The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

(e-book) รายงานผลการดำเนินงาน 4 ปี 2561-2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by seesura.j, 2021-09-27 22:44:18

(e-book) รายงานผลการดำเนินงาน 4 ปี 2561-2564

(e-book) รายงานผลการดำเนินงาน 4 ปี 2561-2564

ลำ�ดบั ประเทศ มหาวิทยาลยั

39 Switzerland University of Applied Sciences & Arts Northwestern Switzerland
(FHNW)
- Agreement for Student Exchange
- 1st renewal of MOU
- 2nd renewal of MOU

40 Switzerland César Ritz Colleges Switzerland
- Study Abroad and Double Bachelor Degree
- Revised MOU

41 Switzerland HEG - Geneva School of Business Administration

42 U.K. University of Birmingham, Department of Economics

43 U.K. University of Essex, Department of Economics
- General Agreement
- Progression Agreement

44 U.K. University of Portsmouth, Faculty of Business and Law
- Double Bachelor Degree
- MOA Student Exchange

45 U.K. University of Southampton

46 U.K. University of East Anglia (UEA)***

47 USA Michigan State University (MSU), College of Agriculture and Natural
Resources

48 New Zealand Lincoln University

รวมจำ�นวนคสู่ ญั ญา 48 สถาบนั

SMART Goals KU 97

ตารางแสดงรายช่อื มหาวิทยาลัยคู่สญั ญาทม่ี คี วามรว่ มมอื ทางวชิ าการ (MOU) ในระดับมหาวิทยาลยั

ลำ�ดับ ประเทศ มหาวิทยาลยั

1 China Shanghai Lixin University of Accounting and Finance (SLU)

2 Indonesia Bogor Agricultural University (IPB)

3 Japan Akita International University

4 Japan Hokkaido University

5 Japan Okayama University

6 Japan Shujitsu University
- Student exchange agreement
- General Agreement for Academic Cooperation
- Student exchange agreement

7 Japan Yamaguchi University
- Agreement for Academic Exchange
- MOU
- Student Exchange Agreement

8 South Korea Chonnam National University
9 Taiwan National Cheng Chi University (NCCU)
10 Taiwan National Central University
11 Turkey Pamukkale University
12 Denmark UCL University College
13 Finland Tampere University of Technology
14 Finland University of Turku

98 SMART Goals KU

ลำ�ดบั ประเทศ มหาวทิ ยาลัย
15 France
Montpellier SupAgro
16 France - General Agreement
17 France - Double Master’s Degree Program
18 Germany ESC Rennes School of Management
19 Germany University of Clermont Auvergne (UCA)
University of Hohenheim
20 Germany Ludwigshafen University of Business and Society, University of
21 Russia Applied Sciences
Technische Hochschule Nürnberg Georg Simon Ohm
22 Sweden Plekhanov Russian University of Economics
23 U.K. - Agreement on Cooperation
- Additional Agreement on Student Exchange
24 U.K. KTH Royal Institute of Technology
รวมจำ�นวนค่สู ญั ญา
University of Westminster, Business School
- General Agreement
- Progression Agreement
Harper Adams University (HAU)
24 สถาบัน

SMART Goals KU 99

ความร่วมมอื ทางวิชาการกับตา่ งประเทศ

ตารางท่ี 1 แสดงจ�ำ นวนความร่วมมอื ทางวิชาการ (MOU) ระหว่างมหาวทิ ยาลัยค่สู ัญญากบั คณะเศรษฐศาสตร์

AgLreeveeml oefnt ปีการศกึ ษา 2560 ปกี ารศึกษา 2561 ปกี ารศกึ ษา 2562 ปีการศกึ ษา 2563

Faculty 30 38 41 46

University 16 18 23 24

รวมท้งั สน้ิ 46 56 64 70

ปีการศึกษา 2560

ลำ�ดบั ประเทศ ช่อื มหาวทิ ยาลัย หมายเหตุ
1 Bangladesh Daffodil International University คสู่ ญั ญาใหม่
2 China University of International Business and Economics (UIBE) คสู่ ัญญาใหม่
3 South Korea Kangwon National University คู่สัญญาใหม่
4 South Korea คสู่ ญั ญาใหม่
5 Denmark Myongi University คสู่ ัญญาใหม่
6 France Business Academy Aarhus, University of Applied Sciences คู่สัญญาใหม่
7 Germany
8 Germany University of Burgundy ต่ออายุ
9 Germany University of Bayreuth 3+1 Twining Program
10 UK Cologne Business School
Baden-Wuerttemberg Cooperative State University (DHBW) คู่สัญญาใหม่
100 SMART Goals KU University of Portsmouth, Faculty of Business and Law Double Bachelor Degree

ปกี ารศกึ ษา 2561 ชือ่ มหาวิทยาลยั หมายเหตุ
The Hang Seng University of Hong Kong คูส่ ญั ญาใหม่
ลำ�ดบั ประเทศ คสู่ ัญญาใหม่
1 China Hiroshima University of Economics คู่สญั ญาใหม่
2 Japan Chonnam National University คู่สัญญาใหม่
3 South Korea คู่สญั ญาใหม่
4 Denmark University of Southern Denmark, Faculty of Engineering
5 Finland LAB University of Applied Sciences ตอ่ อายุ
6 Germany Leibniz Hannover University คสู่ ัญญาใหม่
7 Netherlands คสู่ ญั ญาใหม่
8 Netherlands Amsterdam University of Applied Sciences คสู่ ญั ญาใหม่
9 Russia HAS University of Applied Sciences
10 Switzerland ตอ่ อายุ
11 Switzerland Plekhanov Russian University of Economics คู่สัญญาใหม่
12 UK University of Applied Sciences & Arts Northwestern Switzerland (FHNW) คูส่ ัญญาใหม่

HEG - Geneva School of Business Administration
University of Essex, Department of Economics

SMART Goals KU 101

ปกี ารศึกษา 2562

ลำ�ดับ ประเทศ ชือ่ มหาวิทยาลัย หมายเหตุ

1 China Shanghai Lixin University of Accounting and Finance (SLU) ด�ำ เนนิ การโดย IAD

2 Indonesia Bogor Agricultural University (IPB) ด�ำ เนนิ การโดย IAD

3 Japan Kyoto University Graduate School of Economics

4 Taiwan CTBC Business School คสู่ ญั ญาใหม่

5 Taiwan I-Shou University, International College คสู่ ญั ญาใหม่

6 Taiwan National Cheng Chi University (NCCU) ด�ำ เนินการโดย IAD

7 Denmark UCL University College คู่สญั ญาใหม่

8 France Montpellier SupAgro Double Master's Degree
9 Germany Cologne Business School Program
ต่ออายุ

10 Germany University of Münster ตอ่ อายุ

11 Netherlands FONTYS University of Applied Sciences Dual Bachelor Level Programs

12 Netherlands Radboud University, Nijmegen School of Management ต่ออายุ

13 Sweden Swedish University of Agricultural Sciences, Department of Economics ค่สู ญั ญาใหม่

14 Switzerland César Ritz Colleges Switzerland ปรับปรงุ เนือ้ หา

15 UK University of Portsmouth, Faculty of Business and Law Student exchange

16 UK Harper Adams University (HAU) คสู่ ญั ญาใหม่

102 SMART Goals KU

ปีการศกึ ษา 2563

ลำ�ดบั ประเทศ ชอ่ื มหาวิทยาลัย หมายเหตุ

1 China Guangxi Normal University, School of Economics and Management คู่สัญญาใหม่

2 Indonesia Pasundan University, Faculty of Economics and Business คู่สญั ญาใหม่

3 Myanmar Yezin Agricultural University คสู่ ญั ญาใหม่

4 Taiwan CTBC Business School Fargarmeeemweonrkt
5 Taiwan Shih Chien University Dual degree program

6 Taiwan National Taiwan University, Department of Agricultural Economics คสู่ ญั ญาใหม่

7 Netherlands The Hague University of Applied Sciences ต่ออายุ

8 USA Michigan State University (MSU), College of Agriculture and Natural Resources คู่สญั ญาใหม่

9 France University of Clermont Auvergne (UCA) คู่สญั ญาใหม่

10 China South Western University of Finance and Economics (SWUFE) เปน็ มหาวิทยาลัยคสู่ ญั ญา
ในระดบั คณะต้ังแตป่ ี 2558
โดยอยู่ในระหวา่ งดำ�เนนิ
การตอ่ อายุบนั ทึกความรว่ ม
มือทางวิชาการ

11 Lao PDR Center for Enterprise Development and Integration Policy, National เปน็ สถาบนั คสู่ ญั ญารายใหม่
Institute for Economic Research

12 UK University of East Anglia (UEA) เปน็ สถาบนั คสู่ ญั ญารายใหม่

ท่มี า : ศูนย์กิจการนานาชาตคิ ณะเศรษฐศาสตร์ ข้อมูล ณ วนั ท่ี 16 เมษายน 2564

หมายเหตุ : ลำ�ดับท่ี 10 - 12 ในปี 2563 มีคู่สัญญาจ�ำ นวน 3 สถาบันท่อี ยูร่ ะหวา่ งการด�ำ เนินการ
ท�ำ ความรว่ มมอื ทางวิชาการ

SMART Goals KU 103

นสิ ิตแลกเปล่ยี น (Inbound – Outbound exchange students)

คณะเศรษฐศาสตร์ มีนิสติ แลกเปลีย่ นชาวต่างประเทศท่เี ขา้ มาศึกษาแลกเปลี่ยนภายใตค้ ณะเศรษฐศาสตร์ (Inbound exchange students)
และนิสติ คณะเศรษฐศาสตร์ท่ีเข้ารว่ มโครงการนิสิตแลกเปลย่ี นต่างประเทศ (Outbound exchange students) ในแตล่ ะปีการศกึ ษาดงั น้ี

ตารางท่ี 2 แสดงจ�ำ นวนนสิ ิตแลกเปล่ยี นชาวต่างประเทศท่เี ข้ามาศึกษาภายใตค้ ณะ (Inbound exchange students)

ประเภท จำ�นวนนสิ ิตต่อปีการศึกษา (คน)

นิสติ แลกเปล่ยี นภายใต้โครงการ KUSEP 2560 2561 2562 2563
นิสติ แลกเปล่ยี นภายใต้ MOU ระดบั มหาวทิ ยาลยั 36 33 29 5
นสิ ิตแลกเปลย่ี นภายใต้ MOU ระดบั คณะ 29 22 32 5
26 30 26 4
รวมทงั้ สนิ้ 91 85 87 14

ท่มี า : ศูนย์กจิ การนานาชาติคณะเศรษฐศาสตร์ ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 16 เมษายน 2564

ตารางท่ี 3 แสดงจ�ำ นวนนสิ ิตคณะเศรษฐศาสตร์ท่เี ข้ารว่ มโครงการนสิ ิตแลกเปล่ยี นต่างประเทศ
(Outbound exchange students)

ประเภท จำ�นวนนิสติ ต่อปกี ารศกึ ษา (คน)
2560 2561 2562 2563

โครงการแลกเปล่ยี น 1 ภาคการศึกษา 20 32 31 3
โครงการแลกเปลย่ี นระยะสัน้ 10 7 2 0
Dual Degree 00 1 0
Summer Program 20 14 0
32 39 48 3
รวมท้ังสิ้น

ท่ีมา : ศูนย์กิจการนานาชาตคิ ณะเศรษฐศาสตร์ ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 16 เมษายน 2564

104 SMART Goals KU

กจิ กรรมความรว่ มมอื ทางวชิ าการกับสถาบันต่างประเทศ

ปกี ารศึกษา 2560

• โครงการ JENESYS 2017
Outbound Program to Thailand
วันท่ี 30 พฤศจิกายน 2560 ต้อนรับ
นักศึกษาญ่ีปุ่น เจ้าหน้าที่ และผู้ดูแล
ภาย จำ�นวน 23 ราย ซ่ึงเดินทางมา
ร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมจัด
โดยสโมสรนสิ ิตคณะเศรษฐศาสตร์

• ตอ้ นรบั Mr. Chris Chang, Pro Vice-Chancellor ผแู้ ทน • พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ
จาก University of Portsmouth ประเทศองั กฤษ วนั ท่ี 7 มนี าคม 2561 ระหวา่ ง คณะเศรษฐศาสตร์ และคณะเกษตร กับ HAS University
of Applied Sciences, The Netherlands วนั ท่ี 30 มนี าคม 2561

SMART Goals KU 105

• ตอ้ นรบั Mr. Chris Chang, Pro Vice-Chancel- ปกี ารศกึ ษา 2561
lor ผแู้ ทนจาก University of Portsmouth ประเทศองั กฤษ
วันท่ี 7 มีนาคม 2561 • Okayama – Kasetsart
International Practical Education
106 SMART Goals KU Program 2018 วนั ท่ี 14 – 17 สงิ หาคม
2561 จัดการเรียนการสอนรายวิชา
01119496 Selected Topic: Green
Economy and Sufficiency Economy

• พิธีลงนามบันทึกข้อ
ตกลงความร่วมมือทางวิชาการ
ระหวา่ ง คณะเศรษฐศาสตร์ และ
คณะเกษตร กบั HAS University
of Applied Sciences, The
Netherlands วนั ท่ี 30 มีนาคม
2561

ปีการศึกษา 2562 • โครงการศึกษาดูงานเพื่อ
เสริมสร้างศักยภาพนิสิตตามความร่วม
• Field Study and Grad- มือระหว่างคณะเศรษฐศาสตร์ และ
uate Student Workshop 2019 Lincoln University, New Zealand
สำ�หรบั นสิ ติ บัณฑติ ศกึ ษาจาก Gradu- วนั ท่ี 10 – 26 มกราคม 2563
ate School of Economics, Kyoto
University, Japan วันท่ี 25 – 26 SMART Goals KU 107
พฤศจกิ ายน 2562

• พิธีลงนามบันทึกข้อตกลง
ความร่วมมือทางวิชาการ ระหว่าง
คณะเศรษฐศาสตร์ กับ Pasundan
University, Bandung, Indonesia
วนั ที่ 20 มกราคม 2563
• ต้อนรับ Dr. Ir. Mamun
Sarma, MS, M.Ec, Head of Study
Program, Faculty of Economic
and Management, IPB University,
Indonesia พรอ้ มดว้ ยอาจารยแ์ ละนสิ ติ
วันท่ี 24 กมุ ภาพนั ธ์ 2563

1. ขอ้ มูลจากผลการประเมนิ
ตามตารางข้างต้น พบวา่ การเปลยี่ นรปู
แบบกจิ กรรมจากเดิมเปน็ Classroom
เปล่ียนแปลงเป็น Online ส่งผลให้ผู้
เข้าร่วมกิจกรรมมีจำ�นวนเพ่ิมมากขึ้น
และมีผลคะแนนความพึงพอใจโดยรวม
มากข้นึ

108 SMART Goals KU

2. การเข้ามามีบทบาทในการประชาสัมพันธ์หลักสตู ร EEBA และ BEcon ใหม้ ีความเปน็ บรบิ ทเดยี วกัน โดยจดั ทำ�ส่ือประชาสัมพันธใ์ ห้มีทงั้ 2
หลักสตู ร ในรูปแบบแผน่ พบั และวดี โี อ
คณะเศรษฐศาสตร์มหี ลักสูตรในระดบั ปริญญาตรีทมี่ กี ารเรยี นการสอนเป็นภาษาองั กฤษท้งั หมด 2 หลกั สูตรดว้ ยกัน คณะกรรมการดำ�เนนิ งาน
ศนู ยก์ จิ การนานาชาติ เลง็ เหน็ วา่ การประชาสมั พนั ธท์ ง้ั สองหลกั สตู รจะชว่ ยเพม่ิ จดุ เดน่ ของคณะเศรษฐศาสตรไ์ ด้ เนอ่ื งจากมคี วามหลากหลายของหลกั สตู ร
อกี ท้ังยงั เป็นการช่วยลดตน้ ทุนในการประชาสมั พนั ธอ์ ีกด้วย

SMART Goals KU 109

3. การผลกั ดันใหน้ สิ ิตคณะเศรษฐศาสตรไ์ ปศึกษาแลกเปล่ยี น โดยประชาสัมพันธผ์ า่ นสอ่ื ออนไลน์ ผา่ น เว็บไซต์ และ Facebook page และ
จดั นิทรรศการท่ีเปน็ สือ่ กลางให้นสิ ติ ไดร้ บั ประสบการณโ์ ดยตรงจากรุน่ พีท่ ีเ่ คยเข้าร่วมโครงการศึกษาแลกเปลย่ี น
เนอื่ งดว้ ยความรว่ มมอื กบั มหาวทิ ยาลยั คสู่ ญั ญาตา่ งประเทศ ทง้ั ในระดบั คณะและในระดบั มหาวทิ ยาลยั มเี ปน็ จ�ำ นวนมาก ศนู ยก์ จิ การนานาชาติ
จงึ เปน็ หนว่ ยงานทช่ี ว่ ยใหน้ สิ ติ คณะเศรษฐศาสตรท์ กุ สาขาวชิ า สามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู การศกึ ษาแลกเปลย่ี นตา่ งประเทศทง้ั ระยะสน้ั และระยะยาว และการ

ศกึ ษาตอ่ ในระดบั ปรญิ ญาโท เปน็ ตน้ โดยประชาสมั พนั ธผ์ า่ น
ชอ่ งทางที่นสิ ิตสามารถเข้าถึงได้ง่าย มีการปรับการออกแบบ
ใหด้ ทู ันสมัยมากขึ้น และมบี คุ ลากรของศนู ยก์ จิ การนานาชาติ
คอ่ ยใหค้ �ำ ปรกึ ษาและใหค้ �ำ แนะน�ำ แกน่ สิ ติ ทส่ี นใจ ซง่ึ สง่ ผลใหม้ ี
นสิ ติ คณะเศรษฐศาสตรไ์ ปศกึ ษาแลกเปลย่ี นจ�ำ นวนมาก

110 SMART Goals KU SMART Goals KU 110

4. จัดกิจกรรมการแลกเปล่ียนเรียนรู้ให้กับมหาวิทยาลัย
คสู่ ัญญาซึง่ ได้รบั ผลตอบรับเปน็ อย่างดี
ศูนย์กิจการนานาชาติได้รับมอบหมายให้จัดโครงการ
ศกึ ษาดงู านใหแ้ กม่ หาวิทยลัยค่สู ัญญาระดบั มหาวทิ ยาลัย Lincoln
University, New Zealand ระหว่างวันท่ี 10 - 26 มกราคม
2563 เพ่ือสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างมหาวิทยาลัย อีกท้ังยัง
เปิดโอกาสให้นิสิตคณะเศรษฐศาสตร์ได้แลกเปล่ียนความรู้และ
วฒั นธรรมกบั นสิ ิตตา่ งชาติ
5. ประสานงานติดต่ออาจารยช์ าวตา่ งชาตเิ ขา้ สอนในหลักสตู ร EEBA ในรปู แแบออนไลน์
เพอ่ื สง่ เสรมิ ความเปน็ ความนานาชาตใิ นหลกั สตู ร EEBA ศนู ยก์ จิ การนานาชาตไิ ดร้ บั มอบหมายใหเ้ พม่ิ จ�ำ นวนอาจารยผ์ สู้ อนชาวตา่ งชาติ ทงั้ นี้
เนื่องจากสถานการณโ์ รคติดตอ่ เชอื้ ไวรัสโคโรนา่ 2019 (COVID-19) ทำ�ใหป้ รบั เปลีย่ นรูปแบบการสอนทจ่ี ากเดมิ จะเชิญสอนในรูปแบบ Classroom
เปล่ยี นแปลงเปน็ การสอน Online ทำ�ใหม้ โี อกาสเชญิ อาจารย์ชาวตา่ งชาติที่ยังไม่เคยมาบรรยายให้กับหลกั สตู ร EEBA มาบรรยายได้ และนอกจากนี้
ยังชว่ ยลดตน้ ทุนคา่ ใช้จ่ายในสว่ น ค่าตัว๋ เครอื่ งบิน คา่ ท่ีพัก เปน็ ต้น

SMART Goals KU 111

ผลการด�ำ เนนิ งานตามพันธกิจ
: การวจิ ยั

(ศนู ยว์ จิ ัยเศรษฐศาสตร์ประยกุ ต)์

112 SMART Goals KU

ผลงานวิจัยเดน่
• โครงการวิจัยบทบาทด้านการศึกษาของ
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ภายใต้
“เกษตรศาสตร์ สรา้ งคน พฒั นาชาติ อยา่ งยั่งยนื ”
โครงการวิจัยบทบาทด้านการศึกษาของ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภายใต้ “เกษตรศาสตร์
สร้างคน พัฒนาชาติ อย่างยัง่ ยนื ” เปน็ โครงการวิจยั ท่ี
ศกึ ษาถงึ บทบาทและผลกระทบจากการผลติ บณั ฑติ ของ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรท์ ่มี ตี ่อเศรษฐกจิ และสงั คม

ซึ่งเป็นบทบาทท่ีสำ�คัญอย่างย่ิงของมหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ต่อการพัฒนาทรัพยาก รมนุษย์ของประเทศเพื่อ
น�ำ ไปสกู่ ารสรา้ งมลู คา่ ทางเศรษฐกจิ และการพฒั นาทางสงั คมของ
ประเทศ โดยการคน้ ควา้ ขอ้ มลู ทงั้ ปฐมภมู แิ ละทตุ ยิ ภมู ยิ อ้ นไปใน
อดีตตัง้ แตก่ อ่ ตั้งมหาวทิ ยาลัยจนถงึ ปจั จุบนั (พ.ศ. 2551-2560)
รวมทง้ั สอบถามนสิ ติ อาจารย์ ผทู้ รงคณุ วฒุ แิ ละผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี
จากการผลติ บณั ฑติ ของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตรร์ ะดบั ปรญิ ญา
ตรใี น 7 คณะ (คณะเกษตร คณะเกษตร ก�ำ แพงแสน คณะประมง
คณะวนศาสตร์ คณะสตั วแพทยศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ และ
คณะอุตสาหกรรมเกษตร) ท้ังในเชิงเศรษฐกิจ สังคมและสิ่ง
แวดลอ้ มว่ามีมากน้อยเพยี งใด อย่างไรและประเมนิ มลู คา่ ซึง่ พบ
วา่ ผลมลู คา่ ทางเศรษฐกจิ ของการผลติ บณั ฑติ ทง้ั 7 คณะ เพมิ่ ขน้ึ
จาก 517.90 ล้านบาทในปี 2553 เปน็ 2,245.63 ลา้ นบาทในปี
2555 และเปน็ 8,656.66 ลา้ นบาท ในปี 2562 แสดงให้เหน็ ถึง
ความสำ�คัญและผลสัมฤทธิ์ในการผลิตบัณฑิตของมหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ไดเ้ ป็นอยา่ งดี

SMART Goals KU 113

โครงการสำ�รวจและประเมินความคมุ้ ค่าทางเศรษฐศาสตรข์ องการพัฒนาแหล่งน�ำ้ บาดาลขนาดใหญ่

ในพน้ื ทีพ่ ฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวันออก (EEC) ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2563 ในเขตพื้นทจ่ี งั หวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง รว่ มกบั
กรมทรัพยากรน�้ำ บาดาล กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและวิง่ แวดลอ้ ม

114 SMART Goals KU

โครงการวิจัย “ผลกระทบของนโยบายการน�ำ เขา้ และการไมใ่ หน้ �ำ เขา้ เน้อื สกุ รท่ีไมป่ ลอดสารเร่งเน้ือแดง”

ผศ.ดร.เออวดี เปรมษั เฐยี ร และ ผศ.ดร.ณฐั พล พจนาประเสรฐิ (2563) ไดร้ บั รางวลั ระดบั Silver ผลงานวจิ ยั ทส่ี รา้ งผลกระทบระดบั สงู ปี 2563
เร่ือง “ผลกระทบของนโยบายการให้นำ�เข้าและการไม่ให้นำ�เข้าเนื้อสุกรท่ีไม่ปลอดสารเร่งเน้ือแดง” จัดโดย สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ เม่อื วันที่ 27 ตุลาคม 2563

SMART Goals KU 115

โครงการวจิ ัย “การผลิตอ้อยอย่างยัง่ ยืนภายใตค้ วามเสย่ี งและความไม่แนน่ อน”

คณะเศรษฐศาสตรไ์ ดร้ บั ทนุ สนบั สนนุ การวจิ ยั จากส�ำ นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การวจิ ยั (สกว.) ประจ�ำ

ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 รวมจ�ำ นวนเงนิ ทงั้ สนิ้ 2,970,000 ในการด�ำ เนนิ งานโครงการวจิ ยั เรอ่ื ง “การผลติ ออ้ ย
อย่างยัง่ ยนื ภายใตค้ วามเสี่ยงและความไมแ่ นน่ อน” (โครงการหลกั ) ประกอบดว้ ย โครงการย่อย 3 โครงการ
- โครงการย่อย เร่ือง “การวางแผนการผลิตภายใต้ความเส่ียงเพ่ือความย่ังยืนด้านเศรษฐกิจของ
ครัวเรอื นเกษตรกรชาวไรอ่ ้อย”
- โครงการย่อย เรือ่ ง “ผลกระทบเชงิ เศรษฐกจิ สังคม และสิ่งแวดล้อม ของมาตรฐานการผลติ ออ้ ย
อย่างยัง่ ยนื ”
- โครงการย่อย เรื่อง “การวิเคราะห์ผลกระทบการผลิตอ้อยจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายและ
สภาพแวดลอ้ มการผลติ ”
และได้มีการจัดเสวนา ข้อค้นพบจากงานวิจัย “เผาอ้อย…ทางเลือก…ทางรอด?” โดยภาควิชา
เศรษฐศาสตร์และทรพั ยากร เมอื่ วันท่ี 6 มนี าคม 2562

ทิศทางงานวจิ ยั 5 Theme

คณะเศรษฐศาสตร์มุ่งเนน้ งานวจิ ยั ให้สอดคล้องกบั งานวิจัยภาพรวมของประเทศ โดยสำ�นกั งานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาตเิ นน้ ท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั
การวจิ ยั เพื่อตอบโจทย์การสร้างความม่ังค่งั ทางเศรษฐกจิ (Industrial Research and Innovation (R&I) และสอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์ชาติ ตามความ
เชย่ี วชาญของคณาจารยใ์ นคณะเศรษฐศาสตร์ เพอ่ื ขยายฐานความรเู้ ดมิ และสรา้ งองคค์ วามรใู้ หมด่ า้ นเศรษฐศาสตร์ ทง้ั เชงิ แนวคดิ ทฤษฎแี ละการประยกุ ต์
ไปส่เู ครือข่ายความรว่ มมอื กันหนว่ ยงานราชการ สถาบนั การศกึ ษาและภาคธุรกจิ เอกชนทัง้ ในและตา่ งประเทศ
ดา้ นงานวจิ ยั คณะเศรษฐศาสตรส์ นบั สนนุ และสง่ เสรมิ คณาจารยใ์ หส้ รา้ งงานวจิ ยั ทม่ี คี ณุ ภาพและตอบโจทยส์ งั คม สอดคลอ้ งกบั ความทา้ ทายของประเทศ/
ยุทธศาสตร์ชาติ และความเชี่ยวชาญของคณาจารย์ ทำ�ให้คณะเศรษฐศาสตร์มีชื่อเสียงและผลการจัดอันดับของคณะเศรษฐศาสตร์ดีขึ้น ทั้งยังเป็นการ
พัฒนาการเรยี นการสอนใหม้ ีความทนั สมัยยง่ิ ขึ้น โดยมที ิศทางงานวิจยั ดงั น้ี
1. อาหารและเทคโนโลยี
2. การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศและสง่ิ แวดล้อม
3. สังคมผสู้ งู วัยและสงั คมไทยในศตวรรษที่ 21
4. ความยากจนและความไมเ่ ท่าเทยี มกนั ของรายได้
5. เสถยี รภาพทางเศรษฐกิจ

116 SMART Goals KU

ทนุ อดุ หนนุ งานวิจยั

ปงี บประมาณ 2561 2562 2563 รวม 3 ปี เฉล่ีย หน่วย: บาท
56,378,455 37,885,698 88,681,840.50 182,945,994 60,981,998
ทุนสนบั สนนุ งาน
วจิ ัยภายนอก มก. 7,080,000 5,088,000 5,729,800 17,897,800 5,965,933
ทนุ สนับสนนุ งาน
วิจยั ภายใน คณะ 63,458,455 42,973,698 94,411,640.50 200,843,794 66,947,931

รวม

ผลงานวิจยั ทตี่ ีพมิ พ์และเผยแพร่ในวารสารวิชาการและการประชุมวชิ าการ

ระยะเวลาระหวา่ งปี 2560-2563 คณะเศรษฐศาสตร์ มผี ลงานวชิ าการท่ีตพี ิมพใ์ นวารสารวชิ าการ และผลงานวชิ าการทนี่ �ำ เสนอในการ
ประชุมวชิ าการ มแี นวโน้มท่ีสูงข้นึ

250

200
199

150 158

100 111 116

50 49 55 47
2561 2562 2563
0 33
2560

ผลงานวจิ ัยท่ีตีพิมพใ นวารสารวิชาการ ผลงานวจิ ัยที่นาํ เสนอในการประชมุ วชิ าการ

SMART Goals KU 117

ผลงานจากศนู ยว์ ิจัยเศรษฐศาสตรป์ ระยกุ ต์

ในปีงบประมาณ 2560-2563 ศูนย์วิจัยเศรษฐศาสตร์ประยุกต์ได้มีการปรับปรุงงานบริการในด้านต่างๆ เช่น การบริการในส่วนของการเปิด
โครงการวจิ ยั ใหท้ นั ก�ำ หนดการ การแจง้ เตอื นก�ำ หนดการสง่ งาน ก�ำ หนดการเบกิ เงนิ และก�ำ หนดการปดิ โครงการ สง่ ผลใหไ้ มม่ โี ครงการวจิ ยั ใดมกี ารด�ำ เนนิ
งานพน้ ก�ำ หนดการ โดยในปงี บประมาณ 2560-2564 ศนู ยว์ จิ ยั เศรษฐศาสตรป์ ระยกุ ตไ์ ดใ้ หบ้ รกิ ารทง้ั สน้ิ 127 โครงการ คดิ เปน็ มลู คา่ 273,426,495.50 บาท
ศูนย์วิจัยเศรษฐศาสตร์ประยุกต์ยังได้มีการสนับสนุนการทำ�วิจัยและการเผยแพร่ผลงานวิจัยของคณาจารย์ในคณะเศรษฐศาสตร์ โดยใน
ปงี บประมาณ 2560-2563 ศนู ย์วิจยั เศรษฐศาสตรป์ ระยุกต์ไดม้ ีการมอบเงินสนบั สนุนหรือเงนิ รางวลั เพอื่ เผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั รวมทัง้ สิ้น 13 บทความ คดิ
เปน็ มลู คา่ 149,500 บาท โดยงานวจิ ยั เหลา่ นไ้ี ดร้ บั การตพี มิ พใ์ นระดบั นานาชาติ ระดบั Q1-Q3 นอกจากนศี้ นู ยว์ จิ ยั เศรษฐศาสตรป์ ระยกุ ตไ์ ดม้ กี ารรวบรวม
ผลงานวจิ ัยของคณาจารย์ในคณะเศรษฐศาสตร์ในรปู แบบหนงั สือบทคดั ยอ่ (Book of Abstract) เพือ่ ใช้ในการเผยแพร่ผลงานวจิ ยั ของคณาจารยใ์ นคณะ
เศรษฐศาสตร์
นอกจากน้ีศูนย์วิจัยเศรษฐศาสตร์ประยุกต์ยังได้มีการจัดทำ�โครงการวิจัยบทบาทด้านการศึกษาของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ภายใต้
“เกษตรศาสตร์ สรา้ งคน พฒั นาชาติ อยา่ งยง่ั ยนื ” โดยท�ำ การประเมนิ ผลกระทบตอ่ เศรษฐกจิ และสงั คมจากการผลติ บณั ฑติ ของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
โดยงานวจิ ยั น้สี ามารถสง่ เสรมิ ให้มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ทราบถงึ บทบาทและความส�ำ คญั จากการผลิตบณั ฑิตทมี่ ีตอ่ สังคมและประเทศ
ส�ำ หรบั งานทางดา้ นวารสารวชิ าการ ศนู ยว์ จิ ยั เศรษฐศาสตรป์ ระยกุ ตไ์ ดม้ กี ารจดั ท�ำ วารสารเศรษฐศาสตรป์ ระยกุ ตซ์ งึ่ มกี ารตพี มิ พบ์ ทความวชิ าการ
ผา่ นทางการพจิ ารณาของผทู้ รงคณุ วฒุ ปิ ลี ะ 2 ครงั้ โดยวารสารเศรษฐศาสตรป์ ระยกุ ตไ์ ดร้ บั การอา้ งองิ และอยใู่ นฐานขอ้ มลู ของศนู ยด์ ชั นกี ารอา้ งองิ วารสาร
ไทย (Thai-Journal Citation Index Centre : TCI) ในปงี บประมาณ 2560-2563 วารสารเศรษฐศาสตร์ประยุกตไ์ ด้มกี ารตีพิมพ์ทัง้ สิน้ 8 ครงั้ และมี
บทความท่ไี ดร้ ับการตีพมิ พ์จ�ำ นวน 47 บทความ

BOOK OF ABSTRACTS

คณะเศรษฐศาสตร์จัดทำ� BOOK OF ABSTRACTS ใน
ดา้ นการพฒั นางานวจิ ยั สคู่ วามเปน็ เลศิ ทางวิชาการในระดับชาติและ
นานาชาติ เพ่ือเผยแพร่ผลงานวิจัยของคณาจารย์ในคณะ และได้
ประชาสัมพนั ธ์บนเวป็ ไซตข์ องศนู ย์วิจยั เศรษฐศาสตร์ประยุกต์

118 SMART Goals KU

วารสารเศรษฐศาสตรป์ ระยุกต์ (Applied Economics Journal)

ผลงานวจิ ยั /วิชาการทีเ่ ผยแพร่ ได้แก่ เศรษฐศาสตรก์ ารเงิน การคลงั การวางแผนพัฒนาและประเมนิ ผล เศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ การพัฒนา
ทรพั ยากรมนษุ ย์ เศรษฐศาสตร์การเกษตรและอาหาร การพัฒนาอุตสาหกรรม ธุรกิจการเกษตร สหกรณ์ เศรษฐกิจชมุ ชน ผลงานพัฒนาแนวคดิ ทฤษฎี
เพ่อื การนำ�ไปใช้นโยบายและการจดั การทรัพยากรธรรมชาติ พลงั งาน และสิ่งแวดลอ้ ม ผลงานวิจยั เชงิ บรู ณาการและสหวทิ ยาการ วารสารเศรษฐศาสตร์
ประยกุ ต์ กำ�หนดออกปลี ะ 2 ฉบับ (เดือนมิถุนายนและเดอื นธนั วาคม)

อา่ นวารสารเศรษฐศาสตรป์ ระยกุ ตเ์ พ่ิมเติม

SMART Goals KU 119

รายนามบรรณาธกิ ารวารสารเศรษฐศาสตรป์ ระยุกต์

วาระต้ังแต่ วาระตั้งแต่ วาระต้ังแต่
29 ธันวาคม 2559 - 30 มถิ ุนายน 2561 1 กรกฎาคม 2561 – 31 มกราคม 2563 1 กมุ ภาพันธ์ 2563 - ปจั จบุ นั

ผศ.ดร.กัมปนาท เพญ็ สภุ า บรรณาธกิ ารหลกั รศ.ดร.เรวัตร ธรรมาอภิรมย ์ บรรณาธกิ ารหลัก รศ.ดร.วลีรัตน์ สพุ รรชาต ิ บรรณาธิการหลกั
ผศ.ดร.อทิ ธิพงศ์ มหาธนเศรษฐ์ บรรณาธิการร่วม ผศ.ดร.วิษณุ อรรถวานชิ บรรณาธกิ ารรว่ ม รศ.ดร.วษิ ณุ อรรถวานชิ บรรณาธกิ ารรว่ ม
ผศ.ดร.วษิ ณุ อรรถวานชิ บรรณาธิการร่วม ผศ.ดร.ศิวพงศ์ ธีรอ�ำ พน บรรณาธกิ ารร่วม รศ.ดร.กาญจนา ศรีพฤทธ์ิเกียรต ิ บรรณาธกิ ารร่วม
ดร.ณัฐพล พจนาประเสริฐ บรรณาธิการรว่ ม ผศ.ดร.วลรี ตั น์ สุพรรชาติ บรรณาธกิ ารร่วม รศ.ดร.ศวิ พงศ์ ธรี อำ�พน บรรณาธิการรว่ ม
ดร.ศวิ พงศ์ ธรี อ�ำ พน บรรณาธกิ ารรว่ ม ผศ.ดร.อิทธิพงศ์ มหาธนเศรษฐ์ บรรณาธิการรว่ ม รศ.ดร.อทิ ธพิ งศ์ มหาธนเศรษฐ์ บรรณาธิการรว่ ม
ดร.ธนสิน ถนอมพงษ์พันธ ์ บรรณาธิการร่วม ผศ.ดร.ธนารักษ์ เหลา่ สุทธิ บรรณาธกิ ารรว่ ม ผศ.ดร.ธนารักษ์ เหล่าสทุ ธิ บรรณาธิการรว่ ม
รศ.ดร.ฐิติมา พฒุ ิทานนั ท์ บรรณาธกิ ารบท ผศ.ดร.อรชส นภสนิ ธุวงศ ์ บรรณาธกิ ารบท ผศ.ดร.อรชส นภสนิ ธุวงศ ์ บรรณาธิการรว่ ม
วิจารณห์ นงั สือ วิจารณห์ นงั สือ

เงนิ สนับสนุนหรือเงนิ รางวัลเพื่อเผยแพรผ่ ลงานวิจยั

ปีงบประมาณ 2563 จำ�นวนบทความ Ranking เงินสนับสนนุ
ปีงบประมาณ 2562 9 Q1-Q3 105,000.00
4 Q1-Q3 44,500.00
13 Q1-Q3 149,500.00

ท่มี า: ศูนย์วจิ ยั เศรษฐศาสตร์ประยุกต์

120 SMART Goals KU

การจดั ท�ำ วดิ ีทัศน์เผยแพรผ่ ลงานวิจัยทโ่ี ดดเด่น งานวจิ ัยทีโ่ ดดเด่น
ของอาจารย์ในคณะเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์

SMART Goals KU 121

การรวบรวมรายชอ่ื วารสารตา่ งประเทศ ทางด้าน Economics
ในฐาน Scopus (Q1-Q4) และรายชื่อวารสารในประเทศ ในฐาน TCI

ศูนย์วจิ ัยฯ ด�ำ เนนิ การจัดส่งรายช่อื วารสารดงั กลา่ วถึง
ภาควชิ า และประชาสมั พนั ธผ์ ่านหน้าเวบ็ ไซต์ของศนู ย์วจิ ัยฯ

http://caer.eco.ku.ac.th/2562/?page_id=579&lang=th

122 SMART Goals KU

ผลการด�ำ เนินงานตามพันธกิจ
: ดา้ นการบรกิ ารทางวิชาการ

โครงการพัฒนาวชิ าการ

สำ�นักงานบรกิ ารวชิ าการ สถาบนั วจิ ัยและพัฒนา มก. รวมงานบรกิ ารวชิ าการและงานวิจัย

จำ�นวน งบประมาณ จำ�นวน งบประมาณ จำ�นวน งบประมาณ
โครงการ โครงการ โครงการ

ปงี บประมาณ 2563 27 97,167,365.50 2 818,000.00 29 97,985,365.50
ปีงบประมาณ 2562 20 28,205,276.00 6 15,841,640.00 26 44,046,916.00
ปีงบประมาณ 2561 27 41,495,714.00 4 7,050,212.00 31 48,545,926.00
ปีงบประมาณ 2560 36 72,943,595.00 5 9,904,693.00 41 82,848,288.00
273,426,495.50
ท่มี า: ศูนยว์ จิ ัยเศรษฐศาสตรป์ ระยกุ ต์ 127

SMART Goals KU 123

คณะเศรษฐศาสตร์นำ�ศาสตรด์ า้ นเศรษฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตรส์ หกรณ์ เขา้ ช่วยเหลอื และแกป้ ัญหาแก่ชุมชน

1. คณะเศรษฐศาสตร์ ไดท้ ำ� งานร่วมกบั ชุมชนบางกระเจา ภายใตโ้ ครงการวจิ ัย เรอ่ื ง “โครงการเสรมิ สรา้ งบางกระเจา้ ส่คู วามยัง่ ยนื
โดยมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ และรว่ มกับ 15 คณะ ซ่งึ คณะเศรษฐศาสตร์ ได้ด�ำเนินงานโครงการวจิ ัยมาอย่างต่อเนื่องตง้ั แต่ ปี 2561-2563 ไดแ้ ก่
• ปีท่ี 1 โครงการการพฒั นาแนวทางการสรา้ งความเขม้ แขง็ หรอื การรวมกลมุ่ เพอื่ พฒั นาความเขม้ แขง็ ทางเศรษฐกจิ และสงั คมของชมุ ชนบางกะเจา้
(ด�ำเนินการเสรจ็ แล้ว)
• ปที ี่ 2 โครงการเผยแพรค่ วามรสู้ หกรณ์และการรวมกลุม่ เยาวชนและผูป้ กครองเพอื่ สรา้ งจิตส�ำนกึ ต่อการพฒั นาชุมชนบางกะเจ้าอย่างยงั่ ยืน
(ด�ำเนินการเสรจ็ แล้ว)
• ปที ี่ 3 โครงการการพฒั นาก�ำลังคนและสร้างทกั ษะการประกอบอาชพี ในคุ้งบางกะเจ้า 6 ต�ำบล อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมทุ รปราการ
(อยู่ระหว่างด�ำเนินการ)
2. วสิ าหกจิ ชมุ ชนทงุ่ ทองยงั่ ยนื อ.อทู่ อง จ.สพุ รรบรุ ี เปน็ สถาบนั เกษตรกรทรี่ ว่ มวจิ ยั ภายใตโ้ ครงการ “การพฒั นาธรุ กจิ ขา้ วแบบมสี ว่ นรว่ ม”
ทด่ี �ำเนินการโดนสถาบนั วชิ าการด้านสหกรณ์ ภายใตก้ ารสนับสนนุ ของส�ำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ วทิ ยาลยั วจิ ัยและนวัตกรรม (สกสว.) ระหว่างปี
2560-2562 มีผลงานนวัตกรรมตวั แบบธรุ กิจข้าว IBM ท่ีเปน็ ผลลัพธจ์ ากกระบวนการพฒั นาระบบธุรกจิ ขา้ วอินทรียภ์ ายใต้โซ่คุณค่า ท่ีใหค้ วามส�ำคัญกบั
เกษตรกรไดเ้ ขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการวางแผนการผลติ และสง่ มอบขา้ วอนิ ทรยี ท์ ผี่ า่ นการรบั รองมาตรฐาน IFOAM โดยทวี่ สิ าหกจิ ชมุ ชนฯ ท�ำหนา้ ทเ่ี ปน็ แกน
กลางในการวางแผนเจรจาธรุ กจิ กบั บรษิ ทั ซองเดอรอ์ อรแ์ กนคิ ฟดู้ จ�ำกดั ทเ่ี ปน็ ผซู้ อื้ เจา้ ประจ�ำทใี่ หร้ าคาสงู กวา่ ราคาในตลาดทวั่ ไป และปจั จบุ นั ส�ำนกั งาน
นโยบายและยทุ ธศาสตรก์ ารคา้ (สนค.) กระทรวงพาณชิ ย์ ไดด้ �ำเนนิ การโครงการ Blockchain Traceability ขา้ วอนิ ทรยี ก์ บั วสิ าหกจิ ชมุ ชนเกษตรทงุ่ ทอง
ยง่ั ยนื และบรษิ ทั ซองเดอร์ออรแ์ กนิคฟู้ด จ�ำกัด
3. การบรกิ ารวชิ าการ การสรา้ งกลไกการเรยี นรแู้ ละคลงั ความรเู้ พอ่ื ยกระดบั การนำ� คณุ คา่ สหกรณส์ กู่ ารพฒั นาทย่ี งั่ ยนื ด�ำเนนิ การโดยผา่ น
ทางสถาบันวชิ าการดา้ นสหกรณ์ /ภาควชิ าสหกรณ์ อาทิ โครงการอบรมหลักสตู ร
ตา่ ง ๆ การเผยแพรผ่ ลงานวิจยั ผ่านสอ่ื ตา่ ง ๆ เช่น สถานวี ิทยุ Youtube เวทีเสวนา
ตลอดจนการประชุมในเวทตี า่ ง ๆ เป็นตน้
4. โครงการสำ� รวจและประเมินความคุ้มคา่ ทางเศรษฐศาสตรข์ องการ
พัฒนาแหล่งน้�ำบาดาลขนาดใหญ่ ในพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก
(EEC) ประจ�ำปงี บประมาณ 2563 ในเขตพนื้ ทจี่ งั หวดั ฉะเชงิ เทรา ชลบรุ ี และระยอง
รว่ มกบั กรมทรัพยากรนำ�้ บาดาล กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม
5. มีงานวิจัยที่ช้ีน�ำประเทศด้านเศรษฐศาสตร์ ธุรกิจการเกษตร เช่น
ออ้ ย ข้าว ยาง มันส�ำปะหลงั น�ำ้ ตาล และสกุ ร รวมทงั้ ด้านการทอ่ งเที่ยว และการ
เปลีย่ นแปลงสภาวะอากาศ

124 SMART Goals KU

การบูรณาการการท�ำ งานรว่ มกบั หน่วยงานต่าง ๆ SMART Goals KU 125

คณะเศรษฐศาสตร์ มกี ารบรู ณาการการทำ�งานร่วมกับหน่วยงานตา่ ง ๆ ทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศ
ภายใต้โครงการวิจัยและการบรกิ ารวิชาการอยา่ งต่อเนือ่ งมาตลอด
หน่วยงานในประเทศ เชน่
• ส�ำ นักงบประมาณ
• สำ�นักงานพัฒนาการวิจยั การเกษตร (องคก์ ารมหาชน) (สวก.)
• ส�ำ นกั งานพัฒนาเศรษฐกจิ จากฐานชวี ภาพ (องคก์ ารมหาชน)
• สำ�นกั งานเศรษฐกิจการเกษตร
• ส�ำ นกั งานเศรษฐกจิ อตุ สาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม
• กรมทรัพยากรนำ�้ บาดาล กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
• สหกรณ์ออมทรพั ย์และสหกรณ์เครดิตยูเนีย่ น
• หน่วยบรหิ ารและจัดการทนุ ด้านการพัฒนาก�ำ ลังคนและทนุ ดา้ นการพฒั นาสถาบนั
อุดมศกึ ษา การวจิ ัยและนวัตกรรม (บพค)
• มลู นิธิชัยพฒั นา
• สถาบันวจิ ัยเพอื่ การพัฒนาประเทศไทย (TDRI)
• สถาบันระหวา่ งประเทศเพอ่ื การคา้ และการพฒั นา (องค์การมหาชน)
• สถาบนั วจิ ัยและพัฒนาอญั มณีและเครอื่ งประดับแหง่ ชาติ (องค์การมหาชน)
• ส�ำ นกั งานกองทนุ สนบั สนุนการวจิ ยั (สกว.)
• สำ�นักงานกองทุนสนับสนนุ การสร้างเสรมิ สุขภาพ (สสส.)
• ส�ำ นกั งานการวจิ ัยแหง่ ชาติ (วช.)
• ส�ำ นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
• ส�ำ นักงานคณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาติ
• ส�ำ นักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม (สกสว.)
• สำ�นกั งานปลดั กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม
หน่วยงานตา่ งประเทศ เชน่
• Deutsche Gesellschaft fuer Internationale Zusammenarbeit (GIZ) GmbpH
หรือ German International Cooperation (GIZ) ประเทศเยอรมนี
• FAO Regional Office for Asia and the Pacific (FAORAP)
• Cambodia Development Resource Institute

การจดั ประชมุ วิชาการ / งานสัมมนาวิชาการ ระดบั ชาติและนานาชาติ

• ภาควชิ าเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร การประชมุ วชิ าการด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร เศรษฐศาสตรท์ รัพยากร เศรษฐศาสตร์การอาหาร
และธรุ กิจการเกษตร คร้ังที่ 7 เรื่อง“การขบั เคลื่อน BCG: ความทา้ ทาย และบทบาทใหม่ของเศรษฐศาสตร์เกษตรไทย” เมื่อวนั ท่ี 17 มกราคม 2563
ณ จงั หวดั เชียงใหม่

• งานสมั มนาวชิ าการ “บณั ฑติ เศรษฐศาสตรท์ พี่ งึ ประสงคใ์ นยคุ เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั ” จดั โดย สมาคมเศรษฐศาสตรแ์ หง่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
รว่ มกับ คณะเศรษฐศาสตร์ และคณะเศรษฐศาสตร์ ศรรี าชา มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ เมือ่ วนั พฤหัสบดีที่ 28 มนี าคม 2562

126 SMART Goals KU

International conference

ความร่วมมอื จากหนว่ ยงาน/องค์กรภายนอกจากต่างประเทศ ผู้พิจารณาบทความในการน�ำเสนอ
• Association of Asian Confederation of Credit Unions. (ACCU) • ต่างประเทศ 6 คน
• Malaysian National Co-operative Movement. (ANGKASA) • ในประเทศ 13 ค น
• Cooperative College of Malaysia (CCM) รวมทง้ั ส้ิน 19 ค น
จากในประเทศ บทความทเี่ ขา้ รว่ มน�ำเสนอ
• สนั นิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย • บทความตา่ งประเทศ 11 บทความ
• ชมุ นมุ สหกรณ์เครดติ ยเู นย่ี นแห่งประเทศไทยจ�ำกัด • บทความในประเทศ 4 บทความ
• ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์แหง่ ประเทศไทยจ�ำกดั รวมบทความทัง้ สน้ิ 15 บทความ
• ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจ�ำกดั บทความท่รี ่วมตพี ิมพ์ในรายงานการประชมุ วิชาการนานาชาติ
• ชุมนมุ สหกรณ์บริการเดนิ รถแหง่ ประเทศไทยจ�ำกดั • บทความต่างประเทศ 5 บทความ
• บทความในประเทศ 6 บทความ
รวมบทความท้ังสน้ิ 11 บทความ

SMART Goals KU 127

128 SMART Goals KU

ผลการดำ�เนินงานตามพนั ธกิจ

: ด้านการบริหารและการจดั การ

(ด้านทรพั ยากรบุคคล)

SMART Goals KU 129

การสง่ เสริมและพฒั นาศกั ยภาพบุคลากร

• บคุ ลากรสายวชิ าการเขา้ สตู่ �ำแหน่งทางวิชาการสงู ข้ึน

คณะเศรษฐศาสตร์กระตุ้นจูงใจให้สายวิชาการเข้าสู่ต�ำแหน่งทางวิชาการสูงขึ้น มีการวางแผนอัตราก�ำลังการเข้าสู่ต�ำแหน่งทางวิชาการและ
แนวทางในการบริหารอาจารย์ให้มีคุณภาพ คุณธรรม และมีความสุขในการปฏิบัติงาน โดยค�ำนึงถึงการมีส่วนร่วมสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ มีการ
ด�ำเนนิ การตดิ ตามผลการด�ำเนนิ งานและประเมนิ ผลอยา่ งโปรง่ ใส มีการสนบั สนุนเงนิ ทนุ เพ่ือท�ำงานวจิ ัย เขยี นต�ำรา หรือเข้าร่วมประชุมน�ำเสนอผลงาน
ทางวชิ าการเพื่อพัฒนาอาจารยใ์ ห้เป็นไปตามเป้าหมายท่ีก�ำหนดไว้ ในปี 2561-2563 ได้รบั การแต่งตั้งทางวชิ าการท่สี ูงขน้ึ แล้ว จ�ำนวน 22 คน อยใู่ น
กระบวนการขอก�ำหนดต�ำแหนง่ ทางวิชาการ จ�ำนวน 9 คน อยู่ในกระบวนการประเมนิ ผลการสอนฯ แต่ยงั ไมย่ ่ืนขอต�ำแหน่งฯ จ�ำนวน 10 คน

6 44

3

หมายเหตุ : * ต�ำแหน่งศาสตราจารย์
อย่ใู นขั้นตอนเสนอ ส.ก.อ. จ�ำนวน 2 คน ไดแ้ ก่
- รศ.ดร.สมุ าลี สนั ตพิ ลวฒุ ิ (ผ้ทู รงคณุ วุฒ)ิ
- รศ.ดร.บัณฑติ ชัยวิชญชาติ 333

ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 31 มนี าคม 2564 1

2560 2561 2562 2563

รองศาสตราจารย ผูช วยศาสตราจารย

• บคุ ลากรสายสนบั สนนุ และชว่ ยวชิ าการ ตารางแสดงจ�ำ นวบุคลากรสายสนับสนุนที่อยูร่ ะหว่างการดำ�เนนิ การขอตำ�แหน่งทางวิชาชพี

เขา้ สตู่ ำ� แหนง่ ระดบั ทส่ี งู ขนึ้ ตำ�แหนง่ ทางวชิ าชพี สายสนับสนุน 2560 2561 2562 2563 2564 รวม
คณะเศรษฐศาสตร์ สนบั สนุนใหบ้ ุคลากร
สายสนบั สนนุ ไดร้ บั แตง่ ตงั้ เพอื่ เขา้ สรู่ ะดบั ต�ำแหนง่ ที่ ไดร้ ับแต่งต้ังใหด้ ำ�รงตำ�แหน่ง
สูงขึน้ จากระดับจากปฏิบตั ิการ เปน็ ระดับช�ำนาญ
การ จ�ำนวน 4 คน อยรู่ ะหวา่ งการด�ำเนนิ การ จ�ำนวน ชำ�นาญการ - 112 - 4
2 คน และอยู่ระหว่างกระบวนการผู้ทรงคุณวุฒิ
พิจารณาผลงาน จากระดบั ช�ำนาญการ เปน็ ระดับ อยู่ระหวา่ งการดำ�เนนิ การ - - -1-1
ช�ำนาญการพเิ ศษ จ�ำนวน 1 คน ขอกำ�หนดตำ�แหน่งทส่ี งู ขนึ้
ชำ�นาญการพเิ ศษ

ชำ�นาญการ - - - -22

130 SMART Goals KU

การสื่อสารองคก์ ร
Econ Newsletter

คณะเศรษฐศาสตร์ ได้จดั ท�ำ Econ Newsletter เพอื่ ประชาสมั พันธ์ข่าวสาร
ตา่ งๆ ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2561-2564 รวมท้งั ส้นิ 104 ฉบบั

SMART Goals KU 131

• การจดั ประชุมออนไลน์
คณะเศรษฐศาสตร์ มกี ารพฒั นาระบบการจดั ประชมุ คณะกรรมการประจ�ำ คณะ ซง่ึ ผบู้ รหิ ารของแตล่ ะหนว่ ยงานจะรว่ มอภปิ ราย รายงานผล
การด�ำ เนนิ งาน หาแนวทางการพฒั นาคณะเศรษฐศาสตร์ แกไ้ ขประเด็นปัญหาที่เกิดขน้ึ และเรง่ ติดตามการด�ำ เนนิ งานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้
เปน็ ประจำ�ทุกเดือนอยา่ งเปน็ ระบบและทันการณ์
• นำ� Social Media มาใชเ้ พอ่ื ประชาสมั พนั ธข์ ้อมูลขา่ วสารกจิ กรรมต่างๆ (Facebook, Youtube, Line Official, Line Group) รวม
ทง้ั พฒั นาฐานข้อมลู ด้านตา่ ง ๆ

132 SMART Goals KU

SMART Goals KU 133

การปรบั โครงสร้างหนว่ ยงานภายใน

• การยุบศนู ย์บัณฑิตศกึ ษาคณะเศรษฐศาสตร์
ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารจัดการโครงการบัณฑติ ศกึ ษา ภาคพเิ ศษ จากเดิมบริหารจัดการภายใต้ศนู ยบ์ ัณฑิตศึกษา คณะเศรษฐศาสตร์ ให้
ปรบั เปลยี่ นการบรหิ ารจดั การโครงการบณั ฑติ ศกึ ษา ภาคพเิ ศษ ไปอยภู่ ายใตภ้ าควชิ าตน้ สงั กดั และใหย้ บุ ศนู ยบ์ ณั ฑติ ศกึ ษา คณะเศรษฐศาสตร์ เนอ่ื งจาก
มผี ลการดำ�เนินงานขาดทนุ ท้ังนี้ ตั้งแต่ 1 มถิ ุนายน พ.ศ.2561
• ปรบั ปรงุ โครงสรา้ งการแบ่งส่วนราชการภายในสำ�นักงานเลขานกุ ารคณะเศรษฐศาสตร
คณะเศรษฐศาสตร์ ปรบั ปรุงโครงสรา้ งการแบง่ สว่ นราชการภายในสำ�นกั งานเลขานุการ จาก 6 งาน เปน็ 5 งาน เพอ่ื สร้างความเข้มแขง็ ใน
ภารกิจสนบั สนุนการบริการดา้ นการศึกษา การบรกิ าร และการบริหารงานให้มคี วามเหมาะสม เนน้ ความคลอ่ งตวั และมีประสิทธิภาพในการให้บริการ
ที่ดียิ่งขนึ้ รวมถงึ การใชท้ รัพยากรร่วมกันอยา่ งคมุ้ ค่า และเกดิ ประโยชน์สงู สดุ ตัง้ แตว่ นั ที่ 24 ธนั วาคม พ.ศ.2562 ดงั น้ี

หน่วยงานเดิม หน่วยงานใหม่

1. งานบริหารและธรุ การ 1. งานอำ�นวยการและทรัพยากรบุคคล
- หนว่ ยอำ�นวยการ
- หน่วยทรัพยากรบคุ คล

2. งานการเงนิ และบญั ชี 2. งานคลังและพสั ดุ
- หนว่ ยการเงนิ และบญั ชี
- หน่วยพสั ดุ

3. งานพสั ดุ อาคารสถานทีแ่ ละยานพาหนะ 3. งานอาคารสถานท่ีและยานพาหนะ
- หนว่ ยอาคารและสถานที่
- หน่วยยานพาหนะและซอ่ มบำ�รงุ

4. งานบรกิ ารการศึกษา 4. งานบรกิ ารการศกึ ษา
- หนว่ ยทะเบียนและประมวลผล
- หนว่ ยหอสมุดและสอ่ื การเรียนรู้ดจิ ทิ ลั
- หนว่ ยกจิ การนิสติ

5. งานนโยบายและแผน 5. งานแผนและพัฒนาองคก์ ร
- หน่วยแผนและพัฒนาองค์กร

6. งานประกันคุณภาพการศึกษาและสารสนเทศ

134 SMART Goals KU

Econ KU Milk Day คณะเศรษฐศาสตร์สนบั สนนุ FridayKUMilkDayของมหาวทิ ยาลยั
เกษตรศาสตร์ จดั กจิ กรรม Econ KU Milk Day เพอ่ื มอบผลติ ภณั ฑน์ มเกษตร
ให้กับหน่วยงานทางการแพทย์ และสถานสงเคราะหต์ ่างๆ
SMART Goals KU 135

136 SMART Goals KU

ผลการดำ�เนนิ งานตามพนั ธกิจ
: ดา้ นการบรหิ ารและการจดั การ

(ดา้ นการเงิน)

SMART Goals KU 137

ด้านการเงนิ

ค่าสาธารณปู โภคลดลง

คณะเศรษฐศาสตร์สามารถลดค่าสาธารณปู โภค ต้งั แต่ปีงบประมาณ 2560 จนถึงปงี บประมาณ 2563 ไดถ้ งึ 4.9 ล้านบาท (ปีงบประมาณ
2560-2563 มีคา่ ใชจ้ ่าย 10.9 ,10.1 , 7.29 และ 5.95 ล้านบาท ตามลำ�ดบั ) ซงึ่ ลดลงในแต่ละปีตามล�ำ ดบั ดังน ้ี 0.76 , 2.85, 1.34 ลา้ นบาท โดย
เฉพาะคา่ ไฟฟา้ และคา่ นำ้�ประปาลดลงถงึ 4.85 ลา้ นบาท จากการด�ำ เนินการมาตรการต่าง ๆ และมาตรการเปิด-ปิดห้องเรียนตามเวลาสอน

ตารางแสดงคา่ สาธารณปู โภค ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2563

รายการ ปีงบประมาณ
2560 2561 2562 2563 รวม (บาท)

บัญชีค่าไฟฟ้า 10,146,554.45 9,452,034.43 6,715,290.02 5,482,789.14 31,796,668.04
บัญชีค่าน้�ำ ประปาและน้ำ�บาดาล 445,735.40 386,676.42 309,594.69 233,891.06 1,375,897.57

รวมท้ังสน้ิ 10,910,060.90 10,141,480.70 7,291,085.93 5,949,177.62 34,291,805.15

ที่มา : งานคลงั และพัสด ุ ขอ้ มลู ณ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2564

138 SMART Goals KU

บริหารจดั การทางการเงินทรี่ วดเรว็ ทันสมยั การใช้ระบบการชำ�ระเงนิ อิเลก็ ทรอนิกส์ (E-Payment)

1) การใช้ระบบ TMB
Business Click เพอ่ื ความรวดเร็ว
ลดขัน้ ตอนในการปฏิบัติงาน ลดค่า
ใช้จ่ายในการออกเช็คของคณะและ
ค่าธรรมเนียมธนาคารของบุคลากร
ทุกคน โดยอัตราค่าธรรมเนียม
ธนาคาร 10 บาทต่อคร้ังต่อคน
พนักงานเงินรายได้ จำ�นวน 93 คน
คดิ เปน็ มลู คา่ 11,160 บาทตอ่ ปี

Transaction via TMB Business CLICK

สง่ ขอ้ มูลการจา่ ยเงิน

บริษัทเตรียมไฟล์ ขอ้ มลู จา่ ยเงินเดอื น 1 2 3 เงนิ เข้าบญั ชเี งนิ เดือนพนกั งาน
แผนภาพแสดงระบบ TMB Business CLICK
SMART Goals KU 139

2) ระบบ E-slip เป็นการใช้กระบวนงานการแจ้งขอ้ มูลเงินเดือนของพนักงานเงินรายไดค้ ณะเศรษฐศาสตรแ์ ทนกระดาษ
การพัฒนาการจดั สง่ Slip เงินเดอื น เพือ่ ให้สอดคลอ้ งตามแนวทาง ของ มก. ในเรอ่ื งการส่ง slip เงินเดือนทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
• คณะติดต่อกบั ส�ำ นักบรกิ ารคอมพวิ เตอร์ เพ่ือให้จัดทำ� software หรือ application
• คณะสามารถส่ง slip เงนิ เดือนใหก้ ับบคุ ลากรของคณะไดท้ างอิเล็กทรอนกิ ส์ เชน่ เดียวกนั กบั บุคลากรของ มก.
3) การรบั บรจิ าคเงินสนบั สนนุ แบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (TMB ปนั บญุ )
ในโครงการอนรุ ักษ์และปรบั ปรุงห้องสมุดพิทยาลงกรณและบริเวณโดยรอบ

140 SMART Goals KU

ผลการดำ�เนินงานตามพันธกจิ

: ดา้ นบรหิ ารและการจัดการ (ดา้ นแผนและพฒั นาองคก์ ร)

SMART Goals KU 141

การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาเพื่อการด�ำเนินการทเี่ ปน็ เลศิ (EdPEx)

คณะเศรษฐศาสตรน์ �ำเกณฑ์คุณภาพการศกึ ษาเพื่อด�ำเนินการท่เี ปน็ เลิศ (Education Criteria for Performance Excellence : EdPEx) เขา้
มาใชใ้ นกระบวนการปฏบิ ตั งิ านตงั้ แต่ ปกี ารศกึ ษา 2559 มาใชแ้ ทนระบบการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา โดยมกี ารแตง่ ตง้ั คณะท�ำงานขบั เคลอื่ นระบบการ
บริหารงานสมยั ใหม่ตามเกณฑ์ EdPEx คณะเศรษฐศาสตร์ โดยมคี ณบดีเปน็ ประธาน รองคณบด ี ผูช้ ว่ ยคณบดี หัวหน้าภาควิชา ผ้อู �ำนวยการ หัวหน้า
ส�ำนกั งาน หัวหนา้ งาน เปน็ กรรมการ ตงั้ แตเ่ ดือนธันวาคม 2560 โดยคณะท�ำงานไดข้ บั เคลอ่ื นฯ การด�ำเนินงานมาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง มหาวทิ ยาลัยไดแ้ ตง่ ตัง้
ทมี ทปี่ รกึ ษามาเสนอแนะแนวทางการด�ำเนนิ งานปลี ะ 2 ครง้ั ท้งั น้ีคณะเศรษฐศาสตรม์ เี ปา้ หมายทีจ่ ะรับการประเมนิ EdPEx 200 ในปีการศกึ ษา 2564

แนวทางการขับเคลื่อนการพฒั นาคณุ ภาพคณะเศรษฐศาสตร

ป‚ 2561 ป‚ 2562 ป‚ 2563 ป‚ 2564 ป‚ 2565

ป‚การศกึ ษา 2560 ปก‚ ารศึกษา 2561 ปก‚ ารศกึ ษา 2562 ป‚การศกึ ษา 2563 ปก‚ ารศกึ ษา 2564

KU Grow
KU Grow KU Grow (Validation)
ระดบั คณะ IQA IQA (SA) (Validation) Assessment

EdPEx

ระดบั หลกั สูตร IQA

142 SMART Goals KU

การขับเคล่ือนระบบการบรหิ ารงานสมยั ใหม่ของคณะ ตามเกณฑ์ EdPEx

• ประชุมร่วมทมี ทป่ี รกึ ษาการพฒั นาคณุ ภาพองคก์ รเพ่ือความเป็นเลิศ (EdPEx) ของ มก.
เพอื่ รบั ขอ้ มลู ปอ้ นกลบั (Feedback) ใหค้ �ำปรกึ ษาการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาเพอ่ื การด�ำเนนิ การทเี่ ปน็ เลศิ ระดบั
คณะ จัดท�ำแผนปรบั ปรุง (Improvement Plan) และติดตามความก้าวหน้าของการพัฒนาปรบั ปรุง
ปี 2561
• รายงานข้อมลู ป้อนกลบั ผลการวเิ คราะหต์ นเอง ระดับคณะ ปกี ารศกึ ษา 2559 คณะเศรษฐศาสตร์ เมอ่ื
วนั ที่ 4 มถิ ุนายน 2561
ปี 2562
• คร้ังที่ 1 ทมี ท่ปี รึกษา EdPEx เข้าให้ขอ้ มลู ปอ้ นกลับ (Feedback) ผลการด�ำเนินงาน ปกี ารศกึ ษา 2560
เมอ่ื วันท่ี 4 มกราคม 2562 • ครงั้ ท่ี 2 ทีมทป่ี รึกษา EdPEx เขา้ ให้เขา้ ให้ค�ำปรึกษา เพอื่ ตดิ ตามความ
ก้าวหน้าของการพฒั นาปรบั ปรงุ เมอ่ื วนั ที่ 28 มิถุนายน 2562
• คร้งั ท่ี 3 ทีมท่ีปรึกษา EdPEx เข้าให้ค�ำปรกึ ษา เพอื่ ติดตามความกา้ วหนา้ ของการพัฒนาปรบั ปรุง เมอ่ื
วันท่ี 25 พฤศจกิ ายน 2562
• จัดท�ำข้อเสนอโครงการ GROW 63 ปกี ารศกึ ษา 2562 คณะเศรษฐศาสตร์ ได้จดั ท�ำข้อเสนอเข้าร่วม
“โครงการก้าวหน้าคณุ ภาพการศกึ ษาสู่ความเป็นเลิศ (GROW 63 Project Proposal)” เพือ่ การพฒั นาคุณภาพ
การศกึ ษาสู่ความเป็นเลิศดว้ ยเกณฑ์ EdPEx จัดโดย ส�ำนกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ปี 2563
• ครัง้ ท่ี 1 เม่อื วนั ท่ี 16 เมษายน 2563 เพอื่ พจิ ารณาผลการประเมินตนเองตาม SA Program การจดั
แผนพฒั นาที่ส�ำคัญ DP3- Prioritize
• คร้ังที่ 2 เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2563 เพ่ือปรับปรุง DP3 การจัดท�ำ Storyboard และ Fishbone
Diagram
• ครง้ั ท่ี 3 ชว่ งเดือนพฤศจิกายน 2563 เพ่ือการจัดท�ำแผนพฒั นา [DP5-Action Plan]
ปี 2564
• เข้าร่วมโครงการก้าวหน้าส่คู วามเปน็ เลศิ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ (KU GROW Project) คณะ
เศรษฐศาสตรพ์ ร้อมก้าวไปอีกขัน้ ใน KU Grow Project ซงึ่ ร่วมเปน็ 1 ใน 6 คณะของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ท่ี
ก�ำลังเตรียมมงุ่ สคู่ วามเปน็ เลศิ ทางด้านวชิ าการ วจิ ัย บรกิ ารสงั คม ในโครงการ KU Grow project กลมุ่ ทา้ ทาย โดย
มีประชุมตดิ ตามความก้าวหนา้ การด�ำเนนิ งานดงั กลา่ วรว่ มกบั ทีป่ รึกษาภายนอก และคณะท�ำงาน รว่ มระดมความ
คิดในการขับเคล่ือนโครงการเพอ่ื เตรียมน�ำคณะเศรษฐศาสตร์และประชาคมสูก่ ารเตบิ โตร่วมกนั ในขน้ั ต่อไป

SMART Goals KU 143

การประเมินคณุ ภาพระดบั คณะ
• จดั ท�ำรายงานการประเมนิ ตนเอง และรายงานผลการด�ำเนนิ งานตามเกณฑ์ EdPEx ระดบั คณะ ปกี ารศกึ ษา เสนอมหาวทิ ยาลยั

• การประเมนิ คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลกั สตู ร
• การประเมินคุณภาพการศึกษา

ภายใน ระดบั หลักสูตร

ประจ�ำปกี ารศกึ ษา 2560

ในระหว่างวันท่ี 12-26 กรกฎาคม
2561

144 SMART Goals KU

• การประเมินคุณภาพการศึกษา
ภายใน ระดับหลักสตู ร

ประจำ� ปีการศึกษา 2561

ในระหว่างวันที่ 2-15 กรกฎาคม
2562

• การประเมินคุณภาพการศึกษา
ภายใน ระดับหลักสูตร

ประจ�ำปกี ารศึกษา 2562

ในระหว่างวันท่ี 2-25 กรกฎาคม
2563

SMART Goals KU 145

• โครงการรางวัลคุณภาพคณะเศรษฐศาสตร์ ประจำ�ปีการศกึ ษา (EQI Award ครั้งท่ี 4-6)
คณะเศรษฐศาสตร์ ได้เลง็ เห็นถงึ ความสำ�คัญในการขับเคลอื่ นการพัฒนาคุณภาพงานและการปรบั ปรุงกระบวนงาน (Quality improvement
and Process improvement) โดยมุง่ เนน้ การเปลีย่ นแปลงวัฒนธรรมของการท�ำ งานท่วั ทง้ั องค์กร เพื่อการเพิ่มประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลของการ
ปฏบิ ัติงานและการใหบ้ ริการ ท่สี ามารถลดเวลาและลดขั้นตอนการด�ำ เนินงานอยา่ งเปน็ รปู ธรรม และสามารถเปน็ แนวปฏบิ ัตทิ ีด่ ี หมายถึง กระบวนการ
ท่ีมีวิธีปฏิบัติหรือข้ันตอนการปฏิบัติงานท่ีทำ�ให้หน่วยงานประสบความสำ�เร็จหรือนำ�ไปสู่ความเป็นเลิศตามเป้าหมาย และมีหลักฐานของความสำ�เร็จ
ปรากฏอยา่ งชัดเจน มีการเผยแพร่แนวปฏิบตั ิท่ีดีให้หนว่ ยงานภายในและภายนอกคณะนำ�ไปใช้ประโยชน์ต่อไป จึงได้จัดทำ�โครงการรางวลั คณุ ภาพคณะ
เศรษฐศาสตร์ ประจำ�ปีการศกึ ษา (EQI Awards : Economics Quality Improvement Awards) มีวตั ถุประสงคเ์ พอื่ ยกยอ่ งบคุ ลากรทีม่ ผี ลงานเด่น
ทุ่มเท เสียสละในการปฏิบัติงาน และสร้างชื่อเสียงให้แก่คณะเศรษฐศาสตร์ และเป็นกลไกในการกระตุ้นและผลักดันให้หน่วยงานและบุคลากรในคณะ
เหน็ ความส�ำ คญั และมกี ารพฒั นาปรบั ปรงุ ขน้ั ตอน/กระบวนการปฏบิ ตั งิ านอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ตลอดจนน�ำ ผลจากการปฏบิ ตั ทิ ด่ี มี าถา่ ยทอด แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ และ
ขยายผลสกู่ ารไดแ้ นวปฏิบตั ิทดี่ ี

146 SMART Goals KU


Click to View FlipBook Version