The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารสรุปบทเรียน โครงการอพ.สธ. ศพช.สระบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by CDDTree.S, 2022-05-06 00:10:41

เอกสารสรุปบทเรียน โครงการอพ.สธ. ศพช.สระบุรี

เอกสารสรุปบทเรียน โครงการอพ.สธ. ศพช.สระบุรี

48

1.5 ความหลากหลายทางชีวภาพและสถานภาพปา่ ไม้ของประเทศไทย

(อ.คณติ ธนธู รรมเจริญ)
ป่าเขตร้อน (tropical forest) มีเฉพาะบริเวณเส้นศูนย์สูตรรอบโลก ครอบคลุมป่าประเภทต่าง ๆ เช่น
ป่าดงดิบ ป่าดิบชืน ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง เป็นต้น ป่าเขตร้อนมีพืนที่ประมาณร้อยละ 7 ของพืน
ที่ดินทังหมดของโลก แต่ป่าเขตร้อนจัดว่าเป็นพืนท่ีที่มีความอุดมสมบูรณ์มากมายไปด้วยสิ่งมีชีวิตนานาชนิดไม่
น้อยกวา่ ร้อยละ 50 ของส่ิงมชี วี ิตทังหมดของโลก และปา่ ไม้ประเทศไทยกอ็ ยู่ในเขตปา่ เขตรอ้ นท่มี ีความมั่งคั่งทาง
ทรพั ยากรชวี ภาพดว้ ยเช่นกนั
ป่าดงดิบ หรือป่าดิบชืน (Tropical Rain Forest) จัดเป็นป่าประเภทไม่ผลัดใบ ผืนป่าจะมีสีเขียวตลอด
ทงั ปี ต้นไม้ไมผ่ ลัดใบในฤดแู ล้ง เนื่องจากปริมาณนาฝนในบริเวณนีจะมีปริมาณนาฝนค่อนข้างมาก มีความชมุ่ ชืน
ในดินค่อนข้างสูงสม่าเสมอตลอดปี เป็นป่าที่อยู่ในเขตมรสุมพัดผ่านเกือบตลอดปี ลักษณะพืนท่ีอยู่บริเวณที่ราบ
ลุ่ม ที่ราบเชิงเขาท่ีมีระดับความสูงจากระดับนาทะเลปานกลาง ประมาณ 0 – 100 เมตร บางครังอาจพบอยู่ท่ี
ระดับ 250 เมตร ปริมาณนาฝนไม่น้อยกว่า 2,000 มม./ปี พบมากทางภาคใต้ของประเทศไทย และแถบป่า
ตะวันออก เช่น จังหวัดระยอง จันทบุรี และตราด ลักษณะท่ัวไปเป็นป่ารกทึบ ประกอบด้วยพันธ์ุไม้มากมาย
หลายชนิด ต้นไม้ชันบนเป็นไม้ในวงศ์ยางเป็นไม้เด่น สูงใหญ่ ตังแต่ 30 – 50 เมตร ไม้ชันกลาง ได้แก่ หลุมพอ
สะตอ ยวน หยี อินทนิล สัตตบรรณ ไม้ชันล่าง เช่น ระกา หวาย ไผ่ เถาวัลย์ พืชอิงอาศัยท่ีมักพบ เช่น จาพวก
เฟริ น์ มอส เห็ด ราชนิดตา่ ง ๆ เป็นตน้
ป่าดิบเขา (Hill Evergreen Forest) เป็นป่าท่ีอยู่สูงกว่าระดับนาทะเลตังแต่ 1,000 เมตรขึนไป ส่วน
ใหญ่อยู่บนเทือกเขาสูงทางภาคเหนือ และบางภาคในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีปริมาณนาฝน
ระหว่าง 1,000 – 2,000 มม.ต่อปี พืชท่ีสาคัญได้แก่ไม้วงศ์ก่อ เช่น ก่อสีเสียด ก่อตาหมู อบเชย กาลังเสือโคร่ง
บางครังก็มีป่าสนเขาขึนปะปนอยู่ด้วย ไม้พืนล่างเป็นพวกเฟิร์น พืชตระกูลขิงข่า กล้วยไม้ดินและมอส ป่าชนิดนี
มกั เปน็ ปา่ ตน้ นาลาธาร สตั วท์ ่อี าจพบเหน็ ได้ เชน่ เสอื โคร่ง กวางป่า หมปู ่า นกเงอื ก
ป่าดิบแล้ง (Dry Evergreen Forest) มีอยู่ท่ัวไปตามภาคต่าง ๆ ของประเทศ ตามบริเวณที่ราบเรียบ
หรือตามหุบเขา มีระดับความสูงจากระดบั นาทะเลประมาณ 100 – 800 เมตร กระจายพืนทบ่ี รเิ วณเทือเขาถนน
ธงชัย จากจังหวัดชุมพรถึงภาคเหนือ ภาคตะวันออกปกคลุมบริเวณเทือกเขาดงพญาเย็น ไปจนถงึ จังหวดั ระยอง
มีปริมาณนาฝนเฉล่ียระหว่าง 1,000 – 1,500 มม.ต่อปี โครงสร้างท่ัวไปจะมีเรือนยอดไม้ปกคลุมต่อเน่ืองกัน มี
พันธ์ุไม้ที่สาคัญ เช่น ยางแดง มะค่าโมง กระบาก ตะเคียนหิน เค่ียมคะนอง ไม้ผลัดใบ เช่น ตะแบก สมพง
มะค่าโมง พยุง ไมช้ ันล่างจะไมห่ นาแนน่ ค่อนข้างโล่งเตยี น ไมพ้ ่มุ กล้วยไม้ และเถาวลั ย์ ป่าชนดิ นีมีคุณคา่ ท้องถิ่น
ใช้เป็นแหล่งอาหารและเก็บหาของป่า พืชสมุนไพร เช่น เร่ว กระวาน และว่านต่าง ๆ ป่าดิบแล้งเปน็ สังคมพชื ไม่
ผลัดใบผสมกับไม้ผลัดใบในช่วงฤดูแล้ง ดินลึกเก็บนาได้ดีพอสมควร สัตว์ป่าที่พบ เช่น ลิง ชะนี กระทิง วัวแดง
เนอื ทราย ไก่ฟ้าพญาลอ เปน็ ตน้
ป่าเบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest) มีไม้เด่น 5 ชนิด ได้แก่ ไม้สัก มะค่า แดง ประดู่ และ
ชิงชัน ป่าชนิดนีอยู่ในบริเวณท่ีมีฤดูกาลแบ่งแยกชัดเจน มีปริมาณนาฝนเฉลี่ย 1,200 – 1,400 มม.ต่อปี อยู่ท่ี
ระดับความสูงจากระดับนาทะเลปานกลางประมาณ 50 – 800 เมตร ต้นไม้ในป่านีเกอื บทังหมดเปน็ ไมผ้ ลดั ใบใน
ฤดูแล้ง พรรณไม้ท่ีสาคัญ เช่น ประดู่ ชิงชัน มะค่าโมง แดง ไผ่ไร่ ไผ่ซางดอย ไผ่หก สมอภิเพก เปล้าหลวง ส้าน

49

เป็นต้น สังคมพืชไม้ต้นจะยืนต้นอยู่ห่างกันทาให้เกิดช่องแสงตกถึงพืนได้มากจึงมีพืชตระกูลหญ้าหลายชนิด ฤดู
แล้งมักเกดิ ไฟป่า

ป่าเต็งรัง (Dry Dipterocarp Forest) ลักษณะท่ัวไปเป็นป่าโปร่ง พืนดินแห้งแล้งเป็นดินร่วนปนทราย
กรวด ดินลูกรัง ดินตืน พบทั่วไปบริเวรพืนท่ีราบและภูเขา ชนิดไม้สาคัญได้แก่ เต็ง รัง เหียง พลวง พะยอม ติว
แต้ว มะค่า ประดู่ มะขามป้อม มะกอก ผักหวาน สมอไทย ตะแบก แสลงใจ รกฟ้า ไม้พืนล่างเป็นหญ้าชนิดต่าง
ๆ หญ้าเพ็ก ปรง กระเจียว เปราะ มะพร้าวเต่า ปุ่มเป้ง ป่าชนิดนีมีอยู่มากทางภาคเหนือ ภาคกลาง และภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนือ

ปา่ ชายเลน (Mangrove Forest) เป็นกลมุ่ สงั คมพืชบรเิ วณเขตนาทะเลขึนสงู สุดและนาลงสงู สุด บริเวณ
ตีนเขา รมิ ชายฝงั่ ทะเล ปากอ่าว ปากนา เป็นสังคมพืชทม่ี ใี บเขียวตลอดทังปี ส่วนใหญ่เป็นไมส้ กุลโกงกาง ไม้สกุล
อื่นที่พบ เช่น ถ่ัวดา ถั่วขาว พังกาหัวสุมดอก โปรงแดง ตะบูนดา ตะบูนขาว แสมทะเล ลาพู ลาพูทะเล เหงือก
ปลาหมอ เป็นต้น สภาพแวดล้อมท่ัวไปโดยเฉพาะดนิ มีความอุดมสมบูรณ์สูงจากธาตอุ าหารที่มาจากการกัดเซาะ
ตามชายฝ่ัง และแหลง่ นาลาธาร สารอินทรียจ์ ากซากพืชซากสตั ว์โดยเฉพาะใบไม้ที่ร่วงหลน่ ทบั ถมจานวนมาก แพ
ลงค์ตอนพืช สาหร่าย สัตว์ตา่ ง ๆ ไดร้ ับอิทธิพลจากสภาพแวดล้อมต่างไปจากสัตวป์ า่ บก สัตว์ทสี่ าคัญได้แก่ หอย
ปู กุ้ง หนอนตัวกลม หนอนตัวแบน ไส้เดือนทะเล เป็นต้น ความอุดมสมบูรณ์ของสภาพแวดลอ้ มป่าชายเลนเป็น
ทีว่ างไขแ่ ละอนุบาลตวั อ่อนและท่อี ยู่อาศัยของสัตว์นามีค่าทางเศรษฐกจิ หลายชนิด

สถานภาพปา่ ไมป้ ระเทศไทย
ประเทศไทยมีพืนท่ีทังหมดประมาณ 513,115 ตร.กม. ครอบคลุมพืนท่ีป่าเขา ที่ราบ และชายฝ่ัง เม่ือ
ประมาณ 100 ปีที่แล้ว ประเทศไทยมปี า่ คดิ เปน็ ร้อยละ 70 ของพืนท่ีทังหมดของประเทศ พืนท่ีปา่ ได้ลดลงในชว่ ง
ทศวรรษ 2490 เหลือประมาณร้อยละ 60 และเม่ือเริ่มมีแผนพัฒนาประเทศในปี พ.ศ. 2504 พบว่าพืนท่ีป่ามี
เหลืออยู่ประมาณร้อยละ 53 จากนันพืนท่ีป่าก็ลดลงอย่างต่อเน่ืองเป็นต้นมา ปัจจุบันประเทศไทยมีพืนที่ป่าอยู่
ประมาณรอ้ ยละ 26 ของพืนท่ปี ระเทศไทย
การสูญเสียพืนที่ป่าไม้ ซึ่งเป็นแหล่งอาศัยของสังคมความหลากหลายท่ีมีถ่ินอาศัยทางบก (terrestrial
habitat) ถิ่นอาศัยทางนา (aquatic habitat) ซึ่งอาจเป็นระบบนิเวศนาจืด (freshwater ecosystem) ระบบ
นิเวศนาเค็ม (marine ecosystem) และยังมีถิ่นอาศัยลักษณะพิเศษท่ีเป็นเอกลักษณ์ ได้แก่ ป่าพรุ ป่าบุ่ง ป่า
ทาม พืนทช่ี ุมนา สิง่ มีชวี ิตท่มี ีถิ่นอาศัยอยใู่ นบริเวณระบบนิเวศที่สูญเสียไปยอ่ มได้รับผลกระทบทังเชิงคุณค่าและ
เชงิ ปรมิ าณ และยากที่จะประเมินได้วา่ ส่ิงมีชวี ติ หลากหลายนันจะสามารถดารงชวี ิตอยรู่ อดได้

1.6 ความหลากหลายของพน้ื ท่ีเกษตร (อ.ดร.ปฏภิ าณ สิทธิกุลบุตร)

ความหลากหลายทางชีวภาพด้านการเกษตร เป็นส่วนช่วยระบบการผลิตทางการเกษตรท่ีให้มีความ
สมดุลระบบนิเวศธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพในพืนท่ีเกษตร ช่วยให้มีทรัพยากรที่หลากหลายในไร่
นา สวนของเกษตรกร นอกจากนันจะสรา้ งสมดลุ ในดา้ นความอุดมสมบูรณข์ องดิน ของนา และสภาพสิง่ แวดล้อม
ในไร่นาสวนได้

ความหลากหลายทางชีวภาพในด้านการเกษตร สามารถประเมินหรือตรวจสอบในพืนท่ีของเกษตรกร
ไดค้ ือ

50

1. ชนิดของความหลากหลายของพันธุกรรมพืช หรือสัตว์ท่ีมีอยู่ในพืนที่ ท่ีเกษตรกรจะนามาใช้ใน
การดารงชวี ติ

2. ปรมิ าณมากน้อยของพชื ที่ใชเ้ ป็นอาหารหรอื ใช้ประโยชน์
3. สัตว์ที่อาศัยในพืนที่และที่ให้เป็นอาหารได้ เช่น สัตว์เลียงในพืนท่ี และสัตว์ท่ีอาศัยในนาของ
แปลงเกษตรกร
4. ส่ิงมีชีวิตต่างๆ ท่ีอยู่ในดิน ไม่ว่าจะเป็นสัตว์ท่ีสามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า หรือสัตว์ขนาดเล็ก
รวมถึงแมลงต่างๆ เช่น ไสเ้ ดือนดนิ จงิ หรีด หรืออ่ืนๆ ทท่ี าหน้าทหี่ มุนเวยี นทรัพยากรในพืนท่ีให้มกี ารดารงอยู่ได้
อย่างมีสมดลุ และบางชนิดชว่ ยในการหมนุ เวียนธาตอุ าหาร ยอ่ ยสลาย หรอื เปน็ อาหารในระบบนิเวศนนั ๆ
5. ส่งิ มีชีวิตท่มี องไมเ่ ห็นดว้ ยตาเปล่า เชน่ จลุ ลนิ ทรีย์ พวกแบคทเี รีย เชือรา ยีนส์ สาหรา่ ย ท่ีช่วย
ในการย่อยสลายหรอื ปล่อยปลอ่ ยธาตอุ าหาร รวมทังเชือจุลนิ ทรยี ท์ ี่มีประโยชน์ต่อพชื และสัตว์อื่นๆ
6. ระบบนิเวศหรือระบบเกษตรอ่ืนๆ ท่ีสร้างความสมดุลในแต่ละพืนที่ เช่น ระบบนิเวศชุ่มนา
ระบบนิเวศสวนหลงั บา้ น ระบบนเิ วศทล่ี ุ่มเช่น นา สวนผัก ระบบนเิ วศทด่ี อน (ระบบนิเวศทมี่ ีข้อจากดั ในเรื่องนา)
ตอ้ งอาศยั นาฝน เชน่ การปลูกพืชไร่ หรือไม้ผล ระบบนิเวศพืนทส่ี ูงเปน็ แหลง่ ของวนเกษตรหรือเปน็ พนื ทขี่ องป่า
7. ความหลากหลายของทรัพยากรป่าไม้ เป็นแหล่งของสายพันธุ์สัตว์และพืชจากป่า ท่ีนามาใช้
ประโยชนแ์ ละรกั ษาสมดลุ ของธรรมชาตทิ ่ีพงึ่ พาตนเอง
8. ความหลากหลายขององคค์ วามรู้และภมู ิปัญญา ทนี่ ามาให้การวางแผนการผลิตหรือการจัดการ
ในพืนท่ีของแปลงเกษตรกรหรือของชุมชน ที่มีการส่งต่อจากบรรพบุรุษหรือสืบต่อกันมาเป็นภูมิปัญญา หรือ
ความหลากหลายของความรใู้ หมท่ ี่นามาประยุกต์และปรับใช้ในพนื ที่นัน ๆ

ความเช่ือมโยงของทรพั ยากร และคุณค่าความหลากหลาย

1. ความสัมพนั ธ์ เชื่อมโยง ดิน นา้� ป่า (อ.คณติ ธนูธรรมเจริญ)

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลผลิตและการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตหลากหลายพืชและสัตว์นัน มีความ
สลับซับซ้อนแตกต่างกันไปเฉพาะที่เฉพาะแห่งท่ีเป็นองค์ประกอบและตัวจากัดของส่ิงแวดล้อม ได้แก่ ปัจจัย
แวดล้อมลมฟ้าอากาศ นาฝน แสง อุณหภูมิ บรรยากาศ ลม ดิน ภูมิประเทศ ส่ิงมีชีวิต และไฟ อันเป็นปัจจัย
เก่ียวเนื่องสัมพันธต์ ่อการเปลยี่ นแปลงในระบบนเิ วศธรรมชาติ

น้าฝน ปัจจัยลมฟ้าอากาศปริมาณนาฝน ความหนักเบาของฝนที่ตก ระยะเวลาท่ีฝนตก การกระจาย
ตัวของฝน มีส่วนสัมพันธ์กับลักษณะฝน ความชืนในบรรยากาศ และในดิน อัตราการสูญเสียนาเน่ืองจากการ
ระเหย และการคายนาของพืช ตลอดจนลักษณะพืนท่ีของแหล่งนาต่าง ๆ จะเป็นตัวบ่งชีถึงสภาพและระดับ
ความแห้งแล้ง ความชุ่มชืนของพืนที่ รวมทงั เป็นปัจจัยจากดั ตอ่ ชนิดของสงั คมพืช ความอุดมสมบูรณท์ ่ีผลต่อการ
เจริญเติบโต คุณภาพผลผลิตของสังคมส่ิงมีชีวิต การเคล่ือนย้ายธาตุอาหาร กระบวนการทางสรีระวิทยาของ
สิ่งมีชวี ิต เช่นความอุดมสมบูรณข์ องทงุ่ หญ้าเลยี งสัตว์ส่งผลต่อผลติ ผลสัตว์ในรูปเนอื นม ขน เขาและหนงั เพ่ิมขึน
ด้วย

51

แสง คอื สว่ นหน่ึงของพลังงานจากแสงพระอาทิตย์ ปริมาณความเข้มข้นของแสง ระยะเวลาของแสง
ทส่ี ่องลงมายังพนื ที่อยู่อาศัยพืนทห่ี นึ่งพืนท่ีใด เปน็ ปัจจัยสาคัญตอ่ การอย่รู อดของพืชและสิ่งมีชีวติ ทังปวง พืชแต่
ละชนิดมีความต้องการแสงแตกต่างกนั พืชบางชนิดต้องการแสงสว่างมาก ๆ ในการเจริญเติบโต เช่น ไม้สัก บาง
ชนิดเจริญเติบโตไดด้ ีในพืนที่ใต้รม่ เงา ไมต่ ้องการแสงมากนัก เช่น ไมช้ ันล่างในสังคมพืชป่าไม้ คุณภาพของแสงที่
เหมาะสมกับกระบวนการสังเคราะห์แสง สง่ ผลตอ่ ประสทิ ธิภาพของพืชในการตรงึ พลงั งานจากแสง

อุณหภูมิ เปน็ ปัจจยั ต่อกระบวนการทางสรีรวิทยาของพืช ซึ่งมผี ลต่อการเจริญเตบิ โตและการดารงชีวิต
ของพืช อุณหภูมิมีอิทธิพลต่อความชืน อุณหภูมิต่ามาก ๆ นาจะกลายเป็นนาแข็งจนพืชไม่สามารถนาไปใช้
ประโยชน์ได้ ส่วนอุณหภมู ิสูง ๆ จะทาให้การคายระเหยและการคายนามมี าก ทาให้เกิดการสูญเสียนาเปน็ เหตุให้
เกิดความแห้งแล้ง ปรมิ าณความชืนท่ีเหมาะสมมีอิทธพิ ลตอ่ ระบบรากพืชตืนและอยู่ในระยะงอกใหม่ ๆ อุณหภูมิ
เป็นปัจจัยท่ีทาให้เกิดการแบ่งเขตการกระจายของสังคมพืช เช่น พืชในเขตทะเลทรายจะมีความทนทานต่อ
อุณหภูมิสูง ความผันแปรของอุณหภูมิเนื่องจากความสูงเหนือระดับนาทะเล ตาแหน่งเส้นรุ้งเส้นแวง และด้าน
ความลาดเทของพืนที่ ในพนื ท่ีภูเขาสูงมกั จะมีอณุ หภมู ติ ่า พืชท่ขี ึนอยู่ได้จึงเปน็ พืชพวกชอบอณุ หภมู ิตา่ สว่ นพืชท่ี
ขึนอยู่ในระดับต่ามักจะถูกควบคุมโดยปริมาณความชืนมากกว่าอุณหภูมิ พืชใกล้เส้นศูนย์สูตรหรือเขตร้อนจะ
แตกต่างกับพืชท่ีขึนอยู่ในเขตอบอุ่นหรือในพืนท่ีเขตหนาว ด้านความลาดเทของพืนท่ีที่หันทางด้านทิศตะวันตก
และทิศใต้ จะรับแสงได้มากกว่าและมีอุณหภูมสิ ูงกว่าด้านลาดเทที่หนั ทางทิศตะวันออกและทิศเหนือ พืชท่ีขึนใน
แต่ละด้านลาดเทจะได้รับอิทธิพลจากอุณหภูมิของพืนท่ีที่แตกต่างกัน อุณหภูมิในดินนับว่ามีความสาคัญต่อการ
งอกของเมล็ด และการเจริญเติบโตของกล้าไม้ มีปจั จัยอีกหลายอย่างที่มีอทิ ธิพลต่ออุณหภูมิในดิน เช่น สขี องดิน
ความชืนในดิน สภาพของเรือนยอด ระดับความสูง ปริมาณและคุณภาพของแสงที่ส่องถึงพืนดิน คุณลักษณะ
เหลา่ นีจะช่วยอธบิ ายเกย่ี วกบั การกระจายและการรวมกลุ่มของสังคมพืชได้ไม่น้อย

บรรยากาศ มคี วามสาคญั ในการสกัดกันรังสีทเ่ี ปน็ อันตรายต่อสิ่งมีชวี ิตใหเ้ บาบางลง ขณะเดียวกนั กท็ า
หน้าทใ่ี นการถ่ายเทและควบคมุ ความร้อนในพนื ท่ีให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสมสาหรบั ที่อยู่อาศยั ของส่ิงมชี ีวิต ปกติ
ส่วนประกอบของก๊าซในชันบรรยากาศ ณ ท่ีแห่งหน่ึงแห่งใดในโลกนีจะคงที่เสมอ ถึงแม้จะมีการเปล่ียนแปลง
บา้ ง เช่น บรรยากาศเหนือเมืองใหญ่ ๆ หรือเหนือบริเวณผืนป่าไม้ที่กว้างใหญ่ไพศาล ในบรรยากาศจะประกอบ
ไปดว้ ยกา๊ ซตา่ ง ๆ โดยเฉพาะไนโตรเจน (78.09%) และออกซิเจน (20.93%) เมอ่ื รวมกนั แล้วมีถึงรอ้ ยละ 99 ของ
ปริมาณก๊าซในบรรยากาศ ไนโตรเจนจะเป็นประโยชน์ต่อพืชต่อเม่ืออยู่ในรูปของสารประกอบไนเตรท ส่วนก๊าซ
คารบ์ อนไดออกไซดถ์ ึงจะมีอยู่น้อยแตก่ ็มีบทบาทต่อการสังเคราะหแ์ สงของพชื ออกซิเจนเปน็ ก๊าซสาคัญต่อระบบ
การหายใจของสิ่งมีชีวิตทังพืชและสัตว์ และเกิดขึนตลอดเวลา นอกจากนันปริมาณไอนาในบรรยากาศซึ่งวัดค่า
เป็นความชืนสัมพัทธ์ (สัดส่วนของปริมาณความชืนที่มีอยู่ในบรรยากาศต่อปริมาณความชืนท่ีสามารถมีได้สูงสุด
ในบรรยากาศนัน ณ อุณหภูมิทก่ี าหนดให้) ผลิตผลสูงสุดของพืชในเขตแห้งแล้งเขตอบอ่นุ จะให้ผลผลิตดีกว่าเขต
แหง้ แลง้ ในแถบร้อนซึง่ มีความชืนสัมพัทธ์น้อยกว่า

ลม เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มีความสาคัญในการช่วยพัดพากระแสอากาศทังร้อนทังเย็น ตลอดจนเมฆ
หมอกจากที่หน่ึงไปสู่อีกที่หน่ึง ทาให้เกิดฝนกระจายตัวไปตามทิศทางท่ลี มพัดผ่าน เช่น มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ท่ี
พัดผ่านประเทศไทยมกั จะพัดพาเอาพายุฝนมาตกด้วยเสมอ ลงเป็นสาเหตหุ นึง่ ท่ีชว่ ยเพ่ิมอตั ราการระเหยและพัด
พาเอาหน้าดนิ ทอี่ ุดมสมบูรณ์ไปดว้ ย โดยเฉพาะในบริเวณท่ีมีอากาศแห้งแลง้ ลมจะทาใหอ้ ากาศแห้งมายง่ิ ขึน ซึ่ง

52

จะมีผลต่อผลผลิตและการเจริญเติบโตของพืชได้ บริเวณชายฝ่ังทะเลมักจะมีลมแรงทาให้เกิดเนินทรายเคล่ือนที่
หรือทาให้ต้นไม้หักเสียหาย บนเขาสูงต้นไม้มักจะเตีย แคระแกรนและลู่ไปตามแนวทิศกระแสลม เพราะกระแส
ลมเป็นอุปสรรคต่อการปรุงอาหารและการเจริญของตา ใบ และกิ่งก้านของต้นไม้ บริเวณทุ่งหญ้าท่ีโล่งเตียน
มักจะมกี ระแสลมพัดแรงและพัดอย่างต่อเน่ืองตลอดเวลาทาใหอ้ ากาศโปร่ง ปราศจากเมฆหมอก ปริมาณแสงจึง
มีมาก และในขณะเดียวกันอุณหภูมกิ ็จะสูง อัตราการสญู เสียนาจากการคายระเหยจะสูงตามไปดว้ ย ประกอบกับ
ทงุ่ หญ้ามักจะเกิดไฟไหม้เสมอ เขตทงุ่ หญ้าจึงแห้งแลง้ ท่ีอยู่ระหว่างทะเลทรายกับปา่ ไม้ นอกจากนนั กระแสลมยัง
เป็นปัจจัยต่อการกระจายพันธ์ุของพืชด้วยการพัดพาเมล็ดปลิวไปตามลมเป็นระยะทางไกล ๆ ส่วนใหญ่จะเป็น
พืชประเภทมีเม,ดเล็กและเบา เช่น สปอร์ของพวกมอส เห็ด รา พืชบางชนิดมีขนตามเปลือกห่อหุ้มเมล็ด เช่น
ผกั ชี สาปเสือ ยาง ตะเคียน เต็ง รงั เหยี ง พลวง เม,ดจะมปี ีกชว่ ยให้ลมพัดพาไปไดส้ ะดวกขึน

ดิน เป็นวัตถุส่ือกลางเช่ือมโยงระหว่างส่ิงมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตในระบบธรร มชาติ ดินมี
องคป์ ระกอบในส่วนท่ีเป็นเนือดนิ อินทรยี วัตถุ นา อากาศ และสิ่งมีชีวิตที่อาศยั อยูใ่ นดิน นักปฐพีวิทยาได้แบง่ ดิน
ท่ีพัฒนาสมบรู ณ์แล้วเปน็ ประเภทตา่ ง ๆ ตามปัจจัยของดินฟา้ อากาศ เป็น 3 ประเภท คอื

1) ดินในเขตอบอุ่นท่ีมีความชืนสูง (Podzol soil) เป็นที่อยู่ของป่าไม้จาพวกไม้สน ไม้สนผสมไม้ใบ
กว้าง พืนป่ามีเศษกิ่งไม้ใบไม้ทับถมผุย่อยสลายอยู่มาก ทาให้ดินมีความเป็นกรดสูง pH อยู่ระหว่าง 3 – 5
กิจกรรมจุลินทรียแ์ ละสิ่งมีชวี ิตอื่น ๆ ในดนิ มีน้อยเมื่อเทียบกบั ดนิ ในเขตรอ้ นชืน

2) ดินในทุ่งหญ้าท่ีได้พัฒนาภายใต้สภาพลมฟ้าอากาศท่ีค่อนข้างแห้งแล้ง (Chernozem soil) มี
ปรมิ าณฝนตกนอ้ ย อุณหภมู ิสูง และมีไฟเกดิ ขึนอยู่เสมอ เป็นดินทเ่ี หมาะแก่การเจริญเติบโตของหญ้า การชะล้าง
เกิดขึนนอ้ ย pH อยูร่ ะหว่าง 7 – 8 ลกั ษณะเด่นของดินมีอินทรียวัตถุในดินสูง ชันของฮิวมัสลึก เนื่องจากมีระบบ
รากฝอยของหญ้า ชว่ ยสะสมไวใ้ นดนิ เมือ่ รากสลายตวั กก็ ลายเป็นการเพิม่ อนิ ทรียวัตถุดินด้วย

3) ดินในเขตร้อน (Laterite soil) เป็นดินในเขตที่มีปริมาณฝนตกชุกเช่นในป่าดงดิบแถบใกล้เส้น
ศูนย์สตู ร การหมุนเวียนธาตุอาหารเป็นไปอย่างรวดเร็ว เนื่องจากการเจริญเติบโตของพืชและการผุย่อยสลายตัว
ของซากพืชมีอัตราสูง pH ของดินอยู่ในสภาพใกล้ความเป็นกลาง การตัดป่าไม้ออกไปทาให้ดินปราศจากสิ่งปก
คลุมจะทาให้ดินพังทลายและเส่ือมคุณภาพได้ง่าย เน่ืองจากอัตราการชะล้างหน้าดินรวดเร็วกว่าอัตราการผุย่อย
สลายของพชื ท่ไี ปทดแทนไดท้ นั

ภมู ิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศที่สาคญั ได้แก่ ความสูงจากระดับนาทะเลปานกลาง ความลาดชันและ
ด้านลาด ปัจจัยดังกล่าวมีอิทธิพลต่อสังคมพืชและสัตว์ทางอ้อม เช่น ทาให้อุณหภูมิ ความชืน แสงสว่าง และ
สภาพของดินแตกต่างกันออกไป พืชที่อยู่บนพืนที่สูงย่อมมีระยะเวลาในการงอก การเจริญเติบโต และการออก
ดอกออกผลแตกต่างไปจากสังคมพืชท่ีอยู่ในพืนท่ีที่มีระดับต่ากว่าหรือในท่ีราบ สาหรับความลาดชันก็มีอิทธิพล
ต่อผลิตผลและการเจริญเติบโตของพืชไม่น้อย ในพืนท่ีเขาสูงดินมักง่ายต่อการพังทลาย ยิ่งชันมากก็ยิ่งต้องให้มี
พืชคลมุ ดนิ ไว้ให้มากขึน ขณะเดียวกันการใช้ประโยชนก์ ็จะถูกจากดั ด้านลาดของพืนท่หี ันไปในทิศทางทแ่ี ตกตา่ ง
ย่อมได้รบั แสง อุณภูมิ ความชนื และสังคมพชื ที่แตกตา่ งกันด้วย

ไฟ นักนิเวศวิทยาถือว่าไฟเป็นปัจจัยจากัดท่ีสาคัญอย่างหน่ึง ถ้ามีการจัดการไฟได้อย่างเหมาะสม
ถูกต้องตามกาลเทศะแล้ว ไฟจะเป็นปัจจัยท่ีเป็นประโยชนใ์ นการจัดการทรัพยากรธรรมชาติท่เี กีย่ วกบั ทรัพยากร

53

ปา่ ไม้และทุ่งหญ้า ไฟเปน็ สัญลักษณ์ของความเจริญรุ่งเรืองมาตังแต่สมัยโบราณกาล ผลจากการใช้ไฟจะออกมา
ในรูปการทาลายหรือสร้างสรรนนั ขนึ อย่กู ับความร้คู วามเข้าใจในการควบคมุ และใชป้ ระโยชน์

ส่ิงมีชีวิต ส่ิงมีชีวิตอยู่กระจัดกระจายทุกหนแห่งในโลก พืชและสัตว์จะใหญ่หรือเล็กต่างก็ต้องพึ่งพา
อาศัยซ่ึงกันและกัน ความสัมพันธร์ ะหวา่ งส่งิ มีชีวติ อาจเป็นไปในรปู แบบตา่ งกัน เชน่ การช่วยเหลือเกือกูลกนั และ
กัน (symbiosis) การแข่งขนั กัน (competition) หรือเปน็ ไปในรูปของกาฝาก (parasite)

ตัวอย่างความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตในสังคมป่าไม้ ในป่าไม้ประกอบไปด้วยต้นไม้นานาชนิดมีรูปร่าง
แตกตา่ งกัน ไมช้ ันบนจะเป็นไมท้ ม่ี ีความสูงใหญ่มเี รือนยอดก่ิงกา้ นปกคลมุ ไปทั่ว ไมพ้ วกนจี ะเป็นไม้ท่ตี อ้ งการแสง
มาก เป็นไม้ที่มีความโดดเด่นในสังคมพืช ภายใต้ไม้ใหญ่จะมีไม้ชันรองและไม้ขนาดเล็ก จนไปถึงไม้ชันล่างซ่ึง
ประกอบไปด้วยลูกไม้ ไม้พุ่ม หญ้า และพืชขนาดเล็ก เช่น มอส เฟิร์น กล้วยไม้ดิน สังคมพืชเหล่านีต่างอาศัยซึ่ง
กันและกัน นอกจากนันยังมีประชากรส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ อาศัยอยู่ร่วม เช่น นก แมลง และสัตว์ใหญ่น้อย การ
ถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนของธาตุอาหารจะอย่ใู นภาวะสมดุลถ้าไม่มสี ่ิงรบกวน

2. ประโยชน์และผลกระทบจากการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ

(อ.ดร.ทพิ ย์สุดา ตังตระกลู )
นักวิทยาศาสตร์คาดว่า อัตราการสูญพันธ์ุของสิ่งมีชีวิตในปัจจุบันอยู่ระหว่าง 1,000 ถึง 100,000 เท่า
อย่างรวดเร็วกว่าอัตราเฉล่ียในช่วงหลายพันล้านปีที่ผ่านมา การเติบโตและการกระจายตัวของประชากรมนุษย์
ระดับการผลิตและการบริโภคที่สูงมากขึน เป็นรากเหง้าของภัยคุกคามร้ายแรงท่ีส่งผลต่อความหลากหลายทาง
ชีวภาพในปัจจุบัน ภัยคุกคามต่อความหลากหลายทางชีวภาพในปัจจุบันมีมากมาย สามารถระบุสาเหตุสาคัญๆ
ได้โดยใช้ตัวย่อ HIPPO ซึ่งมาจาก 1) Habitat Loss การสูญเสียถิ่นท่ีอยู่อาศัย 2) Invasive Species การ
แพรก่ ระจายพันธ์ุสิ่งมชี ีวิตตา่ งถ่ินรกุ ราน 3) Pollution มลภาวะ 4) Human Population ประชากรมนษุ ย์ และ
5) Overharvesting การเก็บเกย่ี วมากเกินไป
1) Habitat Loss การสูญเสยี ถ่ินทอี่ ยอู่ าศัย
เกิดขึนเม่ือพืนท่ีใดพืนที่หนึ่งถูกเปล่ียนแปลงจากท่ีอยู่อาศัยสาหรับสิ่งมีชีวิตที่ใช้งานได้ เป็นท่ีอยู่อาศัยที่
ใช้งานไม่ได้ เช่น การเปลี่ยนแปลงพืนท่ีป่าเป็นพืนท่ีกิจกรรมทางอุตสาหกรรมการเกษตร การเพาะเลียงสัตว์นา
การทาเหมืองการตัดไม้ทาลายป่า และการสกัดทิศทางการไหลของนา ล้วนเป็นสาเหตุหลักของการสูญเสียท่ีอยู่
อาศัย ซ่ึงรวมถึงการตัดไม้ทาลายป่าเพ่ือนามาทาอาหาร การกระจายตัวของที่อยู่อาศัย การสูญเสียที่อยู่อาศัย
จานวนมากเป็นภัยคกุ คามท่ีร้ายแรงต่อความหลากหลายทางชวี ภาพ ภาพด้านล่างแสดงตัวอย่างของการกระจาย
ตัวของที่อยู่อาศัยในป่าอเมซอน เกิดจากการตัดไม้ทาลายป่าในลุ่มแม่นาอเมซอน ซ่ึงเกิดขึนในรูปแบบ "กระดูก
ปลา" ซึ่งหมายความว่าป่าอเมซอนถูกแทนที่ด้วยพืนท่ีท่ีอยู่อาศัยขนาดใหญ่ เกิดความเสื่อมโทรม เน่ืองจากถูกใช้
เพ่ือการเกษตร

54

ภาพท่ี 1 การกระจายตวั ของท่ีอยู่อาศยั ในป่าอเมซอนในรูปแบบ "กระดูกปลา"
2) Invasive Species การแพร่กระจายพนั ธสุ์ ่งิ มีชีวิตต่างถนิ่ รกุ ราน
เม่ือสัตว์ พืช หรือจุลินทรีย์ย้ายเข้าไปในพืนท่ีใหม่ต่างถ่ิน อาจส่งผลกระทบต่อส่ิงมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในถ่ิน
เดิมหลายวิธี เช่น ส่ิงมีชีวิตชนิดใหม่สามารถเป็นปรสิต หรือทาการผสมพันธ์ุกับส่ิงมีชีวิตท้องถิ่น เพื่อแข่งขันใน
การหาอาหาร อาจนาโรคที่ไมค่ ุ้นเคย ดดั แปลงท่อี ยู่อาศัย หรือขัดขวางการมปี ฏสิ มั พันธ์ท่ีสาคญั ตวั อยา่ งหน่ึงที่มี
ช่อื เสียงและโดดเด่นของสายพันธ์ุต่างถ่นิ ท่ีรุกรานคือ งูต้นไมส้ ีนาตาลในเกาะกวม ซ่ึงมีถ่ินกาเนิดในออสเตรเลีย งู
ถกู ขนส่งไปยงั เกาะกวมโดยบังเอิญในการขนส่งสินค้าทางเรือหลังจากสงครามโลกครังที่สอง เนื่องจากโดยท่ัวไป
แลว้ เกสะกวมไมม่ ีสัตว์นักล่าท่ีจะคอยตรวจสอบจานวนประชากรงู มันจึงเพมิ่ จานวนทวคี ูณอยา่ งรวดเร็ว และทา
ใหน้ กประจาถน่ิ สว่ นใหญ่สญู พนั ธไ์ุ ป
3) Pollution มลภาวะ
การปล่อยสารเคมีสังเคราะห์ที่เป็นพิษและโลหะหนักออกสู่สิ่งแวดล้อมส่งผลกระทบอย่างมากต่อความ
อุดมสมบูรณ์ของส่ิงมีชีวิตและอาจนาไปสู่การสูญพันธ์ุ ส่ิงสาคัญคืออีกอย่างคือ สารท่ีเป็น "ธรรมชาติ" อาจ
กลายเป็นมลพิษได้เมื่อมีปริมาณมากเกินไปในบางพืนที่ ตัวอย่างเช่นไนโตรเจนและฟอสฟอรัสเป็นสารอาหารท่ี
สาคัญสาหรับการเจริญเติบโตของพืช แต่เมื่อพวกมันรวมตัวกันในระบบนาหลังจากที่นาไปใช้เป็นปุ๋ยทาง
การเกษตรอาจทาให้เกิด "พืนที่ตาย" ซึ่งไม่สามารถอาศัยอยู่ได้สาหรับปลาและสัตว์ป่าอื่น ๆ นอกจากนีก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ยังเป็นองค์ประกอบ “ตามธรรมชาติ” ของบรรยากาศ แต่ถือเป็นสารมลพิษเม่ือปล่อย
ออกมาจากกจิ กรรมทางอตุ สาหกรรม
“การสะสมทางชีวภาพ” เปน็ แนวคดิ สาคัญท่ีเกี่ยวขอ้ งกับมลพษิ โดยกระบวนการสะสมของสารเคมีท่ีมี
ความเข้มข้นขึนเรื่อย ๆ ในเนือเยื่อของสัตว์ เมื่อมีการกินตามห่วงโซ่อาหาร วาฬเพชฌฆาตเป็นตัวอย่างว่าการ

55

สะสมทางชีวภาพอาจเป็นปญั หาร้ายแรงสาหรับความหลากหลายทางชวี ภาพ และโดยเฉพาะอย่างยง่ิ สาหรับสัตว์
เลียงลูกด้วยนมในทะเล สารเคมีทางการเกษตรและอุตสาหกรรมจานวนมากเป็นสารมลพิษอินทรีย์ที่คงอยู่
(POPs) ซึ่งดูเหมือนจะไม่ก่อให้เกิดความเสียหายทางชีวภาพที่ความเข้มข้นต่ามาก อย่างไรก็ตาม POPs เหล่านี
สามารถรวมเขา้ กบั สิ่งมีชวี ิตไดอ้ ยา่ งงา่ ยดาย เช่น แบคทีเรีย แพลงก์ตอนพืช และสตั ว์ไม่มีกระดูกสันหลังอ่นื ๆ ที่
อยู่ด้านล่างของห่วงโซ่อาหารในทะเล เน่ืองจากสิง่ มีชีวิตเหลา่ นันถูกกินโดยปลา และปลาถกู กินโดยสัตว์เลียงลูก
ดว้ ยนมในทะเล POPs จงึ เล่ือนห่วงโซ่อาหารขึน หากวาฬเพชฌฆาตกินปลาแซลมอนคิง 100 ตัว วาฬเพชฌฆาต
จะรวม POPs ทังหมดที่อยู่ในปลาแซลมอนเหล่านันลงในเนือเย่ือของร่างกาย หมายความว่าเม่ือเวลาผ่านไป
ความเขม้ ขน้ ของ POPs ในร่างกายของวาฬเพชฌฆาตจะค่อนขา้ งสูง ในระดับความเข้มข้นที่สงู ขนึ นีพบว่า POPs
จานวนมากกอ่ ให้เกดิ การหยดุ ชะงักของระดบั ฮอร์โมนและระบบภูมิคุ้มกัน และเพ่ิมความบกพร่องของระบบต่าง
ๆในร่างกาย ดงั นันมนุษย์ ซึ่งเป็นสิ่งมชี ีวิตทกี่ ินสิ่งมีชวิ ตอิ ่ืนมากในห่วงโซ่อาหาร มีความเส่ียงท่ีจะได้รบั ผลกระทบ
จากการสะสมสารพิษทางชวี ภาพอย่างย่งิ

4) Human Population ประชากรมนุษย์
ในปี 1800 มีประชากรน้อยกว่า 1 พันล้านคนบนโลก และปัจจุบันมีประมาณ 6.8 พันล้านคน แม้จะไม่
มีการใช้ทรัพยากรต่อหัวเพ่ิมขึนมากมายในปัจจุบันเม่ือเปรียบเทียบกับอดีต แต่ก็ยังส่งแรงกดดันต่อความ
หลากหลายทางชีวภาพ โดยขึนอยู่กับการเติบโตของประชากร แม้ว่าผลกระทบที่มนุษย์แต่ละคนมีต่อความ
หลากหลายทางชีวภาพจะแตกต่างกันไป ขึนอยู่กบั ประเภทและปรมิ าณของทรัพยากรทีม่ นษุ ย์ใช้ (ดงั สมการ I =
PAT) โดยรวมแล้วจานวนประชากรท่เี พ่ิมขนึ ได้นาไปสภู่ ัยคุกคามที่เพมิ่ ขนึ ต่อความหลากหลายทางชีวภาพ
5) Overharvesting การเกบ็ เกยี่ วมากเกินไป
การเก็บเก่ียวซึ่งรวมถึงการล่าสัตว์ การรวบรวมหรือการตกปลาสาหรับส่ิงมีชีวิตบางชนิด เช่นเดียวกับ
การเกบ็ เก่ียวโดยบังเอิญ เช่น การจับปลาในมหาสมทุ ร ตัวอย่างการสญู พันธขุ์ อง สมัน เป็นตัวอย่างของการเก็บ
เก่ียวมากเกินไป ทาให้สูญเสยี ความหลากหลายทางชวี ภาพ
การประมงในมหาสมุทรมีความเสี่ยง โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อการเก็บเก่ียวมากเกินไปในช่วงหลัง
สงครามโลกครังท่ีสอง เน่ืองจากการพฒั นาทางเทคโนโลยี เช่น การทาความเย็นโซนาร์ อวนขนาดใหญ่ และการ
แปรรูปบนเรือ การจับปลาค็อดในมหาสมุทรแอตแลนติกทางตะวันตกเฉียงเหนือ เป็นการประมงเชิงพาณิชย์ที่
สาคัญมานานหลายร้อยปี แต่การเก็บเก่ียวอย่างเข้มข้นโดยใช้เทคโนโลยีใหม่เหล่านี เพียงไม่กี่ทศวรรษในช่วง
ปลายศตวรรษที่ย่ีสิบ ทาให้จานวนประชากรปลาค็อดล่มสลาย จานวนประชากรลดลงกว่า 90% และการจับ
ปลาชนิดนีถูกปิดทังในแคนาดาและสหรัฐอเมริกา การสูญเสียนักล่าอันดับต้น ๆ อย่างปลาค็อด พร้อมกับการ
ลดลงของประชากรปลานักล่าชันนาอ่ืน ๆ ประชากรปลาพวกนียังไม่ฟื้นตัว แม้จะมีแรงกดดันด้านการประมงให้
ยุติลงก็ตาม
นอกจากทัง 5 ข้อท่ีได้กล่าวมาแล้ว ปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวขับเคลื่อนการสูญเสียความหลากหลายทาง
ชีวภาพ ในแต่ละพืนที่ส่วนใหญ่ มีปัจจัยมากกว่าหน่ึงอย่างที่ส่งผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ
บอ่ ยครังที่ต้องดูพืนท่ีใดพืนท่ีหนึ่งอย่างใกล้ชดิ เพ่ือทาความเขา้ ใจการมีปฏิสมั พันธ์ระหว่างการสูญเสียท่ีอยู่อาศัย
สิ่งมีชีวิตต่างถิ่นท่ีรุกราน ประชากรมนุษย์ มลภาวะ การเก็บเก่ียวมากเกินไป และปัจจัยอ่ืน ๆ ที่ส่งผลต่อความ
หลากหลายทางชีวภาพ ตัวอย่างเช่นประชากรมนุษย์ท่ีเพ่ิมขึน โดยมีรูปแบบการบริโภคเนือสัตว์สูง และ

56

กฎระเบียบด้านส่ิงแวดล้อมท่ีหละหลวมอาจ เพ่ิมอัตราการตัดไม้ทาลายป่าเพื่อการเกษตรและการเลียงปศุสัตว์
ส่งผลให้สูญเสียท่ีอยู่อาศัยและมลพิษไนโตรเจนจากปุ๋ยสังเคราะห์ กล่าวได้ว่าประชากรมนุษย์ไม่ได้เป็นตัว
ขับเคล่ือนการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพในตัวมันเอง แต่มีแนวโน้มท่ีจะทวีความรุนแรงขึน และมี
ปฏิสมั พนั ธก์ บั สง่ิ มีชีวติ อนื่ ๆ

นอกจากนีการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและการสญู เสียความหลากหลายทางชีวภาพ เราพบว่าการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศในหลาย ๆ ด้าน รวมถึงการเปล่ียนแปลงของอุณหภูมิ
การเปลี่ยนแปลงเหล่านีทาให้ส่ิงมีชีวิตหลายชนิดอยู่รอดได้ยาก เม่ือสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงมากขึน ความ
หลากหลายทางชีวภาพจะต้องเผชิญกับภัยคุกคามที่มากขึนเร่ือย ๆ ในทานองเดียวกัน ความพยายามในการ
อนุรักษ์ความหลากหลายทางชวี ภาพจะตอ้ งเผชิญกับความทา้ ทายทย่ี ่ิงใหญก่ ว่าเดิม หรือในสภาวะวิกฤต เช่น ใน
สถานการณ์ที่เราอาจไม่สามารถรักษาสิ่งมีชีวิตไว้ได้ทุกชนิด ส่งผลบังคับให้นักอนุรักษ์ต้องตัดสินใจว่าจะปกป้อง
สายพนั ธใ์ุ ดในกรณีฉุกเฉินเพอ่ื ตอบสนองตอ่ ภัยธรรมชาติ

การจดั การความหลากหลายทางชีวภาพตามภมู สิ ังคม

1. หลักการบรหิ ารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ (อ.คณิต ธนธู รรมเจรญิ )

เป้าหมายในการบริหารจดั การความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อคงความอุดมสมบูรณ์โดยพจิ ารณาจาก
ประเดน็ หลกั 3 ประเดน็ คือ

1) ความสมบรู ณ์ของถิน่ ที่อยู่อาศยั ของส่ิงมชี ีวิต
 การรักษาแหล่งทีอ่ ยอู่ าศัยใหม้ คี วามหลากหลาย
 การรักษาแหล่งท่ีอยู่อาศัยให้มีคุณภาพได้แก่ ผลผลิต การจัดการน้า มลภาวะ อุณหภูมิ
ความชืน
 การเชอื่ มตอ่ ของแหล่งท่อี ยอู่ าศยั
 ความยดื หยุ่นตอ่ ภัยคกุ คามและการเปล่ยี นแปลง
 ระดับของภยั คกุ คามท่ีมอี ยหู่ รือที่คาดการณ์ไว้
 ภัยธรรมชาตใิ นพนื ที่

2) สวัสดภิ าพ คุณภาพของส่ิงมชี ีวติ
 รักษาความหลากหลายของชนิดพนั ธท์ุ ่มี ีอยรู่ วมถงึ ชนิดพันธ์ท่ีสาคัญในพนื ที่
 ชนดิ พนั ธ์ท่เี ปน็ ตัวชวี ัดทสี่ าคัญมจี านวนท่ีคงท่ีหรือเพิม่ ขึน
 สถานการณก์ ารล่า การรกุ ลาพืนที่ ชนิดพันธต์ ่างถน่ิ หรือการตังอาณาจักรใหม่
 การใช้ประโยชนท์ างเศรษฐกจิ อย่างย่งั ยืน
 การจัดการหรือการตอบสนองต่อภยั พิบัติ

57

3) สถานการณท์ างเศรษฐกิจและสังคม
 แรงกดดนั ต่อที่อยอู่ าศัยและชนิดพันธจุ์ ากชมุ ชนท้องถิน่ อาทิ การใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากร
 การเพ่ิมขึนของภยั คุกคามหรือการพฒั นาจากภายนอก
 แนวคดิ การใชว้ ถิ ีชวี ิตที่เปน็ มิตรกับสิ่งแวดล้อม
 ผลกระทบจากกจิ กรรมการบริการท่องเทีย่ วและการคุกคามต่างๆ
 ระดับของการอนุรักษ์และการสนับสนุนและการจัดการร่วมจากภาคส่วนต่างๆในการป้องกัน
เฝ้าระวัง การศึกษาวจิ ัยหรือการป้องกันไฟป่า

58

การออกแบบและวางแผนนาผลการเรยี นรปู้ ระยกุ ต์ใช้ในพ้ืนที่
1. แนวทางการฟนื้ ฟ/ู การอนุรักษ์ ความหลากหลายทางชวี ภาพในพืน� ที่

อ.คณิต ธนธู รรมเจริญ
การดาเนินการอนรุ ักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ จะต้องอาศัยการมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วนในการ
วางแผนการจัดการให้เป็นไปตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ โดยเฉพาะในระดับท้องถ่ินควรต้องมีแผนการ
จัดการความหลากหลายทางชวี ภาพในระดับทอ้ งถ่นิ
1) การสร้างจิตสานึก สร้างความตระหนัก และให้ความรู้เกี่ยวกับความสาคัญของความหลากหลายทาง
ชีวภาพ เช่น การรณรงค์ให้ตระหนักในคุณค่าของความหลากหลายทางชีวภาพ การให้ความรู้เก่ียวกับวิธีการใช้
ทรัพยากรอย่างเหมาะสม การฝึกอบรมแนวทางการอนุรักษ์ธรรมชาติ รวมถึงการจัดตังกลุ่มและเสรมิ สรา้ งความ
เข้มแข็งของเครือข่าย ความร่วมมือของรัฐ ประชาชน ประชาสังคม และภาคธุรกิจในการอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู และใช้
ประโยชน์อย่างยัง่ ยืน
2) การอนุรักษ์และฟ้ืนฟูความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นการป้องกัน ควบคุมมิให้เกิดความสูญเสีย
ความเสียหายต่อความหลากหลายทางชีวภาพในชุมชน เช่นการป้องกันมิให้ถูกรุกราน มีการสร้างกลไกในการ
ปกป้องคุ้มครองและฟื้นฟูชนิดพันธุ์ท้องถิ่น หรือชนิดพันธ์ุที่ถูกคุกคาม ลดอัตราการสูญเสียแหล่งอาศัยตาม
ธรรมชาติ และฟื้นฟูระบบนิเวศท่ีเส่ือมโทรมให้กลับมาอุดมสมบูรณ์ การจัดการพืนที่เกษตรกรรม พืนที่การ
เพาะเลียงสัตว์นา และการป่าไม้
3) การใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุล มนุษย์ได้นาความหลากหลายทางชีวภาพ
มาใช้ประโยชน์ในการดารงชีวิตในหลากหลายรูปแบบ เช่น ยารักษาโรค อาหาร ด้านการเกษตร โดยการอาศัย
คดั สรรพนั ธุ์พืชท่ดี ที ี่เหมาะสมกบั สภาพภูมิอากาศ ด้านการแพทยน์ าความรภู้ ูมิปัญญาสมุนไพร ดา้ นอุตสาหกรรม
ได้นาพืชนามันมาใช้ในการอุตสาหกรรมเชือเพลิง หรือการนาจุลนิ ทรยี ์มาใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร เป็นต้น หาก
นาเอาความหลากหลายทางชีวภาพนนั มาใช้จนเกินกาลงั การผลิตได้ตามธรรมชาติ เกินความสมดุลในระบบนิเวศ
ธรรมชาติแล้ว จะทาใหเ้ กดิ การสญู เสีย เกิดความรอ่ ยหรอ เกิดการลดจานวนลงอย่างรวดเรว็
4) การพัฒนาองค์ความรู้และระบบฐานข้อมูลด้านความหลากหลายทางชีวภาพ โดยการนาความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ผสมผสานให้เข้ากับภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อให้ชุมชนสามารถใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรได้อย่างยั่งยืน นอกจากนีการศึกษาวิจัยและข้อมูลสถานการณ์ความหลากหลายทางชีวภาพควรมีการ
วางแผนในการสื่อสารสรา้ งความเข้าใจอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

59

2. การวเิ คราะห์พืน� ที�และการใช้เทคโนโลยีการรบั ข้อมูลด้าน ดิน นํ�า อากาศเพื�อ
การเกษตร (อ.ดร.ปฏิภาณ สทิ ธกิ ุลบตุ ร)

1
23
45

60

67
89

1
23
45

61

67
89
10 11
12

62

1
23
4

63

 การใชง้ าน Google Maps

64

 การนาขอ้ มลู ของแอพพลเิ คชัน LING มาใชใ้ น Google Maps

 การใช้แอปพลเิ คชัน (LING)

ลิง (LING) เป็นแอพพลิเคชันสาหรับวัดขนาดแปลงพืนที่ โดยคานึงถึงการใช้งานที่แตกต่าง เช่น การใช้
ท่ีดินในเขตเมือง การใช้ที่ดินนอกเขตเมืองและพืนท่ีธรรมชาติ ฟังก์ช่ันพืนฐานว่าโดยการวัดพืนท่ี สามารถนาไป
ปรบั ใช้ไดห้ ลากหลาย ตงั แตด่ ขู ้อมูลการบกุ รกุ พนื ท่ี วัดพนื ที่เมื่ออยากจะซอื ขาย จนถึงวดั พืนทเี่ พ่อื การเกษตร

1. สัญลักษณแ์ อพพลเิ คชนั ภายใต้ชือ่ LING

65

2. วิธกี ารดาวน์โหลดแอปพลิเคช่นั (LING)
สามารถใช้งานไดใ้ นระบบปฏิบัตกิ ารทงั IOS และ Android

1) ระบบ Android สามารถดาวนโ์ หลดแอพพลเิ คชนั 2) ระบบ IOS สามารถดาวนโ์ หลดแอพพลเิ คชันได้
ไดบ้ น Google Playstore ดงั รูป บน AppStore ดังรูป

3. การใชแ้ อปพลิเคชนั (LING) ในระบบ IOS และ Android
 ตวั อย่างขนั ตอนการใชใ่ นระบบ IOS

66

67

 การใช้งาน Handy GPS
HandyGPS คอื เครอ่ื งมือระบบ GPS แบบพกพาหรือในรูปแบบแอพพลเิ คชนั บนสมาร์ทโฟน ทีอ่ อกแบบ

มาเพื่อใชใ้ นท่ีกลางแจ้ง เช่น การสารวจการเดินป่า, ด้านการเกษตรกรรม, การกาหนดเส้นทาง และการกาหนด
ตาแหนง่ ทางภูมิศาสตร์ระบบ UTM เข้ามาช่วยในการหาข้อมูลพิกัดละติจูดและลองติจดู และไม่จาเป็นต้องสร้าง
บัญชผี ใู้ ชห้ รือการตังคา่ ใดๆ เพียง ตดิ ตัง แอพพลิเคชนั เปิด GPS สามารถใช้งานได้เลย

สัญลกั ษณแ์ อพพลเิ คชัน HandyGPS

การดาวน์โหลดแอปพลเิ คช่ัน (Handy GPS) สามารถใช้งานได้ทัง 2 ระบบปฏบิ ัติการ ทัง IOS และ
Android

ระบบตา่ งๆ ของแอพพลิเคชัน HandyGPS

68

วธิ กี ารใชแ้ อปพลเิ คชัน (LING) ในระบบ IOS และ Android
 ตัวอยา่ งขันตอนการใชง้ านในระบบ IOS

 ตัวอยา่ งขนั ตอนการใชง้ านในระบบ Android

*********************************

69

70

71

72

73

74

75

76

77

78

79

80

81

82

83





84




85






86





87

88

89

90

91

92

93

94

95

96

97


Click to View FlipBook Version