The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หน่วยที่ 1-8

หน่วยที่ 1-8

16
3. Hybrid Cloud เป็นการผสมผสานกันระหว่าง Private Cloud และ Public Cloud เลือกแบ่ง
การทางานเปน็ สว่ น ๆ ได้ โดยมีความสามารถท้ังสองแบบ

รูปภาพที่ 24 Hybrid Clouds

17

การจัดเกบ็ ขอ้ มูลจากบคุ คลภายนอกองค์กร

1. เม่ือข้อมูลมกี ารกระจายการเก็บไวใ้ นสถานท่อี ื่น ๆ อีกมากมายเพิ่มความเสี่ยงของการเข้าถึงทาง
กายภาพไม่ไดร้ บั อนญุ าตไปยังข้อมลู ยกตัวอย่างเช่น ในสถาปัตยกรรมเมฆตามขอ้ มลู ท่ีถูกจาลองแบบและย้าย
บอ่ ยดงั น้นั ความเสย่ี งเพมิ่ ขึ้นของการกคู้ ืนข้อมลู ทไ่ี ม่ได้รบั อนุญาตอยา่ งมาก (เช่นการใชอ้ ุปกรณ์เกบ็ ข้อมูลเก่า
นามาใช้ใหม่, การจัดสรรพน้ื ท่จี ัดเกบ็ ) ลักษณะท่ขี ้อมูลทถ่ี ูกจาลองขนึ้ อยู่กบั ระดบั การให้บรกิ ารลกู ค้าเลอื กและ
การ บริการที่มีให้ ผู้ขายบริการบนเมฆท่ีแตกต่างกันมีระดับการให้บริการท่ีแตกต่างกัน ความเส่ียงของการ
เข้าถึงข้อมูลจะลดลงผา่ นการใช้การเข้ารหสั ลบั ซึง่ สามารถนา ไปใช้กับข้อมูลที่เปน็ ส่วนหนึ่งของการให้บรกิ าร
จัดเกบ็ หรอื ในสถานท่ีอปุ กรณ์ ท่ีเข้ารหัสข้อมูลกอ่ นทีจ่ ะอัปโหลดไปยงั เมฆ

2. จานวนของคนท่ีมีการเข้าถึงข้อมูลที่สามารถถูกบุกรุก (เช่น มีการติดสินบน หรือข่มขู่) เพ่ิมข้ึน
อย่างมาก บริษัท เดียวอาจมที ีมงานเลก็ ๆ มีผู้บริหารวิ ศวกรเครือข่าย และช่างเทคนคิ แต่บริษัท จัดเกบ็ เมฆ
จะมลี ูกค้าจานวนมากและ เซิรฟ์ เวอรห์ ลายพนั เครื่อง ดงั น้ันทมี ตอ้ งดูแลข้อมูลขนาดใหญ่กวา่ ความสามารถของ
เจ้าหนา้ ทเี่ ทคนคิ ท่ีมีการเข้าถึงทางกายภาพ และทางอเิ ล็กทรอนกิ สเ์ พอ่ื ดแู ลเกอื บทั้งหมดของข้อมลู และการสิ่ง
อานวยความสะดวกทั้งหมด หรอื อาจจะเปน็ ทง้ั บริษทั คียก์ ารเขา้ รหัสลับท่ถี กู เกบ็ ไวโ้ ดยผใู้ ชบ้ รกิ าร เมอื่ เทยี บกบั
ขดี จากดั ของผู้ใหบ้ ริการการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู โดยพนกั งานผ้ใู ห้บริการได้

รูปภาพที่ 25 การจดั เกบ็ ขอ้ มลู จากบคุ คลภายนอกองค์กร

3. ด้วยการเพิม่ จานวนของเครอื ขา่ ย ซ่ึงข้อมูลมีการเดนิ ทาง แทนท่ีจะเปน็ เพียงแค่เครือขา่ ยทอ้ งถน่ิ
(LAN) หรือเครือข่ายพื้นท่ีจัดเก็บข้อมูล (SAN) ข้อมูลท่ีเก็บไว้บนเมฆต้องการ WAN (เครือข่ายบริเวณกว้าง)
เพื่อเช่ือมตอ่ ทั้งสองระบบ

18
4. โดยการจดั เก็บข้อมลู และเครือข่ายร่วมกันกับจานวนผใู้ ช้อ่ืน ๆ เป็นไปได้สาหรบั ลูกค้ารายอื่น ๆ
ในการเข้าถึงข้อมูลของคุณ บางคร้ังเพราะการกระทาที่ผดิ พลาด, อุปกรณ์ผิดพลาด, ข้อผิดพลาดและบางครั้ง
เพราะเจตนาทางอาญา ความเส่ียงน้ีจะใชก้ บั ทกุ ประเภทของการจัดเก็บและไมเ่ พยี ง แต่การจัดเก็บเมฆ ความ
เสี่ยงของการมีการอ่านข้อมูลในระหว่างการส่งจะลดลงด้วยเทคโนโลยีการเข้ารหสั ลับ การเข้ารหัสลบั ในการ
ขนส่งช่วยปกป้องข้อมูลที่มันจะถูกส่งไปยังและจากการให้บริการคลาวด์ การเข้ารหัสในส่วนที่เหลือจะช่วย
ปกป้องข้อมูลที่ถูกเก็บไว้ทีผ่ ้ใู ห้บรกิ าร การเข้ารหัสข้อมลู ในการใหบ้ รกิ ารคลาวด์ เป็นการเพิม่ ระบบท่สี ามารถ
ใหบ้ ริการทงั้ สองประเภทของการปอ้ งกนั การเข้ารหัส

รปู ภาพที่ 26 การจัดเกบ็ ขอ้ มูลจากบคุ คลภายนอกองคก์ ร

19

การจัดเกบ็ เมฆ

1. สร้างข้ึนจากทรัพยากรจานวนมาก แต่ยังคงทาหน้าที่เสมือนเปน็ หน่ึงเดียว - มักเรียกกันว่าการ
จดั เก็บข้อมูลเมฆส่วนกลาง

2. ลดความซา้ ซอ้ นและการกกระจัดกระจายของขอ้ มลู
3. รองรบั การสร้างขอ้ มลู พรอ้ มกนั หลายคนในแฟม้ เดยี วกัน
4. สามารถกาหนดขน้ั ตอนการเหน็ ชอบของเอกสารได้

รปู ภาพที่ 27 การจัดเกบ็ เมฆ

20

ความมน่ั คงผู้ใหบ้ รกิ าร

บรษิ ทั ไมไ่ ด้ถาวร และบรกิ ารและผลิตภณั ฑท์ ่พี วกเขาให้สามารถเปลย่ี นผใู้ หบ้ รกิ ารการจดั เกบ็ ขอ้ มลู
ไปยังบริษัทอื่น ต้องตรวจสอบอย่างรอบคอบและไมม่ ีอะไรท่ที าได้เหมือนเคย ข้อมูลอาจไม่สามารถใช้งานได้
เมอ่ื บริษทั สนิ้ สุดสภาพการมอี ยหู่ รือสถานการณ์ทเ่ี ปลี่ยนแปลง บรษิ ทั สามารถ:

1. เจง๊
2. ขยายกิจการและเปลยี่ นเป้าหมายทางการค้าของพวกเขา
3. ถกู ซื้อโดย บริษทั ขนาดใหญ่อน่ื ๆ
4. มกี ารจัดซ้ือโดยบริษัทหรือสานกั งานใหญย่ า้ ย ไปยงั ประเทศทข่ี ดั แยง้ กบั ธรุ กิจของคุณ
5. ประสบภัยพิบัตเิ รยี กคนื ไม่ได้
Lior Cohen ผอู้ านวยการอาวุโสฝ่ายผลิตภัณฑ์และโซลูชนั ด้าน Cloud Security จาก Fortinet ได้
ออกมาให้คาแนะนาเกี่ยวกับกลยุทธ์การรักษาความมั่นคงปลอดภัยบนระบบ Cloud 7 ประการ เพ่ือเพิ่มขดี
ความสามารถดา้ น Visibility & Control รวมไปถงึ กลไกในการรบั มอื กับภยั คกุ คามไซเบอร์ ดงั ต่อไปน้ี

ภาพท่ี 28 กลยทุ ธก์ ารรกั ษาความม่ันคงปลอดภยั บน Cloud Computing

1. Inside-Out IaaS Security (กาหนดนโยบายความมัน่ คงปลอดภัยจากภายในสู่ภายนอก)
ประโยชน์ของการใช้ Infrastructure-as-a-Service คือ การใช้ทรัพยากรได้เต็มรูปแบบ อันรวมถึงฮาร์ดแวร์
อุปกรณ์เครือข่าย และทูลส์ในการเช่ือมต่อต่าง ๆ ท่ีล้วนสามารถเข้าถึงและจัดการได้จากคลาวด์ ในขณะท่ีผู้
ให้บริการคลาวด์เปน็ ผู้จดั หาและดูแลส่วนประกอบของโครงสร้างพื้นฐานแบบนี้ แต่องค์กรยังต้องพจิ ารณาถึง
ความจาเป็นในการปกป้องทรัพยส์ นิ คลาวด์ของตนเองอีกด้วย โคเฮนอธิบายว่าลกู ค้าจานวนมากใช้วิธีกาหนด
นโยบายด้านความมัน่ คงปลอดภยั ท่สี อดคล้องกันและนาไปใช้กับผูใ้ ห้บรกิ าร IaaS ซ่ึงเป็นการกาหนดนโยบาย
จากภายในองค์กรสู่ภายนอก เพ่ือให้สามารถจัดการด้านความมั่นคงปลอดภัยได้ที่ระดับเวิร์กโหลด ระดับ
เครือขา่ ยและระดับ API

21
2. Cloud Services Hub (ฮับให้บริการคลาวด์) องค์กรใหญ่มักขาดกระบวนจัดการความมั่นคง
ปลอดภยั จากสว่ นกลาง ในขณะทใ่ี ช้งานโซลูชันคลาวดท์ ี่แตกตา่ งกันหลายประเภท ซ่งึ ส่งผลทาใหอ้ งคก์ รมกี าร
มองเห็นและการควบคุมภายในเครือข่ายน้อยลง รวมถึง ไม่สามารถตอบสนองต่อภัยคุกคามได้ทันท่วงที
อย่างไรกต็ าม หากองค์กรใช้ฮับศนู ยท์ ่ใี หบ้ ริการคลาวด์ ทีมไอทีจะสามารถใช้ประโยชนจ์ ากความเปน็ คลาวด์ได้
มากขน้ึ เช่น มคี วามยดื หยุน่ ความพรอ้ มใช้งานตลอดเวลา และสามารถปรับขนาดได้ ในขณะท่มี ศี ักยภาพด้าน
ความปม่ันคงลอดภัยทสี่ อดคลอ้ งกันในทุกแพลตฟอร์ม นอกจากนี้ ฮับน้ีได้รวมความสามารถด้านความมน่ั คง
ปลอดภัยไว้ในท่ีเดียวอย่างเรียบร้อย จึงทาให้ง่ายต่อการเช่ือมต่อเครือข่าย VPC ที่แตกต่างกันโดยใช้การ
เชื่อมต่อวีพีเอ็นอันปลอดภยั
3. Remote Access VPN (การใช้วีพีเอ็น) องค์กรมกั นยิ มใช้วีพีเอ็นในการเข้าถึงข้อมูลจากที่ใดกไ็ ด้
ในโลกน้ีไปยังคลาวด์ แต่การเข้าถึงระยะไกลโดยใช้วีพีเอ็นแบบด้ังเดิมนั้นไม่สามารถตอบสนองความต้องการ
เหล่านี้ได้เสมอไป หากองค์กรปรับใช้โซลูชันที่ออกแบบมาเพ่ือเปิดใช้งานการเข้าถึงระยะไกลที่ปลอดภัยใน
ระบบคลาวด์แลว้ จะทาให้มีความมัน่ คงปลอดภัยสงู สุด ซ่ึงรวมถึงการปรับระดับการเข้ารหัสแบบไดนามิกอนั
คล่องตัวได้ตามต้องการ อาทิ ตามตาแหน่งที่ต้ังของอุปกรณ์ ตามประเภทของผู้ใช้งานปลายทาง หรือตาม
อุปกรณไ์ อโอทีและตามข้อมูลท่ีเข้าใชง้ านเปน็ ตน้ องค์กรจงึ จะสามารถยกระดับโครงสรา้ งพ้ืนฐานบนคลาวดข์ อง
ตนทีใ่ ช้งานท่วั โลกใหอ้ ยู่ในระดับสงู และมีประสทิ ธิภาพมากยิ่งขนึ้ ได้

ภาพท่ี 29 ความมั่นคงปลอดภยั

4. Hybrid Cloud (ไฮบริดคลาวด์) การใช้ระบบคลาวด์สาธารณะมาเป็นโครงสร้างพื้นฐานเสริม
สาหรับศูนย์ข้อมูลในองค์กรมักจะช่วยให้องค์กรสามารถพัฒนาวิธีการใหมๆ่ ในการใหบ้ ริการไอทีทั่วท้งั องคก์ ร
ได้ แตส่ ภาพแวดล้อมไฮบริดคลาวดเ์ หล่านอี้ าจนามาซึ่งความเสย่ี งตา่ ง ๆ ได้เช่นกนั อาทิ การมองเหน็ เครอื ขา่ ย
ที่ยงั ไมด่ ี และการจัดการความม่นั คงปลอดภัยทย่ี งั ซบั ซ้อน ทงั้ น้ี ในการสร้างความมนั่ คงปลอดภัยระบบคลาวด์
แบบไฮบริดนี้ องค์กรจาเป็นต้องปรับใช้นโยบายความมน่ั คงปลอดภัยที่ครอบคลมุ ในโครงสรา้ งทงั้ หมด เพื่อให้
แน่ใจวา่ ขอ้ มลู ไดร้ บั การปกป้องในขณะทีถ่ กู ถา่ ยโอนไปยงั และจากระบบคลาวด์

22
5. Advanced Application Protection (การป้องกันแอปพลเิ คชนั ข้ันสูง) การใชแ้ อปพลิเคชันใหม่
บนคลาวด์ไม่เพียงแต่สร้างความเสี่ยงเพ่ิมขึ้นท่านั้น แต่ยังเป็นการบังคับให้องค์กรต่าง ๆ ตระหนักถึงความ
สามารถในการทาตามขอ้ กาหนดตา่ ง ๆ (Compliance) อยา่ งต่อเน่ืองอกี ด้วย ดังนัน้ องคก์ รจึงควรใช้แอปพลเิ ค
ชันด้านความม่ันคงปลอดภัยท่ีผ่านการทดสอบมาแล้วและนาไปใช้กับระบบคลาวด์ นอกจากน้ี ก่อนที่จะย้าย
ไปสู่คลาวด์ องค์กรควรพิจารณาโซลูชันที่มีศักยภาพป้องกันส่วน APIs ของเว็บแอปพลิเคชัน เป็นโซลูชันมี
คุณสมบัติบงั คบั ใชน้ โยบายความมนั่ คงปลอดภยั ไดแ้ ละตรวจจับมลั แวร์ประเภทต่าง ๆ ทง้ั เกา่ และใหมไ่ ด้ในตวั
6. Security Management from the Cloud (การจัดการความมั่นคงปลอดภัยจากคลาวด์) องค์กรที่
ใช้ทูลสแ์ บบด้งั เดิมจะประสบปญั หาทีร่ ะบบไมส่ ามารถใชง้ านรว่ มกนั ได้ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง เมื่อต้องการปรับใช้
และจัดการทูลสจ์ ากคลาวด์ องค์กรจึงควรใช้ผใู้ ห้บรกิ ารคลาวด์ระดับโลกใหบ้ รกิ ารด้านความมั่นคงปลอดภัย
ครอบคลุมทั่วทุกกลุ่มคลาวด์ต่าง ๆ ท่ีครบถ้วน จึงจะช่วยให้ม่ันใจได้ว่าองค์กรจะยังสามารถปรับขนาดของ
บรกิ าร ปรับปรุงประสิทธิภาพการดาเนินงาน ลดตน้ ทนุ และลดความเสย่ี งได้
7. Public Cloud Usage Monitoring and Control (การตรวจสอบและควบคุมการใช้งานคลาวด์
สาธารณะ) ในปจั จุบนั การใชง้ านคลาวด์สาธารณะได้รบั การยอมรบั อยา่ งกว้างขวางท่ัวโลก แต่ยงั มปี ญั หาเรือ่ ง
การกาหนดค่าการใช้งานทผี่ ดิ พลาด (Misconfiguration) ที่ยังคงเป็นสาเหตหุ ลกั ทาใหร้ ะบบหยุดชะงกั และเกดิ
ความเสียหายทไี่ มค่ าดคิด ดงั นั้น องคก์ รจจึงควรมศี ักยภาพในการมองเหน็ การเปลยี่ นแปลงของคา่ ท่กี าหนดตา่ ง
ๆ บนโครงสร้างพื้นฐานคลาวดส์ าธารณะทีห่ ลากหลายได้ โดยมองผา่ นแพลตฟอร์มกลางที่ใหร้ ายงานท่เี กยี่ วกับ
การละเมิดกฎระเบียบที่องค์กรสามารถนาไปใชง้ ่ายมากขึน้

ภาพท่ี 30 ความมน่ั คงปลอดภยั

23

ระบบการประมวลผลแบบกล่มุ เมฆ ในภาครฐั

โดยระบบการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆในภาครัฐ จะสามารถลดช่องว่างในการเข้าถึงเทคโนโลยี ใน
การดาเนนิ งานของภาครฐั ได้ จะชว่ ยให้มีการบริการทม่ี คี วามรวดเร็วมากขน้ึ

1. ภาคประชาชน Government to Citizen (G2C) เป็นการให้บริการพื้นฐานจากภาครัฐ หรือ
หนว่ ยงานของรัฐไปสู่ประชาชนโดยตรง ประชาชนสามารถทาธรุ กรรมโดยผา่ นเครอื ขา่ ยสารสนเทศของภาครัฐ
อินเทอร์เน็ตจึงกลายเป็นเคร่ืองมือสาคัญที่จะรองรับและสามารถตอบสนองกับกิจกรรมท่ีประชาชนขอรับ
บริการได้เชน่ การชาระเงนิ ภาษีการรับฟงั ความคิดเห็นของประชาชน และการค้นหาขอ้ มลู ซ่ึงภาครฐั ดาเนินการ
ให้บริการข้อมูลผ่านเวบ็ ไซตเ์ ป็นต้น

รูปภาพที่ 31 ภาคประชาชน Government to Citizen (G2C)
2. ภาคธุรกิจ Government to Business (G2B) ) เป็นการให้บริการพ้ืนฐานจากภาครัฐ หรือ
หน่วยงานของรฐั ไปส่ภู าคเอกชน โดยภาครัฐจะตอ้ งให้การบรกิ ารท่ีรวดเร็ว โปร่งใส เป็นธรรม และตรวจสอบได้
รวมถึงมีความถกู ตอ้ งของข้อมูล เชน่ การจดทะเบียนการค้า การจดั ซ้ือจัดจ้างอเิ ล็กทรอนกิ ส์และการชาระภาษี
เป็นต้น

รูปภาพที่ 32 ภาคธรุ กจิ Government to Business (G2B)

24
3. ภาคราชการ Government to Employee (G2E) เป็นการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศเข้ามาชว่ ยใน
การทางานระหว่างหน่วยงานของรัฐหรือภายในหน่วยงานของรัฐ โดยเปล่ียนแปลงรปู แบบการทางานใหม่ด้วย
การใช้ระบบสารสนเทศของภาครฐั ร่วมกัน เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพ มีความรวดเร็วและสามารถเชื่อมโยงขอ้ มูล
ภาครัฐ รวมท้ังสามารถแลกเปลย่ี นข้อมลู ข่าวสารระหว่างกนั ทาให้เกิดการทางานร่วมกัน เช่น ระบบงานสาร
บรรณอิเล็กทรอนิกสร์ ะบบบญั ชีและการเงิน ระบบจัดซ้ือจัดจ้างด้วยอเิ ล็กทรอนิกส์ เปน็ ตน้

รูปภาพที่ 33 ภาคราชการ Government to Employee (G2E)
4. ภาครัฐ Government to Government (G2G) การสร้างรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์จะทาให้เกิดการ
ให้บริการแก่ขา้ ราชการและเจ้าหน้าท่ีของรัฐ เพราะรฐั บาลอเิ ล็กทรอนิกส์จะเป็นเครื่องมือที่จาเป็นเพื่อช่วยใน
การปฏบิ ัติงาน เช่น ระบบการพฒั นาบุคลากรภาครัฐระบบสวัสดิการ เป็นต้น

รูปภาพท่ี 34 ภาครฐั Government to Government (G2G)

25
รปู แบบระบบการประมวลผลแบบกล่มุ เมฆในภาครฐั

1. ระบบรฐั บาลแบบกลุ่มเมฆ (เปิด) สาธารณะ (Government Public Cloud) จะใช้เปน็ ทางเลอื ก
สาหรบั งานทวั่ ไป ทีส่ ามารถเปิดเผยข้อมูลออกสสู่ าธารณะได้ โดยมีผู้ใหบ้ รกิ ารเปน็ ผู้ดูแลระบบ

ภาพท่ี 35 ระบบรัฐบาลแบบกล่มุ เมฆ (เปดิ ) สาธารณะ
(Government Public Cloud)

2. ระบบรฐั บาลแบบกลมุ่ เมฆ (ปิด) ส่วนตน (Government Private Cloud Dedicated) จะมคี วาม
คล้ายกับระบบรัฐบาลแบบกลุ่มเมฆ (ปิด) ส่วนตัว (Government Private Cloud) ซ่ึงใช้เป็นทางเลือก
เฉพาะงานภายในกลุ่มขององค์กรน้ัน ๆ จะไม่เปดิ เผยข้อมูลออกสู่สาธารณะ โดยมีผู้ให้บริการเป็นผดู้ แู ลระบบ
แต่ศูนย์ข้อมูลจะตั้งอยู่ในประเทศของรัฐที่เป็นผู้ใช้ระบบ เนื่องจากการป้องกันปัญหาด้านความปลอดภัยใน
ความเป็นสว่ นตัว

ภาพที่ 36 ระบบรัฐบาลแบบกลุม่ เมฆ (ปดิ ) สว่ นตน
(Government Private Cloud Dedicated)

26
3. ระบบรัฐบาลแบบกลมุ่ เมฆสว่ นตนเฉพาะ (Government Private Cloud Self Hosted) เปน็ การ
สร้างพนื้ ท่รี ะบบของตนเอง ขน้ึ เปน็ เจา้ ของ ซึ่งวิธกี ารนีจ้ ะได้ระบบตามความต้องการของภาครัฐเอง

ภาพที่ 37 ระบบรฐั บาลแบบกลมุ่ เมฆสว่ นตนเฉพาะ
(Government Private Cloud Self Hosted)

4. ระบบรัฐบาลแบบกลุ่มเมฆส่วนตนเอง (Government Private Cloud Hosted) ระบบ และ
แบนด์วิดท์จะเป็นของภายในประเทศทง้ั หมด รัฐเปน็ ผดู้ แู ลบรกิ ารเอง

ภาพที่ 38 ระบบรัฐบาลแบบกลมุ่ เมฆส่วนตนเอง
(Government Private Cloud Hosted)

27

ขอ้ ดี ขอ้ เสีย ของ Cloud Computing

ข้อดขี อง Cloud Computing
1. ลดต้นทุนค่าดูแลบารุงรักษาเนื่องจากค่าบริการได้รวมค่าใช้จ่ายตามท่ีใช้งาน จริง เช่น

ค่าจ้างพนักงาน ค่าซ่อมแซม ค่าลิขสิทธ์ิ ค่าไฟฟ้า ค่าน้า ค่าน้ามันเชื้อเพลิง ค่าอัพเกรด และค่าเช่าคู่สาย เปน็
ต้น

2. ลดความเสีย่ งการเรม่ิ ตน้ หรอื การทดลองโครงการ
3. สามารถลดหรอื ขยายได้ตามความตอ้ งการ
4. ได้เคร่ืองแมข่ า่ ยท่ีมีประสิทธภิ าพ มรี ะบบสารองข้อมูลที่ดี มเี ครอื ขา่ ยความเรว็ สงู อยภู่ ายใต้
การดแู ลของผู้เชยี่ วชาญ
ขอ้ เสยี ของ Cloud Computing
1. จากการท่ีมีทรัพยากรทม่ี าจากหลายแห่ง จึงอาจเกิดปัญหาด้านความต่อเน่ืองและความ
รวดเร็ว
2. ยงั ไม่มกี ารรบั ประกันในการทางานอย่างตอ่ เน่ืองของระบบและความปลอดภัยของขอ้ มลู
3. แพลทฟอร์มยังไม่ได้มาตรฐาน ทาให้ลูกค้ามีข้อจากัดสาหรับตัวเลือกในการพัฒนาหรือ
ติดตัง้ ระบบsite
4. เน่ือง จากเป็นการใช้ทรัพยากรที่มาจากหลายท่ีหลายแห่งทาให้อาจมีปญั หาในเร่อื งของ
ความต่อเนือ่ งและความเร็วในการเข้าทรัพยากรมากกว่าการใช้บริการ Host ที่ Local หรืออยู่ภายในองคก์ าร
ของเราเอง

รูปภาพท่ี 39 ข้อดี ข้อเสยี ของ Cloud Computing

28

ประโยชนข์ อง Cloud Computing

1. ชว่ ยลดต้นทนุ และคา่ ใช้จา่ ยท่ไี มจ่ าเปน็
Cloud Computing ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายขององค์กรได้มหาศาล เพราะผใู้ หบ้ ริการจะเป็น

ฝา่ ยลงทุนทรัพยากรด้าน IT เกือบทั้งหมด ตัง้ แต่ Hardware, การวางโครงสร้างพ้นื ฐาน ไปจนถึงการดแู ลระบบ
ตา่ ง ๆ ตลอด 24 ช่วั โมง โดยคดิ ค่าใช้จ่ายแบบ Pay as you go หรือคิดตามการใช้งานจรงิ ต่างกบั การทแ่ี ต่ละ
ธุรกิจต้องลงทุนติดตั้ง Hardware และจ้างพนักงาน IT เพื่อดูแลระบบภายในองค์กรเอง ซึ่งมีค่าใช้จ่ายสูงกวา่
อยา่ งเห็นไดช้ ัด

2. รองรบั การขยายตัวของธรุ กจิ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว
ระบบ Cloud สามารถเพิ่มขนาดความจุ CPU หรือขยายพ้ืนที่ Storage สาหรับจัดเกบ็ ขอ้ มูล

ไดต้ ลอดเวลา เพ่ือรองรบั การขยายตัวของธรุ กจิ ทต่ี ้องใช้ Infrastructure ทางด้าน IT เพิ่มมากข้ึน โดยมขี ้นั ตอน
ทไี่ มย่ งุ่ ยากและไม่เสยี เวลา จึงสามารถนาเวลาไปพฒั นาศักยภาพด้านอื่น ๆ ของธุรกจิ ไดอ้ ย่างเต็มที่

รปู ภาพท่ี 40 ประโยชนข์ อง Cloud Computing

3. เพิม่ ความสะดวกและความรวดเร็วในการทางาน
ข้อดีของ Cloud ที่ทุกคนตา่ งให้การยอมรบั คือ ความสะดวกรวดเร็วในการใช้งาน เน่ืองจาก

ไม่มีข้อจากัดเร่ืองสถานที่ เวลา หรืออุปกรณ์ เพียงมีอินเทอร์เน็ตก็สามารถใช้งานได้ เช่น การประชุมผ่าน
Skype for business, การแชร์ไฟล์เอกสารต่าง ๆ ผ่านเว็บไซต์ หรือการใช้ Smart VDI เพื่อเข้าถึงข้อมลู ผา่ น
อุปกรณ์ต่าง ๆ ได้อยา่ งไร้ขอ้ จากดั ไม่ว่าจะเป็น Notebook , Tablet หรอื แม้กระท่ัง Smartphone

4. เข้าถงึ เทคโนโลยที ่ีทนั สมัยกอ่ นใคร
บริษัทที่ใช้ Cloud Computing มีโอกาสเข้าถึงนวัตกรรมใหม่ ๆ ได้มากกว่า เนื่องจากผู้ให้

บริการ Cloud จะทาหน้าที่อัพเกรดระบบและสรรหาเทคโนโลยีที่ทันสมัย เช่น Blockchain, Virtual Machine
หรอื Application ใหม่ ๆ เพอื่ นามาพัฒนาใช้รว่ มกับระบบ Cloud พรอ้ มนาเสนอ Solutions ท่ีเปน็ ประโยชน์
กับแตล่ ะธุรกิจอย่างเหมาะสมอยูเ่ สมอ

29
5. ขอ้ มูลถกู จดั เกบ็ อย่างปลอดภัย

การใชร้ ะบบ Cloud กับผูใ้ ห้บริการที่มี Data Center อย่ใู นประเทศไทย และไดร้ บั การรับรอง
มาตรฐานระดับสากล เช่น ISO, PCI DSS หรือ CSA-STAR ช่วยให้ม่ันใจได้ว่าข้อมูลของคุณจะถูกจัดเก็บไว้
ภายใต้ระบบรักษาความปลอดภัยท่ีรัดกุม มีนโยบายรับมือกับเหตุการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ และไม่ถูกนาข้อมูลไป
แสวงหาผลประโยชน์อย่างแน่นอน

รปู ภาพที่ 41 ประโยชนข์ อง Cloud Computing

30

แหลง่ อา้ งองิ

www.modify.in.th. ระบบประมวลผลกลุ่มเมฆ. [ระบบออนไลน์]. แหล่งท่มี า
https://www.modify.in.th/11189
(คน้ เม่อื วนั ที่ 14 มกราคม 2564)

sites.google.com. การใชร้ ะบบประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆ. [ระบบออนไลน์]. แหล่งท่มี า
https://sites.google.com/site/nattaporndeecha/home/
(ค้นเม่อื วันที่ 14 มกราคม2564)

sites.google.com. นยิ ามของ Cloud Computing. [ระบบออนไลน์]. แหล่งท่มี า
https://sites.google.com/site/kornkanok551/khaw/khaw
(คน้ เม่อื วนั ท่ี 14 มกราคม 2564)

navarojch.blogspot.com. ประวตั ิความเป็นมา Cloud Computing. [ระบบออนไลน์]. แหล่งทีม่ า
http://navarojch.blogspot.com/2009/08/cloud-computing_3891.html
(คน้ เมื่อวนั ที่ 14 มกราคม 2564)

sites.google.com. สถาปัตยกรรม Cloud Computing. [ระบบออนไลน์]. แหล่งท่ีมา
https://sites.google.com/site/cloudphisud1/11
(ค้นเมื่อวันที่ 14 มกราคม 2564)

www.vpshispeed.com. Cloud Computing ทางานอย่างไร ?. [ระบบออนไลน์] แหล่งทมี่ า
https://www.vpshispeed.com/blogs/what-is-cloud-computing-and-how-does-it-work-th/
(ค้นเมอ่ื วนั ท่ี 14 มกราคม 2564)

sites.google.com. โครงสร้างพ้ืนฐานสามเหลีย่ มกลุม่ เมฆ. [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ทีม่ า
https://sites.google.com/site/korwten/home/ggggg
(ค้นเมอื่ วนั ที่ 14 มกราคม 2564)

nukpanatchaporn.blogspot.com. มาตรฐานของระบบประมวลผลกลุ่มเมฆ. [ระบบออนไลน์]. แหล่งทม่ี า
http://nukpanatchaporn.blogspot.com/2012/07/cloud-computing_2143.html
(คน้ เมื่อวนั ท่ี 14 มกราคม 2564)

sites.google.com. ประเภทของ Cloud Computing. [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ทมี่ า
https://sites.google.com/site/cloudcomputing6030024/
(คน้ เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2564)

sites.google.com. การจดั เก็บขอ้ มูลจากบุคคลภายนอกองคก์ ร. [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ที่มา
https://sites.google.com/site/nattaporndeecha/home/
(ค้นเม่ือวนั ที่ 14 มกราคม 2564)

31

sites.google.com. การจดั เกบ็ เมฆ. [ระบบออนไลน์]. แหล่งทีม่ า
https://sites.google.com/site/nattaporndeecha/home/
(ค้นเมื่อวันที่ 14 มกราคม 2564)

www.techtalkthai.com. ความมั่นคงผูใ้ ห้บริการ. [ระบบออนไลน์]. แหล่งท่ีมา
https://www.techtalkthai.com/7-cloud-security-strategies-by-fortinet/
(คน้ เม่ือวันที่ 14 มกราคม 2564)

library2.parliament.go.th. การบริการจดั การภาครัฐ. [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ท่ีมา
https://library2.parliament.go.th/ejournal/content_af/2558/apr2558-2.pdf
(คน้ เมอ่ื วนั ที่ 14 มกราคม 2564)

sites.google.com. ข้อด-ี ขอ้ เสีย Cloud computing. [ระบบออนไลน]์ . แหล่งที่มา
https://sites.google.com/site/liuwirinyaa/khxdi-khx-seiy-cloud-computing
(ค้นเม่อื วันท่ี 14 มกราคม 2564)

www.phuketconnect.co.th. 5 ประโยชนข์ อง CLOUD COMPUTING. [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ที่มา
http://www.phuketconnect.co.th/Article/Detail/108680
(คน้ เมอื่ วันที่ 14 มกราคม 2564)

หนว่ ยท่ี 8
คณุ ธรรม จริยธรรม
และความปลอดภัย
ในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ

คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และความปลอดภยั
ในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ

เสนอ

ครปู รยี า ปันธยิ ะ

จัดทาโดย

นางสาววริศรา ใจเสน็
เลขที่ 11 สบล. 63.1
สาขาวิชาการเลขานุการ

รายงานน้ีเป็นส่วนหน่ึงของ รหัสวิชา 30203-2002
วชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศในงานเลขานกุ าร
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาลาปาง



คานา

รายงานน้ีเป็นส่วนหนึ่งของ รหัสวิชา 30203-2002 วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในงานเลขานุการ ซึ่งได้รับ
มอบหมายจาก ครูปรยี า ปันธยิ ะ ให้ดาเนินการศึกษา สืบคน้ และคน้ ควา้ เกยี่ วกับเรือ่ ง คุณธรรม จริยธรรมและ
ความปลอดภัย ในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ

ซ่ึงเนื้อหารายงานเล่มน้ีประกอบด้วยหัวข้อ ความหมายคุณธรรม, ความหมายจริยธรรม, คุณธรรม
จริยธรรม ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ, จรรยาบรรณในการใช้อนิ เทอรเ์ นต็ , จริยธรรมในสงั คมสารสนเทศ,
การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั

ซึ่งจากการท่ีผู้จัดทาได้ศึกษา สืบค้น และค้นคว้าข้อมูลดังกล่าว เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษา
เพ่มิ เติม ผจู้ ดั ทาหวังเปน็ อย่างยิง่ วา่ คงจะเปน็ ประโยชนต์ ่อผทู้ ่ีสนใจ

วริศรา ใจเส็น
สาขาวิชาการเลขานกุ าร

สารบญั ข

เรอื่ ง หนา้

คานา ก
สารบญั ข
ความหมายคุณธรรม 1-2
ความหมายจริยธรรม 3
คุณธรรม จรยิ ธรรม ในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 4-5
จรรยาบรรณในการใช้อินเทอร์เน็ต 6-7
จรยิ ธรรมในสังคมสารสนเทศ 8-12
การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย 13-21
แหล่งอ้างองิ 22

หนว่ ยที่ 8
คณุ ธรรมและจริยธรรมและความปลอดภยั ในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ

บทนา

เทคโนโลยีสารสนเทศมผี ลกระทบตอ่ สังคมเปน็ อยา่ งมาก โดยเฉพาะประเด็นจริยธรรมทเ่ี กี่ยวกับระบบ
สารสนเทศท่ีจาเป็นตอ้ งพจิ ารณารวมทง้ั เรอื่ งความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
หากไมม่ กี รอบจริยธรรมกากับไว้แล้วสังคมยอ่ มจะเกดิ ปัญหาตา่ ง ๆ ตามมาไม่สิ้นสดุ รวมทง้ั ปญั หาอาชญากรรม
คอมพวิ เตอร์ ดงั นั้นหน่วยงานทใ่ี ชร้ ะบบสารสนเทศจึงจาเป็นตอ้ งสรา้ งระบบความปลอดภยั เพอื่ ป้องกันปญั หา
ดังกล่าว

ความหมายคณุ ธรรม

คุณธรรม คือ ความดีงามทถ่ี กู ปลูกฝงั ข้นึ ในจิตใจ จนเกดิ จติ สานึกท่ีดี มีความกตญั ญู เป็นตน้
คุณธรรม คือ ความดีงามที่ถูกปลกู ฝงั ขึ้นในจิตใจ มีความกตัญญู ขยัน ประหยัด ซ่ือสัตย์ สามัคคี มี
วนิ ยั มีน้าใจและ เป็นสุภาพชน เปน็ ตน้ จนเกดิ จติ สานกึ ท่ีดี รสู้ กึ รบั ผดิ ชอบ ช่วั ดี เกรงกลัวต่อการกระทาความ
ชวั่ โดยประการตา่ ง ๆ เมือ่ จิตเกิดคุณธรรมขึ้นแล้ว จะทาให้เป็นผู้มจี ติ ใจดี และคิดแต่ส่ิงทีด่ ี จงึ ได้ชอ่ื วา่ “เปน็ ผู้
มีคณุ ธรรม”

ภาพที่ 1 คณุ ธรรม

คุณธรรม เป็นพฤติกรรมที่แสดงถึงมาตรฐานทางศีลธรรม และเป็นรูปแบบของความคิดและการ
กระทาบนพืน้ ฐานของ มาตรฐานทางศีลธรรม คณุ ธรรมอาจนบั รวมในบริบทกวา้ งๆของคา่ นยิ ม บคุ คลแตล่ ะคน
ละมีแก่นของค่านิยมภายใจท่ี เป็นหลัก ของความเชื่อ ความคิด ความเห็น ของคนๆน้ัน ความซื่อสัตย์ต่อเอง
(integrity) ในแง่ของคา่ นิยม คือคณุ ธรรมที่ เชื่อมค่านยิ มของ คนๆนัน้ เข้ากบั ความเช่ือ ความคิด ความเหน็

2

และ การกระทาของเขา สังคมมีค่านิยมร่วมทคี่ นในสงั คมยดึ ถือร่วมกนั ค่านิยมส่วน ตัว โดยทั่วไปแลว้ มักจะ
เข้ากบั คา่ นิยมของสงั คม

คุณธรรม หมายถึง สภาพคุณงามความดแี ละความถูกต้องซึ่งบคุ คลควรยึดมัน่ ไว้เป็นหลักการในการ
ปฏิบัติตนจนเป็นนิสัยความประพฤติดีงาม เพ่ือประโยชน์แก่ตนและสังคม ซ่ึงมีพ้ืนฐานมาจากศีลธรรมทาง
ศาสนา ค่านยิ มทางวฒั นธรรม ประเพณี หลักกฎหมาย จรรยาบรรณวิชาชีพ การร้จู ักไตรต่ รองว่าอะไรควรทาไม่
ควรทา และอาจกล่าวไดว้ ่าคณุ ธรรม คอื จรยิ ธรรมทีน่ ามาปฏิบัติจนเปน็ นิสัย เช่น การเปน็ คนซ่อื สัตย์ เสียสละ
และมคี วามรับผดิ ชอบ
คุณธรรมในการทางาน

คุณธรรมในการทางาน หมายถึง ลักษณะนิสัยที่ดีท่ีควรประพฤติปฏิบัติในการประกอบอาชีพ
คณุ ธรรมสาคัญท่ีช่วยให้การทางานประสบความสาเรจ็ มีดงั น้ี

1. ความมีสติสัมปชัญญะ หมายถึง การควบคุมตนเองให้พร้อม มีสภาพต่ืนตัวฉับไวในการรับรู้ทาง
ประสาทสัมผัส การใช้ปัญญาและเหตุผลในการตัดสินใจท่ีจะประพฤติปฏิบัติในเร่อื งต่าง ๆ ได้อย่างรอบคอบ
เหมาะสม และถกู ตอ้ ง

2. ความซือ่ สัตยส์ ุจริต หมายถึง การประพฤตปิ ฏิบัตอิ ยา่ งตรงไปตรงมาทั้งกาย วาจา และใจไม่คิดคด
ทรยศ ไม่คดโกง และไมห่ ลอกลวงใคร

3. ความขยนั หมัน่ เพียร หมายถงึ ความพยายามในการทางานหรอื หนา้ ท่ีของตนเองอย่างแข็งขนั ดว้ ย
ความม่งุ ม่ันเอาใจใสอ่ ย่างจรงิ จงั พยายามทาเรอื่ ยไปจนกว่างานจะสาเรจ็

4. ความมรี ะเบยี บวินยั หมายถงึ แบบแผนทวี่ างไวเ้ พ่ือเปน็ แนวทางปฏิบัตแิ ละดาเนินการใหถ้ ูกลาดับ
ถูกที่ มคี วามเรยี บร้อย ถกู ต้องเหมาะสมกับจรรยาบรรณ ข้อบังคบั ขอ้ ตกลง กฎหมาย และศีลธรรม

5. ความรับผิดชอบ หมายถึง ความเอาใจใส่มุ่งม่ันต้ังใจต่องาน หน้าที่ ด้วยความผูกพัน ความ
พากเพียร เพ่ือใหง้ านสาเร็จตามจดุ มงุ่ หมายทกี่ าหนดไว้

6. ความมนี ้าใจ คอื ปรารถนาดีมไี มตรีจิตต้องการช่วยเหลือใหท้ ุกคนประสบความสุข และชว่ ยเหลือ
ผู้อื่นให้พ้นทกุ ข์

7. ความประหยัด หมายถึง การรู้จักใช้ รู้จักออม รู้จักประหยัดเวลาตามความจาเป็น เพื่อให้ได้
ประโยชนอ์ ยา่ งคมุ้ คา่ ทสี่ ุด

8. ความสามัคคี หมายถงึ การทท่ี กุ คนมคี วามพรอ้ มท้งั กาย จิตใจ และความเปน็ นา้ หน่ึงใจเดียวกัน มี
จดุ มุง่ หมายทีจ่ ะปฏบิ ตั ิงานให้ประสบความสาเร็จโดยไมม่ ีการเก่ียงงาน

3

ความหมายจริยธรรม

จรยิ ธรรม คือ การประพฤตปิ ฏิบัตติ ามความดีงามแหง่ คุณธรรมน้ัน
จริยธรรม = จรยิ + ธรรมะ คือ ความประพฤตทิ ีเ่ ปน็ ธรรมชาติ เกิดจากคณุ ธรรมในตวั เอง ก่อให้เกดิ
ความสงบเรียบร้อยในสงั คม รวมสรุปว่าคอื ขอ้ ควรประพฤติปฏบิ ตั ิจริยธรรม(Ethics) ความเปน็ ผู้มีจติ ใจสะอาด
บริสทุ ธ์ิ เสยี สละหรอื ประพฤติดงี าม
จริยธรรม เปน็ เร่ืองท่นี กั การศึกษาและนักวิชาการสนใจทจ่ี ะศกึ ษา เพ่ือนา มาแกป้ ญั หาจรยิ ธรรมใน
สังคมไทย และหาทางปลูกฝงั ใหบ้ คุ คลในสังคมมีจริยธรรมควบคู่ไปกบั คุณธรรม เพื่อการดารงชีวติ อยู่ในสังคม
อยา่ งมีความสขุ ในการศกึ ษาจริยธรรมไดม้ ีผ้ใู ห้ความหมายไวห้ ลากหลายในทัศนะของตน ได้แก่
จริยธรรม หมายถึง พฤติกรรมที่เป็นรปู แบบของการปฏบิ ัติตน การดาเนนิ ตนทม่ี ีความเหมาะสม
แกภ่ าวะ ฐานะ กาลเวลา และเหตุการณใ์ นปจั จุบัน(พระธรรมญาณมนุ ี, 2531 : 103)
จริยธรรม หมายถึง ความประพฤติที่ถือว่าเป็นสง่ิ ที่มีคุณค่า ความประพฤติเหล่าน้ปี ระกอบดว้ ย
ศีลธรรม คุณธรรม เนตกิ รรม และ ธรรมเนียมประเพณี (สาโรช บัวศรี)
จริยธรรม หมายถึง หลักของกฎเกณฑ์ทางศีลธรรมและค่านิยมท่ีควบคุมพฤติกรรมของบุคคลใด
บคุ คลหน่ึง หรือกลุ่มใดกลมุ่ หนึ่ง เพอ่ื พจิ ารณาวา่ สิง่ ใดทถ่ี กู และส่งิ ใดทผ่ี ิด จริยธรรมจะสร้างมาตรฐานขนึ้ มาว่า
สง่ิ ไหนที่ดีหรือสง่ิ ไหนทไ่ี ม่ดี เพ่อื ใชเ้ ปน็ เกณฑใ์ นการตดั สินใจ (ชัยเศรษฐ์ พรหมศรี, 2549)
จรยิ ธรรม หมายถงึ ความประพฤติทีเ่ กดิ จากคณุ ธรรม กฎเกณฑท์ เ่ี ป็นแนวทางในการประพฤตปิ ฏิบัติ
ตนในส่งิ ทดี่ ีงาม ส่งิ ที่ทาได้ในทางวนิ ัยจนเกดิ ความเคยชนิ มีพลังใจ มีความต้ังใจแน่วแนจ่ ึงตอ้ งอาศัยปญั ญา และ
ปญั ญาอาจเกิดจากความศรัทธาเช่ือถือผูค้ น ในทางพทุ ธศาสนาสอนว่า จรยิ ธรรม คือ การนาความรู้ ความจรงิ
หรอื กฎธรรมชาตมิ าใช้ให้เป็นประโยชนต์ ่อการดาเนินชีวติ ทดี่ งี าม

ภาพที่ 2 จริยธรรม

4

คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ

ในปัจจุบันการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศเปน็ สิง่ จาเปน็ สาหรบั ทุกองค์กร การเช่อื มโยงสารสนเทศ
ผ่านทางคอมพิวเตอร์ ทาให้ส่ิงท่ีมีค่ามากที่สุดของระบบ คือ ข้อมูลและสารสนเทศ อาจถูกจารกรรม ถูก
ปรับเปล่ียน ถูกเข้าถึงโดยเจ้าของไม่รู้ตัว ถูกปิดก้ันขัดขวางให้ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ หรือถูกทาลายเสีย
หายไป ซ่งึ สามารถเกิดขึ้นไดไ้ ม่ยากบนโลกของเครอื ขา่ ย โดยเฉพาะเมือ่ อยู่บนอินเทอรเ์ น็ต

ภาพท่ี 3 คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ

ดงั นน้ั การมคี ณุ ธรรม และจริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยจี งึ เปน็ เรือ่ งทส่ี าคญั ไมแ่ พก้ นั มรี ายละเอียดดงั น้ี
1. ไมค่ วรให้ขอ้ มูลทเี่ ปน็ เทจ็
2. ไม่บิดเบอื นความถูกตอ้ งของขอ้ มลู ใหผ้ ้รู บั คนตอ่ ไปได้ข้อมูลที่ไม่ถูกตอ้ ง
3. ไม่ควรเข้าถงึ ขอ้ มูลของผอู้ นื่ โดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต
4. ไม่ควรเปิดเผยขอ้ มลู กับผทู้ ีไ่ มไ่ ดร้ ับอนญุ าต
5. ไม่ทาลายขอ้ มลู
6. ไมเ่ ข้าควบคุมระบบบางส่วน หรอื ทั้งหมดโดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต
7. ไม่ทาให้อกี ฝ่ายหนึง่ เข้าใจวา่ ตวั เองเป็นอกี บคุ คลหนึง่ ตวั อยา่ งเชน่ การปลอมอเี มล์ของผู้ส่งเพ่อื ให้

ผูร้ ับเข้าใจผิด เพ่ือการเข้าใจผิด หรือ ต้องการลว้ งความลบั
8. การขัดขวางการใหบ้ ริการของเซิรฟ์ เวอร์ โดยการทาให้มกี ารใช้ทรพั ยากรของเซิรฟ์ เวอรจ์ นหมด

หรือถึงขีดจากัดของมัน ตัวอย่างเช่น เว็บเซิร์ฟเวอร์ หรือ อีเมล์เซิร์ฟเวอร์ การโจมตีจะทาโดยการเ ปิดการ
เช่อื มตอ่ กับเซิรฟ์ เวอร์จนถงึ ขดี จากัดของเซริ ฟ์ เวอร์ ทาใหผ้ ใู้ ชค้ นอ่นื ๆไมส่ ามารถเขา้ มาใช้บรกิ ารได้

9. ไม่ปล่อย หรือ สร้างโปรแกรมประสงค์ร้าย ( Malicious Program) ซ่ึงเรียกย่อ ๆว่า
(Malware) เป็นโปรแกรมทถ่ี ูกสร้างขน้ึ มาเพ่ือทาการ ก่อกวน ทาลาย หรือทาความเสียหายระบบคอมพิวเตอร์
เครือข่าย โปรแกรมประสงคร์ า้ ยทแี่ พรห่ ลายในปจั จบุ ันคอื ไวรสั เวิรม์ และม้าโทรจัน

5
10. ไม่ก่อความราคาญให้กับผู้อ่ืน โดยวิธีการต่าง ๆ เช่น สแปม (Spam) (การส่งอีเมลไปยังผู้ใช้
จานวนมาก โดยมีจุดประสงค์เพอ่ื การโฆษณา)
11. ไม่ผลิตหรือใช้สปายแวร์ (Spyware) โดยสปายแวร์จะใช้ช่องทางการเชื่อมต่อทางอินเตอรเ์ น็ต
เพื่อแอบส่งข้อมลู ส่วนตวั ของผนู้ ้ันไปให้กับบุคคลหรือองค์กรหน่ึงโดยทีผ่ ูใ้ ช้ไมท่ ราบ
12. ไมส่ รา้ งหรอื ใช้ไวรสั
จรยิ ธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
จรยิ ธรรมและคณุ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมีเป็นจานวนมากและเพ่ิมขึ้นทุกวัน การใช้งานระบบเครือข่ายท่ีออนไลน์และส่ง
ข่าวสารถึงกันย่อมมีผทู้ มี่ ีความประพฤตไิ ม่ดปี ะปนและสรา้ งปัญหาใหก้ ับผูใ้ ช้อน่ื อยู่เสมอ หลายเครอื ข่ายจึงได้
ออกกฎเกณฑ์การใช้งานภายในเครือข่าย เพื่อให้สมาชิกในเครือข่ายของตนยึดถือ ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และ
ได้รับประโยชน์สูงสดุ ดงั นั้น ผู้ใชอ้ ินเทอรเ์ น็ตทุกคนท่ีเป็นสมาชิกเครือข่ายจะตอ้ งเขา้ ใจกฎเกณฑ์ขอ้ บงั คับของ
เครือข่ายน้ันมีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้ร่วมใช้บริการคนอ่ืนและจะต้องรับผิดชอบต่อการกระทาของ
ตนเองทเ่ี ข้าไปขอใชบ้ ริการต่าง ๆ บนเครอื ข่ายบนระบบคอมพิวเตอร์

ภาพที่ 4 คณุ ธรรม จริยธรรม ในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ

6

จรรยาบรรณในการใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ต

จรรยาบรรณ เป็นส่ิงท่ีทาให้สังคมอินเทอร์เน็ตเป็นระเบียบความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นเรื่องท่ี
จะต้องปลูกฝงั กฎเกณฑ์ของแต่ละเครือข่ายจึงต้องมีการวางระเบียบเพ่ือใหก้ ารดาเนินงานเปน็ ไปอย่างมรี ะบบ
และเอ้ือประโยชนซ์ ึ่งกนั และกนั บางเครือข่ายมีบทลงโทษและจรรยาบรรณที่ชัดเจน เพ่ือช่วยให้สังคมสงบสุข
และหากการละเมดิ รุนแรงกฎหมายก็จะเขา้ มามบี ทบาทได้เชน่ กนั
จรรยาบรรณของผู้ใช้อินเทอร์เนต็

ใชอ้ ินเตอรเ์ น็ตนั้น มเี ปน็ จานวนมาก และมแี นวโน้มเพ่มิ ข้ึนเรือ่ ย ๆ ดงั นนั้ การใช้งานระบบเครือข่ายน้ี
กย็ อ่ มจะมีผทู้ ่ปี ระพฤตไิ ม่ดี และสร้างปญั หาใหก้ บั ผอู้ ื่นเสมอ ดงั นัน้ แต่ละเครอื ข่ายจึงต้องมกี ารกาหนดกฎเกณฑ์
ข้อบังคับไว้ และในฐานะผูใ้ ช้งานท่ไี ด้รบั สิทธิ์ ใหใ้ ช้งานเครอื ขา่ ยนั้นก็ควรที่จะต้องเข้าใจ และปฏบิ ัตติ ามกฎที่ได้
ถูกวางไว้ เพื่อให้การอยูร่ ่วมกนั ในระบบอินเตอรเ์ น็ตเปน็ ไปอย่างสงบสขุ จึงได้มีผู้พยายามรวบรวม กฎ กติกา
มารยาท และวางเปน็ จรรยาบรรณอินเตอรเ์ น็ต หรอื ทเี่ รียกว่า Netiquette ความรับผิดชอบตอ่ สงั คม เปน็ เรื่อง
ที่จะต้องปลูกฝัง กฎเกณฑ์ของแตล่ ะเครือข่าย จึงต้องมีและวางระเบยี บเพื่อใหด้ าเนินงานเป็นไปอยา่ งมีระบบ
และเอือ้ ประโยชน์ซึง่ กนั และกนั อนาคตของการใชเ้ ครอื ข่าย ยงั มีอกี มาก จรรยาบรรณจงึ เป็นสิ่งท่ชี ว่ ยให้ สังคม
สงบสขุ

ภาพที่ 5 จรรยาบรรณในการใช้อินเทอรเ์ นต็

จรรยาบรรณของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ที่ควรปฏิบัติและถือเป็นมารยาทในการใช้อินเทอร์เน็ตมีอยู่ 10
ประการ ดังน้ี

1. ต้องไม่ใชค้ อมพิวเตอรท์ ารา้ ยหรือละเมดิ ผอู้ ื่น
2. ต้องไม่รบกวนการทางานของผู้อนื่
3. ต้องไมส่ อดแนมหรอื แก้ไขเปดิ ดใู นไฟลข์ องผอู้ ่ืน
4. ตอ้ งไม่ใช้คอมพิวเตอรเ์ พื่อการโจรกรรมขอ้ มลู ข่าวสาร
5. ตอ้ งไมใ่ ช้คอมพิวเตอรส์ รา้ งหลกั ฐานท่เี ป็นเทจ็

7

6. ตอ้ งไม่คัดลอกโปรแกรมผ้อู ืน่ ทมี่ ีลขิ สิทธิ์
7. ต้องไม่ละเมิดการใชท้ รพั ยากรคอมพิวเตอรโ์ ดยทต่ี นเองไมม่ สี ทิ ธ์ิ
8. ต้องไม่นาเอาผลงานของผอู้ นื่ มาเป็นของตน
9. ตอ้ งคานึงถงึ สงิ่ ทจ่ี ะเกดิ ขึน้ กบั สังคมอนั ติดตามมาจากการกระทา
10. ตอ้ งใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบยี บ กติกามารยาท
กฎหมายและศีลธรรม (Motal) เปน็ กฎเกณฑท์ ีเ่ ป็นลายลักษณ์อักษรของสงั คมมาชา้ นานเราพอเข้าใจ
ได้งา่ ย ๆ ว่า รฐั เปน็ ผู้ตรากฎหมายข้นึ เพ่ือใช้บังคบั พลเมอื งในอาณาเขตของรัฐ ขณะศลี ธรรมเปน็ ขอ้ บญั ญตั ิทาง
ศาสนาซง่ึ เป็นหลักความเชอ่ื ของประชาชน จริยธรรม (Ethics) เป็นเร่ืองของการกาหนดความถกู ตอ้ งดีงาม ส่ิงท่ี
ไม่ควรทา มีหลักปฏิบตั ิในระดับท่ีสูงกว่ามารยาทในสังคม เช่น คนที่ไม่ยอมเข้าแถวเพ่อื ขอรบั บรกิ ารตามสทิ ธ์ิ
ก่อนหลงั อาจถือวา่ ไม่มมี ารยาทหรอื พนกั งานคอมพิวเตอร์คนหนึ่งเอาข้อมลู ทางการเงินของลกู ค้าทเ่ี ขาจะต้อง
เห็นตามหน้าที่การงานไปหาผลประโยชน์แก่ตนเอง เช่น ขายรายชื่อนั้นใหธ้ ุรกิจอื่น หรือบอกใหแ้ ก่คู่สมรสซึง่
เปน็ พนักงานขายตรงไปเสนอขายสนิ ค้า การกระทาเช่นนี้ถือว่าไมถ่ ูกตอ้ ง ไม่มจี รยิ ธรรม จรงิ อยู่ แม้วา่ บริษัทท่ี
พนักงานผูน้ ้ันทางานอยู่ จะไม่เสยี หาย แต่การนาเอาของบรษิ ัทไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวกเ็ ป็นสง่ิ ทไี่ มอ่ าจทา
ได้อยา่ งเปิดเผย หรอื พนกั งานขายสินค้าของทางบรกิ ารหน่ึงซ่งึ ลาออกจากบริษทั เพื่อไปทางานกบั บรษิ ัทคู่แข่ง
แล้วใช้ประโยชน์จากความร้ใู นเรื่องข้อมูลราคาหรือความลบั ทางการค้าของบรษิ ัทแรกไปใหบ้ รษิ ัทหลัง ก็อาจ
เรยี กได้ว่าพนกั งานคนน้ันไม่มีจริยธรรม เม่อื สงั คมสลบั ซับซ้อนขึน้ มกี ารแบง่ หน้าทก่ี ันออกเป็นหนา้ ท่ตี า่ ง ๆ จึง
มีขอ้ กาหนดทีเ่ รยี กว่า “จรรยาวชิ าชีพ” (Code of Conduct) ขนึ้ เพ่ือใช้เปน็ หลกั ปฏิบตั ขิ องคนในอาชีพนน้ั ๆ
เราคงเคยได้ยิน จรรยาบรรณของแพทย์ ที่จะไม่เปิดเผยเรื่องราวส่วนตัวของคนไข้ จรรยาบรรณของ
นักหนังสือพิมพ์ท่ีรับเงินทองส่ิงตอบแทนเพ่ือเสนอข่าวหรือไม่เสนอข่าวไม่เปิดเผยแหล่งข่าวถ้าแหล่งข่าวไม่
ตอ้ งการจรรยาบรรณวิชาชพี ของสถาปนกิ หรอื วิศวกรผอู้ อกแบบที่ต้องไม่รบั ผลประโยชนใ์ ด ๆ จากผูข้ ายอปุ กรณท์ ่ี
ใช้ในงานที่เขาออกแบบ ซึ่งขายให้กับผู้ว่าจ้างงานช้ินนั้นเพราะเขาได้รับผลตอบแทนจากผู้ว่าจ้างแล้ว
จรรยาบรรณของวิชาชีพใด ก็มักกาหนดข้ึนโดยสมาคมวิชาชีพนั้น โดยมี ข้อ กำหนด บทลงโทษท่ี
นอกเหนือไปจากกฎหมายบา้ นเมือง เช่น เพิกถอนสมาชิกภาพ เพกิ ถอนหรือพักใบประกอบวชิ าชีพ และอาจมี
กฎหมายรองรับอีกด้วย อาชีพนักคอมพิวเตอร์ เป็นอาชีพใหม่ในสังคมสารสนเทศ การใช้คอมพิวเตอร์และ
ระบบสารสนเทศ กเ็ ป็นสง่ิ ใหมท่ ีม่ ศี ีลธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณเฉพาะของตนซ่งึ บางครัง้ กแ็ ตกต่างจาก
จริยธรรมท่ียอมรับกันมาแต่ก่อน หลักพื้นฐานของจริยธรรมในสังคมสารสนเทศก็คือการเคารพผู้อ่ืน เคารพ
ความเป็นสว่ นตวั การเขา้ ถึงระบบคอมพิวเตอรแ์ ละข้อมูลกจ็ ะเฉพาะสทิ ธ์ิท่ตี นเองมใี นส่วนทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับงาน

8

จรยิ ธรรมในสังคมสารสนเทศ

โดยท่ัวไป เมอื่ พดู ถงึ จริยธรรมท่เี กีย่ วขอ้ งกบั สงั คมยุคสารสนเทศ จะพดู ถึงประเด็น หรอื กรอบแนวคิด
ทางด้านจริยธรรมที่ต้งั อยบู่ นพ้นื ฐาน 4 ประเดน็ ดว้ ยกนั คอื

1. ความเป็นสว่ นตัว information privacy
ความเป็นส่วนตัว หมายถึง สิทธิส่วนตัวของบุคคลหน่วยงาน หรือองค์กรท่ีจะคงไว้ ซ่ึง

สารสนเทศที่มีอยู่ นัน้ เพื่อตัดสนิ วา่ สารสนเทศดังกล่าวสามารถเปิดเผยได้ ยินยอมให้ผอู้ ื่นนาไปใชป้ ระโยชน์ต่อ
หรอื เผยแพรไ่ ด้ หรอื ไม่หากมีการนาไปใชจ้ ะมีการจดั การกบั สิทธิดังกล่าวอยา่ งไร ซง่ึ เปน็ สงิ่ ทเี่ จา้ ของสิทธ์คิ วรท่ี
จะได้รับรู้ และด้วยเหตุที่สังคมยุคสารสนเทศมีการเจรญิ เติบโตอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งข้อมูลมีการเผยแพรแ่ ละ
เรยี กใชง้ านกันอยา่ งมากมาย การควบคมุ ไม่ใหม้ กี ารละเมดิ สทิ ธิความเป็นส่วนตวั กนั น้นั อาจทาไดค้ ่อนขา้ งยาก
โดยเฉพาะในยุคของอินเตอร์เน็ตที่เฟ่ืองฟูและคนทั่วไปสามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยง่าย เราอาจพบเห็นการ
ละเมิดความเป็นส่วนตัวโดยทวั่ ไป เช่น มีการใช้โปรแกรมติดตามไดส้ ารวจพฤตกิ รรมของผู้ทใ่ี ช้งานบนเวบ็ ไซต์
และแอบเอาข้อมูลส่วนตัวของผูใ้ ช้งานไปใช้ เพื่อผลประโยชน์อ่ืน มีการนาฐานข้อมูลส่วนตัวรวมถึงอีเมล์ของ
สมาชกิ ผใู้ ชง้ านบนเครอื ข่าย สง่ ให้กบั บรษิ ทั ผูร้ บั ทาโฆษณาออนไลน์ เพ่อื วเิ คราะหห์ าลูกค้ากลุ่มเปา้ หมายวา่ ผ้ใู ช้
รายใด เหมาะกับกลุ่มสินค้าท่ีจะโฆษณาประเภทไหนมากท่ีสุด จากนั้นก็ส่งจากโฆษณาไปให้ผ่านอีเมล์เพ่ือ
นาเสนอขายสนิ ค้า เป็นต้น การกระทาดังกลา่ วผู้ใช้งานไมม่ ีทางทราบเลยว่าข้อมูลของตนนั้นได้ถูกนาไปใชก้ บั
แหล่งข้อมูลท่ีไหนบ้าง มีข้อมูลส่วนใดบ้างที่ถูกนาไปใช้ใคร ใครเป็นผู้นาไปใช้ และจะก่อให้เกิดความไม่เป็น
ส่วนตวั ตามมาอยา่ งไร

ภาพที่ 6 จรยิ ธรรมในสังคมออนไลน์

การท่อี ุปกรณท์ างเทคโนโลยสี ารสนเทศมคี วามเจรญิ กา้ วหน้ามากขนึ้ บริษัท หรอื นายจ้างอาจ
มกี ารใช้ระบบตรวจสอบ และติดตามพฤติกรรมของลกู จ้าง เพ่อื พฒั นาประสิทธภิ าพในการทางานโดยรวม เช่น
นาระบบกลอ้ งวิดโี อวงจรปดิ มาตรวจสอบและตดิ ตามดูพฤตกิ รรมการทางานของลกู จา้ ง รวมถึงการใช้โปรแกรม

9
ตรวจสอบพฤติกรรมการทางานของพนักงานบางประเภท ซึ่งผู้บรหิ ารหรอื หัวหน้างานสามารถเรียกดูข้อมลู ได้
ตลอดเวลา ประเดน็ นถ้ี งึ แม้ในใจจะไมไ่ ดท้ าผิดกฎหมายแต่อย่างใด เน่อื งจากเป็นการตรวจสอบการทางานของ
พนักงานโดยปกติ แต่ก็ถือว่าเป็นการกระทาท่ีผิดจริยธรรมเน่ืองจากพฤติกรรมของพนักงานถูกแอบดูอยู่
ตลอดเวลา จึงทาใหพ้ นักงานไมม่ ีความเป็นส่วนตวั นนั่ เอง

ความเป็นส่วนตัวนี้ อาจหลีกเล่ียงการละเมิดสิทธิ์ดังกล่าวได้ เช่น ในกรณีของบางบริษัทที่
ต้องการเข้าถงึ ข้อมลู สว่ นตัวของลกู ค้า อาจมีการประกาศแจ้งหรือสอบถามลกู ค้ากอ่ นที่จะเข้าใช้บรกิ าร ว่าจะ
ยอมรบั ท่ีจะให้นาข้อมลู สว่ นตัวนไ้ี ปเผยแพรห่ รอื นาไปให้กับบริษัทฯ เพอื่ ใชง้ านอย่างใดอยา่ งหนงึ่ หรือไม่ จะพบ
เห็นได้จากผูใ้ ห้บรกิ ารข้อมลู บนอินเตอร์เนต็ ทั้งหลาย ท่ีให้ใช้งานกป่ี ี เพื่อแลกกับรายได้ค่าโฆษณา ทผ่ี ใู้ หบ้ รกิ าร
รายนัน้ จะได้มา เช่น บริการฟรอี ีเมล์ บริการพืน้ ที่เก็บข้อมลู บรกิ ารใช้งานโปรแกรมฟรี เปน็ ตน้ ซง่ึ ผทู้ ปี่ ระสงค์
จะเขา้ ใช้งานจาเป็นจะต้องกรอกและใหร้ ายละเอยี ดข้อมูลสว่ นตวั เสียก่อน จากนั้นจงึ จะสามารถเปน็ สมาชิกโดย
สมบรู ณ์และใช้งานไดใ้ นท่สี ดุ เป็นตน้

2. ความถูกตอ้ งแมน่ ยา information Accuracy
ความถกู ต้องแมน่ ยาของข้อมลู ขา่ วสาร เป็นประเด็นท่มี ีการพดู ถึงมากเช่นเดยี วกนั ข้อมูลและ

สารสนเทศทีถ่ ูกนาเสนอเผยแพร่ มีการเข้าถงึ ไดใ้ ช้งานไดง้ า่ ย ในยคุ ของสงั คมสารสนเทศนั้น อาจมบี างประเด็น
ท่ีไม่ตรงกับความเป็นจริง มีความคลาดเคลอื่ นอยู่มาก ตลอดจนความน่าเชื่อถือมีค่อนข้างน้อย การนาข้อมูล
และสารสนเทศไปใชง้ าน อาจก่อให้เกิดผลเสยี หายได้ ในกรณที ผี่ ูใ้ ช้งานผ่านการวเิ คราะห์รวมถงึ การตรวจสอบ
แหล่งท่ีมาของข้อมูลที่ดีพอ จริยธรรมสาหรับผู้ที่ทาหน้าที่เผยแพร่โดยนาเสนอข้อมูลต่าง ๆ เหล่านี้ จึงควร
ตระหนกั ว่า การนาเสนอขอ้ มลู สารสนเทศน้นั ควรเปน็ ข้อมูลท่ีมกี ารกลน่ั กรองและตรวจสอบความถูกต้องขอ้ มลู
มคี วามแมน่ ยาและสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ได้ โดยไมส่ ง่ ผลกระทบใด ๆ กับผูใ้ ชง้ าน

ภาพที่ 7 จรยิ ธรรมในสงั คมสารสนเทศ

ตัวอย่างของการขาดจริยธรรมในประเด็นนี้ เราอาจพบเห็นแหล่งข่าวทางอินเตอร์เน็ต
หนังสือพิมพ์ หรือรายการโทรทัศน์ ที่นาเสนอข้อมูลข่าวสารโดยเน้ือหาที่นาเสนอ อาจมีทั้งข้อมลู จริง ข้อมูลท่ี

10

สร้างขน้ึ เอง หรือข่าวสารทไี่ มไ่ ด้มกี ารกลนั่ กรอง เพื่อผู้ใช้งานผา่ นหรอื นาไปตีความ และเข้าใจว่าภาษานัน้ เปน็
เร่ืองจรงิ อาจทาใหเ้ กิดความผดิ พลาดตอ่ สังคมโดยรวมและส่งผลกระทบต่อบุคคลทเี่ ก่ียวข้องได้ ดังนั้น การรบั
ข้อมลู ขา่ วสารมาใช้จงึ ควรมกี ารตรวจสอบตีความและวิเคราะห์พจิ ารณาให้ดีเสยี กอ่ น ผูใ้ ช้งานสารสนเทศจงึ ควร
เลือกรับขอ้ มูลข่าวสารจากแหล่งท่มี คี วามน่าเชอ่ื ถอื ได้และสามารถตรวจสอบแหล่งท่ีมาไดโ้ ดยงา่ ย

จริยธรรมในประเดน็ ของความถูกต้องแม่นยา อาจเกิดข้นึ จากการขาดความรอบคอบ ของผู้ที่
นาเสนอและเผยแพร่ขอ้ มลู การขาดการดูแลเอาใจใส่กบั ข้อมูลอยา่ งดพี อ ไมม่ กี ารปรับปรุงขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ใหเ้ ปน็
ปัจจุบัน รวมถึงมีการบันทึกและประมวลผลข้อมูลท่ีผิดพลาด เมื่อนาข้อมูลข่าวสารที่ผิดพลาดนั้นไปใช้
ประกอบการตดั สนิ ใจ กอ็ าจทาให้เกิดผลเสยี ได้ ประเดน็ นเ้ี มื่อเกิดขึน้ แลว้ ผู้ท่ีมหี นา้ ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง ตอ้ งแสดงออกถงึ
การมี "จริยธรรมทด่ี ี" ด้วยการรับผดิ ชอบต่อสง่ิ ผิดพลาดทีเ่ กิดขึน้ รวมถึงปรบั ปรุงแก้ไขรายการตา่ ง ๆ ใหม้ คี วาม
ถูกตอ้ งและเพื่อสามารถนาไปใช้ประโยชนไ์ ด้ และก่อให้เกดิ ผลเสยี หายนอ้ ยทสี่ ุด

3. ความเปน็ เจ้าของ information property
สังคมยุคสารสนเทศท่ีมีการเผยแพร่และนาเสนอข้อมูลได้อย่างง่ายดาย มีเคร่ืองมือและ

อุปกรณ์ที่ทันสมัยสนับสนุนวิธีการจัดสรา้ งและเผยแพรท่ ี่ง่ายข้ึน ก่อให้เกิดการลอกเลยี นแบบ ทาซ้าหรอื ล่วง
ละเมิดลิขสิทธิ์ (copyright) อันเปน็ สทิ ธ์ิโดยชอบในการแสดงความเป็นเจา้ ของ ของชิ้นงานน้ัน ๆ ของบุคคล
หรือบริษัทผูท้ าการผลติ การละเมิดดังกลา่ วอาจทาไดโ้ ดยทเ่ี จา้ ของผลงาน ได้รับผลกระทบทางโดยตรงและโดย
อ้อม (ผลกระทบโดยตรง เช่น ยอดจาหน่ายสินค้าน้ันลดลง เนื่องจากมีคนหายไปซื้อของทที่ าซ้ามากข้ึน ทาให้
รายไดล้ ดลง ส่วนผลโดยออ้ ม เช่น กอ่ ใหเ้ กิดภาพลักษณ์เสยี หายแกบ่ รษิ ทั เนือ่ งจากมีการดัดแปลงต่อเติมข้อมลู
และนาไปใช้ในทางท่ีผิด และผู้ใช้เข้าใจว่าเป็นสิ่งท่ีบริษัทได้กระทาขึ้น เป็นต้น) ตัวอย่างการขาดจริยธรรม
ประเดน็ นี้ ได้แก่ การทาซ้าหรอื ผลิตซดี ีเพลง ซดี ีภาพยนตรร์ วมถงึ ซีดีโปรแกรมละเมดิ ลขิ สิทธ์ิ ออกมาจาหนา่ ย
ในตลาดมืดอย่างมากมาย โดยเฉพาะอุปกรณ์สนับสนุน ในการบันทึกข้อมูลซ้าได้น้ันมีการผลิตข้ึนมาอย่าง
มากมายและมแี นวโน้มที่ถกู ลง เช่น CD writer และ DVD writer ทาให้ผู้ใช้ตามบา้ น ก็สามารถบันทกึ ข้อมลู ซ้า
และนาไปใช้งานต่อได้อย่างง่ายดาย กรณีของข้อมูลบนเว็บไซต์ที่เผยแพร่ไปยังผู้ใช้งานท่ัวไปก็เช่นเดียวกัน
ข้อมูลบางอย่างอาจถูกลกั ลอบ และขโมยเผยแพร่ได้ ผู้ให้บริการบางราย จงึ ตอ้ งชีแ้ จงข้อตกลงเบ้ืองต้นเก่ียวกบั
การประกาศความเป็นเจา้ ของลิขสทิ ธต์ิ ่าง ๆ ภายในเว็บไซต์แห่งนน้ั ด้วย

คนส่วนใหญ่ มักมองว่าการ “ขโมย” สินค้าที่จับต้องได้ และเป็นรูปมาทา เช่น ทีวี วิทยุ
โทรทัศน์ เป็นการกระทาที่ผิดและไม่ควรกระทาเป็นอย่างยิ่ง แต่ถ้าเป็นการทาตามข้อมูลสื่อดิจิตอลท้ังท่ี
ยกตัวอย่างไปน้ัน อาจไม่รู้สึกผิดแต่อย่างใดเพราะเป็นสนิ ค้าท่จี บั ต้องไม่ได้มองไม่เหน็ แล้วรู้สึกเป็นนามธรรม
มากกว่า ประเดน็ นี้ผู้ใช้ควรเปลยี่ นแนวความคิดเสยี ใหมแ่ ละพงึ ระลกึ อยู่เสมอว่าการกระทาดงั กล่าวจะไมเ่ ป็น
การ “ขโมย” สินค้าของผอู้ ่ืนเชน่ เดยี วกนั ซ่งึ นอกจากผดิ จรยิ ธรรมอันดีงามแลว้ ยงั ถอื ไดว้ า่ เปน็ การกระทาทผ่ี ดิ
กฎหมายด้วย

อย่างไรก็ดี ปัจจุบันบรษิ ัทผ้ผู ลิตอาจมีแนวทางปอ้ งกนั การทาซา้ ข้อมลู หรอื เอาข้อมูลนัน้ ไปใช้
ต่อ โดยเทคโนโลยีการป้องกันแบบต่าง ๆ เช่น มีการใช้ number ซึ่งเป็นรหัสท่ีได้จากการซื้อโปรแกรมที่ขาย

11
โดยผู้ผลิตและตัวแทนจาหน่ายเพื่อเอาไว้ตรวจสอบการใช้โปรแกรมของผู้ท่ีเอาไปใช้ ว่ามีลิขสิทธิ์ที่ถูกต้อง
หรือไม่ หรือมีการใช้เทคนิคของการเข้ารหัสสาหรับป้องกันการทาซ้าหรือคัดลอกซีดีต้นฉบับ รวมถึงการให้
ลูกค้าทนี่ าโปรแกรมไปใช้ตอ้ งทาการลงทะเบียนการใช้งานไปยังบริษทั ผผู้ ลิตสือ่ เพื่อตรวจสอบการใช้งานด้วย

ภาพที่ 8 จรยิ ธรรมในสังคมสารสนเทศ
4. การเข้าถึงข้อมูล information Accessibility

ข้อมูลท่ีมีการเผยแพร่ และแลกเปลี่ยนกันอย่างแพร่หลายนั้น อาจจะมีการกาหนดสิทธิ์การ
เข้าถงึ ขอ้ มูลของผใู้ ช้ตา่ งระดับกนั โดยผู้ทาหนา้ ที่ดแู ลระบบจะเปน็ ผู้กาหนดสิทธิใ์ นการเข้าถึงขอ้ มลู ว่าใครเคยใช้
งานในระดับใด และใช้ในระดับใดได้บา้ ง ซึ่งบางหน่วยงานอาจกาหนดสิทธ์ิใหใ้ ช้ได้เฉพาะกับพนกั งานบางคน
หรือบางแผนกท่ีจะเขา้ ถึงขอ้ มูลได้เท่าน้ัน หากเป็นพนักงานคนอ่ืนก็ไม่สามารถใช้ได้ บางแห่งอาจจะกาหนดให้
บคุ คลภายนอกให้ใช้ได้ตามความเหมาะสมหรอื ไม่สามารถเข้าใชง้ านไดเ้ ลย ขอ้ มลู เกยี่ วกบั เอกสารเผยแพร่ต่าง
ๆ ข้อมูลการคน้ ควา้ หรือใชอ้ า้ งอิง มีการเก็บไวเ้ ปน็ หลกั ฐานข้อมูลอาจกาหนดสิทธ์ิใหเ้ ขา้ ใชง้ านไดเ้ ฉพาะสมาชกิ
ท่ีลงทะเบียนแลว้ เทา่ น้ัน บคุ คลอนื่ ทไ่ี ม่ได้เป็นสมาชิกอาจจะเขา้ ไปใช้บริการดา้ นตา่ ง ๆ นนั้ ไม่ได้ เปน็ ต้น

ภาพที่ 9 จริยธรรมในสงั คมสารสนเทศ

12

เหตุท่ีต้องมีการกาหนดสิทธิ์ ในการเข้าถึงข้อมูลเช่นน้ีก็เพราะในความจริงเป็นองค์กรท่ีไม่
สามารถทราบได้ว่าใครบ้างท่ี “ประสงค์ดี” และใครบ้างท่ี “ไม่ประสงค์ดี” ต่อองค์กร เนื่องจากในปัจจุบัน
สารสนเทศมีการแลกเปล่ยี นและเผยแพร่ผา่ นระบบเครือขา่ ยมากย่งิ ข้ึน ข้อมูลต่าง ๆ และการเขา้ ถึงขอ้ มูลจึง
กระจายมากมากขึ้นตามไปดว้ ย ข้อมูลบางอย่างทีม่ คี วามสาคญั อาจร่ัวไหล หรือถกู เผยแพร่ได้ โดยทห่ี นว่ ยงาน
นั้น ๆ ไม่อาจทราบได้ ดังนั้น การกาหนดสิทธ์ิเพื่อให้เข้าถึงข้อมลู ได้เฉพาะบุคคลท่ีเก่ียวข้องท่ีสามารถปอ้ งกัน
ปญั หาน้ีได้ในระดับหนงึ่

อย่างไรก็ดี ถงึ แม้จะมกี ารกาหนดสทิ ธ์ิดังกลา่ วแล้วกต็ าม เราอาจพบเหน็ ผู้ “ไมป่ ระสงคด์ ี” ใน
สงั คมยคุ สารสนเทศน้ีอยู่เสมอ โดยลกั ลอบเข้ามาใช้ข้อมลู ทีไ่ มไ่ ดร้ บั อนญุ าตเพือ่ นาไปใช้เปน็ ประโยชน์บางอย่าง
หรอื เขา้ กอ่ กวนระบบในองค์กรใหเ้ กิดความเสยี หาย เชน่ ทาใหข้ ้อมลู ถกู ลบทิ้งจากฐานข้อมลู มีการเปลย่ี นแปลง
แก้ไขรายการบางประเภท รวมถงึ การปลอมแปลง และทาความเสยี หายต่อบรษิ ัทผู้เป็นเจ้าของขอ้ มลู

จากประเด็น ท่ีกล่าวข้างต้นผูใ้ ชส้ ารสนเทศจึงควรมจี ริยธรรมที่ดี ในเร่ืองของการเขา้ ถึงข้อมูล
ไม่ควรลักลอบเข้าไปใช้ข้อมูลของผู้ใดโดยไม่ได้รับอนุญาต ไม่พยายามก่อกวนหรือเข้าไปใช้งานข้อมูลที่อาจ
ส่งผลเสยี หาย ใด ๆ รวมถึงการปกปอ้ งไม่ให้สิทธ์ิการเข้าถึงข้อมูลของตัวเองตกไปอยู่ในมือของ “ผ้ไู ม่ประสงค์
ดี” ควรเก็บรักษาสิทธิ์การเข้าถึงข้อมูลน้ันไว้กับตนเองอย่างปลอดภัย เช่น รหัสผ่าน ATM ของธนาคารท่ีเรา
เปิดบญั ชี หรือข้อมูลเก่ียวกับหมายเลขบัตรเครดิตสาหรบั ซ้ือสินค้า ไม่ควรบอกกล่าวกบั ใครถึงแมจ้ ะเป็นเพ่ือน
หรือญาตสิ นิทกต็ าม เพราะอาจทาใหส้ ทิ ธิ์น้นั รว่ั ไหลและจะสง่ ผลท่รี า้ ยเเรงขนึ้ มาได้

13

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย

ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทสาคัญและส่งผลตอ่ การเปล่ียนแปลงในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะ
เปน็ ด้านการดาเนนิ ชวี ิตประจาวนั การศกึ ษา เศรษฐกิจ สงั คม การเมือง และการดาเนนิ งานในทุกสาขาอาชีพ
ทาให้ทุกคนในสังคมต้องมีการปรับตัว และพัฒนาตนเองให้ทนั ต่อการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศ
การใช้งานเทคโนโลยสี ารสนเทศมีทงั้ คุณและโทษต้องศึกษาเพ่อื ใชง้ านไดอ้ ย่างรู้เทา่ ทัน และสามารถใช้ชวี ิตอยู่ได้
อย่างปลอดภัยในสงั คมปจั จบุ ัน นอกจากน้ียังต้องสามารถเลือกและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศด้านต่าง ๆ อย่าง
สรา้ งสรรค์และมีจรยิ ธรรม

1. ภยั คกุ คามจากการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการปอ้ งกนั
การใช้งานไอทีโดยการเช่ือมต่อกับอินเตอรเ์ น็ต ช่วยให้ผู้ใช้สามารถติดต่อสื่อสาร และเข้าถงึ

ข้อมูลจากแหลง่ ข้อมูลทอี่ ยทู่ ั่วโลกได้สะดวก และรวดเร็ว แต่ในทางกลับกันถ้าใช้งานไม่ระมดั ระวัง ขาดความ
รอบคอบอาจก่อให้เกดิ ปญั หาจากการคุกคามการหลอกลวงผ่านเครือข่ายได้ นอกจากนีก้ ารเข้าถงึ เนื้อหาที่ไม่
เหมาะสม กส็ รา้ งปัญหาด้านสังคมให้กับเยาวชนจานวนมาก ดงั นน้ั การเรียนรกู้ ารใช้งานไอทีไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
และปลอดภยั จงึ มีความจาเป็นอยา่ งยงิ่

ภาพที่ 10 ภัยคกุ คามจากการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการปอ้ งกัน

1.1 วิธกี ารคกุ คาม
ภัยคกุ คามท่ีมาจากมนุษยน์ ัน้ มีหลากหลายวิธี โดยมีการตงั้ แตก่ ารใช้ความรขู้ ั้นสงู ด้านไอที

ไปจนถงึ วธิ กี ารท่ไี มจ่ าเป็นต้องใชค้ วามรู้ และความสามารถทางเทคนคิ เช่น
1. การคุกคามโดยใช้หลักจิตวิทยา เป็นการคุกคามท่ีใช้การหลอกลวงเพ่ือให้ได้ข้อมูลที่

ต้องการโดยไม่ต้องใช้ความรู้ความชานาญด้านไอที เช่น การใช้กลวิธีในการหลอกเพ่ือให้ได้รหัสผ่านหรือส่ง
ขอ้ มูลทีส่ าคัญให้ โดยหลอกวา่ จะไดร้ บั รางวลั แต่ตอ้ งทาตามเงื่อนไขท่ีกาหนด แตต่ ้องปอ้ งกันได้โดยใหน้ กั เรียน
ระมัดระวังในการใหข้ อ้ มูลส่วนตวั กบั บคุ คลใกลช้ ิดหรอื บคุ คลอ่นื

14

2. การคุกคามด้วยเน้ือหาที่ไม่เหมาะสม ข้อมูลและเน้ือหาที่มีอยู่ในแหล่งต่าง ๆ บน
อนิ เตอรเ์ น็ตมีจานวนมากเพราะสามารถสรา้ ง และเผยแพรไ่ ดง้ ่าย ทาใหข้ อ้ มลู อาจไม่ได้รับการตรวจสอบความ
ถูกต้องและความเหมาะสม ดังนัน้ ข้อมลู บางส่วนอาจกอ่ ใหเ้ กิดปญั หากับนกั เรยี นได้

ตัวอย่างแหล่งข้อมูลและเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม เช่น แหล่งข้อมูลเก่ียวกับการใช้ความ
รุนแรงการยยุ งให้เกิดความวุน่ วายทางสังคม การพนนั สือ่ ลามกอนาจาร เน้ือหาหม่ินประมาท การกระทาทีผ่ ดิ
ต่อกฎหมายและจรยิ ธรรม

ข้อมูลและเนื้อหาเหล่าน้ีสามารถเข้าถึงได้ง่ายและยากต่อการป้องกัน กรอกข้อมูลที่ไม่
เหมาะสม เพราะขอ้ มลู ทีไ่ มเ่ หมาะสมสว่ นใหญ่มกั มีเรื่องของผลประโยชนเ์ ข้ามาเกยี่ วข้อง ดังจะเหน็ ได้จากการใช้
งานแอพพลิเคชั่นเว็บไซต์ และส่ือบางประเภท นอกจากน้ีอาจมีข้อมูลท่ไี ม่เหมาะสมนั้นปรากฏข้ึนมาเองโดย
อัตโนมัติถึงแม้ว่า แอพพลิเคชั่นหรือเว็บไซต์น้ันเป็นของหน่วยงานท่ีน่าเชื่อถือก็ตาม เช่นเว็บไซต์หน่วยงาน
ราชการ บรษิ ัทช้ันนา ดงั นน้ั นกั เรียนควรจะใชว้ ิจารณญาณในการเลือกรบั หรือปฏเิ สธขอ้ มลู เหลา่ นั้น

3. การคุกคามโดยใช้โปรแกรม เป็นการคุกคามโดยใช้โปรแกรมเปน็ เครือ่ งมือสาหรบั ก่อ
ปัญหาดา้ นไอที โปรแกรมดงั กลา่ วเรียกว่า มลั แวร์ (malicious software : malware) ซง่ึ มีหลายประเภทเช่น

- ไวรัสคอมพิวเตอร์ (computer virus) คาท่เี ขยี นดว้ ยเจตนารา้ ย อาจทาให้ผใู้ ชง้ าน
เกิดความราคาญหรือก่อให้เกิดความเสียหายตอ่ ข้อมูลหรอื ระบบ โดยไวรัสคอมพวิ เตอรจ์ ะติดมากบั ไฟล์ และ
สามารถแพร่กระจายเมอื่ มกี ารเปดิ ใชง้ านไฟล์ เชน่ ไอเลิฟยู ( ILOVEYOU), เมลสิ ซา (Melissa)

- เวิร์ม (worm) หรือท่ีเรียกกันว่า หนอนคอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมอันตรายที่
สามารถแพร่กระจายไปสเู่ ครอื่ งคอมพวิ เตอรเ์ ครอ่ื งอ่นื ในเครือข่ายได้ด้วยตนเอง โดยใชว้ ิธหี าจดุ อ่อนของระบบ
รักษาความปลอดภัย แล้วแพร่กระจายไปบนเครือขา่ ยได้อย่างรวดเรว็ และกอ่ ใหเ้ กิดความเสียหายท่รี นุ แรง เช่น
โคด้ เรด (Code Red) ทมี่ ีการแพร่ในเครือขา่ ยเว็บของไมโครซอฟท์ในปี พ.ศ. 2544 ส่งผลใหเ้ ครื่องแมข่ า่ ยท่ัว
โลกกวา่ 2 ล้านเคร่อื งต้องหยุดให้บรกิ าร

- ประตกู ล (Backdoor/t rapdoor) เปน็ โปรแกรมที่มกี ารเปดิ ช่องโหวไ่ วเ้ พ่อื ใหผ้ ู้ไม่
ประสงคด์ สี ามารถเขา้ ไปคุกคามระบบสารสนเทศ หรอื เคร่ืองคอมพิวเตอร์ผ่านทางระบบเครือขา่ ยโดยท่ีไมม่ ใี คร
รับรู้ บริษัทรับจ้างพัฒนาระบบสารสนเทศบางแห่งอาจจะติดต้ังประตูบนไว้ เพื่อดึงข้อมูลหรือความลับของ
บริษทั โดยท่ผี ู้ว่าจ้างไม่ทราบ

- ม้าโทรจัน (trojan horse virus) เป็นโปรแกรมที่มีลักษณะคล้ายโปรแกรมทั่วไป
เพือ่ หลอกลวงให้ผใู้ ชต้ ิดตง้ั และเรยี กใชง้ าน แตเ่ มอื่ เรยี กใช้งานแล้วกจ็ ะเริ่มทางานเพื่อสรา้ งปัญหาต่าง ๆ ตาม
ผเู้ ขยี นกาหนด เชน่ ทารายข้อมลู หรอื ลว้ งข้อมลู ท่เี ปน็ ความลบั

- ระเบิดเวลา (Logic Bomb) เป็นโปรแกรมอันตรายท่ีจะเริ่มทางาน โดยมี
ตัวกระตุ้นบางอย่าง หรือกาหนดเงื่อนไขการทางานบางอย่างขึ้นมา เช่น App ส่งข้อมลู ออกไปยังเคร่ืองอืน่ ๆ
หรอื ลบไฟลข์ ้อมูลทิ้ง

- โปรแกรมดักจับข้อมูลหรือ สปาย์แวร์ (Spyware) เป็นโปรแกรมท่ีแอบขโมย
ข้อมูลของผู้ใช้ระหว่างใช้งานคอมพวิ เตอร์ เพื่อนาไปใช้แสวงหาผลประโยชน์ต่าง ๆ เช่น เก็บข้อมูลพฤตกิ รรม

15
การใชง้ านอินเตอรเ์ น็ตเพอ่ื นาไปใช้ในการโฆษณา เก็บขอ้ มูลรหสั ผา่ นเพือ่ นาไปใชใ้ นการโอนเงนิ ออกจากบัญชี
ผู้ใช้

- โปรแกรมโฆษณาหรือแอดแวร์ ( advertising Supported Software : adware) เปน็
โปรแกรมทแ่ี สดงโฆษณา หรือดาวน์โหลดโฆษณาอัตโนมัตหิ ลังจากที่เคร่ืองคอมพวิ เตอร์น้ันติดต้งั โปรแกรมที่มี
แอดแวร์ อยู่ นอกจากน้ีแอดแวร์บางตวั อาจจะมี Spyware ท่ีคอยดกั จบั ขอ้ มูลของผใู้ ชง้ านเอาไว้เพือ่ ส่งโฆษณา
ท่ีตรงกับพฤติกรรมการใช้งาน ทั้งนี้อาจจะสร้างความราคาญให้กับผู้ใช้งาน เนื่องจากโฆษณาจะส่งมาอย่าง
ต่อเนอื่ ง ในขณะท่ีผ้ใู ช้ไมต่ อ้ งการ

- โปรแกรมเรยี กค่าไถ่ (ransomware) เป็นโปรแกรมขัดขวางการเขา้ ถึงไฟลข์ ้อมลู ใน
เคร่ืองคอมพิวเตอร์ หรือโทรศัพท์มือถือด้วยการเข้ารหัส จนกว่าผู้ใช้จะจ่ายเงินให้ผู้เรียกค่าไถ่ จึงจะได้รับ
รหัสผ่านเพ่ือทจี่ ะสามารถใช้งานไฟล์น้ันได้ เช่น คริปโตล็อกเกอร์ (CryptoLocke) ในปี พ.ศ. 2556 ท่ีมีการ
เผยแพร่กระจายไปทุกประเทศทั่วโลกผา่ นไฟล์แนบในอเี มล์ และ วนั นาคราย (wannacry) ในปี พ.ศ. 2560 ที่
แพรก่ ระจายไดด้ ว้ ยวธิ ีเดยี วกบั เวริ ม์

1.2 รูปแบบการป้องกนั ภัยคุกคาม
แนวคดิ หนง่ึ ทใ่ี ช้สาหรับการปอ้ งกนั ภยั คุกคามด้านไอที คือการตรวจสอบ และยนื ยันตัวตน

ของผใู้ ช้งานก่อนการเร่มิ ต้นใชง้ าน การตรวจสอบเพ่อื ยืนยนั ตวั ตนของผใู้ ชง้ านสามารถดาเนนิ การได้ 3 รปู แบบ
ดงั น้ี

1. ตรวจสอบจากสิง่ ที่ผู้ใชร้ ู้ เป็นการตรวจสอบตวั ตนจากส่งิ ที่ผใู้ ชง้ านรแู้ ตเ่ พียงผู้เดยี ว เช่น
บญั ชีรายช่ือผใู้ ช้กับรหสั ผา่ นการตรวจสอบวิธนี เ้ี ป็นวธิ ีที่ไดร้ ับความนิยมสูงสุด เนื่องจากเปน็ วิธีที่ง่าย และระดับ
ความปลอดภัยเป็นท่ียอมรับไดห้ ากนักเรียนลืมรหสั ผ่าน สามารถตดิ ต่อผ้ดู แู ลเพอ่ื ขอรหสั ผ่านใหม่

ภาพที่ 11 รูปแบบการป้องกันภัยคกุ คาม

16
2. ตรวจสอบจากสิง่ ทีผ่ ใู้ ช้มี เป็นการตรวจสอบตวั ตนจากอุปกรณท์ ผี่ ใู้ ช้งานตอ้ งมี เช่น บตั ร
สมาร์ตการ์ด โทเกน้ อย่างไรก็ตาม การตรวจสอบวิธนี ม้ี คี ่าใช้จ่ายในสว่ นของอุปกรณ์เพิม่ เติม และมกั มปี ัญหา
คอื ผู้ใช้งานมักลมื หรือทาอุปกรณท์ ใี่ ช้ตรวจสอบหาย

ภาพท่ี 12 รูปแบบการป้องกันภยั คุกคาม
3. ตรวจสอบจากสิ่งที่เป็นส่วนหน่ึงของผู้ใช้ เป็นการตรวจสอบข้อมูลชีวมาตร
(biometrics) เช่น ลายน้ิวมือ ม่านตา ใบหน้า เสียง การตรวจสอบนที้ ่ีมปี ระสทิ ธิภาพสูงสุดแต่มคี ่าใช้จา่ ยท่ีสูง
เมื่อเปรียบเทยี บ กับวิธีอื่น และต้องมีการจัดเกบ็ ลกั ษณะเฉพาะของบคุ คล ซ่ึงมีผใู้ ช้บางสว่ นอาจจะเหน็ ว่าเป็น
การละเมิดสิทธคิ์ วามเป็นส่วนตัว

ภาพที่ 13 รปู แบบการปอ้ งกันภัยคกุ คาม
1.3 ข้อแนะนาในการต้ังและใช้งานรหสั ผา่ น

การกาหนดรหัสผา่ นเปน็ ที่การตรวจสอบตัวตนที่นิยมมากท่ีสุดเน่ืองจากว่าเป็นวิธีท่ีง่าย
และค่าใช้จ่ายต่าเม่ือเทยี บกบั วธิ ีอ่นื ส่งิ ท่ีควรคานงึ ถึงในการกาหนดรหสั ผ่านให้มคี วามปลอดภยั มดี งั น้ี

17
1. รหัสผ่านควรตั้งให้เปน็ ไปตามเง่อื นไขของระบบท่ีใช้งาน รหัสผ่านท่ีควรประกอบด้วย
ตวั อักษรตวั ใหญ่ ตัวเลก็ ตวั เลข และสัญลักษณ์ เชน่ Y1nG@# !z หรือ @uG25sx*
2. หลีกเล่ียงการต้ังรหัสผา่ นโดยใช้วัน เดือน ปีเกิด ช่ือผู้ใช้ ชื่อจังหวัด ช่ือตัวละคร ช่ือ
สงิ่ ของต่าง ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง หรือคาทีม่ อี ยใู่ นพจนานุกรม
3. ต้ังให้จดจาไดง้ า่ ย แต่ยากต่อการคาดเดาด้วยบคุ คลหรือโปรแกรม เชน่ สร้างความสัมพนั ธ์
ของรหัสผา่ นกบั ขอ้ ความหรือขอ้ มลู สว่ นตวั ที่คนุ้ เคย เช่น ตัง้ ชือ่ สนุ ขั ตวั แรก แต่เขียนตัวอักษรจากหลังมาหนา้
4. บัญชีรายชื่อผู้ใช้แต่ละระบบ ควรใช้รหัสผ่านท่ีแตกต่างกัน โดยเฉพาะบัญชีท่ีใช้เข้าถึง
ข้อมูลที่มคี วามสาคัญ เช่น รหสั ผา่ นของบตั รเอทีเอม็ หลายใบใหใ้ ช้รหสั ผ่านต่างกนั
5. ไม่บันทึกรหัสแบบอัตโนมัติบนโปรแกรมบราวเซอร์ โดยเฉพาะอย่างย่ิงหากใช้เครื่อง
คอมพิวเตอรร์ ว่ มกบั ผูอ้ ืน่ หรอื เครอื่ งสาธารณะ
6. ไม่บอกรหสั ผา่ นของตนเองให้กบั ผอู้ ื่นไม่ว่ากรณใี ด ๆ
7. มนั เปล่ียนรหัสผา่ นเป็นประจาอาจจะทาทกุ ๆ 3 เดือน
8. เดือนอีก เดือนหลกี เลย่ี งการบันทกึ รหสั ผา่ นใน เดือนหลีกเลย่ี งการบันทกึ รหัสผ่านใน
กระดาษสมุดโน้ตร้วั เดือนหลกี เล่ยี งการบนั ทึกรหสั ผ่านในกระดาษสมดุ โนต้ รวมทง้ั อปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ เดอื น
หลกี เลี่ยงการบันทึกรหัสผา่ นในกระดาษสมดุ โน้ตรวมทงั้ อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ด้วย เดอื นหลีกเล่ยี งการบันทึก
รหัสผ่านในกระดาษสมุดโน้ตรวมท้ังอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ด้วยหากจาเป็นต้องบันทึกก็ควรจัดเก็บไว้ในที่
ปลอดภยั
9. ออกจากระบบทกุ คร้ังเมอื่ เลือกใชบ้ รกิ ารต่าง ๆ บนอนิ เตอรเ์ น็ต

ภาพท่ี 14 รปู แบบการปอ้ งกันภยั คกุ คาม

2. การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ
การใช้งานไอทีเป็นเรื่องใกล้ตัวของทุกคน อย่างไรก็ตามการใช้งานไอทีอาจส่งผลกระทบต่อ

ผ้ใู ชง้ าน ดงั น้ันการเรยี นรู้ การทาความเข้าใจเง่อื นไขการใช้งานจึงเปน็ สง่ิ สาคญั
2.1 การศึกษาเงอ่ื นไขการใชง้ าน

18

การใชง้ านไอทีในปัจจบุ ันมที ง้ั แบบมีคา่ ใช้จา่ ยและไม่มีค่าใช้จา่ ย แต่ทุกระบบที่ให้บริการมี
การกาหนดเงื่อนไขในการใช้งานทั้งสิ้น เว็บไซต์และแอพพลิเคชั่นต่าง ๆ ที่ให้บริการจะมีการแจง้ เงือ่ นไขการ
ติดต้งั และใช้งานใหผ้ ใู้ ชท้ ราบกอ่ นเสมอ อาจรวมถึงค่าใช้จา่ ยในการใช้งานซง่ึ ชาระด้วยเงนิ หรือต้องกรอกข้อมูล
หรือตอบคาถามเปน็ การแลกเปล่ียน ข้อกาหนดทีต่ ้องรบั โฆษณาในช่วงของการใชง้ าน การอนุญาตผู้ใหบ้ ริการ
เขา้ ถงึ ภาพถา่ ยหรอื ขอ้ มลู รายชื่อท่ีอยใู่ น smartphone ของผูใ้ ช้ ดงั นั้นควรอา่ นและทาความเข้าใจเงอื่ นไขก่อน
การตดิ ต้ังและใชง้ าน

- ลิขสิทธ์ิ (copyright) โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ เนื้อหา หรือสื่อต่าง ๆ ส่วนใหญ่มีลิขสทิ ธิ์
คุ้มครอง ทาให้ผู้ใช้หรือผู้ซ้ือไม่สามารถท่ีจะนาไปเผยแพร่ ทาสาเนาต่อโดยท่ีไม่รับอนุญาตจากผู้สร้างสรรค์
ผลงาน เช่น ผู้ใช้ท่ีซ้ือโปรแกรมประยุกต์มาใช้งานส่วนตัว ลิขสิทธ์ิที่ได้คือ การติดต้ังและใช้งานโปรแกรม
ประยุกต์น้ันได้ แต่ไม่สามารถทาสาเนาและแจกจ่ายให้ผู้อื่นได้ ลิขสิทธิ์เป็นทรัพย์สินทางปัญญาประเภท 1
ลขิ สทิ ธ์ิ หมายถึง สิทธทิ างวรรณกรรม ศิลปกรรม และประดษิ ฐกรรม ซ่ึงผู้บรโิ ภคตน้ คิดได้รับการคุม้ ครองตาม
กฎหมาย (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554) ในขณะท่ีกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวง
พาณิชยไ์ ด้ให้ความหมาย “ลขิ สิทธ์วิ ่า สิทธิแตเ่ พยี งผเู้ ดียวทจ่ี ะกระทาการใด ๆ เก่ียวกับงานท่ผี สู้ รา้ งสรรคไ์ ดร้ ิเริม่
โดยการใชส้ ตปิ ญั ญาความรคู้ วามสามารถ และความวิริยะอุตสาหะของตนเอง ในการสรา้ งสรรคโ์ ดยไม่ลอกเลยี น
งานของผู้อื่น หน่วยงานทส่ี ร้างสรรค์จะต้องเปน็ งานประเภทท่ีกฎหมายลิขสิทธิใ์ ห้ค้มุ ครอง โดยผูส้ รา้ งจะไดร้ ับ
ความคมุ้ ครองทนั ทีทีส่ ร้างสรรคโ์ ดยไม่ตอ้ ง จดทะเบยี น”

- สัญญาณอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commos : CC) การใช้งานไอทีหรือ
งานต่าง ๆ ที่มีลิขสิทธิ์คุ้มครองอาจจาเป็นต้องมีค่าใช้จ่าย ซ่ึงทาให้เกิดปัญหาและปิดโอกาสในการเรียนรู้
องค์กรครีเอทีฟคอมมอนส์จนิ ตนาสัญญา อนญุ าตทที่ าให้ผ้ใู ช้สามารถใช้งานและเผยแพร่ผลงานภายใต้เงื่อนไข
ที่กาหนดโดยไมต่ ้องเสียค่าใช้จ่ายและยังเปน็ การเพิม่ โอกาสการเรียนรู้ แต่ยงั คงไว้ซ่ึงผลประโยชน์และการรับรู้
เจ้าของผลงาน
http://www.creativecommons.org
ข้อกาหนดในการใชผ้ ลงานต่าง ๆ จะแทนด้วยสญั ลักษณ์ เชน่

หมายถึงสามารถใช้ เผยแพร่ และดัดแปลงได้ แต่ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา
ของผลงาน

หมายถึง สามารถใช้ เผยแพร่ และดัดแปลงได้ แต่ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา
และ ยินยอมให้ผู้อื่นนาไปใช้หรอื เผยแพรต่ ่อได้

หมายถึง สามารถใช้ และเผยแพรไ่ ด้ หา้ มดัดแปลง แต่ต้องอา้ งอิงแหลง่ ทีม่ า

19
หมายถงึ สามารถใช้ และเผยแพร่ได้ แต่ตอ้ งอ้างอิงแหลง่ ที่มา หา้ มนาไปใช้
เพือ่ การค้า

2.2 การปกป้องความเป็นส่วนตัว
ความเป็นส่วนตัว (privacy) เป็นลิขสิทธิ์พ้ืนฐานท่ีสาคัญของมนุษย์ทุกคนความเป็น

ส่วนตัวของข้อมลู และสารสนเทศ เจ้าของสามารถปกปอ้ งและควบคุมการเปิดเผยข้อมูลของตนเองให้กับผอู้ ่ืนและ
สาธารณะได้ โดยเจา้ ของสิทธิ นอกจากจะเป็นบคุ คลแล้วอาจเปน็ กลุม่ บคุ คลหรือองค์กรก็ได้

การเข้าถึงข้อมูลในเอกสารหรือสอื่ อิเล็กทรอนิกส์ของผอู้ ื่นโดยไมไ่ ด้รับอนุญาต เป็นการ
ละเมิดความเปน็ ส่วนตัว เช่น เวบ็ ไซต์หรอื แอปพลเิ คชั่น บางตัวท่ีตดิ ตามความเคลอ่ื นไหว หรือพฤติกรรมของ
ผใู้ ช้งานเพือ่ เรยี นร้พู ฤตกิ รรมสาหรบั ปรบั ปรงุ คณุ ภาพการให้บริการ หรอื การวางแผนการตลาด

นอกจากการถูกละเมิดความเป็นส่วนตัวจากผู้อื่นแล้ว ผู้ใช้อาจยินยอมท่ีจะเปิดเผยข้อมูล
ส่วนตัวของตนเอง เนอ่ื งจากการรู้เท่าไม่ถึงการณ์ จะก่อใหเ้ กดิ ปญั หาในอนาคตและยากตอ่ การกลบั มาแกไ้ ข

ภาพท่ี 15 การปกป้องความเปน็ ส่วนตัว

2.3 แนวทางการใชไ้ อทีอย่างปลอดภยั
การใช้งานไอทีเป็นส่วนหน่ึงในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ และส่งผลกระทบต่อผู้ใช้งาน

โดยเฉพาะอย่างย่ิงการใช้งานไอทีผา่ นสมาร์ทโฟนทีม่ ักมีแอพพลิเคช่ันจานวนมาก ให้เลือกติดตั้งได้ฟรภี ายใต้
เงื่อนไขบางประการ ซึ่งหลายคนมักละเลยในการอ่านเงื่อนไขเหล่าน้ี การใช้ไอทีอย่างปลอดภัยนั้นผู้ใช้งาน
จาเป็นตอ้ งเขา้ ใจในประเด็น ต่าง ๆ ดงั นี้

1. ศกึ ษาเงอื่ นไขและข้อตกลง กอ่ นการตดิ ตง้ั หรือใชง้ านไอที
2. มีความรู้ความเข้าใจ และความสามารถในการใช้ไอที เพ่ือให้ใช้งานได้อย่างถูกต้อง
และมีประสิทธภิ าพ

20
3. ไม่ใชบ่ ญั ชผี ใู้ ช้รว่ มกับผอู้ น่ื เนอื่ งจากไมส่ ามารถควบคุมความปลอดภัยได้ และเส่ียงตอ่
การรวั่ ไหลของรหัสผ่านและขอ้ มูลสว่ นตัว
4. สารองข้อมูลอย่างสม่าเสมอ และเก็บไว้หลายแหล่งโดยเม่ือมีเหตุการณ์ที่ทาให้
ไฟล์ข้อมูลเสียหาย เช่น ข้อมูลโดนไวรัสทาลาย เครื่องคอมพวิ เตอร์เสียหาย สามารถนาข้อมูลทสี่ ารองไว้มาใช้
งานได้
5. ติดต้ังซอฟต์แวร์เท่าท่ีจาเป็น และไม่ติดต้ังโปรแกรม ท่ีดาวน์โหลดจากแหล่งท่ีไม่
น่าเช่ือถือ เพอื่ ปอ้ งกันมัลแวร์ทแ่ี ฝงมากบั โปรแกรม

ภาพที่ 16 แนวทางการใช้ไอทีอย่างปลอดภยั

6. เขา้ ใจกฎ กติกา และมารยาททางสังคมในการใช้งานไอที ซ่ึงเป็นสงิ่ จาเปน็ ในการใช้งาน
ไอที เพราะจะช่วยป้องกันปัญหาต่าง ๆ ท่ีอาจเกิดข้ึนได้โดยไม่ต้ังใจ เช่น การเรียนรู้การใช้อักษรย่อ การใช้
สญั ลกั ษณ์ต่าง ๆ

7. หลีกเลี่ยงการใช้งานเว็บไซต์ท่ีไม่เหมาะสมหรอื ไมแ่ นใ่ จวา่ เป็นของหน่วยงานใด
8. ปรับปรุงระบบปฏบิ ัติการและโปรแกรมตา่ ง ๆ ให้ทนั สมัยอยู่เสมอ เชน่ โปรแกรมแกไ้ ข
จุดบกพร่องของระบบปฏิบตั ิการที่เรียกว่า อัพเดท หรือ แพทช์ โปรแกรมป้องกนั ไวรัส ซึ่งโปรแกรมจะมีการ
เพ่มิ เติมความสามารถในการป้องกนั ไวรสั ใหม่ๆ ทาให้อุปกรณ์และขอ้ มลู ใชง้ านได้อยา่ งปลอดภัย
9. สังเกตส่ิงผิดปกติท่ีเกิดจากการใช้งาน เช่น มีโปรแกรมแปลกปลอมปรากฏขึ้นได้รับ
อีเมลจากคนที่ไม่ร้จู กั หรือเข้าเว็บไซต์ที่คุณเคยแตม่ ีบางสว่ นของ URL หรือหน้าเว็บที่เปลย่ี นไป ให้ตรวจสอบ
และหาข้อมูลเพิม่ เติม จนกวา่ จะม่ันใจกอ่ นการใชง้ าน
10. ระวงั การใชง้ านไอทีเมอ่ื อยูใ่ นที่สาธารณะ เชน่ ไม่เชอ่ื มตอ่ ไวไฟโดยอัตโนมัติ ไม่จดจอ
ใช้งานโทรศพั ท์เคลือ่ นทีโ่ ดยไมส่ นใจสงิ่ ท่เี กดิ ขึ้นรอบตัว ซงึ่ อาจตกเป็นเหยอื่ มิจฉาชพี หรือทาให้เกิดอุบัติเหตไุ ด้
2.4 การใช้งานไอทีอย่างสรา้ งสรรค์
การใช้งานไอทีอย่างสร้างสรรค์ คือ การใช้งานไอทีให้เกิดประโยชน์อย่างเหมาะสม ผู้ใช้
จาเป็น ต้องมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ เพราะไอทีช่วยให้เข้าถึงข้อมูลและเน้ือหาจานวนมากอย่าง

21
รวดเร็ว ดังนน้ั นกั เรยี นตอ้ งสามารถวเิ คราะห์ เนอ้ื หา และสง่ิ ต่าง ๆ ท่ีได้รับว่า มีความนา่ เชื่อถอื มากน้อยเพยี งใด
เพื่อคัดกรองและนาไปใช้ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์และมีคุณค่า เช่น ใช้ไอทีในการตดิ ตามและรับรขู้ ่าวสารต่าง ๆ
รวบรวมและสรุปความรูใ้ หก้ ับเพ่อื นๆ ผ่าน facebook ฝึกเขยี นโปรแกรมเพื่อพฒั นาตนเอง

ภาพท่ี 17 การใชง้ านไอทอี ย่างสร้างสรรค์

22

แหลง่ อา้ งอิง

sites.google.com. ความหมายของคุณธรรม. [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ที่มา
https://sites.google.com/site/kahftgtrtr464878/
(คน้ เมอ่ื วันท่ี 7 มกราคม 2564)

sites.google.com. ความหมายของจริยธรรม. [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ท่มี า
https://sites.google.com/a/chauatwit.ac.th/
(ค้นเมื่อวันท่ี 7 มกราคม 2564)

sites.google.com. คณุ ธรรม จรยิ ธรรมในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ. [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ที่มา
https://sites.google.com/site/abdulbasitpetsu/
(ค้นเมอ่ื วันที่ 7 มกราคม 2564

panupongpot.blogspot.com. จรรยาบรรณของผู้ใช้อินเทอรเ์ นต็ . [ระบบออนไลน์]. แหล่งทม่ี า

http://panupongpot.blogspot.com/2012/07/blog-post.html
(คน้ เม่ือวันท่ี 7 มกราคม 2564)
sites.google.com. จริยธรรมในสงั คมสารสนเทศ. [ระบบออนไลน์]. แหล่งท่มี า
https://sites.google.com/site/pornnipaask11/criythrrm-kab-sangkhm-yukh-sarsnthes
(ค้นเมื่อวนั ท่ี 7 มกราคม 2564)
www.168training.com. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั . [ระบบออนไลน์]. แหล่งท่มี า
http://www.168training.com/e-learning_new/tc_co_m1_2/more/IPST06.php
(ค้นเมอ่ื วนั ที่ 7 มกราคม 2564)

จัดทาโดย
นางสาววรศิ รา ใจเส็น

เลขท่ี 11 สบล.63.1
สาขาวิชาการเลขานกุ าร

รายงานนเี้ ปน็ ส่วนหน่ึงของ รหัสวิชา 30203-2002
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในงานเลขานกุ าร
ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564
วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาลาปาง


Click to View FlipBook Version