The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หน่วยที่ 1-8

หน่วยที่ 1-8

4
รูปภาพ เสียงและอ่ืน ๆ โดยผ่านระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ ท่ีมีผู้ใช้งานกระจายกันอยู่ ท่ัวโลก ปัจจุบันไดม้ ี
การนาระบบอินเทอรเ์ นต็ เขา้ มาใช้ในวงการศกึ ษากันทว่ั โลก ซึง่ มีประโยชน์ใน ดา้ นการเรยี นการสอนเปน็ อยา่ ง
มาก

1.2 การประยกุ ตใ์ ช้ในงานด้านธุรกจิ
1. Videoconference เป็นการรวมรวมเทคโนโลยี 2 อย่างเข้าไว้ดว้ ยกัน คอื เทคโนโลยวี ีดีโอ

และเทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ ซึ่งมจี ุดประสงค์เพอื่ สนับสนนุ การประชมุ ทางไกล ดังนัน้ ผู้ติดภารกิจไม่สามารถเข้า
ร่วมประชุมตามทก่ี าหนดไว้ได้ก็สามารถใช้ Videoconference ทาการเช่ือมต่อเคร่อื งคอมพิวเตอร์ของตนเอง
ผ่านเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ มายังห้องประชมุ ในเวลาที่นดั หมายไดท้ ันที ในขณะทปี่ ระชมุ อยูน่ ัน้ ผู้เข้าร่วมประชุม
ทกุ คนสามารถเหน็ ข้อมูล ภาพ หรอื กราฟผลติ ภณั ฑ์ของบรษิ ทั ได้พรอ้ มกันทกุ คนชว่ ยลดคา่ ใช้จา่ ยในการเดินทาง
ที่ห่างไกลได้ และประหยดั เวลาเดินทางด้วย ซ่ึงอุปกรณท์ ่ีใช้ได้แก่ เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ท่ีติดต้ังการ์ดเสยี ง หรอื
Sound onboard กล้องถา่ ยวีดีโอขนาดเล็ก ไมโครโฟน ลาโพง (หูฟังหรอื Head-Set) และตอ้ งมีโปรแกรมทใ่ี ช้
ควบคุมการรบั ส่ง ขอ้ ความ ภาพและเสียง รวมทง้ั ไฟล์ตา่ ง ๆ ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ จะทาให้ผู้รว่ มประชมุ เหน็
ภาพและได้ยินเสียงของผู้ร่วมประชุมคนอื่นได้ และยังมีเทคโนโลยีท่ีทาหน้าที่ไม่ต่างกับ Videoconference
หรือ Web Conference เป็นการประชุมผ่านเว็บไซต์ และ Video Telephone Call ท่ีสนทนาผ่านโทรศัพท์
พร้อมทัง้ เหน็ ภาพอีกฝา่ ยหนงึ่ ไดพ้ รอ้ มกัน

ภาพที่ 1.2.1 วดี ีโอคอนเฟอเรนซ์ (Videoconference)

2. Voice Mail จะทาหน้าที่คล้ายกับเครอ่ื งตอบรบั โทรศัพท์อตั โนมัติ ซึ่งจะบันทึกเสยี งของ
ผทู้ ่ีโทรศัพท์เข้ามาไวใ้ นเคร่ือง บนั ทกึ เทป แต่ท่ีตา่ งกนั คอื แทนทีจ่ ะบนั ทึกเสียงของผพู้ ูดไว้ดว้ ยสัญญาณอนาลอ็ ก
แบบเครื่องบันทึกเทปทว่ั ไป แต่บันทึกเกบ็ ไว้ใน Voice Mailbox ของเคร่อื งคอมพวิ เตอรด์ ้วยสญั ญาณดิจทิ ลั โดย
ปกติระบบ Voice Mail จะมี Voice Mailbox ใช้เป็นกล่องเก็บบนั ทึกข้อความเสยี งเพียงกล่องเดียว ต่อ 1 ระบบ
เท่าน้ัน ไม่ว่าจะมีผู้ใช้ก่ีคนก็ตาม เช่น การนา Voice Mail มาใช้ในบริษัทหรือในมหาวิทยาลยั ซ่ึงพนักงานใน
บริษัทหรือนักศึกษาในมหาวิทยาลัยต่างก็ใช้ Voice Mailbox ตัวเดียวกันน้ีเก็บบันทึกเสียงไว้ เป็นต้น ส่วน
ภายใน Voice Mailbox นี้สามารถแบ่งเปน็ โฟลเดอร์ย่อย ๆ ให้ผู้ใช้แต่ละคนได้ ทาให้เรียกข้อความขึ้นมาฟัง

5
ตอบกลับหรือส่งต่อข้อความไปถึงผใู้ ช้คนอื่นได้ หากต้องการสง่ ขอ้ ความไปถึงผู้รบั พร้อมกันหลายคนกส็ ามารถ
ทาได้

ภาพท่ี 1.2.2 Voice Mai
3. Fax ข้อมูลส่ือสารผา่ นเทคโนโลยีแฟกซ์นี้อาจเปน็ ข้อความท่ีพิมพ์ขึ้นหรือเขียนขึ้นด้วยมอื
และอาจจะมรี ปู ภาพดว้ ยก็ได้ การรับและสง่ ผ่านข้อมลู นี้ผใู้ ช้สามารถเลอื กใชเ้ คร่ืองแฟกซ์ หรือจะใช้คอมพิวเตอร์
ท่ีมีการติดตัง้ แฟกซ์/โมเด็มเป็นอปุ กรณ์ส่อื สารกไ็ ด้ แต่การใช้คอมพิวเตอร์นนั้ จะช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายและมี
ประสิทธิภาพดีกว่าการใช้เคร่อื งแฟกซธ์ รรมดา ถ้าใช้คอมพิวเตอร์ผู้ใช้สามารถดูข้อความหรือรปู ภาพผ่านทาง
หน้าจอได้ทันทไี มจ่ าเป็นต้องพิมพ์ออกมาเปน็ เอกสาร ซึ่งเป็นการประหยัดเวลาและกระดาษนอกจากน้ีผู้ใชย้ งั
เก็บขอ้ มูลต่าง ๆ ไวเ้ ปน็ ไฟลไ์ ด้ ซึ่งจะทาใหผ้ ูใ้ ชค้ วบคุมและจดั การไฟล์ได้งา่ ยกว่าการเก็บเป็น เอกสาร และด้วย
ประโยชนเ์ ช่นนี้จึงทาให้บริษทั ใหญ่ ๆ เช่น บริษัทประกันภัยทต่ี ้องการรบั ส่งข้อความต่าง ๆ จานวนมากในแต่ละ
วันหนั มาใช้การรบั สง่ แฟกซ์ดว้ ยโมเดม็ แทนการใช้เครือ่ งแฟกซ์ธรรมดา

ภาพที่ 1.2.3 Fax

6
4. Group Ware คือ โปแกรมทีช่ ่วยสนบั สนุนกลุ่มบุคคลทท่ี างานร่วมโครงการเดียวกันให้มี
การแบ่งปันสารสรสนเทศผ่านทางเครือข่าย (LAN และ WAN) โดย Group Ware เป็นองค์ประกอบของแนว
ความคิดอิสระท่เี รียกวา่ “Workgroup Computing” ประกอบดว้ ยฮารด์ แวร์และซอฟแวร์ตา่ ง ๆ ของเครอื ขา่ ย
ซ่ึงจะทาให้ผู้ร่วมงานทุกคนสามารถส่ือสารถึงกัน และร่วมกันจัดการ โครงการต่าง ๆ ร่วมประชุมตามหมาย
กาหนดการ ตลอดจนรว่ มกนั ตัดสินใจเปน็ กลุ่มได้

ภาพที่ 1.2.4 Group Ware
5. Collaboration เป็นความสามารถของซอฟแวร์แต่ละชนิดทีท่ าให้ผูใ้ ช้งานทางานร่วมกนั ได้
โดยต่อเชื่อมถึงกันผ่าน Server เช่น โปรแกรม Microsoft Office 2010 ที่สามารถปฏิบัติงานหรือติดต่องาน
ร่วมกับผู้อ่ืนได้และมีความสามารถในการควบคุมการประชุมแบบออนไลน์ (Online Meeting) เช่น สามารถ
แบง่ ปนั ไฟลเ์ อกสารให้กับผ้อู ่นื ไดเ้ ปดิ อ่านพรอ้ มกนั และถ้ามีบางคนเปล่ยี นแปลงข้อมูลไฟล์คนอนื่ ๆ ที่กาลังเปิด
อยูก่ ็จะเหน็ การเปลี่ยนแปลงนน้ั ด้วย เป็นต้น

ภาพที่ 1.2.5 ลักษณะ Collaboration

7
6. EDI (Electronic Data Interchange) คอื การแลกเปลย่ี นเอกสารทางธุรกิจระหวา่ งบรษิ ทั
คู่ค้าในรูปแบบมาตรฐานสากลจากเครื่องคอมพิวเตอร์เครอื่ งหน่ึงไปยังเครอ่ื งคอมพิวเตอรอ์ ีกเคร่ืองหนึ่ง โดย
ระบบ EDI จะมีองค์ประกอบท่สี าคัญ 2 อยา่ ง คือ การใช้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์แทนเอกสารท่เี ป็นกระดาษและ
เอกสารอิเลก็ ทรอนกิ สเ์ หล่าน้ตี ้องอยูในรปู แบบมาตรฐานสากล ด้วยองค์ประกอบประกอบนี้ใหท้ กุ ธรุ กจิ สามารถ
แลกเปลีย่ นเอกสารกันไดท้ ่วั โลก

การแลกเปล่ยี นข้อมลู อิเลก็ ทรอนิกส์ เปน็ การสบั เปลย่ี นเอกสารการซ้ือขายทางธรุ กจิ ระหวา่ ง
องค์มาตรฐาน 2 องค์กรขึ้นไปผ่านทางคอมพิวเตอร์โดยตรง สามารถนาไปใช้ได้ท้ังองค์กรภายในและองคก์ ร
ภายนอก ทั้งในประเทศ และระหว่างประเทศ เชน่ ใบกากับสินค้า (Invoices) ใบตราสง่ สินคา้ (Bill Of Lading)
และใบส่ังซื้อสินค้า (Purchase Orders) การสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นี้ เป็นส่วนหน่ึงของพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce: E-Commerce) ปจั จบุ ันมหี ลายองค์กรท่ีนาเอาระบบ EDI เข้าไปใช้
เช่น Customs Declaration (กรมศุลากากร-การนาเข้าส่งออกสินค้า) Purchase Order Invoice (ธุรกิจค้า
ปลีกค้าส่ง - การซ้ือสินค้า รายการสินค้า) Payments (ธนาคาร-การชาระเงนิ ระหว่างองค์กร) Manifest Bill
of lading Airway Bill (ธุรกิจขนส่ง - การไหลเวียนของสินค้าระหว่างท่าเรอื และรวบรวมระบบท่าเรอื กับผู้
ขนสง่ สินคา้ ในประเทศและระหวา่ งประเทศ) Letter of Credit (ผนู้ าเขา้ -ส่งออก-กระบวนการนาเข้าส่งออก)

การสับเปลยี่ นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ สามารถประหยัดงบประมาณและเวลาได้มาก เพราะ
เอกสารในการซื้อขายสามารถสง่ ผา่ นระบบสารสนเทศ จากที่หนึ่งไปยังอีกทหี่ นึ่งได้สะดวกรวดเร็ว ตลอดตน
สามารถสง่ ผ่านถึงการส่ือสารทางไกลผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอรไ์ ด้ด้วยแม้เกี่ยวกับงานพิมพ์ผ้ใู ช้สามารถป้อน
ข้อมูลเข้าท่ีเคร่ืองคอมพิวเตอร์ต้นทาง โดยไม่ต้องเสียเวลาส่งเอกสารระบบของ EDI น้ี เป็นกลยุทธ์ท่ีอานวย
ประโยชน์ได้อย่างสูง ชว่ ยให้เกดิ ความเชอื่ ถือได้แน่นอน โดยการเข้ารหัส (Lock in) ของลูกคา้ ให้ถูกต้องและทา
ไดง้ ่ายสาหรบั ลกู ค้าหรอื ผูจ้ าหนา่ ยท่จี ะสง่ สนิ ค้าจากผจู้ าหน่ายสินคา้

ภาพท่ี 1.2.6 ลักษณะของ EDI

8
7. GPS (Global Positioning System) ประกอบด้วยเทคโนโลยีทีใ่ ช้ตรวจสอบตาแหนง่ ท่ีตัง้
ของ GPS Receiver (อปุ กรณร์ บั สญั ญาณ) ผ่านดาวเทยี ม แบ่งการทางานเปน็ 2 ขัน้ ตอน

7.1 ดาวเทียมแต่ละดวงท่ีโคจรอยู่รอบโลกจะส่งสัญญาณมาท่ี GPS Receiver ทุก ๆ
1,000 วินาที ซงึ่ สญั ญาณทีส่ ง่ มาน้ี เป็นสัญญาณที่บอกใหท้ ราบว่า GPS Receiver กาลงั อยู่ที่พกิ ดั ใดในโลก

7.2 เม่ือ GPS Receiver ไดร้ บั สญั ญาณแลว้ จะทาการวิเคราะหส์ ัญญาณทไี่ ดจ้ ากดาวเทยี ม
แล้วแสดงออกมาให้ผู้ใช้ไดท้ ราบ ซง่ึ รูปแบบการแสดงผลนี้สามารถแบ่งออกได้ 2 แบบ คอื

* แสดงผลที่ GPS Receiver จะมีจอภาพแสดงใหเ้ หน็ วา่ กาลังอยู่ ณ ตาแหน่งใดใน
แผนท่โี ลก

* รบั สญั ญาณจากดาวเทียมแลว้ สง่ สัญญาณไปวเิ คราะหแ์ ละแสดงผลตอ่ ยงั สถานี

ภาพท่ี 1.2.7 ลักษณะของ GPS

8. จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-Mail) คือ การส่งข้อความหรือข่าสารจากบุคคลหนึ่งไปยังอกี
บุคคลหนึ่งไปยังบุคคลอ่ืน ๆ ผ่านทางคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่ายในรูปแบบชองสัญญาณข้อมูลท่ีเป็น
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์โดยเปลย่ี นจากการนาส่งจากบรุ ุษไปรษณีย์มาเป็นโปรแกรม และแลกเปลยี่ นจากการใช้เส้นทาง
คมนาคมทั่วไปมาเปน็ ช่องสญั ญาณรูปแบบต่าง ๆ ที่เช่ือมต่อระหว่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซ่ึงจะตรงเข้ามาสู่
Mail Box ทถ่ี ูกจดั สรรใน Server ของผู้รบั ปลายทางทันที ทาให้ระบบการตดิ ต่อสอ่ื สารข้อมูลถงึ กันสามารถทา
ได้ง่ายซ่ึงเป็นทางเลือกใหม่ของการติดต่อสื่อสาร สามารถส่งหรือรับข้อมูลได้ทันทีและตลอดเวลาที่เคร่ือง
คอมพวิ เตอร์เชือ่ มตอ่ เข้าสู่ระบบ โดยค่าใช้จ่ายท่เี กดิ ข้ึนจะสมั พนั ธ์กับค่าโทรศัพท์ทใ่ี ช้และค่าธรรมเนียมในการ
ขอใช้บริการจากผู้ใหบ้ ริการอินเทอร์เน็ต ส่วนมากจะใช้ E-Mail เพื่อส่งข้อมูลท่ีสามารถจัดเกบ็ ในรปู แบบของ
แฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์ได้ทุกประเภท ในเชิงธุรกิจ E-Mail จะช่วยลดค่าใช้จ่ายและระยะเวลาในการติดต่อ
สื่อสาร และสามารถสง่ จดหมายฉบับเดียวกนั ถึงผู้รบั ปลายทางได้จานวนมาก ทาใหม้ กี ารนา E-Mail มาใชเ้ พ่ือ
การโฆษณา หรือประชาสมั พันธส์ นิ คา้ และบริการได้

9

ภาพท่ี 1.2.8 ลกั ษณะของ E-Mail
1.3 การประยุกต์ใช้ในงานด้านสาธารณสขุ และการแพทย์

เทคโนโลยสี ารสนเทศได้รับการนามาใช้ในการพฒั นา ด้านสาธารณสุขอยา่ งกวา้ งขวาง และทา
ใหง้ านดา้ นสาธารณสขุ เจริญก้าวหน้าอยา่ งรวดเรว็ โดยกระทรวงสาธารณสุข ได้ปรับระบบการบริหารงาน และ
นาเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ในงานต่าง ๆ ดังนี้

- ด้านการลงทะเบียนผู้ปว่ ย ตัง้ แตเ่ ริม่ ทาบตั ร จา่ ยยา เกบ็ เงนิ
- การสนบั สนุนการรกั ษาพยาบาล โดยการเชือ่ มโยงระบบคอมพิวเตอรข์ องโรงพยาบาลตา่ ง ๆ
เข้าด้วยกัน สามารถสรา้ งเครอื ข่ายข้อมลู ทางการแพทย์ แลกเปลยี่ นข้อมลู ของผปู้ ่วย

ภาพที่ 1.3.1 ประยุกต์ใช้ในงานด้านสาธารณสขุ และการแพทย์
- สามารถให้คาปรึกษาทางไกล โดยแพทย์ผู้เช่ียวชานาญ เทคโนโลยีสารสนเทศ จะช่วยให้
แพทย์สามารถเห็นหน้า หรือท่าทางของผู้ป่วยได้ ช่วยให้ส่งข้อมูลที่เป็นเอกสาร หรือภาพเพ่ือประกอบการ
พจิ ารณาของแพทยไ์ ด้
- เทคโนโลยีสารสนเทศจะช่วยในการ ให้ความรู้แก่ประชาชนของแพทย์ หรือหน่วยงาน
สาธารณสขุ ต่าง ๆ เป็นไปดว้ ยความสะดวก รวดเรว็ ได้ผลขึ้น โดยสามารถใช้สื่อตา่ ง ๆ เช่น ภาพน่ิง ภาพเคลื่อนไหวมี
เสียงและอ่ืน ๆ เปน็ ต้น

10
- เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วยให้ผู้บริหารสามารถกาหนดนโยบาย และติดตามกากับการ
ดาเนนิ งานตามนโยบายได้ดยี ิ่งขึ้น โดยอาศยั ข้อมลู ที่ถกู ต้องฉบั ไว และข้อมลู ท่จี าเปน็ ท้งั นอี้ าจใชค้ อมพิวเตอร์
เปน็ ตัวเก็บข้อมลู ตา่ ง ๆ ทาใหก้ ารบรหิ ารเป็นไปได้ดว้ ยความรวดเรว็ ถูกตอ้ งมากยิ่งขึ้น
- ในด้านการให้ความรู้หรอื การเรียน การสอนทางไกล เทคโนโลยสี ารสนเทศ โดยเฉพาะดาวเทยี ม
จะช่วยให้การเรยี นการสอนทางไกล ทางด้านการแพทย์และสาธารณะสุขเปน็ ไปได้มากข้ึนประชาชนสามารถ
เรยี นรู้พร้อมกนไดท้ ัว่ ประเทศและยงั สามารถโต้ตอบหรือถามคาถามได้ดว้ ย
1.4 การประยุกตใ์ ชใ้ นงานดา้ นการส่ือสารและโทรคมนาคม
เทคโนโลยีของการสื่อสารและโทรคมนาคมในปัจจุบันกาวไกลไปมาก มีบริการมากมายที่
ทันสมัยและตอบรับกบั การนามาประยกุ ต์ใช้ในการดาเนินธรุ กิจ ตวั อย่างการใช้โทรศพั ท์ในปัจจุบันนีก้ ม็ ิได้มีไว้
เพียงสาหรับคุยสนทนาเพียงอยา่ งเดียวอีกตอ่ ไป แต่มนั สามารถชว่ ยงานได้มากขึน้ โดยอ้างอิงข้อมูลและการเปดิ
ให้บริการของบรษิ ัท มีติดต่อสื่อสารผานดาวเทียมทัง้ ภาพและเสยี ง มีโทรศพั ทม์ ือถือรนุ่ ต่าง ๆ ออกมามากมาย
พัฒนาท้ังหนว่ ยงานของภาครฐั และเอกชน เช่นเทเลคอม เอเชีย คอร์ปอร์เรชั่น จากัด (มหาชน) ซ่ึงเป็นผ้วู าง
แผนการก่อสร้าง และติดต้ังขยายบริการโทรศัพท์พ้ืนฐาน 2.6 ล้านเลขหมาย ครอบคลุมพื้นที่ในเขตกรงุ เทพ
และปริมณฑล รวมถงึ การซอ่ มบารงุ รักษาเปน็ ระยะเวลา 25 ปี และเป็นหนึ่งในผใู้ หบ้ รกิ ารในปจั จุบัน

ภาพที่ 1.4.1 ด้านการส่อื สารและโทรคมนาคม
1.5 การประยุกตใ์ ช้ในสาขาอุตสาหกรรมและการผลิต

โรงงานอุตสาหกรรมหลายแห่งนาระบบสารสนเทศเพ่อื การจดั กา(Management Information
System-MIS) เข้ามาช่วยจัดการงานด้านการผลติ การส่ังซื้อ การพัสดุ การเงิน บุคลากร และงานด้านอื่น ๆ
ในโรงงาน ตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานอุตสาหกรรมเช่น อุตสาหกรรมการพิมพ์ อุตสาหกรรม
ประเภทน้ี ใช้ระบบการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Publishing) ในการจัดเตรียมต้นฉบับ วิดีโอเท็กซ์
วัสดุยอ่ สว่ น และเทเลเท็กซไ์ ด้ รวมทง้ั การพมิ พภ์ าพโดยใชเ้ ทอรม์ ินัลนาเสนอภาพ (Visual Display Terminal)
ส่วนอุตสาหกรรมการผลติ รถยนต์ มีการใช้คอมพิวเตอรอ์ อกแบบรถยนต์ ปฏิบัติการการผลติ (เช่น การพ่นสี
การเช่ือมอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ฯลฯ) การขับเคลื่อน การบริการ และการขาย รวมท้ังออกแบบระบบ
คอมพวิ เตอรใ์ ห้สามารถปฏบิ ตั ิงานในโรงงานได้ในรปู แบบหุ่นยนต์

11

ภาพที่ 1.5.1 ประยุกต์ใช้ในสาขาอตุ สาหกรรมและการผลิต
1.6 การประยุกต์ใช้ในหน่วยงานราชการต่าง ๆ

สานักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศภาครัฐ (Government Information Technology
Services – GITS) ลักษณะงานของสานกั บรกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศภาครฐั จะให้บริการเครอื ขา่ ยสารสนเทศ
ภาครฐั (Government Information Network) เพื่อตอบสนองการบรหิ ารงานสาหรบั หน่วยงานของภาครฐั ได้
อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพสูง ส่งเสริมหน่วยงานภาครัฐให้มกี ารนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการ
ดาเนินงานอันนาไปสู่การเป็น E-government และเป็นศูนย์กลางส่งเสริมให้เกดิ ระบบการเช่ือมโยงข่าวสาร
ระหว่างภาครฐั และประชาชน

ภาพที่ 1.6.1 ประยกุ ตใ์ ช้ในหน่วยงานราชการตา่ ง ๆ
สานักงานอตั โนมตั ิ (Office Automation - OA) สานกั งานอัตโนมตั ิทีห่ น่วยงานของรัฐจัดทา
ขึ้นมีชื่อว่า IT Model Office เป็นโครงการนารอ่ งที่จดั ทาขน้ึ เพื่อพฒั นาระบบเครอื ข่ายพ้ืนฐานของภาครฐั ใน
รูปของสานักงานอัตโนมัติ เช่น งานสารบรรณ งานจัดทาเอกสารและจดั ส่งทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ งาน
แฟม้ เอกสาร งานบันทึกการนดั หมายผ้บู ริหาร ซ่งึ ระบบงานที่สาคญั มีดงั น้ีคอื

(1) ระบบนาเสนอข้อมลู ขา่ วสารสาหรับผบู้ รหิ าร
(2) ระบบจดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส์แบบปลอดภัย ได้มีการนาเทคโนโลยีลายเซน็ ดิจิทัล
(Digital Signature) เข้ามาช่วยในการยืนยันผ้สู ่งและยืนยนั ความแทจ้ ริงของอีเมล์

12
(3) อินเทอร์เน็ตตาบล อินเทอร์เน็ตตาบล เป็นการวางระบบเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ตให้
ตาบลตา่ ง ๆ ท่ัวประเทศสามารถเข้าใช้อนิ เทอรเ์ นต็ ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพอนั จะเปน็ ประโยชน์อย่างมากในด้าน
ต่าง ๆ เช่น หน่วยงานของรัฐ และองค์กรต่าง ๆ สามารถมีส่วนร่วมในการจัดทาและใช้ประโยชน์จากระบบ
อนิ เทอรเ์ นต็ ตาบล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หนว่ ยงานท่อี ยู่ ณ ตาบลและใกล้ชดิ กบั ประชาชนกจ็ ะมีความสาคญั และ
ความรบั ผิดชอบในการจดั ทา ตรวจสอบและปรบั ปรงุ ข้อมลู รวมทงั้ ให้บริการแก่กลมุ่ ชนต่าง ๆ
1.7 การประยกุ ต์ใชใ้ นสาขาดา้ นความมั่นคงของชาติและทางทหาร
ด้านกฎหมายและการปกครอง ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสรุปคดีทุกคดีว่าใครฟ้องใคร เร่ือง
อะไร ศาลชนั้ ต้นศาลอทุ ธรณ์ ศาลฎกี า ตัดสินวา่ อยา่ งไร เขา้ คอมพิวเตอร์ทัง้ หมด หลังจากนัน้ คอมพิวเตอรก์ จ็ ะ
ช่วยงานได้หลายอย่าง เช่น ต้องการทราบว่ารัฐธรรมนูญฉบับไหนเหมือนหรือแตกต่างกับฉบับไหนมากนอ้ ย
เท่าใด ก็ให้คอมพิวเตอร์ค้นหา และวิเคราะห์เปรียบเทียบพิมพ์ลงได้ หรือต้องการทราบว่าคดีแบบไหนเคยมี
ฟ้องรอ้ งแลว้ ศาลตัดสนิ อยา่ งไร กใ็ ช้คอมพิวเตอร์ช่วยหาใหก้ จ็ ะได้คาตอบภายในเวลาไม่ก่ีนาที
ด้านรัฐสภา เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทสาคัญต่อการสนับสนุน และการดาเนิน
บทบาทด้านการพัฒนาประชาธิปไตยเปน็ อย่างมากต่องานรัฐสภา ซึ่งเป็นหน่วยงานด้านนิติ-บัญญัติ ตามบท
บัญญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู รฐั สภาไดม้ ีการปรับปรุงระบบงานใหม่ พรอ้ มดึงเอาคอมพิวเตอร์เขา้ มาใช้ในกจิ การงาน
สภา ศึกษาวเิ คราะหร์ ะบบงานรัฐสภาท้ังหมดและจดั ต้ังศูนย์คอมพวิ เตอร์ ขึ้นมากากับดแู ลงานด้านคอมพวิ เตอร์
พร้อมพฒั นาฐานขอ้ มลู รัฐสภาขึ้นระหว่างปพี .ศ. 2535-2540

ภาพที่ 1.7.1 การประยกุ ต์ใช้ในสาขาด้านความมั่นคงของชาตแิ ละทางทหาร

ด้านการทหารและกองบญั ชาการทหารสูงสุด การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ใน
ด้านการทหารแบ่งเปน็ 2 ประเภทใหญๆ่ คอื ด้านการสือ่ สาร และภูมศิ าสตร์

มีการนาดาวเทียมทหารมาใช้เพ่ือกิจการด้านความม่ันคงทางทหาร เพราะสามารถส่งขอ้ มลู
ข่าวสารซึง่ เป็นความลบั เกยี่ วกับความมนั่ คงของชาติ โดยเฉพาะดา้ นการทหารซง่ึ ไม่สามารถเปดิ เผยขอ้ มลู ได้

การถ่ายภาพภูมิศาสตร์ จาลองลักษณะภูมิศาสตร์ในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศ เพ่ือความ
สะดวก ในการจัดทายทุ ธภูมิและการวางแผนปอ้ งกนั ประเทศ

13
- ได้นาเทคโนโลยีมาใชใ้ นการประดษิ ฐอ์ าวุธท่ที นั สมยั สามารถกาหนดพกิ ัดการยงิ โดยเคร่ือง
คอมพิวเตอรใ์ นการคานวณระยะทางและวิถกี ารตกของระเบดิ ได้อย่างถูกตอ้ งและแมน่ ยา
- ทางด้านการทหารได้นาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้กับเคร่อื งตรวจจบั อาวุธสงคราม รวมถงึ
เคร่ืองบนิ ท่ีรกุ ล้าเขา้ มาใน เขตนา่ นฟ้าของประเทศไทย
- มกี ารนาคอมพิวเตอรม์ าใช้ในการจัดเกบ็ ขอ้ มูลดา้ นความปลอดภยั เกี่ยวกบั ข้อมูลผู้ไม่ประสงค์ดี
ต่อประเทศไทย มาสรา้ งเป็น แบบจาลองการปอ้ งกนั ประเทศ
1.8 การประยกุ ต์ใช้ในสาขาบันเทิง
ยคุ ของสงั คมสารสนเทศที่มีลักษณะการใช้นวตั กรรมเทคโนโลยี และเทคโนโลยีสารสนเทศ จึง
ทาใหเ้ กดิ อซี ีนมี ่า (E-cinema) กจิ กรรมต่าง ๆ สาหรบั สมาชิกที่เข้ามาใช้ อซี นี ีมา่ คอื เปิดออนไลน์ บุค๊ กิง้ มีการ
เปดิ ให้จองตวั๋ และเลือกทนี่ ั่งทางเว็บไซต์ ลกู คา้ สามารถจ่ายเงนิ ในเว็บได้เลยโดยผา่ นบัตรเครดิต ธุรกิจด้านอีซีนีมา่ น้ี
นับได้ว่ามีประโยชน์มหาศาล เพราะทางเจ้าของกิจการได้มีการบอกข่าวสารบางอยา่ งที่ลูกค้าไมร่ ทู้ ุกอย่างรวมอยู่
ในเว็บ ซ่ึงมีความสาคัญอย่างมากในเชิงธุรกิจ ท้ังได้รับการตอบรับสูงจากลกู ค้า ของการเปิดจองทง้ั ระบบ ซ่ึง
ปัจจบุ ันบริการท้ังระบบโทรศัพทแ์ ละระบบออนไลน์

ภาพท่ี 1.8.1 การประยกุ ต์ใชใ้ นสาขาบนั เทงิ

14
2. การสบื ค้นขอ้ มลู สารสนเทศ

ในโลกอินเทอร์เน็ตและยุคข้อมลู สารสนเทศ มีข้อมูลมากมายมหาศาล การท่ีจะค้นหาข้อมลู จานวน
มาก ซึง่ อาจจะเขา้ ไปค้นหาข้อมูลได้ง่ายๆ จาเปน็ จะตอ้ งอาศยั การคน้ หาขอ้ มลู ด้วยวิธกี ารต่าง ๆ เขา้ มาช่วยเพ่อื
ความสะดวกและรวดเร็ว ซ่ึงจะมีเว็บไซต์ที่ให้บริการค้นหาข้อมลู มีมากมาย ถ้าค้ นหาของไม่ถูกวิธีหรือไม่ถูก
หลกั การในการค้นหา อาจจะต้องเสียเวลาในการคน้ หา หาและอาจหาขอ้ มูลท่ีต้องการไมพ่ บ ฉะนั้น การสืบค้น
ข้อมูลสารสนเทศให้สะดวกและรวดเรว็ การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ จึงหมายถึง การค้นหาข้อมูลที่ต้องการ
เพอื่ ให้ได้มาซง่ึ ขอ้ มลู ไมว่ ่าจะเป็นการสบื คน้ ในรูปแบบใด ซ่งึ ส่วนใหญจ่ ะสบื คน้ ทางหอ้ งสมุดหรอื ศนู ย์วทิ ยบรกิ าร
และท่มี กี ารสืบค้นขอ้ มลู ในโลกอินเตอรเ์ นต็ ซ่ึงเปน็ แหลง่ สบื คน้ ขอ้ มลู ท่ใี หญ่ทีส่ ดุ

2.1 การสืบคน้ ข้อมูลด้วย GOOGLE
เมือ่ เอย่ ถึง Google เช่อื เหลือเกนิ วา่ ผใู้ ช้ Internet ต้องรู้จัก และกเ็ ชือ่ ว่าหลายทา่ นนา่ จะรู้จัก

Google ในนามของเครอ่ื งมือค้นหากันเสียเปน็ ส่วนใหญ่ แลว้ กเ็ ชอ่ื ตอ่ ไปอกี ว่าหลายท่านน่าจะทราบวา่ Google
นั้น เป็นมากกว่าเครื่องมือในการค้นหา เป็นอย่างนั้นจริง ๆ Google เป็นได้มากกว่าเครื่องมือในการค้นหา
ขึ้นอยู่กับผู้ใช้งานว่าจะใช้ความสามารถในด้านได้ของ Google ซ่ึงในเอกสารน้ีก็จะบอกว่า Google น้ัน เป็น
มากกว่าเครอ่ื งมอื ในการค้นหาอย่างไร เชือ่ วา่ หากทา่ นอ่านเอกสารนีจ้ นจบ ท่านสามารถนาความรู้ในส่วนนี้ไป
ใชป้ ระโยชน์ในการเรยี น การทางาน ไดแ้ น่นอน มาเร่มิ ด้วยฟังกช์ ่นั ยอดฮติ กันกอ่ นเลย

ภาพท่ี 2.1.1 GOOGLE

Google Search เป็นเคร่ืองมือท่ีให้บริการค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต (Search Engine)
ของเว็บไซต์ Google.com ทโี่ ด่งดงั ทีส่ ุดในปจั จบุ นั ผูใ้ ช้งานเพยี งเขา้ เว็บไซต์ www.Google.com จากนนั้ พิมพ์
คาหรอื ขอ้ ความ (Keyword) เกี่ยวกับเรือ่ งท่ีต้องการค้นหา เพยี งชวั่ อดึ ใจหลงั กดปมุ่ Enter Google Search ก็
จะแสดงเว็บไซตท์ ัง้ หมดที่เก่ียวข้องกับ Keyword เหล่านั้นทันที

ไมเ่ ฉพาะแต่เพียงการคน้ หาข้อมูลในรูปของเว็บไซต์เทา่ นนั้ Google Search ยังสามารถค้นหา
ข้อมูลทีเ่ ป็นไฟล์รูปภาพ (Images), กลุ่มข่าว (News Groups) และ สารระบบเว็บ (Web Directory) ได้อย่าง
แม่นยาอย่างน่าทงึ่ อกี ด้วย ปัจจบุ ันเวบ็ ไซต์ Google ไดร้ บั ความนยิ มอย่างมากจากผทู้ ีต่ อ้ งการคน้ หาข้อมูลผ่าน

15
เว็บไซต์ โดยมผี เู้ ข้าใช้กวา่ 250 ลา้ นครงั้ ตอ่ วันเลยทีเดียว บริการค้นหาขอ้ มูลของ Google Search แบง่ หมวดหมู่
ของการค้นหาออกเป็น 4 หมวดหลกั ด้วยกัน คือ

1. เว็บ (Web) เป็นการค้นหาข้อมูลในรูปแบบของเว็บไซต์ต่าง ๆ ทั่วโลก โดยการ
แสดงผลจะแสดงเวบ็ ไซตท์ ม่ี ีคาทเ่ี ปน็ Keyword อยภู่ ายเวบ็ ไซต์น้ัน

2. รปู ภาพ (Images) เปน็ การค้นหาไฟลร์ ปู ภาพจากการแปลคา Keyword
3. กลุ่มข่าว (News Groups) เป็นการค้นหาข่าวสารจากกลุ่มสมาชิกที่ใช้บริการ
Google News Groups เพ่อื รบั ส่งขา่ วสารกันเองระหว่างสมาชิก โดยมกี ารระบุชือ่ ผู้เขียนข่าว, หัวขอ้ ขา่ ว, วันที่
และเวลาทีมีการส่งขา่ ว
4. สารระบบเว็บ (Web Directory) Google มีการจัดประเภทของเว็บไซต์ออกเป็น
หมวดหมู่ ซง่ึ ผ้ใู ช้สามารถคน้ หาเว็บในเรื่องที่ตอ้ งการตามหมวดหม่ทู ่มี ีอยแู่ ล้วไดเ้ ลยทันที
รปู แบบการค้นหาข้อมลู ด้วย Google ที่ควรทราบ
การคน้ หาโดยทวั่ ไปสว่ นใหญแ่ ล้วจะใช้ Keyword เป็นเคร่ืองมือในการนาทางการคน้ หาอย่างเดยี ว
แต่ถา้ ผใู้ ชร้ ู้จักใชเ้ ครอ่ื งหมายบางตวั ร่วมด้วย ก็จะทาใหข้ อบเขตการค้นหาของ Google แคบลง ทาใหผ้ ใู้ ช้ได้
ข้อมูลท่ตี รงกบั ความต้องการมากข้ึน เครือ่ งหมายทส่ี ามารถนามาชว่ ยในการคน้ หาได้ มีดงั น้ี
1. การเชือ่ มคาด้วยการใชเ้ คร่อื งหมายบวก (+)
การใช้เคร่อื งหมายบวก (+) เช่ือมคา โดยปกติ Google จะไม่ใส่ใจในในการค้นหาข้อมูลจาก
การพิมพ์ Keyword ประเภท Common Word( คาง่ายๆ ) เช่น at, with, on, what, when, where, how,
the, to, of แตเ่ นื่องจากเปน็ บางคร้งั คาเหลา่ นเี้ ป็นคาสาคัญของประโยคทีผ่ ใู้ ช้จาเป็นต้องค้นหา ดังน้ัน เคร่อื งหมาย +
จะช่วยเช่ือมคา โดยมีเง่ือนไข ว่า ก่อนหน้าเครอื่ งหมาย + ต้องมีการเว้นวรรค 1 เคาะด้วย เช่น หากต้องการ
คน้ หาเวบ็ ไซตเ์ กีย่ วกบั เกมทม่ี ชี อ่ื ว่า Age of Empire ถ้าผใู้ ช้พิมพ์ Keyword Age of Empire Google กจ็ ะทา
การค้นหาแยกคาโดยไม่สนใจคาว่า of และจะค้นหาคาว่า Age หรือ Empire เพียงสองคา แต่ถ้าผู้ใช้ระบุ
ว่า Age +of Empire Google จะทาการค้นหาท้ังคาว่า Age, of และ Empire มาแสดง

ภาพที่ 2.1.2 ภาพตวั อย่างการใชเ้ ง่ือนไข (+)

16
2. การตัดคาท่ีไม่ต้องการดว้ ยการใช้เครอื่ งหมายลบ ( - )

ตัดบางคาท่ไี ม่ต้องการค้นหาดว้ ยเครือ่ งหมายลบ ( - ) จะช่วยใหผ้ ใู้ ช้สามารถตัดเรือ่ งท่ีผใู้ ชไ้ ม่
ต้องการ หรือไม่เกี่ยวข้องออกไปได้ เช่น ถ้าผู้ใช้ต้องการค้นหาเว็บไซต์ท่ีเกีย่ วกับการ ล่องแก่ง แต่ไม่ต้องการ
การล่องแก่งที่เกี่ยวข้องกับจงั หวัดตาก ให้ผู้ใช้พิมพ์ Keyword ว่า ล่องแก่ง -ตาก (เช่นเดียวกับเครอ่ื งหมาย +
ต้องเว้นวรรคกอ่ นหน้าเคร่อื งหมายด้วย) Google จะทาการคน้ หาเวบ็ ไซตท์ ่ีเก่ยี วกบั การลอ่ งแกง่ แต่ไม่มีจงั หวัด
ตากเข้ามาเก่ยี วขอ้ ง

ใช้ “-” เพื่อช่วยตัดคาบางคาออกเพอ่ื ลดความกากวม เช่น Inception -Movie (หมายถงึ จะ
เอา Result ท่เี ป็น Inception ทไ่ี ม่ใช่หนังท่ี Leonardo แสดง)

ภาพท่ี 2.1.3 ภาพตัวอยา่ งการใชเ้ งื่อนไข (-)
3. การค้นหากลุม่ คา Keyword ด้วยการใช้เคร่ืองหมายคาพดู ("...")

การค้นหาด้วยเคร่ืองหมายคาพูด ("...") เหมาะสาหรับการค้นหาคา Keyword ที่มีลักษณะ
เป็น ประโยควลีหรือกล่มุ คา ที่ผู้ใช้ต้องการให้แสดงผลทกุ คาในประโยค โดยไม่แยกคา เช่น ถ้าผู้ใช้ต้องการหา
เว็บไซต์เก่ียวกับเพลงท่ีมีชื่อว่า If I Let You Go ให้พิมพ์ว่า " If I Let You Go" Google จะทาการค้นหา
ประโยค " If I Let You Go" ทง้ั ประโยคโดยไม่แยกคาค้นหา

ภาพที่ 2.1.4 ภาพตัวอยา่ งการใช้เง่ือนไข ("...")

17
4. การคน้ หาขอ้ มลู เพม่ิ มากขึ้น ด้วยการใช้คาวา่ OR

การค้นหาด้วยคาวา่ OR เปน็ การสั่งให้ Google คน้ หาข้อมลู เพม่ิ มากขึ้น เช่น ถา้ ผู้ใชต้ อ้ งการ
ค้นหาเวบ็ ไซตท์ ่ีเกีย่ วกบั การลอ่ งแกง่ ท้ังในจงั หวัดตาก และปราจนี บุรี ใหผ้ ู้ใช้พมิ พ์ Keyword ว่า ลอ่ งแกง่ ตาก
OR ปราจีนบุรี Google จะทาการค้นหาเว็บไซต์ที่เก่ียวกับการลอ่ งแก่งทั้งในจังหวัดตาก และกาญจนบุรเี ช่น
dog OR cat OR bird

ภาพที่ 2.1.5 ภาพตัวอยา่ งการใชเ้ งือ่ นไข OR
5. ไมต่ อ้ งใชค้ าว่า AND ในการแยกคาค้นหา

แต่เดิมการใช้ Keyword ที่มากกว่า 1 คาในการคน้ หาเว็บไซตแ์ บบแยกคา ผูใ้ ชจ้ าเปน็ ต้องใช้
AND ในการแยกคาเหล่านนั้ ปจั จบุ นั ไม่ตอ้ งใช้ AND แลว้ เพราะ Google จะทาการแยกคาให้โดยอัตโนมตั ิเมอื่
ผู้ใช้ทาการเว้นวรรคคาเหล่าน้ัน เช่น ถ้าผู้ใช้พิมพ์คาว่า Thai Travel Nature เม่ือคลิกปุ่มค้นหา ก็จะพบว่าใน
รายชือ่ หรอื เนือ้ หาของเว็บท่ปี รากฏจะมีคาว่า Thai ,Travel และ Nature อย่ใู นน้นั ด้วย

ภาพท่ี 2.1.6 ภาพตัวอยา่ งการใช้เงอื่ นไข AND

18
6. ค้นหาภายในเวบ็ (Site Search)

ใชค้ าว่า “site:” เพอื่ ค้นหาภายในเว็บได้ เชน่ site:www.ohlor.com แตง่ ตัว
7. หาเวบ็ ทม่ี เี นอ้ื หาใกลเ้ คยี ง (Related)

คน้ หาเวบ็ ทมี่ เี น้อื หาใกลเ้ คยี งกบั URL ท่คี ณุ รู้ เช่น related:www.chula.ac.th
8. ใช้จุดสองจดุ “..”

แยกตัวเลขเป็น 2 ตัว ตัวน้อยกับตัวมาก แล้วคุณจะเห็นผลลัพธ์ข้อมูลตัวเลขท่ีอยู่ในระหวา่ ง
ตัวเลขน้ัน เช่น ปฏวิ ัติ พ.ศ. 2500-2555
รูปแบบการค้นหา

1. รูปแบบของการค้นหาคือ ให้ผู้ใช้พิมพ์ "ช่ือเร่ืองหรือช่ือเอกสาร" filetype: นามสกุลของไฟล์ ใน
ช่อง Google ตัวอย่างเช่น "การเล้ียงไก่" filetype:doc ซ่ึงหมายถึง การค้นหาไฟล์เอกสารที่มีนามสกลุ . doc
เรอื่ ง การเลย้ี งไก่ น่นั เอง

ภาพท่ี 2.1.7 ภาพตวั อยา่ งการใช้ file type:
2. Google สามารถค้นหาเว็บทั้งหมดที่เช่อื มมายงั เวบ็ น้ันได้ โดยพิมพ์ link: ชอื่ URL ของเว็บ ในช่อง
Search ของ Google เช่น link:www.plawan.com เป็นการค้นหาลิงคท์ ีเ่ ชอื่ มมายงั เวบ็ ของปลาวาฬดอตคอม
เป็นต้น

ภาพที่ 2.1.8 ภาพตัวอย่างการใช้เง่ือนไข link:www.plawan.com

19
3. Google สามารถหาคาเฉพาะเจาะจงในเว็บไซตน์ นั้ ๆ ได้ โดยพมิ พ์ คาท่คี น้ หา site: ช่อื URL ของเวบ็
ในช่อง Search ของ Google เช่น Google Earth site:www.kapook.com ซึ่งเป็นการหาหน้าเว็บไซต์ท่ี
เกยี่ วกับ Google Earth ในเวบ็ ไซตข์ อง Kapook นงั่ เอง

ภาพที่ 2.1.9 ภาพตวั อย่างการใชเ้ ง่ือนไข site:www.kapook.com
4. ค้นหาแบบวัดดวงกันบ้าง จะวัดดวงค้นหาเว็บไซต์ด้วย Google กันสักครั้งคงไม่เปน็ ไร เพราะถ้า
ดวงดีผูใ้ ชก้ ็จะไดไ้ ม่เสียเวลามาน่ังเลอื ก โดยพมิ พ์ Keyword สาหรบั ค้นหาเว็บไซต์ที่ตอ้ งการจากน้นั คลกิ ทีป่ ่มุ ดี
ใจจัง คน้ หาแล้วเจอเลย

ภาพท่ี 2.1.10 ภาพตวั อยา่ งการใชป้ มุ่ ดีใจจัง คน้ หาแลว้ เจอเลย

20
5. ค้นหาบทสรุปของหนังสือก่อนตัดสินใจซ้ือ ก่อนการตัดสินใจท่ีจะซื้อหนังสือสักเล่ม ผู้ใช้น่าจะ
ทราบก่อนว่าเนือ้ หามีอะไรบ้าง หรอื มโี อกาสได้ดูสารบัญของหนงั สอื เล่มน้ันเสียก่อน Google Search สามารถ
บอกผ้ใู ช้ได้เพยี งใส่ชอื่ หนงั สอื หลงั คาวา่ books about ช่อื หนังสือ เช่น books about Harry Potter

ภาพท่ี 2.1.11 ภาพตัวอย่างการใช้ book about
6. ใช้ Google แทนเครื่องคิดเลขได้ ผู้ใช้สามารถใช้ Google คานวณตัวเลขด้วยเครื่องหมายในการ
คานวณหลักๆ เชน่ + = บวก, - = ลบ, * = คูณ, / = หาร , ^ = ยกกาลัง เปน็ ต้น

ภาพที่ 2.1.12 ภาพตวั อยา่ งการใชเ้ งอ่ื นไข calculator

21
7. ค้นหาความหมายหรือนิยามของศัพท์เฉพาะ (เป็นภาษาอังกฤษ) Google สามารถค้นหาศัพท์
เฉพาะได้ดว้ ยการพมิ พ์ define: ศัพท์เฉพาะ

ภาพที่ 2.1.13 ภาพตวั อย่างการใชเ้ ง่อื นไข define
8. ค้นหาเว็บไซตร์ วมรปู ดี ๆ นอกจากการใช้เมนู รปู ภาพ (Images) ในการค้นหารูปภาพแล้ว ผ้ใู ชย้ ัง
ค้นหาภาพได้ดว้ ยการพมิ พ์ ช่อื ภาพ pictures

ภาพที่ 2.1.14 ภาพตวั อย่างการใชเ้ งอ่ื นไข pictures

9. คน้ หารีววิ ภาพยนตร์สนกุ ๆ ผ้ใู ชส้ ามารถคน้ หารีวิวหรือตัวอย่างภาพยนตรด์ ้วย Google ได้งา่ ย ๆ
ด้วยการพิมพ์ movie: ชื่อภาพยนตร์

ภาพท่ี 2.1.15 ภาพตัวอยา่ งการใชเ้ งือ่ นไข movie:
10. คน้ เนื้อหาข้อมลู ในเว็บไซตท์ ่ีตอ้ งการ ผู้ใชส้ ามารถค้นหาขอ้ มลู เฉพาะในเว็บไซตท์ ีต่ ้องการได้ โดย
การพิมพ์ ชื่อขอ้ มลู คน้ หา site: เว็บไซต์ท่จี ะคน้ หา ยกตวั อยา่ งเช่น การค้นหาขอ้ มลู เกี่ยวกับ Spyware ในเว็บไซต์
ของกระปุก โดยการพิมพ์ Spyware site: www.kapook.com

ภาพที่ 2.1.16 ภาพตัวอยา่ งการใช้เงอื่ นไขเว็บไซตท์ ี่ตอ้ งการ
การค้นหาข้อมลู แบบละเอยี ด( Advance Search)

เพื่อความแมน่ ยาในการค้นหาข้อมูล ผู้ใช้สามารถกาหนดเงอื่ นไขในแบบทล่ี ะเอยี ดไดไ้ ม่ยาก เพราะ
Google ไดเ้ พม่ิ รปู แบบในการกาหนดเง่ือนไขสาเร็จรปู มาใหเ้ รียบรอ้ ยแล้ว โดยคลกิ ไปยังเมนู ค้นหาแบบละเอียด
ด้านขวามอื กจ็ ะเขา้ สหู่ น้าค้นหาดังรปู

22

ภาพท่ี 2.1.17 การคน้ หาขอ้ มูลแบบละเอียด( Advance Search)
2.2 การสืบคน้ เพื่อเขา้ สู่เวบ็ ไซตข์ องนักเรียน

ในยุคที่ Google เป็นเครื่องมือหลักอย่างทุกวันนี้ การให้ความรู้และเสริมสร้างทักษะการ
สบื ค้นขอ้ มลู สารสนเทศแก่นักเรยี น นกั ศกึ ษา นบั เป็นภารกจิ หลกั ของครู อาจารย์ ผ้ปู กครอง และผเู้ กย่ี วข้องที่
จะพัฒนาศกั ยภาพการเรยี นรขู้ องบุตรหลานนอกจากปญั หาคุณภาพ ต้นแหล่ง ความถูกต้อง ความน่าเชื่อถอื ยงั
อาจจะมีปัญหาจากประเด็นทรัพย์สินทางปัญญา และพัฒนาการเรียนรู้ร่วมด้วยดังนั้นทักษะการสืบค้นเพื่อ
พัฒนาศักยภาพการเรยี นรู้ของผ้เู รียน จึงควรเป็นวาระสาคัญท่ีทกุ สถาบนั ทุกหน่วยงานควรตระหนักและเรง่
ส่งเสรมิ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทเี่ ป็นอยู่ตอนน้เี สยี ใหม่ตัวอยา่ งการใช้ Google เป็นเคร่อื งมือค้นหา “เว็บไซต์”
ของหน่วยงานที่เป็นต้นแหล่งข้อมูลที่ต้องการนามาใช้งาน แทนการค้นหา “เร่ือง หรือประเด็นท่ีสนใจ” เช่น
การค้นหาข้อมูล “มะเรง็ กระดูก” ควรใช้ Google ค้นว่า “สถาบันมะเรง็ แห่งชาติ” มีเว็บไซต์หรอื ไม่ คืออะไร
จากนนั้ จึงเข้าสู่เวบ็ ไซต์ดังกล่าว เพอ่ื คน้ หาข้อมูลจากตน้ แหลง่ หรือใช้เทคนคิ ค้นหาข้อมูลแบบระบุ domain ท่ี
ตอ้ งการ

ภาพที่ 2.2.1 การสืบค้นขอ้ มลู

23
2.3 ความหมายของการสบื ค้นข้อมลู

การสบื คน้ สารสนเทศ (Information retrieval) คือ กระบวนการค้นหาสารสนเทศที่ตอ้ งการ
โดยใช้เคร่อื งมอื สบื ค้นสารสนเทศทส่ี ถาบนั บริการสารสนเทศจดั เตรียมไว้ให้

ภาพที่ 2.3.1 การสบื คน้ ข้อมลู
การสบื คน้ สารสนเทศ แบ่งออกเปน็ 2 วิธี คอื

1. การสบื คน้ สารสนเทศดว้ ยระบบมือ (Manual system)
2. การสืบค้นสารสนเทศดว้ ยระบบคอมพิวเตอร์ (Computer system)
การสืบค้นสารสนเทศด้วยระบบมือ สามารถกระทาได้โดยผ่านเคร่อื งมือหลายประเภท เช่น
บัตรรายการ บัตรดรรชนีวารสาร บรรณานุกรม เป็นต้น ในท่นี ีจ้ ะกล่าวถงึ เฉพาะบัตรรายการและ บัตรดรรชนี
วารสารเทา่ นนั้
การสืบค้นสารสนเทศด้วยระบบคอมพวิ เตอร์ สามารถกระทาไดโ้ ดยผา่ นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ในการค้นหาข้อมูลจากฐานข้อมูลต่าง ๆ ได้แก่ ฐานข้อมูลโอแพ็ก, ฐานข้อมูลซีดีรอม, ฐานข้อมูลออนไลน์,
ฐานขอ้ มลู บนอินเทอรเ์ นต็

2.4 ประเภทการสบื ค้นข้อมลู
การคน้ หาขอ้ มลู บนอินเตอรเ์ น็ต สามารถแบง่ ตามลกั ษณะการทางานได้ 3 ประเภท คอื
1. Seach Engine การคน้ หาขอ้ มลู ดว้ ยคาทเี่ จาะจง
2. Search Directories การคน้ หาข้อมลู ตามหมวดหมู่
3. Metasearch การคน้ หาขอ้ มลู จากหลายแหลง่ ขอ้ มลู
Seach Engine การคน้ หาขอ้ มูลด้วยคาท่ีเจาะจง
Seach Engine เป็นเว็บไซต์ท่ีช่วยในการค้นหาข้อมูลโดยใช้โปรแกรมช่วยในการค้นหาท่ี

เรียกว่า Robot ทาหน้าที่รวบรวมข้อมูลเก่ียวกับเว็บไซต์ในอินเตอร์เน็ตมาเก็บไว้ในฐานข้อมูล ซ่ึงการค้นหา
ข้อมูลรูปแบบน้ีจะช่วยให้สามารถค้นหาข้อมูลได้ตรงกับความต้องการเฉพาะได้ระบุคาท่ีเจาะจงลงไป เพื่อให้
โรบอตเปน็ ตวั ช่วยในการค้นหาข้อมลู ซงึ่ เปน็ รูปแบบท่ีเปน็ ทนี่ ิยมมาก เช่น www.google.com

24

ภาพที่ 2.4.1 Seach Engine การคน้ หาขอ้ มลู ดว้ ยคาทเี่ จาะจง
Search Directories การคน้ หาข้อมลู ตามหมวดหมู่
การคน้ หาขอ้ มูลตามหมวดหมโู่ ดยมเี วบ็ ไซต์ทเ่ี ป้นตัวกลางในการรวบรวมข้อมูลในระบบเครือขา่ ย
อินเตอรเ์ นต็ โดยจดั ขอ้ มูลเปน็ หมวดหม่เู พอื่ ให้ผใู้ ช้สามารถเลอื กขอ้ มูลตามทีต่ อ้ งการได้โดยการจัดหมวดหมขู่ อง
ข้อมูลจะจดั ตามขอ้ มูลท่คี ล้ายกนั หรอื เป็นประเภทเดยี วกัน นามารวบรวมไว้ในกลุ่มเดียวกันลกั ษณะการค้นหา
ข้อมูล Search Directories จะทาให้ผใู้ ช้สะดวกในการเลือกข้อมลู ท่ีตอ้ งการค้นหา และทาใหไ้ ดข้ ้อมลู ตรงกับ
ความตอ้ งการการค้นหาวิธีนี้ มีขอ้ ดคี ือ สามารถเลอื กจากชื่อไดเร็กทอรส่ี ท์ เี่ ก่ียวข้องกับสิง่ ท่ีต้องการคน้ หา และ
สามารถทีจ่ ะเข้าไปดูวา่ มเี วบ็ ไซตใ์ ดบ้ า้ งไดท้ ันทเี ชน่ www.sanook.com

ภาพท่ี 2.4.2 Search Directories การค้นหาข้อมลู ตามหมวดหมู่
Metasearch การคน้ หาข้อมลู จากหลายแหลง่ ข้อมลู
เป็นลักษณะของการค้นหาข้อมูลจากหลาย ๆ Search Engine ในเวลาเดียวกัน เพราะเว็บไซต์
ท่ีเป็น Metasearch จะไม่มีฐานข้อมูลของตนเอง แต่จะค้นหาเว็บเพจท่ีต้องการโดยวิธีการดึงจากฐานขอ้ มูล
ของ Search Site จากหลาย ๆ แห่งมาใช้ แลว้ จะแสดงผลใหเ้ ลอื กตามตอ้ งการ เชน่ www.thaifind.com

25

ภาพที่ 2.4.3 Metasearch การคน้ หาขอ้ มลู จากหลายแหลง่ ขอ้ มูล
2.5 ประเภทของ SEARCH ENGINE

Search Engine มี3ประเภท (ในวันท่ีทาการศึกษาขอ้ มลู นี้และได้ทาการรวบรวมข้อมูล สรุป
ได้3 ประเภทหลัก) โดยมีหลักการทางานทตี่ ่างกัน และ การจัดอันดับการค้นหาข้อมูลก็ต่างกันด้วย เพราะมี
ลักษณะการทางานทต่ี ่างกนั นเี่ องทาให้ โดยทั่ว ๆ ไปแล้วจะมีการแบ่งออกเปน็ หลาย ๆ ประเภทด้วยกัน แต่ท่ี
พอสรุปได้ก็มีเพียง3 ประเภทหลัก ๆ ดังที่จะนาเสนอต่อไปนี้

ประเภทท่ี 1 Crawler Based Search Engines
Crawler Based Search Engines คือ เคร่ืองมือการค้นหาบนอนิ เตอรเ์ นต็ แบบอาศัย

การบันทึกข้อมูล และ จัดเก็บข้อมูลเป็นหลัก ซ่ึงจะเป็นจาพวก Search Engine ท่ีได้รับความนิยมสูงสุด
เนื่องจากให้ผลการค้นหาแม่นยาที่สุด และการประมวลผลการค้นหาสามารถทาได้อย่างรวดเร็ว จึงทาให้มี
บทบาทในการคน้ หาขอ้ มลู มากทีส่ ุดในปจั จบุ นั

ภาพที่ 2.5.1 Crawler Based Search Engines
โดยมอี งประกอบหลกั เพยี ง 2 สว่ นด้วยกันคอื

1. ฐานข้อมูล โดยส่วนใหญ่แล้ว Crawler Based Search Engine เหล่าน้ีจะมี
ฐานข้อมลู เปน็ ของตัวเอง ที่มรี ะบบการประมวลผล และ การจัดอนั ดับท่ีเฉพาะ เป็นเอกลักษณข์ องตนเองอยา่ ง
มาก

26
2. ซอฟแวร์ คือเคร่ืองมือหลักสาคัญท่ีสุดอีกส่วนหนึ่งสาหรับ Serch Engine
ประเภทน้ี เน่ืองจากต้องอาศัยโปรแกรมเลก็ ๆ (ชนิดที่เรียกว่า จิ๋วแต่แจ๋ว) ทาหน้าท่ีในการตรวจหา และ ทา
การจัดเก็บข้อมลู หน้าเพจ หรือ เวบ็ ไซตต์ า่ ง ๆ ในรปู แบบของการทาสาเนาข้อมลู เหมอื นกบั ตน้ ฉบับทกุ อย่าง
ซ่งึ เราจะร้จู ักกนั ในนาม Spider หรือ Web Crawler หรือ Search Engine Robots
ประเภทที่ 2 Web Directory หรอื Blog Directory
Web Directory หรือ Blog Directory คือ สารบัญเว็บไซต์ท่ีให้คุณสามารถค้นหา
ข่าวสารข้อมูล ด้วยหมวดหมู่ข่าวสารข้อมูลทเ่ี ก่ียวข้องกนั ในปริมาณมาก ๆ คล้าย ๆ กับสมุดหน้าเหลืองครับ
ซ่ึงจะมีการสรา้ ง ดรรชนี มีการระบหุ มวดหมู่ อย่างชดั เจน ซ่ึงจะชว่ ยให้การคน้ หาขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ตามหมวดหมูน่ น้ั
ๆ ได้รับการเปรียบเทียบอ้างอิง เพื่อหาข้อเทจ็ จรงิ ได้ ในขณะที่เราค้นหาข้อมูล เพราะว่าจะมีเว็บไซตม์ ากมาย
หรือ Blog มากมายทีม่ ีเน้ือหาคลา้ ย ๆ กันในหมวดหมเู่ ดียวกัน ให้เราเลอื กทจี่ ะหาข้อมูลได้ อย่างตรงประเด็น
ทส่ี ุด (ลดระยะเวลาได้มากในการค้นหา) ซึ่งจะขอยกตัวอยา่ งดังน้ี

ภาพที่ 2.5.2 Web Directory หรือ Blog Directory

ODP Web Directory ชื่อดังของโลก ที่มี Search Engine มากมายใช้เปน็ ฐานขอ้ มลู
Directory

1. ODP หรือ Dmoz ทีห่ ลาย ๆ คนรูจ้ ัก ซง่ึ เป็น Web Directory ท่ีใหญท่ ่สี ดุ ในโลก
Search Engine หลาย ๆ แหง่ กใ็ ชข้ ้อมลู จากที่แหง่ นเี้ กอื บทั้งสิน้ เชน่ Google, AOL, Yahoo, Netscape และ
อืน่ ๆ อีกมากมาย ODP มกี ารบันทึกข้อมลู ประมาณ 80 ภาษาทั่วโลก รวมถึงภาษาไทย

2. สารบัญเว็บไทย SANOOK ก็เป็น Web Directory ท่ีมีชื่อเสียงอีกเช่นกัน และ
เปน็ ท่รี จู้ ักมากที่สุดในเมอื งไทย

3. Blog Directory อย่าง BlogFlux Directory ท่ีมีการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับบล็อก
มากมายตามหมวดหมตู่ า่ ง ๆ หรือ Blog Directory อ่นื ๆ ท่ีสามารถหาได้จาก Make Many แห่งนี้

ประเภทที่ 3 Meta Search Engine

27
Meta Search Engine คือ Search Engine ที่ใช้หลักการในการค้นหาโดยอาศัย
Meta Tag ในภาษา HTML ซึ่งมีการประกาศชุดคาส่ังต่าง ๆ เป็นรูปแบบของ Tex Editor ด้วยภาษา HTML
นน่ั เองเชน่ ชื่อผพู้ ัฒนา คาค้นหา เจา้ ของเวบ็ หรือ บล็อก คาอธิบายเว็บหรอื บล็อกอย่างยอ่
ผลการคน้ หาของ Meta Search Engine นี้มักไม่แม่นยาอย่างท่ีคิด เน่ืองจากบางครั้ง
ผู้ใหบ้ ริการหรือ ผอู้ อกแบบเวบ็ สามารถใสอ่ ะไรเขา้ ไปกไ็ ดม้ ากมายเพื่อให้เกิดการค้นหาและพบเวบ็ หรอื บลอ็ ก
ของตนเอง และ อีกประการหนึง่ ก็คอื มกี ารอาศัย Search Engine Index Server หลาย ๆ แหง่ มาประมวลผล
รวมกนั จึงทาให้ผลการค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ไมเ่ ท่ียงตรงเท่าทค่ี วร
มาถึงตอนนี้หลาย ๆ ท่านที่เคยสงสัยว่า “Search Engine คืออะไร” คงได้หายสงสัย
กันไปบ้างแล้วและเร่ิมเข้าใจหลักการทางานของ Search Engine กันมากข้ึน เพ่ือจะได้เลือกใช้อย่างถูกต้อง
และตรงกับความต้องการของเราในการค้นหาข่าวสารขอ้ มูล สาหรับบทความ “Search Engine คืออะไร” นี้
หากขาดตกบกพร่องประการใด หรือ ไม่ได้รบั ขอ้ มลู ที่ชัดเจนท่านสามารถตชิ ม หรอื ให้ขอ้ เสนอแนะต่าง ๆ ผา่ น
Comments ของบทความชุดนี้เพื่อจะได้ทาการปรับปรุงและแก้ไขให้ได้ข้อมูลท่ีดีท่ีสุดและ เป็นประโยชน์
สาหรับ ผูท้ ี่ทาการคน้ ควา้ งขอ้ มูลต่าง ๆ เพื่อนาไปใชง้ าน

ภาพที่ 2.5.3 Meta Search Engine
2.6 ประโยชนข์ อง SEARCH ENGINE

Search Engines มีประโยชน์ในการใช้สืบค้นข้อมูลที่ต้องการทราบได้อย่างสะดวก รวดเร็ว
และมีประสิทธิภาพสูง สามารถใช้งานได้ตลอดเวลา รวมท้ังให้ผลลพั ธ์ทต่ี รงกับความตรงการแก่ผสู้ บื คน้ ขอ้ มูล
ดังน้ันการสร้างและออกแบบเว็บไซตใ์ หม่ๆ ในในปัจจบุ ันจงึ ควรคานงึ ถงึ รูปแบบของเวบ็ ไซต์ใหม้ คี วามเหมาะสม
แก่ Search Engine ดว้ ยเชน่ กนั (เรียกว่าการทา SEO) เพ่อื ให้ผู้สบื คน้ สามารถคน้ หาข้อมูลท่ตี ้องการได้งา่ ยมาก
ยงิ่ ข้ึน

1. ค้นหาเว็บไซต์ท่ีตอ้ งการไดง้ า่ ย สะดวกและรวดเร็ว
2. คน้ หาขอ้ มูลได้อยา่ งละเอยี ด และหลากหลายรปู แบบ ตัวอยา่ งเช่น ข่าว เพลง รูปภาพ และ
อนื่ ๆ เป็นตน้
3. คน้ หาข้อมูลได้จากเวบ็ ไซตเ์ ฉพาะทางต่าง ๆ ได้ เช่น เวบ็ ไซต์เกย่ี วกับ ขาย Software หรอื
เว็บไซตร์ ับทาการตลาดออนไลน์ เปน็ ต้น

28

4. คน้ หาขอ้ มูลได้อย่างหลากหลาย
5. รองรบั การคน้ หาได้หลายภาษา รวมท้ังภาษาไทย

ภาพที่ 2.6.1 SEARCH ENGINE

2.7 รปู แบบและวธิ กี ารสืบคน้ ข้อมลู สารสนเทศ
การสบื ค้นขอ้ มลู สารสนเทศบนอินเทอรเ์ นต็
แหล่งข้อมลู สารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตเปน็ แหลง่ ข้อมลู ทางอิเลก็ ทรอนิกส์ที่สาคัญ และใหญ่

ท่ีสุดมีการเปลี่ยนแปลงอยตู่ ลอดเวลาแทบทุกวินาที ดังนั้นในการสบื ค้นข้อมูลสารสนเทศบนอนิ เทอร์เน็ตควร
ดาเนินการดงั น้ี

1. กาหนดวัตถุประสงค์การสืบค้นผู้สืบค้นหรือผู้วิจัยท่ีจะนาข้อมูลสารสนเทศไปใช้ ควรตั้ง
วตั ถุประสงคก์ ารสบื ค้นท่ีชดั เจน ทาใหส้ ามารถกาหนดขอบเขตของแหล่งข้อมูลสารสนเทศทจ่ี ะสืบค้นให้แคบลง
กาหนดประเภทของเครื่องมือหรือโปรแกรมสาหรบั การสืบค้นทางอินเทอรเ์ น็ต ท่ีเรียกว่า Search Engine ให้
เหมาะสม กาหนดช่วงเวลาทข่ี อ้ มลู สารสนเทศถกู สรา้ งข้นึ เช่น ช่วงปที ี่ตพี มิ พข์ องวารสารอเิ ล็กทรอนิกส์

ทงั้ น้เี พอ่ื ใหผ้ ลการสืบคน้ มปี รมิ าณไมม่ ากเกินไป มคี วามตรง (Validity) ตามวัตถุประสงค์ และ
มคี วามน่าเชอื่ ถอื (Reliability) มากท่สี ุดอกี ทงั้ ยงั สามารถสบื ค้นไดผ้ ลในเวลาอันรวดเร็ว

2. ประเภทของข้อมลู สารสนเทศที่สามารถสบื ค้นได้ข้อมูลสารสนเทศท่ีอยู่บนอนิ เทอรเ์ นต็ มี
มากมายหลายประเภท มีลกั ษณะเป็นมัลติมเี ดีย คือ มที งั้ ทเ่ี ปน็ ข้อความ(Text) ภาพวาด (Painting) ภาพเขยี น
หรอื ภาพลายเส้น (Drawing) ภาพไดอะแกรม (Diagram) ภาพถ่าย (Photograph) เสียง(Sound) เสียงสังเคราะห์
เชน่ เสียงดนตรี (Midi) ภาพยนตร์ (Movie) ภาพเคลื่อนไหวอะนิเมช๋ัน (Animation)

จากเทคโนโลยกี ารสืบค้นที่มีอยู่ในปัจจบุ นั การสืบค้นที่เร็วที่สุด มีประสิทธิภาพที่สดุ และแพร่
หลายที่สุด คือ การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศประเภทข้อความ สาหรับการสืบค้นข้อมูลท่ีเป็นภาพ (Pattern
Recognition) และเสียง ยังมขี ้อจากัดอยู่มาก ใช้เวลานาน และยงั ไมม่ ปี ระสทิ ธิภาพ จึงยงั ไม่มีการสบื ค้นขอ้ มลู
ประเภทอืน่ ๆ นอกจากประเภทขอ้ ความในการให้บริการการสบื คน้ บนอินเทอร์เน็ต

3. การสืบค้นตอ้ งอาศัยอปุ กรณ์และความรู้กอ่ นท่ีผ้สู บื คน้ จะสามารถสืบค้นขอ้ มูลสารสนเทศ
ทางอนิ เทอรเ์ น็ตได้ ต้องมกี ารจัดเตรียมอปุ กรณ์ดังต่อไปนี้ คือ เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ อุปกรณต์ อ่ เขา้ อินเทอร์เน็ต
ซึ่งอาจเป็น Modem ในกรณีที่ใช้คู่กับสายโทรศัพท์ หรือแผ่น LAN Card ในกรณีที่ใช้คู่กับระบบเครือข่ายท่ี

29
ได้รับการติดต้ังไว้แล้ว ซอฟต์แวร์การสื่อสาร (Communication Software) เช่น Dial-up Networking ใน
กรณใี ช้ Modem หรือมีการตดิ ตง้ั Network Protocol ที่เหมาะสมกบั ระบบเครือข่ายท่เี คร่ืองคอมพิวเตอรน์ ัน้
ติดต้ังอยู่และติดต้ัง Network Adapter ที่เหมาะสมสาหรบั LAN Card นั้น ๆ ต้องสมัครเป็นสมาชิกขององคก์ าร
หรือบริษัทผใู้ ห้บรกิ ารอินเทอรเ์ นต็ (Internet Service Provider หรือ ISP) เพื่อเปน็ ชอ่ งทางออกสอู่ ินเทอร์เน็ต

นอกจากอุปกรณ์ต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้นแล้วยังต้องมคี วามรู้และทกั ษะพืน้ ฐานในการใช้งาน
คอมพวิ เตอร์ ( Computer Literacy) ความรภู้ าษาองั กฤษเนื่องจากข้อมูลสารสนเทศส่วนใหญ่ในอนิ เทอร์เน็ต
เปน็ ภาษาอังกฤษ และยังต้องมกี ารจัดสรรเวลาให้เหมาะสมอกี ด้วย

ภาพท่ี 2.7.1 การสบื คน้ ขอ้ มลู สารสนเทศบนอินเทอรเ์ นต็

4. บริการบนอินเทอร์เน็ต บริการบนอินเทอร์เน็ตที่สามารถใช้ช่วยในการสืบค้นข้อมูล
สารสนเทศมมี ากมายหลายบรกิ าร เช่น บริการเครือข่ายใยแมงมุมโลก หรือ Word-Wide-Web(WWW) บรกิ าร
ค้นหาข้อมูล Gopher บริการการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพ่ือการวิจัย ค้นหา
โปรแกรมใช้งาน Archie นอกจากนี้ อาจใชบ้ รกิ ารสอบถามผา่ นทาง E-mail หรอื Chat กับผู้ใชง้ านอินเทอรเ์ นต็
อืน่ ๆ หรือสอบถามผ่าน News Group หรือ Group/Thread Discussion กไ็ ด้

เม่ือค้นได้แหล่งข้อมูลแล้วอาจ download หรือถ่ายโอนข้อมูลที่สืบค้นได้โดยใช้บริการ
ถ่ายโอนไฟลข์ ้อมลู และโปรแกรม (File Transfer Protocol หรือ FTP) โดยทั่วไปในปจั จุบัน การสืบค้นข้อมูล
สารสนเทศทางอนิ เทอรเ์ นต็ นยิ มใชโ้ ปรแกรม Web Browsers เช่น Internet Explorer หรือ Netscape แลว้
เรียกใช้บริการ www ประกอบกับการใช้ Search Engine ซ่ึงมีอยู่มากมายบนอินเทอร์เน็ตในการสืบค้น เมื่อ
สืบค้นได้แล้ว โปรแกรม Web Browsers มักจะมีบริการ Download ได้ทนทีโดยไม่ต้องอาศัยโปรแกรมอ่นื ๆ
เขา้ ช่วย

5. เคร่ืองมือหรือโปรแกรมสาหรับการสืบค้น เครื่องมือหรือโปรแกรมสาหรับการสืบค้น
(Search Engine) มีอยู่มากมายและมีใหบ้ ริการอยู่ตามเว็บไซต์ต่าง ๆ ท่ีใช้บริการการสืบค้นข้อมูลโดยเฉพาะ
การเลือกใช้นั้นข้ึนกับประเภทของข้อมลู สารสนเทศที่ต้องการสืบค้น Search Engine ต่าง ๆ จะให้ข้อมูลท่ีมี
ความลึกในแง่มุมหรือศาสตร์ต่าง ๆ ไม่เท่ากัน ตัวอย่าง Search Engine ท่ีนิยมใช้มีทั้งเว็บไซต์ท่ีเป็นของ
ตา่ งประเทศ และของไทยเอง

30
ภาพที 2.7.2 การสบื ค้นขอ้ มลู สารสนเทศบนอินเทอรเ์ นต็

31

แหล่งอ้างอิง

sites.google.com/site. การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในปัจจุบัน. [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ทีม่ า
https://sites.google.com/site/rattikan581031029/
(คน้ เม่อื วนั ท่ี 21 มกราคม 2564)

sites.google.com. การประยุกตใ์ ช้ในงานดา้ นการศึกษา. [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ที่มา
https://sites.google.com/site/rattikan581031029/
(คน้ เมื่อวนั ท่ี 21 มกราคม 2564)

sites.google.com/site. การประยกุ ตใ์ ช้ในงานดา้ นธุรกจิ . [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ท่มี า
https://sites.google.com/site/computerbusiness03/
(ค้นเมอ่ื วนั ที่ 21 มกราคม 2564)

sites.google.com/site. การประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานสาธารณสขุ และการแพทย.์ [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ท่ีมา
https://sites.google.com/site/computerbusiness03/
(คน้ เมื่อวนั ท่ี 21 มกราคม 2564)

sites.google.com/site. การประยกุ ตใ์ ช้ในงานดา้ นการสื่อสารและโทรคมนาคม. [ระบบออนไลน]์ . แหล่งท่ีมา
https://sites.google.com/site/computerbusiness03/
(คน้ เม่อื วันท่ี 21 มกราคม 2564)

sites.google.com. การประยกุ ตใ์ ช้ในสาขาอตุ สาหกรรมและการผลิต. [ระบบออนไลน์]. แหล่งทม่ี า
https://sites.google.com/site/thekhnoloyisarsntheskhxngthiy/
(คน้ เมอ่ื วนั ที่ 21 มกราคม 2564)

sites.google.com. การประยุกตใ์ ชใ้ นหน่วยงานราชการตา่ ง ๆ. [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ท่ีมา
https://sites.google.com/site/thekhnoloyisarsntheskhxngthiy/
(ค้นเมื่อวนั ท่ี 21 มกราคม 2564)

sites.google.com. การประยกุ ตใ์ ช้ในสาขาด้านความมั่นคงของชาติและทางทหาร. [ระบบออนไลน์]. แหล่งทม่ี า
https://sites.google.com/site/thekhnoloyisarsntheskhxngthiy/
(คน้ เมือ่ วนั ท่ี 21 มกราคม 2564)

sites.google.com. ความหมายของการสบื คน้ ข้อมลู สารสนเทศ. [ระบบออนไลน์]. แหล่งทีม่ า
https://sites.google.com/site/thekhnoloyisarsnthespws/neuxha/
(ค้นเมอ่ื วันท่ี 21 มกราคม 2564)

sites.google.com. การสบื ค้นขอ้ มลู ดว้ ย GOOGLE. [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ท่มี า
https://sites.google.com/site/teacherreybanis1/
(คน้ เมือ่ วนั ท่ี 21 มกราคม 2564)

sites.google.com. การสืบค้นเพือ่ เขา้ สู่เวบ็ ไซตข์ องนักเรยี น. [ระบบออนไลน์]. แหล่งท่มี า
https://sites.google.com/site/binganthi159exe/
(คน้ เมื่อวนั ท่ี 21 มกราคม 2564)

32

แหลง่ อ้างองิ (ตอ่ )

sites.google.com. ความหมายของการสืบคน้ ข้อมลู . [ระบบออนไลน์]. แหล่งทม่ี า
https://sites.google.com/site/magunchao420555/home/
(ค้นเมอ่ื วันที่ 21 มกราคม 2564)

sites.google.com. ประเภทการสืบคน้ ขอ้ มูล. [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ท่มี า
https://sites.google.com/site/nattawutsriphan603307/
(คน้ เมื่อวนั ท่ี 21 มกราคม 2564)

www.1belief.com. ประโยชนข์ อง Search Engines. [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ท่มี า
https://www.1belief.com/article/search-engines/
(คน้ เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2564)

sites.google.com. รปู แบบและวิธกี ารสืบคน้ ข้อมูลสารสนเทศ. [ระบบออนไลน์]. แหล่งท่มี า
https://sites.google.com/site/binganthi159exe/
(คน้ เมื่อวันท่ี 21 มกราคม 2564)

จัดทาโดย
นางสาววรศิ รา ใจเส็น

เลขท่ี 11 สบล.63.1
สาขาวิชาการเลขานกุ าร

รายงานนเี้ ปน็ ส่วนหน่ึงของ รหัสวิชา 30203-2002
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในงานเลขานกุ าร
ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564
วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาลาปาง

การประยุกตใ์ ช้
ระบบประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ

(Cloud Computing)
ในงานเลขานุการ

การประยุกตใ์ ชร้ ะบบประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ
(Cloud Computing) ในงานเลขานุการ

เสนอ

ครปู รียา ปันธยิ ะ

จัดทาโดย

นางสาววรศิ รา ใจเสน็
เลขที่ 11 สบล. 63.1
สาขาวชิ าการเลขานุการ

รายงานน้ีเปน็ ส่วนหน่ึงของ รหัสวิชา 30203-2002
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในงานเลขานุการ
ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564
วิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปาง



คานา

รายงานน้ีเป็นส่วนหนึ่งของ รหัสวิชา 30203-2002 วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในงานเลขานุการ ซึ่งได้
รับมอบหมายจาก ครูปรยี า ปนั ธิยะ ใหด้ าเนินการศกึ ษา สบื ค้น และค้นคว้า เกีย่ วกบั เร่ือง การประยกุ ตใ์ ชร้ ะบบ
ประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (Cloud Computing) ในงานเลขานุการ

ซึ่งเน้ือหารายงานเล่มนี้ประกอบด้วยหัวข้อ การประมวลผลกลุ่มเมฆ : Cloud Computing, นิยาม
ของ Cloud Computing หรือ การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ, ประวัติความเป็นมา Cloud Computing,
องค์ประกอบของระบบประมวลผลกลุ่มเมฆ Cloud Computing, สถาปัตยกรรม Cloud Computing, การ
ทางานของ Cloud Computing, สามเหลีย่ มกล่มุ เมฆ, มาตรฐานของระบบประมวลผลกล่มุ เมฆ, ประเภทของ
Cloud Computing, การจัดเก็บข้อมูลจากบุคคลภายนอกองค์กร, การจัดเก็บเมฆ, ความมั่นคงผู้ให้บริการ,
ระบบการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ ในภาครัฐ, ข้อดี ข้อเสีย ของ Cloud Computing, ประโยชน์ของ Cloud
Computing

ซ่ึงจากการท่ีผู้จัดทาได้ศึกษา สืบค้น และค้นคว้าข้อมูลดังกล่าว เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษา
เพ่มิ เตมิ ผจู้ ดั ทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คงจะเป็นประโยชน์ต่อผทู้ ่สี นใจ

วริศรา ใจเส็น
สาขาวชิ าการเลขานกุ าร

สารบัญ ข

เรื่อง หน้า

คานา ก
สารบัญ ข
การประมวลผลกลุ่มเมฆ : Cloud Computing 1-2
นิยามของ Cloud Computing หรอื การประมวลผลแบบกล่มุ เมฆ 3
ประวตั ิความเป็นมา Cloud Computing 4-5
องคป์ ระกอบของระบบประมวลผลกลุม่ เมฆ Cloud Computing 6-7
สถาปัตยกรรม Cloud Computing 8
การทางานของ Cloud Computing 9
สามเหลีย่ มกลมุ่ เมฆ 10
มาตรฐานของระบบประมวลผลกลมุ่ เมฆ 11-14
ประเภทของ Cloud Computing 15-16
การจดั เก็บข้อมลู จากบคุ คลภายนอกองคก์ ร 17-18
การจัดเกบ็ เมฆ 19
ความมั่นคงผใู้ หบ้ รกิ าร 20-22
ระบบการประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆ ในภาครัฐ 23-26
ข้อดี ข้อเสยี ของ Cloud Computing 27
ประโยชน์ของ Cloud Computing 28-29
แหล่งอ้างองิ 30-31

หน่วยท่ี 7
การประยุกตใ์ ช้ระบบประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆ (Cloud Computing)

ในงานเลขานุการ

บทนา

ในปัจจบุ ันมีผ้ปู ระกอบการในอตุ สาหกรรมไอที เปิดให้บริการแก่ผใู้ ชไ้ ม่วา่ จะเปน็ ระดับองค์กรท้ังหลาย
รวมไปถงึ ระดบั บคุ คลท่ตี อ้ งการประมวลผลขอ้ มลู ของตน เชาย บรกิ ารแอปพลเิ คชัน่ กลุ่มเมฆ (Cloud Application)
เป็นทั้งแอปพลเิ คชั่น ที่เปดิ ให้บรกิ ารบนเครอื ข่ายอินเทอร์เนต็ โดยผู้ใชไ้ ม่จาเปน็ ต้องติดตง้ั หรอื รันแอปพลิเคช่ัน
ทีเ่ คร่อื งคอมพิวเตอร์ แตเ่ ปน็ การใช้บริการรันแอปพลิเคชน่ั ผ่านเครือข่าย จึงไม่ตอ้ งเสยี ค่าใช้จา่ ยในการบารงุ รกั ษา
ซอฟต์แวร์ การดูแลในระดับปฏิบัติการ หรือระบบสนับสนุน ตัวอย่างเช่น Peer-to-peer/ Volunteer
Computing (Bittorent, SETI, Skype) Web application (Facebook) Software As A Service (Google
Apps, Google Docs, Salesforce) Software plus services (Microsoft Online service) เช่น บริการ
แอปพลิเคช่ันด้านเอกสารของ Google Docs ที่ให้บริการเวิร์ดโพรเซสซิ่งสเปรดซีท และพรีเซนเทซ่ัน ผ่าน
เวบ็ ไซตโ์ ดยผ้ใู ชส้ ามารถสร้างเอกสาร แก้ไข จัดเก็บ และแบ่งปนั ให้กับผ้เู กยี่ วขอ้ งผ่านเครือขา่ ยอินเตอรเ์ นต็ อีก
ท้ังยงั สามารถให้คุณสมบัตใิ ห้ผ้อู ่นื ร่วมแกไ้ ขไฟล์เอกสารบนเครือขา่ ย บรกิ ารงานดา้ น on demand customer
relationship management ของ Salesforce ที่ให้บรกิ ารโซลชู นั่ ด้าน CRM หลากหลายขนาดท่ีผใู้ ช้สามารถ
ปรบั เปลีย่ นขนาดความสามารถของโซลชู ั่นไดต้ ามต้องการ

การประมวลผลกลมุ่ เมฆ : Cloud Computing

เปน็ แนวคดิ สาหรบั Platform ของระบบคอมพวิ เตอร์ เพ่ือเป็นทางเลอื กใหแ้ กผ่ ใู้ ช้ในการลดภาระดา้ น
การลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) ท้ังการใช้งานในระดับองค์กรธุรกิจ
(Corporate Users) และ ผู้ใชร้ ะดบั ส่วนบคุ คล (Individual Users) โดยเปน็ หลักการนาทรัพยากรของระบบ
ไอที ท้ังฮารด์ แวร์ และซอฟต์แวร์มาแบง่ ปันในรปู แบบการให้บริการ (Software As A Services: SAAS) ใน
ระดับการประมวลผลผ่านเครือข่ายอนิ เตอรเ์ น็ต โดยผู้ใช้ไม่จาเปน็ ต้องมีเคร่ืองคอมพิวเตอรป์ ระสิทธิภาพสูง
หรือติดตงั้ ซอฟต์แวร์ระบบ ตลอดจนซอฟตแ์ วร์แอพพลิเคชั่นจานวนมาก ๆ เพอ่ื การทางานที่ซบั ซ้อน แตส่ ามารถ
ใช้บริการประมวลผล และแอพพลิเคชนั่ ต่าง ๆ จากผู้ให้บรกิ ารระบบประมวลผลกลุม่ เมฆ โดยชาระคา่ บริการ
ตามการใชง้ านทีเ่ กิดขนึ้ จริง

การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (cloud computing) เป็นลักษณะของการทางานของผู้ใช้งาน
คอมพิวเตอร์ผ่านอินเทอร์เน็ต ที่ให้บริการใดบริการหน่ึงกับผใู้ ช้ โดยผู้ให้บริการจะแบ่งปันทรพั ยากรใหก้ ับผู้
ต้องการใช้งานนั้น การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ เป็นลักษณะท่ีพัฒนาข้ึนต่อมาจากความคิดและบรกิ ารของ
เวอร์ชัวไลเซชันและเว็บเซอร์วิซ โดยผู้ใช้งานน้ันไม่จาเป็นต้องมีความรู้ในเชิงเทคนิคสาหรับตัวพื้นฐานการ
ทางานนนั้

2
การประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆน้ัน ถูกอธบิ ายถึงโมเดลรปู แบบใหม่ของเทคโนโลยีสารสนเทศในการใช้
งานบนอินเทอร์เน็ตท่ีเน้นการขยายตัวได้อย่างยืดหยุ่น สามารถท่ีจะปรับขนาดได้ตามความต้องการของผูใ้ ช้
และมกี ารจัดสรรทรัพยากร โดยเน้นการทางานระยะไกลอยา่ งงา่ ย ที่ใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตเป็นโครงสรา้ งพน้ื ฐาน
ตวั อยา่ งของการประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆทเ่ี ปน็ ท่รี ู้จกั เช่น ยทู บู โดยที่ผู้ใช้สามารถเก็บวิดีโอออนไลน์
ได้ โดยไม่ต้องมคี วามรู้ในการสรา้ งระบบวดิ โี อออนไลน์ หรือ ในระบบเครอื ข่ายสังคมออนไลนต์ ่าง ๆ เป็นต้น

ภาพที่ 1 การประมวลผลกลุ่มเมฆ : Cloud Computing

3

นยิ ามของ Cloud Computing หรอื การประมวลผลแบบกลุม่ เมฆ

สถาบันมาตรฐานและเทคโนโลยีแห่งชาติของสหรฐั อเมรกิ าให้คาจากัดความ "cloud" ว่า มาจากคา
ในภาษาอังกฤษที่แปลว่า “เมฆ” หมายถึงอินเทอร์เน็ตโดยรวมในรูปของโครงสร้างพ้ืนฐาน (เปรียบเหมือน
ระบบไฟฟ้า ประปา ที่อยู่ในอินเตอร์เน็ต) ท่ีพรอ้ มให้บริการกับผ้ใู ช้งานเมือ่ มีความต้องการใช้ผู้ให้บริการการ
ประมวลผลแบบกลุ่มเมฆส่วนใหญ่ จะให้บริการในลักษณะของเว็บแอปพลิเคชั่น โดยให้ผู้ใช้ทางานผ่านเว็บ
เบราวเ์ ซอร์ ขณะเดียวกนั ซอฟตแ์ วร์และข้อมลู ท้ังหมดจะถกู เกบ็ ไว้บนเซริ ์ฟเวอร์ของผ้ใู ห้บรกิ าร

บริษัทการ์ตเนอร์ ได้ให้นิยามว่า “Cloud computing is a style of computing where
massively scalable IT-related capabilities are provided ‘ as a service’ across the Internet to
multiple external customers” หรอื ระบบการประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆ คือ แนวทางการประมวลผลทพ่ี ลงั
ของโครงสร้างทางไอทีขนาดใหญ่ที่ขยายตัวได้ถูกนาเสนอยังลูกค้าภายนอกจานวนมหาศาลในรูปแบบของ
บรกิ าร

ฟอเรสเตอร์กรุ๊ป ได้นิยามว่า “ cloud computing: A pool of abstracted, highly scalable,
and managed infrastructure capable of hosting end- customer applications and billed by
consumption” หรือ กลุ่มของโครงสร้างพื้นฐานที่ถูกบริหารจัดการและขยายตัวได้อย่างมาก ซ่ึงมีขีดความ
สามารถในการรองรบั โปรแกรมประยกุ ตต์ ่าง ๆ ของผูใ้ ช้ และเกบ็ ค่าบริการตามการใชง้ าน

JavaBoom Collection ได้นิยามว่าเป็น การประมวลผลท่ีอิงกับความต้องการของผู้ใช้ โดยผู้ใช้
สามารถระบุความต้องการไปยังซอฟต์แวร์ของระบบ Cloud Computing จากน้ันซอฟต์แวร์จะร้องขอให้
ระบบ จัดสรรทรัพยากรและบริการให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ โดยระบบสามารถเพิ่มหรือลดจานวน
ทรพั ยากรใหพ้ อเหมาะกับความต้องการของผูใ้ ช้ โดยท่ผี ู้ใช้ไมต่ ้องทราบการทางานเบือ้ งหลังว่าเปน็ อย่างไร

ภาพท่ี 2 การประมวลผลกลมุ่ เมฆ : Cloud Computing

4

ประวตั ิความเปน็ มา Cloud Computing

คาว่า Cloud นั้นเรายืมมาจากการส่ือสารแบบโทรศัพท์ในยุคปี 90 ดาต้าเซอร์กิจได้เกิดข้ึน (บน
เครือข่ายข้อมูลอินเทอร์เน็ต) เป็นการยากที่จะเดินสายเช่ือมต่อระหว่างปลายทางแต่ละจุด ดังน้ันผู้ให้บรกิ าร
เร่ิมมีบริการเครือข่ายส่วนตัวเสมือน หรือท่ีเรียกว่า VPN โดยผู้ให้บริการ VPN สามารถรับประกันแบนด์วิธ
เทียบเท่ากับที่การใช้วงจรแบบฟิกส์ในราคาที่ต่ากว่า เพราะสามารถสวิตช์ทราฟฟิกส์และใช้ประโยชน์จาก
เครือข่ายโดยรวมได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากการท่ีอาศัยสวิตช์นี้เองจึงเป็นการยากท่ีจะบอกล่วงหน้าได้ว่า
ข้อมูลเดินทางผ่านเส้นทางใด คาว่า "Telecom cloud" จึงถูกใช้เพื่ออธิบายเครือข่ายประเภทน้ี และ Cloud
Computing กม็ คี อนเซพต์ค่อนข้างคลา้ ยกนั Cloud Computing อาศัยพน้ื ฐานเคร่ืองเสมือน (virtual machine)
ซ่ึงเกิดขึ้นหรือลดจานวนเพ่ือใหต้ รงกับความต้องการของผู้ใช้ เพราะว่า Virtual instances สามารถที่จะเกิด
ตามความต้องการ จึงเป็นการยากการที่จะตรวจสอบได้ว่ามี virtual machine เท่าไรที่ทางานให้ขณะนั้น
รวมถึง virtual machine ดังกล่าวทางานอยู่ทีไ่ หนเหมอื น Cloud network

ภาพที่ 3 ประวตั คิ วามเป็นมา Cloud Computing

แนวคิดของ Cloud Computing ย้อนกลับไปยังเมื่อ 1960 เม่ือ John McCarthy ได้เสนอความ
คิดเห็นว่าวันหนึ่งการคานวณจะถูกจัดการให้สามารถใช้มนั ได้อยา่ งสาธารณะ โดยลักษณะการแชรบ์ ริการกนั
แต่ส่วนคาว่า Cloud เขา้ มาใช้ในเชิงพาณิชย์

ในชว่ งต้นปี 1990 นั้น คือ Asynchronous Transfer Mode หรือทเ่ี รียกเครอื ขา่ ยแบบ ATM ต่อมา
General Magic เริ่มออกผลิตภัณฑ์ Cloud Computing ได้เพียงช่วงหนึ่งในปี 1995 โดยร่วมกับพันธมิตร
หลายราย เช่น ATT&T ก่อนที่ผ้บู รโิ ภคหนั ไปยังอนิ เตอรเ์ น็ต ในศตวรรษท่ี 21 คา " Cloud Computing " เร่ิม
ปรากฏอย่างแพรห่ ลายแตส่ ่วนมากจะมงุ่ ไปในลักษณะ SaaS

ในปี 1999 Salesforce.com ไดก้ ่อต้ังขึ้นโดย Marc Benioff และ Parker Harris พวกเขาใช้เทคโนโลยี
หลายอยา่ งที่พฒั นาโดยบรษิ ทั เชน่ Google และ Yahoo! เพอื่ ประยุกตใ์ นเชงิ ธรุ กจิ นอกจากนี้ยงั ใหแ้ นวคิดของ

5
"On demand" และ SaaS กับธุรกิจของเค้าและลูกค้าทป่ี ระสบความสาเร็จ กุญแจสาหรับ SaaS อยู่ท่ีลูกค้า
สามารถปรับแตง่ ไดโ้ ดยใหก้ ารสนบั สนนุ ทางเทคนคิ เทา่ ทจ่ี าเป็น ซ่งึ ผูใ้ ชพ้ อใจกับความยืดหย่นุ และความเร็วทไ่ี ด้

ในชว่ งตน้ ปี 2000 Microsoft ขยายแนวคิดของ SaaS ผ่านการพฒั นา Web service ต่อมาไอบีเอ็ม
เพ่ิมแนวคิดเหล่านี้ในปี 2001 กับ Autonomic Computing Manifesto ซึ่งอธิบายถึงเทคนิคอัตโนมัติข้ันสูง
เช่น self-monitoring , self-healing, self-configuring, and self-optimizing เพ่อื เพม่ิ ประสทิ ธิภาพในการ
จัดการระบบไอทที ่ีซับซ้อนโดยมี สตอเรจ เซิร์ฟเวอร์ แอปพลเิ คชั่น และเนต็ เวิร์ค ระบบความปลอดภัย และ
องคป์ ระกอบอน่ื ๆ ทแ่ี ตกต่างกันนัน้ สามารถ virtualize ขา้ ม enterprise กนั ได้

Amazon เรมิ่ มีบทบาทสาคัญในการพัฒนา cloud computing โดยพฒั นา data center ของพวก
เขา และพบวา่ Cloud architecture ใหม่ปรับปรงุ ประสิทธภิ าพ พวกเขาผ่านไดเ้ ปดิ ใหเ้ ขา้ ถึงระบบของเข้าได้
ผ่านทาง Amazon Web Services ในปี 2005

ในปี 2007 ของ Google และ IBM และมหาวิทยาลัยจานวนหนึ่งได้เริ่มวิจัย cloud computing
กนั อย่างกวา้ งขวางโครงการวจิ ัย ในเดอื นสงิ หาคม 2008 Gartner Research พบวา่ องคก์ รต่าง ๆ เร่มิ วางแผน
จากเดมิ ที่บรษิ ัทนั้นเปน็ เจ้าของฮาร์ดแวรแ์ ละซอฟต์แวร์เพ่อื ใหบ้ ริการ ไดม้ แี ผนท่จี ะย้ายไปยัง cloud computing
ซึง่ กาลงั เตบิ โต

ภาพท่ี 4 ประวตั คิ วามเป็นมา Cloud Computing

6

องคป์ ระกอบของระบบประมวลผลกลมุ่ เมฆ Cloud Computing

ระบบประมวลผลกลุ่มเมฆ จาเป็นต้องอาศยั องคป์ ระกอบทส่ี าคญั คอื
1. อินเตอรเ์ นต็ ทีม่ ชี อ่ งสญั ญาณสงู จนเกอื บจะไมม่ ีจากดั (Nearly unlimited bandwidth)

ภาพที่ 5 อนิ เตอร์เนต็ ทม่ี ีช่องสญั ญาณสูงจนเกอื บจะไม่มจี ากัด
(Nearly unlimited bandwidth)

2. เทคโนโลยรี ะบบเสมอื นจรงิ (Increasingly sophisticated virtualization technologies)

รปู ภาพท่ี 6 เทคโนโลยีระบบเสมอื นจรงิ
(Increasingly sophisticated virtualization technologies)

7
3. สถาปัตยกรรมเครือขา่ ยทร่ี องรบั การเข้าถงึ พร้อมกนั จานวนมาก (Multitenant Architectures)

รปู ภาพท่ี 7 สถาปัตยกรรมเครอื ขา่ ยท่รี องรบั การเขา้ ถึงพร้อมกันจานวนมาก
(Multitenant Architectures)

4. ลักษณะการใชง้ านไดข้ องเซริ ฟเ์ วอร์ประสทิ ธิภาพสงู (Availability of extremely powerful servers)

รูปภาพที่ 8 ลักษณะการใชง้ านไดข้ องเซิรฟเ์ วอรป์ ระสทิ ธภิ าพสงู
(Availability of extremely powerful servers)

8

สถาปตั ยกรรม Cloud Computing

การจัดเก็บข้อมูลบนเมฆ มีโครงสรา้ งพ้นื ฐานแบบเสมือนช้ันสูง และมขี อบเขตกวา้ งเหมือน ระบบการ
ประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ ในแง่ของการติดต่อที่สามารถเข้าถึงอย่างยืดหยุ่น เหมือนอยู่ใกล้ๆ ขยายขีดความ
สามารถได้, ใช้รว่ มกันได้ และตรวจวัดทรัพยากรทม่ี ไี ด้ บริการจดั เกบ็ เมฆสามารถนาไปใช้ประโยชนจ์ ากบรกิ าร
นอกสถานท่ี (Amazon S3) หรือนาไปใชใ้ นสถานท่ี (ViON)

การจัดเก็บข้อมูลบนเมฆ มกั จะหมายถงึ เป็นเจา้ ภาพการบรกิ ารจดั เกบ็ วัตถุทางอเิ ล็กทรอนคิ ส์ แต่คานี้
ปัจจุบันได้มกี ารขยายความหมายเพื่อรวมประเภทอื่น ๆ ของการจัดเกบ็ ข้อมูลท่ีด้านบริการ เช่น ที่เก็บบล็อก
(บริการฝากขอ้ ความสนทนากลุ่ม)

บริการจัดเก็บวัตถุเช่น Amazon S3 และ Microsoft Azure, การจัดเก็บข้อมูลวัตถุของซอฟตแ์ วร์
เช่น OpenStack Swift, ระบบจัดเก็บข้อมูลของวัตถุ เช่น EMC Atmos และ Hitachi Content Platform,
และข้อมูลการวิจัยด้านธุรกิจการค้า เช่น OceanStore และเมฆเสมือน เป็นตัวอย่างของการจัดเก็บข้อมูล
ทีส่ ามารถเป็นเจา้ ภาพและนาไปใช้กับลกั ษณะการจดั เก็บเมฆ

รปู ภาพท่ี 9 สถาปัตยกรรม Cloud Computing

9

การทางานของ Cloud Computing

อธิบายแบบรวบรัดเพ่ือความเข้าใจได้โดยง่ายก็คือ ระบบ cloud computing จะแบ่งการทางาน
ออกเป็นสว่ นหน้าและส่วนหลงั โดยทง้ั 2 สว่ นจะทาการเชื่อมต่อกันผ่านทางเครือข่ายอินเตอรเ์ นต็ ขยายความ
ได้ ดังนี้

ส่วนหน้า คือ ส่วนของผู้ใช้งานหรือที่เรียกกันว่า Client ประกอบด้วยคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย
คอมพวิ เตอรข์ องผู้ใช้รวมถงึ แอปพลิเคชั่นทจ่ี าเป็นในการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอรค์ ลาวด์ สาหรับส่วนหลงั ก็คือ
สว่ นระบบ cloud computing ซงึ่ ในสว่ นนี้จะมี Server Computer และระบบจัดเกบ็ ข้อมลู ตา่ ง ๆ รวมอยู่ ทั้ง
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระบบที่ใชใ้ นการประมวลผลข้อมลู ไปจนการเกบ็ ข้อมูลในรปู แบบวีดโี อหรอื เกมตา่ ง ๆ ซ่งึ
ในแต่ละโปรแกรมหรือแอปพลิเคช่ันก็มักจะถูกเก็บอยู่ในเซริ ์ฟเวอร์แต่ละเคร่ืองของตัวเองท่ีเรียกว่า Dedicate
Server

Cloud computing อาศยั โครงสร้างสว่ นกลางทีใ่ ช้รว่ มกัน โดยท่ัวไปแลว้ จะเปน็ เหมือนบุคคลที่สาม
ของบรษิ ัท ซึ่งจัดการโดยบริษทั ทบ่ี ริหารข้อมลู ขนาดใหญ่ รวมไปถึงเครอ่ื ง server อปุ กรณจ์ ดั เก็บขอ้ มูล ระบบ
เครือขา่ ย เหมือนการเชา่ พนื้ ทจ่ี ากบรษิ ทั อ่ืนแต่สามารถบริหารจดั การโฮสต์เองได้ท้ังหมดแต่ตัดปัญหาเรอ่ื งงาน
ดแู ลหรอื ซอ่ มบารุงต่าง ๆไป

เมื่อลูกค้าจ่ายค่า cloud computing แล้วจะสามารถ remote เข้าถึงบริการได้ท้ังหมด เช่น ลง
ซอฟตแ์ วร์ผ่านอนิ เตอร์ และหากตอ้ งการเพมิ่ ขนาดของ cloud ก็สามารถทาไดเ้ ช่นกนั ผา่ นอนิ เตอรเ์ น็ต

ถา้ เราใช้อนิ เตอร์เน็ตประจา จะสังเกตวา่ ระบบ cloud computing น้นั เป็นเหมอื นรากฐานของการ
ทางาน ข้อมูลทั้งหมดนั้นส่งผ่านทาง Data center เข้าสู่ผู้ให้บริการโฮสต้ิง ซึ่งข้อมูลเหล่าน้ีน้ันจะวางอยู่ที่
เดียวกันและทาซ้าข้อมูลไปยังแหลง่ อื่นกรณีมีพิบัติภัยต่าง ๆ เช่น ไฟดับ ภัยธรรมชาติ เว็ปไซต์ของคุณกจ็ ะยัง
ทางานได้ตลอด

รูปภาพท่ี 10 การทางานของ Cloud Computing

10

สามเหล่ยี มกลุม่ เมฆ

ระบบปฏบิ ัติการกล่มุ เมฆประกอบด้วยบรกิ ารท่ีสาคัญ 3 ส่วนคือโครงสร้างพ้ืนฐาน แพลทฟอร์ม และ
แอพพลเิ คชั่น

1.โครงสร้างพนื้ ฐานกลมุ่ เมฆ (Cloud Infrastructure)
ผู้ให้บริการโครงสร้างพนื้ ฐาน เป็นระดับเริ่มต้นของสภาพแวดลอ้ มระบบประมวลผลกล่มุ เมฆ

ในลักษณะของเคร่ืองคอมพิวเตอร์เสมือน (Virtual Machine) ให้บริการด้านการจัดสมดุลปริมาณงาน
(Loadbalancing) และพ้ืนทจ่ี ัดเก็บข้อมูล (Storage) รองรับแพลทฟอร์มกลุม่ เมฆ และแอปพลิเคชั่นกลุ่มเมฆ
ผู้ให้บรกิ ารโครงสร้างพน้ื ฐานสามารถปรับเปลี่ยนคุณสมบตั ิ บริการ และควบคุมระบบประมวลผลกลุ่มเมฆได้
สูงสุด โดยเป็นผูใ้ ห้บริการระดับควบคุมทั้งหมดของโครงสรา้ งเซิร์ฟเวอร์ตัวอย่างผู้ใหบ้ ริการโครงสรา้ งพนื้ ฐาน
เชน่ Amazon's EC2, GoGrid, RightScale

2.แพลทฟอรม์ กลมุ่ เมฆ (Cloud Platform)
ผใู้ หบ้ ริการแพลทฟอรม์ จะกาหนดมาตรฐานของแอปพลเิ คช่นั สาหรับผพู้ ัฒนา แตแ่ พลทฟอรม์

จาเปน็ ต้องข้นึ กับลักษณะของโครงสร้างพ้นื ฐานของเครือ่ งคอมพิวเตอร์เสมือน ตัวอยา่ งผู้ใหบ้ รกิ ารแพลทฟอร์ม
ก ลุ่ ม เ มฆ เ ช่ น Google App Engine, Heroku, Mosso, Engine Yard, Joyent, force. com ( Saleforce
platform)

3. แอพพลิเคชน่ั กลมุ่ เมฆ (Cloud Application)
การใหบ้ รกิ ารซอฟต์แวรบ์ นเครอื ขา่ ยในลักษณะ SAAS (Software As A Service) โดยรูปแบบ

ให้บริการเป็นลักษณะ Virtualization กล่าวคือเป็นเว็บแอพพลิเคชั่น มีส่วนติดต่อกับผู้ใช้ (User interface)
บนหนา้ เวบ็ เบราว์เซอร์ โดยแยกสว่ นโปรแกรมและส่วนประมวลผลอยบู่ นเครอื ขา่ ย ผใู้ ชจ้ งึ ไมจ่ าเป็นตอ้ งติดต้ัง
แอพพลิเคชั่นในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ เช่น บริการ Hotmail, Gmail, Quicken Online, Google Docs, Sales
Force, Online banking service

รูปภาพที่ 11 สามเหลย่ี มกลุม่ เมฆ

11

มาตรฐานของระบบประมวลผลกลมุ่ เมฆ

ระบบประมวลผลกลมุ่ เมฆใช้มาตรฐานแบบเปดิ (open standard) เช่น
1. Browsers (Ajax)

รูปภาพท่ี 12 Browsers (Ajax)
2. Communications (HTTP, XMPP)

รปู ภาพท่ี 13 Communications (HTTP, XMPP)

12

3. Data (XML,JSON)

รปู ภาพที่ 14 Data (XML,JSON)

4. Offline (HTML5)

รูปภาพที่ 15 Offline (HTML5)
5. Management (OVF)

รูปภาพที่ 16 Management (OVF)

13

6. Security (OAuth, OpenID, TLS)

รปู ภาพที่ 17 Security (OAuth, OpenID, TLS)
7. Solution stacks (LAMP)

รูปภาพท่ี 18 Solution stacks (LAMP)
8. Syndication (Atom)

รูปภาพที่ 19 Syndication (Atom)

14

9. Web Service (REST)

รูปภาพที่ 20 Web Service (REST)

การบรกิ ารบนระบบการประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆสามารถ แบ่งรปู แบบของชั้น ดงั นี้
1. การให้บริการซอฟต์แวร์ หรือ Software as a Service (SaaS) จะให้บริการการประมวลผล

แอปพลิเคช่ันทีแ่ มข่ ่ายของผใู้ หบ้ รกิ าร และเปิดให้การบริการทางดา้ นซอฟแวรต์ า่ ง ๆ
2.การใหบ้ ริการแพลทฟอร์ม หรือ Platform as a Service (PaaS) เป็นการประมวลผล ซ่งึ มีระบบ

ปฏบิ ตั ิการ และการสนบั สนนุ เวบ็ แอปพลิเคช่ันเขา้ มาร่วมดว้ ย
3. การให้บริการโครงสร้างพื้นฐาน หรือ Infrastructure as a Service (IaaS) เป็นการให้บริการ

เฉพาะโครงสร้างพื้นฐาน มปี ระโยชนใ์ นการประมวลผลทรัพยากรจานวนมาก
4. บริการระบบจดั เกบ็ ขอ้ มลู หรอื data Storage as a Service (dSaaS) ระบบการจัดเกบ็ ข้อมลู ท่ี

มีขนาดใหญ่ไมจ่ ากดั รองรบั การสืบคน้ และการจัดการข้อมลู ขน้ั สูง
5. บริการร่วมรวมลาดับความเชื่อมโยง หรือ Composite Service (CaaS) คือส่วนทาหน้าท่ีรวม

โปรแกรมประยุกต์ หรอื จดั ลาดบั การเชอ่ื มโยงแบบ workflow ขา้ มเครือขา่ ย รวมถงึ การจดั การดา้ นความปลอดภัย

ภาพที่ 21 การบริการบนระบบการประมวลผลแบบกลมุ่ เ

15

ประเภทของ Cloud Computing

สามารถจาแนกประเภทของระบบประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆ ออกไดเ้ ป็น 3 ประเภทดังนี้
1. Public Cloud เป็นการใช้บริการเข้าถึงข้อมูลรูปแบบต่าง ๆ ผ่านทางอินเทอร์เน็ต ผ่านการให้
บริการสาธารณะ มกั จะผ่านการใหบ้ ริการของผใู้ หบ้ รกิ ารสาธารณะ มักจะเปน๊ บรษิ ัทไอทรี ายใหญ่ เชน่ Google,
Amazon, IBM เเละ Microsoft ซึ่งการจดั การข้อมลู สามารถทาใหเ้ ปน็ แบบเปดิ หรอื ปดิ เป็นความหลบั ได้

รปู ภาพท่ี 22 Public Clouds หรือเรียกวา่ Externalcloud
2. Private Cloud เป็นการใช้งานภายในองค์กร ทั้งข้อมูลและแอพพลิเคชั่นจะถูกจัดเก็บไว้อย่าง
ปลอดภัยบน Data Center ซ่ึงผู้ใช้บรกิ ารเป็นผ้บู ริหารจัดการระบบ สามารถปรบั เปล่ยี นระบบต่าง ๆ ได้ด้วย
ตนเอง ผู้ให้บรกิ ารจะมหี น้าท่ีติดต้ังและดูแลรกั ษาให้เทา่ นั้น จงึ ช่วยเพิ่มความปลอดภยั ให้กับองค์กร

รปู ภาพท่ี 23 Private Clouds หรอื เรียกว่า Internal Cloud


Click to View FlipBook Version