The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by iprd.pic, 2023-11-20 02:41:53

รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

คำนำ สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ มีภารกิจหลักในการดำเนินการศึกษา วิจัย พัฒนาระบบ รูปแบบ มาตรฐาน หลักเกณฑ์ วิธีการ แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับกิจการศาลและระบบงานของศาลยุติธรรม ให้คำปรึกษาแนะนำ จัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน ตลอดจนเผยแพร่วิทยาการเกี่ยวกับการดำเนินงานวิจัย และพัฒนาระบบ นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์ข้อมูลผลงานวิจัย ผลงานวิชาการของศาลยุติธรรมและสำนักงาน ศาลยุติธรรมทั้งในและต่างประเทศ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ได้ดำเนินโครงการส่งเสริม การวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมของศาลยุติธรรม การประชุมหรือสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนา นวัตกรรมการอำนวยความยุติธรรม รวมถึงการผลิตสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ โดยรวบรวมและจัดทำเป็นรายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เพื่อเผยแพร่ แก่หน่วยงานในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรมและผู้สนใจนำไปประโยชน์ในการอ้างอิงและพัฒนา ต่อยอดงานของศาลยุติธรรมให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นต่อไป สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ สำนักงานศาลยุติธรรม ธันวาคม 2566


ศาลยุติธรรมได้จัดตั้งสถาบันวิจัยรพีพัฒนศักดิ์ขึ้นในสำนักงานศาลยุติธรรม เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2549 เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ โดยให้มีบทบาทหน้าที่ที่สำคัญ ในการดำเนินการศึกษาวิจัยทางด้านกฎหมายและสังคม และนำผลที่ได้จากงานวิจัยไปปรับใช้ในการ พัฒนาศาลยุติธรรมเพื่ออำนวยความยุติธรรมแก่ประชาชน เป็นการสนองพระประสงค์ของพระเจ้า บรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ที่ทรงกล่าวกับพระยามานวราชเสวีว่า “My life is service” พระองค์ท่านทรงเป็นต้นแบบของการนำความรู้ที่ได้จากการศึกษามาปรับใช้ให้เป็นประโยชน์อย่างเป็น รูปธรรมแก่ประเทศสยามและชาวสยามประเทศส่งผลจนถึงปัจจุบันที่กระบวนการยุติธรรมในชั้นศาลเป็น ที่ยอมรับจากสังคมว่ามีมาตรฐานในการอำนวยความยุติธรรมแก่ประชาชน ผลงานของสถาบันตลอด 17 ปีที่ผ่านมาเป็นที่ประจักษ์ว่างานวิจัยที่อยู่ภายใต้กำกับดูแลของ สถาบันวิจัยรพีพัฒนศักดิ์ล้วนแต่มีเนื้อหาสาระที่เป็นประเด็นสำคัญในสังคมและผลของงานวิจัยกลายเป็น องค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ในวงการนิติศาสตร์ ด้วยเหตุผลที่สถาบันวิจัยรพีพัฒนศักดิ์มีภาพของความ เป็นกลางทางวิชาการ และมีกิจกรรมส่งเสริมงานวิจัย อาทิการเปิดเวทีสาธารณะเสวนาในปัญหา ประเด็นต่าง ๆ ซึ่งเป็นสะพานเชื่อมต่อระหว่างนักวิชาการทั่วไป พี่น้องประชาชนที่จะได้แสดงความ คิดเห็น ความในใจ ความรู้สึก ความต้องการ และความเข้าใจของแต่ละท่าน กับผู้พิพากษาและเจ้าหน้าที่ ของศาลยุติธรรม ทำให้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นอย่างเปิดอก และเป็นการจุดประกายร่วมกันใน การแก้ไขปัญหาสำคัญของสังคมผ่านการวิจัยและนำไปใช้เพื่อสังคมและประเทศชาติทั้งนี้ เมื่อปี พ.ศ. 2559 สำนักงานศาลยุติธรรมได้ประกาศการแบ่งส่วนราชการภายใน โดยกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ ให้สถาบันวิจัยรพีพัฒนศักดิ์และสำนักพัฒนาระบบงาน เป็นสถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ สารจากประธานกรรมการวิจัย ของศาลยุติธรรม


ในฐานะที่ผมได้ทำหน้าที่ประธานกรรมการการวิจัยของศาลยุติธรรม ในนามของกรรมการ การวิจัยทุกท่านขอชื่นชมผลการดำเนินการของสถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ในปีที่ผ่านมาที่เป็น ประโยชน์อย่างยิ่งต่อวงการนิติศาสตร์ และวงงานวิชาการที่เกี่ยวข้อง และเชื่อมั่นว่าผลผลิตงานวิจัย และข้อมูลจากการจัดนิติศาสตร์เสวนาของสถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์จะได้นำไปปรับใช้ตาม แนวทางที่เหมาะสมเพื่อประโยชน์สูงสุดแก่ประเทศชาติและประชาชนต่อไป ศาสตราจารย์พิเศษภัทรศักดิ์ วรรณแสง รองประธานศาลฎีกา


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 1


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 2


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 3 อำนาจหนาที่ของคณะกรรมการวิจัยของศาลยุติธรรม 1. กำหนดทิศทางและยุทธศาสตรงานวิจัยศาลยุติธรรมใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อการ บรรลุเปาหมายตามนโยบายดานการวิจัยและพัฒนาของศาลยุติธรรม 2. สงเสริมการผลิตงานวิจัยศาลยุติธรรมรวมกันระหวางบุคลากรภายใน ภายนอก และ หนวยงานตาง ๆ 3. ใหความเห็นชอบขอเสนอโครงการวิจัยเพื่อเสนอขออนุมัติทุนสนับสนุนการวิจัยตอสำนักงาน ศาลยุติธรรม 4. คัดเลือกผลงานวิจัย เพื่อจัดพิมพเผยแพรตอสาธารณชนและผูสนใจ 5. ติดตาม และประเมินผลการดำเนินการตามนโยบายดานวิจัยและพัฒนา 6. ปฏิบัติงานอื่นใดตามระเบียบนี้และตามที่ไดรับมอบหมาย ผลการดำเนินงานของคณะกรรมการวิจัยของศาลยุติธรรม ดวยระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมวาดวยการบริหารการวิจัยของศาลยุติธรรม พ.ศ. 2562 คณะกรรมการวิจัยของศาลยุติธรรมมีอำนาจหนาที่กำหนดทิศทางและยุทธศาสตรงานวิจัย ศาลยุติธรรมใหเปนทิศทางเดียวกัน สงเสริมการผลิตงานวิจัยศาลยุติธรรม ใหความเห็นชอบขอเสนอ โครงการวิจัยเพื่อเสนอขออนุมัติทุนสนับสนุนการวิจัยตอสำนักงานศาลยุติธรรม คัดเลือกผลงานวิจัย เพื่อจัดพิมพเผยแพรเสนอตอสาธารณชนและผูสนใจ ในปงบประมาณ พ.ศ. 2566 คณะกรรมการวิจัย ไดมีการกำหนดยุทธศาสตรงานวิจัยของศาลยุติธรรม พ.ศ. 2565 – 2566 โดยสอดคลองกับแผน ยุทธศาสตรศาลยุติธรรมและนโยบายประธานศาลฎีกา ดังนี้ ยุทธศาสตรงานวิจัยที่ 1 ยุทธศาสตรการวิจัยดานความเชื่อมั่นศรัทธาการอำนวยความยุติธรรม ยุทธศาสตรงานวิจัยที่ 2 ยุทธศาสตรการวิจัยดานความเชื่อถือในระดับสากล ยุทธศาสตรงานวิจัยที่ 3 ยุทธศาสตรการวิจัยดานการดำเนินงานอันเปนมาตรฐานไปในทิศทาง เดียวกัน ยุทธศาสตรงานวิจัยที่ 4 ยุทธศาสตรการวิจัยดานพัฒนาที่ยั่งยืน ยุทธศาสตรงานวิจัยที่ 5 ยุทธศาสตรการวิจัยดานการเปลี่ยนผานสูอนาคต


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 4


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 5 รายงานวิจัยฉบับสมบูรณของขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม จำนวน 5 เรื่อง ขอมูล ณ วันที่ 29 กันยายน 2566 ลำดับที่ งานวิจัย/ผูดำเนินการวิจัย QR Code งานวิจัย 1 เรื่อง “บทบาทของศาลยุติธรรมในการคุมครองผูเสียหาย ที่พนักงานอัยการมีคำสั่งไมฟองคดีอาญา” นายสุรสิทธิ์ แสงวิโรจนพัฒน ผูพิพากษาศาลอุทธรณ 2 เรื่อง “การพัฒนาเกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที่ของทนายความขอแรง ที่ศาลตั้งใหจำเลยในคดีอาญา” นายอุทิศ สุภาพ ผูพิพากษาหัวหนาคณะในศาลอุทธรณ 3 เรื่อง “แนวทางการปรับใชหลักความไดสัดสวนในการพิจารณา พิพากษาคดีที่เกี่ยวกับสิทธิทางรัฐธรรมนูญของศาลยุติธรรม” นายกิตติคุณ วงศทองทิว ผูพิพากษาศาลแพง 4 เรื่อง “ปญหาขอขัดของและแนวทางพัฒนาการจัดทำคำพิพากษา ของศาลในสังกัดสำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 5” นายสุกิจ ศรีสุวรรณ ผูพิพากษาหัวหนาศาลประจำสำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 5 5 เรื่อง “การเสริมสรางประสิทธิภาพการแตงตั้งผูกำกับดูแล ตามพระราชบัญญัติมาตรการกำกับและติดตามจับกุมผูหลบหนี การปลอยตัวชั่วคราวโดยศาล พ.ศ. 2560 กรณีศึกษาการแตงตั้ง ผูกำกับดูแลประเภทผูปกครองทองที่ในพื้นที่ตางจังหวัด” นายภัคพล ศิรเวธน นักวิเคราะหนโยบายและแผนชำนาญการ (ผูวิจัยหลัก) นายจักรพงษ หนูดำ เจาพนักงานศาลยุติธรรมปฏิบัติการ (ผูชวยวิจัย)


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 6


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 7


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 8 โครงการวิจัย เรื่อง การพัฒนามาตรฐานขั้นตอนและกรอบระยะเวลาการปฏิบัติงานธุรการศาล (Time Standard) หลักการและเหตุผล สืบเนื่องจากรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 หมวด 16 การปฏิรูปประเทศ มาตรา 258 ดานกระบวนการยุติธรรม บัญญัติใหมีการกำหนดระยะเวลาดำเนินงานในทุกขั้นตอน ของกระบวนการยุติธรรมที่ชัดเจน เพื่อใหประชาชนไดรับความยุติธรรมโดยไมลาชา ประกอบกับ แผนการปฏิรูปประเทศ ดานกระบวนการยุติธรรม เรื่องและประเด็นการปฏิรูปที่ 1 ระบุใหมีการกำหนด ระยะเวลาดำเนินงานในทุกขั้นตอนของกระบวนการยุติธรรมที่ชัดเจนเพื่อใหประชาชนไดรับความยุติธรรม โดยไมลาชาตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด รวมถึงสามารถตรวจสอบความคืบหนาของการดำเนินงาน ในแตละขั้นตอนได ดังนั้น ในปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศาลยุติธรรมซึ่งเปนองคกรสำคัญในกระบวนการ ยุติธรรมอันมีภารกิจหลักในการพิจารณาพิพากษาคดีเพื่ออำนวยความยุติธรรมใหแกประชาชนผูมีอรรถคดี ดวยความสะดวก รวดเร็ว เปนธรรม และปราศจากอคติ จึงไดจัดทำ “คูมือแนวทางการกำหนดระยะเวลา การปฏิบัติงานธุรการศาลชั้นตน (Time Standard)” ขึ้น เปนกรอบแนวทางในการปฏิบัติงานธุรการ ในแตละขั้นตอนที่เปนมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ ประกอบดวย 7 กลุมศาล ไดแก กลุมศาลชั้นตน ที่ไมสังกัดภาคในเขตกรุงเทพมหานครที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพง กลุมศาลชั้นตนที่ไมสังกัดภาค ในเขตกรุงเทพมหานครที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญา กลุมศาลจังหวัด กลุมศาลแขวง กลุมศาลเยาวชนและครอบครัว กลุมศาลแรงงาน และกลุมศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ ทั้งนี้ เพื่อใหการอำนวยความยุติธรรมมีประสิทธิภาพมากขึ้น และแสดงถึงความเปนมาตรฐานสากล ในการปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงความตองการของประชาชนเปนสำคัญ ในการนี้ พระราชบัญญัติกำหนดระยะเวลาดำเนินงานในกระบวนการยุติธรรม พ.ศ. 2565 กำหนดใหหนวยงานในกระบวนการยุติธรรมกำหนดระยะเวลาดำเนินงานในกระบวนการยุติธรรม ทุกขั้นตอนใหชัดเจน เพื่อใหประชาชนไดรับความยุติธรรมโดยไมลาชา และใหผูมีสวนเกี่ยวของ ไดแก คูความ คูกรณี ผูตองหาและผูเสียหาย ทราบไดวาหนวยงานในกระบวนการยุติธรรมจะพิจารณาเรื่องที่อยู ระหวางดำเนินงานเสร็จสิ้นเมื่อใด รวมทั้งสามารถตรวจสอบความคืบหนาไดและแผนยุทธศาสตร ศาลยุติธรรม พ.ศ 2565 - 2568 ยุทธศาสตร T เชื่อมั่นศรัทธาการอำนวยความยุติธรรม (Trusted Justice) ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 กลาวถึงการเสริมสรางมาตรฐานการพิจารณาพิพากษาคดี โดยแนวทาง การดำเนินการที่ 1 กำหนดใหมีการปรับปรุงและพัฒนามาตรฐานกรอบระยะเวลาการดำเนินกระบวน พิจารณาการพิพากษาคดี และการมีคำสั่งในแตละประเภทคดี ประกอบกับนโยบายประธานศาลฎีกา พ.ศ. 2565 - 2566 ของนายโชติวัฒน เหลืองประเสริฐ ขอ 2 “รวมใจ” และขอ 3 “รับใชประชาชน” มุงเนนใหบุคลากรในองคกรศาลยุติธรรมรวมมือรวมใจและมีจิตสำนึกในการปฏิบัติหนาที่อำนวย ความยุติธรรมและใหบริการประชาชน ดวยความรวดเร็ว สะดวก ประหยัด เปนธรรมอยางทั่วถึง


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 9 มีประสิทธิภาพและมาตรฐานเดียวกัน ตลอดจนขอกำหนดของประธานศาลฎีกาวาดวยวิธีพิจารณาคดี ทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2563 ซึ่งมีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2563 เปนตนไป กำหนดหลักการ รองรับใหการดำเนินกระบวนพิจารณาของศาลในทุกขั้นตอน ไมวาจะเปนการจัดทำเอกสารในสำนวนความ การยื่น สง หรือรับเอกสาร การนั่งพิจารณา การบันทึกคำพยานการรับฟงพยานหลักฐาน การทำคำพิพากษา อุทธรณ ฎีกา สามารถดำเนินการโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสหรือกระทำในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกส เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใหการพิจารณาพิพากษาคดีและการใหบริการประชาชนผูมีอรรถคดีเปนไปดวย ความสะดวกรวดเร็วมากขึ้น รวมถึงปจจุบันศาลยุติธรรมไดมีการปรับเพิ่มแผนกหรือสวนงานในศาลชั้นตน เพื่อใหการอำนวยความยุติธรรมแกประชาชนมีความเฉพาะเจาะจง และสอดคลองกับบริบททางสังคม ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยนำมาปรับใชในกระบวนพิจารณา เชน แผนกคดี ซื้อขายออนไลนในศาลแพง ซึ่งกำหนดใหการดำเนินกระบวนพิจารณาทุกขั้นตอนในคดีซื้อขายออนไลน ใหใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส จากปจจัยสำคัญที่กลาวมาขางตน ไดแก กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ แผนยุทธศาสตร ศาลยุติธรรม นโยบายผูบริหารศาลยุติธรรม ระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัย และการเพิ่มแผนกหรือสวนงาน ภายในศาลชั้นตน ลวนแตสามารถสงผลกระทบตอความเหมาะสมของมาตรฐานระยะเวลาและขั้นตอน การปฏิบัติงานธุรการศาลชั้นตนที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งสิ้น ประกอบกับพระราชบัญญัติกำหนดระยะเวลา ดำเนินงานในกระบวนการยุติธรรม พ.ศ. 2565 มาตรา 11 กำหนดใหหนวยงานในกระบวนการยุติธรรม ตรวจสอบขั้นตอนและระยะเวลาการดำเนินงานในกระบวนการยุติธรรมวากำหนดขั้นตอนและระยะเวลา เหมาะสมหรือไม หากเห็นวาไมเหมาะสม ใหมีมาตรการเพื่อพัฒนาหรือปรับปรุงโดยเร็ว เพื่อใหประชาชน ไดรับความยุติธรรมโดยไมลาชา ซึ่งอยางนอยตองดำเนินการทุกสามป ดังนั้นในปงบประมาณ พ.ศ. 2566 สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์จึงเห็นสมควรดำเนินโครงการวิจัย เรื่อง “การพัฒนามาตรฐาน ขั้นตอนและกรอบระยะเวลาการปฏิบัติงานธุรการศาลชั้นตน (Time Standard)” โดยการศึกษา ทบทวน วิเคราะห ขั้นตอนและกรอบระยะเวลาการปฏิบัติงานธุรการศาลชั้นตนตามคูมือ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 เพื่อตรวจสอบวา ขั้นตอนและกรอบระยะเวลาที่กำหนดไวแลว มีความเหมาะสม และสอดคลองกับกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และการปฏิบัติงานในปจจุบันหรือไม อันจะนำไปสู การปรับปรุง แกไข และพัฒนามาตรฐานขั้นตอนและกรอบระยะเวลาที่เหมาะสม เพื่อใหประชาชน ไดรับความยุติธรรมโดยไมลาชา นอกจากนี้ รวมถึงการศึกษา วิเคราะหเพื่อกำหนดมาตรฐานขั้นตอน และกรอบระยะเวลาการปฏิบัติงานธุรการศาลชั้นตนที่นำวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกสมาใชดวย ทั้งนี้ เพื่อใหศาลยุติธรรมมีกรอบแนวทางในการปฏิบัติงานธุรการศาลชั้นตนที่เปนมาตรฐานเดียวกัน ทั่วประเทศที่สอดคลองกับกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และบริบททางสังคมในปจจุบัน อันจะสงผลให กระบวนการอำนวยความยุติธรรมมีประสิทธิภาพมากขึ้นเปนที่พึงพอใจและตอบสนองความคาดหวัง ของประชาชนผูมีอรรถคดี แสดงถึงความเปนมาตรฐานสากลในการปฏิบัติงานของศาลยุติธรรม


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 10 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษา ทบทวน วิเคราะห ขั้นตอนและกรอบระยะเวลาการปฏิบัติงานธุรการศาลชั้นตน ตามคูมือปงบประมาณ พ.ศ. 2562 และแกไข ปรับปรุง พัฒนา ใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและการปฏิบัติงานในปจจุบัน 2. เพื่อศึกษา วิเคราะห ขั้นตอนและกรอบระยะเวลาการปฏิบัติงานธุรการศาลชั้นตน ในกรณีที่นำวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกสมาใช และพิจารณากำหนดมาตรฐานขั้นตอนและ กรอบระยะเวลาใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และการปฏิบัติงานในปจจุบัน 3. เพื่อจัดทำมาตรฐานขั้นตอนและกรอบระยะเวลาการปฏิบัติงานธุรการศาลชั้นตน (Time Standard) ทั้งในกรณีการพิจารณาคดีดวยวิธีปกติและวิธีอิเล็กทรอนิกส ใหเปนมาตรฐานเดียวกัน เปาหมายการดำเนินงาน ศาลยุติธรรมมีคูมือมาตรฐานขั้นตอนและกรอบระยะเวลาการปฏิบัติงานธุรการศาลของ กลุมศาลตาง ๆ ประกอบดวย 1) กลุมศาลชั้นตน 7 กลุมศาล 2) กลุมศาลชำนัญพิเศษ 3) กลุมศาลที่ใช วิธีพิจารณาคดีดวยวิธีอิเล็กทรอนิกส และ 4) กลุมศาลสูง ระยะเวลาดำเนินงาน ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 (เดือนตุลาคม 2565 - มีนาคม 2566) ผลการดำเนินงาน 1. จัดทำคูมือมาตรฐานขั้นตอนและกรอบระยะเวลาการปฏิบัติงานธุรการศาลชั้นตน (ฉบับที่ 1) สำหรับศาลชั้นตน 7 กลุมศาล ไดแก (1) กลุมศาลชั้นตนที่ไมสังกัดภาคในเขตกรุงเทพมหานคร ที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพง (2) กลุมศาลชั้นตนที่ไมสังกัดภาคในเขตกรุงเทพมหานครที่มีอำนาจ พิจารณาพิพากษาคดีอาญา (3) กลุมศาลจังหวัด (4) กลุมศาลแขวง (5) กลุมศาลเยาวชนและครอบครัว (6) กลุมศาลแรงงาน และ (7) กลุมศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยเลขาธิการสำนักงาน ศาลยุติธรรมไดโปรดเห็นชอบใหแจงศาลที่เกี่ยวของถือปฏิบัติ ตามหนังสือสำนักงานศาลยุติธรรม ที่ ศย 020/ว 172 (ป) ลงวันที่ 21 ธันวาคม 2565 2. จัดทำคูมือมาตรฐานขั้นตอนและกรอบระยะเวลาการปฏิบัติงานธุรการศาลชั้นตน (ฉบับที่ 2) สำหรับศาลชำนัญพิเศษ 3 ศาล ไดแก (1) ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง (2) ศาลลมละลายกลาง และ (3) ศาลภาษีอากรกลาง โดยเลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรมไดโปรด เห็นชอบใหแจงศาลที่เกี่ยวของถือปฏิบัติตามหนังสือสำนักงานศาลยุติธรรมที่ ศย 020/ว 86 ลงวันที่ 24 มกราคม 2566


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 11 3. จัดทำคูมือมาตรฐานขั้นตอนและกรอบระยะเวลาการปฏิบัติงานธุรการศาลชั้นตน (ฉบับที่ 3) กรณีใชวิธีพิจารณาคดีอิเล็กทรอนิกส โดยเลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรมไดโปรดเห็นชอบใหแจงศาล ที่เกี่ยวของถือปฏิบัติตามหนังสือสำนักงานศาลยุติธรรม ที่ ศย 020/ว 45(ป) ลงวันที่ 7 เมษายน 2566 4. จัดทำคูมือมาตรฐานขั้นตอนและกรอบระยะเวลาการปฏิบัติงานธุรการศาล (ศาลสูง) สำหรับ ศาลฎีกาและศาลชั้นอุทธรณ โดยเลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรมไดโปรดเห็นชอบใหแจงศาล ที่เกี่ยวของถือปฏิบัติตามหนังสือสำนักงานศาลยุติธรรม ที่ ศย 020/ว 335 ลงวันที่ 7 เมษายน 2566 5. จัดทำแนวปฏิบัติในการรับเรื่องจากผูมีสวนเกี่ยวของอันเนื่องมาจากความลาชา ในการพิจารณาพิพากษาคดีตามระเบียบราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม วาดวยการกำหนดระยะเวลา การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลยุติธรรม พ.ศ. 2566 และแบบรายงานสถิติกรณีดำเนินการเกิน กรอบระยะเวลา ตามหนังสือสำนักงานศาลยุติธรรม ที่ ศย 020/ 112 ลงวันที่ 31 มกราคม 2566 เรื่อง “แนวปฏิบัติในการรับเรื่องจากผูมีสวนเกี่ยวของอันเนื่องมาจากความลาชาในการพิจารณาพิพากษาคดี ตามระเบียบราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม วาดวยการกำหนดระยะเวลาการพิจารณาพิพากษาคดี ของศาลยุติธรรม พ.ศ. 2566” ซึ่งนับตั้งแตวันที่ 24 มกราคม 2566 ถึงปจจุบัน (สิงหาคม 2566) พบวาในเดือนกรกฎาคม 2566 ศาลที่มีการรับเรื่องจากผูมีสวนเกี่ยวของอันเนื่องมาจากความลาชา ในการพิจารณาพิพากษาคดีตามระเบียบราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรมวาดวยการกำหนดระยะเวลา การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลยุติธรรม พ.ศ. 2566 มีจำนวน 1 ศาล และศาลที่มีขอมูลสถิติ การดำเนินงานที่เกินกำหนดระยะเวลาที่กำหนดไว มีจำนวน 31 ศาล รวม 517 คดี และในเดือนสิงหาคม 2566 ศาลทั่วประเทศยังไมมีการรับเรื่องรองเรียนอันเนื่องมาจากความลาชาในการปฏิบัติงาน และศาล ที่มีขอมูลสถิติการดำเนินงานที่เกินกำหนดระยะเวลาที่กำหนดไว มีจำนวน 35 ศาล รวม 822 คดี และ 1 คำรอง/คำขอ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ขั้นตอนและกรอบระยะเวลาการปฏิบัติงานธุรการศาลชั้นตนตามคูมือ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 เปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและการปฏิบัติงานในปจจุบัน 2. ศาลชั้นตนที่นำวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกสมาใช มีขั้นตอนและกรอบระยะเวลา การปฏิบัติงานธุรการที่เปนมาตรฐานเดียวกัน 3. ศาลยุติธรรมมีมาตรฐานขั้นตอนและกรอบระยะเวลาการปฏิบัติงานธุรการศาลชั้นตน (Time Standard) เพื่อใชเปนกรอบแนวทางในการปฏิบัติงานธุรการศาลชั้นตนที่เปนมาตรฐานเดียวกัน ทั่วประเทศ สรางความพึงพอใจและสามารถตอบสนองความคาดหวังของประชาชนผูมีอรรถคดีในการ ติดตอราชการกับศาลยุติธรรม


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 12


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 13 โครงการศึกษาวิจัย เรื่อง การเก็บรักษาและการทำลายขอมูลเอกสารในสำนวนความอิเล็กทรอนิกส หลักการและเหตุผล ศาลยุติธรรมไดมีการพัฒนาศักยภาพดานเทคโนโลยีดิจิทัล และกระบวนการนำเทคโนโลยีดิจิทัล มาใชในการทำงานหรือในกระบวนการพิจารณาคดีมาอยางตอเนื่อง เพื่อรองรับการกาวเขาสู ศาลยุติธรรมดิจิทัล (D-Court) โดยนับแตมีพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความแพง (ฉบับที่ 28) พ.ศ. 2558 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาตรา 34/1 มาตรา 51 วรรคสอง และมาตรา 68 ไดกำหนดใหประธานศาลฎีกามีอำนาจออกขอกำหนดโดยความ เห็นชอบของที่ประชุมใหญศาลฎีกา เพื่อเปนอนุบัญญัติกำหนดหลักการกลางรองรับใหการดำเนิน กระบวนพิจารณาของศาลในทุกขั้นตอนสามารถดำเนินการโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสหรือกระทำใน รูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสได อันจะเปนการเพิ่มประสิทธิภาพใหการพิจารณาพิพากษาคดีและการ ใหบริการประชาชนผูมีอรรถคดีเปนไปดวยความสะดวกรวดเร็ว ทั้งนี้ ศาลยุติธรรมไดมีการปรับปรุงแกไข กฎ ระเบียบ ขอบังคับที่เกี่ยวของเพื่อใหรองรับการดำเนินการในเรื่องดังกลาวหลายฉบับ ในระยะเริ่มตน ประธานศาลฎีกาไดออกขอกำหนดของประธานศาลฎีกา วาดวยการยื่นสง และ รับคำคูความและเอกสารทางระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2560 ซึ่งออกตามความในมาตรา 34/1 และมาตรา 68 แหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง กำหนดใหมี “ระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส” เพื่อรองรับการยื่น สง และรับคำฟอง คำคูความ คำสั่งศาล หมายเรียก หมายอื่น ๆ รวมทั้งเอกสาร ทางคดี ทำใหการฟองคดี การยื่นและสงคำคูความและเอกสาร การแจงคำสั่งของศาลสามารถทำได ผานระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส (e-Filing) ได ตอมาไดมีการออกขอกำหนดของประธานศาลฎีกา วาดวย การจัดทำสารบบความ สารบบคำพิพากษา และการรวบรวมเก็บรักษาเอกสารในสำนวนความในรูปแบบ ขอมูลอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2562 ซึ่งออกตามความในมาตรา 51 วรรคสอง แหงประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความแพง มีสาระสำคัญคือ การกำหนดใหศาลอาจจัดทำสารบบความหรือสารบบคำพิพากษา การรวบรวมเอกสารในสำนวนความ และการเก็บรักษาสำเนาคำพิพากษาหรือคำสั่งชี้ขาดคดีในรูปแบบ ขอมูลอิเล็กทรอนิกสได และเพื่อใหการดำเนินกระบวนพิจารณาของศาลสามารถดำเนินการโดยวิธีการ ทางอิเล็กทรอนิกสหรือกระทำในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสไดในทุกขั้นตอน จึงไดมีการออกขอกำหนด ของประธานศาลฎีกาวาดวยวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2563 ซึ่งออกตามความในมาตรา 34/1 มาตรา 51 วรรคสอง และมาตรา 68 แหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มีสาระสำคัญ ในการกำหนดหลักเกณฑที่เกี่ยวของกับวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกสหลายประการ เชน การจัดทำ เอกสารในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกส การนั่งพิจารณาโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส การรับฟง พยานหลักฐาน การจัดทำคำพิพากษา เปนตน


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 14 แมการพัฒนาการดำเนินการโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสหรือกระทำในรูปแบบขอมูล อิเล็กทรอนิกสดังกลาวของศาลยุติธรรมชวยลดปญหาการจัดการคดีของศาลยุติธรรมที่มีจำนวนมาก และมีปริมาณเพิ่มขึ้นในทุกป โดยเฉพาะอยางยิ่งการรวบรวมเก็บรักษาเอกสารในสำนวนความในรูปแบบ ขอมูลอิเล็กทรอนิกสซึ่งเปนการลดภาระในการดูแลและจัดเก็บเอกสารในสำนวนความที่มีปริมาณเพิ่มขึ้น ในทุกปจนทำใหพื้นที่ศาลที่มีอยูอยางจำกัดไมเพียงพอตอการจัดเก็บเอกสารในสำนวนความดังกลาว และโดยที่ขอกำหนดของประธานศาลฎีกา วาดวยการจัดทำสารบบความ สารบบคำพิพากษา และ การรวบรวมเก็บรักษาเอกสารในสำนวนความในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2562 หมวด 4 การเก็บรักษาและการทำลายสารบบความ สารบบคำพิพากษา และสำนวนความ ในขอ 17 ไดกำหนดให สารบบความและสารบบคำพิพากษาในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสกับเอกสารที่ไดจัดทำหรือแปลง ใหอยูในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสใหเก็บรักษาไวโดยคำนึงถึงประโยชนตอการอำนวยความยุติธรรม และสิทธิสวนบุคคลของผูมีสวนไดเสีย และเมื่อหมดความจำเปนก็ใหทำลายไดตามระเบียบที่ คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมกำหนด แตเนื่องจากกฎระเบียบที่เกี่ยวของกับการกำหนดหลักเกณฑ ในเรื่องการดำเนินการเกี่ยวกับสำนวนความและเอกสารซึ่งใชบังคับในปจจุบันอันไดแก ระเบียบ คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมวาดวยการปลดทำลายสำนวนความและเอกสาร พ.ศ. 2552 และ ที่แกไขเพิ่มเติม รวมถึงระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมวาดวยงานธุรการเกี่ยวกับสำนวนความ และเอกสาร พ.ศ. 2557 ยังมิไดระบุถึงการดำเนินการเก็บรักษาและการทำลายขอมูลเอกสารในสำนวน ความในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสไวอยางชัดแจง ดังนั้น จึงเห็นควรมีการศึกษาแนวคิด หลักการ กระบวนการและวิธีการ วิเคราะหสภาพปญหา อุปสรรคและขอขัดของ เพื่อเสนอแนะแนวทาง การพัฒนา และปรับปรุงแกไขกฎ ระเบียบ ขอบังคับที่เกี่ยวของกับการเก็บรักษาและการทำลายขอมูล เอกสารในสำนวนความในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกส วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาแนวคิด หลักการ กระบวนการ และวิธีการในการเก็บรักษาและการทำลายขอมูล เอกสารในสำนวนความในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกส 2. เพื่อศึกษาวิเคราะหสภาพปญหา อุปสรรคและขอขัดของในการเก็บรักษาและการทำลาย ขอมูลเอกสารในสำนวนความในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกส 3. เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนากระบวนการและวิธีการในการเก็บรักษาและการทำลาย ขอมูลเอกสารในสำนวนความในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกส 4. เพื่อเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงแกไขกฎ ระเบียบ ขอบังคับที่เกี่ยวของกับการเก็บรักษา และการทำลายขอมูลเอกสารในสำนวนความในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกส


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 15 ขอบเขตของการศึกษา การวิจัยครั้งนี้มีขอบเขตการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ดวยการวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary Research) โดยศึกษาแนวคิด หลักการ กระบวนการและวิธีการในการเก็บรักษาและ การทำลายขอมูลเอกสารในสำนวนความในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกส ตลอดจนศึกษาวิเคราะหสภาพ ปญหา อุปสรรคและขอขัดของในการเก็บรักษาและการทำลายขอมูลเอกสารในสำนวนความในรูปแบบ ขอมูลอิเล็กทรอนิกสทั้งของประเทศไทยและของตางประเทศ รวมถึงการเก็บขอมูลจากหนวยงานภายใน สำนักงานศาลยุติรรมที่เกี่ยวของกับการจัดเก็บและการทำลายขอมูลเอกสารในสำนวนความในรูปแบบ ขอมูลอิเล็กทรอนิกส ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ไดทราบแนวคิด หลักการ กระบวนการ และวิธีการในการเก็บรักษาและการทำลายขอมูล เอกสารในสำนวนความในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกส 2. ไดทราบสภาพปญหา อุปสรรคและขอขัดของในการเก็บรักษาและการทำลายขอมูลเอกสาร ในสำนวนความในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกส 3. ไดแนวทางการพัฒนากระบวนการและวิธีการในการเก็บรักษาและการทำลายขอมูลเอกสาร ในสำนวนความในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกส 4. ไดแนวทางการปรับปรุงแกไขกฎ ระเบียบ ขอบังคับที่เกี่ยวของกับการเก็บรักษาและการ ทำลายขอมูลเอกสารในสำนวนความในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกส บทสรุป สำนักงานศาลยุติธรรมไดมีการพัฒนาศักยภาพดานเทคโนโลยีดิจิทัลและกระบวนการ นำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการทำงานหรือในกระบวนการพิจารณาคดีมาอยางตอเนื่อง มีการพัฒนา ระบบงานที่เกี่ยวของกับการจัดเก็บเอกสารในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสหลายระบบไดแก ระบบ สารบบและสำนวนความอิเล็กทรอนิกส (E-CMS), ระบบการยื่นและสงคำคูความและเอกสารโดย สื่ออิเล็กทรอนิกส (e-Filing System), ระบบบริการออนไลนศาลยุติธรรม (Court Integral Online Service : CIOS) และระบบบันทึกคำพยานดวยภาพและเสียงในหองพิจารณาคดี (e-Hearing) ใน ขณะเดียวกันก็ไดมีการปรับปรุงแกไข กฎ ระเบียบ ขอบังคับที่เกี่ยวของเพื่อใหรองรับการดำเนินการ ในเรื่องดังกลาวหลายฉบับ เริ่มจากขอกำหนดของประธานศาลฎีกา วาดวยการยื่นสง และรับคำคูความ และเอกสารทางระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2560 ตอมาไดมีการออกขอกำหนดของประธาน ศาลฎีกาวาดวยการจัดทำสารบบความ สารบบคำพิพากษา และการรวบรวมเก็บรักษาเอกสารในสำนวน ความในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2562 และลาสุดไดมีการออกขอกำหนดของประธานศาลฎีกา


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 16 วาดวยวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2563 เพื่อใหการดำเนินกระบวนพิจารณาของศาล สามารถดำเนินการโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสหรือกระทำในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสไดใน ทุกขั้นตอนอยางไรก็ตาม จากการศึกษาพบวายังมีปญหา อุปสรรคและขอขัดของในการดำเนินการ ในเรื่องเกี่ยวกับการเก็บรักษาและการทำลายขอมูลเอกสารในสำนวนความในรูปแบบขอมูล อิเล็กทรอนิกส โดยอาจแบงไดเปน ปญหา อุปสรรคและขอขัดของในดานการบริหารจัดการ อันเกิดจาก การขาดบูรณาการในกระบวนการทำงาน มีกระบวนการทำงานที่ซ้ำซอนกัน การบริหารจัดการพื้นที่ จัดเก็บขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่ขาดประสิทธิภาพ และปญหาดานกฎระเบียบ ขอบังคับที่เกี่ยวของซึ่งเกิด จากความไมชัดเจนในกฎระเบียบ ขอบังคับที่เกี่ยวของกับการทำลายขอมูลเอกสารในสำนวนความที่อยู ในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกส ขอเสนอแนะ 1. การบูรณาการกระบวนการทำงานที่เกี่ยวของ สำนักงานศาลยุติธรรมควรพัฒนาการเชื่อมโยงกระบวนการทำงานโดยเฉพาะอยางยิ่ง การพัฒนาการถายโอนขอมูลอิเล็กทรอนิกสระหวางระบบเพื่อใหเกิดเอกภาพในการดำเนินการ ลดกระบวนการทำงานที่ซ้ำซอน ทำใหการบริหารจัดการพื้นที่จัดเก็บขอมูลมีประสิทธิภาพ ในขณะเดียวกันจะเปนการลดภาระหนาที่ของบุคลากรรวมถึงทรัพยากรที่ใชในการนำเขาขอมูล สูระบบ ดังนี้ 1) หนวยงานที่รับผิดชอบในการดูแลระบบงานตางๆ ควรมีการประสานงานดานเทคนิค เพื่อกำหนดบัญชีขอมูล (Data Catalog) และจัดทำแผนภาพการไหลของขอมูล (Data Flow Diagram) ใหชัดเจน เพื่อพัฒนาความเชื่อมโยงของขอมูลและโอนถายขอมูลระหวางระบบงาน อันนำไปสูการลด ความซ้ำซอนของการจัดเก็บขอมูล 2) หนวยงานที่รับผิดชอบในการดูแลระบบงานควรมีการจัดทำผังการดำเนินงาน (Flow Chart) ของแตละระบบงานใหชัดเจน เพื่อใหผูเกี่ยวของเกิดความรูความเขาใจในระบบงานมากยิ่งขึ้น 2. การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการพื้นที่จัดเก็บขอมูลเอกสารในสำนวนความใน รูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกส สำนักงานศาลยุติธรรมควรวางแผนการจัดสรรพื้นที่จัดเก็บขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่อิงกับปริมาณ ขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่ตองจัดเก็บ แทนการจัดสรรในลักษณะการใหพื้นที่จัดเก็บเทากันทุกศาลเนื่องจาก ปริมาณคดีของแตละศาลมีความตางกัน ดังจะเห็นไดจากขอมูลในบทที่ 2 ซึ่งพบวาบางศาลคาดวาพื้นที่ จัดเก็บขอมูลจะเต็มภายใน 3 ป ในขณะที่บางศาลตองใชเวลากวา 100 ปจึงจะใชพื้นที่เต็มโดยการ จัดสรรพื้นที่ดังกลาวควรคำนึงถึงการถายโอนขอมูลระหวางระบบดวย โดยเฉพาะอยางยิ่งขอมูลจาก ระบบบันทึกคำพยานดวยภาพและเสียงในหองพิจารณาคดี (e-Hearing) ซึ่งมีขนาดใหญกวาไฟลเอกสาร


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 17 ทั่วไปและใชพื้นที่จำนวนมากในการจัดเก็บ ทั้งนี้ อาจนำเทคโนโลยีคลาวด (cloud computing) มาใช กับการบริหารจัดการพื้นที่จัดเก็บขอมูลอิเล็กทรอนิกสดวย 3. ปรับปรุงแกไขกฎระเบียบ ขอบังคับที่เกี่ยวของกับการทำลายขอมูลเอกสารใน สำนวนความที่อยูในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกส ควรมีการแกไขระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมวาดวยการปลดทำลายสำนวนความ และเอกสาร พ.ศ. 2552 เพื่อใหเกิดความชัดเจนในเรื่องการทำลายขอมูลเอกสารในสำนวนความที่อยูใน รูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกส โดยระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมควรมีสาระสำคัญดังนี้ 1) กำหนดบทนิยามคำวา“ขอมูลอิเล็กทรอนิกส” ใหหมายความวา “ขอความที่ไดสราง สง รับ เก็บรักษาหรือประมวลผลดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส” เพื่อใหสอดคลองกับขอกำหนดของ ประธานศาลฎีกาวาดวยการจัดทำสารบบความ สารบบคำพิพากษา และการรวบรวมเก็บรักษาเอกสาร ในสำนวนความในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2562 และขอกำหนดของประธานศาลฎีกาวาดวย วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2563 ที่กำหนดใหเอกสารที่ไดยื่น สง และรับทางระบบรับ สง อิเล็กทรอนิกสตามขอกำหนดของประธานศาลฎีกาวาดวยการยื่น สง และรับคำคูความและเอกสาร ทางระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2560 เอกสารที่ไดจัดทำในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสตาม ขอกำหนดของประธานศาลฎีกาวาดวยวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2563 และบันทึกคำเบิก ความพยานโดยใชวิธีการบันทึกภาพและเสียงเปนขอมูลอิเล็กทรอนิกส ซึ่งเปนการแกไขในลักษณะ เดียวกันกับระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมวาดวยการปลดทำลายสำนวนความและเอกสาร ฉบับที่ 4 ลงวันที่ 20 กันยายน 2561 ที่แกไขโดยกำหนดนิยามคำวา “หลักฐานการรับจายเงิน” 2) กำหนดบทนิยามคำวา “สำนวนความ” ใหหมายความรวมถึง “เอกสารที่ไดยื่น สง และรับทางระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส เอกสารที่ไดจัดทำหรือเก็บรักษาในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกส บันทึกคำเบิกความพยานโดยใชวิธีการบันทึกภาพและเสียง” เพื่อลดปญหาการตีความและดำเนินการ สอดคลองไปในแนวทางเดียวกันจึงกำหนดใหเอกสารที่ไดยื่น สง และรับทางระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส ตามขอกำหนดของประธานศาลฎีกาวาดวยการยื่น สง และรับคำคูความและเอกสารทางระบบรับสง อิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2560 ขอกำหนดของประธานศาลฎีกาวาดวยการจัดทำสารบบความ สารบบ คำพิพากษา และการรวบรวมเก็บรักษาเอกสารในสำนวนความในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2562 เอกสารที่ไดจัดทำในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสตามขอกำหนดของประธานศาลฎีกาวาดวยวิธี พิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2563 และบันทึกคำเบิกความพยานโดยใชวิธีการบันทึกภาพและ เสียงมีสถานะเปนสำนวนความตามระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมวาดวยการปลดทำลาย สำนวนความและเอกสาร ซึ่งเปนการแกไขในลักษณะเดียวกันกับระเบียบคณะกรรมการบริหาร ศาลยุติธรรมวาดวยการปลดทำลายสำนวนความและเอกสาร ฉบับที่ 3 ลงวันที่ 18 พฤษภาคม 2561


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 18 ที่แกไขเพิ่มเติมใหกำหนดนิยามคำวา “สำนวนความ” ใหหมายความรวมถึงหลักฐานการรับจายเงินซึ่ง รวมไวในสำนวนความ 3) เพิ่มเติมหมวด “เอกสารอิเล็กทรอนิกส” เพื่อกำหนดหลักเกณฑ วิธีการในการทำลาย เอกสารที่ไดจัดทำหรือดัดแปลงใหอยูในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสเปนการเฉพาะ เนื่องจากเอกสาร ที่ไดจัดทำหรือดัดแปลงใหอยูในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสมีหลักเกณฑ วิธีการที่แตกตางกับการปลด ทำลายสำนวนความและเอกสารโดยทั่วไป ดังนั้น จึงควรระบุใหชัดเจนวา ในการทำลายเอกสาร อิเล็กทรอนิกสนั้น ขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่ถูกทำลายจะตองไมสามารถสืบคนและนำขอมูลอิเล็กทรอนิกส ดังกลาวกลับมาใชได รวมถึงมีการปองกันการกูคืนเอกสารอิเล็กทรอนิกสที่ถูกทำลายที่อยูในเกณฑ มาตรฐานดวย นอกจากนี้ การที่สำนวนความและเอกสารไดจัดทำหรือดัดแปลงใหอยูในรูปแบบขอมูล อิเล็กทรอนิกสมีหลากหลายประเภทจึงควรกำหนดหลักเกณฑและวิธีการในการทำลายที่ตางกัน กลาวคือ เอกสารอิเล็กทรอนิกสที่อยูในสื่อกลางบันทึกขอมูลที่ไมสามารถนำกลับมาใชใหมได เชน แผนบันทึก ขอมูล (CD, DVD) อาจทำลายดวยการยอย (Shred) หรือเผา (Burn) สวนเอกสารอิเล็กทรอนิกสที่อยูใน สื่อกลางบันทึกขอมูลที่สามารถนำกลับมาใชใหมได (Reusable) เชน แถบบันทึกเสียงหรืออุปกรณ บันทึกเสียง (Media Device) วีดิทัศน แผนบันทึกขอมูลแบบเขียนซ้ำได (CDRW, DVDRW) สื่อบันทึก ขอมูลแบบพกพา อาจทำลายดวยการเขียนขอมูลทับ (Rewrite) หรือ นำกลับมาใชใหม (Reuse) 4) กำหนดใหการดำเนินการปลดทำลายสำนวนความและเอกสารในรูปแบบขอมูล อิเล็กทรอนิกสใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการที่สำนักงานศาลยุติธรรมกำหนด เนื่องจากเอกสารที่ได จัดทำหรือดัดแปลงใหอยูในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสมีระบบงานที่เกี่ยวของหลายระบบ เชน ระบบ รับสงอิเล็กทรอนิกส (e-Filing) ระบบบริการออนไลนศาลยุติธรรม (Court Integral Online Service : CIOS) ระบบการจัดทำสารบบและสำนวนความอิเล็กทรอนิกส (E-CMS) และระบบบันทึกคำพยาน (E-hearing) เปนผลใหการดำเนินการปลดทำลายสำนวนความและเอกสารในรูปแบบขอมูล อิเล็กทรอนิกสในแตละระบบมีหลักเกณฑ วิธีการที่แตกตางกัน รวมถึงแตละระบบมีความพรอมใน การดำเนินการปลดทำลายสำนวนความและเอกสารในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่ตางกัน จึงเปนการ ยากและตองใชระยะเวลาที่จะกำหนดรายละเอียดใหครอบคลุมในทุกระบบไวในระเบียบเดียว จึงเห็น ควรที่จะใหสำนักงานศาลยุติธรรมเปนผูกำหนดรายละเอียดในเรื่องดังกลาวเมื่อระบบงานที่เกี่ยวของ มีความพรอม 5) การปรับปรุงแกไขกฎระเบียบ ขอบังคับที่เกี่ยวของกับการทำลายขอมูลเอกสารใน สำนวนความที่อยูในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสควรดำเนินการใหแลวเสร็จภายใน 2 ป เพื่อใหทันใช กับการรองรับการดำเนินการปลดทำลายสำนวนความและเอกสารในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสของ ศาลตาง ๆ เนื่องจากศาลยุติธรรมไดเริ่มใชระบบบริการขอมูลคดีศาลยุติธรรม (Case Information Online Service : CIOS) มาตั้งแตเดือนมีนาคม 2561 และมีการใชระบบการยื่นและสงคำคูความ


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 19 และเอกสารโดยสื่ออิเล็กทรอนิกส (e-Filing) เต็มรูปแบบทั่วประเทศในเดือนมกราคม 2565 ซึ่งหาก พิจารณาจากกำหนดเวลาการจัดเก็บเอกสารตามระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมวาดวยการ ปลดทำลายสำนวนความและเอกสาร พ.ศ. 2552 และที่แกไขเพิ่มเติมแลว ขอมูลอิเล็กทรอนิกส เหลานี้ บางประเภทไดครบกำหนดหรือใกลครบกำหนดเวลาการจัดเก็บแลว เชน สำนวนความคดีไกลเกลี่ย และประนอมขอพิพาทซึ่งมีกำหนดเวลาจัดเก็บ 1 ป สำนวนคดีประเด็นที่ศาลอื่นสงมาขอใหจัดการ สืบพยานใหซึ่งมีกำหนดเวลาจัดเก็บ 5 ป หรือสำนวนความคดีในเรื่องการขอหมายอาญาหรือสำนวน ไตสวนซึ่งมีกำหนดเวลาจัดเก็บ 5 ป เปนตน ทั้งนี้ การปรับปรุงแกไขกฎระเบียบ ขอบังคับที่เกี่ยวของกับ การทำลายขอมูลเอกสารในสำนวนความที่อยูในรูปแบบขอมูลอิเล็กทรอนิกสใหแลวเสร็จสอดคลอง กับกำหนดเวลาการจัดเก็บเอกสารจะชวยลดปญหาในเรื่องการเพิ่มพื้นที่จัดเก็บขอมูลในระบบใหเพียงพอ อีกดวย


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 20


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 21 โครงการวิจัย เรื่อง การประเมินประสิทธิภาพประสิทธิผลการใหคำปรึกษาดานจิตสังคม ในคดียาเสพติดและคดีอื่นที่เกี่ยวของในระบบศาล หลักการและเหตุผล สืบเนื่องจากสำนักงานศาลยุติธรรมไดลงนามในบันทึกขอตกลงวาดวยความรวมมือ เพื่อการ ดำเนินงานใหคำปรึกษาดานจิตสังคมแกผูตองหาหรือจำเลยคดียาเสพติดในระบบศาล รวมกับหนวยงาน ภาคีเครือขาย ไดแก สำนักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติด (สำนักงาน ป.ป.ส.) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข และสำนักงานกองทุนสนับสนุน การสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) นับตั้งแตป พ.ศ. 2557 จนถึงปจจุบัน เริ่มตนจากฉบับที่ 1(พ.ศ. 2557 -2559) ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2560 - 2562) และฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2563 – 2565) ตอมาเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2565 สำนักงานศาลยุติธรรม และสำนักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติด (สำนักงาน ป.ป.ส.) ไดลงนามในบันทึกขอตกลงวาดวยความรวมมือเพื่อการดำเนินงานใหคำปรึกษาดานจิตสังคมแก ผูตองหาหรือจำเลยคดียาเสพติดในระบบศาล โดยสำนักงานศาลยุติธรรมมีหนาที่หลักในการขยายผล การดำเนินงานคลินิกใหคำปรึกษาดานจิตสังคมไปยังศาลที่มีความพรอมในการเขารวมดำเนินงานตาม เกณฑการพิจารณาที่กำหนด และสำนักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติด (สำนักงาน ป.ป.ส.) ใหการสนับสนุนงบประมาณเพื่อดำเนินงานตลอดระยะเวลา 3 ป (พ.ศ. 2565 - 2568) การดำเนินงานคลินิกใหคำปรึกษาดานจิตสังคม มีวัตถุประสงคสำคัญเพื่อการบำบัด แกไข ฟนฟู เปลี่ยนแปลง ทัศนคติ พฤติกรรม และความประพฤติของผูเขารับคำปรึกษาใหสามารถกลับมาใชชีวิตใน สังคมไดอยางปกติ และไมกลับไปกระทำความผิดซ้ำ โดยกระบวนการใหคำปรึกษาดานจิตสังคม ถูกขับเคลื่อนโดย “ผูใหคำปรึกษาดานจิตสังคมประจำศาล” ซึ่งเปนบุคคลที่มีความรู ความเชี่ยวชาญ ดานจิตสังคมและการใหคำปรึกษาโดยผานการอบรมหลักสูตรการใหคำปรึกษาดานจิตสังคมตามที่ศาล กำหนด รวมทั้งไดรับการแตงตั้งโดยศาลเพื่อใหทำหนาที่ผูใหคำปรึกษา นอกจากนี้ ยังมีผูปฏิบัติหนาที่ ในการคัดกรองหรือการสอบถามขอมูลทางจิตวิทยาเบื้องตนจากผูตองหาหรือจำเลยกอนการเขา รับคำปรึกษาจากผูใหคำปรึกษาดานจิตสังคมประจำศาลดวย ไดแก นักจิตวิทยาและนักสังคมสงเคราะห ประจำคลินิกใหคำปรึกษาดานจิตสังคม ซึ่งทำใหกระบวนการใหคำปรึกษาดานจิตสังคมขับเคลื่อนไปได อยางมีประสิทธิภาพ โดยผูมีสิทธิเขารับคำปรึกษาใน “คลินิกใหคำปรึกษาดานจิตสังคม” ประกอบดวย (1) ผูตองหาหรือจำเลยที่อยูระหวางการสอบสวนหรือพิจารณาคดีที่ศาลมีคำสั่งอนุญาตใหปลอยชั่วคราว และ (2) จำเลยที่ศาลพิพากษาวามีความผิดและรอการกำหนดโทษหรือพิพากษาจำคุกแตรอการลงโทษ โดยกำหนดเงื่อนไขใหเขารับคำปรึกษาดานจิตสังคม โดยประเภทคดีที่มุงเนนใหคำปรึกษาดานจิตสังคม เปนสำคัญ คือ คดีเกี่ยวกับยาเสพติด แตอยางไรก็ตาม ในคดีความรุนแรงในครอบครัว คดีความผิด


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 22 เกี่ยวกับเพศ คดีอาญาทั่วไปที่ไมรายแรง และคดีอื่น ๆ ที่ผูพิพากษาหัวหนาศาลหรือผูพิพากษาเจาของ สำนวนเห็นสมควร ก็สามารถเขารับคำปรึกษาจากการใหคำปรึกษาดานจิตสังคมไดเชนกัน จากผลดำเนินงานคลินิกใหคำปรึกษาดานจิตสังคมในระบบศาล ภายใตบันทึกขอตกลงวาดวย ความรวมมือ (MOU) ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2563 – 2565) พบวา มีศาลที่เขารวมดำเนินงาน จำนวนทั้งสิ้น 102 ศาล โดยมีผูเขารับคำปรึกษาทั้งหมด 29,938 ราย และมีผูกระทำความผิดซ้ำ จำนวน 255 ราย คิดเปนรอยละ 0.85 ทั้งนี้ คดีสวนใหญที่เขารับคำปรึกษาเปนคดีความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด กลาวไดวา สามารถบรรลุวัตถุประสงคในการใหคำปรึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติ และพฤติกรรมของผูเขารับ คำปรึกษาใหเปนไปในทางที่ดีขึ้น เพื่อปองกันการหลบหนี การกระทำความผิดซ้ำหรือการกอเหตุราย ลดทอนการเกิดอาชญากรรม และการสรางภยันตรายตอสังคมทำใหประชาชนในสังคมมี ความปลอดภัย สำหรับการดำเนินงานคลินิกใหคำปรึกษาดานจิตสังคม ภายใตบันทึกขอตกลงวาดวย ความรวมมือ (MOU) ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2566 – 2568) ไดมีการ “แตงตั้งคณะทำงานสนับสนุน การดำเนินงานตามบันทึกขอตกลงวาดวยความรวมมือเพื่อการดำเนินงานใหคำปรึกษาดานจิตสังคม แกผูตองหาหรือจำเลยคดียาเสพติดในระบบศาล ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566” ตามคำสั่งสำนักงาน ศาลยุติธรรม ที่ 45/2566 ลงวันที่ 12 มกราคม 2566 โดยมีอำนาจหนาที่ในการพิจารณาแนวทาง ดำเนินงานตามบันทึกขอตกลงวาดวยความรวมมือฯ เกี่ยวกับการใหคำปรึกษาดานจิตสังคมในระบบศาล การประสานงาน การพัฒนาระบบงาน การพัฒนาองคความรูทางวิชาการ ระบบขอมูลเพื่อติดตามผล การดำเนินงานและขยายหนวยงานภาคี รวมถึงเสนอแนวทางสนับสนุนการดำเนินงานใหคำปรึกษา ดานจิตสังคมในระบบศาล ตลอดจนขอเสนอแนะตอเลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรม ซึ่งผลการดำเนินงานภายใตบันทึกขอตกลงวาดวยความรวมมือ (MOU) ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2566 – 2568) พบวา มีศาลที่เขารวมโครงการ จำนวน 163 ศาล ประกอบดวย 3 กลุมศาล ไดแก กลุมศาลจังหวัด กลุมศาลแขวง และกลุมศาลเยาวชนและครอบครัว โดยตั้งแตเดือนตุลาคม 2565 ถึง เดือนมีนาคม 2566 มีจำนวนผูเขารับคำปรึกษา ทั้งสิ้น 23,192 คน มีผูเขารับคำปรึกษาที่กลับไปกระทำ ความผิดซ้ำ จำนวน 225 คน คิดเปนรอยละ 0.97 ของจำนวนผูเขารับคำปรึกษาทั้งหมด ซึ่งหากพิจารณา โดยจำแนกตามประเภทคดี พบวา คดีที่เขารับคำปรึกษาสวนใหญเปนคดีความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด จำนวน 14,483 คดีคิดเปนรอยละ 70.03 ของคดีทั้งหมดที่เขารับคำปรึกษา รองลงมา คือ คดี ความรุนแรงในครอบครัว จำนวน 97 คดี คิดเปนรอยละ 0.47 และคดีความผิดอื่น ๆ จำนวน 6,084 คดี คิดเปนรอยละ 29.42 ของคดีทั้งหมดที่เขารับคำปรึกษา แสดงใหเห็นอยางชัดเจนวา ภารกิจการให คำปรึกษาดานจิตสังคมมีผลตอการลดทอนการเกิดอาชญากรรม ทั้งยังชวยจำกัดหรือลดจำนวนผูกระทำ ความผิดซ้ำอันนำไปสูการลดปริมาณคดีที่จะเขาสูการพิจารณาคดีของศาลตามขั้นตอนของกระบวนการ ยุติธรรมไดอีกทางหนึ่ง สามารถกลาวไดวา การดำเนินงานใหคำปรึกษาดานจิตสังคมสามารถแกไข ฟนฟู บำบัด ผูตองหาหรือจำเลยที่ไดรับการปลอยชั่วคราวในชั้นสอบสวนหรือชั้นการพิจารณาของศาล ใหเกิด


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 23 การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ พฤติกรรม และความประพฤติใหสามารถกลับมาใชชีวิตในสังคมไดอยางปกติ หรือไมกลับไปกระทำความผิดซ้ำ ดังนั้น เพื่อใหการดำเนินการใหคำปรึกษาดานจิตสังคมในระบบศาลดำเนินไปอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตลอดจนสามารถนำไปสูการกำหนดแนวทางหรือขอเสนอแนะในการเสริมสราง ประสิทธิภาพประสิทธิผลการดำเนินงานใหคำปรึกษาดานจิตสังคมไดอยางเปนรูปธรรม อันเปนไปตาม นโยบายของนายโชติวัฒน เหลืองประเสริฐ ประธานศาลฎีกา หัวขอที่ 2 รวมใจ และหัวขอที่ 3 รับใช ประชาชน ตลอดจนแผนยุทธศาสตรศาลยุติธรรม พ.ศ. 2565 – 2568 ยุทธศาสตร T เชื่อมั่นศรัทธา การอำนวยความยุติธรรม (Trusted Justice) โดยสามารถแกไขปญหาขอขัดของในการดำเนินงาน ที่ปรากฏไดอยางแทจริง สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ สำนักงานศาลยุติธรรม จึงเล็งเห็นถึง ความสำคัญและจำเปนในการจัดทำโครงการวิจัย “การประเมินประสิทธิภาพประสิทธิผลการให คำปรึกษาดานจิตสังคมในคดียาเสพติดและคดีอื่นที่เกี่ยวของในระบบศาล” เพื่อใหการดำเนินงานให คำปรึกษาดานจิตสังคมสามารถดำเนินไปอยางมีประสิทธิภาพประสิทธิผลมากขึ้น ตลอดจนเปนขอมูล สำคัญในการกำหนดแนวทางการดำเนินงานใหคำปรึกษาดานจิตสังคมไดอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล วัตถุประสงค 1. เพื่อประเมินประสิทธิภาพประสิทธิผลการดำเนินงานของโครงการ “พัฒนาระบบการให คำปรึกษาดานจิตสังคมในคดียาเสพติดและคดีอื่นที่เกี่ยวของในระบบศาล” 2. เพื่อกำหนดแนวทางหรือขอเสนอแนะในการเสริมสรางประสิทธิภาพประสิทธิผล การดำเนินงานใหคำปรึกษาดานจิตสังคม เปาหมายการดำเนินงาน รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณที่นำไปเปนขอมูลประกอบการกำหนดแนวทางในการ เสริมสรางประสิทธิภาพประสิทธิผลการดำเนินงานใหคำปรึกษาดานจิตสังคมของศาลที่เขารวมโครงการ “พัฒนาระบบการใหคำปรึกษาดานจิตสังคมในคดียาเสพติดและคดีอื่นที่เกี่ยวของในระบบศาล” ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จำนวน 163 ศาล ระยะเวลาดำเนินงาน ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 (เดือนเมษายน – กันยายน 2566) ผลการดำเนินงาน รายงานผลการศึกษาวิจัย เรื่อง “การประเมินประสิทธิภาพประสิทธิผลการใหคำปรึกษาดานจิต สังคมในคดียาเสพติดและคดีอื่นที่เกี่ยวของในระบบศาล” ซึ่งเผยแพรและสงตอไปยังศาลที่เขารวม


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 24 โครงการ จำนวน 163 ศาล และสำนักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติด (สำนักงาน ป.ป.ส.) โดยสรุปผลการศึกษาวิจัย ดังนี้ (1) การประเมินประสิทธิภาพการใหคำปรึกษาดานจิตสังคมในคดียาเสพติดและคดีอื่น ที่เกี่ยวของในระบบศาล พบวา ศาลที่เขารวมโครงการมีการวางแผนการใชจายงบประมาณที่ไดรับ การจัดสรรอยางมีประสิทธิภาพในการดำเนินงานใหคำปรึกษาดานจิตสังคม โดยการเบิกจายงบประมาณ ตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2563 – 2566 พบวา มีจำนวนเพิ่มขึ้นในแตละป แมจะมีการคืนงบประมาณใน สัดสวนที่สูงกวาการใชจายงบประมาณ แตการใหคำปรึกษาดานจิตสังคมยังคงดำเนินไปอยางตอเนื่อง และเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ อันทำใหจำนวนผูเขารับคำปรึกษาตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2563 – 2566 มีจำนวนเพิ่มขึ้นในแตละป และขณะเดียวกันการกระทำผิดซ้ำเกิดขึ้นในอัตรา ที่นอยมาก อยางไรก็ตาม ศาลที่เขารวมโครงการมีการดำเนินงานตามผังกระบวนงาน (Flow Chart) คลินิกใหคำปรึกษาดานจิตสังคมที่สอดคลองและเปนไปในแนวทางเดียวกันกับกระบวนการหรือขั้นตอน ในการดำเนินงาน ใหคำปรึกษาดานจิตสังคมที่ระบุไวในแบบสอบถาม อันแสดงใหเห็นอยางชัดเจน วา หากมีการจัดทำกระบวนการหรือขั้นตอนในการดำเนินงานใหคำปรึกษาดานจิตสังคม จำแนกตาม กลุมศาลจังหวัด ศาลแขวง และศาลเยาวชนและครอบครัว เปนไปในมาตรฐานเดียวกัน จะถือเปนการ เสริมสรางประสิทธิภาพ ดานกระบวนการหรือขั้นตอนในการดำเนินงานใหคำปรึกษาดานจิตสังคม อยางเปนรูปธรรม (2) การประเมินประสิทธิผลการใหคำปรึกษาดานจิตสังคมในคดียาเสพติดและคดีอื่น ที่เกี่ยวของในระบบศาล พบวา ตั้งแตป พ.ศ. 2563 – 2566 ผูเขารับคำปรึกษามีจำนวนและอัตราเฉลี่ย เพิ่มมากขึ้นในแตละป โดยมีอัตราการกระทำผิดซ้ำนอยมากโดยเฉลี่ยรอยละ 1.03 ของผูเขารับคำปรึกษา ทั้งหมด 76,271 คน โดยผูรับคำปรึกษาสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใหเปนไปในทางที่ดีขึ้น มีความ ภาคภูมิใจ สามารถใชชีวิตอยูในสังคมไดอยางปกติสุขและประกอบอาชีพในปจจุบัน และในการดำเนินการ ใหคำปรึกษาดานจิตสังคมไดมีสวนสำคัญในการนำไปใชเปนขอมูลสนับสนุนประกอบดุลยพินิจของ ผูพิพากษา โดยผูพิพากษามีความเชื่อมั่นในผลของการใหคำปรึกษาสามารถปรับเปลี่ยนทัศนคติและ พฤติกรรมของผูเขารับคำปรึกษาใหเปนไปในทางที่ดีขึ้น ประโยชนที่ไดรับจากการดำเนินงาน 1. การดำเนินงานใหคำปรึกษาดานจิตสังคมสามารถดำเนินไปอยางมีประสิทธิภาพประสิทธิผล มากขึ้น 2. เปนขอมูลสำคัญในการกำหนดแนวทางหรือขอเสนอแนะในการเสริมสรางประสิทธิภาพ ประสิทธิผลการดำเนินงานใหคำปรึกษาดานจิตสังคม เพื่อปองกันการกระทำความผิดซ้ำไดอยางเปน รูปธรรม


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 25


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 26 โครงการศึกษา เรื่อง แนวทางการปฏิบัติราชการที่รองรับชีวิตและการทำงานวิถีใหม (New Normal) ของสำนักงานศาลยุติธรรม หลักการและเหตุผล สถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในปจจุบัน สงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ กิจกรรม และพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของคนในสังคมที่แตกตาง ไปจากเดิม โดยปรับเปลี่ยนไปสูวิธีคิด วิธีปฏิบัติ แนวทางการดำเนินชีวิต และการทำงานวิถีใหม ที่เรียกวาเปนความปรกติใหมหรือฐานวิถีชีวิตใหม (New Normal) กลาวคือ มีรูปแบบการใชชีวิตที่มี การพึ่งพาตนเองมากขึ้น ปรับตัวไดรวดเร็วขึ้น มีการสื่อสารผานชองทางใหม ๆ โดยเฉพาะในรูปแบบ ดิจิทัล เพื่อตอบสนองตอวิถีชีวิตแบบเวนระยะหางทางสังคม (Social Distancing) มีรูปแบบการทำงาน ที่สอดคลองกับวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลง โดยใหความสำคัญกับการสรางความสมดุลระหวางการทำงานและ ชีวิตสวนตัว (Work-Life Balance) มากขึ้น รวมถึงมีความคาดหวังตอการรับบริการจากภาครัฐที่สูงขึ้น ทั้งดานความรวดเร็วและประสิทธิภาพในการใหบริการ สงผลใหหนวยงานภาครัฐซึ่งมีภารกิจสำคัญ ในการใหบริการประชาชนตองปรับเปลี่ยนแนวทางการทำงานใหสอดรับกับสภาวการณที่เปลี่ยนแปลง และสามารถรองรับวิถีชีวิตใหม โดยการพัฒนาและปรับรูปแบบวิธีการปฏิบัติราชการใหมีความยืดหยุน คลองตัว ทันสมัย และตอบสนองความตองการของประชาชนไดดียิ่งขึ้น ศาลยุติธรรมเปนองคกรที่ใหความสำคัญกับการพัฒนารูปแบบการใหบริการเพื่ออำนวย ความยุติธรรมใหกับประชาชนไปพรอมกับการสงเสริมคุณภาพชีวิตของบุคลากร ดังจะเห็นไดจาก นโยบายประธานศาลฎีกา ขอ 1 รักศาล ที่มุงเนนการเสริมสรางจิตสำนึกใหบุคลากรมีความรัก ความผูกพันในองคกรศาลยุติธรรม สรางสภาวะแวดลอมที่ดีในการทำงาน รวมทั้งมุงพัฒนาคุณภาพชีวิต ของบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของศาลยุติธรรมในการใหบริการประชาชน ขอ 2 รวมใจ โดยมุงเนนใหบุคลากรรวมมือรวมใจปฏิบัติหนาที่อยางมุงมั่น ตั้งใจ พรอมอำนวยความยุติธรรมใหแก ประชาชนดวยความรวดเร็ว ทั่วถึง และมีมาตรฐานเดียวกัน บนระบบการทำงานที่เนนผลสัมฤทธิ์และ ประโยชนสวนรวม และขอ 3 รับใชประชาชน โดยยกระดับการอำนวยความยุติธรรมและการคุมครอง สิทธิและเสรีภาพของประชาชน โดยเนนการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมใหมมาใชสนับสนุน การปฏิบัติงาน เพื่อใหประชาชนเขาถึงบริการของศาลยุติธรรมโดยงาย สะดวก รวดเร็ว ประหยัด เสมอภาคและเทาเทียม นอกจากนี้ ในป พ.ศ. 2562 สำนักงานศาลยุติธรรม โดยสถาบันวิจัยและพัฒนา รพีพัฒนศักดิ์ไดดำเนินการศึกษาวิจัย เรื่อง “การสรางองคกรแหงความสุขในการทำงาน (Happy Work Place) โดยการสรางสมดุลยภาพระหวางชีวิตและการทำงาน (Work-Life Balance) ดวยการปรับระบบ เวลาการทำงาน (Flexible Work Time)” ซึ่งไดทำการศึกษาระดับความสุขของบุคลากรและระดับ


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 27 การเปนองคกรแหงความสุขของสำนักงานศาลยุติธรรม รวมถึงศึกษาขอมูลการปรับระบบการทำงานของ สำนักงานศาลยุติธรรม โดยผลการศึกษาพบวา บุคลากรของศาลยุติธรรมสวนใหญ มีคาคะแนนเฉลี่ย ของระดับความสุขอยูในระดับ “มีความสุข” และผลการศึกษาระดับการเปนองคกรแหงความสุขพบวา มีคาคะแนนเฉลี่ยอยูในระดับ “ยังไมมีอะไรแนนอน” กลาวคือ ศาลยุติธรรมยังมีปจจัยการสรางสุข ในองคกรที่ไมเพียงพอ นอกจากนี้ ผลการศึกษาเกี่ยวกับการปรับระบบเวลาการทำงานพบวา บุคลากร สวนใหญเห็นควรใหมีการปรับระบบเวลาทำงาน โดยชวงเวลาทำงานที่ทำใหมีความสุขในการทำงาน เพิ่มมากขึ้น 3 ลำดับแรก คือ ชวงเวลา 09.30–17.30 น. รองลงมา คือ ชวงเวลา 07.30–15.30 น. และ การกำหนดเวลาการทำงานใหครบ 8 ชั่วโมงตอวัน ตามลำดับ โดยมีขอเสนอแนะใหมีการปรับเวลา ปฏิบัติราชการใหมีความยืดหยุนและเปดโอกาสใหผูปฏิบัติงานสามารถเลือกเวลาเขา–ออก ที่เหมาะสม กับตนเองได ทั้งนี้ จากสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่ผานมา ทำให ศาลยุติธรรมตองมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำงานใหมีความยืดหยุนมากขึ้น โดยจัดใหบุคลากร บางสวนสามารถทำงานนอกสถานที่ตั้ง ซึ่งผลการปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำงานดังกลาวพบวา บุคลากร ของศาลยุติธรรมสามารถปฏิบัติงานไดโดยไมกระทบกับการใหบริการประชาชน และสามารถสราง คุณภาพชีวิตและสุขภาพที่ดีจากการเวนระยะหางทางสังคมอีกทางหนึ่งดวย จากเหตุผลที่ไดกลาวถึงในขางตน ทำใหสำนักงานศาลยุติธรรมมุงมั่นที่จะพัฒนารูปแบบ การทำงานที่เหมาะสม เพื่อใหเกิดการทำงานที่ยืดหยุนสามารถรองรับกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลง ในอนาคต ตลอดจนคงความสามารถในการใหบริการประชาชนและปฏิบัติงานไดอยางเต็มประสิทธิภาพ ไปพรอมกับการสงเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของบุคลากร ประกอบกับมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2565 ที่เห็นชอบ “แนวทางการปฏิบัติราชการที่รองรับชีวิตและการทำงานวิถีใหม” ซึ่งสำนักงาน คณะกรรมการขาราชการพลเรือน (ก.พ.) จัดทำขึ้นเพื่อเปนแนวทางดำเนินการใหกับสวนราชการและ หนวยงานของรัฐในการปฏิบัติราชการใหมีความยืดหยุน สามารถปรับตัวเขาสูความปรกติใหมหรือฐาน วิถีชีวิตใหม (New Normal) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของภาครัฐ และการบริการ ประชาชนที่มีคุณภาพ รวมถึงลดผลกระทบที่อาจเกิดกับการปฏิบัติภารกิจของหนวยงานและผูปฏิบัติงาน ในอนาคต ดังนั้น สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์จึงเห็นสมควรดำเนินการศึกษา เรื่อง “แนวทางการปฏิบัติราชการที่รองรับชีวิตและการทำงานวิถีใหม (New Normal) ของสำนักงาน ศาลยุติธรรม” เพื่อศึกษาลักษณะและภารกิจงานของหนวยงานสวนกลางในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรม ที่เหมาะสมและสอดคลองกับรูปแบบและแนวทางการดำเนินวิถีชีวิตใหม รวมถึงเสนอแนะรูปแบบและ แนวทางในการปฏิบัติราชการของหนวยงานสวนกลางในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรมที่รองรับชีวิตและ การทำงานวิถีใหม เพื่อใหสำนักงานศาลยุติธรรมมีแนวทางการบริหารจัดการที่เปนไปอยางตอเนื่องและ สามารถนำไปปรับใชกับสถานการณที่มีการเปลี่ยนแปลงในอนาคต ซึ่งสอดคลองกับแผนยุทธศาสตร ศาลยุติธรรม พ.ศ. 2565 - 2568 ยุทธศาสตร T เปลี่ยนผานสูอนาคต (Transformation) ประเด็น


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 28 ยุทธศาสตรที่ 2 นวัตกรรมดานระบบงาน แนวทางการดำเนินการที่ 6 การพัฒนางานวิจัยที่เสนอแนะ แนวทางในการพัฒนาศาลยุติธรรมและระบบการพิจารณาพิพากษาคดีใหรองรับความเปลี่ยนแปลงและ พัฒนาการในอนาคต วัตถุประสงคของการศึกษา 1) เพื่อศึกษาลักษณะและภารกิจงานของหนวยงานสวนกลางในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรม ที่เหมาะสมและสอดคลองกับรูปแบบและแนวทางการดำเนินวิถีชีวิตใหม (New Normal) 2) เพื่อเสนอแนะรูปแบบและแนวทางในการปฏิบัติราชการของหนวยงานสวนกลางในสังกัด สำนักงานศาลยุติธรรมที่รองรับชีวิตและการทำงานวิถีใหม (New Normal) ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ หนวยงานสวนกลางในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรมมีรูปแบบและแนวทางในการปฏิบัติราชการ ที่รองรับชีวิตและการทำงานวิถีใหม (New Normal) อันเปนการสงเสริมคุณภาพชีวิตของบุคลากร และรองรับการบริหารจัดการที่เปนไปอยางตอเนื่องและสามารถนำไปปรับใชกับสถานการณที่มีการ เปลี่ยนแปลงในอนาคต ขอบเขตในการศึกษา 1) ศึกษาลักษณะและภารกิจงานของหนวยงานสวนกลางในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรม ที่เหมาะสมสอดคลองกับชีวิตและการทำงานวิถีใหม (New Normal) 2) ศึกษารูปแบบและเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติราชการของหนวยงานสวนกลางในสังกัด สำนักงานศาลยุติธรรมที่มีความยืดหยุน เหมาะสมกับลักษณะและภารกิจงานตามแนวทางการดำเนิน วิถีชีวิตใหม (New Normal) รายงานผลการศึกษา 1. การศึกษาลักษณะและภารกิจงานในหนวยงานสวนกลาง ผลการศึกษาพบวา ลักษณะและภารกิจงานในหนวยงานสวนกลางสวนใหญเปนงานสนับสนุน โดยเปนการปฏิบัติงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานหรือใหบริการเจาหนาที่ภายในหนวยงาน เชน งาน ชวยอำนวยการ งานการเงิน การคลัง งานบริหารพัสดุ งานวิทยบริการ งานเผยแพรและประชาสัมพันธ งานเทคโนโลยีสารสนเทศ งานตรวจสอบภายใน งานสวัสดิการและประโยชนเกื้อกูล งานบริการทาง การแพทยและการบำบัดฟนฟู เปนตน รองลงมา คือ งานวิชาการ โดยเปนการศึกษาคนควา วิเคราะห วิจัย การออกแบบหรือพัฒนาระบบงาน ระบบสนับสนุนการพิจารณาคดี ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การพิจารณาวินิจฉัยขอกฎหมาย เปนตน โดยการปฏิบัติงานของบุคลากรในหนวยงานสวนกลางสวนใหญ


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 29 มีการใหบริการ การตอบขอซักถาม หรือใหคำปรึกษาแนะนำหนวยงานในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรม ซึ่งแตกตางกันตามภารกิจและชวงเวลาในการปฏิบัติงานของแตละหนวยงาน การปฏิบัติงานสวนใหญ ดำเนินการผานระบบเครือขายคอมพิวเตอรภายในสำนักงาน (Intranet) หรือระบบโปรแกรมเฉพาะของ หนวยงาน เชน ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส ระบบหนังสือเวียนสำนักงานศาลยุติธรรม โปรแกรม ระบบรายงานผลการปฏิบัติงานตาง ๆ เปนตน โดยจากการสำรวจขอมูลพบวาหนวยงานสวนกลาง สวนใหญมีการใชระบบเครือขายคอมพิวเตอรภายในสำนักงานทุกวัน โดยเฉพาะงานสนับสนุนที่ตอง ปฏิบัติงานในลักษณะงานประจำและงานเอกสารตาง ๆ ในสวนของการใชอุปกรณหรือเครื่องมือที่มี เฉพาะในสำนักงานพบวา บุคลากรที่ปฏิบัติงานในหนวยงานสวนกลางสวนใหญมีความจำเปนตองใช อุปกรณหรือเครื่องมือที่มีเฉพาะในสำนักงานทุกวัน ทั้งอุปกรณสำนักงาน อุปกรณสำหรับใชในการ ประชุม และอุปกรณที่ใชในการปฏิบัติงานเฉพาะดาน เชน เครื่องคอมพิวเตอรที่มีความเร็วสูงในการ ประมวลผล หอง Sound lab เครื่องอานไมโครฟลม เครื่องพิมพขนาดใหญ เครื่องพล็อตแบบแปลน เปนตน ทั้งนี้ การปฏิบัติงานในหนวยงานสวนกลาง มีทั้งสวนที่ปฏิบัติงานเกี่ยวของกับเอกสารหรือขอมูล สำคัญที่จำเปนตองเก็บเปนความลับและไมสามารถนำออกนอกพื้นที่สำนักงานได และไมไดปฏิบัติงาน เกี่ยวของกับเอกสารหรือขอมูลสำคัญ ขึ้นอยูกับลักษณะและภารกิจงานในแตละหนวยงานหรือระดับ ตำแหนงงานที่รับผิดชอบ สำหรับความสามารถในการปฏิบัติงานทดแทนกันพบวา บุคลากรในหนวยงาน สวนกลางสวนใหญสามารถปฏิบัติงานทดแทนกันไดบางสวน เนื่องจากลักษณะงานในหนวยงาน สวนกลางมีความหลากหลาย ประกอบกับการมอบหมายงานในแตละหนวยงานมีความแตกตางกัน โดย บางงานเปนการมอบหมายใหปฏิบัติเฉพาะบุคคล ในขณะที่บางงานเปนการมอบหมายงานโดยใหมีการ จับคูกันทำงานหรือสับเปลี่ยนหมุนเวียนการปฏิบัติงาน ขึ้นอยูกับลักษณะงานและการบริหารงานภายใน ของแตละหนวยงาน 2. การสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการที่รองรับชีวิตและการทำงานวิถีใหม (New Normal) 2.1 รูปแบบการปฏิบัติราชการที่รองรับชีวิตและการทำงานวิถีใหม ผลการสำรวจความคิดเห็นพบวา ผูอำนวยการ หัวหนาสวน/กลุมงาน และขาราชการ ผูปฏิบัติงาน สวนใหญเห็นวา งานภายใตการกำกับดูแลและงานที่ตนเองปฏิบัติสามารถดำเนินการตาม รูปแบบการปฏิบัติราชการที่รองรับชีวิตและการทำงานวิถีใหมได ทั้งการเขาทำงานแบบเหลื่อมเวลา และ การปฏิบัติราชการนอกสถานที่ตั้ง (Work from Home) เนื่องจาก 1) ลักษณะงานในหนวยงานสวนกลางสวนใหญเปนงานเชิงนโยบาย งานบริหาร งานวิชาการ งานใหคำปรึกษา แนะนำ และงานอื่นที่เปนการสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานใน สังกัดสำนักงานศาลยุติธรรม โดยไมมีการใหบริการประชาชนโดยตรง 2) บุคลากรในหนวยงานสวนกลาง สวนใหญสามารถนำโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันตาง ๆ มาใชในการสื่อสารหรือการทำงานรวมกันในชวง


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 30 ที่มีการเหลื่อมเวลาทำงานหรือ การปฏิบัติราชการนอกสถานที่ตั้งได และ 3) บุคลากรในหนวยงาน สวนกลางสวนใหญสามารถวางแผนและบริหารจัดการงานภายในหนวยงานใหเหมาะสมสอดคลองกับ เวลาในการปฏิบัติราชการได 2.2 ขอจำกัดในการปฏิบัติราชการที่รองรับชีวิตและการทำงานวิถีใหม 1) ขอจำกัดในการเขาทำงานแบบเหลื่อมเวลา โดยผลการสำรวจความคิดเห็น พบวา ผูอำนวยการสวนใหญ เห็นวา การเขาทำงานแบบเหลื่อมเวลามีขอจำกัดภาพรวมในระดับ ปานกลาง ในขณะที่หัวหนาสวน/กลุมงาน และขาราชการผูปฏิบัติงานสวนใหญเห็นวา มีขอจำกัด ภาพรวมในระดับนอย 2) ขอจำกัดในการปฏิบัติราชการนอกสถานที่ตั้ง โดยผลการสำรวจความคิดเห็น พบวา บุคลากรที่ปฏิบัติงานในสวนกลางทั้ง 3 กลุม สวนใหญเห็นวา การปฏิบัติราชการนอกสถานที่ตั้งมี ขอจำกัดภาพรวมในระดับปานกลาง ทั้งนี้ ขอจำกัดซึ่งกลุมผูอำนวยการเห็นวา อยูในระดับมาก คือ กฎ ระเบียบไมเอื้ออำนวยใหสามารถปฏิบัติงานนอกสถานที่ตั้งไดอยางคลองตัว และขอจำกัดที่บุคลากร ทั้ง 3 กลุม มีความเห็นสอดคลองกันวา อยูในระดับนอย คือ บุคลากรขาดทักษะ ความรู ความเขาใจใน การใชเทคโนโลยีสมัยใหมในการปฏิบัติงานนอกสถานที่ตั้ง 2.3 ประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการนอกสถานที่ตั้ง (Work from Home) ในชวง สถานการณการแพรระบาดของโรค Covid-19 ผลการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการนอกสถานที่ตั้ง (Work from Home) ของหนวยงานสวนกลางในชวงสถานการณการแพรระบาดของโรค Covid-19 พบวา บุคลากรที่ ปฏิบัติงานในสวนกลางทั้ง 3 กลุม เคยพิจารณาอนุญาตหรือไดรับอนุญาตใหปฏิบัติราชการนอกสถาน ที่ตั้ง โดยผูอำนวยการและหัวหนาสวน/กลุมงานสวนใหญไมพบปญหา อุปสรรคในการมอบหมายงาน การกำหนดเปาหมาย ตัวชี้วัด ผลผลิตในการปฏิบัติงาน การสื่อสารกับผูใตบังคับบัญชาหรือการติดตาม ความกาวหนาของงาน และการสงมอบงานตามขอตกลงหรือตัวชี้วัดการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ หัวหนาสวน/ กลุมงานและขาราชการผูปฏิบัติงานสวนใหญเห็นวา ผูใตบังคับบัญชาและผูปฏิบัติงานสามารถสงมอบ งานไดในระดับมากที่สุด ในขณะที่ผูอำนวยการสวนใหญเห็นวา ผูใตบังคับบัญชาสามารถสงมอบงานได ในระดับมาก ในสวนของการประเมินประสิทธิภาพหรือความสำเร็จในการปฏิบัติราชการนอกสถานที่ตั้ง เปรียบเทียบกับการทำงานในสำนักงานตามปกติพบวา หัวหนาสวน/กลุมงานและขาราชการผูปฏิบัติงาน สวนใหญเห็นวา ผูใตบังคับบัญชาและผูปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานเทาเดิม ในขณะที่ ผูอำนวยการสวนใหญเห็นวา ผูใตบังคับบัญชามีประสิทธิภาพในการทำงานลดลง 2.4 ปจจัยความสำเร็จในการปฏิบัติราชการที่รองรับชีวิตและการทำงานวิถีใหม ผลการสำรวจความคิดเห็นพบวา กลุมผูอำนวยการเห็นวา ปจจัยที่สงผลตอความสำเร็จ และประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการที่รองรับชีวิตและการทำงานวิถีใหมในระดับมากที่สุด คือ การที่


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 31 ผูบริหารเห็นความสำคัญของการดำเนินการและกำหนดนโยบายที่ชัดเจน การสื่อสารและติดตามการ ทำงานระหวางผูบังคับบัญชากับผูปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง สม่ำเสมอ การมีเทคโนโลยีดิจิทัลที่ชวย สงเสริมและสนับสนุนการทำงาน การพัฒนาบุคลากรใหสามารถสับเปลี่ยน หมุนเวียน และทำงาน ทดแทนกันได และการมีบุคลากรที่เพียงพอในการปฏิบัติงาน สำหรับกลุมของหัวหนาสวน/กลุมงาน เห็น วา ปจจัยที่สงผลตอความสำเร็จและประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการที่รองรับชีวิตและการทำงานวิถี ใหมในระดับมากที่สุด คือ ผูบริหารเห็นความสำคัญของการดำเนินการและกำหนดนโยบายที่ชัดเจน และ การมีเทคโนโลยีดิจิทัลที่ชวยสงเสริมและสนับสนุนการทำงาน ในสวนกลุมของขาราชการผูปฏิบัติงานเห็น วา ปจจัยที่สงผลตอความสำเร็จและประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการที่รองรับชีวิตและการทำงานวิถี ใหมในระดับมากที่สุด คือ การมีเทคโนโลยีดิจิทัลที่ชวยสงเสริมและสนับสนุนการทำงาน ทั้งนี้ จะเห็นได วาปจจัยที่บุคลากรทั้ง 3 กลุม เห็นตรงกันวา เปนปจจัยที่สงผลตอความสำเร็จและประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติราชการที่รองรับชีวิตและการทำงานวิถีใหมของสำนักงานศาลยุติธรรม ในระดับมากที่สุด คือ การ มีเทคโนโลยีดิจิทัลที่ชวยสงเสริมและสนับสนุนการทำงาน 3. ขอเสนอแนะจากการศึกษา จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี รวมถึงแนวทางการปฏิบัติงานที่ตอบสนองตอการดำเนินวิถีชีวิต ใหม (New Normal) ทั้งจากในประเทศและตางประเทศ รวมถึงจากหนวยงานภาครัฐและเอกชนพบวา ปจจุบันองคกรตางๆ มีการปรับตัวเพื่อรองรับแนวทางการดำเนินวิถีชีวิตใหม โดยปรับระบบการทำงาน ใหมีความยืดหยุนและมีการนำเทคโนโลยีเขามาใชในการทำงานและการใหบริการมากขึ้น โดยในหลาย ประเทศมีการนำแนวคิดดังกลาวมาปรับใชอยางจริงจัง เชน ประเทศเบลเยียม ที่มีการออกกฎหมายให พนักงานชาวเบลเยียมไดรับสิทธิในการทำงาน 4 วันตอสัปดาห โดยที่ไมถูกลดเงินเดือน หรือในประเทศ ญี่ปุนซึ่งรัฐบาลมีโครงการริเริ่มใหปรับสมดุลชีวิตและงาน โดยลดชั่วโมงการทำงานลงเหลือเพียง 4 วันตอ สัปดาห นอกจากนี้ ในประเทศไทยก็มีองคกรตาง ๆ ที่มีการเสนอชั่วโมงการทำงานที่ยืดหยุนเพื่อดึงดูด คนเกงเขามาทำงานในองคกร เชน บริษัท ศรีจันทรสหโอสถ จำกัด ซึ่งเปนบริษัทคอสเมติกสมัยใหมที่มี การเสนอสวัสดิการ Flexible Working Hour รวมถึงสวัสดิการ Co-Working Space ใหกับพนักงาน รวมถึงองคกรภาครัฐ ไดแก สำนักงาน ก.พ. ที่ไดมีการวางแนวทางการปฏิบัติราชการรูปแบบใหม เพื่อให สวนราชการและหนวยงานของรัฐสามารถปฏิบัติราชการที่ผสมผสาน (Hybrid) ทั้งการปฏิบัติงานในและ นอกสถานที่ตั้ง มีความยืดหยุน สามารถตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงในมิติตาง ๆ ทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีไดอยางทันการณ จากแนวคิดและแนวทางการปฏิบัติดังกลาว รวมถึงการศึกษาลักษณะและภารกิจงาน ตลอดจน ความคิดเห็นของผูปฏิบัติงานเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการที่รองรับชีวิตและการทำงานวิถีใหม สำนักงาน ศาลยุติธรรมจึงควรมีการดำเนินการเพื่อปรับเปลี่ยนรูปแบบและแนวทางการปฏิบัติราชการไปสูการ ทำงานที่มีความยืดหยุน คลองตัว สอดคลองกับลักษณะและภารกิจงาน รวมถึงวิถีการดำรงชีวิตของ


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 32 บุคลากร ตลอดจนสามารถรองรับสถานการณภาวะวิกฤติ ฉุกเฉิน หรือสถานการณไมปกติ เชน ภาวะโรค ระบาด ภัยพิบัติทางธรรมชาติ การชุมนุมปดลอมสถานที่ราชการ การเผชิญภาวะฝุน PM 2.5 ที่เกินคา มาตรฐาน เปนตน อันเปนการสงเสริมคุณภาพชีวิตของบุคลากรและรองรับการบริหารจัดการที่เปนไป อยางตอเนื่องและสามารถนำไปปรับใชกับสถานการณที่มีการเปลี่ยนแปลงในอนาคต จึงไดเสนอแนะ รูปแบบการทำงานที่เหมาะสมรวมถึงแนวทางการเตรียมความพรอมและพัฒนาไปสูการปฏิบัติราชการ ที่รองรับชีวิตและการทำงานวิถีใหมของสำนักงานศาลยุติธรรม ดังนี้ 3.1 ขอเสนอแนะดานรูปแบบการปฏิบัติงาน สำนักงานศาลยุติธรรมสามารถพิจารณา เหตุผลความจำเปนในการดำเนินการ โดยพิจารณาลักษณะและภารกิจงานของหนวยงาน ในภาพรวม รูปแบบและขั้นตอนวิธีการทำงาน รูปแบบการใหบริการประชาชนหรือ การใหบริการหนวยงานในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรม และเทคโนโลยีที่ใชสนับสนุนการปฏิบัติงาน ประกอบการพิจารณาเลือกรูปแบบการปฏิบัติงานที่เหมาะสม ไดแก รูปแบบที่ 1 การเขาทำงานแบบ เหลื่อมเวลา โดยลักษณะและภารกิจงานที่เหมาะสมกับการเขาทำงานแบบเหลื่อมเวลา ไดแก งาน สนับสนุน เนื่องจากลักษณะงานสวนใหญเปนงานประจำที่ปฏิบัติเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานหรือ ใหบริการเจาหนาที่ภายในหนวยงาน รวมถึงอาจมีความจำเปนตองใชอุปกรณสำนักงานหรืออุปกรณ เฉพาะในการปฏิบัติงาน ตลอดจนปฏิบัติงานเกี่ยวของกับเอกสารหรือขอมูลสำคัญหรือจำเปนตองเก็บ เปนความลับ เปนตน นอกจากนี้ ยังรวมถึงงานบริหารและงานกำกับดูแล ซึ่งสามารถสื่อสาร กำกับ ติดตามการดำเนินงานของผูปฏิบัติงานโดยผานระบบหรือชองทางดิจิทัลได โดยขอดีของการเหลื่อมเวลา ทำงาน คือ ผูปฏิบัติงานสามารถบริหารจัดการเวลาเขาปฏิบัติงานไดอยางเหมาะสมกับการดำรงชีวิตของ ตนเอง โดยไมกระทบตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน รวมถึงสามารถประหยัดเวลาในการเดินทางมา ปฏิบัติงานไดหากเลือกชวงเวลาปฏิบัติงานที่เหมาะสมกับสภาพการจราจร และมีขอพึงระวัง คือ ตองมี ผูปฏิบัติงานที่เพียงพอหรือสามารถทำงานทดแทนกันไดในชวงที่มีการเหลื่อมเวลาทำงาน เพื่อไมให กระทบตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการและการใหบริการกับหนวยงานในสังกัดสำนักงาน ศาลยุติธรรมหรือผูรับบริการที่เกี่ยวของ รูปแบบที่ 2 การปฏิบัติราชการนอกสถานที่ตั้ง โดยลักษณะและภารกิจงานที่เหมาะสม กับการปฏิบัติราชการนอกสถานที่ตั้ง ไดแก งานวิชาการ เนื่องจากเปนลักษณะงานที่ไมมีการใหบริการ ประชาชนหรือผูรับบริการภายนอกหนวยงาน หรือเปนงานที่สามารถใหบริการหนวยงานในสังกัด สำนักงานศาลยุติธรรมจากภายนอกสถานที่ตั้ง รวมทั้งสามารถใชเทคโนโลยีดิจิทัลในการทำงานใหมี ประสิทธิภาพได นอกจากนี้ ยังรวมถึงงานบริหารและงานกำกับดูแล ซึ่งสามารถสื่อสาร กำกับ ติดตาม การดำเนินงานของผูปฏิบัติงานโดยผานระบบหรือชองทางดิจิทัลได โดยขอดีของการปฏิบัติราชการนอก สถานที่ตั้ง คือ สงเสริมการสรางสมดุลระหวางชีวิตการทำงานและชีวิตสวนตัวของผูปฏิบัติงาน รวมถึง เพิ่มโอกาสในการดึงดูดคนรุนใหมและรักษาผูปฏิบัติงานไวกับหนวยงานไดจากการมีรูปแบบการ


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 33 ปฏิบัติงานที่ยืดหยุนและทันสมัย และมีขอพึงระวัง คือ หนวยงานตองมีเทคโนโลยีดิจิทัลสนับสนุนในการ ปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ รวมถึงมีกลไกการบริหารงานที่เหมาะสม หากหนวยงานไมมีความพรอมใน เรื่องดังกลาว การสั่งใหปฏิบัติราชการนอกสถานที่ตั้งอาจทำใหผูปฏิบัติงานไมสามารถทำงานไดอยางเต็ม ประสิทธิภาพ ทั้งนี้ เนื่องจากหนวยงานสวนกลางของสำนักงานศาลยุติธรรมมีลักษณะและภารกิจงาน ที่หลากหลาย โดยการปฏิบัติงานสวนใหญยังจำเปนตองอาศัยอุปกรณหรือเครื่องมือที่มีเฉพาะใน สำนักงาน รวมถึงมีการปฏิบัติงานเกี่ยวของกับเอกสารหรือขอมูลสำคัญที่จำเปนตองเก็บเปนความลับ ซึ่ง ขึ้นอยูกับลักษณะและภารกิจงานในแตละหนวยงานหรือระดับตำแหนงงานที่รับผิดชอบ จึงอาจพิจารณา กำหนดรูปแบบการปฏิบัติงานที่แตกตางกันไดตามความเหมาะสมกับบริบทของหนวยงาน 3.2 ขอเสนอแนะดานการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน โดยการ จัดเตรียมโครงสรางพื้นฐาน อุปกรณ แอปพลิเคชัน และเทคโนโลยีที่สนับสนุนการทำงานตาง ๆ การจัดเตรียมระบบ Cloud Server ที่มีความปลอดภัยสูง การพัฒนาระบบงานบน เครือขาย Intranet ใหสามารถเขาถึงหรือเปดใชงานจากนอกสถานที่ตั้ง และการจัดเตรียมระบบความ ชวยเหลือทางเทคนิคเพื่อชวยแกปญหากรณีระบบหรือโปรแกรมของผูปฏิบัติงานเกิดขัดของ 3.3 ขอเสนอแนะดานการบริหารงบประมาณ โดยการจัดสรรงบประมาณเพื่อเตรียม ความพรอมดานอุปกรณและระบบโครงสรางพื้นฐาน รวมถึงการจัดหาอุปกรณสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของบุคลากร เพื่อรองรับการปฏิบัติราชการนอกสถานที่ตั้ง 3.4 ขอเสนอแนะดานการบริหารงานบุคคล โดยการปรับปรุงกลไกการบริหารงานบุคคล ใหสอดคลองกับชีวิตและการทำงานวิถีใหม ไดแก การบริหารผลการปฏิบัติงานของผูใตบังคับบัญชา การพัฒนาทักษะและสมรรถนะที่จำเปนของผูปฏิบัติงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคลากร การกำหนดแนวทางหรือมาตรการในการรักษาวินัยและการปฏิบัติตนอยางเหมาะสมของผูปฏิบัติงาน เปนตน 3.5 ขอเสนอแนะดานกฎระเบียบที่เกี่ยวของ โดยมีการออกระเบียบ คำสั่ง หรือแนว ปฏิบัติที่ชัดเจน เพื่อรองรับการปฏิบัติงานของหนวยงานในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรมที่มีความยืดหยุน คลองตัว สอดคลองกับลักษณะและภารกิจงาน รวมถึงวิถีการดำรงชีวิตของบุคลากร ตลอดจนสามารถ รองรับสถานการณภาวะวิกฤติ ฉุกเฉิน หรือสถานการณไมปกติ อันเปนการสงเสริมคุณภาพชีวิตของ บุคลากรและรองรับการบริหารจัดการที่เปนไปอยางตอเนื่องและสามารถนำไปปรับใชกับสถานการณที่มี การเปลี่ยนแปลงในอนาคต


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 34


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 35 โครงการศึกษา เรื่อง ปจจัยที่สงผลตอการตัดสินใจในการสมัครคัดเลือกหรือทำผลงานเพื่อเลื่อนระดับ ในตำแหนงนักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษของหนวยงานศาลยุติธรรม ความเปนมาและความสำคัญของปญหา ตำแหนงนักวิชาการเงินและการบัญชีเปนตำแหนงที่มีสวนสำคัญอยางยิ่งตอการสนับสนุนการ ปฏิบัติงานของหนวยงานในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรม โดยสายงานนี้ครอบคลุมถึงตำแหนงตาง ๆ ที่ปฏิบัติงานทางวิชาการเงินและบัญชี ซึ่งมีลักษณะงานดานการศึกษา วิเคราะห ตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล วิจัย พัฒนามาตรฐานงานในงานวิชาการเงินและบัญชี อาทิ งานการเงิน การบัญชี การงบประมาณ การใชจายเงิน การวิเคราะหฐานะทางการเงินและบัญชี การวิเคราะหงบประมาณ การพัฒนาระบบงานคลัง ตรวจสอบความถูกตองของการลงบัญชีประเภทตาง ๆ ปฏิบัติงานวิชาการพัสดุ อาทิ การวิเคราะหและเสนอความเห็นเกี่ยวกับพัสดุ การจัดหาจัดซื้อ จัดจาง การเก็บรักษา ซอมแซม และบำรุงรักษา การทำบัญชีทะเบียนพัสดุ การเก็บรักษาใบสำคัญ หลักฐานและเอกสารเกี่ยวกับพัสดุ การแทงจำหนายพัสดุที่ชำรุด การทำสัญญา และปฏิบัติหนาที่อื่นที่เกี่ยวของ ตำแหนงนักวิชาการเงินและ การบัญชีนั้นจึงเปนตำแหนงที่มีความเฉพาะและตองอาศัยความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานอยางยิ่ง เพื่อ ลดความเสี่ยงในการผิดพลาดดานการเงินและการบัญชีและทำใหเกิดการบริหารจัดการทำงานอยางมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล จากหนังสือของสำนักงานศาลยุติธรรม ที่ ศย 004/ว 152 เรื่อง การปรับปรุงการกำหนด กรอบอัตรากำลังตำแหนงนักวิชาการเงินและบัญชีลงวันที่ 25 กุมภาพันธ 2563 ไดเห็นชอบ การปรับปรุงกรอบอัตรากำลังขาราชการศาลยุติธรรมตำแหนงนักวิชาการเงินและการบัญชี หัวหนา สวนคลังในสำนักอำนวยการประจำศาล และหัวหนาสวนคลังในสำนักงานประจำศาล เพื่อแกไขปญหา การขาดแคลนอัตรากำลังขาราชการศาลยุติธรรม ตำแหนงนักวิชาการเงินและการบัญชี ไวดังนี้ 1. ปรับกรอบอัตรากำลังขาราชการศาลยุติธรรมในสำนักอำนวยการประจำศาลเฉพาะตำแหนง หัวหนาสวนคลัง ตำแหนงนักวิชาการเงินและบัญชี ระดับชำนาญการพิเศษ และในสำนักงานประจำศาล เฉพาะตำแหนงหัวหนากลุมงานคลัง ตำแหนงนักวิชาการเงินและบัญชี ระดับชำนาญการพิเศษจากระดับ ชำนาญการพิเศษ เปนระดับชำนาญการ หรือชำนาญการพิเศษ ทั้งนี้ ตั้งแตวันที่ 2 มีนาคม 2563 2. กรณีสำนักงานศาลยุติธรรมไมมีบัญชีผูผานการคัดเลือกในตำแหนงนักวิชาการเงินและบัญชี ระดับชำนาญการพิเศษ ที่จะสามารถแตงตั้งใหไปดำรงตำแหนงนักวิชาการเงินและบัญชี ระดับชำนาญการ หรือชำนาญการพิเศษไดตามขอ 1. ยกเวนใหสำนักงานศาลยุติธรรมสามารถแตงตั้งบุคคลไปดำรง ตำแหนงนักวิชาการเงินและบัญชี ระดับปฏิบัติการ ในตำแหนงที่วางอยูเปนการชั่วคราว จนกวา


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 36 สำนักงานศาลยุติธรรมจะสรรหาและคัดเลือกผูมาดำรงตำแหนงนักวิชาการเงินและบัญชี ระดับ ชำนาญการพิเศษเพียงพอกับอัตราวางหรือที่จะวางได 3. เพิ่มชองทางในการเลื่อนและแตงตั้งใหดำรงตำแหนงนักวิชาการเงินและบัญชี ระดับ ชำนาญการเปน 2 วิธี คือ การขอรับการพิจารณาคุณสมบัติและประมินผลงานและสมัครเขารับการ พิจารณาความเหมาะสมและการคัดเลือก โดยหลักเกณฑและวิธีการคัดเลือกใหเปนไปตามที่สำนักงาน ศาลยุติธรรมกำหนดตอไป ทั้งนี้ สำนักงานศาลยุติธรรมไดกำหนดระเบียบคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม วาดวยเงิน เพิ่มตำแหนงที่มีเหตุพิเศษตำแหนงดานพัสดุ ตำแหนงดานการเงินและบัญชี และตำแหนงดาน การตรวจสอบภายใน โดยประกาศใช ณ วันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2563 โดยหลักเกณฑและคุณสมบัติ ของขาราชการที่จะมีสิทธิไดรับเงินเพิ่ม ตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ 1) เปนผูดำรงตำแหนงผูอำนวยการสำนักบริหารทรัพยสิน ตำแหนงผูอำนวยการสำนักการคลัง ตำแหนงผูอำนวยการสำนักตรวจสอบภายใน ตำแหนงนักวิชาการพัสดุ ตำแหนงนักวิชาการเงินและบัญชี ตำแหนงเจาพนักงานการเงินและบัญชี ตำแหนงนักวิชาการตรวจสอบภายใน และปฏิบัติงานดานการ จัดซื้อจัดจางหรือการบริหารพัสดุ ดานการเงินและบัญชี หรือดานการตรวจสอบภายใน แลวแตกรณี 2) เปนผูผานการอบรมหลักสูตรมาตรฐานวิซาชีพดานการจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุ ภาครัฐหรือหลักสูตรมาตรฐานวิชาชีพดานการเงินและบัญชี หรือหลักสูตรมาตรฐานวิชาชีพดาน การตรวจสอบภายในแลวแตกรณี ที่เลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรมกำหนด หรือหลักสูตรอื่นที่ เทียบเทา ซึ่ง ก.ศ. รับรอง 3) เปนผูผานการทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการ


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 37 อัตราเงินเพิ่มสำหรับตำแหนงดังกลาว มีรายละเอียดดังนี้ ลำดับ ตำแหนง อัตราเงินเพิ่มกรณี ผานหลักสูตรระดับ ตน (บาท/เดือน) อัตราเงินเพิ่มกรณีผาน หลักสูตรระดับสูง (บาท/ เดือน) 1 ปฏิบัติการ/ปฏิบัติงาน ชำนาญการ/ชำนาญงาน ชำนาญการพิเศษ 2,000 3,000 4,000 - - - 2 หัวหนาสวน/กลุมงาน ระดับชำนาญการพิเศษ/เชี่ยวชาญ ผูอำนวยการสำนักบริหารทรัพยสิน/ ผูอำนวยการสำนักการคลัง/ ผูอำนวยการสำนักตรวจสอบภายใน 5,000 6,000 ที่มา : หนังสือสำนักงานศาลยุติธรรม ที่ ศย 004/ว19(ป) เรื่อง ระเบียบคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม วาดวยเงิน เพิ่มตำแหนงที่มีเหตุพิเศษตำแหนงดานพัสดุ ตำแหนงดานการเงินและบัญชี และตำแหนงดานการตรวจสอบภายใน พ.ศ. 2563 ลงวันที่ 4 กุมภาพันธ 2563 ในปจจุบันกรอบอัตรากำลังขาราชการศาลยุติธรรม ตำแหนงนักวิชาการเงินและการบัญชี มีจำนวนทั้งสิ้น 649 ตำแหนง โดยจำแนกได ดังนี้ ระดับตำแหนง กรอบ (ตำแ หนง) ตำแหนงที่ตรงกรอบ ตำแหนงที่นั่งทับ (คนครอง) ระดับ จำนวน คนครอง ปฏิบัติการ (K1) ชำนาญงาน (O2) ปฏิบัติงาน (O1) รวม ปฏิบัติการหรือ ชำนาญการ (K1 – K2) 292 ปฏิบัติการ (K1) 214 - 9 2 11 ชำนาญการ (K2) 67 - - - - รวม 281 - 9 2 11 ปฏิบัติการหรือ ชำนาญการหรือ ชำนาญการพิเศษ (K1 – K3) 71 ปฏิบัติการ (K1) 47 - - - - ชำนาญการ (K2) 24 - - - -


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 38 ระดับตำแหนง กรอบ (ตำแ หนง) ตำแหนงที่ตรงกรอบ ตำแหนงที่นั่งทับ (คนครอง) ระดับ จำนวน คนครอง ปฏิบัติการ (K1) ชำนาญงาน (O2) ปฏิบัติงาน (O1) รวม ชำนาญการ พิเศษ (K3) - - - - - รวม 71 - - - - ชำนาญการหรือ ชำนาญการพิเศษ (K2 – K3) 279 ชำนาญการ (K2) 24 - - - - ชำนาญการ พิเศษ (K3) 214 40 1 - - รวม 238 40 1 - 41 ชำนาญการพิเศษ (K3) 7 ชำนาญการ พิเศษ (K3) 7 - - - - รวมทั้งสิ้น 649 597 40 10 2 52 ที่มา : ขอมูลจากสำนักคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม สำนักงานศาลยุติธรรม จากขอมูลขางตนพบวาในระดับของหัวหนาสวนคลัง ตำแหนงนักวิชาการเงินและบัญชี นั้นไดมีการปรับกรอบอัตรากำลังเปนระดับชำนาญการหรือชำนาญการพิเศษ (K2 – K3) แตในปจจุบัน นั้นมีคนครองที่อยูในตำแหนงนั่งทับ ที่ไมตรงตามกรอบเปนจำนวนถึง 40 คน ที่อยูในระดับปฏิบัติการ นอกจากนี้ขอมูลจำนวนผูสมัครสอบคัดเลือกตำแหนงนักวิชาการเงินและบัญชีระดับชำนาญการ พิเศษยอนหลัง มีดังนี้ ลำดับ ชวงที่สอบ จำนวนผูมีสิทธิสอบ (คน) จำนวนผูสมัคร (คน) จำนวนผูที่ไดขึ้น บัญชี 1 มกราคม 2565 59 26 20 2 กรกฎาคม 2565 43 10 7 3 ธันวาคม 2565 39 4 3 4 พฤษภาคม 2566 36 4 2 ที่มา : ขอมูลจากสำนักการเจาหนาที่ สำนักงานศาลยุติธรรม


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 39 จากขอมูลพบวาสถิติจำนวนผูสมัครสอบเพื่อเลื่อนระดับนั้นมีจำนวนที่นอยลงทำใหจำนวนของ ผูขึ้นบัญชีในการดำรงตำแหนงนักวิชาการเงินและบัญชีระดับชำนาญการพิเศษนั้น มีจำนวนนอยลงตาม ไปดวย จากขอมูลที่ไดกลาวมาในขางตนจะพบวาสำนักงานศาลยุติธรรมนั้นไดมีมาตรการในการที่จะ จูงใจเพื่อแกปญหาเรื่องของการขาดแคลนตำแหนงนักวิชาการการเงินและการบัญชีในตำแหนงที่สูงขึ้น แลวทั้งในสวนของการปรับกรอบอัตรากำลังและเรื่องอัตราเงินเพิ่มพิเศษในตำแหนงดังกลาวแลว แต ตำแหนงของนักวิชาการเงินในระดับชำนาญการพิเศษนั้นยังไมเพียงพอตามกรอบอัตรากำลัง จึงเกิดเปน ขอสงสัยที่วามีสาเหตุหรือปจจัยอื่น ๆ ที่ทำใหขาราชการผูซึ่งดำรงตำแหนงนักวิชาการเงินและการบัญชี ระดับชำนาญการไมประสงคในการเลื่อนระดับในตำแหนงที่สูงขึ้น วัตถุประสงคของการศึกษา 1) เพื่อวิเคราะหหาปจจัยที่สงผลตอการตัดสินใจในการสมัครคัดเลือกหรือทำผลงานเพื่อเลื่อน ระดับในตำแหนงนักวิชาการเงินและบัญชีระดับชำนาญการพิเศษของหนวยงานศาลยุติธรรม 2) เพื่อเสนอแนวทางในการจูงใจเพื่อเพิ่มจำนวนนักวิชาการเงินและบัญชีระดับชำนาญการพิเศษ ใหเหมาะสมกับความตองการของขาราชการ ขอบเขตในการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้ไดกำหนดขอบเขตในการวิจัยไวดังนี้ 1) ดานเนื้อหา ศึกษาเรื่องการบริหารทรัพยากรบุคคล กฎ ระเบียบที่เกี่ยวของกับนักวิชาการ ตำแหนงนักวิชาการเงินและบัญชีในสังกัดศาลยุติธรรม 2) กลุมประชากรที่ศึกษา บุคลากรที่เปนนักวิชาการเงินและบัญชีที่สังกัดสำนักงานศาลยุติธรรม ซึ่งดำรงตำแหนงระดับปฏิบัติการและระดับชำนาญการ วิธีการวิจัย รูปแบบดำเนินการวิจัยโดยการเก็บรวบรวมขอมูลทุติยภูมิโดยจากการศึกษาและคนควาเอกสาร บทความ และทฤษฎีที่เกี่ยวของ และเก็บรวบขอมูลปฐมภูมิโดยใชวิธีการเก็บขอมูลเชิงสำรวจ ดวยการ จัดทำแบบสอบถามออนไลน ผานระบบ Google Form ซึ่งมีหนังสือเวียนแจงใหกับนักวิชาการเงินและ บัญชีที่สังกัดสำนักงานศาลยุติธรรม เพื่อการกระจายแบบสำรวจไปยังกลุมเปาหมาย จากนั้นทำการ รวบรวมขอมูล ตรวจสอบความถูกตอง ลงรหัส และนำขอมูลไปทำการวิเคราะหผลทางสถิติ


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 40 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1) ทราบถึงปจจัยที่สงผลตอการตัดสินใจในการสมัครคัดเลือกหรือทำผลงานเพื่อเลื่อนระดับ ในตำแหนงนักวิชาการเงินและบัญชีระดับชำนาญการพิเศษของหนวยงานศาลยุติธรรม 2) มีแนวทางในการจูงใจหรือกำหนดหลักเกณฑที่เกี่ยวของกับการเลื่อนระดับนักวิชาการเงิน และบัญชีชำนาญการพิเศษ สรุปผลการศึกษา การศึกษาในครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อวิเคราะหหาปจจัยที่สงผลตอการตัดสินใจในการสมัคร คัดเลือกหรือทำผลงานเพื่อเลื่อนระดับในตำแหนงนักวิชาการเงินและบัญชีระดับชำนาญการพิเศษของ หนวยงานศาลยุติธรรม และเสนอแนวทางในการจูงใจเพื่อเพิ่มจำนวนนักวิชาการเงินและบัญชีระดับ ชำนาญการพิเศษใหเหมาะสมกับความตองการของขาราชการ ซึ่งจากผลการศึกษาในบทที่ 4 สามารถ ที่จะสรุปประเด็นปจจัยที่สงผลตอการตัดสินใจในการสมัครคัดเลือกหรือทำผลงานเพื่อเลื่อนระดับ ในตำแหนงนักวิชาการเงินและบัญชีระดับชำนาญการพิเศษที่เปนปจจัยสำคัญที่สุด ไดแก เรื่องภูมิลำเนา ภาระความรับผิดชอบของงานและการมอบหมายหนาที่การปฏิบัติงาน ความเสี่ยงตองาน โดยสามารถ สรุปและเสนอแนวทางได ดังนี้ 1. ปจจัยเรื่อง ภูมิลำเนา สงผลตอการตัดสินใจในการสมัครคัดเลือกหรือทำผลงานเพื่อเลื่อน ระดับในตำแหนงนักวิชาการเงินและบัญชีระดับชำนาญการพิเศษ จากการสำรวจความคิดเห็นของผูตอบ แบบสอบถามพบวาสวนใหญมีความตองการที่จะยายกลับภูมิลำเนาของตนเองหรือภูมิลำเนาของ ครอบครัว เพื่อที่จะสามารถทำงานในพื้นที่ใกลบานและสามารถที่จะอยูกับครอบครัวได โดยมีขอคนพบ การศึกษา ดังนี้ 1.1 กลุมนักวิชาการเงินและบัญชีระดับชำนาญการที่มีคุณสมบัติครบถวนที่จะเลื่อน ระดับไดแตไมประสงคที่จะเลื่อนระดับ หากการเลื่อนระดับนั้นสงผลใหตองมีการยายสถานที่ทำงาน สรุปไดเปน 2 กรณี ดังนี้ (1) กรณีที่นักวิชาการเงินและบัญชีไมไดดำรงตำแหนงในเลขที่ตำแหนงระดับ ชำนาญการ/ระดับชำนาญการพิเศษ (K2/K3) การเลื่อนระดับที่สูงขึ้น จะตองเลื่อนระดับดวยวิธีการสอบ คัดเลือก และในการแตงตั้งจะแตงตั้งตามตำแหนงวาง โอกาสที่จะไดรับการแตงตั้งในตำแหนงเดิม หรือภูมิลำเนาจึงเปนไปไดยาก ดังนั้น จึงสงผลใหนักวิชาการเงินและบัญชีระดับชำนาญการบางสวน เลือกที่จะไมเลื่อนระดับสูง (2) กรณีที่นักวิชาการเงินและบัญชีดำรงตำแหนงในเลขที่ตำแหนงระดับชำนาญการ/ ระดับชำนาญการพิเศษ (K2/K3) การเลื่อนระดับที่สูงขึ้นสามารถดำเนินการไดทั้งสอบคัดเลือกและทำ ผลงาน จากผลการสำรวจความคิดเห็นพบวานักวิชาการเงินและบัญชีกลุมดังกลาวดำรงตำแหนงใน


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 41 ภูมิลำเนาของตนเองหรือครอบครัวแลวในสัดสวนที่สูงกวารอยละ 80 ไมประสงคที่จะสอบคัดเลือกดวย เหตุผลเดียวกันคือไมตองการที่จะยายที่ทำงานและตองการที่จะทำงานในภูมิลำเนาตัวเองหรือครอบครัว แตคนกลุมดังกลาวเลือกที่จะเลื่อนระดับที่สูงขึ้นดวยวิธีการทำผลงาน ในขณะเดียวกันปญหา คือ ไมมี เวลาทำผลงานเนื่องจากภาระความรับผิดชอบในหนาที่มีมากเกินไปประกอบกับขั้นตอนในการทำผลงาน มีความยุงยากมากเกินไป 1.2 กลุมนักวิชาการเงินและบัญชีที่ยังไมมีคุณสมบัติครบที่จะเลื่อนระดับ แตหากมี คุณสมบัติครบแลว สามารถวิเคราะหและแยกเปน 2 กลุม ดังนี้ (1) กลุมระดับปฏิบัติการ มีความประสงคที่จะเลื่อนระดับถึงรอยละ 71.4 โดยผูที่ ประสงคที่จะเลื่อนระดับโดยวิธีการสอบไมไดอยูในภูมิลำเนาของตัวเองถึงรอยละ 74.13 และกลุมผูที่ไม ประสงคจะเลื่อนระดับรอยละ 28.6 โดยมีเหตุผลหลัก คือการปฏิบัติงานมากกวาการที่ไมไดอยูใน ภูมิลำเนาของตัวเองหรือครอบครัว เชน กลัววาถาปฏิบัติงานในระดับที่สูงขึ้นจะเกิดความเครียดและกลัว ความรับผิดทางวินัยการเงิน การคลัง (2) กลุมระดับชำนาญการ มีความประสงคที่จะเลื่อนระดับในสัดสวนถึงรอยละ 74.2 โดยไมไดเปนผูที่อยูในภูมิลำเนาของตนเองหรือครอบครัว รอยละ 60.87 ผูที่ไมประสงคจะเลื่อนระดับ รอยละ 25.8 อยูในภูมิลำเนาของตัวเองและครอบครัวแลวถึงรอยละ 43.75 ประกอบกับเหตุผลที่มีภาระ ที่ตองรับผิดชอบตอครอบครัว และกลัวทำงานที่ยากขึ้น โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดและความรับผิด ทางวินัยการเงิน การคลัง ก็จะตามมา เปนตน 2. ปจจัยเรื่อง ภาระความรับผิดชอบงานที่สูงขึ้นและความเสี่ยงของสายงานอาชีพ สงผล ตอการตัดสินใจในการสมัครคัดเลือกหรือทำผลงานเพื่อเลื่อนระดับในตำแหนงนักวิชาการเงินและบัญชี ระดับชำนาญการพิเศษ โดยจากการสำรวจความคิดเห็นผูตอบแบบสอบถามใหเหตุผล ดังนี้ 1) กลัวการทำงานที่ยากขึ้น เนื่องจากมีโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดตามมา 2) กลัวความรับผิดทางวินัยทางการเงิน การคลัง เนื่องจากระดับตำแหนงที่สูงขึ้นภาระ ความรับผิดชอบยอมสูงขึ้น 3) กลุมของศาลเยาวชนและครอบครัวไมมีตำแหนงนักวิชาการพัสดุเหมือนกับศาลอื่น ๆ ทำใหมีภาระความรับผิดชอบงานที่สูงขึ้นและมีความเสี่ยงมากกวา สงผลใหนักวิชาการเงินและบัญชีมี แนวโนมที่จะไมเลื่อนระดับใหสูงขึ้นในสายงานเดิมแตสอบเปลี่ยนสายงานไปตำแหนงอื่น ๆ ถึงแมวา สำนักงานศาลยุติธรรมจะกำหนดเงินเพิ่มตำแหนงที่มีเหตุพิเศษตำแหนงดานพัสดุ ตำแหนงดานการเงิน และบัญชี และตำแหนงดานการตรวจสอบภายในแลวในป 2563 เพื่อเปนการจูงใจในการเลื่อนระดับให สูงขึ้นก็ตาม


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 42 แนวทางและขอเสนอแนะ จากปจจัยที่สงผลตอการตัดสินใจในการสมัครคัดเลือกหรือทำผลงานเพื่อเลื่อนระดับในตำแหนง นักวิชาการเงินและบัญชีระดับชำนาญการพิเศษทั้งปจจัยเรื่องภูมิลำเนาและปจจัยทางดานภาระความ รับผิดชอบที่สูงขึ้นและระดับความเสี่ยงที่มีโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดในการทำงาน การทำผิดดาน วินัยการเงิน การคลัง จนกระทั่งมีความกังวลและเกิดเปนความเครียด จึงมีแนวทางและขอเสนอแนะ ดังนี้ 1. โครงสรางและกรอบอัตรากำลัง 1) ควรเพิ่มกรอบอัตรากำลังของตำแหนงการเงินและบัญชี เนื่องจากปจจุบันปริมาณงาน ดานการเงินและบัญชีมีเพิ่มมากขึ้นและการปฏิบัติงานมีกรอบระยะเวลาในการดำเนินงานที่คอนขาง จำกัดหากมีการเพิ่มกรอบอัตรากำลังตำแหนงนักวิชาการเงินและบัญชีจะเปนการแบงเบาภาระความ รับผิดชอบ ชวยตรวจทาน และชวยลดความเสี่ยงในการผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นและลดความเครียดใหกับ ตำแหนงนักวิชาการเงินและบัญชีได 2) ควรเพิ่มกรอบอัตรากำลังตำแหนงนักวิชาการพัสดุในศาลเยาวชนและครอบครัวให เหมือนกับศาลอื่น ๆ 3) ควรกำหนดตำแหนงนักวิชาการพัสดุแยกออกจากสวนคลังเพื่อการควบคุมภายในที่ดี สามารถตรวจสอบกันได เนื่องจากปจจุบันตำแหนงพัสดุอยูภายใตงานสวนคลัง หัวหนาสวนคลังตองเปน ผูลงนามเวลาจัดซื้อจัดจางรวม 4) หากในอนาคตยังมีการขาดแคลนตำแหนงนักวิชาการเห็นควรใชวิธีการเปดรับโอน นักวิชาการเงินในระดับชำนาญการพิเศษจากหนวยงานอื่นเพื่อทดแทนจำนวนบุคลากรที่ยังขาดแคลนอยู โดยอาจจะมีการกำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑวิธีการโอนยายที่มีประสิทธิผลเพื่อใหไดบุคลากรที่มี คุณภาพ ตรงตามความตองการของหนวยงานอยางแทจริง 2. การเลื่อนระดับ 1) ตำแหนงนักวิชาการเงินและบัญชีระดับปฏิบัติการควรมีวิธีการเลื่อนระดับโดยวิธีการ สอบคัดเลือก เนื่องจากตำแหนงนี้มีภาระหนาที่ในการปฏิบัติงานที่ตองใชความรับผิดชอบและมีปริมาณ งานในแตละวันมาก ทำใหไมมีเวลาในการทำผลงานวิชาการเพื่อเลื่อนระดับ 2) กรณีที่นักวิชาการเงินและบัญชีดำรงตำแหนงในเลขที่ตำแหนงระดับชำนาญการ/ระดับ ชำนาญการพิเศษ (K2/K3) และไดปฏิบัติหนาที่หัวหนาสวนหรือหัวหนากลุมงาน ตั้งแต 3 ปขึ้นไป ควรนำ ประเด็นดังกลาวมาพิจารณาเปนองคประกอบในการปรับเลื่อนระดับที่สูงขึ้น 3) กรณีที่นักวิชาการเงินและบัญชีดำรงตำแหนงในเลขที่ตำแหนงระดับชำนาญการ/ระดับ ชำนาญการพิเศษ (K2/K3) ถาหากสามารถสอบคัดเลือกเพื่อเลื่อนระดับชำนาญการพิเศษไดแลว ควรมี


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 43 โอกาสที่จะอยูในสถานที่ทำงานเดิมได เพื่อเปนขวัญและกำลังใจในการไดอยูใกลชิดกับครอบครัวหรือ ภูมิลำเนาซึ่งจะสงผลตอประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน 3. คาตอบแทน 1) ในกรณีที่นักวิชาการเงินและบัญชีดำรงตำแหนงในเลขที่ตำแหนงระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการพิเศษ (K2/K3) และไดปฏิบัติหนาที่หัวหนาสวนหรือหัวหนากลุมงาน ควรมีการเพิ่มเงิน คาตอบแทนประจำตำแหนงใหกับคนกลุมนี้ เพื่อเปนขวัญและกำลังใจในการทำงานในการแบกรับภาระ งานที่เทียบเทาตำแหนงที่สูงกวา 2) ควรเพิ่มเงินประจำตำแหนงใหกับผูปฏิบัติหนาที่ในตำแหนงนักวิชาการเงินและบัญชี 4. การทำผลงานวิชาการ 1) ควรจัดใหมีการอบรมใหความรู แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำผลงานทางวิชาการ ตั้งแตวิธีการเขียน การเลือกหัวขอในการจัดทำผลงาน ตลอดจนขั้นตอนและรูปแบบในการจัดทำบท ที่ 1-5 อยางละเอียด ถูกตองตามหลักการทำผลงาน การใชถอยคำที่เปนภาษาทางการ ผานระบบ ออนไลน 2) ควรมีการฝกปฏิบัติ หรือจัดทำคูมือการเขียนผลงานทางวิชาการที่อานเขาใจไดงาย 3) ควรลดขั้นตอนและเงื่อนไขในการทำผลงาน เชน เปลี่ยนจากการเขียนผลงานแนว วิชาการ เปลี่ยนเปนประสบการณในการปฏิบัติงานในหนาที่ที่ไดปฏิบัติจริง หรือเขียนผลงานทางวิชาการ ไมเกิน 10 หนากระดาษ เปนตน 4) ควรมีพี่เลี้ยงหรือผูคอยใหคำปรึกษาแนะนำในระหวางทำผลงาน เพื่อจะไดชวยลด ระยะเวลาในการแกไข ปรับปรุงผลงานใหเร็วขึ้น 5) ควรมีการนำผลงานวิชาการที่ผานการประเมินแลวลงในระบบงานหรือในสื่อ อิเล็กทรอนิกสอื่นเพื่อใหผูที่สนใจไดศึกษาและดูเปนตัวอยางประกอบการเขียนผลงานทางวิชาการ 5. การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช 1) นำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการทำงานดานการเงิน บัญชี พัสดุ งบประมาณ ใหมากขึ้น โดยระบบดังกลาวสามารถเชื่อมตอกันไดอยางมีประสิทธิภาพ 2) ลดขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ไมจำเปน เชน หากมีการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใชแลว ไมจำเปนตองจัดเก็บในรูปแบบกระดาษอีก เปนตน


Click to View FlipBook Version