The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารสรุปบทเรียน โครงการอพ.สธ. ศพช.สระบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by CDDTree.S, 2022-05-06 00:10:41

เอกสารสรุปบทเรียน โครงการอพ.สธ. ศพช.สระบุรี

เอกสารสรุปบทเรียน โครงการอพ.สธ. ศพช.สระบุรี

1

การอนุรักษ์พนั ธุกรรมพชื

โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม
บรมราชกุมารี (อพ.สธ.)

เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2535 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชดาริ
กับนายแก้วขวัญ วัชโรทัย เลขาธิการพระราชวังและผู้อานวยการโครงการส่วนพระองค์ฯ สวนจิตรลดา ให้
อนุรักษ์พืชพรรณของประเทศและดาเนินการเป็นธนาคารพืชพรรณ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอัน
เน่ืองมาจากพระราชดาริฯ ได้เริ่มดาเนินการ โดยฝ่ายวิชาการโครงการส่วนพระองค์ฯ สาหรับงบประมาณ
ดาเนินงานนัน สานักงานคณะกรรมการพิเศษ เพ่ือประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ได้
สนับสนุนให้กับโครงการส่วนพระองค์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โครงการอนุรักษ์
พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ โดยจัดสร้างธนาคารพืชพรรณขึนในปี 2536 สาหรับเก็บรักษา
พันธกุ รรมพชื ทเี่ ปน็ เมล็ดและเนอื เย่อื และสนับสนุนงบประมาณดาเนนิ งานทุกกจิ กรรมของโครงการ พ.ศ 2536

“…จนถึงปัจจุบันงานการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชนี้ ได้ดาเนินมาเป็นเวลาหลายปี เร่ิมตั้งแต่ที่เข้าใจว่า
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงหาพรรณพืชต่างๆ ท่ีหายากมาปลูกเอาไว้เพ่ือคนรุ่นหลังจะได้เห็นได้ศึกษา
ต่อไป และก็มีงานด้านวิชาการต่างๆ ที่ทากัน ที่จริงแล้วในประเทศไทยนี้ก็มีหน่วยงานหลายหน่วยที่สนใจในเรอ่ื ง
ของการอนุรักษ์พันธุ์พืช เพ่ือการศึกษาพืชพรรณต่างๆ ทีม่ ีอยู่ในประเทศ โครงการนี้ มีจุดประสงค์สาคัญที่จะให้
หนว่ ยงานต่างๆ ทีไ่ ด้ทางานมาได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรอื แลกเปลย่ี นความรู้ซึ่งกนั และกัน รวบรวม
ข้อมูล เพื่อทา ให้วิชาการด้านน้ีก้าวหน้าไป และเป็นการประหยัด เพราะแทนที่ต่างคนต่างทา งานไหนที่มีผู้ทา
แล้วจะได้ร่วมกันทาโดยไม่ให้ซ้าซ้อนกัน และก็ปรากฏว่ามีผู้มาสนับสนุนหลายท่านท้ังในด้านวิชาการ ด้าน
อุปกรณ์ต่างๆ และทุนทรัพย์ ก็นับว่างานน้ีเป็นท่ีสนใจของบุคคลหลายฝ่าย ในวันน้ีท่ีได้มีการมอบฐานข้อมูล
ทางด้านพืชให้หน่วยงานต่างๆ นั้น ความเป็นมากม็ ีอยู่ท่ีก่อนน้ีในหน่วยงานต่างๆ มีหอพรรณไม้ เช่นท่ีกรมป่าไม้
หอพรรณไม้ของกรมป่าไม้ก็มีพืชท่ีนักวิชาการ นักวิจัย รุ่นเก่าๆ ได้เก็บตัวอย่างพรรณพืชแห้ง เก็บไว้เป็นเวลา
เกือบจะร้อยปีแล้ว ตัวอย่างของพรรณไม้เหล่านี้ก็เป็นส่ิงที่มีค่าสูง จะเป็นประโยชน์ในด้านการศึกษา แต่ว่าของ
ต่างๆ นนั้ กย็ ่อมเก่าแก่ไปตามกาลเวลา จะเสียหายอย่างน่าเสียดาย ในสมัยนีเ้ รามีเทคโนโลยีท่จี ะรกั ษาส่ิงเหล่าน้ี
เพื่อให้นักวิชาการได้ศึกษากันได้ ก็เลยได้คิด ช่วยกันทาโครงการในการถ่ายรูปและถ่ายข้อมูลพรรณไม้ เพื่อเป็น
ฐานข้อมูล แต่ ในเมื่อในการเก็บฐานข้อมูลน้ี ถ้าเก็บไว้แห่งเดียวก็อาจจะสูญหายได้ ก็มีความคิดกันว่าจะให้

2

หน่วยงานต่างๆ ช่วยกันเก็บ ท่ีหน่ึงเกิดเหตุ เสียหายไปก็จะได้มขี ้อมูลเอาไว้ ไม่สูญหายไปจากประเทศไทย หรือ
จากโลกน้ีไปหมด ฐานข้อมูลนี้ก็เป็นของท่ีมีค่า ต้องช่วยกันดูแลให้ดี และผู้ที่จะมาใช้ก็ต้องดูแล ใช้ให้ถูกต้องให้
เป็นประโยชน์แก่ประเทศไทย แก่มนุษย์ชาติต่อไป โครงการแบบนี้ไม่ใช่ว่าจะทาสาเร็จในเวลาสั้นๆ ต้องมี
โครงการระยะที่หน่ึง ระยะทส่ี อง และระยะตอ่ ๆ ไป การจัดการประชุมน้กี ็เป็นการแลกเปลี่ยน ความคิดเหน็ และ
เพ่มิ พนู ความรูใ้ นระดับนกั วิชาการ และการจัดนิทรรศการน้ีก็จะมโี อกาสให้คนอ่ืนท่ีสนใจได้มาดู ได้มาศึกษา เม่ือ
บุคคลต่างๆ ได้มาศึกษาแล้วก็ทราบว่าพืชต่างๆ และก็ต่อไปก็ต้องการศึกษาเรื่องสัตว์ส่ิงมีชีวิต และส่ิงธรรมชาติ
ตา่ งๆ ของพวกน้ีกเ็ ป็นสงิ่ ที่น่าสนใจ เมื่อสนใจแล้วกจ็ ะมีความรู้สกึ อยากจะปกปักรกั ษา ไม่ทาลายให้เสียหายสูญ
สิ้นไป ก็เป็นการช่วยอนุรักษ์เป็นอย่างดี ขอให้ทุกๆ ท่านประสบความสาเร็จในการทางานและให้การประชุมใน
ครงั้ น้ีดาเนนิ ไปดว้ ยดี…”

พระราโชวาท วันท่ี 14 พฤษภาคม 2546 ในการประชุมวิชาการนิทรรศการ ทรัพยากรไทย:
ธรรมชาติแห่งชวี ิต ณ สานักพระราชวัง พระราชวังดสุ ติ

สาหรับเป้าหมายหลักของโครงการ คือเพ่ือพัฒนาบุคลากร อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรพันธุกรรมพืช
และทรัพยากร ให้เกิดประโยชน์กับมหาชนชาวไทย โดยมีวัตถุประสงค์ 1) ให้เข้าใจและเห็นความสาคัญของ
พันธุกรรมพืชและทรัพยากร 2) ให้ร่วมคิด ร่วมปฏิบัติ จนเกิดประโยชน์ถึงมหาชนชาวไทย 3) ให้มีระบบข้อมูล
พนั ธกุ รรมพชื และทรพั ยากร สือ่ ถึงกนั ไดท้ ว่ั ประเทศ

แนวทางการดาเนินงานตามกรอบการดาเนนิ งาน ตามแผนแมบ่ ท อพ.สธ. ระยะ 5 ปีทีเ่ จ็ด
(1 ตลุ าคม พ.ศ. 2564 – 30 กนั ยายน พ.ศ. 2569)

เพ่อื ใหบ้ รรลุวตั ถปุ ระสงค์และเปา้ หมายทีก่ าหนดไวข้ า้ งต้น จึงกาหนดแนวทางและแผนการดาเนนิ งานตาม
แผนแมบ่ ท อพ.สธ. ระยะ 5 ปีทีเ่ จด็ (1 ตลุ าคม พ.ศ. 2564 – 30 กนั ยายน พ.ศ. 2569) โดยมกี จิ กรรม 8 กจิ กรรม
ทอี่ ยู่ภายใต้ 3 กรอบการดาเนนิ งานและ 3 ฐานทรัพยากร ได้แก่ ทรัพยากรกายภาพ ทรัพยากรชวี ภาพ และ
ทรพั ยากรวัฒนธรรมและภมู ิปัญญา

โดยท่ี อพ.สธ. สนับสนุนและรว่ มมอื กบั หน่วยงานทรี่ ว่ มสนองพระราชดาริจดั ทาแผนปฏิบัตงิ านในกิจกรรม
ต่าง ๆ ภายใต้แผนแมบ่ ทในแต่ละปีงบประมาณตลอดระยะเวลา 5 ปี ใหส้ อดคล้องกบั แนวทางการดาเนินงานตาม
กรอบแผนแม่บทของ อพ.สธ. หนว่ ยงานทีร่ ว่ มสนองพระราชดารจิ ัดทาแผนปฏิบตั ิงานประจาปีเฉพาะในสว่ นของ
หนว่ ยงานของตนใหช้ ดั เจน โดยระบุสาระสาคัญในการดาเนนิ งาน เชน่ พนื ทีเ่ ป้าหมายในการดาเนินงาน วธิ กี าร
และขันตอนการดาเนินงาน และการบรหิ ารจดั การ โดยเฉพาะเร่ืองผ้รู บั ผดิ ชอบในการปฏบิ ตั ิและงบประมาณใน
การดาเนนิ งาน โดยมี อพ.สธ. เป็นผพู้ จิ ารณาให้อย่ใู นแนวทางการดาเนนิ งาน อพ.สธ.และสนับสนุนแผนปฏิบตั ิ
งานประจาปี/โครงการต่าง ๆ ภายใต้แผนแมบ่ ทของ อพ.สธ. ไปยังแหล่งทนุ ต่าง ๆ ต่อไป
1. กรอบการเรยี นรทู้ รพั ยากร

เพ่ือพัฒนาและเพ่ิมประสิทธิภาพการดาเนินงานด้านการพัฒนาและด้านการบริหารจัดการด้านปกปัก
ทรัพยากรของประเทศ จึงต้องมีการเรียนรู้ทรัพยากรในพืนที่ โดยมีกิจกรรมท่ีดาเนินงานได้แก่ กิจกรรมท่ี 1
กิจกรรมปกปักทรัพยากร กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสารวจเก็บรวบรวมทรัพยากรและกิจกรรมที่ 3 กิจกรรมปลูก
รกั ษาทรพั ยากร

3

กจิ กรรมท่ี 1 กิจกรรมปกปกั ทรพั ยากร
เป้าหมาย

1. เพ่ือปกปักรักษาพืนที่ป่าธรรมชาติของหน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดาริ ทังหน่วยงานภาครัฐ
และเอกชนที่มีพืนที่ป่าดังเดิมอยู่ในความรับผิดชอบ โดยไม่มีนโยบายจะเปล่ียนแปลงสภาพพืนท่ี แต่จะต้องเป็น
พืนที่นอกเหนือจากพืนที่ของกรมป่าไม้และกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธ์ุพืช หรือจะต้องไม่เป็นพืนที่ที่มี
ปญั หากบั ราษฎรโดยเด็ดขาด

2. เพื่อร่วมมือกับกรมป่าไม้และกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธ์ุพืช โดยที่กรมฯ นาพืนที่ของ
กรมฯ มาสนองพระราชดาริ ตามความเหมาะสม

ตัวอย่างพืนที่ของหน่วยงานท่ีร่วมสนองพระราชดาริ เช่น พืนที่ป่าในศูนย์ศึกษาการพัฒนาอัน
เน่ืองมาจากพระราชดาริ พืนท่ีป่าท่ีชาวบ้านร่วมใจปกปักรักษา พืนที่ป่าของสถาบันการศึกษา พืนที่ป่าของสวน
สัตว์ พืนท่ีป่าของเข่ือนต่าง ๆ ภายใต้การดูแลของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พืนที่ป่าของภาคเอกชนท่ี
ร่วมสนองพระราชดาริ เป็นต้นโดยการดาเนินงานในพืนท่ีปกปักทรัพยากร ซ่ึงทังนีมีการประชุมคณะกรรมการ
ดาเนินงาน/คณะอนุกรรมการ/คณะทางาน อพ.สธ. ของหน่วยงานท่ีร่วมสนองพระราชดารินัน ๆ โดย อพ.สธ.
สามารถเป็นผู้สนับสนุนด้านวิชาการ/บุคลากร และสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ท่ีร่วมสนองพระราชดาริ สนับสนุน
บคุ ลากร/นักวิจยั ในการปฏบิ ตั งิ านในพืนที่

แนวทางการดาเนนิ กิจกรรมปกปกั ทรพั ยากรในพ้ืนที่ปกปักทรัพยากร
1. การทาขอบเขตพืนทีป่ กปกั ทรพั ยากร และให้ระบุสถานะพนื ที่วา่ อย่เู อกสารสทิ ธิป์ ระเภทใด

1.1 เป็นพืนทีม่ ีเอกสารสิทธ์ขิ องหน่วยงานฯ
1.2 เป็นพืนที่ของหน่วยงานอื่นแต่อนุญาตให้มีสิทธ์ิใช้พืนที่นันได้ (ให้ระบุช่ือหน่วยงานท่ีเป็น
เจ้าของ)
พืน้ ทีป่ กปกั ทรัพยากรต้องไม่เปน็ พนื้ ทีท่ ี่มีกรณีพิพาทกบั ราษฎรในเร่อื งของการบุกรกุ หรือแผ้วถาง
2. การสารวจ ทารหัสประจาต้นไม้ ทารหัสพิกัด เพื่อรวบรวมเป็นฐานข้อมูลในพืนท่ีของ หน่วยงานที่
รว่ มสนองพระราชดาริ
3. การสารวจ ทารหัสพิกัด และค่าพิกัดของทรัพยากรชีวภาพอื่น ๆ นอกเหนือจากพันธุกรรมพืช เช่น
สัตว์ จลุ ินทรีย์
4. การสารวจ ทารหัสพิกัด และค่าพิกัดของทรัพยากรกายภาพ เช่นดิน หิน แร่ธาตุต่าง ๆ คุณภาพนา
คุณภาพอากาศ เปน็ ตน้
5. การสารวจเก็บข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการใช้ทรัพยากรกายภาพ
และทรัพยากรชีวภาพในพืนท่ี
6. สนับสนุนให้มีอาสาสมัครปกปักรักษาทรัพยากรในพืนท่ีสถานศึกษา เช่นนักศึกษาในมหาวิทยาลัย
ในระดับหมู่บ้าน ตาบล สนับสนุนให้ประชาชนที่อยู่รอบ ๆ พืนที่ปกปักทรัพยากร เช่นมีกิจกรรมป้องกันไฟป่า
กจิ กรรมร่วมมอื ร่วมใจรักษาทรพั ยากรในพนื ทป่ี กปักทรัพยากร เป็นตน้
ข้อมูลที่ได้นามารวบรวมเป็นฐานข้อมูลในพืนท่ีขององค์กรต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานราชการ หรือ
เอกชนที่เขา้ รว่ มสนองพระราชดาริเพ่ือการนาไปใช้ประโยชน์ต่อไป

4

หมายเหตุ
1. ขอ้ มลู ทไี่ ด้จากกิจกรรมปกปกั ทรัพยากร สามารถนาไปจดั การและเก็บเข้าสู่งานฐานข้อมูลในกิจกรรม
ท่ี 5 กิจกรรมศนู ย์ข้อมลู ทรพั ยากร
2. กจิ กรรมปกปักทรัพยากร ใช้พืนทีเ่ ปน็ เป้าหมายในการดาเนนิ งานในกิจกรรมนี
3. พืนท่ีทนี่ ามาสนองพระราชดารใิ นกิจกรรมนี ไม่ไดห้ มายความว่าเป็นการนาพนื ทีน่ ันเข้ามาน้อมเกลา้ ฯ
ถวาย เพ่ือให้เป็นทรัพย์สินของ อพ.สธ. สานักพระราชวัง แต่หมายถึงเป็นพืนท่ีท่ีดาเนินการโดยหน่วยงานนัน ๆ
ท่ีเป็นเจ้าของ แต่ใช้แนวทางการดาเนินงานในกิจกรรมปกปักทรัพยากร และในอนาคตถ้าหน่วยงานนัน ๆ มี
นโยบายในการดาเนินการปรับปรุงหรือต้องการใช้พืนท่ีปกปักทรัพยากร เพ่ือใช้ในกิจกรรมอ่ืน ๆ ทางหน่วยงาน
สนองพระราชดาริฯ นัน ๆ สามารถดาเนินการแจ้งความประสงค์มายัง อพ.สธ. แต่ในกรณีท่ีเป็นพืนท่ีล่อแหลม
ต่อการสูญเสยี ทรัพยากรที่มีคา่ อาจต้องมีการขอพระราชวินิจฉยั ก่อนดาเนินการเปลย่ี นแปลง
สาหรับเรื่องการอบรมอาสาสมัคร/ประชาชน/นักศึกษา/นักเรียนในองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ชุมชน
หมู่บา้ น ในพืนทีป่ กปกั ทรพั ยากร ใหอ้ ยใู่ นกจิ กรรมท่ี 8 กจิ กรรมพิเศษสนับสนุนการอนุรักษท์ รพั ยากร

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสารวจเก็บรวบรวมทรัพยากร
เปา้ หมาย

1. เพ่ือสารวจและเก็บรวบรวมทรัพยากรในพืนท่ี ได้แก่ทรัพยากรกายภาพ ทรัพยากรชีวภาพ และ
ทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ในพืนท่ีที่ทราบแน่ชัดว่ากาลังจะเปลี่ยนแปลงจากสภาพเดิม เช่นจากป่า
กลายเป็นสวน พืนท่ีตามเกาะต่าง ๆ ท่ีจะกลายสภาพเป็นพืนท่ีท่องเท่ียว พืนท่ีที่เร่งในการสร้างถนนและ
ส่ิงก่อสร้างต่าง ๆ ภายใต้รัศมีอย่างน้อย 50 กิโลเมตร ของหน่วยงานท่ีร่วมสนองพระราชดาริ ให้พิจารณาความ
พร้อมและศกั ยภาพของหนว่ ยงานทเ่ี ปน็ แกนกลางดาเนนิ งานในแตล่ ะพนื ทีเ่ ป็นสาคัญ

2. เพ่ือสารวจและเก็บรวบรวมทรัพยากรในพืนท่ี ได้แก่ทรัพยากรกายภาพ ทรัพยากรชีวภาพ และ
ทรพั ยากรวัฒนธรรมและภมู ปิ ัญญาภายใต้รัศมีอย่างน้อย 50 กิโลเมตร ของหน่วยงานท่ีร่วมสนองพระราชดาริ
อาจจะกาลังเปลีย่ นแปลงหรือไมก่ ไ็ ด้แต่เป็นคนละพนื ท่ีกับพืนท่ีปกปกั พนั ธุกรรมพืช/ทรพั ยากรดังในกิจกรรมท่ี 1
โดยที่ อพ.สธ. มีนโยบายประสานและร่วมมือกบั หน่วยงานท่ีรว่ มสนองพระราชดาริ เชน่ จังหวัด องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ิน สถานศึกษาต่าง ๆ ในการร่วมสารวจในงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น กองบัญชาการตารวจตระเวน
ชายแดน หนว่ ยบัญชาการทหารพัฒนา กรมวิชาการเกษตร สถาบนั การศึกษาตา่ งๆ ฯลฯ กาหนดพืนทีเ่ ปา้ หมาย
ในการดาเนินงานสารวจเก็บรวบรวมทรัพยากร ให้สอดคล้องกับแนวทางการดาเนินงานตามกรอบแผนแม่บท
ของ อพ.สธ. และจัดทาแผนประจาปีเฉพาะในส่วนของหน่วยของตนให้ชัดเจน พร้อมทังวางแผนปฏิบัติงาน
ร่วมกัน ทังในเรื่องวิธีการและขันตอนการดาเนินงานและการบริหารจัดการ โดยเน้นการดาเนินงานในพืนท่ี
เปา้ หมายเดมิ ใหแ้ ล้วเสร็จเปน็ ลาดับแรก ก่อนพิจารณาขยายผลออกไป โดยแตล่ ะหน่วยงานเป็นผู้รับผดิ ชอบและ
เป็นแกนกลางดาเนินงานในพืนท่ีรับผิดชอบของหน่วยในแต่ละพืนที่ ซึ่งทังนีมีการประชุมคณะกรรมการ
ดาเนินงาน อพ.สธ. ของหน่วยงานนัน ๆ โดยมี อพ.สธ. เป็นผู้สนับสนุนด้านวิชาการ /บุคลากร และ
สถาบันการศึกษาตา่ ง ๆ ท่รี ่วมสนองพระราชดาริ สนับสนุนบคุ ลากร/นักวิจยั ในการปฏบิ ตั งิ านในพนื ท่ี

5

แนวทางการดาเนนิ กจิ กรรมสารวจเกบ็ รวบรวมทรพั ยากร
1. การสารวจเกบ็ รวบรวมตัวอย่าง ทรพั ยากรกายภาพ ทรพั ยากรชีวภาพ และทรัพยากรวัฒนธรรม

และภูมิปัญญา ในบริเวณรัศมีอย่างน้อย 50กิโลเมตร ของหน่วยงานนัน ๆ ทังพืนท่ี แต่อาจเริ่มต้นในพืนที่ท่ีจะมี
การเปลี่ยนแปลงจากการพัฒนาหรือล่อแหลมต่อการเปล่ียนแปลงก่อนเช่น พืนท่ีกาลังจะสร้างอ่างเก็บนา สร้าง
ศูนย์การค้า พืนที่สร้างถนน การขยายทางหลวงหรือเส้นทางต่าง ๆ พืนที่สร้างสายไฟฟ้าแรงสูง พืนที่ท่ีกาลังถูก
บุกรุก และในพืนที่อื่น ๆ ที่จะถูกพัฒนาเปล่ียนแปลงจากสภาพเดิมโดยอาจดาเนินการร่วมกับ องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ินท่ีเป็นสมาชิกฐานทรัพยากรท้องถ่ิน สมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน และหน่วยงานท่ีร่วมสนอง
พระราชดาริ อพ.สธ. พืนที่ที่สารวจจะต้องอยู่ในเงื่อนไขท่ีเป็นของหน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดาริเองหรือถ้า
เป็นพนื ที่ของหนว่ ยงานอ่นื เจา้ ของพนื ท่ีนัน ๆ ต้องอนุญาตใหเ้ ข้าสารวจได้

2. การสารวจ ทารหสั ประจาตน้ ไม้ ทารหัสพกิ ัด เพ่ือรวบรวมเป็นฐานข้อมูลในพนื ท่ี
3. การสารวจ ทารหัสพิกัด และค่าพิกัดของทรัพยากรชีวภาพอื่น ๆ นอกเหนือจากพันธุกรรมพืช
เชน่ สตั ว์ จลุ ินทรีย์
4. การสารวจ ทารหัสพิกัด และค่าพิกัดของทรพั ยากรกายภาพ เช่นดิน หิน แร่ธาตตุ ่าง ๆ คณุ ภาพ
นา คุณภาพอากาศ เป็นต้น
5. การสารวจเก็บข้อมูลภูมิปัญญาท้องถ่ิน วัฒนธรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ทรัพยากร
กายภาพและทรัพยากรชีวภาพในพืนท่ี
6. การเก็บรวบรวมทรัพยากรชวี ภาพเพ่อื เป็นตัวอยา่ งแหง้ และตัวอยา่ งดอง รวมถึงการเกบ็ ตัวอยา่ ง
ทรัพยากรกายภาพ เพื่อเปน็ ตวั อยา่ งในการศึกษาหรือเก็บในพิพิธภัณฑ์พชื พพิ ิธภณั ฑ์ธรรมชาติวิทยา
7. การเก็บพันธุกรรมทรัพยากร สาหรับพืชสามารถเก็บเพ่ือเป็นตัวอย่างเพ่ือการศึกษาหรือมีการ
เกบ็ ในรูปเมล็ดในห้องเกบ็ รกั ษาเมล็ดพันธุ์ การเกบ็ ตน้ พืชมีชวี ิตเพ่ือไปปลูกในที่ปลอดภัย การเกบ็ ชนิ ส่วนพืชที่มี
ชวี ิต (เพ่ือนามาเก็บรักษาในสภาพเพาะเลียงเนือเย่ือ)และสาหรับทรัพยากรอื่น ๆ (สตั ว์ จุลินทรีย์ เห็ด รา ฯลฯ)
สามารถเก็บตวั อย่างมาศึกษาและขยายพันธต์ุ อ่ ไปได้ ในกจิ กรรมท่ี 3 กจิ กรรมปลูกรกั ษาทรัพยากร
หมายเหตุ
ขอ้ มลู ทไ่ี ด้จากกิจกรรมสารวจเกบ็ รวบรวมทรพั ยากรนี สามารถนาไปจัดการและเก็บเข้าสู่งานฐานขอ้ มูล
ในกิจกรรมท่ี 5 กิจกรรมศูนย์ข้อมูลทรัพยากรและนาทรัพยากรท่ีเก็บรวบรวมได้ไปดาเนินงานในกิจกรรมท่ี 3
กิจกรรมปลกู รกั ษาทรัพยากร และนาไปสู่การดาเนินงานในกจิ กรรมอ่ืน ๆ ตอ่ ไป

กิจกรรมที่ 3 กจิ กรรมปลูกรักษาทรพั ยากร
เปา้ หมาย

1. เพ่ือนาทรัพยากรที่มีค่า ใกล้สูญพันธุ์ หรือต้องการเพิ่มปริมาณเพ่ือนามาใช้ประโยชน์ จากพืนท่ี
ในกิจกรรมที่1และกิจกรรมท่ี 2 ทาการคัดเลือกมาเพ่ือดาเนินงานเป็นกิจกรรมต่อเนื่องโดยการนาพันธุกรรม
ทรัพยากรชีวภาพต่าง ๆ ไปเพาะพันธ์ุ ปลูกเลียง และขยายพันธุ์เพ่ิมในพืนท่ีท่ีปลอดภัยเรียกว่าพืนที่ปลูกรักษา
ทรพั ยากร

6

2. เพื่อส่งเสริมให้เพ่ิมพืนที่แหล่งรวบรวมพันธุ์ทรัพยากรตามพืนท่ีของหน่วยงานต่าง ๆ (ex situ)
ทังในแปลงเพาะขยายพันธ์ุ ห้องปฏิบัติการฯ แหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ เช่น ในศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเน่ืองมาจาก
พระราชดาริท่ีมอี ยู่ 6 ศนู ย์ท่วั ประเทศพนื ที่ศูนยว์ จิ ัยและสถานีทดลองของกรมวชิ าการเกษตร องค์การสวนสัตว์ฯ
พืนที่ของจังหวัด พืนที่สถาบันการศึกษาท่ีนาเข้าร่วมสนองพระราชดารเิ ป็นลกั ษณะของสวนพฤกษศาสตร์ สวน
รุกขชาติ ป่าชุมชนท่ีร่วมสนองพระราชดาริและยังมีการเก็บรักษาในรูปเมล็ด เนือเยื่อ และสารพันธุกรรมใน
ห้องปฏิบัติการฯ ในหน่วยงานต่าง ๆ รวมถึงการเก็บรักษาพันธุกรรมต่าง ๆ ในธนาคารพืชพรรณ อพ.สธ. สวน
จติ รลดาเก็บในรปู สารพนั ธุกรรมหรือดีเอ็นเอ

โดยท่ี อพ.สธ. ดาเนินการประสานงาน สนับสนุนด้านวิชาการร่วมกับหน่วยงานท่ีร่วมสนอง
พระราชดาริ เช่น จังหวัดต่าง ๆ กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา
กองทัพอากาศ กรมวิชาการเกษตร สถาบันการศึกษาต่าง ๆ ฯลฯ กาหนดพืนท่ีเป้าหมายในการดาเนินงาน
สารวจเก็บรวบรวมทรัพยากร ให้สอดคล้องกับแนวทางการดาเนินงานตามกรอบแผนแม่บทของ อพ.สธ. และ
จัดทาแผนประจาปีเฉพาะในส่วนของหน่วยงานของตนให้ชัดเจน พร้อมทังวางแผนปฏิบัติงานร่วมกันให้ชัดเจน
ทังในเรื่องวิธีการและขนั ตอนการดาเนนิ งานและการบริหารจัดการ โดยเน้นการดาเนนิ งานในพืนที่เป้าหมายเดิม
ให้แล้วเสร็จเป็นลาดบั แรกกอ่ นพิจารณาขยายผลออกไป โดยแตล่ ะหน่วยงานเป็นผู้รับผิดชอบและเป็นแกนกลาง
ดาเนินงานในพืนที่รับผิดชอบของหน่วยในแต่ละพืนที่ ซึ่งทังนีมีการประชุมคณะกรรมการดาเนินงาน อพ.สธ.
ของหน่วยงานนัน ๆ

แนวทางการดาเนินกิจกรรมปลูกรักษาทรัพยากร
ทรพั ยากรพนั ธุกรรมพืช

1. การปลูกรักษาต้นพันธุกรรมพืชในแปลงปลูก การปลูกรักษาต้นพืชมีชีวิตลักษณะป่าพันธุกรรม
พชื มแี นวทางดาเนนิ งานคือ สารวจสภาพพืนที่และสร้างสิ่งอานวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน งานขยายพนั ธุ์
พืช งานปลกู พันธุกรรมพชื และบันทกึ ผลการเจริญเติบโต งานจัดทาแผนที่ต้นพนั ธกุ รรมและทาพิกัดตน้ พันธกุ รรม

2. การตรวจสอบพืชปราศจากโรคกอ่ นการเกบ็ รกั ษาพันธุกรรมพชื ในรปู แบบต่าง ๆ
3. การเก็บรักษาทังในรูปของเมล็ด ในระยะสัน ระยะกลาง และระยะยาวในรูปของธนาคาร
พนั ธกุ รรม ศกึ ษาหาวิธีการเกบ็ เมล็ดพนั ธุ์ และทดสอบการงอกของเมลด็ พนั ธุ์
4. การเก็บรักษาโดยศึกษาเทคโนโลยีการเพาะเลียงเนือเย่ือพืชแต่ละชนิด ศึกษาการฟอกฆ่าเชือ
ศึกษาสูตรอาหารที่เหมาะสม ศึกษาการเก็บรักษาโดยการเพาะเลียงเนือเย่ือในระยะสัน ระยะกลาง ระยะยาว
และในไนโตรเจนเหลว (cryopreservation) และการขยายพันธ์ุโดยการเพาะเลียงเนอื เยอ่ื
5. การเก็บรักษาในรูปสารพนั ธกุ รรม (DNA) เพื่อการนาไปใชป้ ระโยชน์เชน่ การวิเคราะห์ลายพิมพ์ดี
เอ็นเอ การปรับปรงุ พันธ์พุ ืช เป็นต้น
6. การดาเนินงานในรูปของสวนพฤกษศาสตร์ สวนรุกขชาติ สวนสาธารณะต่าง ๆ การปลูกพืชใน
สถานศกึ ษา โดยมีระบบฐานขอ้ มลู ท่ีสามารถใช้ประโยชนไ์ ดใ้ นอนาคต

7

ทรัพยากรพันธุกรรมสตั ว์และทรัพยากรพันธุกรรมอื่น ๆ
ให้ดาเนินการให้มีสถานที่เพาะเลียงหรือห้องปฏิบัติการที่จะเก็บรักษา เพาะพันธ์ุ/ขยายพันธุ์ตาม

มาตรฐานความปลอดภัย โดยมีแนวทางการดาเนินงานคล้ายคลึงกับการดาเนินงานในทรัพยากรพันธุกรรมพืช
ข้างตน้

หมายเหตุ
ข้อมูลที่ได้จากกิจกรรมปลูกรักษาทรัพยากร สามารถนาไปจัดการและเก็บเข้าสู่งานฐานข้อมูลใน
กิจกรรมท่ี 5 กิจกรรมศนู ย์ข้อมูลทรัพยากรและนาไปส่กู ารดาเนนิ งานในกิจกรรมอ่นื ๆ ต่อไป

2. กรอบการใช้ประโยชน์ทรัพยากร
เพ่ือพัฒนาและเพ่ิมประสิทธิภาพการดาเนินงานศึกษาวิจัยและประเมินศักยภาพของทรัพยากรต่าง ๆ ใน

อพ.สธ. ให้เกดิ ประโยชน์ ทังในด้านการพัฒนาและการบริหารจัดการให้การดาเนนิ งานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
และเอืออานวยประโยชน์ต่อกัน รวมทังพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ อพ.สธ. ให้เป็นเอกภาพ สมบูรณ์และ
เปน็ ปัจจบุ ัน โดยบรรลจุ ดุ มุ่งหมายตามแนวพระราชดาริ โดยมกี ิจกรรมทีด่ าเนินงานไดแ้ ก่ กจิ กรรมที่ 4 กจิ กรรม
อนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากร กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมศูนย์ข้อมูลทรัพยากรและกิจกรรมท่ี 6 กิจกรรมวาง
แผนพัฒนาทรัพยากร

กจิ กรรมที่ 4 กจิ กรรมอนรุ ักษ์และใชป้ ระโยชน์ทรัพยากร
เปา้ หมาย

1. เพ่ือศึกษาและประเมินศักยภาพพันธุกรรมพืชและทรัพยากรอื่น ๆ ที่สารวจเก็บรวบรวมและ
ปลูกรกั ษาไวจ้ ากกิจกรรมที่ 1-3

2. เพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรทังสามฐานทรัพยากร ได้แก่ ทรัพยากรกายภาพ
ทรัพยากรชีวภาพ และทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา มีการวางแผนและดาเนินการวิจัยศักยภาพของ
ทรพั ยากรตา่ ง ๆ ทาไปสกู่ ารเกิดผลติ ภณั ฑ์ ทเี่ ป็นประโยชนก์ บั ทอ้ งถ่ินตา่ ง ๆ และประเทศไทย

3. เพื่อศึกษาศักยภาพของทรัพยากรที่อาจนาไปสู่การพัฒนาพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ สายพันธุ์จุลินทรีย์
ตามแนวพระราชดาริ และมีแนวทางนาไปสู่การอนรุ ักษแ์ ละใชป้ ระโยชน์ไดอ้ ย่างยั่งยนื

โดยท่ี อพ.สธ. เป็นท่ีปรึกษา ประสานงาน ร่วมมือ ส่งเสริม และทาหน้าท่ีเป็นแกนกลางในการ
ดาเนินงานด้านวิชาการและการวิจัย ร่วมกับหน่วยงานท่ีร่วมสนองพระราชดาริ เช่น มหาวิทยาลัยต่าง ๆ กรม
วิชาการเกษตร กรมประมง กรมป่าไม้ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สถาบันวิจัย
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ห่งประเทศไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ฯลฯ โดยกาหนด
พืนท่ีเป้าหมายและทรัพยากรต่าง ๆ ในการดาเนินงานอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ ให้สอดคล้องกับแนวทางการ
ดาเนินงานตามกรอบแผนแม่บทของ อพ.สธ. และจัดทาแผนประจาปีเฉพาะในส่วนของหน่วยของตนให้ชัดเจน
พร้อมทังวางแผนปฏิบตั ิงานรว่ มกันใหช้ ัดเจน ผ่านการประชุมคณะกรรมการดาเนินงาน อพ.สธ. ของหน่วยงาน
นนั ๆ

8

แนวทางการดาเนนิ กิจกรรมอนุรักษ์และใชป้ ระโยชนท์ รัพยากร
1. การวิเคราะหท์ างกายภาพ เชน่ แร่ธาตใุ นดิน คณุ สมบัตขิ องนา ฯลฯ จากแหล่งกาเนิดพนั ธกุ รรม

ดังเดมิ ของพชื นนั ๆ
2. การศึกษาทางด้านชีววิทยา สัณฐานวิทยา สรีรวิทยา ชีวเคมี พันธุศาสตร์ ฯลฯ ของทรัพยากร

ชวี ภาพทีค่ ดั เลือกมาศึกษา
3. การศึกษาด้านโภชนาการ องค์ประกอบของสารสาคัญ เช่น รงควัตถุ กลิ่นสารสาคัญต่าง ๆใน

พันธุกรรมพชื และทรัพยากรชวี ภาพอ่ืน ๆทเ่ี ป็นเปา้ หมาย
4. การศึกษาการปลูก การเขตกรรมและขยายพันธพุ์ ืชด้วยการขยายพันธุ์ตามปกติในพันธุกรรมพืช

ทไี่ ม่เคยศึกษามาก่อน และการขยายพนั ธุ์โดยการเพาะเลียงเนอื เยื่อในพนั ธุกรรมพืชทไ่ี ม่เคยศกึ ษามาก่อน รวมถึง
การศกึ ษาการเลียงและการขยายพันธ์ทุ รัพยากรชีวภาพอนื่ ๆเพอื่ ให้ไดผ้ ลผลติ ตามที่ต้องการ

5. การศึกษาการจาแนกสายพันธุ์โดยวิธีทางชีวโมเลกุลเพื่อนาไปสู่การพัฒนาพันธุ์พืช สัตว์ และ
จุลนิ ทรีย์ เพอื่ เก็บเป็นลายพิมพ์ดีเอ็นเอของทรัพยากรชนดิ นนั ๆ ไวเ้ พ่ือนาไปใช้ประโยชน์ต่อไป

6. โครงการฯ จากกจิ กรรมที่ 4 นาไปสกู่ ารทางานรว่ มกบั สมาชกิ งานฐานทรัพยากรท้องถ่นิ (อปท)/
ชมุ ชนท่ีอยูใ่ น อปท.ทีเ่ ป็นสมาชิกงานฐานทรัพยากรท้องถ่นิ /สมาชกิ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
(สถาบนั การศึกษา) เพ่ือนาผลงานถา่ ยทอดและเกดิ ประโยชนก์ บั ทอ้ งถิ่นอยา่ งชดั เจน

กิจกรรมที่ 5 กจิ กรรมศูนยข์ ้อมูลทรพั ยากร
เป้าหมาย

1. เพื่อให้เกิดฐานข้อมูลทรัพยากรของประเทศโดยศูนย์ข้อมูลทรัพยากร อพ.สธ. สวนจิตรลดา
ร่วมกับหน่วยงานท่ีร่วมสนองพระราชดาริ บันทึกข้อมูลของการสารวจเก็บรวบรวมการศึกษาประเมินการ
อนุรักษ์ และการใช้ประโยชน์ทรัพยากรทังสามฐาน ตัวอย่างเช่นฐานข้อมูลพรรณไม้แห้ง ฐานข้อมูลงานวิจัย
ฐานข้อมูลทรัพยากรท้องถ่ิน ฐานข้อมูลสัตว์ทะเล และฐานข้อมูลจุลินทรีย์ ข้อมูลต่าง ๆ จากการทางานใน
กิจกรรมตา่ ง ๆ ของ อพ.สธ. โดยทาการบันทึกลงในระบบฐานขอ้ มูล เพ่อื เปน็ ฐานขอ้ มูลและมีระบบท่เี ช่ือมต่อถึง
กนั ไดท้ วั่ ประเทศโดยเชือ่ มโยงกับฐานขอ้ มูลทรพั ยากรของหนว่ ยงานท่รี ่วมสนองพระราชดาริ อพ.สธ.

2. เพ่ือให้ฐานข้อมูลทรัพยากรนัน เป็นข้อมูลเพ่ือนาไปสู่การวางแผนการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน
และอาจนาไปสู่การพัฒนาพันธ์ุพืช และทรัพยากรต่าง ๆ โดยท่ี อพ.สธ. เป็นท่ีปรึกษา แต่งตังคณะทางาน
ประสานงาน ร่วมมือ พัฒนาการทาศูนย์ข้อมูลฯ กาหนดรูปแบบในการทาฐานข้อมูล โดยกาหนดเป้าหมายใน
การดาเนินงานให้สอดคล้องกับแนวทางการดาเนินงานตามกรอบแผนแม่บทของ อพ.สธ. และจัดทาแผน
ประจาปีเฉพาะในสว่ นของหน่วยของตนให้ชัดเจน พร้อมทังวางแผนปฏบิ ัติงานร่วมกันใหช้ ัดเจน ผ่านการประชุม
คณะกรรมการดาเนนิ งาน อพ.สธ. ของหน่วยงานนนั ๆ

9

แนวทางการดาเนินกิจกรรมศูนย์ข้อมูลทรัพยากร
1. อพ.สธ. ร่วมกับหน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดาริ จัดทาฐานข้อมูลระบบดิจิตอลและพัฒนา

โปรแกรมสาหรบั ระบบศูนย์ข้อมูลทรัพยากรต่าง ๆ ร่วมกนั เช่นโปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลทรพั ยากรท้องถ่ิน
ดา้ นการสารวจเก็บรวบรวม การอนรุ กั ษ์ การประเมนิ คุณค่าพันธกุ รรมทรพั ยากร และการใชป้ ระโยชน์

2. นาข้อมูลของตัวอย่างพืชท่ีเก็บรวบรวมไว้เดิมโดยหน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดาริองค์กรอ่ืน
เช่น กรมป่าไม้ กรมวิชาการเกษตร และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นต้น เขา้ เก็บไว้ในระบบฐานข้อมูลของ
ศูนยข์ ้อมลู ทรพั ยากร อพ.สธ.

3. นาขอ้ มลู ท่ีได้จากการสารวจเกบ็ รวบรวมพันธุกรรมพชื และทรัพยากรตา่ ง ๆ เช่น ข้อมูลการปลูก
รักษา ข้อมูลการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ข้อมูลวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ข้อมูลพันธ์ุไม้จากโรงเรียนสมาชิก
สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เข้าเก็บไว้ในศูนย์ข้อมูลทรัพยากรเพื่อการประเมินคุณค่าและนาไปสู่การวางแผน
พัฒนาพันธุ์พชื และทรัพยากรอ่นื ๆ

4. พัฒนาการบริหารจัดการฐานข้อมูลของศูนย์ข้อมูลทรัพยากร อพ.สธ. ให้มีเอกภาพ มีความ
สมบูรณ์และเป็นปัจจุบัน ซึ่งหน่วยงานต่าง ๆ สามารถใช้ประโยชน์ร่วมกนั ได้ โดยเฉพาะฐานข้อมลู ทรพั ยากรท่ไี ด้
จากงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ฐานข้อมูลพืชจากการสารวจเก็บรวบรวม ฐานข้อมูลพรรณไม้แห้ง ฐานข้อมูล
สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน โดยมี อพ.สธ. เป็นศูนย์กลางและวางแผนดาเนินงานพัฒนาเครือข่ายระบบข้อมูล
สารสนเทศ อพ.สธ. ร่วมกับหน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดาริ เพ่ือให้สามารถเชื่อมโยงและใช้ร่วมกันได้อย่าง
กวา้ งขวางอาจผา่ นทางเวบ็ ไซต์ ทีม่ ีระบบปอ้ งกนั การเข้าถงึ ฐานข้อมลู

5. หน่วยงานรว่ มสนองพระราชดาริ มีความประสงค์ที่จะดาเนินการแบ่งปนั หรือเผยแพรข่ ้อมลู ใด ๆ
ท่ีเก่ียวข้องในงาน อพ.สธ. จาเป็นต้องขออนุญาตผ่านทาง อพ.สธ. ก่อน เพ่ือขอพระราชทานข้อมูลนัน ๆ และ
ขึนอยู่กับพระราชวินิจฉัยสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
(การขอพระราชทานพระราชานุญาต ให้ดาเนินการทาหนังสือแจ้งความประสงค์มายัง ผู้อานวยการ อพ.สธ.
ลว่ งหน้าอยา่ งนอ้ ย 1 เดอื น)

กจิ กรรมที่ 6 กิจกรรมวางแผนพฒั นาทรัพยากร
เป้าหมาย

เพอื่ การพฒั นาและปรับปรุงพันธ์ทุ รพั ยากรใหด้ ีย่งิ ขึนตามความต้องการของทอ้ งถน่ิ โดยที่ อพ.สธ. มี
หน้าที่ประสานกับนักวิชาการผู้ทรงคุณวุฒิของหน่วยงานและสถาบันการศึกษาต่าง ๆเช่นในเรื่องของพืช โดย
วิเคราะห์จากฐานข้อมูลจากกิจกรรมท่ี 5 มาใช้ในการพิจารณาศักยภาพของพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ พันธุ์จุลินทรีย์
ฯลฯ และนาไปสู่การวิเคราะห์ข้อมูลและคัดเลือกสายต้นเพื่อเป็นพ่อแม่พันธุ์พืช พร้อมกับวางแผนพัฒนาพันธ์ุ
ระยะยาวและนาแผนพัฒนาพันธุ์ขึนทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระ เทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อมีพระราชวินิจฉัยและพระราชทานแผนพัฒนาพันธุ์และพันธุกรรมที่
คัดเลือก ให้หน่วยงานที่มีความพร้อมนาไปปฏิบัติ พันธุ์พืช/สัตว์/ชีวภาพอื่น ๆ ท่ีอยู่ในเป้าหมาย ได้แก่ พันธ์ุพืช
สมนุ ไพร พันธพ์ุ ชื พืนเมืองต่าง ๆ ทีส่ ามารถวางแผนนาไปสกู่ ารพฒั นาให้ดียิ่งขึนเหมาะสมตอ่ การปลกู ในพนื ทีต่ ่าง
ๆ ในประเทศไทย โดยที่ อพ.สธ. เปน็ ทปี่ รึกษา ประสานงาน ร่วมมือ ในการวางแผนพฒั นา โดยกาหนดเป้าหมาย

10

ในการดาเนินงานให้สอดคล้องกับแนวทางการดาเนินงานตามกรอบแผนแม่บทของ อพ.สธ. และจัดทาแผน
ประจาปีเฉพาะในส่วนของหน่วยของตนให้ชัดเจน พร้อมทังวางแผนปฏิบัติงานร่วมกันให้ชัดเจน ผ่านการ
ประชุมคณะกรรมการดาเนนิ งาน อพ.สธ. ของหน่วยงานนัน ๆ

แนวทางการดาเนินกิจกรรมวางแผนพัฒนาทรพั ยากร
ทรัพยากรพันธกุ รรมพืช

1. จัดประชุมคณะทางานทรพั ยากรตา่ ง ๆ คัดเลือกพนั ธ์พุ ืชท่ีผ้ทู รงคุณวุฒพิ ิจารณาแล้ววา่ ควรมกี าร
วางแผนพฒั นาพนั ธเุ์ พ่อื การใช้ประโยชนต์ ่อไปในอนาคต

2. ดาเนินการทูลเกล้าฯ ถวายแผนการพัฒนาทรัพยากรท่ีคัดเลือกแล้ว เพ่ือให้สมเด็จพระกนิษฐาธิ
ราชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชทรงมพี ระราชวินจิ ฉัยและพระราชทานให้กับหนว่ ยงาน
ที่มีศักยภาพในการพัฒนาปรบั ปรงุ พนั ธกุ รรมทรพั ยากรชนดิ นนั ๆ ใหเ้ ปน็ ไปตามเป้าหมาย

3. ประสานงานเพื่อให้หน่วยงานที่มีความพร้อม ในการพัฒนาพันธุ์ทรัพยากรต่าง ๆ เช่นพัฒนา
พันธุกรรมพืช ดาเนนิ การพัฒนาพนั ธุ์พืชและนาออกไปสปู่ ระชาชน และอาจนาไปปลูกเพอ่ื เปน็ การคา้ ตอ่ ไป

4. ดาเนินการขึนทะเบียนรับรองพันธุ์พืชใหม่ที่ได้มาจากการพัฒนาพันธ์ุพืชดังเดิม เพื่อประโยชน์
ของมหาชนชาวไทย

ทรพั ยากรพนั ธกุ รรมสัตว์และทรพั ยากรพนั ธกุ รรมอนื่ ๆ
มีแนวทางการดาเนนิ งานคล้ายคลงึ กับการดาเนินงานในทรัพยากรพนั ธุกรรมพชื ข้างตน้

3. กรอบการสร้างจิตสานกึ
เพ่ือให้ประชาชนกล่มุ เป้าหมายต่าง ๆ โดยเฉพาะเยาวชน นักเรยี น นิสิต นักศกึ ษาและบุคคลท่ัวไป ได้มี

ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับพืชพรรณไม้ และการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชของประเทศ จนตระหนักถึงความสาคัญ
และประโยชน์ของการอนุรักษ์ทรัพยากรท่ีก่อให้เกิดประโยชน์ต่อมหาชนชาวไทย โดยมีกิจกรรมที่ดาเนินงาน
ไดแ้ ก่ กจิ กรรมที่ 7 กจิ กรรมสร้างจติ สานึกในการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรและกิจกรรมท่ี 8 กิจกรรมพเิ ศษสนบั สนนุ การ
อนุรกั ษท์ รพั ยากร

กจิ กรรมท่ี 7 กิจกรรมสร้างจิตสานึกในการอนรุ กั ษท์ รัพยากร
เป้าหมาย

1.เพ่อื ใหเ้ ยาวชนประชาชนชาวไทย ให้เขา้ ใจถึงความสาคัญและประโยชน์ของทรัพยากรทงั สามฐาน
ให้รู้จักหวงแหนรู้จกั การนาไปใช้ประโยชน์อยา่ งยั่งยืนซึ่งมีความสาคัญต่อการจัดการการอนุรักษ์และใช้ทรัพยากร
ของประเทศอยา่ งยงั่ ยืน

2. เพ่ือให้หน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดาริ วางแผนและขยายผลเพื่อนาแนวทางการสร้าง
จติ สานกึ ในการรกั ทรัพยากรของ อพ.สธ. ไปดาเนินงานตามยทุ ธศาสตร์ของหน่วยงานนัน ๆ

โดยที่ อพ.สธ. เป็นที่ปรกึ ษา ประสานงาน ร่วมมือ สนบั สนุนให้โรงเรียนและสถาบันการศึกษา เป็น
สมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน อพ.สธ. ประสานงานหน่วยงานท่ีร่วมสนองพระราชดาริให้ดาเนินการใน

11

กจิ กรรมนี โดยกาหนดเป้าหมายในการดาเนินงานให้สอดคล้องกับแนวทางการดาเนินงานตามกรอบแผนแม่บท
ของ อพ.สธ. และจัดทาแผนประจาปีเฉพาะในส่วนของหน่วยของตนให้ชัดเจน พร้อมทังวางแผนปฏิบัติงาน
รว่ มกนั ให้ชดั เจน ผ่านการประชุมคณะกรรมการดาเนนิ งาน อพ.สธ. ของหนว่ ยงานนนั ๆ

แนวทางการดาเนินกิจกรรมสร้างจิตสานกึ ในการอนุรักษท์ รพั ยากร
1. งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น

เป็นนวัตกรรมของการเรียนรู้เพื่อนาไปสู่การสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
วัฒนธรรมและภูมิปัญญาของประเทศไทย นาไปสู่การพัฒนาคนให้เข้มแข็งรู้เท่าทันพร้อมรับกับกระแสการ
เปลี่ยนแปลงของโลก (สามารถดาวน์โหลดคู่มืองานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน และศึกษาสื่อต่าง ๆ ได้จาก
เวบ็ ไซต์ อพ.สธ. www.rspg.or.th และสามารถส่งเจ้าหน้าที่/บคุ ลากร มาเข้ารบั การฝึกอบรมการดาเนินงานฐาน
ทรพั ยากรท้องถน่ิ ได้ ตามตารางการฝึกอบรมทป่ี ระกาศ)

1.1 อพ.สธ. กาหนดจุดมุ่งหมายในการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน โดยสร้างจิตสานึกให้
เยาวชน นักเรียนเข้าใจถึงความสาคัญและประโยชน์ของทรัพยากร ให้รู้จักหวงแหนและรู้จักการนาไปใช้
ประโยชน์อย่างย่ังยืนโดยมีคู่มือการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน สถาบันการศึกษาสามารถสมัครเป็น
สมาชกิ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนผา่ นทางจังหวัดทุกจังหวัดในประเทศไทย สามารถดตู ัวอย่างได้จากเว็บไซต์
อพ.สธ.(www.rspg.or.th) และขอคาแนะนาจาก อพ.สธ. สวนจิตรลดาและศูนย์แม่ข่ายประสานงาน อพ.สธ.
และศนู ยป์ ระสานงาน อพ.สธ.

1.2 อพ.สธ.กาหนดแนวทางและหลักเกณฑ์การดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน คือการที่
สถานศึกษาสมัครเข้ามาเป็นสมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน และคุณครู/อาจารย์ นาพรรณไม้ท่ีมีอยู่ใน
โรงเรียนไปเป็นส่ือในการเรียนการสอนในวิชาต่าง ๆ ที่อยู่ในหลักสูตร และสถานศึกษา ถ้าสถานศึกษามีพืนที่
สามารถใชพ้ ืนที่ในสถานศึกษาเป็นที่รวบรวมพืชพรรณไม้ท้องถิ่นและรวบรวมภมู ิปญั ญาท้องถิ่น เป็นท่ีเก็บพรรณ
ไมแ้ ห้ง พรรณไมด้ อง มีห้องสมุดสาหรับค้นคว้าและนางานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนใช้เปน็ ส่ือการเรียนการสอน
ในวิชาต่าง ๆใช้ปัจจัยพืชเป็นปัจจัยหลักในการเรียนรู้ถ้าในกรณีที่สถานศึกษาไม่มีพืนที่ในการสารวจหรือเก็บ
รวบรวมพรรณพืช ให้ใช้พืนที่ที่อยู่รอบ ๆ โรงเรียนและประสานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท่ีสถานศึกษา
ตงั อยู่เพ่อื ใชพ้ ืนท่นี อกสถานศกึ ษา

1.3 สมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนรว่ มกับองค์การบริหารส่วนท้องถิน่ และชุมชน ในการสารวจ
จัดทาฐานทรัพยากรท้องถน่ิ นาไปสกู่ ารจดั ทาหลักสูตรทอ้ งถิ่น

1.4 สมาชิกงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ทบทวนและปรับปรุงการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์
โรงเรียนท่ีทาอยู่เดิมให้ครบถ้วนตามคุณสมบัติและเกณฑ์มาตรฐานที่ อพ.สธ. กาหนดและนาไปสู่การประเมิน
เพื่อรบั ป้ายฯ พระราชทานและเกียรติบัตรฯ

1.5 การดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนของสมาชิกใหม่ ควรดาเนินงานให้เป็นไปตาม
คุณสมบัติและเกณฑ์มาตรฐานท่ี อพ.สธ. กาหนดขึน และรับคาแนะนาจาก อพ.สธ. สวนจิตรลดา ศูนย์แม่ข่าย
ประสานงาน อพ.สธ. และศนู ย์ประสานงาน อพ.สธ. ในงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

12

1.6 อพ.สธ. ประสานร่วมมือกับหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้องดาเนินการจัดนิทรรศการแสดงผลการ
ดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนตามแนวพระราชดาริฯ โดยคัดเลือกจากโรงเรียนสมาชิกในระดับจังหวัด
ระดับภาค และระดับประเทศ โดยเน้นและให้ความสาคัญในเรื่องกระบวนการ และผลลัพธ์การดาเนินงานเป็น
หลกั อยา่ งนอ้ ยปลี ะหนงึ่ ครัง

1.7 สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร สานักงานปลดั กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย
และนวัตกรรม สานักงานสภาการศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั พนื ฐาน สานักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษา และสานักมาตรฐานการศึกษา สนับสนุนในการดาเนินงานร่วมกับ อพ.สธ. ร่วมกันพิจารณา
และวางแผน เพอ่ื นาแนวทางดาเนนิ งาน อพ.สธ.บรรจุไว้ในหลักสูตรการเรยี นการสอนระดบั ตา่ ง ๆ โดยเฉพาะใน
ระบบโรงเรียน

2. งานพิพธิ ภัณฑ์
เป็นการขยายผลการดาเนินงานเพ่ือเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ ไปสู่ประชาชน กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ
ให้กว้างขวางยิง่ ขนึ โดยใช้การนาเสนอในรปู ของพพิ ิธภณั ฑ์ ซงึ่ เป็นสื่อเขา้ ถึงประชาชนทว่ั ไป ตวั อย่างเช่น

2.1 งานพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิตดาเนินการโดยศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราช
ดาริ และจังหวัดต่าง ๆ จัดทาแปลงสาธิตการปลูกรกั ษาเพอ่ื อนุรักษ์พนั ธุกรรมพืชในลกั ษณะโดยมีกิจกรรมต่าง ๆ
ที่ถูกต้องและครบถ้วนตามเกณฑม์ าตรฐานที่กาหนดไว้ในพืนทีศ่ ูนย์ศกึ ษาการพัฒนาฯ และพืนท่ีอ่ืน ๆ ตามความ
เหมาะสม

2.2 งานพิพิธภัณฑ์พืชดาเนินการโดยหน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดาริ เช่นกรมอุทยานแห่งชาติ
สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช กรมป่าไม้ กรมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยต่าง ๆ หน่วยงานเหล่านีมีผู้เช่ียวชาญ นัก
พฤกษศาสตร์ ดูแลอยู่

2.3 งานพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาดาเนินการโดยหน่วยงานท่ีร่วมสนองพระราชดาริ เช่น
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จังหวัดนครราชสีมา และมหาวิทยาลัยขอนแก่น จงั หวัดขอนแก่น เป็น
ตน้

2.4 งานพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเกาะและทะเลไทย เช่น พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเกาะและ
ทะเลไทย เขาหมาจอ ตาบลแสมสาร อาเภอสัตหบี จังหวดั ชลบรุ ี สนองพระราชดาริ อพ.สธ. โดยกองทัพเรอื

2.5 งานพพิ ิธภณั ฑ์ทอ้ งถิ่น หอศิลปวฒั นธรรม ของจงั หวดั และหน่วยงานท่ีรว่ มสนองพระราชดาริ
2.6 นทิ รรศการถาวรต่าง ๆ ทีเ่ กย่ี วข้องกบั ทรัพยากรตา่ ง ๆ
2.7 ศนู ย์การเรยี นรู้

3. งานอบรม
อพ.สธ. ดาเนินงานอบรมเรื่องงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน, งานฝึกอบรมปฏบิ ัติการสารวจและจดั ทา
ฐานทรัพยากรท้องถ่ิน หรืองานที่เก่ียวข้องกับการสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร โดยอาจจัด ณ แหล่ง
ฝึกอบรมของ ศูนย์แม่ข่ายประสานงาน อพ.สธ. และศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.ท่ีกระจายอยู่ตามภูมิภาคต่าง ๆ
(รายชอ่ื ณ วนั ท่ี 1 มกราคม 2564)

13

ศูนยแ์ ม่ข่ายประสานงาน อพ.สธ. 5 แหง่
1. มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่
2. มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
3. มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี
4. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั
5. มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์

ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ. 18 แหง่
1. มหาวิทยาลยั แม่โจ้
2. มหาวิทยาลยั ราชภัฎเชียงใหม่
3. มหาวทิ ยาลัยแม่ฟ้าหลวง
4. มหาวิทยาลัยราชภัฎอตุ รดิตถ์
5. มหาวทิ ยาลยั นเรศวร
6. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
7. มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎอดุ รธานี
8. มหาวทิ ยาลัยอบุ ลราชธานี
9. มหาวทิ ยาลัยราชภฎั อุบลราชธานี
10. มหาวทิ ยาลยั มหิดล
11. มหาวิทยาลยั บูรพา
12. มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลสุวรรณภมู ิ
13. มหาวทิ ยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
14. มหาวิทยาลัยวลยั ลักษณ์
15. มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวชิ ัย
16. มหาวทิ ยาลัยราชภฎั สุราษฎรธ์ านี
17. มหาวิทยาลัยราชภฎั สกลนคร
18. มหาวิทยาลยั พะเยา

หมายเหตุ
ถ้าหน่วยงานอ่ืนเป็นผู้ดาเนินงานจัดประชุม จัดฝึกอบรม จัดค่ายต่าง ๆ ภายใต้แนวทางการดาเนินงาน
อพ.สธ. และสนบั สนุนงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี นและงานฐานทรัพยากรท้องถนิ่ ในลักษณะเดียวกนั ให้อย่ใู น
กจิ กรรมที่ 8 กิจกรรมพเิ ศษสนบั สนุนการอนุรกั ษท์ รพั ยากร

14

กิจกรรมที่ 8 กิจกรรมพิเศษสนับสนุนการอนรุ กั ษ์ทรัพยากร
เป้าหมาย

1. เพื่อเปิดโอกาสให้หน่วยงานต่าง ๆ ทังภาครัฐและเอกชน เข้าร่วมสนับสนุนงานของ อพ.สธ. ใน
รูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นในรูปของทุนสนับสนุน หรือดาเนินงานท่ีเก่ียวขอ้ งและสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ของ
อพ.สธ. โดยอยใู่ นกรอบของแผนแมบ่ ท อพ.สธ.

2. เพ่ือเปิดโอกาสให้เยาวชนและประชาชนได้สมัครเข้ามาศึกษาหาความรู้เก่ียวกับทรัพยากร
ธรรมชาตใิ นสาขาต่าง ๆ ตามความถนัดและสนใจ โดยมีคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญในแตล่ ะสาขาใหค้ าแนะนา และให้
แนวทางการศกึ ษา โดยจดั ตังเป็นชมรมนักชวี วทิ ยา อพ.สธ.

3. เพ่ือรวบรวมนักวิจัย นักวิชาการคณาจารย์ผู้เช่ียวชาญจากทังภาครัฐและเอกชน เป็น
อาสาสมัครและเข้ามาทางานตามแนวทางการดาเนินงานในกิจกรรมของ อพ.สธ. ทังส่วนตัวและผ่านทาง
หนว่ ยงานทตี่ นเองสังกัดอยู่ โดยจัดตังเป็นชมรมคณะปฏิบัติงานวิทยาการ อพ.สธ. ซ่ึงจะเป็นผู้นาในการถ่ายทอด
ความรู้และสรา้ งจติ สานกึ ในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรของประเทศให้แกเ่ ยาวชนและประชาชนชาวไทยต่อไป

4. เพ่ือสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เทศบาลตาบล เทศบาลเมือง ให้ดาเนินงานสมัคร
สมาชกิ เข้ามาในงานฐานทรพั ยากรท้องถ่ิน

โดยอพ.สธ. ร่วมกับหน่วยงานท่ีร่วมสนองพระราชดาริ กาหนดเป้าหมายในการดาเนินงานปี ให้
สอดคล้องกับแนวทางการดาเนินงานตามกรอบแผนแม่บทของ อพ.สธ. และจัดทาแผนประจาปีเฉพาะในส่วน
ของหน่วยของตนให้ชัดเจน พร้อมทังวางแผนปฏิบัติงานร่วมกันให้ชัดเจน ผ่านการประชุมคณะกรรมการ
ดาเนนิ งาน อพ.สธ. ของหน่วยงานนัน ๆ

แนวทางการดาเนินกจิ กรรมพิเศษสนับสนนุ การอนรุ กั ษ์ทรัพยากร
1. อพ.สธ. เป็นเจ้าภาพร่วมกับหน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดาริท่ีมีความพร้อมในการดาเนินการ

จัดการประชมุ วชิ าการและนทิ รรศการ อพ.สธ. จัดการประชุมตามท่กี าหนดไว้ โดยมกี ารร่วมจดั แสดงนทิ รรศการ
กับหน่วยงานท่ีร่วมสนองพระราชดาริทุกหน่วยงาน นอกจากนันยังมีการจัดการประชุมวิชาการและนิทรรศการ
สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน และฐานทรัพยากรท้องถิ่น ระดับภูมิภาค ร่วมกับสมาชิกงานสวนพฤกษศาสตร์
โรงเรียนและสมาชิกงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น โดยมกี าหนดการประชุมฯ สาหรบั ในระยะ 5 ปีทเ่ี จ็ดดงั นี

งานประชุมวิชาการและนทิ รรศการอพ.สธ.
พ.ศ. 2564 งานประชุมวิชาการและนิทรรศการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนและฐานทรัพยากร

ท้องถิ่น ระดับภูมิภาค ครังท่ี 6 (30 เม.ย. – 4 พ.ค.64) ณ มหาวิทยาลัยวลยั ลักษณ์ จ.
นครศรธี รรมราช
พ.ศ. 2565 งานประชุมวิชาการและนิทรรศการ 30 ปี อพ.สธ.-ประโยชน์แท้แก่มหาชน ณ
มหาวทิ ยาลัยวลยั ลักษณ์ จ.นครศรีธรรมราช
พ.ศ. 2566 งานประชุมวิชาการและนิทรรศการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนและฐานทรัพยากร
ท้องถ่ิน ระดับภมู ิภาค ครังท่ี 7 ณ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่ จ.เชยี งใหม่

15

พ.ศ. 2567 งานประชุมวิชาการและนิทรรศการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนและฐานทรัพยากร
พ.ศ. 2568 ทอ้ งถ่นิ ระดบั ภูมภิ าค ครงั ที่ 8 ณ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี จ.นครราชสีมา
พ.ศ. 2569 งานประชุมวิชาการและนิทรรศการทรัพยากรไทย : หวนดูทรัพย์ส่ิงสินตน ณ
พ.ศ. 2570 มหาวิทยาลยั แม่โจ้ จ.เชียงใหม่
งานประชุมวิชาการและนิทรรศการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนและฐานทรัพยากร
ท้องถนิ่ ระดับภมู ิภาค ครังที่ 9 ณ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ จ.สงขลา
งานประชมุ วิชาการและนิทรรศการทรพั ยากรไทย : ศกั ยภาพมากลน้ มีใหเ้ หน็ ณ
มหาวทิ ยาลัยแมฟ่ ้าหลวง จ.เชียงราย

2. อพ.สธ. สนับสนนุ ให้มีการนาเสนอผลงานวิจัยของเจ้าหน้าท่ีและนกั วิจัย อพ.สธ. รวมถึงงานของ
หน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดาริ ในงานประชุมวิชาการต่าง ๆ ระดับประเทศ และต่างประเทศ และให้มีการ
ขออนญุ าตในการนาเสนอผลงานทุกครัง

3. หนว่ ยงานภาครัฐ เอกชน และผ้มู จี ิตศรทั ธาสนับสนนุ เงนิ ทุนให้ อพ.สธ. (โดยการทลู เกลา้ ฯ ถวาย
โดยผา่ นทางมลู นิธิ อพ.สธ. เพ่ือใชใ้ นกจิ กรรม อพ.สธ.)

4. การดาเนนิ งานของชมรมนักชีววทิ ยา อพ.สธ. และชมรมคณะปฏิบตั งิ านวิทยาการ อพ.สธ. โดยที่
อพ.สธ. สนับสนุนให้มีผู้สมัครเป็นสมาชิกชมรมฯ ตามเงื่อนไขของชมรมฯ โดยที่ชมรมทังสอง มีการดาเนินงาน
สนับสนนุ งานในกิจกรรมท่ี 1-7 ตามแผนแมบ่ ทของ อพ.สธ. เช่นเข้าไปศึกษาทางานวิจยั ในพืนท่ปี กปักทรัพยากร
อพ.สธ. ร่วมในกิจกรรมสารวจทรพั ยากรตา่ ง ๆ ในพืนที่ท่ี อพ.สธ. กาหนด

5. หน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดาริ สามารถดาเนินการฝึกอบรมในการสร้างจิตสานึกในการ
อนุรักษ์พันธุกรรมพืชและทรัพยากรต่าง ๆ เพ่ือสนองพระราชดาริตามแผนแม่บท อพ.สธ. เพื่อสนับสนุนในงาน
กิจกรรมต่าง ๆ ของ อพ.สธ. ตามแนวทางการดาเนินงานตามแผนแม่บทของ อพ.สธ. โดยอาจมีการฝึกอบรม
ตามสถานที่ต่าง ๆ ของหน่วยงานนัน ๆ เอง หรือ โดยร่วมกับวิทยากรของ อพ.สธ. หรือเป็นวิทยากรของ
หน่วยงานทีร่ ว่ มสนองพระราชดาริเอง แต่ผ่านการวางแผนและเหน็ ชอบจาก อพ.สธ.

6. มหาวิทยาลัยที่ร่วมสนองพระราชดาริ อพ.สธ. 5 แห่ง ได้รับพระราชทานฯ ให้ดาเนินงานเป็น
ศูนย์แม่ข่ายประสานงาน อพ.สธ. และมหาวิทยาลัยที่ร่วมสนองพระราชดาริในกลุ่ม ท่ี 5 และ กลุ่มท่ี 6 ของ
หน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดาริ อพ.สธ. นัน สามารถขอเข้าเป็นศูนย์ประสานงาน อพ.สธ. โดยศูนย์
ประสานงาน อพ.สธ. ดาเนนิ งานภายใต้การกากับดูแลของคณะกรรมการดาเนินงาน อพ.สธ. ของมหาวิทยาลยั ฯ
มีโครงสร้างองค์กรในการดาเนินงานของศูนย์ฯ ชัดเจน (ณ วันท่ี 1 มกราคม 2564 จานวน 18 แห่ง) โดยมี
เป้าหมายและวตั ถปุ ระสงค์ดังนี

6.1.เพ่ือประสานงาน และขับเคล่ือนงานสนองพระราชดาริ อพ.สธ. โดยรับนโยบายจาก
อพ.สธ. สานักพระราชวงั

6.2.เพ่ือเป็นหน่วยรวบรวมฐานข้อมูลทรัพยากร ได้แก่ ฐานทรัพยากรกายภาพ ฐานทรัพยากร
ชีวภาพ และฐานทรพั ยากรวัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาของประเทศไทยตามพืนท่ที ่ีมหาวิทยาลยั ตังอยู่

16

6.3. เพื่อดาเนนิ งานเปน็ พเี่ ลยี งให้กับเครือข่าย อพ.สธ.โดยมแี หลง่ ฝกึ อบรมให้กับสมาชิกสวน
พฤกษศาสตร์โรงเรยี น และสมาชกิ ฐานทรัพยากรท้องถิน่ อพ.สธ. โดยมกี ารวางแผนการฝกึ อบรมและการเป็นพ่ี
เลียงใหก้ ับเครือขา่ ย อพ.สธ. ร่วมกับ อพ.สธ. สานกั พระราชวัง

6.4.เพอื่ ชว่ ยวางแผนและปฏิบตั ิตามแนวทางการดาเนินงานตามแผนแม่บท อพ.สธ. และเปน็
ฝ่ายเลขานกุ ารให้กบั คณะกรรมการดาเนินงาน อพ.สธ.-หนว่ ยงาน

7. หน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดาริ สามารถดาเนินงานและจัดการพืนท่ีที่เพื่อการอนุรักษ์และ
พัฒนาเกิดเป็นศูนย์เรียนรู้ต่าง ๆ ซึ่งเป็นศูนย์ฯ ตัวอย่าง เพ่ือการเรียนรู้การใช้ประโยชน์ทรัพยากรอย่างย่ังยืน
ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อีกทังศูนย์ฯ เหล่านีสามารถใช้ประโยชน์ให้เป็นแหล่งฝึกอบรมตามแนว
ทางการดาเนินงานของ อพ.สธ.-หนว่ ยงาน

ตัวอย่างเช่น อพ.สธ. สนับสนุนให้หน่วยงานฯ จัดตัง ศูนย์เรียนรู้ อนุรักษ์ พัฒนา และใช้
ประโยชน์ทรัพยากรอย่างย่ังยืน สู่เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้บรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการดาเนินงาน
ของ อพ.สธ. หนว่ ยงานที่ร่วมสนองพระราชดารทิ กี่ ระจายอยูต่ ามภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ได้แก่

1) ศูนย์เรียนรู้อนุรักษ์ พัฒนา และใช้ประโยชน์ทรัพยากรอย่างย่ังยืน สู่เศรษฐกิจพอเพียง
อพ.สธ. ต.คลองไผ่ อ.สีคิว จ.นครราชสมี า (มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสรุ นาร)ี

2) ศูนย์เรียนรู้อนุรักษ์ พัฒนา และใช้ประโยชน์ทรัพยากรอย่างยั่งยืน สู่เศรษฐกิจพอเพียง
อพ.สธ. อ.วังม่วง จ.สระบรุ ี (สานักคณะกรรมการอ้อยและนาตาลทราย)

3) ศูนย์เรียนรู้อนุรักษ์ พัฒนา และใช้ประโยชน์ทรัพยากรอย่างย่ังยืนสู่เศรษฐกิจพอเพียง
อพ.สธ. อ.ตากฟา้ จ.นครสวรรค์ (อพ.สธ.)

4) ศูนย์เรียนรู้อนุรักษ์ พัฒนา และใช้ประโยชน์ทรัพยากรอย่างยั่งยืน สู่เศรษฐกิจพอเพียง
อพ.สธ. อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี (หนว่ ยบัญชาการทหารพัฒนา กองบญั ชาการกองทัพไทย)

5) ศูนย์อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรภ าคตะวันตก (หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา
กองบัญชาการกองทพั ไทย)

6) ศูนย์วิจัย อนุรกั ษ์ พัฒนา ใช้ประโยชน์ทรพั ยากรทะเล อพ.สธ. เกาะทะลุ จ.ประจวบคีรขี ันธ์
(มลู นธิ ฟิ ืน้ ฟูทรพั ยากร ทะเลสยาม และพืนท่สี นองพระราชดารขิ องจงั หวดั ประจวบครี ีขันธ์)

8. การทาหลกั สตู รทอ้ งถน่ิ ของมหาวิทยาลยั ต่าง ๆ ตามแนวทางแผนแม่บทของ อพ.สธ.
9. การเผยแพร่โดยส่ือตา่ ง ๆ เช่น การทาหนงั สือ วีดีทัศน์ เอกสารเผยแพร่ เว็บไซต์ประชาสัมพันธ์
ท่ีได้รับความเห็นชอบจาก อพ.สธ. เพื่อสนับสนุนงานกิจกรรมต่าง ๆ ของ อพ.สธ. สามารถใช้สัญลักษณ์ของ
อพ.สธ. ไดเ้ ม่ือได้รับการพิจารณาและเห็นชอบจาก อพ.สธ.
10. การจัดงานประชุมวิชาการและนิทรรศการต่าง ๆ ของหน่วยงานท่ีร่วมสนองพระราชดาริ ใน
ส่วนที่เผยแพร่งานของ อพ.สธ. และไดร้ ับความเหน็ ชอบจาก อพ.สธ.
11. หนว่ ยงานเอกชน หรอื บุคคลท่ัวไป สมัครเป็นอาสาสมคั รในการรว่ มงานกบั อพ.สธ.
12. การดาเนนิ งานอ่ืน ๆ เพ่ือเปน็ การสนับสนนุ งานตามกรอบแผนแมบ่ ทของ อพ.สธ.

17

13. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สมัครเข้ามางานฐานทรัพยากรท้องถ่ิน (สามารถดาวน์โหลดคู่มือ
งานฐานทรัพยากรท้องถ่ิน และศึกษาส่ือต่าง ๆ ได้จากเว็บไซต์ อพ.สธ. www.rspg.or.th และสามารถส่ง
เจ้าหนา้ ทม่ี าเขา้ รับการฝึกอบรมการดาเนินงานฐานทรพั ยากรท้องถนิ่ ได้ ตามตารางการฝกึ อบรมทีป่ ระกาศ)

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สามารถสนองพระราชดาริ โดยการสมัครเข้ามาเป็นสมาชิกงานฐาน
ทรัพยากรท้องถิ่นผ่านทางจังหวัดทุกจังหวัดในประเทศไทย สามารถดูตัวอย่างได้จากเว็บไซต์ อพ.สธ.
(www.rspg.or.th) และขอคาแนะนาจาก อพ.สธ. สวนจิตรลดาและศูนย์แม่ข่ายประสานงาน อพ.สธ. และศูนย์
ประสานงาน อพ.สธ.โดยตรงกับ อพ.สธ. โดยดาเนินงานครอบคลุมทังสามฐานทรัพยากร (ทรัพยากรกายภาพ
ทรัพยากรชีวภาพ และทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา) โดยที่มีคณะกรรมการดาเนินงานฐานทรัพยากร
ท้องถ่ิน อพ.สธ. – อปท. ทเ่ี ป็นสมาชกิ ฐานทรัพยากรท้องถิ่น อพ.สธ. มี 3 ด้าน ได้แก่

1. ดา้ นบรหิ ารและด้านจดั การ
2. ด้านการดาเนนิ งาน ซ่ึงแบง่ เป็น 6 งานได้แก่

1) งานปกปกั ทรัพยากรทอ้ งถ่นิ
2) งานสารวจเกบ็ รวบรวมทรพั ยากรทอ้ งถ่นิ
3) งานปลกู รกั ษาทรพั ยากรท้องถ่นิ
4) งานอนุรักษ์และใชป้ ระโยชนท์ รัพยากรท้องถิน่
5) งานศนู ย์ข้อมลู ทรพั ยากรทอ้ งถิน่
6) งานสนบั สนนุ ในการอนุรกั ษแ์ ละจัดทาฐานทรัพยากรท้องถิ่น
3. ดา้ นผลการดาเนนิ งาน
โดยที่ทางองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สามารถดาเนินงานฐานทรัพยากรท้องถ่ิน และนาไปสู่การ
ประเมนิ เพื่อรบั การประเมินรับป้ายฯ พระราชทาน และเกียรติบัตรฯ ในการดาเนินงานทรัพยากรทอ้ งถ่นิ อพ.สธ.
ประโยชน์จากการเปน็ สมาชิกงานฐานทรพั ยากรท้องถ่นิ
1. สนับสนุนงานปกติท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน มีหน้าท่ีความรับผิดชอบท่ีต้องทราบในเรื่อง
ข้อมูลทางกายภาพ ข้อมูลชีวภาพ เศรษฐกิจสังคม ศักยภาพชุมชน และภูมิปัญญาท้องถ่ิน เพ่ือนาภูมิปัญญานัน
ไปพฒั นาต่อยอด เป็นผลิตภณั ฑต์ ่างๆ ทท่ี าใหเ้ ป็นมาตรฐานสากล
2. สนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ทางานใกล้ชิดกับสถานศึกษาที่อยู่ในพืนที่ประสานกับ
ชุมชนและโรงเรียน เพ่ือมาเป็นกาลังในการร่วมสารวจและจัดทาฐานทรัพยากรท้องถ่ินระดับตาบล/เทศบาล
เกิดการสร้างจิตสานึกในการรักท้องถ่ินให้กับนักเรียนและประชาชนในท้องถ่ินนัน ๆ เพราะสถานศึกษามี
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน ปี พ.ศ.2551 ซึ่งบ่งชีว่าในสาระวิทยาศาสตร์ นักเรียนจะต้องทราบใน
เรื่องทรัพยากรในท้องถ่ิน และการใช้ทรัพยากรในท้องถิ่น น่ันคือจะต้องมีภูมิปัญญามากากับการใช้ประโยชน์
เช่น พืชผักพืนเมือง พืชสมุนไพร และยังสามารถบูรณาการไปยังกลุ่มสาระสังคมและส่ิงแวดล้อม เม่ือมีการ
ทางานร่วมกัน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จะได้ข้อมูลทรัพยากรท่ีเป็นปัจจุบัน ในการวางแผนพัฒนา อบต./
เทศบาล
3. องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ได้ขึนทะเบียนทรัพยากรท้องถิ่นตามรูปแบบการทาทะเบียน
ทรัพยากรต่าง ๆ ของ อพ.สธ. ให้กับท้องถ่ินของตนเอง เพ่ือนาไปสู่การยืนยันสิทธิ์ในการเป็นเจ้าของทรัพยากร

18

นาไปสู่การเป็นหลักฐานในการขึนทะเบียนสิ่งบ่งชีทางภูมิศาสตร์ (Geographical Indication) และการขึน
ทะเบียนอ่ืน ๆ ต่อไป และเป็นการยืนยันสิทธิ์ความเป็นเจ้าของทรัพยากรต่าง ๆ เพ่ือเตรียมพร้อมสาหรับการ
เข้าถึงและแบ่งปันผลประโยชน์จากการใช้ทรัพยากรนัน ๆ ที่มีอยู่ในท้องถ่ิน ตามพิธีสารนาโงย่า (Nagoya
protocol)

ติดต่อประสานงาน อพ.สธ.
ดร.ปยิ รษั ฎ์ ปรญิ ญาพงษ์ เจริญทรพั ย์ เลขานุการคณะกรรมการ อพ.สธ.

อเี มล์ [email protected]

19

ความหลากหลายทางชีวภาพ

โดย (อ.คณิต ธนูธรรมเจริญ)
1.1 ความหลากหลายทางชีวภาพ (biological diversity) อาจเป็นคาท่คี นทวั่ ไปไม่ค่อยคุ้นเคยเท่ากับ คาว่า
ทรพั ยากรธรรมชาติ ซ่ึงหมายถึงทรัพยากรท่ีมีอย่ตู ามธรรมชาติ ได้แก่ บรรยากาศ ดิน นา ปา่ ไม้ ทงุ่ หญ้า สตั ว์ป่า
แร่ธาตุ พลังงาน รวมทังทรัพยากรมนุษย์ และคาว่าส่ิงแวดล้อม ซึ่งหมายถึงสรรพส่ิงหรือส่ิงต่าง ๆ ท่ีมีลักษณะ
ทางกายภาพและชีวภาพท่ีอยู่รอบตัวมนุษย์เรา ประกอบด้วยส่ิงท่ีเกิดขึนโดยธรรมชาติอันหมายถึง
ทรัพยากรธรรมชาติน่ันเอง และสรรพส่ิงที่เกิดขึนโดยที่มนุษย์เป็นผู้ทาขึน เช่น สิ่งก่อสร้าง วัฒนธรรม ประเพณี
เป็นตน้

สาหรับ ความหลากหลายทางชีวภาพ หมายถึงคุณสมบัติของกลุ่มส่ิงมีชีวิตที่มีอยู่อย่างมากมายทังใน
ระดบั พนั ธุกรรมหรือยนี (gene) ขึนไปถึงระดบั ชนดิ พันธ์ุหรือสปีชสี ์ (species) จนถงึ ระดับกลุ่มสงิ่ มชี วี ิตมากมาย
ในเชิงนิเวศวิทยา (ecological community) สรรพสิ่งที่มีชีวิตทังหลายเหล่านีเป็นผลพวงมาจากกระบวนการ
เปล่ียนแปลงวิวัฒนาการตามกาลเทศะ และตามสภาวะสมดุลของธรรมชาติอันประกอบด้วยแหล่งท่ีอยู่อาศัย
(habitat) หลายประเภท ตามทธ่ี รรมชาตสิ ร้างสรรค์จรรโลงส่ิงมชี วี ติ ทังมวล

 ความหลากหลายทางชีวภาพระดบั พนั ธกุ รรมหรือยีน
หน่วยพันธุกรรมหรือยีน เป็นตัวการสาคัญในการกาหนดรูปร่างและการทางานของสิ่งมีชีวิต ตลอดจน
การสืบทอดสายพันธ์ุและเผ่าพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต ประชากรส่ิงมีชีวิตชนิดใดชนิดหน่ึงอยู่รวมกันเป็นหมู่เป็นเหล่า
และผสมพันธ์ุกันภายในกลุ่มเผ่าพันธ์ุของตัวเองทาให้เกิดการถ่ายทอดยีนเกิดขึนเฉพาะภายในประชากรของ
ส่ิงมีชีวิตชนิดเดียวกัน การถ่ายทอดยีนจากรุ่นพ่อรุ่นแม่ไปสู่รุ่นลูกรุ่นหลานรุ่นเหลนต่อไปเร่ือย ๆ เป็นเวลา
ยาวนานนัน จะต้องประสบกับพลังกดดันทางวิวฒั นาการ (evolutionary forces) ต่าง ๆ เช่น การคัดเลือกโดย
ธรรมชาติ การอพยพ ความผกผันทางพันธุกรรม เป็นต้น พลังกดดันทางวิวัฒนาการจะทาให้โครงสร้างทาง
พนั ธุกรรมในแต่ละรุ่นเกิดการเปล่ียนแปลงแปรผันไปได้ เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงวิวัฒนาการทีละเล็กทีละ
น้อย ก่อใหเ้ กดิ ความหลากหลายทางพันธุกรรมในแตล่ ะกลุ่มประชากรของสปชี สี ์
ความแตกต่างทางพันธุกรรมพืชและสัตว์ในด้านการเกษตร ช่วยให้เกษตรกรสามารถเลือกสายพันธุ์พืช
และสัตว์ท่เี หมาะสมกับสภาพแวดลอ้ ม สอดคลอ้ งกับความต้องการทางด้านการตลาด เช่น พันธุไ์ ก่เนอื ไกพ่ ันธุ์ไข่
ดก ววั พนั ธนุ์ ม วัวพันธุ์เนือ วัวพนั ธทุ์ ้องถิ่นเพ่ือใชแ้ รงงาน เปน็ ตน้

20

 ความหลากหลายระดับชนิดพันธห์ุ รอื สปีชีส์
ความหลากหลายชนิดพันธ์ุหรอื สปีชสี ์ในท้องท่ใี ด ๆ หมายถงึ จานวนชนิดหรือสปชี ีส์และจานวนปริมาณ
หน่วยของส่ิงมีชีวิตที่เป็นสมาชิกของแต่ละชนิดพันธุ์หรือสปีชีส์ท่ีมีอยู่ในแหล่งท่ีอยู่อาศัยในประชากรนัน ๆ
ประเด็นท่ีสาคัญชุมชนส่ิงมีชีวิต (biological community) ของแต่ละพืนที่มีบทบาทต่อความหลากหลายทาง
ชีวภาพของชนิดพพันธุ์หรือสปีชีส์ และโครงสร้างของกลุ่มส่ิงมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกัน จะเป็นสิ่งบ่งบอกถึง
ภาพรวมของความหลากหลายทางชีวภาพ เช่น ในเขตป่าร้อนชืน (tropical rain forest) ชุมชนสิ่งมีชีวิตเป็น
แหล่งอยู่อาศัยของจุลินทรีย์ เห็ด รา ไลเคน และแมลงหลากหลายชนิดพันธ์ุ เมื่อเทียบกับชุมชนสิ่งมีชีวิตในเขต
หนาวหรือเขตอบอุ่น ดังนันในเขตป่าร้อนชืนอยา่ งเช่นในประเทศไทยและในภูมิภาคเอเชียจึงเป็นแหล่งท่ีมีความ
หลากหลายทางชวี ภาพอยา่ งหาท่ีเปรยี บมไิ ด้
พนื ที่ธรรมชาตเิ ปน็ แหล่งท่ีอยู่อาศัยของสิ่งมชี ีวิตท่แี ตกต่างหลากหลาย แต่ว่ามนุษย์ได้นาเอาส่ิงมีชีวิตมา
ใช้ประโยชน์ทางการเกษตร และอุตสาหกรรม น้อยกว่าร้อยละ 5 ของส่ิงมีชีวิตทังหมด ในความเป็นจริงพบว่า
มนุษย์ได้ใช้พืชเป็นอาหารเพียง 3,000 ชนิด จากพืชท่ีมีท่อลาเลียง (vascular plant) ท่ีมีอยู่ทังหมดในโลกถึง
320,000 ชนิด ทัง ๆ ท่ีประมาณร้อยละ 25 ของพืชที่มีท่อลาเลียงนีสามารถนามาบริโภคได้ สาหรับชนิดพันธ์ุ
สตั วน์ ัน มนุษยไ์ ดน้ าเอาสัตว์เลียงมาเพอื่ ใช้ประโยชน์เพยี ง 30 ชนิด จากสัตว์ท่ีมีกระดูกสันหลังทังหมดที่มใี นโลก
ประมาณ 50,000 ชนิด (UNEP 1995)
 ความหลากหลายในระบบนิเวศ
เป็นความหลากหลายทางชีวภาพซึ่งซับซ้อน สามารถเห็นได้จากความแตกต่างระหว่างระบบนิเวศ
ประเภทต่างๆ เช่น ป่าดงดิบ ทุ่งหญ้า ป่าชายเลน ทะเลสาบ บึง หนอง ชายหาด แนวปะการัง ตลอดจนระบบ
นิเวศที่มนุษย์สร้างขึน เช่น ทุ่งนา อ่างเก็บนา หรือแม้กระทังชุมชนเมือง ของเราเอง ในระบบนิเวศเหล่านี
ส่งิ มีชวี ติ ก็ต่างชนดิ กนั และมีสภาพการอยูอ่ าศยั แตกต่างกนั
นิเวศวิทยาและชุมชนสิ่งมีชีวิต เป็นระบบที่มีความสลับซับซ้อนมากกว่าเรื่องของพันธุกรรม และชนิด
พันธุ์หรือยีนส์ เพราะยังต้องทาความเข้าใจผสมผสานองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตในระดับสูงสุดแล้ว ยังมี
องค์ประกอบของสิ่งไม่มีชีวิต (abiotic component) เข้ามามีบทบาทในระบบนิเวศนัน ๆ ด้วย เช่น อุณหภูมิ
ความชืน หิน ดนิ นา อากาศ แรธ่ าตุ เปน็ ตน้

1.2 คุณคา่ ของความหลากหลายทางชวี ภาพ

ความแตกต่างหลากหลายระหว่างระบบนิเวศ ทาให้โลกมีถ่ินท่ีอยู่อาศัยเหมาะสมสาหรับส่ิงมีชีวิตชนิด
ตา่ งๆ ระบบนิเวศแต่ละประเภทให้ประโยชน์แก่การดารงชีวิตของมนุษย์แตกต่างกัน หรืออีกนยั หนึ่งให้ ‘บริการ
ทางสิ่งแวดล้อม’ (environmental service) ต่างกันด้วย อาทิ ป่าไม้ทาหน้าที่ดูดซับนา ไม่ให้เกิดนาท่วมและ
การพังทลายของดิน ส่วนป่าชายเลนทาหน้าที่เก็บตะกอนไม่ให้ไปทบถมจนบริเวณปากอ่าวตืนเขิน ตลอดจน
ป้องกันการกัดเซาะบริเวณชายฝ่งั จากกระแสลมและคลน่ื ดว้ ย

ความหลากหลายทางชีวภาพ เริ่มมีการกล่าวถึงมากในช่วงประมาณ 20 กว่าปีท่ีผ่านมา เก่ียวกับคุณค่า
ของพืชสมุนไพร ความหลากหลายของพรรณไมแ้ ละพนั ธส์ุ ัตว์เศรษฐกจิ ตลอดจนสงิ่ มีชวี ติ ขนาดเล็กพวกจลุ ินทรีย์

21

และเห็ดราอื่น ๆ ท่ียังมีอยู่มากในพืนที่ป่าชืนเขตร้อนในประเทศไทย และมีการกล่าวถึงความสาคัญของความ
หลากหลายทางชีวภาพท่มี ผี ลต่อความสมดลุ ของระบบนเิ วศ

ความหลากหลายทางชีวภาพ มีคณุ ค่าต่อการพฒั นาด้านเศรษฐกิจ สังคม คณุ ภาพชีวติ ท่ีดี ในอดีตที่ผา่ น
มาบรรพบุรุษไทยได้รับประโยชน์จากคุณค่าความหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องอาหาร เคร่ืองนุ่งห่ม ท่ีอยู่อาศัย
และยารักษาโรค อันเป็นปัจจัยสี่ในการดารงชีวิต ตลอดจนก่อร่างสร้างศิลปะวัฒนธรรมและประเพณีอันดีงาม
อย่างสร้างสรรค์และสืบสานกันมาอย่างยาวนานในรูปลักษณ์ของภูมิปัญญาท้องถิ่นและปราชญ์ชาวบ้าน
ประเทศไทยมีความหลากหลายกระจายอยู่ตามระบบนิเวศหรือแหล่งอาศัยทังบนบกและทางนา มีพรรณไม้ท่ี
ศึกษาแล้วประมาณ 20,000 ชนิด พันธ์ุสัตว์ประมาณ 12,000 ชนิด สาหรับสิ่งมีชีวิตจุลินทรีย์นันยังรู้จักกันน้อย
นักวิชาการคาดคะเนว่าน่าจะมีความหลากหลายอีกกว่า 100,000 ชนิด ท่ียังไม่ได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลกันอย่าง
จริงจัง

ความหลากหลายทางชีวภาพ มีความสาคญั อย่างยิ่งต่อความเป็นอยูแ่ ละความอยู่รอดของมนุษย์ เพราะ
ความหลากหลายทางชวี ภาพเป็นทรพั ยากรอย่างหน่ึงท่เี ป็นปจั จยั พึ่งพาอาศยั ของมนุษย์ และมนษุ ย์เป็นสว่ นหนึ่ง
ในระบบสมดุลของธรรมชาติตามกระบวนการวิวัฒนาการมาอย่างยาวนาน และมนุษย์ยังเรียนรู้เพื่อจะใช้
ประโยชนจ์ ากความหลากหลาย เช่น

ด้านการเกษตร ปจั จุบันมนษุ ยใ์ ชป้ ระโยชน์จากความหลากหลายพืชพรรณไม่น้อยกว่า 5,000 ชนิด เพื่อ
การบริโภค และมีไมน่ ้อยกวา่ 150 ชนดิ ท่ีนามาเพาะปลูกเป็นอาหารสาหรับมนุษย์และสัตวเ์ ลียง แต่ในจานวนนี
มพี ชื เพยี งประมาณ 20 ชนิดเท่านนั ที่ใช้เป็นอาหารของประชากรโลกโดยเฉพาะพืชที่มผี ลผลิตเปน็ อาหารหลักคือ
พวกแป้ง ได้แก่ข้าว ข้าวโพด และมนั ฝรั่ง

ด้านการอุตสาหกรรม มนุษย์ได้คิดค้นวิธกี ารสกดั สารจากพืชพรรณและสตั ว์ เพอื่ นาไปใช้ประโยชน์เป็น
ยารักษาโรค เป็นยากาจัดแมลงศัตรูพืช ผลผลิตพืชป่าหลายชนิดได้ถูกนามาเป็นประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม
เช่น นามันพืช ยางธรรมชาติ พลาสติก นอกจากนันผลผลิตจากพืชบางชนิดนามาใช้เป็นเครื่องนุ่งห่ม เสือผ้า
อาภรณ์ เชอื ก แห เครอ่ื งใชภ้ ายในบา้ น

ดา้ นการช่วยคาจุนธรรมชาติ คาจุนชีวิตและจิตใจมนุษย์ เช่น บทบาทป่าที่เป็นแหล่งต้นนาลาธาร ป่าที่
ช่วยปกป้องหนา้ ดินมใิ ห้ถูกชะล้างถลม่ ทลาย บทบาทของป่าชายเลนทีอ่ ยบู่ ริเวณชายฝ่ังทะเลเป็นแหล่งเพาะพันธ์ุ
ของพืชและสตั วท์ ะเลนานาชนิด กุ้ง หอย ปู ปลา ซ่ึงเป็นสัตว์ท่ีมีคุณคา่ ด้านอาหารและเศรษฐกิจด้านการประมง
นอกจากนีความหลากหลายทางชีวภาพ ยังมีคุณค่าในทางนามธรรม ด้านจริยธรรม (ethics) และด้านความ
รืน่ รมย์ความสวยงามของธรรมชาติ สงั คมความเชื่อหรอื อิทธิพลทางศาสนาพทุ ธได้บม่ เพาะจติ ใจใหม้ นุษย์มีความ
เมตตาปราณีต่อส่ิงมีชีวิตทังหลาย ความเชื่อในเรื่องผีส่ิงสถิตอยู่ตามป่าเขา ตามลุ่มนา แหล่งนา ที่เห็นได้ชัดเจน
ในสงั คมเอเชียตะวนั ออก ยังผลใหเ้ กิดการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชวี ภาพในทางอ้อม

รวมทังทรัพยากรชีวภาพยังมีความสาคัญทางด้านวิชาการชีววิทยา ในด้านประวัติศาสตร์ธรรมชาติ
ความเป็นมาของสิง่ มีชีวิตทังหลายทป่ี รากฏบนโลกทังท่ีเคยมอี ยู่ในอดตี และที่ค้นพบอยู่ในปัจจบุ ัน ความร้พู ืนฐาน
ทางชีววิทยาเขตร้อน จะช่วยทาให้นักวิชาการมีความรู้ความเข้าใจถึงกระบวนการเปลี่ยนแปลงวิวัฒนาการของ
สิง่ มีชีวิต ช่วยนาทางให้มนุษย์ต้องระมัดระวังตัวในการท่ีจะกระทาการใด ๆ ต่อความหลากหลายทางชวี ภาพเพื่อ
การอยูร่ อดของมนุษยใ์ หย้ ่งั ยนื ทส่ี ดุ เทา่ ที่กระทาได้

22

1.3 สิ่งมีชีวติ ในดนิ (Life in Soil) (อ.ดร.ปฏภิ าณ สิทธิกุลบุตร)

ส่ิงมชี ีวติ ในดนิ มบี ทบาทสาคัญมากในดนิ เน่อื งจากกระบวนการปลดปล่อยธาตุอาหาร การย่อยสลาย

เศษซากพืช มักเกดิ ในดินเสมอ เราจงึ กลา่ วได้ว่าสิง่ มีชวี ติ ในดินและกิจกรรมในดินจะเปน็ ตัวช่วยใหว้ ัฐจักรของธาตุ

ต่างๆ มคี วามสมบรู ณ์ทีส่ ุด

 ประเภทของสิง่ มีชีวติ ในดนิ (Types of Soil Organisms)

สิ่งมชี วี ิตในดนิ เราสามารถแบ่งออกตามระบบตา่ ง ๆ ซงึ่ อาจจะแบง่ เปน็ 2 พวกใหญๆ่ คือ พชื (flora)

หรอื สตั ว์ (fauna) กไ็ ด้ ในบทนจี ะแบ่งออกตามระบบหนง่ึ ดังตารางที่ 2.1 ซึ่งแยกจุลินทรยี ์ออกเป็นกลุ่มหน่งึ

โดยเฉพาะ

ตารางที่ 1 ลกั ษณะของอาณาจกั รสิง่ มชี ีวติ ต่างๆ

อาณาจกั ร ลกั ษณะ

Planta พืชไม่สามารถเคล่ือนที่ได้ ไม่มีกล้ามเนือหรือระบบประสาท พืชส่วนใหญ่จะประกอบด้วย

หลายๆ เซลล์ และมี คลอโรฟลิ (chlorophyll) ตวั อย่างในดนิ เชน่ รากพชื และสาหร่าย

Animalia ประกอบด้วยเซลล์หลาย ๆ เซลล์ มีระบบกล้ามเนือ ระบบประสาท เคล่ือนที่หาอาหารได้

ตวั อยา่ งในดินเชน่ แมลง หนอน ไส้เดอื นฝอย สตั วเ์ ลียงลูกด้วยนมต่าง ๆ

Fungi มีเซลล์เดียว (ยีสต์) หรือมีหลายเซลล์ (เห็ด) ไม่มี chlorophyll เชอื รา จะได้อาหารจากการ

ย่อยสลายอินทรียวัตถุ

Protista มีเซลล์เดียว แต่มีลักษณะคล้ายสัตว์ (animal) คือจะเคลื่อนที่หาอาหารเองได้ เช่น อมีบา

(amoeba) โปรโตซัว (protozoa) และ พารามีเซยี ม (paramecium)

Monera มีเซลลเ์ ดยี ว ไม่มีเยื่อหมุ้ นิวเครยี ส เช่น bacteria , actinomycetes และ cyanobacteria

ท่มี า: ดัดแปลงจาก Plaster, 1992 หนา้ 150.

 ลักษณะท่ีสาคญั ของสิ่งมีชีวิต (Important characters of organisms)
1. แบคทเี รีย (bacteria) เป็นจุลินทรียท์ ี่มีเซลล์เดียว มขี นาดเล็กมาก มีขนาดเส้นผ่าศูนยก์ ลางเซลล์

ประมาณ 1-5 ไมครอน () มีปรมิ าณมากทสี่ ุดประมาณ 108 – 109 เซลลต์ ่อดนิ แห้ง 1 กรมั หรอื มี ประมาณ 50-
500 กก./ไร่ แบคทีเรียสามารถจาแนกไดห้ ลายประเภท โดยอาศัยหลกั เกณฑห์ ลายอย่างได้ดงั นี

1.1 จาแนกตามความตอ้ งการออกซิเจน สามารถแยกได้ 3 ประเภทคอื
- แบคทีเรยี ที่ต้องการออกซิเจนในการดารงชวี ิต (aerobic bacteria)
- แบคทเี รียทีไ่ ม่ต้องการออกซเิ จนในการดารงชีวิต (anaerobic bacteria)
- แบคทีเรยี อยู่ได้ทังทม่ี แี ละไม่มอี อกซเิ จน (facultative anaerobic bacteria)

1.2 จาแนกตามรปู ร่างเซลลเ์ ปน็ หลกั จาแนกได้ 3 ประเภท คือ
- รูปรา่ งกลม (spherical shape) เช่น cocci
- รูปร่างทรงแท่ง (rod shape) เช่น bacilli
- รปู รา่ งเปน็ เกลยี ว (spiral shape) เชน่ spirilla

23

1.3 จาแนกตามอุณหภมู ิเหมาะสมต่อการเจริญเตบิ โต
- เจรญิ เตบิ โตทอ่ี ุณหภูมิต่ากว่า 20 0 C หรือเรยี กวา่ psychrophillic bacteria
- เจรญิ ได้ดที ่ีอุณหภมู ิชว่ ง 25-55 0 C หรือเรยี กว่า mesophillic bacteria
- เจรญิ ไดด้ ที ่อี ุณหภูมิช่วง 45-65 0 C หรอื เรยี กว่า thermophillic bacteria

1.4 จาแนกตามการใชแ้ หล่งของคาร์บอน
- ได้รับคารบ์ อนและพลังงานจากสารประกอบอนินทรยี ์ (autotrophic bacteria)
- ได้รับคารบ์ อนและพลงั งานจากสารประกอบอินทรีย์ (heterotrophic bacteria)

1.5 จาแนกตามความสามารถการสรา้ งสปอร์เป็นหลัก
- แบคทีเ่ รียที่สรา้ งสปอร์ (spore-forming bacteria) กล่มุ นีจะทนต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่

เหมาะสมได้นาน เชน่ กลุ่มของ Bacillus sp.และ Clostridium sp.
- แบคที่เรียที่ไม่สร้างสปอร์ (non-spore forming bacteria) พวกนีมักไม่ทนต่อ

สภาพแวดลอ้ มท่เี ปลยี่ นแปลง
ในดนิ ทมี่ ีกรดหรอื ดา่ งมากเกินไป ปริมาณแบคทีเรียจะมีจานวนลดลง โดยส่วนใหญ่แบคทเี รีย

จะมีมากในดิน สภาพทเ่ี ปน็ กลาง
2. แอคติโนมัยซีส (actinomycetes) ปริมาณแอคติโนมยั ซีส มีปริมาณรองจากปรมิ าณแบคทเี รีย

ในดินประมาณ 105 – 108 เซลลล์ ์ตอ่ ดิน 1 กรัม และพบในสัดส่วนมากที่ดนิ มีสภาพดา่ ง ดนิ ในทงุ่ หญ้าธรรมชาติ
หรือเลียงสัตว์จะมีปริมาณแอคติโนมัยซีสมากกว่าดินท่ีทาการเกษตรกรรม ดินพรุ ดินนาขังและสภาพที่มีค่า pH
ต่ากวา่ 0.5 พบปริมาณแอคตโิ นมยั ซสิ นอ้ ย

แอคติโนมัยซีสทุกชนิดเป็นพวก aerobic และ heterotroph จะเจริญได้ดีท่ีอุณหภูมิ 28-37 0C
ถ้าอุณหภูมิต่ากว่า 5 0C จะพบได้น้อย และแอคติโนมัยซีสจะทนแห้งได้ดีกว่า จุลินทรีย์ชนิดอ่ืน แต่ไม่ทนต่อ
สภาวะขาดออกซเิ จน

แอคติโนมัยซีส สามารถย่อยสลายอินทรีย์คาร์บอนได้ตังแต่โมเลกุลง่าย ๆ จนถึงที่มีขนาดใหญ่และ
ซับซ้อน สาหรับ Streptomyces sp. สามารถย่อยสลายไคติน (chitin) ได้ดีกว่า จุลินทรีย์ชนิดอื่น นอกจากนี
จุลินทรีย์กลุ่มนียังสามารถสังเคราะห์สารที่สามารถกาจัดหรือยับยังการเจริญเติบโตของประชากรในกลุ่ม
แบคทเี รยี ยสี ต์ และเชือราได้

3. เชือรา (fungi) เชือรามีปริมาณเป็นอันดับ 3 แต่มีมวลมากที่สุด เนื่องจากมขี นาดโตและมีเส้นใย
(mycelium) อยู่เป็นปริมาณมาก ในดิน 1 กรัมจะมีเชือราปริมาณ 104 – 105 เซลล์ ถ้าเชือรามีเส้นใยยาว 10
ถึง 100 เมตร/กรัมดินแล้ว จะมีมวลถงึ 80-800 กก.ต่อดิน 1 ไร่

เชือราทกุ ชนิดเปน็ heterotroph และ aerobes ซึ่งจะเป็นตวั การหลกั ในการย่อยสลายเศษซากพืช
ในป่า และในสภาพดินเป็นกรด ราจะมีบทบาทมากท่ีสุดในการย่อยสลาย โดยปกติในสภาพดินที่เป็นกลางการ
เจรญิ จะน้อยกว่าแบคทเี รียและดินทีเ่ ปน็ ด่างการเจริญจะสู้แอคตโิ นมยั ซสี ไม่ได้

เชือราทนแล้งได้ดีมากและจะตายเม่ือมีนาขังเชอื ราส่วนใหญ่เป็นพวก mesophiles มีบางชนิดเป็น
พวก thermophiles เช่น พบในกองปุ๋ยหมัก ซ่ึงจะเจริญได้ดีที่อุณหภูมิ 37 ถึง 50 0C เช่น กลุ่มพวก
Aspergillus sp. , Mucor sp. เป็นตน้

24

เชือราสามารถดักจับไสเ้ ดือนฝอยได้ เช่น รา Arthobotrys sp., Dactylaria sp. เป็นต้น และยัง
สามารถเป็นตัวหาของโปรโตซัว เชอื ราช่วยปรบั ปรงุ โครงสร้างเม็ดดนิ โดยเส้นใยทาใหท้ นทานต่อแรงกระแทกของ
เมด็ ฝนได้

4. สาหร่าย (Algae) พบได้ในดิน มีปริมาณน้อยท่ีสุด โดยท่ัวไปพบไม่เกิน 104 เซลล์ต่อดินแห้ง 1
กรมั มักจะพบเฉพาะผิวดนิ เปน็ ส่วนใหญ่ เพราะสาหรา่ ยตอ้ งการแสงสวา่ งในการสังเคราะห์ สาหรา่ ยมีรปู ร่างเป็น
เซลลเ์ ดยี วหรอื เส้นใยสัน ๆ

สาหรา่ ย จดั อย่ใู น phylum Thallophyta แบ่งเปน็ 4 class คือ
4.1 Class Chlorohyceae หรือ green algae มีคลอโรฟลิ A B เชน่ Chamydomonas sp.

, Cholrella sp. เป็นต้น
4. 2 Class Canophyceae ห รื อ blue green algae มี เ ม็ ด สี น า เ งิ น ( phcocyanin)

phycocrythren , carotenoid , chlorophyll A ชอบดินท่ีเป็นกลางหรือด่างอ่อน ไม่ชอบดินท่ี pH ต่ากว่า
5.2 พบมากได้แก่ Anabaena sp. , Chroococcus sp. และ Nostoc sp. เป็นต้น

4.3 Class Bacillariophyceae หรือ diatoms เป็นสาหร่ายท่ีมีซิลิกอนเป็นผนังหุ้มชันนอก
เปน็ 2 ฝา มี chlorophyll A และ C สะสมอาหารในรูปไขมนั เชน่ Cymbella sp. และFragilaria sp. เป็นตน้

4.4 Class Xanthophyceae หรือ yellow green algae เป็นสาหร่ายท่ีมี chlorophyll A
และ C กับเม็ดสีเบตาคาโรทนี พบนอ้ ยทีส่ ุดในดนิ

สาหร่ายมักพบปริมาณมากท่ีระดับ 5-10 ซม. จากผิวดิน มีสาหร่ายบางชนิดมีชีวิตแบบ
heterotroph ในทม่ี ดื ไดโ้ ดยสามารถใชส้ ารคาร์โบไฮเดรต เชน่ แปง้ ซูโครส กลูโคส ไกลเซลรอล และกรดซติ ริก
เป็นแหล่งคาร์บอนและพลังงานได้ สาหร่ายสีเขียวแกมนาเงิน จะเจริญได้ดีท่ี pH 7-10 หาก pH ต่า จะพบ
ปริมาณนอ้ ย ส่วนสาหร่ายสีเขยี ว pH ไม่มผี ลต่อการเจรญิ มากนัก ดังนนั จึงมักพบสาหร่ายสเี ขยี วในดนิ ท่ีเปน็ กรด

สาหรา่ ย เป็นตัวการเพิ่มอนิ ทรียวัตถุในดิน ช่วยให้หินผุพงั ได้โดยการหายใจให้ CO2 เมอ่ื รวมตัวกับ
นาเกดิ กรดคาร์บอนิค ชว่ ยลดการกษยั การ และชว่ ยตรึงไนโตรเจนแก่นาข้าว เชน่ สาหร่ายสีเขยี วแกมนาเงนิ

5. โปรโตซัว (protozoa) เป็นจุลินทรีย์มีเซลล์เดียว เซลล์เหล่านีไม่มีคลอโรฟิล แต่ช่วงเปล่ียน
genera จะมีลักษณะคล้ายสาหร่าย และมีคลอโรพลาสที่บรรจุคลอโรฟิล แบ่งตามลักษณะการเคลื่อนไหวได้ 4
กลุม่ คือ

5.1 flagellata หรือ mastigophora เคล่ือนไหวโดยใช้ flagella ซึ่งเป็นหนวด อาจมีเส้น
เดียวหรือหลายเส้นก็ได้ เช่น Bodo sp. , Tetramitus sp. เป็นตน้

5.2 ciliata หรือ ciliophora เคล่ือนไหวโดยขน (cilia) ซ่ึงอยู่รอบตัวเช่น Paramecim sp. ,
Balantiphora sp. เปน็ ต้น

5.3 sarcodina หรือ presudopodia กลุ่มนีจะเคล่ือนไหวโดยใช้ระบบหมุนเวียนของ
ส่วนประกอบภายในเซลล์ เรียกว่า protoplasmic extrusion ได้แก่ พวก Amoeba sp. , Biomyxa sp. ,
Euglypha sp.เป็นตน้

5.4 sporozoa ไม่มี organella ท่ีใช้ในการเคล่ือนท่ี สร้างสปอร์ได้ เช่น Plasmodium sp.
เป็นต้น

25

โปรโตซวั มีลักษณะการหาอาหาร ซง่ึ ต้องใช้อนิ ทรียส์ าร 2 แบบคอื

1) saprozoic protozoa ได้อาหารจากสภาพแวดล้อมในรูปของสารละลาย เช่น การย่อย

สลายอินทรยี วัตถุ

2) holozoic protozoa ได้อาหารเข้าทาลายจลุ นิ ทรยี อ์ นื่ เช่น แบคทเี รีย เชือรา หรอื โปรโตซัว

ดว้ ยกัน

โปรโตซัวพบว่าในดินประมาณ 104 – 105 เซลลม์ ากที่สุดคือ flagellates และ sarcodina

และ ciliates ตามลาดับ โดยมากพบที่ pH ดนิ 6-8

โปรโตซัว มบี ทบาทสาคัญในการรักษาดุลภาพของจลุ ินทรีย์ในดนิ โดยการควบคุมปริมาณของ

แบคทเี รยี

6. ไวรัส (Virus) ไวรัสมีขนาดเล็กมาก มองไมเ่ ห็นดว้ ยกล้องจุลทรรศนธ์ รรมดา ไวรัสจะเพ่ิมจานวน

ได้ต่อเมื่ออยู่ในส่ิงมีชีวิตอ่ืน ไม่ว่าพืชหรือสัตว์ หรือแม้แต่จุลินทรีย์ชนิดอื่น (host) แต่ไวรัสจะจาเพาะเจาะจงต่อ

ชนิดของ host อยมู่ าก

6.1 ปจั จัยทีจ่ าเป็นต่อการเจริญของจลุ ินทรยี ์ (Essential factors for the growth of

microorganisms)

Alexander (1977) รายงานวา่ มีปจั จัยท่ีสาคญั 5 ปจั จยั ดังนี

1. แหลง่ พลังงาน สารประกอบอินทรยี ์

(Energy Source) สารประกอบอนินทรยี ์

แสง

2. ตัวรับอิเลิกตรอน O2

(electron acceptor) สารประกอบอนิ ทรีย์

NO3- , NO2- , N2O , SO42- , CO2

3. แหลง่ คาร์บอน CO2 , HCO3-

(carbon source) สารประกอบอินทรีย์

4. แรธ่ าตุ (minerals) N, P, K, Ca, Mg, S, Fe, Mn, Cu, Co, Mo

5. Growth factor

5.1 Amino acid Alanine, aspartic acid, glutamic acid

5.2 Vitamin Biotin, pyrindoxine, riboflavin, nicotinic acid, panthothenic acid

5.3 อ่ืน ๆ Purine bases, pyrimidine bases, chloline, inositol, peptide, etc

6.2 ปัจจัยท่คี วบคุมชนิดและปริมาณของจุลนิ ทรีย์ (Factors controlling types and quantity
of microorganisms) ชนิดและปรมิ าณของจลุ นิ ทรีย์ทเ่ี จริญเติบโตได้ในที่ต่างๆ ขนึ อย่กู ับปัจจยั ต่างๆ ตอ่ ไปนี

1. พลังงาน จลุ ินทรียจ์ ะใช้พลังงาน 1 กโิ ลแคลอร่ี ในการสร้างเซลล์ 0.118 กรมั โดยพลังงาน
นีมาจาก 2 แหล่งคอื พลังงานแสง หรือพลงั งานที่ไดม้ าจากการออกซิไดซส์ ารอินทรยี ห์ รืออนินทรีย์

26

2. อุณหภูมิ จุลินทรีย์มีความไวต่อการเปล่ียนแปลงอุณหภูมิ ซ่ึงชนิดของจุลินทรีย์ที่เหมาะสม
กับอณุ หภูมิตา่ ง ๆ เราสามารถแยกได้ 3 ระดบั ดังท่กี ลา่ วมาแล้ว

3. ความชืน นาในดินมีความสัมพันธ์กับการถ่ายเทอากาศในดินเป็นอย่างมาก นาภายใต้
สภาพที่ถูกยึดต่าง ๆ มีประโยชน์ต่อจุลินทรีย์ต่างกัน โดยท่ัวไปความชืนพอเหมาะมีประมาณ 60-70 % ของ
ความชืนที่ดินอุ้มนาไว้ได้ทังหมด (water holding capacity) ในสภาพดินแห้ง แบคทีเรียจะทนได้น้อยกว่ารา
หรอื แอคติโนมัยซีส แตใ่ นนาขงั แบคทเี รียหลายชนิดเจริญไดด้ กี ว่า ขณะทีร่ าทนอย่ไู ด้น้อยมาก

4. อากาศ การควบคุมปริมาณออกซเิ จนในดิน หรอื อากาศ คือปริมาณความชืนและโครงสรา้ ง
ของดิน ดินท่ีมีโครงสร้างดี เช่น เม็ดกลมจะมีช่องในดินที่ต่อเน่ือง การระบายอากาศจึงดีกว่า ดินที่มีโครงสร้าง
แบบแผน (platy) ซ่ึงมีการระบายอากาศและนาเลว ปริมาณอากาศจะเป็นปัจจัยกาหนดชนิดของจุลินทรีย์พวก
aerobic หรอื anaerobic

5. สภาพ ความเปน็ กรด-ดา่ ง (pH) ของดิน สภาพ pH ของดนิ ทเี่ ป็นกลางหรอื ดา่ งจะมีผลต่อ
ชนิดของจุลินทรีย์ดังที่กล่าวมาข้างต้น ดังนัน การปรับสภาพของ pH ของดิน เราจึงสามารถที่จะเพ่ิมหรือลด
ปริมาณของชนิดและ จุลินทรีย์ได้ เช่นในสภาพดินที่เป็นกรด โดยส่วนใหญ่กิจกรรมมักจะเป็นของพวกรา หาก
เราใส่ปูนเพมิ่ ยกระดบั pH ขึนใหเ้ ป็นกลาง แบคทีเรยี และแอคตโิ นมยั ซสี ก็จะเพ่มิ ปริมาณมากขนึ ได้

6. ปริมาณธาตุอาหารท่ีเป็นประโยชน์ในดิน ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์สูง มักมีปริมาณธาตุ
อาหารสูงตาม จลุ ินทรียส์ ามารถใช้ธาตอุ าหารเหล่านใี นการเจริญเติบโตได้ด้วยดังนันการเพิ่มปุ๋ยเคมีหรือปุ๋ยหมัก
จงึ มีผลทาใหจ้ ุลินทรีย์ เพ่มิ ตามอย่างมาก

7. ส่ิงมีชีวิตในดินอื่น ๆ จุลินทรีย์ชนิดต่าง ๆ ในดินมีผลต่อการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ชนิด
อ่ืน ๆ เช่นกัน บางชนิดกินจุลินทรีย์อื่นเป็นอาหารหรือบางชนิดยับยังจุลินทรีย์ชนิดหน่ึงแต่ส่งเสริมชนิดอ่ืนได้
หรอื รากพชื อาจปลอ่ ยสารแทนนนิ (tannins) ซง่ึ ยบั ยงั การเจรญิ ของแบคทีเรยี บางชนดิ ได้

6.3 กจิ กรรมของจลุ นิ ทรีย์ (Activities of Microorganisms)
1) การสลายตวั ของอินทรียวัตถุ (Organic matter decomposition)
อนิ ทรียวตั ถจุ ะถูกย่อยสลายโดยจุลินทรียพ์ วก heterotroph การเกิดสลายได้งา่ ยๆ ดงั สมการ

อนิ ทรยี วตั ถุ ----- ---> กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซค์ + กรดอนิ ทรีย์ + ฮิวมสั + ธาตุอาหารตา่ งๆ

- ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซค์ (CO2)จะเกดิ ขนึ จากกระบวนการหายใจของจลุ นิ ทรีย์ ซึ่งเราสามารถ
วัดกจิ กรรมของจุลินทรยี ์ไดจ้ าก CO2 ที่เกดิ ขนึ ได้

- กรดอนิ ทรยี ์ (organic acid) เป็นผลเกิดจากการย่อยสลายอินทรียวตั ถุ
- ฮวิ มัส (humus) เปน็ สว่ นท่จี ลุ นิ ทรีย์ยอ่ ยสลายยาก ซึ่งมักจะเป็นผลท่ีให้ดินมีโครงสร้างทาง
ฟิสิกสแ์ ละสภาพทางเคมดี นิ ดีขึน
- ธาตุอาหารต่าง ๆ เป็นผลขณะการย่อยสลาย ทาให้ธาตุอาหารในโครงสร้างต่าง ๆ ถูก
ปลดปล่อยออกมา

27

2) การตรงึ ไนโตรเจน (nitrogen fixation)
การตรึงไนโตรเจน เปน็ ขบวนการเปล่ยี นกา๊ ซ N2 ในอากาศใหเ้ ปน็ NH3 โดยอาศัยเอมไซม์ ไน
โตรจเี นียส (nitrogenase) เปน็ ตัวกระตุ้น แอมโมเนีย (NH3) ท่ีเกดิ ขนึ ในเซลล์จลุ นิ ทรีย์จะถกู เปล่ียนเปน็
สารประกอบอินทรยี ์ต่าง ๆ เช่น allantoin, glutamic acid ซงึ่ จะถูกเปลี่ยนเป็นโปรตนี ในขันตอนตอ่ ไป
การตรงึ ไนโตรเจนแสดงไดด้ ังสมการ ดงั นี

N2 + 6e- + 12ATP + 8H+ > 2NH4+ + 12ADP + 12Pi

2H+ 2H+ 2H+
> 2NH3
หรือ N2 > HN = NH > H3 N - NH3
2e-
2e- 2e- (Ammonia)

(Dinitrogen) (Diamide) (Hydrazine)

การตรึงไนโตรเจนโดยกระบวนการทางชีวภาพเกิดขึนประมาณ 175 ล้านตันต่อปี การตรึง
ไนโตรเจนส่วนใหญ่เกิดจากพืชตระกูลถั่วเศรษฐกิจ ในทุ่งหญ้าและในป่าไม้ โดยการเกิดการตรึงบนพืนดิน
ประมาณ 139 ล้านตนั และในทะเลประมาณ 36 ล้านตัน ดงั ตารางท่ี 2.2

ตารางที่ 2 ปรมิ าณไนโตรเจนทต่ี รงึ โดยกระบวนการทางชีวภาพ

ระบบ กก./เฮกตาร์/ปี ล้านตนั /ปี

ก. ท่ใี ห้ทาการเกษตร 35
9
- พืชตระกลู ถ่ัวเศรษฐกิจ 140 45
40
- ไมใช่พืชตระกูลถ่ัว 35 10
139
ข. พนื ที่ทุ่งหญา้ 15 36
175
ค. พนื ทีป่ า่ และป่าไม้ 10

ง. พืนทไ่ี ม่ไดใ้ ชป้ ระโยชน์ 2

รวมท่ีเกดิ บนพืนดนิ

จ. รวมท่ีเกิดในทะเล 1

รวมทงั หมด

ท่มี า: Burris, 1977. หนา้ 10.

จลุ นิ ทรีย์ท่ีสามารถตรึงไนโตรเจนไดม้ ีหลายประเภท ดงั ต่อไปนี
2.1 heterotrophic bacteria แบ่งได้ 2 ประเภทคือ

2.1.1 non symbiotic N2 fixation เปน็ จลุ นิ ทรยี ์ท่ีตรงึ ได้ด้วยตวั เอง เป็นอิสระอยู่ในดิน
ตามธรรมชาตกิ ็สามารถตรึงไนโตรเจนได้ เช่น Azotobacter sp. และ Beijerinckia sp. ซึง่ เปน็ พวก aerobes
และ Clostridium sp. เปน็ พวก anaerobes

28

- Azotobacter sp. เปน็ พวก mesophillic และไวต่อ pH ท่ีเป็นกรด มปี ระสิทธิภาพ

การตรงึ ได้ 5-20 mg N2 /gram-sugar ในดนิ มีประมาณ 0-103 เซลต่อดิน 1 กรมั มบี ทบาทสาคัญมากใน

ด้านการเกษตร

- Beijerinckia sp. เป็นพวกทนกรด (พบท่ี pH 3) พบประมาณ 0-103 เซลต่อดนิ 1

กรมั และ Derxia sp. จะเจริญไดด้ ีท่ี pH 5-9 พบอยทู่ ั่วไปในดินเขตรอ้ น

- Clostridium sp. ท่ีตรึงไนโตรเจน เช่น C. pasteurianm , C. butyricm , C.

acetobutylicum พบได้ประมาณ 102 – 105 เซลล์ต่อกรัม พบมากบริเวณรากทนกรดช่วง pH 5-9 ตรึง

ไนโตรเจนได้ 180 ug N2 /ml
2.1.2 symbiotic N2 fixation จะตรึงไนโตรเจนได้เมื่อแบคทีเรียเข้าไปอยู่ร่วมกับพืช

ตระกูลถั่วเทา่ นัน หากอยู่อิสระจะไมส่ ามารถตรงึ ไนโตรเจนไดเ้ ช่นไรโซเบยี ม (Rhizobium sp.)

เชือไรโซเบียม เมื่อเข้าไปอยู่ในรากถั่ว จะทาให้เกดิ ปมขึน ต้นถั่วจะให้คาร์บอนและพลังงานแก่

ไรโซเบียม และไรโซเบียมจะตรึงไนโตรเจนจากอากาศให้แกต่ ้นถ่ัว ทงั สองจะใช้ชีวิตแบบพง่ึ พาอาศยั กนั

เชือไรโซเบียม มีหลาย species แต่ละ species จะสร้างปมแก่รากพืชตระกูลถ่ัวเฉพาะกลุ่ม

และประสิทธภิ าพในการตรงึ ก็แตกต่างกัน เชน่

R. meliloti เกดิ ปมกบั ถั่วกลุ่ม Alfalfa

R. trifolii เกดิ ปมกบั ถ่วั กลมุ่ Clover

R. leguminosarum เกดิ ปมกบั ถั่วกล่มุ Pea

R. phaseoli เกดิ ปมกับถ่ัวกลุ่ม Bean

R. lupini เกิดปมกบั ถ่วั กลมุ่ Lupine

R. japonicum เกิดปมกบั ถัว่ กลมุ่ Soybean, Cowpea

ในประเทศไทยมีการใช้ผลคลุกเชือไรโซเบียมกับถั่วเหลืองอย่างแพร่หลาย เน่ืองจากทาให้

เกษตรกรลดค่าใชจ้ ่ายของปยุ๋ ไนโตรเจนได้ เพราะนอกจากจะทาให้ผลผลิตถว่ั เหลอื งสงู แลว้ ยงั ลดตน้ ทุนการผลิต

ดว้ ย

ตารางท่ี 3 ปริมาณการตรงึ ไนโตรเจนของพชื ตระกลู ถ่วั ต่างๆ

ตระกลู ถ่ัว ปริมาณ N2 ทต่ี รึงได้ (กก. /ไร่/ปี)

Alfalfa 20 – 55

Red clover 14 – 30

Pea 13 – 25

Soybean 10 – 18

Cowpea 10 – 21

ที่มา: ดัดแปลงจาก Alexander, 1977. หนา้ 316.

29

2.2 Autotropic N2 fixer
สาหรา่ ยสีเขยี วแกมนาเงนิ (blue-green alga) เปน็ จุลินทรยี ์ท่ตี รึงไนโตรเจนได้เชน่ Nostoc
sp. , Anabaena sp. , Tolythrix sp. , Cylindrosperum sp. เป็นต้น
ในประเทศไทยมีการสารวจปริมาณสาหร่ายสีเขียวแกมนาเงิน ในดินภาคต่างๆ ของประเทศ
พบว่าในดินนามีการกระของสาหร่ายสีเขียวแกมนาเงิน และความเป็นกรดหรือด่างมีผลต่อการสาหร่ายท่ีพบ
และดินทม่ี ีความเปน็ กรด และกลางจะมปี ริมาณของสาหร่ายสีเขยี วแกมเงนิ มากดังตารางท่ี 4

ตารางท่ี 4 ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง ของดินกับจานวนตัวอย่างดนิ นาทพ่ี บสาหรา่ ยสีเขียวแกมนาเงนิ

PH จานวนดินนาทงั หมด จานวนดินนาทพี่ บสาหร่าย ดนิ นาทพ่ี บสาหร่าย

4.0 – 5.9 74 15 20

6.0 – 6.9 98 44 45

7.0 – 7.9 30 13 13

8.0 33 8 24

ที่มา: พงศ์เทพ และสมถวลิ , 2530. หนา้ 19.

ปรมิ าณการตรึงไนโตรเจน
ความสามารถการตรึงไนโตรเจนจะแตกต่างกันตามชนิดและสายพันธ์ุของสาหร่าย เช่น
การศึกษาของ Reynaid and Roger (1976) ที่ประเทศ Senagel พบวา่ อตั ราการตรึงไนโตรเจนของสาหร่ายสี
เขียวแกมนาเงินในดิน 14 ชนดิ มีประมาณ 8-10 กโิ ลกรัมต่อไร่ ฤดูปลกู
Heterocyst
โดยท่ัวไปการตรึงไนโตรเจนในสาหร่ายสีเขียวแกมนาเงิน จะเกิดขึนท่ีเซลล์ที่เรียกว่า
heterocyst แต่สาหร่ายบางชนิดที่เป็น เซลล์เด่ียว (unicellular) และ เส้นสาย (filamentous) ที่ไม่มี
heterocyst ก็สามารถตรึงไนโตรเจนได้เช่นกนั เช่นพวก Pleclonema sp., Trichodesmin sp. , Lyngbya
sp. เป็นต้น

ภาพท่ี 1 แสดงตาแหน่งของ heterocyst ในสายเซลล์

30

แหนแดง (Azolla)
เป็นเฟร์นิ นาขนาดเล็ก อยู่ตามนานง่ิ และนาขา้ วทวั่ ไปในเขตร้อนและอบอนุ่ ในโพรงใบของแหน
แดงมี Anabaena azollae อาศัยอยู่ ซึ่งสามารถตรงึ ไนโตรเจนได้ ไนโตรเจนทต่ี รึงได้จะสะสมในแหนแดง เมื่อ
แหนแดงถูกไถกลบลงดนิ หรอื ตาย ไนโตรเจนจะสลายตัวปลดปล่อยออกมาในรูปท่เี ปน็ ประโยชนต์ อ่ พชื
การตรึงไนโตรเจนในแหนแดงจะเกิดได้ดีในเวลาท่ีมีแสง แต่ในทีม่ ืดอัตราการตรึงไนโตรเจนจะมี
ประมาณ 20-30 % ของอตั ราการตรึงในช่วงกลางวนั ปริมาณไนโตรเจนที่ตรึงได้ขึนอยู่กบั อัตราการเจริญเติบโต
ของแหนแดง หากในสภาพท่เี หมาะสม แหนแดงจะเพิ่มนาหนกั ตวั 1 เทา่ ภายใน 3-7 วันและจะสะสมไนโตรเจน
ได้ประมาณ 15 กิโลกรัมต่อไร่ ภายใน 30 วัน แหนแดงสดจะสลายตัวให้ไนโตรเจน 60 % ของไนโตรเจนใน
แหนแดงสด สว่ นแหนแดงแห้งจะปลดปลอ่ ยเพยี ง 47 % ในเวลาเดยี วกัน

ภาพท่ี 2 ลักษณะของแหนแดง (Azolla)

3) ไมโครไรซ่า (Mycorrhiza)
เป็นลักษณะของเชือรากลุ่มหน่ึงท่ีเข้าไปอาศัยอยู่ที่บริเวณรากพืช (Ectomycorrhizae) หรือ
เข้าไปอยใู่ นเซลลร์ ากพชื (Endomycorrhizae)โดยเชือราจะไมท่ าอนั ตรายตอ่ พชื แตก่ ลับเป็นประโยชนต์ อ่ พืช
กลุ่มเชือราพวก Basidomycetes มักพบกับพืชตระกูลสูง เช่น สน โอ๊ค ยูคาลิป เป็นต้น ส่วน
พืชอื่นเช่นการอยู่ร่วมกับพืชไร่ พืชสวนไม้ผลหรือพืชตระกูลหญ้า ( Granineae) หรือพืชตระกูลถ่ัว
(Leguminosae) ไดด้ ้วย

ภาพท่ี 3 แสดงการเขา้ ไปอย่ใู นเซลล์พชื ของเชือรา
กลุ่ม Endomycorrhizae

31

ประโยชน์ของเชือไมโครไรซ่า คือ
1. ด้านการเจริญเตบิ โต พืชทร่ี ากอวบหรือมีรากขนออ่ นน้อย เช่น ไมย้ นื ต้น ไม้ประดับ ส้ม

องุ่น ปาล์ม มันสาปะหลัง และหอมหัวใหญ่ มีการตอบสนองกับเชือไมโครไรซ่ามากกว่าพืชตระกูลถั่วหรือหญ้า
เนื่องจากมีรากเล็กยาวและมีรากขนอ่อนมาก

2. ช่วยดูดธาตุฟอสฟอรัสและธาตุอื่น ๆ การเจริญของเส้นใยของเชือราออกไปจากราก
หรือที่ห่อหุ้มรากอยู่ จะทาให้รากสัมผัสดนิ ได้มากขึน และนอกจากนันฟอสฟอรัสทอี่ ยู่ในระยะหา่ งไกลขึน อาจถูก
สัมผัสด้วยเส้นใยมากขึนด้วย จึงทาให้เกิดการดูดซึมฟอสฟอรัสได้ในปริมาณที่มากและเร็วขึน ซึ่งลักษณะนี
อาจจะช่วยใหด้ ดู ธาตอุ าหารอื่น ๆ อีกด้วย เช่น สังกะสี หรือ ทองแดง ซงึ่ เปน็ ธาตอุ าหารทเ่ี คลือ่ นท่ีชา้

3. การเพิ่มความทนทานต่อความแห้งแล้ง พบว่าไมโครไรซ่าช่วยให้พืชดูดซึมนาได้ดีขึน
และทนทานต่อความแห้งแล้ง และฟักฟื้นตัวหลังจากขาดนาได้เร็วขึน ทังนีอาจเนื่องจากเส้นใยช่วยทาให้พืช ท่ี
ผวิ สัมผสั มากขึน

4. ลดการเข้าทาลายจากโรคพืช เน่อื งจากไมโครไรซ่าที่ห่อห้มุ รากจะทาหนา้ ทขี่ ัดขวางการ
ทาลายของโรคพืช และบางชนิดยงั สามารถผลติ สารปฏชิ ีวนะออกมาตอ่ ตา้ นเชอื โรคไดด้ ้วย

5. การสร้างฮอร์โมน และสารเร่งการเจริญเติบโต เช่น ออกซิน จิบเบอเรลลิน และไซโต
ไคนนิ ทมี่ ผี ลต่อการเจรญิ เติบโตของพืช

4) การแปรสภาพของสารประกอบอนนิ ทรยี ์ (Transformation of inorganic compounds)
4.1 ไนตริฟิเคช่ัน (Nitrification) เป็นกระบวนการเปล่ียนรูปแอมโมเนียมเป็นไนไตรต์

และไนเตรต โดยการออกซิไดซ์ของแบคทีเรีย ดงั สมการ 2.1

NH4+ + 1 O2 > 2H+ + H2O + NO2- + 66Kcal (2.1)

กระทาโดยจุลนิ ทรีย์ Nitrosomonas sp.

NO2- + O2 > NO3- + 18 Kcal (2.2)

กระทาโดยจุลินทรีย์ Nitrobacter sp.

กระบวนการนีเกิดได้ดีทีอ่ ุณหภูมิ 15-35 0C pH ดินประมาณ 7-8 โดยสว่ นใหญ่ที่
pH ตา่ กว่า 5.0 พบการเกดิ กระบวนการนีนอ้ ยมาก

กระบวนการนเี ปน็ ประโยชนต์ ่อพชื แตอ่ าจทาให้ไนเตรต (NO3-) สูญเสยี ไปกบั การชะ
ลา้ งไดง้ า่ ย เนอ่ื งจากเป็นประจุลบและดนิ ไมถ่ ูกยึดไว้ และกระบวนการนีจะทาใหด้ นิ เป็นกรดมากขนึ

4.2 ดีไนตริฟิเคชัน (Denitrifacation) เป็นกระบวนการที่ไนเตรตเปล่ียนสภาพเป็นก๊าซ
เช่นสภาพอยู่ในสภาพจะออกซิเดชัน เช่น NO, N2O และ N2 โดยจุลินทรีย์ กระบวนการนีทาให้ไนโตรเจน
สญู เสยี ไปในรูปของก๊าซ สาเหตุการเกิดเน่ืองจากจุลินทรีย์ใช้ไนเตรต (NO3- ) เป็นตัวรับอิเล็กตรอน (electron
acceptor) ในกระบวนการหายใจ pathway ของกระบวนการ denitrification แสดงไดด้ ังนี

32

HNO3 4H  > 2HNO2 2H  > 2NO 2H  > N2O 2H  > N2
 2H2O
 2H2O  2H2O  2H2O

กระบวนการนเี กิดไดเ้ ชน่ จลุ ินทรยี ์ Paracocus denitrificans หรอื Thiobacillus
denitrificans จะใช้ไนเตรตเปน็ ตัวรบั อเิ ลก็ ตรอน

5S + 6KNO3 +2H2O > 3N2 + K2SO4 + 4KHSO4 (2.3)
(2.4)
5K2S2O2 + 8KNO3 +H2O > 4N2 + 9K2SO4 + H2SO4

การเกดิ กระบวนการนีมกั เกิดในสภาพนาขัง อุณหภูมิทตี่ ่ากวา่ 2 0C และสูงกวา่ 70 %
พบวา่ เกิดกระบวนการนีนอ้ ยมาก

4.3 ซัลเฟอร์ ออกซิเดชัน (S oxidation) เป็นการออกซิไดซ์สารประกอบอนินทรีย์ เช่น
S, S2O3-2 (thiosulfate) , S4O6-2 (tetrathiofate) และ S3O6-2 (sulfile) ให้เป็น SO4-2 (sulfate) ดัง
สมการ 2.5

S + 1 O2 + H2O > H2SO4 + 118 Kcal ____________(2.5)
2
(Thiobacillus Thiooxidans)

กระบวนการนีมีผลดีทาให้พืชได้รับอาหารพวก SO4-2 ได้มากขึน แต่มักจะทาให้ดินเป็น
กรดมากขนึ เชน่ กัน

4.4 S reduction เป็นการรีดิวซ์ SO4-2 ให้เป็น S-2 หรือ H2S โดยจุลินทรีย์พวก
Desulfovibrio sp. ซง่ึ กระบวนการนมี ักเกดิ ในสภาพนาขัง และมอี นิ ทรยี ์สารในดนิ มาก ๆ ดงั สมการ

C2H12O6 + 3H2SO4 > 6CO2 + 6H2O + H2S + 380 Kcal
(Desulfovibrio sp.)

4.5 กระบวนการอิมโมบิไลเซชัน (Immobilization) เป็นกระบวนการท่ีจุลินทรีย์เปลี่ยน

สารประกอบอนนิ ทรยี ์พวก N P S ใหเ้ ปน็ สารประกอบอินทรยี ์ภายในเซลล์ของจุลนิ ทรีย์ เชน่

NH4+ -N เป็น Protein หรือ amino acid

H2PO4- เป็น Nucleic acid หรือ Phytin

SO4-2 เป็น Amino acid เช่น glycine , methionine

กระบวนการนีมักเกิดขึนเม่ือซากพืชที่จุลินทรีย์ย่อยสลายมีปริมาณธาตุอาหารไม่เพียงพอ

ในการเจริญของจลุ นิ ทรยี ์ ดงั นนั จุลินทรียจ์ งึ ดึงธาตุอาหารในดินทีเ่ ปน็ ประโยชนต์ ่อพชื เพ่ือใช้ในการสรา้ งเซลของ

จุลินทรีย์ จงึ ทาให้เกดิ สภาพขาดธาตอุ าหารชั่วคราวของพชื ท่กี าลังเจริญได้

33

ประสิทธิภาพของการย่อยสลายของจุลินทรีย์ชนิดต่าง ๆ ในการย่อยสลายสารประกอบ

คาร์บอน 100 ส่วน จะถูกเปลยี่ นไปอยู่ในเซลลข์ องจลุ นิ ทรียไ์ ดด้ ังนี

เชือรา 30-40%

แอคติโนมัยซสี 15-30%

แบคทีเรีย - aerobes 5-10%

- anaerobes 2-5%

โดยเฉล่ียคิดประมาณ 1/3 ของสารประกอบคารบ์ อนไปใช้ในการสรา้ งเซล

4.6 กระบวนการมิเนอรลั เซชนั (Mineralization) เปน็ กระบวนการที่จลุ ินทรยี ย์ ่อยสลาย

สารประกอบอินทรยี เ์ ปน็ สารประกอบอนนิ ทรยี ์ เช่น

Organic C > CO2

Organic N > NH4+ , NO2- , NO3-

Organic S > SO4-2

Organic P > PO4-3

การเกิดกระบวนการนีจะเกิดตรงกันข้ามกับกระบวนการ Immobilization ซ่ึงจะเป็น

ประโยชน์ต่อพชื

ตัวอย่าง 2.1 เมอ่ื ใดจะเกดิ สภาพ mineralization หรอื immobilization
ฟางข้าวมี C 40% และ N 0.5% หรือมี C/N = 80:1 ถา้ ไถกลบฟางขา้ ว 100 กก. ลงในดินจะเกิด

สภาพอะไร?
การคานวณ

ฟางข้าวจะมี C ทงั หมด = 100  40 = 40 กก.

100

“ N“ = 100  0.5 = 0.5 กก.

100

จลุ ินทรยี ์ใช้ C ในการสรา้ งเซลล์ 1/3
= 1/3  40
= 13.33 กก.

C/N ในเซลจุลินทรยี ์ = 10:1 คือในเซลจลุ ินทรียป์ ระกอบด้วย C 10 สว่ น N 1 ส่วน
จุลนิ ทรยี ใ์ ช้ C 13.33 กก. จะตอ้ งใช้ N 1.333 กก.
แต่ไนโตรเจนในตน้ ถว่ั มีเพยี ง 0.5 กก.
ดังนัน ปริมาณ N ยงั ขาดอีก = 1.333 – 0.5 = 0.833 กก.
จลุ นิ ทรียจ์ ะดงึ N จากดินอีก 0.833 กก. ทาใหเ้ กดิ สภาพ Immobilization

34

ตวั อย่าง 2.2
ไถกลบต้นถั่วเหลอื ง 50 กก. ลงไปในดนิ ตน้ ถัว่ มี C 40 % และ N 1.5 % จะทาใหเ้ กดิ สภาพ

mineralization หรือ immobilization

การคานวณ

ต้นถ่วั มี C ทังหมด = 50  40 = 20 กก.
= 0.75 กก.
100

“ N “ = 50  1.5

100

C ทีจ่ ลุ ินทรีย์ใชส้ ร้างเซลลไ์ ด้ประมาณ 1/3 ส่วน
ปริมาณ C ท่จี ลุ นิ ทรียใ์ ชส้ รา้ งเซลล์
= 1/3  20
= 6.67 กก.

C/N ของจุลินทรีย์ = 10 : 1
จลุ นิ ทรยี ต์ อ้ งการ N ประมาณ 0.667 กก.
ในตน้ ถ่ัวมี N = 0.75 กก.
 มี N จะเหลอื อีก = 0.75 – 0.665 กก.

= 0.085 กก.
ดังนัน ในสภาพนีปริมาณไนโตรเจนจะเพียงพอ จะเกิดสภาพ mineralization แล้วยังเหลือ N อีก
0.085 กก. ท่ปี ลดปล่อยลงในดิน

1.4 ความหลากหลายดา้ นพืช (อ.ดร.ทิพยส์ ุดา ตังตระกูล)

พืช เป็นส่ิงมีชีวิตกลุ่มใหญ่อยู่ในอาณาจักรพืช ประกอบด้วย ไม้ต้น ไม้พุ่ม ไม้เลือย ไม้ล้มลุก พบได้ทัง
บนบกและในนา เป็นส่ิงมชี ีวิตที่เนือเยื่อส่วนใหญ่ประกอบด้วยหลายเซลล์ นิวเคลียสมีผนังเซลล์ห่อหุ้ม เคล่ือนที่
ไม่ได้ ได้แค่เอียงตัว จะสามารถเห็นได้ชัดเจน เม่ือมีแดดส่อง พืชจะเอียงตัวไปตามที่มีแดด ไม่มีอวัยวะเก่ียวกับ
ความรูส้ ึก พืชส่วนใหญ่มีลักษณะพเิ ศษที่ต่างไปจากสิ่งมีชีวิตกลุ่มอ่ืน คือการมีคลอโรฟิลล์ ซึ่งเป็นรงควัตถสุ ีเขียว
ทาหน้าท่ีในการสังเคราะห์แสง ช่วยให้พืชเจริญเติบโต แต่มีพืชจาพวกกาฝากหรือปรสิต (พืช) ประมาณ 300
ชนิดท่ไี มส่ งั เคราะหแ์ สงเอง แต่เกาะดดู อาหารจากพืชชนดิ อื่น

พืชมีความสาคัญ และมีผลกระทบต่อทุกอย่างบนโลกนี ทังทางตรงและทางอ้อม เมื่อพิจารณาถึง
ประโยชนท์ ่ีมนษุ ย์และส่ิงมีชีวิตอ่ืนไดร้ ับจากพืช จะเหน็ ได้วา่ พืชเป็นผู้ผลิตท่สี าคัญในกระบวนการสังเคราะห์แสง
พืชเปลยี่ นสารอนนิ ทรีย์ คอื คารบ์ อนไดออกไซดแ์ ละนา โดยอาศัยพลงั งานแสง ไปเปน็ สารอินทรียค์ อื นาตาลหรือ
แป้ง ซ่ึงเป็นประโยชน์สาหรับมนุษย์และสัตว์ท่ัวไป พืชหลายชนิด เช่น ข้าว ข้าวโพด ข้าวสาลี มันฝรั่ง มัน
สาปะหลัง ธัญพืช และถั่วเป็นอาหารหลักเพอื่ เลียงประชากรโลก พืชเส้นใยชนิดต่าง ๆ นามาทาเป็นเครือ่ งนุ่งห่ม
เนือไม้ของพืชหลายชนิดนามาใช้ในการก่อสร้างบ้านเรือน เคร่ืองเรือน เคร่ืองใช้ เชือเพลิง ถ่าน ฟืน รวมทังก๊าซ

35

และนามัน ล้วนเป็นผลผลิตท่ีได้มาจากพืช นอกจากนียารักษาโรค ยาปฏิชีวนะ และสมุนไพรต่าง ๆ หลายอย่าง
ได้มาจากพชื แทบทงั สนิ นอกจากนี พืชยงั เปน็ สว่ นหนงึ่ ของสิง่ แวดล้อมท่ีสาคญั ของมนษุ ย์และสตั ว์ ช่วยลดปัญหา
มลภาวะอากาศเป็นพิษ นาเสีย ลดปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์และเพ่ิมออกซิเจนใหแ้ ก่ชันบรรยากาศ ทาให้เกิด
การหมุนเวียนของแร่ธาตุ อาหาร และนา ช่วยเพ่ิมความอุดมสมบูรณใ์ ห้แก่ดิน รกั ษาความชุ่มชืน ลดปัญหาความ
แห้งแล้ง ตลอดทังชว่ ยป้องกนั นาท่วม และการพังทลายของหนา้ ดนิ จะเห็นได้ว่า มนุษย์ได้พง่ึ พาพืชเพอื่ ความอยู่
รอดและมีความสุขมานานหลายศตวรรษ และปัจจุบัน พืชเป็นพืนฐานของเศรษฐกิจในประเทศและเศรษฐกิจ
ของโลก

ความหลากหลายของพืช Maarten และคณะ (2016) ได้รายงานว่า จานวนชนิดพืชที่มีชีวิตบนโลกใน
ปัจจุบันถูกกะประมาณไว้ราว 374,000 ชนิด แบ่งออกเป็นพืชมีท่อลาเลียง 308,312 ชนิด ประกอบด้วยพืชมี
ดอก 295,383 ชนิด (พืชใบลียงเดี่ยว 74,273 ชนิด พืชใบเลียงคู่ 210,008 ชนิด) พบพืชกลุ่มอ่ืน ๆ ดังนี กลุ่ม
สาหร่ายประมาณ 44,000 ชนิด กลุ่มพืชไม่มีท่อลาเลียง 21,925 ชนิด (ลิเวอร์เวิร์ต 9,000 ชนิด มอส 12,700
ชนิด และฮอร์นเวิร์ต 225 ชนิด) กลุ่มพืชมีท่อลาเลียง ไม่มีเมล็ด 11,850 ชนิด (ช้องนางคลี่ 1,290 ชนิด และ
เฟริ น์ 10,560 ชนิด) และกลุ่มพืชเมล็ดเปลือยประมาณ 1,079 ชนิด

พืช มีการเจริญเติบโตในถิ่นอาศัยท่ีแตกต่างกัน เช่น พืชที่เจริญเติบโตบนบก ในนา และอิงหรือเกาะ
อาศัยกับกิ่งไม้หรอื ตน้ ไมใ้ หญ่ (ภาพท่ี 1) กรณพี ืชนาสามารถแบ่งย่อยไดอ้ ีก เช่น เป็นพชื ทเ่ี จรญิ อยู่ใตน้ า เจรญิ อยู่
เหนือนา หรือ เจริญอยู่ทผี่ ิวนา ซึ่งจะมีรากหรือลาต้นท่ียึดพยุงกับพืนผวิ ใต้นาไว้ โผล่เฉพาะสว่ นยอดขึนเหนอื นา
นอกจากนีควรพิจารณาในด้านอ่ืน ๆ ประกอบด้วย เช่น ลักษณะของดิน ความลาดชัน ความสูงของพืนท่ี
ความชืนและสงั คมพชื ท่อี ยู่โดยรอบ ลกั ษณะทังหมดนีคือระบบนเิ วศของพชื นนั่ เอง

1. ลาตน้ (Stem)
1.1 ส่วนประกอบของลาตน้ ประกอบด้วย

 ข้อ (node) คือรอยตอ่ เปน็ ระยะๆ
 ปล้อง (internode) คอื ส่วนของลาตน้ ระหว่างขอ้
 ตา (bud) คือส่วนประกอบของลาต้นที่ยังอ่อนอยู่ มีลักษณะรูปนูนโค้งคล้ายกรวย ภายใน
ประกอบด้วยเนือเย่อื เจริญจานวนมาก ทาหนา้ ท่ใี นการแบ่งตัวและพัฒนาเป็นปมุ่ ตา ตาของพืชแบ่งตามตาแหน่ง
ท่ีเกดิ ไดด้ ังนี

o ตายอด (terminal bud) เปน็ ตาทอ่ี ยปู่ ลายสดุ ของลาตน้ หรือกง่ิ
o ตาข้าง (lateral bud) เป็นตาที่อยู่ด้านข้างของลาตน้ หรืออยู่บรเิ วณง่ามใบ นอกจากนี ตา
ยังแบง่ ตามการพัฒนาไปเปน็ สว่ นต่างๆ ของพืชได้ คอื
o ตาใบ (leaf bud) เป็นตาทีจ่ ะเจริญไปเป็นใบ
o ตาดอก (flower bud) เป็นตาที่จะเจริญไปเปน็ ดอก
o ตารวม (mixed bud) เปน็ ตาท่ีมเี นือเยื่อที่จะเจรญิ ไปเป็นทงั ใบและดอก

36

1.2 วสิ ยั ของพืช (plant habit) แบ่งไดด้ ังนี
 ไม้ล้มลุก (herb) มีลาต้นอ่อนนุ่ม เนื่องจากประกอบด้วยเนือเย่ือท่ีเป็นเนือไม้เพียงเล็กน้อย ลา

ตน้ จะตายไปเมือ่ หมดฤดูเจรญิ เตบิ โต
 ไม้พุ่ม (shrub) เนือแข็ง ขนาดเล็กหรือขนาดกลาง มักมีหลายลาต้น แต่ไม่มีลาต้นหลัก เช่น

ทรงบาดาล กระถนิ
 ไม้ต้น (tree) เนอื แข็ง สูง มลี าต้นเพียงหนง่ึ เห็นไดช้ ดั เช่น ประดู่ อนิ ทนิล มะขาม

1.3 ลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไป (modified stem) ลาต้นนอกจากเป็นที่ติดของใบและดอกแล้ว อาจ
เปล่ียนแปลงรูปรา่ งและหน้าทไี่ ปได้ ซ่ึงมที ังลาตน้ บนดนิ และลาตน้ ใต้ดิน ดังนี

 ลาตน้ บนดนิ (aerial stem) ลาต้นของพชื จะเจรญิ อยู่บนดิน แยกเปน็ ชนิดตา่ งๆ คอื
o ไหล (stolon, runner) ลาต้นจะทอดราบไปตามพืนดิน มีปล้องยาว ราก ใบ ดอก เกิดท่ี

ขอ้ เชน่ บวั บก ผกั แวน่ สตรอเบอรี
o ลาต้นคล้ายใบ (phylloclade) ลาต้นที่มีลักษณะและทาหน้าที่คล้ายใบ มีสีเขียว เช่น

สลัดได พญาไรใ้ บ กระบองเพชร
o มือพัน (stem tendril) ลาต้นเปลี่ยนไปทาหน้าท่ีเกาะ หรือยึดกับสิ่งท่ีอยู่ใกล้เคียง เช่น

ตาลงึ พวงชมพู ฟักทอง องนุ่
 ลาต้นใต้ดิน (subterranean stem) พืชบางชนิดมีลาต้นใต้ดิน ทาหน้าท่ีเก็บสะสมอาหาร

ส่วนมากมักมีปล้องสันๆ แยกเปน็ ชนิดต่างๆ คือ
o เหง้า (rhizome) ลาต้นมักเจริญขนานไปกับพืนดิน มีปล้องและข้อสันๆ มีใบเกล็ดคลุมท่ี

ข้อ มีตาท่ขี อ้ ซ่ึงจะเตบิ โตเป็นใบและแทงขึนสพู่ ืนดนิ เชน่ ขิง ขา่ ขมิน
o หัวแบบมนั ฝรง่ั (tuber) ลาต้นมตี าโดยรอบ เชน่ มันฝรงั่ มันมือเสือ
o หัวแบบเผือก (corm) ลาต้นอวบอ้วน บริเวณส่วนกลางมักพองโต มีข้อและปล้องสันๆ มี

ใบ เกลด็ ห้มุ ท่ีขอ้ เชน่ เผอื ก แหว้ สาคู
o หัวแบบหอม (bulb) ลาตน้ ตรง ตามปล้องมีใบเกล็ดซ้อนกันหลายชันหุ้มลาต้นไว้ บางส่วน

อาจพ้นดินขึนมาบ้าง ใบเกล็ดด้านนอกจะบางเพราะไม่มีอาหารสะสมไว้ ส่วนในสุดเป็นลาต้นท่ีแท้จริง มีข้อและ
ปล้องสนั ๆ มรี ากงอกออกมาด้วย เชน่ หวั หอม กระเทยี ม พลับพลงึ

37

ภาพที่ 1 ภาพข้อมลู พรรณไม้แสดงลักษณะวิสยั เรือนยอด ทรงพมุ่ ถิ่นอาศยั และลักษณะลาต้น
ที่มา: แบบศึกษาข้อมูลพรรณไมใ้ นสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน (2564)

38

2. ราก (Root)
2.1 ชนดิ ของราก แบง่ ได้ดังนี

 รากแก้ว (primary root) เป็นรากของพืชที่พัฒนามาจากรากแรกเกดิ ทง่ี อกจากเมล็ด และหย่ัง
ลึกลงไปในดนิ ทางแนวด่ิง ทาให้ตน้ ไม้ยนื ต้นอยูไ่ ด้

 รากแขนง (secondary root) เป็นรากทีแ่ ตกแขนงจากรากแกว้ แผอ่ อกไปตามแนวระดับ
 รากพิเศษ (adventitious root) เปน็ รากที่เกิดตามใบหรอื ตามลาตน้ ทาหนา้ ที่ตา่ งๆ กนั
2.2 รากที่เปล่ียนแปลงไป (modified root) มดี ังนี
 รากคาจุน (prop root) เป็นรากที่แตกออกจากข้อของลาต้นที่อยู่เหนือพืนดิน แล้วพุ่งลงสู่ดิน
เพื่อคายนั ลาตน้ เชน่ โกงกาง เตย ไทรยอ้ ย
 รากสังเคราะห์แสง (photosynthetic root) เป็นรากที่แตกจากลาต้นหรือก่ิง ห้อยอยู่ใน
อากาศส่วนปลายมสี เี ขียว สังเคราะห์แสงได้ เช่น กลว้ ยไม้
 รากหายใจ (pneumatophore) เป็นรากท่ีแทงตังฉากขึนมาจากผิวดินเพื่อทาหน้าท่ีหายใจ
เชน่ ลาพู ลาแพน ประสัก
 รากเกาะ (climbing root) เป็นรากท่ีแตกออกมาจากข้อของลาต้น เกาะหลัก เสา หรือไม้อ่ืน
เช่น พลู พริกไทย พลูด่าง
 รากสะสมอาหาร (storage root) เป็นรากท่ีมีลักษณะอวบ อุ้มนา เช่น กระชาย แครอท มัน
เทศ มันสาปะหลงั มนั แกว

3. ใบ (Leaf)
3.1 ใบประกอบดว้ ย

 แผ่นใบ (blade หรือ lamina) มีลักษณะเป็นแผ่น มีขนาด รูปร่าง และเนือใบแตกต่างกันไป
แผ่นใบประกอบด้วย 1) เส้นกลางใบ (midrib) 2) เส้นใบ (vein) 3) ปลายใบ (apex) 4) โคนใบ (base) 5) ขอบ
ใบ (margin)

 ก้านใบ (petiole หรือ leaf stalk) ติดกับแผ่นใบตรงโคนใบ ยกเว้นในพืชบางชนิด ก้านใบติด
ลึกมาจากโคนใบ เช่น ใบบัว และถ้าตอนโคนของก้านใบ หรือก้านใบทังหมดแผ่เป็นกาบหุ้มลาต้น เรียกว่า กาบ
ใบ (leaf sheath)

 หูใบ (stipule) เป็นรยางค์หน่ึงคู่อยู่ที่โคนก้านใบ ใบอาจจะมีหูใบหรืออาจจะไม่มีหูใบก็ได้ พืช
บางชนดิ หูใบอาจเปล่ยี นแปลงไปเป็นหนาม

3.2 ชนิดของใบ แบ่งไดด้ ังนี
 ใบเด่ียว (simple leaf) คอื ใบทมี่ แี ผน่ ใบเดยี ว และมีกา้ นใบเดยี ว
 ใบประกอบ (compound leaves) คอื ใบทป่ี ระกอบด้วยแผ่นใบมากกว่า 1 เรียกใบเหล่านีวา่

ใบย่อย ใบประกอบมีหลายแบบ ดงั นี

39

o ใบประกอบแบบขนนก (pinnately compound leaves) เป็นใบประกอบท่มี ใี บย่อยออก
2 ขา้ งของแกนกลาง แบ่งออกเปน็ 3 แบบ ดังนี

1) ใบประกอบแบบขนนก 1 ชัน คือ ใบประกอบขนนกที่มีใบย่อยแตกออกจากแกนกลาง
เพยี งครังเดียว มที งั ที่เปน็ ใบประกอบแบบขนนกปลายค่ี เชน่ กุหลาบ มะเฟอื ง ตะลิงปลิง แคแสด แตถ่ า้ มีใบยอ่ ย
2 ใบ เรียกว่า และใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ เช่น มะขาม ขีเหลก็ แค

2) ใบประกอบแบบขนนก 2 ชนั คอื ใบประกอบแบบขนนกทแ่ี กนกลางแตกแขนงออกเป็น
แกนกลางทส่ี อง แล้วจงึ มีใบย่อยแบบขนนก เช่น ไมยราบ นนทรี หางนกยูงไทย กระถนิ

3) ใบประกอบแบบขนนก 3 ชัน ใบประกอบแบบขนนก 3 ชัน คือ ใบประกอบที่แกนกลาง
ที่สองแตกออกเปน็ แกนกลางทีส่ าม จงึ จะมีใบย่อยแบบขนนก เชน่ ปบี มะรมุ

o ใบประกอบแบบนวิ มือ เปน็ ใบประกอบที่กา้ นใบย่อยทุกใบออกจากตาแหนง่ เดียวกบั ตรง
ปลายก้านใบ มใี บย่อยตังแต่ 2 ใบขนึ ไป

3.3 การเรยี งตัวของเสน้ ใบ (leaf venation) บนแผ่นใบ มี 3 แบบ คอื
 เส้นใบขนาน (parallel vein) ส่วนมากพบในพชื ใบเลยี งเด่ียว มี 2 แบบ คอื
o เสน้ ใบขนานตามความยาวของใบ คือ เสน้ ใบทีเ่ รียงขนานกันตงั แตฐ่ านใบถึงปลายใบ เชน่

ใบหญ้า อ้อย ขา้ วโพด
o เสน้ ใบเรียงขนานกับแบบขนนกคอื เส้นใบทีเ่ รยี งขนานกนั จากเสน้ กลางใบไปสขู่ อบใบ เช่น

กล้วย ขิง ขา่ พทุ ธรักษา
 เสน้ ใบรา่ งแห (netted vein) มี 2 แบบ คอื
o เส้นใบรา่ งแหแบบขนนกคือ เสน้ ใบที่แยกจากเส้นกลางใบทัง 2 ขา้ ง เช่นมะมว่ ง ขนนุ ชบา
o เส้นใบร่างแหแบบนิวมือคือ เส้นใบที่ออกจากจดุ เดียวกนั ทีโ่ คนใบไปถงึ ปลายใบ เชน่

มะละกอ อบเชย ฟักทอง

40

ภาพที่ 2 ภาพข้อมลู พรรณไม้แสดงลักษณะเปลือกลาตน้ ยาง ชนิดของใบ และการเรียงตวั ของใบ
ที่มา: แบบศึกษาข้อมูลพรรณไมใ้ นสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น (2564)

41

3.4 รปู ร่างใบ (leaf shape) ใบมรี ปู รา่ งตา่ งๆ ดังนี
 รูปล่มิ แคบ ใบค่อนข้างสัน สอบแคบจากโคนใบไปยังปลายใบ
 รูปเขม็ ใบเล็กแหลมคล้ายเข็ม
 รปู แถบ ใบยาวและแคบ ขอบใบเกือบจะขนานกนั
 รปู ขอบขนาน ใบมีขอบสองข้างขนานกัน ความยาวเปน็ 2 เทา่ ของความกว้าง
 รปู ใบหอก ใบรปู คล้ายใบหอก โคนใบกวา้ งค่อยๆ แคบสปู่ ลายใบ
 รปู ใบหอกกลบั ใบมีรูปรา่ งคล้ายใบหอกกลับ
 รปู รี ใบมีรูปร่างรี สว่ นกว้างท่ีสุดอยตู่ รงกลางใบ เม่ือแบ่งใบออกเปน็ 2 ส่วนจะได้ 2 ข้างเท่าๆ กัน
 รูปไข่ ใบมรี ูปรา่ งคล้ายไข่ สว่ นกว้างท่สี ุด อย่ตู ่ากว่ากึง่ กลางใบ
 รูปไข่กลับ ใบมรี ูปร่างคล้ายไข่กลับ
 รปู สามเหลีย่ ม ใบมีรปู รา่ งคล้ายสามเหลยี่ ม
 รปู ส่เี หลยี่ มขา้ วหลามตัด ใบมีรปู รา่ งคล้ายส่เี หลยี่ มขา้ วหลามตดั
 รูปไต ใบมีรูปรา่ งคล้ายไต
 รปู วงกลม ใบมรี ปู รา่ งคลา้ ยวงกลม
 รปู หัวใจใบมรี ปู รา่ งคล้ายรปู หัวใจ
 รปู เคยี ว ใบมรี ูปร่างคลา้ ยเคยี วเกยี่ วข้าว
 รูปช้อน ใบมรี ูปร่างคล้ายช้อน

3.5 ปลายใบ (leaf apex) มีลักษณะต่างๆ ดงั นี
 ปลายยาวคล้ายหาง ปลายใบคอ่ ยๆ สอบเข้าหากนั แล้วเรียวแหลมยื่นออกไปคลา้ ยหาง
 ปลายแหลมติ่ง ปลายใบแหลมเป็นต่งิ แข็ง
 ปลายติ่งหนาม ขอบใบทังสองด้านสอบเขา้ ชนกันท่ปี ลาย
 ปลายเรยี วแหลม ปลายแหลม แตต่ รงปลายใบคอดเว้าเข้าหากนั เล็กน้อย
 ปลายมน ปลายใบมน
 ปลายตดั ปลายใบตัด
 ปลายเวา้ บ๋มุ ปลายเว้าเปน็ แอ่งตนื ๆ ตรงกลาง
 ปลายเวา้ ตนื ปลายเว้าหยักลึก

3.6 โคนใบ (leaf base) มีลักษณะตา่ งๆ ดงั นี
 โคนรูปลิ่ม โคนใบเรยี วสอบมาตรงๆ แลว้ จรดกนั คล้ายรปู ล่ิม
 โคนสอบเรยี ว โคนใบค่อยๆ เรยี วสอบลงมาคล้ายก้านใบมีครีบ
 โคนเฉียง หรือเบียว โคนใบไม่เทา่ กันหรือโคนใบเบียว
 โคนมน โคนใบมน
 โคนตดั โคนใบตดั
 โคนรปู หวั ใจโคนใบรูปหัวใจ

42

 โคนรปู เงยี่ งลูกศร โคนใบรปู ลูกศร
 โคนรปู เงี่ยงใบหอก ส่วนโคนจะผายออก

ภาพที่ 3 ภาพข้อมลู พรรณไม้แสดงรปู รา่ งแผ่นใบ ปลายใบ และโคนใบ
ทม่ี า: แบบศกึ ษาข้อมูลพรรณไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (2564)

43

3.7 ขอบใบ (leaf margin) มลี กั ษณะตา่ งๆ ดังนี
 ขอบใบเรียบ
 ขอบใบเป็นคลืน่
 ขอบใบหยักหรือมน
 ขอบใบจักซี่ฟัน
 ขอบใบจักฟันเล่ือย
 ขอบใบจักเป็นพู
 ขอบใบจักแบบขนนก
 ขอบใบแฉกแบบนวิ มือ

3.8 เนอื ใบ (leaf texture) มีลกั ษณะตา่ งๆ ดังนี
 ใบอวบนา
 ใบคลา้ ยแผ่นหนัง
 ใบคล้ายกระดาษ
 ใบบางคลา้ ยเย่ือ

3.9 การเรยี งใบ (Phyllotaxy) มลี ักษณะต่างๆ ดังนี
 เรยี งสลบั ระนาบเดยี ว ใบเรยี งสลบั ระนาบเดยี วกันบนกิ่งอย่างมีระเบยี บช่วงระยะห่างเทา่ กัน
 เรยี งตรงข้าม ใบเรยี งตรงข้าง ใบเรียงตรงข้ามกันบนกิ่งในระนาบเดยี วกนั
 เรียงตรงข้ามสลับตงั ฉากใบเรียงตรงข้ามกันบนก่ิง แต่ละคตู่ ังฉากซ่ึงกนั และกัน
 เรยี งเป็นกระจุกใบ เรยี งเปน็ กระจุกบนกิ่ง
 เรียงวงรอบ ใบเรียงเปน็ วงรอบท่ีจดุ เดยี วกันบนก่ิง มากกว่า 2 ใบขนึ ไป

3.10 สงิ่ ปกคลุมใบ (indumentum) มีลกั ษณะต่างๆ ดังนี
 เกลยี ง ผวิ ใบเรียบเกลยี งไมม่ ีสิ่งปกคลุม
 ขนสนั นุ่ม ผวิ ใบมขี นสนั นมุ่
 ขนกามะหย่ี ผิวใบมขี นยาวนุ่ม ตรง หนาแน่นคลา้ ยกามะหยี่
 ขนสันหนานมุ่ ผิวใบมขี นยาวนุม่ หงกิ งอไปกบั ผวิ ใบ
 ขนหยาบแข็ง ผิวใบมีขนหยาบแข็ง
 ขนรูปดาว ผวิ ใบมขี นรปู ดาว
 หนาม เกดิ จากผิว ผิวใบมีหนามแข็ง โคง้ คลา้ ยหนามพุทรา

44

ภาพที่ 4 ภาพข้อมูลพรรณไม้แสดงขอบใบ ดอก ชนดิ ของชอ่ ดอก ตาแหนง่ ท่ีออกดอก และกลบี เลียง
ที่มา: แบบศกึ ษาข้อมลู พรรณไม้ในสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น (2564)

45

4. ดอก (flower)
4.1 ดอก มสี ว่ นประกอบ 4 วงคือ

 วงกลีบเลยี ง ประกอบด้วย กลีบเลยี ง (sepal)
 วงกลีบดอก ประกอบด้วย กลีบดอก (petal)
 วงเกสรเพศผู้ ประกอบดว้ ย เกสรเพศผู้ (stamen)
 วงเกสรเพศเมีย ประกอบดว้ ย เกสรเพศเมยี (pistil)
ดอกของพืชทมี่ ีครบทัง 4 วงนี เรียกว่า “ดอกสมบรู ณ์” และดอกท่ีขาดวงใดวงหนง่ึ ไป เรียกวา่ “ดอกไม่
สมบรู ณ์” ส่วนดอกทีม่ ีทังเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียอย่ใู นดอกเดียวกันเรยี กว่า “ดอกสมบรู ณเ์ พศ” และดอกที่
ขาดเพศใดเพศหน่งึ ไป เรยี กว่า “ดอกเพศเดียว” แบ่งออกเปน็

o ดอกเพศผู้ (staminate flower) เปน็ ดอกที่มแี ต่เกสรเพศผู้
o ดอกเพศเมยี (pistillate flower) เปน็ ดอกที่มแี ต่เกสรเพศเมยี
พวกดอกเพศเดียวนี ถ้าดอกเพศผู้ และดอกเพศเมยี อยู่บนต้นเดียวกัน เรยี นว่า “ดอกต่างเพศร่วมตน้ ”
เชน่ สนทะเล ถา้ ดอกเพศผู้และดอกเพศเมียอยู่คนละต้น เรียกวา่ “ดอกต่างเพศต่างต้น” เชน่ สนประดิพัทธ์
4.2 ชนิดของดอก แบ่งเป็น
 ดอกเดย่ี ว (solitary flower) คือ บนก้านดอก มีดอกเพยี งหนง่ึ ดอก
 ชอ่ ดอก (inflorescence) คือ บนก้านดอก มดี อกมากกว่าหน่ึงดอก ตดิ บนแกนกลางทีเ่ รียกว่า
rachis ช่อดอกมีแบบตา่ งๆ ดังนี
o ชอ่ เชิงลด ชอ่ ดอกทีด่ อกย่อยไม่มกี า้ น
o ชอ่ กระจะ ช่อดอกทดี่ อกยอ่ ยมกี ้าน
o ชอ่ หางกระรอก ช่อดอกแบบแบบไม่มกี ้านดอกย่อย แต่ดอกมักจะมีเพศเดียว ชอ่ เกิดบนก่ิง
ห้อยลง
o ชอ่ ซีร่ ม่ ชอ่ ดอกทก่ี ้านดอกยอ่ ยทกุ ดอกยาวเทา่ กนั และออกจากจุดเดยี วกัน
o ช่อกระจุกแน่น ช่อดอกที่ดอกอัดแน่นอยู่บนฐานดอกรูปถ้วย หรือรูปจาน เช่น ช่อดอก
ทานตะวัน
o ช่อกระจกุ ซอ้ น ช่อดอกที่ปลายช่อมีดอกย่อยแตกออกเปน็ จานวน 3 ดอก
o ช่อกระจุก ช่อดอกแตกแบบ dichasium ก้านดอกย่อยเจริญขันมาเกือบอยู่ในระดับ
เดียวกัน
o ช่อแยกแขนง ชอ่ ดอกที่แตกแขนง
o ชอ่ เชงิ หลั่น ชอ่ ดอกที่ดอกยอ่ ยสง่ กา้ นยาวออกไปอยู่ในระดับเดียวกนั
o ช่อเชิงลดมีกาบ ช่อดอกแบบไม่มีก้านดอกย่อย ที่มีดอกแยกเพศ ติดอยู่กับแกนขนาดใหญ่
มีกาบหุม้ ช่อดอก เชน่ ชอ่ ดอกหนา้ ววั

46

ภาพที่ 5 ภาพข้อมูลพรรณไม้แสดงกลีบดอก เกสรเพศผู้ เกสรเพศเมยี กลิ่น และชนดิ ของผล
ที่มา: แบบศกึ ษาข้อมลู พรรณไม้ในสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น (2564)

47

5. ผล (fruit)
5.1 ผลมหี ลายประเภท ดงั นี

 ผลเด่ียว (simple fruit) ได้แก่ ผลท่ีเกิดจากดอกเดียว ซึ่งมี carpel เดียว หรือหลาย Carpel
เชอ่ื มติดกนั กไ็ ด้

 ผลกลุ่ม (aggregate fruit) ได้แก่ ผลที่เกิดจากดอกเดียว ซึ่งมาจากหลายcarpel แยกจากกัน
รังไข่แต่ละอันก็เจริญเป็นผลเดี่ยว 1 ผล ซ่ึงเบียดติดกันเป็นกลุ่มหรือกระจุกดูคล้ายๆ กับว่าเป็นผลเดียว เช่น
นอ้ ยหน่า กระดงั งา สตรอเบอรี่ หวาย

 ผลรวม (multiple fruit) ได้แก่ ผลที่เกิดจากช่อดอกซ่ึงเบียดกันแน่นเม่ือเป็นผล ดูคล้ายผล
เด่ียว เชน่ ขนนุ สาเก ยอ สับปะรด

6. เมลด็ (seed)
6.1 เมล็ด คือ ถุงหุ้มไข่ (ovule) ทเี่ จริญขึนมาหลังจากที่ได้รับการปฏิสนธิ ประกอบดว้ ย

 เปลือกเมลด็ (seed coat)
 เอนโดเสปิร์ม (endosperm) เปน็ เนือเย่อื ทีเ่ ก็บสะสมอาหารอยนู่ อกเอมบริโอ เมล็ดของพืช
บางชนดิ อาจไม่มเี อนโดเสปริ ม์ เชน่ กลว้ ยไม้
 เอมบริโอ (embryo) เป็นตน้ ออ่ นอยู่ในเมล็ด ประกอบดว้ ย

o ใบเลยี ง คอื ใบแรกของต้นอ่อน
o ลาตน้ เหนอื ใบเลยี ง คอื สว่ นท่ีอยู่เหนือใบเลียง ขณะอยู่ในเมลด็ สว่ นนจี ะเจรญิ เป็นยอดอ่อน
o ลาต้นใต้ใบเลยี งคือ ส่วนทีอ่ ยใู่ ตใ้ บเลียง ขณะอยู่ในเมล็ด ส่วนนีจะเจริญเป็นลาต้น
o รากแรกเกิด คือ ส่วนทอ่ี ยลู่ ่างสุดจะเจริญเป็นรากอ่อน

7. เอกสารอ้างองิ
กอ่ งกานดา ชยามฤต. 2541. คมู่ ือจาแนกพรรณไม้. กรุงเทพฯ: ไดมอนด์ พรินติง.
แบบศึกษาข้อมลู พรรณไม้ในสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น. 2564. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก:
http://www.rspg.or.th/botanical_school/pdf/doc_pics/P-0%20copy.jpg (วนั ทคี่ น้ ข้อมูล: 1

มนี าคม 2564).


Click to View FlipBook Version