการ กรรมการ ดร. มานะ ลักษณมีอรโุ ณทยั
กรรมการ รองคณบดีฝา่ ยวชิ าการและวิจยั กรรมการและเลขานกุ าร ดร.กนกอร สมี านนท์
หวั หน้าภาควชิ าเศรษฐศาสตร์ ผู้ชว่ ยเลขานกุ าร นางเบญจมาศ แยม้ พลอย
หวั หนา้ ภาควชิ าเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรพั ยกร น.ส.วนิดา กมลจนิ ดา
หวั หนา้ ภาควิชาสหกรณ์ (ต้งั แต่ 1 ตลุ าคม 2560 – 30 กันยายน 2562)

SMART Goals KU 13

นโยบายและแนวทางการบรหิ าร

SMA R T
Time
Relevant
Attainable
Measurable
Specific

นโยบายดา้ นการเรียนการสอน นโยบายด้านกจิ การนสิ ติ
นโยบายดา้ นการบรหิ าร
นโยบายดา้ นวจิ ยั และด้านบริการวิชาการ

14 SMART Goals KU

โครงสร้างองค์กรของคณะเศรษฐศาสตร์

คณะกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร

คณะกรรมการ อธิการบดี คณะกรรมการสงเสริม
บริหารมหาวิทยาลัย กจิ การมหาวทิ ยาลยั
คณะกรรมการวิชาการ
สภาพนกั งาน

คณะกรรมการประจำคณะ คณบดี คณะกรรมการชุดตา ง ๆ
คณะกรรมการจรรยาบรรณ

รองคณบดี รองคณบดี รองคณบดี รองคณบดี รองคณบดี
ฝา ยบรหิ าร ฝา ยวชิ าการและวิจยั ฝา ยการเงินและบญั ชี ฝา ยกจิ การนิสิต ฝายประกนั คณุ ภาพ

ผูชว ยคณบดี ผูช วยคณบดี ผูชวยคณบดี
ฝายบรหิ าร ฝายวชิ าการ ฝายกจิ การนิสติ

หัวหนา ภาควชิ า หัวหนา ภาควชิ า หวั หนาภาค หวั หนาสำนกั งาน ผอู ำนวยการ ผอู ำนวยการ ประธานคณะกรรมการ
เศรษฐศาสตร เศรษฐศาสตร วิชาสหกรณ เลขานุการ ศูนยวจิ ยั สถาบันวิชาการ ดำเนนิ งานศนู ยกจิ การ
เศรษฐศาสตรป ระยกุ ต ดานสหกรณ
เกษตรและทรพั ยากร นานาชาติคณะฯ

คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ
ประจำหลกั สตู ร ประจำหลกั สูตร ประจำหลกั สตู ร ประจำหลักสูตร SMART Goals KU 15

ผลงานเดน่

16 SMART Goals KU

“เพกษัฒตนราศชาาสตตอิ รย์ สา่ งรยา้ ง่ังคยนืน” นายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตรก�ำแพงแสน คณะประมง คณะวนศาสตร์

(ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร) มีด�ำริว่า มหาวิทยาลัย ค ณะสัตวแพทยศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ และ
เกษตรศาสตร์เป็นสถาบันการศึกษาในก�ำกับของรัฐที่ คณะอุตสาหกรรมเกษตร ทีมวจิ ยั ได้เกบ็ ขอ้ มลู รว่ มกันของ
มีชื่อเสยี งและเกา่ แกแ่ ห่งหนึง่ ของประเทศไทย ไดส้ ร้าง บัณฑิตทั้ง 7 คณะ ในชว่ ง 10 ปีย้อนหลัง ตั้งแตป่ ี 2551
ความรู้ สรา้ งคน สรา้ งบณั ฑติ มากมายจึงได้มอบหมาย - 2560 โดยมกี รอบแนวคิดวเิ คราะห์จากมูลค่าต่างๆ และ
ให้คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รายได้ทเี่ กิดข้นึ ของผ้สู ำ� เรจ็ การศกึ ษา ผา่ นค่าตัวทวที ี่ชีช้ ดั
ด�ำเนินการศึกษาวิจัยบทบาทด้านการศึกษาของ ใ ห้เห็นถึงอัตราการจบและอัตราการได้งานท�ำท่ีสูง ก่อให้
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตรท์ ม่ี ตี อ่ ประเทศ ภายใตห้ วั ขอ้ เกดิ มลู ค่าทางเศรษฐกิจของการผลติ บัณฑติ ทงั้ 7 คณะ มี
เรื่อง “เกษตรศาสตร์ สร้างคน พัฒนาชาติอยา่ งย่ังยนื ” มูลค่าสงู ขึน้ อยา่ งกา้ วกระโดด คอื ในปี 2553 มีมลู คา่ 772
​ บทสรุปของงานวิจัยทางด้านการศึกษา ล้านบาท และเพ่ิมขึ้นเป็น 3,821 ล้านบาทในปี 2555
ข อง มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ภายใตง้ านวิจยั เร่ือง และเพ่มิ ขึ้นอย่างสูงมากเป็น 12,539 ลา้ นบาทในปี 2562
“ เกษตรศาสตร์ สร้างคน พัฒนาชาติ อย่างยั่งยืน” นอกจากนบี้ ณั ฑติ ของเรายงั ไดน้ ำ� ความรไู้ ปใชใ้ นการทำ� งาน
โ ดยศูนย์วิจัยเศรษฐศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัย ซ่ึงเกี่ยวข้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
เ กษตรศาสตร์ ร่วมกับ 7 คณะ ได้แก่ คณะเกษตร ตามกรอบยทุ ธศาสตร์ของชาติในสัดส่วนทสี่ ูงมากย่ิงข้นึ

SMART Goals KU 17

ผลสัมฤทธ์ิที่ไดจ้ ากการดำ�เนนิ งาน ยุทธศาสตร์ 1
ตามยุทธศาสตรค์ ณะเศรษฐศาสตร์
การสร้างสรรคศ์ าสตรแ์ ห่งแผน่ ดิน
เพ่ือการพัฒนาประเทศทีย่ งั่ ยืน

ลำดับ ผลงานวชิ าการ จำนวนนิสติ
ทง้ั หมดในรอบ 3 ปี คณะเศรษฐศาสตร์
QS RANKING
526 (ECON KU)
3ลำขดองปับระดเทบั ศไททย่ี
6 เรื�อง 3,925 คน

536ลำดขอับงโทลก่ี 26เร�ือ2ง (สูงกวาเปา หมาย 262 เร่ือง) มีจำนวนนิสติ มากทสี่ ดุ ในประเทศไทย
623

(เลือ่ นจากป 2560 ลำดับที่ 6 ของประเทศ
ลำดบั ท่ี 623 ของโลก)

การทำงานร่วมกนั ผลงานวจิ ัย ระดมสมอง
ระหว่างคณะ
งานวจิ ัย ตอบโจทย์ท้าทายสงั คม เพอ่ื เตรียมความพร้อม
ตอ่ การเปลีย่ นแปลง
คณะเศรษฐศาสตร์ 126 เร่อื ง
ในปี 2563 “อนาคตและการเปลย�ี นแปลง
ร่วมกบั 6 คณะ กับความอยู่รอดของ
(สงู กวาเปาหมาย 81 เร่ือง) คณะเศรษฐศาสตร”์
“เกษตรศาสตรส รางคน พัฒนาชาติอยา งยง่ั ยน”

18 SMART Goals KU

ยทุ ธศาสตร์ 2

การพัฒนาสคู่ วามเปน็ เลศิ
ทางวิชาการในระดบั สากล

พัฒนาหลกั สูตร 70% บุคลากรทีไ่ ด้รับรางวัล
60% ระดับมหาวทิ ยาลยั
เพอ่ื รองรบั การเปลย่ี นแปลง 50% STEP 4 ชาติและนานาชาติ
(ภายใน 3 ป)ี
40%
STEP 3 26

ห“เลศักรสษูตฐรศใาหสมต่ รป์ ระยกุ ต์และธุรกิจเSTกEP2ษตร” คน

STEP 1

ทุนวิจยั / พัฒนา ผลงานตีพิมพ์
วชิ าการจาก ในวารสารระดับชาติ
ภายนอก
70 เรื่อง
97.4 ล้านบาท
(เปาหมาย 48 เรอ่ื งภายใน 3 ป)
ในป 2563 คณะไดร บั ทนุ เพิ่มข้ึน 33.6 ลานบาท
(ป 2560 คณะไดท นุ สนับสนุน 63.8 ลา นบาท) SMART Goals KU 19

นสิ ิตมคี ุณภาพ 4 รู้ นักเรยี นท่มี ีคุณภาพดเี ดน่ ยุทธศาสตร์ 3

ร้รู อบ รูน้ ำ รปู้ ระยุกต์ รู้คุณธรรม รับตรงเข้าคณะผ่านโครงการ การเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพ
การดำ�เนินงานตามภารกิจ
คะแนน Q-ECON
รายไดเ้ ฉลีย่ ของนสิ ติ ปริญญาตรี
ระดับความรู้ 4.57 ร้อยละ 28ของนักเรยี นที่เข้าร่วมโครงการ
(สูงกวา เปา หมายท่ี 3.51) หลักสูตร EEBA
(เปาหมายรอ ยละ 12) 28,828 บาทต่อเดือน
คณะเศรษฐศาสตร์
เฉลี่ย 19,207 บาทตอ่ เดือน

(มก. 17,881 บาทตอเดือน)

อาจารยป์ ระจำ อาจารย์ดำรง บุคลากรมีแผนพฒั นา
วฒุ ปิ รญิ ญาเอก ตำแหน่งทางวชิ าการ รายบคุ คล

ร้อยละ 91.25 ร้อยละ 71.25 รอ้ ยละ 100

(คา เฉลย่ี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 74.68%) (คา เฉล่ียมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร 59.31%) (เปาหมายรอ ยละ 50)

กระตุ้นสร้างศรทั ธา Social Media ฐานข้อมลู เพื�อการตดั สินใจ
ค่านิยมองคก์ ร เพ�ือการประชาสัมพันธ์ ของผ้บู รหิ าร
และสร้างความสัมพันธ์
“เรียนรู้ มุง่ มนั่ แกน่ ิสิต ศิษย์เก่า และบคุ ลากร
ท่มุ เท ทันกาล”
line official,
line Group,
Facebook Fanpage

20 SMART Goals KU

ยุทธศาสตร์ 4

การใชห้ ลกั ธรรมาภบิ าล
ในการบริหารจัดการอยา่ งย่งั ยนื

GREEN ECON โครงการอนรุ กั ษแ์ ละปรับปรุง เพม่ิ พ้ืนที่แห่งการเรยี นรู้ให้กบั นสิ ิต
จากจำนวน 230 ตร.ม.
หอ้ งสมดุ พิทยาลงกรณและพืน้ ท่โี ดยรอบ เป็นจำนวน 590 ตร.ม.
เพ่ิมข้ึน ร้อยละ 156
เพ่มิ พ้ืนทีส่ ีเขยี ว (ไมพ้ ุ่ม)
จากจำนวน 47 ตร.ม. เพิม่ ไมย้ นื ตน้
เปน็ จำนวน 647 ตร.ม.
เพ่ิมขน้ึ ร้อยละ 1,258 (ปอดคณะเศรษฐศาสตร์)

จากจำนวน 16 ตนั
เป็นจำนวน 50 ตนั
เพิม่ ข้ึน ร้อยละ 212.50

ลดค่าใช้จา่ ย ค่าไฟฟ้ า / ค่านํา้ ประปา บคุ ลากรเข้าสู่
ค่าสาธารณูปโภคลดลง ตาํ แหน่งท่สี ูงขึน้
รวดเร็ว/ทนั สมยั
1. Business Click 4.5 ล้านบาท สายวชิ าการ 20 คน
2. Payment Online (เงนิ เดอื นและค่าสอน) สายสนบั สนนุ 4 คน
ลดคา่ ธรรมเนียมท่บี คุ ลากรตอ้ งจา่ ย (จากเดิม ป 2560 11.7 ลานบาท
11,160 บาท/ปี (10 บาท/คน/เดือน) ป 2561 8.8 ลานบาท
3. จ่าย OT เขา้ ระบบบญั ชีแทนเงินสด ป 2562 7.2 ลานบาท)

เผยแพรฐ่ านข้อมลู เตรียมพร้อมและทนั การณ์ตอ่ บริหารจดั การ
งานวจิ ยั การเปลยี่ นแปลงสงั คมดิจิตอล ทางการเงนิ
ท่ีโปร่งใสและรวดเร็ว
Book of Abstract ตดิ ตงั้ โปรแกรม Online application
2019 และ 2020 กล้อง Webcam อุปกรณ์ Online ระบบ E-Slip
ทนั สมยั ทกุ หอ้ งเรยี น แทนกระดาษ

SMART Goals KU 21

โครงการอนรุ ักษ์และปรบั ปรุงพ้นื ท่ี
หอ้ งสมดุ พทิ ยาลงกรณและพื้นท่บี ริเวณโดยรอบ

โครงการอนุรักษ์และปรับปรุงพ้ืนที่ห้องสมุดพิทยาลงกรณและพ้ืนที่บริเวณโดยรอบ อาคารห้องสมุดพิทยาลงกรณ ซ่ึงเป็นอาคารอนุรักษ์
อันดบั 2 ของมหาวิทยาลัย ซ่งึ สรา้ งในปี พ.ศ. 2506 ปจั จุบนั อยู่ในสภาพทรดุ โทรมและพนื้ ที่ไมเ่ พยี งพอตอ่ ความต้องการของนสิ ติ ในการทำ�กิจกรรมและ
ทบทวนต�ำ รา คณะเศรษฐศาสตรไ์ ดต้ ระหนกั ถงึ ความส�ำ คญั ดงั กลา่ ว หากมกี ารปรบั เปลยี่ นการใชง้ านจงึ ยดึ หลกั การอนรุ กั ษแ์ บบฟนื้ ฟสู ภาพ (Renovation)
รวมถงึ เปน็ การบรหิ ารจัดการการใช้พื้นทใ่ี ห้ใช้ประโยชน์ไดอ้ ย่างคมุ้ คา่ โดยปรับปรงุ พืน้ ที่ประมาณ 3,435 ตารางเมตร

โครงการอนรุ ักษแ์ ละปรับปรุง เพมิ่ พ้ืนทแี่ ห่งการเรยี นรู้ให้กับนสิ ติ
จากจำนวน 230 ตร.ม.
ห้องสมุดพิทยาลงกรณและพน้ื ท่โี ดยรอบ เปน็ จำนวน 590 ตร.ม.
เพม่ิ ข้นึ รอ้ ยละ 156
เพ่มิ พ้ืนทสี่ เี ขยี ว (ไม้พมุ่ )
จากจำนวน 47 ตร.ม. เพิ่มไม้ยนื ต้น
เปน็ จำนวน 647 ตร.ม.
เพ่มิ ข้นึ รอ้ ยละ 1,258 (ปอดคณะเศรษฐศาสตร์)

จากจำนวน 16 ตนั
เป็นจำนวน 50 ตนั
เพ่ิมขึน้ รอ้ ยละ 212.50

22 SMART Goals KU

SMART Goals KU 23

24 SMART Goals KU

1 ระบบ TMB Business Click ประโยชน์ของการปรับปรุงการชำ�ระเงนิ โดยใช้ระบบอเิ ลคทรอนิกสเ์ ข้าช่วย

• ลดระยะเวลาการเดินทางไปตดิ ต่อกบั ธนาคาร
• ลดคา่ ใชจ้ ่ายในการโอนเงินเดอื น 10 บาท/คน/เดือน
• ลดการใช้กระดาษโดยรวม เพิม่ ประสทิ ธภิ าพในการทำ�งาน

Transaction via TMB Business CLICK

สง่ ข้อมูลการจ่ายเงิน

1 บริษทั เตรียมไฟล์ ข้อมลู จ่ายเงินเดอื น 2 3 เงินเขา้ บญั ชเี งินเดือนพนักงาน

ระบบ e-Slip เป็นการใช้ SMART Goals KU 25

2 กระบวนงานการแจ้งข้อมูล
เงินเดือนของพนักงานเงิน
รายได้ คณะเศรษฐศาสตร์
แทนกระดาษ

รางวลั และ

ผลงานทส่ี ร้างช่อื เสยี ง
คณะเศรษฐศาสตร์ให้การสนับสนุนและส่งเสริมคณาจารย์และนิสิตให้ร่วม
สร้างสรรค์ผลงาน วิจัย และนวัตกรรมเป็นที่ประจักษ์ต่อสาธารณชนท้ังระดับสถาบัน
ชาติ และนานาชาติ ซงึ่ เปน็ การน�ำ ผลงานเขา้ รว่ มประกวด แขง่ ขนั และไดร้ บั รางวลั น�ำ พา
ช่ือเสยี งมายงั คณะเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ มนี สิ ิตท้งั ในระดบั ปริญญาตรี และ
บณั ฑติ ศกึ ษา ทสี่ รา้ งชอ่ื เสยี งใหก้ บั คณะในดา้ นวชิ าการ และดา้ นอนื่ ๆ มรี ายละเอยี ดดงั น้ี

ผลงานนิสิตท่สี รา้ งชอ่ื เสยี ง

ดา้ นวชิ าการทีมนิสิตของคณะเศรษฐศาสตร์ (2563) ไดร้ ับรางวัลชนะการประกวดแผน

1 ธรุ กจิ ซง่ึ โครงการน�ำ รอ่ งรปู แบบการผสมผสานการเรยี นการสอน และงานบรกิ าร
วิชาการ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผ่านส่ือผสมของ KURplus ในหัวข้อ
“สวนยางทนั สมยั Smart Rubber แบบ Smart Farmer” ด�ำ เนนิ การโดย สถานี
วทิ ยุ มก. รว่ มกบั ภาควชิ าเศรษฐศาสตรเ์ กษตรและทรพั ยากร คณะเศรษฐศาสตร์
เมอ่ื วนั ที่ 13 มกราคม 2563 โดยมผี ไู้ ด้รับรางวัลดงั น้ี
1. ทีมชนะเลิศ กล่มุ AROMA RUBBER
2. ทมี รองชนะเลศิ กล่มุ You Meat Me
3. ทีมรองชนะเลิศ กลมุ่ ชากัญชง

26 SMART Goals KU

นางสาวกญั ญาวรี ์ ปญั ญาเอก (2563) Mr.Bayu R. Pratama (2563)

2 ได้รับเชิญเป็นวิทยากรบรรยายหัวข้อ 4 นิสิตปริญญาโท หลักสูตรเศรษฐศาสตร์
“บทบาทของเยาวชนไทยในสภานักศึกษา เกษตรและทรัพยากร ภาคภาษาอังกฤษ ได้รางวัล
อาเซียน ASEAN University Student รองอันดับ 3 ในการ นำ�เสนอท่ีประชุมนานาชาติ
Council Union จัดโดย กรมกิจการเด็กและ ในธมี Sustainable Agriculture and Aquaculture
ในหัวข้อ “Impact of Climate Change on
3 เยาวชน เม่อื วนั ท่ี 17 มกราคม 2563 Farmer Adaptation and Tobacco Productivity
นางสาวพรสิริ ธรี ภราดร (2563) in Temanggung Regency” ภายใต้การดูแลของ
ไดร้ บั รางวลั นสิ ติ มคี วามประพฤตดิ เี ดน่ รศ.ดร.กาญจนา ศรีพฤทธิ์เกียรติ เม่ือวันที่ 11-12
ปีการศึกษา 2562 จัดโดย พุทธสมาคมแห่ง มกราคม 2564
ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ เม่ือวันท่ี
11 กมุ ภาพนั ธ์ 2563

5 นางสาวมณฑกาญจน์ บุญเพมิ่ ผล (2563) SMART Goals KU 27
ผลงานเร่อื ง “ปจั จยั ที่มผี ลตอ่ ความเต็มใจจา่ ยส�ำ หรบั
การรับรองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ของข้าวสังข์หยดเมืองพัทลุง”
จากการประชุมวิชาการศาสตร์พระราชาและการวิจัยเพ่ือสร้าง
ดุลยภาพชีวิตในยุค Disruptive Technology เมื่อวันที่
10 กรกฎาคม 2563

6 นิสิตคณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
(2562) ประกอบดว้ ย
1. นายปวริศ ปยิ ะจติ เมตตา
2. นายปวเรศ ปยิ จติ เมตตา
3. นายทกั ษ์ดนัย นาคา
ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 จากการแข่งขัน
ตอบปญั หาทางเศรษฐศาสตร์ ในโครงการการแขง่ ขนั ตอบปญั หา
และนำ�เสนอบทความวิจัยทางเศรษฐศาสตร์ ระดับปริญญาตรี
ในประเทศไทย ณ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่
โดยมี ดร.พฒุ พิ ฒั น์ ทววี ชริ พฒั น์ เปน็ อาจารยผ์ คู้ วบคมุ ทมี

9 7 นางสาวชฎุ ิพร ปราบหงษ์ (2562)
10 ได้รับรางวัลที่ 2 จากการแข่งขันสุนทรพจน์ภาษาอังกฤษระดับอุดมศึกษา (English Speech
Competition 2562) จัดโดยมหาวิทยาลยั ราชภัฏลำ�ปาง เมือ่ วันท่ี 22 กุมภาพันธ์ 2562
11
8 นายทักษ์ดนยั นาคา (2562)
ไดร้ บั รางวลั ชมเชย จากการแขง่ ขนั ตอบปญั หาทางเศรษฐศาสตรร์ ะดบั อดุ มศกึ ษา ประจ�ำ ปี 2562
จดั โดยสำ�นักงานเศรษฐกจิ การคลัง เมอื่ วนั ท่ี 6 กนั ยายน 2562
นายทกั ษด์ นัย นาคา นายธนวัฒน์ กล่ินเจรญิ และนายศภุ ณัฐ์ ตงั้ โสภณ (2562)
ไดร้ บั รางวลั ชมเชยเพชรยอดมงกฎุ จากการแขง่ ขนั เศรษฐศาสตรเ์ พชรยอดมงกฎุ ครั้งที่ 11 ระดับอุดมศึกษา จัดโดย
ตลาดหลักทรพั ย์แหง่ ประเทศไทยและมูลนิธริ ่มฉัตร เมื่อวันที่ 27 ตลุ าคม 2562
นางสาวเก็จชญา ปันดา (2562)
นิสติ ระดับปรญิ ญาโท ได้รับรางวัลรางวัลผลงานวิจัยนำ�เสนอในการประชุมวิชาการ เรอื่ ง ปัจจัยทม่ี ผี ลต่อมลู ค่าหน้ขี อง
ลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) จากการประชุมวิชาการระดับชาติของนักเศรษฐศาสตร์
ครั้งท่ี 13 “เศรษฐศาสตรไ์ มต่ าย” (The 13th National Conference of Economists “Econ Never dies”) จัดโดย ธนาคาร
แห่งประเทศไทยและเครอื ขา่ ยสถาบันวชิ าการด้านเศรษฐศาสตร์ของประเทศไทย เม่อื วนั ท่ี 22 มถิ นุ ายน 2562
นายปวรศิ ปิยะจิตเมตตา นายปวเรศ ปยิ ะจติ เมตตา และ นายเรวตั ร ทิพรัตน์ (2561)
ไดร้ บั รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั ที่ 2 จากการแขง่ ขนั ตอบปญั หาและน�ำ เสนอบทความวจิ ยั ทางเศรษฐศาสตร์ ระดบั ปรญิ ญา
ตรี ประจำ�ปกี ารศึกษา 2560 เมอ่ื วนั ที่ 16 มนี าคม 2561

28 SMART Goals KU

12 นางสาวประภาศรี ภูนคร นางสาวนัตญา สายคำ้ � และ
นางสาวสชุ าดา บญุ ละเอียด (2561)
ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 4 จากการแข่งขัน
นำ�เสนอบทความวิจยั ทางเศรษฐศาสตร์ ระดบั ปรญิ ญาตรี ประจ�ำ ปี
การศกึ ษา 2560 เมอ่ื วนั ที่ 16 มีนาคม 2561

13 นางสาวปริณดา กระโจมแก้ว (2561)
14 ไดร้ บั รางวลั ชนะเลิศ จากการแขง่ ขันทางวชิ าการ PDMO Camp 2561 ประเภททีม
15 ภายใตโ้ ครงการส่งเสริมภาพลกั ษณ์ท่ดี ีของหนส้ี าธารณะ จดั โดย ส�ำ นกั งานบริหารหน้ีสาธารณะ
กระทรวงการคลงั เมอื่ วนั ท่ี 27-30 มถิ ุนายน 2561

นายณชั ภณ คลงั พลอย (2561)
ไดร้ บั รางวลั รองชนะเลิศอันดบั 1 จากการแข่งขนั ทางวิชาการ PDMO Camp 2018
ประเภททมี ภายใตโ้ ครงการสง่ เสรมิ ภาพลกั ษณท์ ด่ี ขี องหนสี้ าธารณะ จดั โดยส�ำ นกั งานบรหิ ารหน้ี
สาธารณะ กระทรวงการคลัง เมื่อวนั ที่ 27-30 มถิ ุนายน 2561

นายสทิ ธินนั ท์ ปินทะยา (2561)
ไดร้ ับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 จากการแขง่ ขนั ทางวิชาการ PDMO Camp 2561
ประเภททีม ภายใต้โครงการส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีของหนี้สาธารณะ จัดโดยสำ�นักงานบริหาร
หน้ีสาธารณะ กระทรวงการคลงั เมื่อวนั ที่ 27-30 มิถนุ ายน 2561

16 นางสาวณฐั ชยา นวลพุฒ (2561)
ได้รับรางวัลรางวัลชมเชย จาก
การแข่งขันทางวิชาการ PDMO Camp
2561 ประเภททมี ภายใตโ้ ครงการส่งเสริม
ภาพลักษณ์ที่ดีของหน้ีสาธารณะ จัดโดยสำ�นักงาน
บรหิ ารหนสี้ าธารณะ กระทรวงการคลงั เมอ่ื วนั ท่ี 27-30
มิถุนายน 2561

SMART Goals KU 29

17 นางสาวสริ วิ ิภา เพ็งแจม่ , นางสาวญาณี ธนะเดช และนางสาวเบญจวรรณ อุดชาชน
ได้รับรางวัลชนะเลิศจากการประกวดโครงงานแก้ปัญหาผู้สูงอายุ ในงานประชุมวิชาการ
18
19 เศรษฐศาสตรเ์ กษตร เศรษฐศาสตรท์ รพั ยากร เศรษฐศาสตรก์ ารอาหาร และธรุ กจิ การเกษตร ครง้ั ท่ี 6
20 เม่อื วันท่ี 20 กรกฎาคม 2561 ท่จี ังหวดั ขอนแกน่ จดั โดย สมาคมเศรษฐศาสตรเ์ กษตรแหง่ ประเทศไทย
ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
นางสาวศลษิ า สเุ สรีชยั นางสาวธนพร จิตมติ รสมั พนั ธ์ และนายจิณณวัตร ธนาพาณิชย ์
ได้รบั รางวัลรองชนะเลิศอันดบั 1 จากการประกวดโครงงานแกป้ ัญหาผู้สงู อายุ ในงานประชมุ วิชาการ
เศรษฐศาสตรเ์ กษตร เศรษฐศาสตรท์ รพั ยากร เศรษฐศาสตรก์ ารอาหาร และธรุ กจิ การเกษตร ครง้ั ท่ี 6
จดั โดยสมาคมเศรษฐศาสตรเ์ กษตรแหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชปู ถมั ภ์ เมอื่ วนั ที่ 20 กรกฎาคม 2561
นายทรรศิริ ลาสุขงั (ประเภททีมรว่ มกับนสิ ิตคณะบริหาร)

ชนะเลศิ การแข่งขนั กรณศี ึกษาทางบญั ชรี ะดบั ประเทศ ครัง้ ที่ 2 ประจำ�ปี 2561 “Thailand
Accounting Case Competition 2561” จัดโดย คณะกรรมการวิชาชีพบัญชีด้านการศึกษาและ
เทคโนโลยกี ารบัญชี เม่ือวันที่ 1 กนั ยายน 2561
นายภคพล ทรพั ยเ์ กษม

ได้รับรางวัลชมเชย (1 ใน 5) จากการแข่งขันตอบ
ปัญหาทางเศรษฐศาสตร์ระดับอุดมศึกษา ประจำ�ปี 2561
จดั โดยส�ำ นกั งานเศรษฐกจิ การคลงั กระทรวงการคลงั เมอ่ื วนั ท่ี
7 กันยายน 2561

30 SMART Goals KU

21 ทีมนสิ ติ คณะเศรษฐศาสตร์ (2561)
ไดร้ บั รางวลั จากการแขง่ ขนั เศรษฐศาสตรเ์ พชรยอดมงกฎุ ครง้ั ท่ี 10 ประจำ�ปีการศึกษา 2561

จัดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ร่วมกับ มูลนิธิร่มฉัตร สมาคมประกันชีวิตไทย เมื่อวันที ่
7 ตุลาคม 2561 ประกอบดว้ ย

• นิสิตที่ไดร้ ับรางวลั รองชนะเลิศเหรียญเงนิ
1. นายปวริศ ปยิ ะจิตเมตตา
2. นายปวเรศ ปยิ ะจติ เมตตา
3. นายธีระพทั ธ์ วงษแ์ กว้ สวุ รรณ

• ทมี นสิ ิตที่ได้รบั รางวัลชมเชย 2 ทีม ได้แก่
1. ทมี ใหมโ่ ปะ๊ เเตก น.ส.ณัฐชยา นวลพฒุ
น.ส.นภสั วรรณ เกตุบรรลุ และนายณฐั นนท์ พง่ึ โต
2. ทีมซปุ เปอร์ไก่ นายนันทวฑั น์ ชัยพฤกษ์ไพรวัน นายมงคล นธิ ิกันทรากร
และนายศภุ ชัย พันทวีศักดิ์

• ทมี นสิ ติ ทไี่ ด้รบั รางวัลชมเชยเพชรยอดมงกฎุ (รอบ 10 ทมี สุดท้าย) 2 ทีม ได้แก่
1. ทีมมาทุบ นายทักษ์ดนยั นาคา นายธนวัฒน์ กลน่ิ เจรญิ
และนายรชั พล พงษป์ ระเสริฐ
2. ทมี ป้าเบลล์อีกแล้ว น.ส.กลมวรรณ นำ�สงค์นายกติ ิพฒั น์ อมรชินวิวฒั น์

22 และนายสริ ภพ สมประสทิ ธกิ ุล
นายฉตั ริน ทองศรีได้รบั รางวลั (2561)
ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับที่ 1 ประกวดแผนธุรกิจสร้างสรรค์สำ�หรับ
คนรนุ่ ใหม่ ประจ�ำ ปี 2561 “Initiative Business Plan Competition for New
Generation 2561” จัดโดย สมาคมศิษย์เก่าเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ
แห่งมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ เมอื่ วันท่ี 4 พฤศจิกายน 2561

SMART Goals KU 31

ด้านอนื่ ๆ

1 นางสาวกชพร ประทุมสวุ รรณ (2563)
ไดร้ บั รางวลั เยาวชนดเี ดน่ กรงุ เทพมหานคร (ประกายเพชร) ดา้ นกฬี าจากการสง่ เสรมิ เยาวชนดเี ดน่ กรงุ เทพมหานคร (ประกาย
เพชร) ครั้งท่ี 15 ประจำ�ปี 2563 จดั โดย สำ�นักวัฒนธรรม กฬี าและการทอ่ งเท่ียว เม่อื วนั ที่ 25 กรกฎาคม 2563

2 นายศวิ กร บุญเจริญพนั ธ์ทวี (2562)
ไดร้ ับรางวลั ชนะเลิศจากการแขง่ ขันกีฬาคาราเตโ้ ด ชงิ ชนะเลิศแห่งประเทศไทย คร้ังที่ 49 ประจำ�ปี 2562 ดา้ นกีฬา เมือ่ วนั
ท่ี 14-15 กันยายน 2562

3 นางสาวกชพร ประทุมสุวรรณ (2561)
ไดร้ ับรางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ 2 จากการแข่งขันยงิ ธนปู ระเภททมี รายการ Asia Cup-World Ranking Tournament,
Stage III ณ กรงุ ไทเป สาธารณรฐั จีน จัดโดยสมาคมกีฬาแห่งประเทศไทย เม่อื วันที่ 8-13 กรกฎาคม 2561

4 นางสาวนิศารัตน์ อคั รปัญญาวทิ ย์ (2561)
ได้รบั รางวัล 1 เหรียญทอง 2 เหรยี ญทองแดงจากการแข่งขันรายการ Skate Asia 2561 จดั ขึน้ ที่ The rink ice arena
central rama 9 จัดโดย Ice Skating Institute Asia เมอื่ วันที่ 5-12 สิงหาคม 2561

32 SMART Goals KU

5. นสิ ิตคณะเศรษฐศาสตร (2561)
ไดรŒ ับเหรย� ญรางวลั จากการแข‹งขันกีฬามหาว�ทยาลัยแห‹งประเทศไทย คร�ังท่ี 45 เมื่อวนั ที่ 22-31 มกราคม 2561

ธนพร ศริ ว� ัฒนพงศา ปฏภิ าณ ด‹านดี อรรณพ แจงŒ เกดิ

crossword หมากลอŒ มทมี ผสม เอแม็ท คผ‹ู สม

วรญั ชยั จงั ศริ �พรปกรณ ศวิ กร บุญเจร�ญพนั ธทว� สรรพพชร นวลพลับ

เทควันโด คาราเตŒ โด ทา‹ ราํ ทีม ชาย ดาบสากล Epee ชาย

ศุภสุตา สุนทรโชติ กรธวัช ยอดขันธ กมลวรรณ นาํ สงค

ว‹ายน้ํา ผเี สอื้ 50 ม. รกั บีฟ้ ุตบอล ทีมชาย 7 คน บรด� จ ทมี หญงิ
ว‹ายนา้ํ freestyle 50 ม. รกั บี้ฟุตบอล ทมี ชาย 15 คน
ว‹ายนํา้ freestyle 100 ม. SMART Goals KU 33

วรญั ชยั จังศิรพ� รปกรณ

หมากลอŒ มคูช‹ าย
หมากลอŒ มทมี ชาย

อารยะ ภมู จิ ต� อมร

ผลดั ผสม 4 x 100 ชาย
ผลัด freestyle 4 x 100 ชาย

ผลงานคณาจารย์ทสี่ ร้างช่ือเสยี ง

1 รศ.ดร.ฐิตมิ า พฒุ ทิ านันท์ และผศ.ดร.อรรถสดุ า เลิสกุลวฒั น์ (2563)
ได้รับรางวัล Best Paper Award in recognition of Outstanding Contribution to Interdisciplinary Research ผลงาน
“Economics Condition and Meental Health in Thailand” จากการประชมุ วิชาการ SIBR 2020 Conference on Interdisciplinary
Business and Economics Research, Osaka, Japan. July 2-3, 2020

2 รศ.จฑุ าทพิ ย์ ภทั ราวาท (2563)
ผอู้ �ำนวยการสถาบนั วชิ าการดา้ นสหกรณ์ ไดร้ บั โลเ่ ชดิ ชปู ระกาศเกยี รตคิ ณุ
ใ นฐานะบุคลากรท่ีทรงคุณค่าต่อขบวนการสหกรณ์ เป็นผู้น�ำที่มีคุณค่าต่อการ
สหกรณ์ มกี ระบวนทศั น์ เปน็ ผมู้ คี วามคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรคม์ องการณไ์ กล และมหี ลกั
ก ารด�ำเนินงานมีผลงานเชิงประจักษ์ในการผลักดันท่ีเป็นประโยชน์ต่อขบวนการ
สหกรณ์ มคี วามมงุ่ มน่ั ในการผลกั ดนั ใหม้ แี นวปฏบิ ตั ติ ามหลกั การสหกรณเ์ ปน็ แบบ
อย่างท่ดี ี โดยสันนิบาตสหกรณ์แหง่ ประเทศไทย เมอื่ วนั ที่ 10 ธันวาคม 2563

3 ผศ.ดร.เออวดี เปรมษั เฐยี ร และ ผศ.ดร.ณฐั พล พจนาประเสริฐ (2563)
ได้รบั รางวลั ระดับ Silver ผลงานวจิ ยั ทส่ี รา้ งผลกระทบระดับสูง ปี 2563 เรือ่ ง “ผลกระทบของนโยบายการใหน้ �ำเข้าและการไมใ่ ห้
น�ำเข้าเน้ือสกุ รท่ไี ม่ปลอดสารเร่งเนื้อแดง” จัดโดย สถาบนั วิจยั และพัฒนาแห่งมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เมอื่ วันที่ 27 ตุลาคม 2563

4 ผศ.ดร.ศวิ พงศ์ ธรี อ�ำพน (2563)
ไดร้ บั รางวลั นกั วจิ ยั ผสู้ รา้ งสรรคผ์ ลงานวจิ ยั ตพี มิ พ์ ระดบั นานาชาติ ปี 2561
จดั โดย สถาบนั วจิ ยั และพฒั นาแหง่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์เมอื่ วนั ท่ี 27 ตลุ าคม 2563

5 รศ.ดร.วฒุ ิยา สาหรา่ ยทอง (2563)
ไดร้ บั รางวลั นกั วจิ ยั ผสู้ รา้ งสรรคผ์ ลงานวจิ ยั ตพี มิ พ์ ระดบั นานาชาติ ปี 2561
จดั โดย สถาบนั วจิ ยั และพฒั นาแหง่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์เมอ่ื วนั ที่ 27 ตลุ าคม 2563

34 SMART Goals KU

รศ.ดร.บณั ฑิต ชยั วชิ ญชาติ (2563) SMART Goals KU 35

7 ไดร้ บั รางวลั นักวจิ ัยผู้สร้างสรรค์ผลงานวิจัยตีพมิ พ์
ระดบั นานาชาติ ปี 2561 จดั โดย สถาบนั วจิ ยั และพฒั นาแหง่

8 มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เมอ่ื วนั ท่ี 27 ตลุ าคม 2563
ผศ.ดร.อรรถสดุ า เลิศกลุ วัฒน์ (2563)
ได้รบั รางวัลนักวจิ ยั ผูส้ รา้ งสรรคผ์ ลงานวิจยั ตีพมิ พ์
ระดบั นานาชาติ ปี 2561 จดั โดย สถาบนั วจิ ยั และพฒั นาแหง่

9 มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เมื่อวนั ท่ี 27 ตลุ าคม 2563
ผศ.ดร.อรรถสุดา เลิศกลุ วัฒน์ (2563)
ไดร้ บั รางวลั นกั วจิ ยั รนุ่ เยาวผ์ สู้ รา้ งสรรคผ์ ลงานวจิ ยั
ตพี มิ พ์ ระดับนานาชาตสิ งู สดุ ปี 2561 ผลงานวิจัยตพี ิมพ์ใน
วารสารฐานข้อมูล SCOPUS จดั โดย สถาบนั วิจัยและพัฒนา

10 แหง่ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ เมือ่ วนั ท่ี 27 ตลุ าคม 2563
บุคลากรได้รับการคัดเลือกเป็นบุคลากรสาย
วิชาการดีเด่นของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจ�ำปี
2563 ด้านการบริการวิชาการ สายสังคมศาสตร์ เม่ือวันที่
25 ธนั วาคม 2563
o ผศ.ดร.อรรถสุดา เลิศกุลวัฒน์ กลุ่มอายุต�่ำ
กว่า 40 ปี ด้านการวิจัยและนวัตกรรม ด้านการวิจัย สาย
สังคมศาสตร์
o รศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ กลุ่มอายุต้ังแต่
40 ปขี น้ึ ไป ดา้ นการวจิ ยั และนวัตกรรม ด้านการวิจยั สาย

11 สงั คมศาสตร์
ผศ.ดร.กมั ปนาท เพ็ญสุภา (2562)
ไดร้ บั เขม็ เชดิ ชเู กยี รติ “เกษตราภภิ ทั ร” กติ ตมิ ศกั ดิ์
เปน็ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ และท�ำคณุ ประโยชนใ์ หแ้ กก่ ระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ เม่ือวันที่ 17 ตลุ าคม 2562

12 รศ.ดร.วิษณุ อรรถวานิช (2562)
ไดร้ บั รางวลั “ปว๋ ย อง๊ึ ภากรณ์ ส�ำ หรบั นกั เศรษฐศาสตรร์ นุ่ ใหมท่ ม่ี ผี ลงานดเี ดน่ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง” ประจ�ำ ปี 2562 โดย สถาบนั ปว๋ ย อ๊งึ
ภากรณ์ มลู นธิ ิ 50 ปี ธนาคารแหง่ ประเทศไทย และสถาบนั วชิ าการด้านเศรษฐศาสตรท์ ัง้ 7 สถาบัน ณ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย เม่อื วนั
ที่ 9 มีนาคม 2562

13 ผศ.ดร.ศวิ พงศ์ ธีระอำ�พน (2562) 15 ผศ.ดร.สันติ แสงเลศิ ไสว (2562)
ไดร้ บั รางวลั นกั วจิ ยั ผสู้ รา้ งสรรคผ์ ลงานวจิ ยั ตพี มิ พ์ ไดร้ บั รางวลั นกั วจิ ยั ผสู้ รา้ งสรรคผ์ ลงานวจิ ยั ตพี มิ พ์
ระดับนานาชาติ ปี 2560 จดั โดย สถาบนั วจิ ยั และพัฒนา ระดบั นานาชาติ ปี 2560 จัดโดยสถาบนั วจิ ยั และพฒั นา
แหง่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เมอ่ื วนั ท่ี 22 ตลุ าคม 2562 แหง่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เมอ่ื วนั ท่ี 22 ตลุ าคม 2562

14 รศ.ดร.บณั ฑิต ชัยวชิ ญชาติ (2562) 16 ผศ.ดร.กนกวรรณ จันทรเ์ จริญชยั (2562)
ไดร้ บั รางวลั นกั วจิ ยั ผสู้ รา้ งสรรคผ์ ลงานวจิ ยั ตพี มิ พ์ ได้รับรางวัลนักวิจัยผู้สร้างสรรค์ผลงานวิจัยตี
ระดับนานาชาติ ปี 2560 จัดโดย สถาบันวจิ ัยและพัฒนา พิมพ์ระดับนานาชาติ ปี 2560 จัดโดยสถาบันวิจัยและ
แหง่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เมอื่ วนั ท่ี 22 ตลุ าคม 2562 พัฒนาแห่ง เมื่อวันท่ี 22 ตุลาคม 2562 มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์
36 SMART Goals KU

17 ผศ.ดร.วฒุ ิยา สาหร่ายทอง (2562) 22 ดร.สมหมาย อดุ มวิทิต (2562)
18 ไดร้ บั รางวลั นกั วจิ ยั ผสู้ รา้ งสรรคผ์ ลงานวจิ ยั 23 ไดร้ บั การคดั เลอื กเปน็ บคุ ลากรสายวชิ าการ
19 ตีพิมพ์ระดับนานาชาติ ปี 2560 จัดโดย สถาบันวจิ ัย 24 ดเี ดน่ ของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ประจ�ำ ปี 2562
20 และพฒั นาแหง่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เมอ่ื วนั ที่ กลุ่มอายตุ งั้ แต่ 40 ปีขึ้นไป ดา้ นการบริการวชิ าการ
21 22 ตุลาคม 2562 25 สายสังคมศาสตร์ เมอ่ื วนั ที่ 26 ธนั วาคม 2562
ผศ.ดร.อรชส นภสินธวุ งศ์ (2562) รศ.ดร.ฐติ ิมา พุฒิทานันท์ (2562)
ไดร้ บั รางวลั นกั วจิ ยั ผสู้ รา้ งสรรคผ์ ลงานวจิ ยั ไดร้ บั การคดั เลอื กเปน็ บคุ ลากรสายวชิ าการ
ตพี มิ พ์ระดบั นานาชาติ ปี 2560 จดั โดย สถาบันวจิ ยั ดเี ดน่ ของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ประจ�ำ ปี 2562
และพฒั นาแหง่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เมอ่ื วนั ท่ี กลุม่ อายุตงั้ แต่ 40 ปีขนึ้ ไป ดา้ นการบรกิ ารวชิ าการ
22 ตลุ าคม 2562 สายสังคมศาสตร์ เมอื่ วนั ท่ี 26 ธนั วาคม 2562
ผศ.ดร.กัมปนาท เพ็ญสุภา (2562) รศ.ดร.ฐิตมิ า พฒุ ิทานนั ท์ (2562)
ไดร้ บั รางวลั นกั วจิ ยั ผสู้ รา้ งสรรคผ์ ลงานวจิ ยั ไดร้ ับรางวลั Best Paper Award Best
ตีพิมพร์ ะดบั นานาชาติ ปี 2560 จัดโดย สถาบนั วจิ ัย Paper Award จากการนำ�เสนอผลงานวจิ ยั ในการ
และพฒั นาแหง่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เมอ่ื วนั ที่ ประชุมนำ�เสนอผลงานวิจัยเร่ือง “ผลกระทบของ
22 ตุลาคม 2562 นโยบายการควบคมุ บคุ คลตา่ งดา้ วของสหรฐั อเมรกิ า
ผศ.ดร.อรรถสดุ า เลศิ สุวฒั น์ (2562) ทม่ี ตี อ่ การสง่ เยาวชนผดิ กฎหมายกลบั ประเทศทเ่ี ขต
ไดร้ บั รางวลั นกั วจิ ยั ผสู้ รา้ งสรรคผ์ ลงานวจิ ยั บริหารพเิ ศษแหง่ สาธารรัฐประชาชนจีน”
ตีพมิ พ์ระดับนานาชาติ ปี 2560 จัดโดย สถาบนั วจิ ยั ผศ.ดร.ศวิ พงศ์ ธรี อำ� พล (2562)
และพฒั นาแหง่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เมอ่ื วนั ท่ี ไดร้ ับรางวลั Best Presentation Award
22 ตุลาคม 2562 จากการนําเสนอผลงานวิจัยเร่ือง The Effect of
รศ.ดร.วิษณุ อรรถวานชิ (2562) Resource Misallocation on the Productivity
ไดร้ บั การคดั เลอื กเปน็ บคุ ลากรสายวชิ าการ of Rice Farming in Thailand: Evidence from
ดเี ดน่ ของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ประจ�ำปี 2562 Household-Level Data ทเี่ มืองนวิ ยอรก์ ประเทศ
กลุ่มอายุต่�ำกว่า 40 ปี ด้านการบริการวิชาการ สหรัฐอเมรกิ า
สายสังคมศาสตร์ เม่อื วันท่ี 26 ธนั วาคม 2562
SMART Goals KU 37

26 อ.ดร.มานะ ลกั ษมอี รุโณทยั (2562) 30 ผศ.ดร.ศิวพงศ์ ธรี ะอำ� พน (2561)
27 ไดร้ บั รางวลั Journal Best Paper Award 31 ไดร้ บั รางวลั นกั วจิ ยั ผสู้ รา้ งสรรคผ์ ลงานวจิ ยั
28 เรอ่ื ง Imports of Thailand’s Export Slowdown: 32 ตพี มิ พ์ระดบั นานาชาติ ปี 2559 จดั โดย สถาบนั วิจยั
29 The Use of Input Output Model and Social และพฒั นาแหง่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เมอ่ื วนั ที่
Accounting Matrix (SAM) ในการประชุมวชิ าการ 1 มิถุนายน 2561
ทเี่ มอื งซูริค ประเทศสวิสเซอรแ์ ลนด์ รศ.ดร.บัณฑติ ชยั วิชญชาติ (2561)
รศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ (2561) ไดร้ บั รางวลั นกั วจิ ยั ผสู้ รา้ งสรรคผ์ ลงานวจิ ยั
ไดร้ ับรางวัล Best Paper Award เรอื่ ง ตพี ิมพ์ระดบั นานาชาติ ปี 2559 จดั โดย สถาบันวิจยั
“Tourism Promotion, Tourism Revenues and และพฒั นาแหง่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เมอ่ื วนั ที่
Sect oral Outputs in Thailand” ในการประชุม 1 มิถุนายน 2561
วิชาการระดบั นานาชาติ ICESSIM 2561 เมอ่ื วนั ที่ รศ.ดร.เรวตั ร ธรรมาอภริ มย์ (2561)
9 กรกฎาคม 2561 ไดร้ บั รางวลั นกั วจิ ยั ผสู้ รา้ งสรรคผ์ ลงานวจิ ยั
ผศ.ดร.ศวิ พงศ์ ธรี อำ�พน (2561) ตีพมิ พร์ ะดับนานาชาติ ปี 2559 จดั โดย สถาบันวจิ ัย
ได้รบั รางวลั Best Presentation Award และพฒั นาแหง่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เมอ่ื วนั ท่ี
ในการประชุมวิชาการ 20th International Con- 1 มิถุนายน 2561
ference on Finance and Economics : ICFE
2561 จัดโดย WASET (World Academy of Sci-
ence, Engineering and Technology) เม่ือวนั ท่ี
3-4 มถิ ุนายน 2561
ผศ.ดร.วษิ ณุ อรรถวานิช (2561)
ไดร้ บั รางวลั นกั วจิ ยั ผสู้ รา้ งสรรคผ์ ลงานวจิ ยั
ตพี มิ พร์ ะดบั นานาชาติ ปี 2559 จัดโดย สถาบันวจิ ยั
และพฒั นาแหง่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เมอ่ื วนั ที่
1 มถิ ุนายน 2561

38 SMART Goals KU

33 รศ.ดร.ฐติ มิ า พฒุ ทิ านันท์ (2561) 35 รศ.ดร.เสาวลักษณ์ กูเ้ จริญประสทิ ธ์ิ (2561)
ไดร้ บั รางวลั นกั วจิ ยั ผสู้ รา้ งสรรคผ์ ลงานวจิ ยั ไดร้ บั รางวลั นกั วจิ ยั ผสู้ รา้ งสรรคผ์ ลงานวจิ ยั
ตพี ิมพร์ ะดับนานาชาติ ปี 2559 จัดโดย สถาบันวจิ ยั ตีพิมพ์ระดบั นานาชาติ ปี 2559 จัดโดย สถาบนั วจิ ัย
และพฒั นาแหง่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เมอื่ วนั ท่ี และพฒั นาแหง่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เมอ่ื วนั ที่
1 มถิ นุ ายน 2561
36 1 มิถนุ ายน 2561
34 รศ.ดร.วรดี จงอศั ญากลุ (2561) ผศ.ดร.วฒุ ยิ า สาหร่ายทอง (2561)
ไดร้ บั รางวลั นกั วจิ ยั ผสู้ รา้ งสรรคผ์ ลงานวจิ ยั ไดร้ บั รางวลั นกั วจิ ยั ผสู้ รา้ งสรรคผ์ ลงานวจิ ยั
ตีพมิ พร์ ะดับนานาชาติ ปี 2559 จัดโดย สถาบันวิจัย ตพี ิมพ์ระดบั นานาชาติ ปี 2559 จดั โดย สถาบนั วิจัย
และพฒั นาแหง่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เมอ่ื วนั ท่ี และพฒั นาแหง่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เมอ่ื วนั ที่
1 มิถุนายน 2561 1 มิถนุ ายน 2561

SMART Goals KU 39

ขอ้ มูลทัว่ ไป
สายวิชาการ สายสนับสนุน
ข้อมูลบคุ ลากร

45

37 26 37

17 34 9
11
สายสนบั สนนุ
10 สายวชิ าการ

สายวชิ าการ สายสนับสนุน

รวม 84 115

40 SMART Goals KU

อาจารย์ประจ�ำ ท่มี วี ุฒปิ ริญญาเอก และต�ำ แหนง่ ทางวิชาการ

ปั จจบุ นั คณะเศรษฐศาสตรม์ บี คุ ลากรสายวชิ าการท่ดี �ำ รงต�ำ แหน่งทางวชิ าการ
ร้อยละ 71.95 อาจารยป์ ระจ�ำ วฒุ ปิ รญิ ญาเอก ร้อยละ 95.12

คณุ วุฒิ 2560 รอ้ ยละ 2561 รอ้ ยละ 2562 ร้อยละ 2563 รอ้ ยละ

ปริญญาโท 9 10.84 9 11.11 8 10.13 4 4.88

ปริญญาเอก 74 89.16 72 88.89 71 89.87 78 95.12
รวม 83 81 79 82

ประเภท 2560 ร้อยละ 2561 ร้อยละ 2562 ร้อยละ 2563 รอ้ ยละ
ตำ�แหน่งวิชาการ

ศาสตราจารย์ - - - -

รองศาสตราจารย์ 11 13.25 12 14.82 14 17.72 17 20.73

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 40 48.19 40 49.38 38 48.10 42 51.22

อาจารย์ 32 38.56 29 35.80 27 34.18 23 28.05

รวม 83 81 79 82

หมายเหตุ : ปี 2563 อยรู่ ะหวา่ งศกึ ษาต่อระดับปริญญาเอก จ�ำ นวน 2 คน

SMART Goals KU 41

จำ�นวนนสิ ิต

จำ�นวนนสิ ิตทงั้ หมดของคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2560 – 2563

ปริญญาตรี ปริญญาโท ปรญิ ญาเอก รวมทงั้ ส้ิน
4,247 (2560)
4,000 3,557 3,467 3,587 3,348 4,153 (2561)
3,500 4,167 (2562)
3,793 (2563)
3,000

2,500

2,000

1,500

1,000 660 658 550 432
500 30 28 30 13
0

2560 2561 2562 2563

42 SMART Goals KU

จำ�นวนนสิ ติ ใหมข่ องคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2560 – 2563

ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก

1,200 1,057 รวมทงั้ ส้นิ
1,181 (2560)
1,000 904 936 869 1,204 (2561)
1,242 (2562)
800 1,031 (2563)

600

400 273 267
200 177 160
04 1 8 2

2560 2561 2562 2563

จำ�นวนผสู้ �ำ เรจ็ การศึกษา ปกี ารศึกษา 2560 – 2562

ปริญญาตรี ปริญญาโท ปรญิ ญาเอก

1,000 913 774 825 รวมทงั้ สน้ิ
1,044 (2560)
826 226 169 1,108 (2561)
6 9 1,006 (2562)
800 1,003 (2563)
2562 2563
600 SMART Goals KU 43

400 194

216 1

200 2561

02
2560

ผลการดำ�เนินงาน
ตามพันธกจิ : ดา้ นวชิ าการ

44 SMART Goals KU

การบริหารและ
พฒั นาหลกั สตู รและ
การเรยี นการสอน

1. พัฒนาและบูรณาการ
หลักสูตรให้สอดคล้องกับสถานการณ์
เศรษฐกจิ และสังคม
• การจัดท�ำหลักสูตรการเรียน
แบบ Module ในระดับปริญญาตรีในรูป
ชุดวิชาในหลักสูตรศาสตร์แห่งแผ่นดิน เป็น
ชุดวิชาเลอื กในหลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ
สาขาวชิ าศาสตรแ์ หง่ แผน่ ดนิ ซงึ่ เปน็ หลกั สตู ร
บูรณาการ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์
และพัฒนาธุรกิจเกษตรและธุรกิจเชิงสังคม
มีความรู้ความเข้าใจทฤษฎีท่ีถูกต้องในการ
วเิ คราะหธ์ รุ กจิ และเศรษฐกจิ อยา่ งเปน็ ระบบ
การวิเคราะห์โครงการภายใต้สภาวะความ
เสี่ยง การจัดการธุรกิจเชิงสังคม การพัฒนา
ตวั แบบธรุ กจิ ได้ ทง้ั ยงั เปน็ การสะสมหนว่ ยกติ
และมปี ระกาศนยี บัตรให้อกี ดว้ ย

SMART Goals KU 45

• การจัดท�ำหลักสูตร 2 ปริญญา
(Double Degree) ระหว่างภาควิชาเศรษฐศาสตร์
เกษตรและทรัพยากร และ Montpelier SupAgro
ประเทศฝรง่ั เศส ในระดบั ปรญิ ญาโท

2. พฒั นาคณุ ภาพการเรยี นการสอนใหม้ มี าตรฐาน
ระดบั สากล
• การสรา้ งความร่วมมอื กับมหาวิทยาลัย
Kyoto University ประเทศญ่ีปุ่นในการจัด
workshop/seminar ร่วมกันเพื่อให้นิสิตท้ังระดับ
ปริญญาโทและเอก และคณาจารย์จากมหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ ธรรมศาสตร์ และ Kyoto University
ไดม้ กี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรรู้ ว่ มกนั ในปกี ารศกึ ษา 2562
(เป็นปีแรกหลังจากมีการท�ำ MOA ร่วมกันกับ Kyoto
University)

46 SMART Goals KU


Click to View FlipBook Version