The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by iprd.pic, 2023-11-20 02:41:53

รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 44


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 45


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 46 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การกำหนดโจทยวิจัยเพื่อการพัฒนาองคกรศาลยุติธรรม หลักการและเหตุผล ศาลยุติธรรมเปนองคกรหลักในการอำนวยความยุติธรรมใหแกประชาชน เพื่อใหศาลยุติธรรม บรรลุตามวิสัยทัศน “ศาลยุติธรรมยึดมั่นหลักนิติธรรมดวยความเชื่อมั่นและศรัทธาจากประชาชน” เพื่อใหการพัฒนาศาลยุติธรรมเปนไปอยางมีระบบและตอเนื่อง ภายใตสภาวะแวดลอมที่มีการ เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว จึงจำเปนอยางยิ่งที่ศาลยุติธรรมตองมีการวิจัยและพัฒนาเพื่อสรางองคความรู ตลอดจนแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในองคกรศาลยุติธรรม อาทิ ระบบงานศาลยุติธรรม งานธุรการ ศาลยุติธรรม งานสงเสริมงานตุลาการและงานวิชาการ รวมถึงการสนับสนุนและอำนวยความสะดวก ในการปฏิบัติภารกิจของศาลยุติธรรมใหบรรลุวิสัยทัศนตามที่กำหนด สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์เปนหนวยงานหลักที่รับผิดชอบภารกิจดานการวิจัย และพัฒนาเพื่อสรางองคความรูดานตาง ๆ ของศาลยุติธรรม ไดแก การศึกษาวิจัยกฎหมาย ระบบงาน ศาลยุติธรรม ระบบบริหารจัดการในสำนักงานศาลยุติธรรม การบริหารกระบวนการยุติธรรม ตลอดจน ศึกษาปญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานของผูพิพากษา ขาราชการ เจาหนาที่ และผูที่เกี่ยวของ เพื่อนำ ขอมูลที่ไดมาดำเนินการวิจัย อันจะนำไปสูการพัฒนางานของศาลยุติธรรมใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งศาลยุติธรรมนำองคความรูใหมไปใชประโยชนในการพัฒนากฎหมาย การเพิ่มศักยภาพระบบ การอำนวยความยุติธรรมและระบบงานที่เกี่ยวของ ดังนั้น เพื่อใหไดหัวขอวิจัยที่เปนประโยชนตอการบริหารและพัฒนางานของศาลยุติธรรม สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์จึงไดจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การกำหนดโจทยวิจัยเพื่อ การพัฒนาองคกรศาลยุติธรรม” ขึ้น เพื่อนำความรูที่ไดจากขอคิดเห็น และขอเสนอแนะจากวิทยากร ผูทรงคุณวุฒิและผูที่เกี่ยวของ มากำหนดเปนหัวขอวิจัยที่เปนประโยชนตอการพัฒนาองคกรศาลยุติธรรม อันจะนำไปสูกระบวนการวิจัยภายใตหลักวิชาการที่ถูกตองตอไป วัตถุประสงค 1. เพื่อแลกเปลี่ยนความรู ประสบการณ ความคิดเห็นเกี่ยวกับกฎหมาย ระบบงานศาลยุติธรรม ระบบบริหารจัดการงานในสำนักงานศาลยุติธรรม การบริหารกระบวนการยุติธรรม ตลอดจนปญหา อุปสรรคในการปฏิบัติงานของผูพิพากษา ขาราชการ เจาหนาที่ และผูที่เกี่ยวของ 2. เพื่อนำขอมูลที่ไดมาวิเคราะหและเสนอเปนหัวขอวิจัยที่เปนประโยชนตอการบริหารและ พัฒนางานของศาลยุติธรรม เปาหมายการดำเนินงาน ผูพิพากษา ขาราชการศาลยุติธรรม และเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ จำนวน 110 คน


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 47 ระยะเวลาในการดำเนินงาน วันศุกรที่ 18 สิงหาคม 2566 เวลา 08.30 - 16.00 นาิกา ผลการดำเนินงาน 1. การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การกำหนดโจทยวิจัยเพื่อการพัฒนาองคกร ศาลยุติธรรม” เมื่อวันศุกรที่ 18 สิงหาคม 2566 ณ โรงแรม ดิเอมเมอรัลด กรุงเทพมหานคร มีผูเขารวม ประกอบดวย วิทยากร ผูสังเกตการณ ผูพิพากษา ขาราชการศาลยุติธรรม และเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ จำนวน 110 คน 2. งบประมาณที่ไดรับอนุมัติเพื่อเบิกคาใชจายในการจัดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ จำนวน เงิน 128,300 บาท (หนึ่งแสนสองหมื่นแปดพันสามรอยบาทถวน) สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ดำเนินการเบิกคาใชจายจำนวนทั้งสิ้น 108,345.20 บาท (หนึ่งแสนแปดพันสามรอยสี่สิบหาบาทยี่สิบ สตางค) คิดเปนรอยละ 84.45 ซึ่งไมเกินวงเงินงบประมาณที่ไดรับอนุมัติ 3. การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการฯ แบงเปน 2 รูปแบบ ดังนี้ 3.1 การอภิปราย เรื่อง “แนวทางการกำหนดประเด็นหัวขอวิจัยของศาลยุติธรรม” โดยวิทยากร จำนวน 4 คน ไดแก นางสาวสุนทรียา เหมือนพะวงศ ศาสตราจารยณรงค ใจหาญ รองศาสตราจารย ดร.จุฑารัตน เอื้ออำนวย และผูชวยศาสตราจารย ดร.นิสิต อินทมาโน 3.2 การแบงกลุมอภิปราย เรื่อง “การกำหนดโจทยวิจัยของศาลยุติธรรมเพื่อการพัฒนา องคกรศาลยุติธรรม” จำนวน 4 กลุม ดังนี้ (1) กลุมที่ 1 หัวขอ “การพิจารณาพิพากษาคดีในศาลยุติธรรม” โดยนางสาว สุนทรียา เหมือนพะวงศ เปนวิทยากรประจำกลุม (2) กลุมที่ 2 หัวขอ “กฎหมาย” โดยศาสตราจารย ณรงค ใจหาญ เปนวิทยากรประจำกลุม (3) กลุมที่ 3 หัวขอ “การพัฒนาระบบงานในศาลยุติธรรม” โดยรองศาสตราจารย ดร.จุฑารัตน เอื้ออำนวย เปนวิทยากรประจำกลุม (4) กลุมที่ 4 หัวขอ “การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีในศาลยุติธรรม” โดยผูชวยศาสตราจารย ดร.นิสิต อินทมาโน เปนวิทยากรประจำกลุม ดำเนินการวิเคราะหขอมูลและเสนอเปนหัวขอวิจัยที่เปนประโยชนตอการบริหารและพัฒนางาน ของศาลยุติธรรม สามารถสรุปประเด็นหัวขอวิจัยจากการประชุมเชิงปฏิบัติการ ฯ ได ดังนี้ ดานการพิจารณาพิพากษาคดีในศาลยุติธรรม 1. การกำหนดกรอบระยะเวลาการพิพากษาคดีอาญาที่เหมาะสม


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 48 2. การขึ้นทะเบียนผูเชี่ยวชาญในคดีที่ซับซอน/เชี่ยวชาญพิเศษเฉพาะเรื่อง (ระบบ Friend of Court) 3. การพัฒนาประสิทธิภาพในการคนหาความจริงในระบบไตสวนของคดีอาญาพิเศษของ ศาลยุติธรรม (เดิม) 4. กองผูชวยในการพิจารณาคดีในศาลชั้นตน (Law Clerk) 5. กรอบภารกิจและอำนาจหนาที่ของผูพิพากษาอาวุโสในศาลยุติธรรม 6. บทบาทภารกิจของสถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์เพื่อสนับสนุนการพิจารณาคดีใน ศาลยุติธรรม ดานกฎหมาย 1. หลักเกณฑการใชดุลพินิจในการปลอยตัวชั่วคราวในคดีอาญา 2. การวิเคราะหผลดี ผลเสีย หรือผลกระทบจากการเปลี่ยนระบบสิทธิในการฎีกามาเปนระบบ การขออนุญาตฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 247 3. การนำระบบอิเล็กทรอนิกสของศาลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของผูพิพากษา (คำพิพากษา ศาลอุทธรณ / คำพิพากษาศาลฎีกา) 4. วิจัยรวมกับศาลฎีกาเพื่อวิเคราะหแนวคำพิพากษาศาลฎีกาหรือแนวคำพิพากษาศาลฎีกาที่ ควรเปนแนวบรรทัดฐาน 5. ปญหาการสงคำคูความหรือหมายในคดีระหวางประเทศ กับหลักอธิปไตยและผลกระทบตอ ความลาชาในการพิจารณาคดี 6. วิจัยความสัมพันธ/ผลสัมฤทธิ์มาตรการพิเศษแทนการพิจารณาคดีตามพระราชบัญญัติ ศาลเยาวชนฯ มาตรา 90 และมาตรา 132 กับการปองกันการกระทำความผิดซ้ำ 7. พฤติกรรมการสื่อสารระหวางผูพิพากษากับคูความ (จำเลย, ผูเกี่ยวของ) 8. คาปรับในการดำเนินคดีแพงโดยไมสุจริต 9. ปญหากฎหมายสารบัญญัติที่มีความซับซอนยุงยากในการบังคับใช 10. การดำเนินงานรวมกับสำนักกฎหมายและวิชาการศาลยุติธรรม โดยกอนมีการยกราง กฎหมายใหมหรือแกไขเพิ่มเติมกฎหมายจะตองผานการศึกษาวิจัยของสถาบันวิจัยฯ กอน 11. การพัฒนาโปรแกรมเพื่อชวยสนับสนุนการทำงานของนักวิชาการเงินและบัญชี ดานการพัฒนาระบบงานในศาลยุติธรรม 1. การพัฒนาระบบการบริหารงานบุคคล 1.1 ระบบอัตรากำลัง 1.2 การโยกยายและคาตอบแทน


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 49 1.3 ดัชนีชี้วัดความสุข 2. การพัฒนาระบบบริหารจัดการคดีในศาลยุติธรรม 2.1 คดีอาญา 2.2 ศาลสูง 2.3 การเชื่อมโยงระหวางศาล 3. การพัฒนาระบบการบริหารจัดการขอมูลของผูบริหารในศาลยุติธรรม (MIS) 4. การพัฒนาขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรมใหเหมาะสมกับบริบทของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป 4.1 ความสอดคลองของปริมาณงาน 5. การพัฒนาระบบการบริหารจัดการระบบการเงินและงบประมาณ 6. การพัฒนาระบบรักษาความปลอดภัย อาคารศาล และสถานที่และขอมูลสวนบุคคลของ ขาราชการฝายตุลาการในศาลยุติธรรม ดานการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีในศาลยุติธรรม 1. การใชเทคโนโลยี RFID ในการเก็บสำนวน 2. ระบบจัดเก็บอัตลักษณจำเลย 3. ระบบสารสนเทศสำหรับผูพิพากษา/ผูบริหาร (กรณีผูพิพากษาไมใชคูความในคดีเพื่อให ผูพิพากษาในศาลอื่นสามารถดูคำพิพากษาได) 4. การกำหนดระยะเวลาและจำนวนคดีที่เหมาะสมในการยื่นรับ-สงคำคูความทางระบบ อิเล็กทรอนิกส 4. การประเมินผลโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ โดยผูตอบแบบประเมินผลโครงการจำนวน 62 คน คิดเปนรอยละ 56.36 ของผูเขารวมการประชุมเชิงปฏิบัติการ และมีผูเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับ การพัฒนารูปแบบงานวิจัยของศาลยุติธรรม ดังนี้ 4.1 มีการกำหนดใหหนวยงานนำผลงานวิจัยมาใชอยางเปนรูปธรรม มิใชเพียงนำมา ศึกษาเรียนรู 4.2 การพัฒนาเพื่อลดภาระการทำงานและปรับปรุงระบบงานที่เอื้อตอการทำงานของ เจาหนาที่มากขึ้น 4.3 งานวิจัยที่ดำเนินการสมควรที่จะนำมาใชในการพัฒนางานของศาลยุติธรรมอยาง เปนรูปธรรม และการกำหนดนโยบายตาง ๆ สมควรที่จะใหบุคลากรมีสวนรวมในการกำหนดนโยบาย ดวย เพื่อใหนโยบายที่ออกมานั้นเหมาะกับองคกรอยางแทจริง 4.4 การนำผลงานวิจัยมาปฏิบัติ หรือปรับปรุงการทำงาน 4.5 ควรนำมาเผยแพรและประชาสัมพันธใหทราบโดยแพรหลาย


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 50 ประโยชนที่ไดรับจากการดำเนินงาน 1. สามารถนำขอสรุปเกี่ยวกับประเด็นกฎหมาย ระบบงานศาลยุติธรรม ระบบบริหารจัดการงาน ในสำนักงานศาลยุติธรรม การบริหารกระบวนการยุติธรรม ตลอดจนปญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงาน ของผูพิพากษา ขาราชการ เจาหนาที่ และผูที่เกี่ยวของมากำหนดเปนหัวขอวิจัยที่เปนประโยชนตอการ บริหารและพัฒนางานของศาลยุติธรรม 2. สามารถนำความรูที่ไดจากการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและขอเสนอแนะของผูเขารวมประชุม เชิงปฏิบัติการไปใชประกอบการพัฒนางานดานการวิจัยของศาลยุติธรรม 3. สามารถนำประเด็นหัวขอวิจัยมาจัดทำแผนยุทธศาสตรงานวิจัยของศาลยุติธรรม พ.ศ. 2567 ถึง พ.ศ. 2568 รูปภาพกิจกรรม


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 51


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 52 โครงการเผยแพรองคความรูดานการวิจัยสูการพัฒนาศาลยุติธรรม หลักการและเหตุผล ดวยสถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ มีภารกิจดานการวิจัยและพัฒนาเพื่อนำองคความรูที่ ไดรับจากงานวิจัยไปใชประโยชนในการพัฒนาศาลยุติธรรม ซึ่งสำนักงานศาลยุติธรรมไดเปดรับขอเสนอ โครงการวิจัยของศาลยุติธรรมประจำป เพื่อใหขาราชการตุลาการ ขาราชการศาลยุติธรรม พนักงาน ราชการและลูกจางที่สนใจยื่นขอเสนอโครงการวิจัยมาเพื่อใหคณะกรรมการวิจัยพิจารณาใหความ เห็นชอบใหดำเนินการวิจัย ทั้งนี้ โครงการวิจัยจะตองมีความสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรศาลยุติธรรม แผนยุทธศาสตรงานวิจัยของศาลยุติธรรม นโยบายประธานศาลฎีกา โดยเมื่อผูดำเนินการวิจัยแลวเสร็จ จะตองสงมอบผลงานวิจัยฉบับสมบูรณใหแกสำนักงานศาลยุติธรรม และดำเนินการเผยแพร ประชาสัมพันธผลงานวิจัยใหเกิดประโยชนตอองคกรศาลยุติธรรมอยางเปนรูปธรรม ดังนั้น เพื่อใหงานวิจัยที่ดำเนินการแลวเสร็จเกิดประโยชนตอองคกรศาลยุติธรรม สถาบันวิจัย และพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ จึงเห็นควรดำเนินการจัดโครงการเพื่อเผยแพรประชาสัมพันธงานวิจัยของ ศาลยุติธรรม โดยใหผูดำเนินการวิจัยไดนำเสนอผลงานวิจัยที่ดำเนินการและองคความรูที่เกิดขึ้นจาก งานวิจัยดังกลาว ใหผูเขารับฟงสามารถนำองคความรูที่ไดรับมาปรับใชใหเกิดประโยชนตอการพัฒนา องคกรศาลยุติธรรมอีกชองทางหนึ่ง วัตถุประสงค 1. เพื่อเผยแพรองคความรูและนำเสนอผลงานวิจัยที่ดำเนินการแลวเสร็จในปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ใหแกบุคลากรของหนวยงานในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรม 2. เพื่อใหผูสนใจไดรับความรูและสามารถนำองคความรูที่ไดรับไปปรับใชใหเกิดประโยชน ตอการพัฒนาองคกรศาลยุติธรรมไดอยางเต็มประสิทธิภาพ เปาหมายการดำเนินงาน ขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม พนักงานราชการและลูกจาง ระยะเวลาในการดำเนินงาน ครั้งที่ 1 วันพุธที่ 19 กรกฎาคม 2566 เวลา 13.00 - 15.00 นาิกา จำนวน 2 ชั่วโมง ครั้งที่ 2 วันพุธที่ 12 กรกฎาคม 2566 เวลา 13.30 - 15.30 นาิกา จำนวน 2 ชั่วโมง ครั้งที่ 3 วันพฤหัสบดีที่ 13 กรกฎาคม 2566 เวลา 13.30 - 15.30 นาิกา จำนวน 2 ชั่วโมง


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 53 ผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 1 เรื่อง “บทบาทของศาลยุติธรรมในการคุมครองผูเสียหายที่พนักงานอัยการ มีคำสั่ง ไมฟองคดีอาญา” ในวันพุธที่ 19 กรกฎาคม 2566 เวลา 13.00 - 15.00 นาิกา โดยนายสุรสิทธิ์ แสงวิโรจนพัฒนผูพิพากษาศาลอุทธรณ (ผูดำเนินการวิจัย) และนายสิริสิทธิ์ อนันตสมบูรณ ผูพิพากษา ศาลชั้นตนประจำสำนักประธานศาลฎีกา มีผูลงทะเบียนเขารวมโครงการ จำนวน 1,017คน โดยมี ผูรับชมผานระบบ Streaming จำนวน 109 คน และรับชมผาน Facebook Live เพจสื่อศาล จำนวน 65 คน มีผูตอบแบบประเมินผลโครงการ จำนวน 107 คน คิดเปนรอยละ 61.49 ของผูเขารับชมทั้งหมด ทั้งนี้ผูที่สนใจรับฟงการอภิปรายในหัวขอดังกลาวสามารถรับชมผานระบบยอนหลังได จากแบบประเมินผลโครงการผูประเมินความคิดเห็นประเมินความพึงพอใจในการจัดโครงการ เผยแพรองคความรูดานการวิจัยสูการพัฒนาศาลยุติธรรมในภาพรวมอยูในระดับสูงสุดและประเมิน ความคิดเห็นดานความรูกอนรับฟงการอภิปรายความรูดานการวิจัยสูการพัฒนาศาลยุติธรรมอยูในระดับ นอยสุด รวมทั้งมีขอเสนอแนะวาเปนโครงการที่ดีหากมีการเปลี่ยนแปลง เห็นควรนำมาถายทอดใหกับ ขาราชการศาลยุติธรรม และมีความเห็นวาสถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ควร ดำเนินการศึกษาวิจัย เรื่องความคาดหวังของประชาชนตอการรับบริการที่ศาลและกฎหมายที่ออกมาใหม โดยสรุปผล การประเมินความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดโครงการฯ และสรุปเนื้อหาการจัดอภิปราย ครั้งที่ 2 เรื่อง “การพัฒนาเกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที่ของทนายความขอแรงที่ศาลตั้งใหจำเลย ในคดีอาญา” ในวันพุธที่ 12 กรกฎาคม 2566 เวลา 13.30 - 15.30 นาิกา โดยนายอุทิศ สุภาพ ผูพิพากษาหัวหนาคณะในศาลอุทธรณ (ผูดำเนินการวิจัย) และนางสาวดนยา ตังธนกานนท ผูพิพากษา หัวหนาศาลประจำสำนักประธานศาลฎีกา มีผูลงทะเบียนเขารวมโครงการ จำนวน 998 คน โดยมีผูรับชม ผานระบบ Streaming จำนวน 121 คน และรับชมผาน Facebook Live เพจสื่อศาล จำนวน 71 คน มีผูตอบแบบประเมินผลโครงการ จำนวน 102 คน คิดเปนรอยละ 53.12 ของผูเขารับชมทั้งหมด ทั้งนี้ ผูที่สนใจรับฟงการอภิปรายในหัวขอดังกลาวสามารถรับชมผานระบบยอนหลังได จากแบบประเมินผลโครงการผูประเมินความคิดเห็นประเมินความพึงพอใจวิทยากรในการให ความรู นำเสนอผลงานวิจัย โดยมีเนื้อหาชัดเจน ครบถวน และนาสนใจอยูในระดับสูงสุดและประเมิน ความคิดเห็นดานความรูกอนรับฟงการอภิปรายความรูดานการวิจัยสูการพัฒนาศาลยุติธรรมอยูใน ระดับนอยสุด รวมทั้งมีขอเสนอแนะวาเปนการอภิปรายที่ไมอิงกับการปฏิบัติงานจริง และมีความเห็นวา สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ควรดำเนินการศึกษาวิจัย เรื่องรูปแบบการลดความหวาดกลัวใหกับ ผูตองหา/จำเลย/คูความในการพิจารณาคดี โดยสรุปผลการประเมินความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดโครงการฯ และสรุปเนื้อหาการจัดอภิปราย


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 54 ครั้งที่ 3 เรื่อง “แนวทางการปรับใชหลักความไดสัดสวนในการพิจารณาพิพากษาคดีที่เกี่ยวกับ สิทธิทางรัฐธรรมนูญของศาลยุติธรรม” ในวันพฤหัสบดีที่ 13 กรกฎาคม 2566 เวลา 13.30 - 15.30 นาิกา โดยนายกิตติคุณ วงศทองทิว ผูพิพากษาศาลแพง (ผูดำเนินการวิจัย) และนางสาวกมลชนก กฐินะสมิต ผูพิพากษาศาลชั้นตนประจำสำนักประธานศาลฎีกา มีผูลงทะเบียน เขารวมโครงการ จำนวน 843 คน โดยมีผูรับชมผานระบบ Streaming จำนวน 219 คน และรับชมผาน Facebook Live เพจสื่อศาล จำนวน 41 คน มีผูตอบแบบประเมินผลโครงการ จำนวน 99 คน คิดเปนรอยละ 38.08 ของผูเขารับชม ทั้งหมด ทั้งนี้ ผูที่สนใจรับฟงการอภิปรายในหัวขอดังกลาวสามารถรับชมผานระบบยอนหลังได จากแบบประเมินผลโครงการผูประเมินความคิดเห็นประเมินความพึงพอใจในการจัดโครงการ เผยแพรองคความรูดานการวิจัยสูการพัฒนาศาลยุติธรรมในภาพรวมอยูในระดับสูงสุดและประเมิน ความคิดเห็นดานความรูกอนรับฟงการอภิปรายความรูดานการวิจัยสูการพัฒนาศาลยุติธรรมอยูในระดับ นอยสุด และมีความเห็นวาสถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ควรดำเนินการศึกษาวิจัยเรื่องจริยธรรม การดำรงตนใหสมควรแกการไดรับความเคารพ การประชาสัมพันธเชิงรุกของศาลยุติธรรม กฎหมายใหม และสาระสำคัญ หลักความเทาเทียม และการบูรณาการหนวยงานในกระบวนการยุติธรรม โดยสรุปผล การประเมินความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดโครงการฯ และสรุปเนื้อหาการจัดอภิปราย ประโยชนที่ไดรับที่จากการดำเนินงาน 1. ผลงานวิจัยของศาลยุติธรรมที่ดำเนินการแลวเสร็จในปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ไดรับการ เผยแพรเปนที่รูจัก สรางคุณคาใหแกงานวิจัยของศาลยุติธรรม 2. ผูเขารับฟงการอภิปรายไดรับความรูและสามารถนำองคความรูที่ไดรับไปปรับใชใหเกิด ประโยชนตอการพัฒนาศาลยุติธรรมไดอยางเต็มประสิทธิภาพ รายละเอียดอื่น


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 55


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 56


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 57 โครงการสัมมนา เรื่อง ทำอยางไรให PR เขาถึงประชาชน ผานระบบถายทอดสัญญาณภาพและเสียง (Streaming) วันพฤหัสบดีที่ 29 มิถุนายน 2566 เวลา 09.00 – 11.00 นาิกา ณ ศูนยวิทยบริการศาลยุติธรรม ชั้น 6 อาคารศาลอาญา ถนนรัชดาภิเษก กรุงเทพมหานคร หลักการและเหตุผล การประชาสัมพันธเปนการใหขอมูลขาวสารเพื่อใหความรู ความเขาใจ แกกลุมเปาหมาย และ เกิดทัศนคติที่ดี นำไปสูความนาเชื่อถือและความรวมมือ ตลอดจนความสัมพันธที่ดี สำนักงาน ศาลยุติธรรมไดใหความสำคัญในเรื่องการประชาสัมพันธซึ่งเปนบทบาทสำคัญตอการใหขอมูลขาวสาร สำหรับประชาชนทุกกลุมที่มีความเกี่ยวของกับศาลใหไดรับรูขอมูลที่ถูกตองไดอยางเขาใจ ทั่วถึง และรวดเร็ว อันเปนการสงเสริมภาพลักษณของหนวยงานซึ่งสงผลตอความนาเชื่อถือของประชาชน จากผลการศึกษาเรื่อง “แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการประชาสัมพันธของศาลยุติธรรม” โดย สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ พบปญหาขอขัดของการประชาสัมพันธของศาลยุติธรรม เชน ดาน บุคลากรที่ยังขาดทักษะในการออกแบบหรือผลิตสื่อในรูปแบบใหม ๆ การใชภาษาในการประชาสัมพันธ ที่ทำใหประชาชนเขาใจไดงาย เปนตน และดวยนโยบายประธานศาลฎีกา “รักศาล รวมใจ รับใช ประชาชน” ขอ 3 ยกระดับการอำนวยความยุติธรรมและการคุมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน มุง ใหบุคลากรมีจิตสำนึกในการปฏิบัติหนาที่รวมกัน ใหบริการประชาชนอยางมีประสิทธิภาพและเต็มกำลัง ความสามารถโดยถือความตองการของประชาชนผูรับบริการเปนศูนยกลาง เนนการนำเทคโนโลยี สารสนเทศและนวัตกรรมใหมมาใชสนับสนุนการปฏิบัติงาน เพื่อใหประชาชนเขาถึงการบริการของ ศาลยุติธรรมโดยงาย สะดวก ประหยัด รวดเร็ว เสมอภาค และเทาเทียมกัน เพื่อธำรงความเชื่อมั่นและ ศรัทธาของประชาชนตอองคกรศาลยุติธรรม ประกอบกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร ไทย พ.ศ. 2560 ที่บัญญัติใหบุคคลยอมเสมอกันในกฎหมาย มีสิทธิและเสรีภาพ และไดรับความคุมครอง ตามกฎหมายเทาเทียมกัน การใหประชาชนรับรูและเขาใจในสิทธิเสรีภาพของตนจึงเปนเรื่องที่มี ความสำคัญอยางยิ่ง นอกจากนี้แผนยุทธศาสตรศาลยุติธรรม พ.ศ. 2565 – 2568 ยุทธศาสตร R เชื่อถือในระดับสากล (Reliability) กำหนดใหศาลยุติธรรมมีหนาที่คุมครองสิทธิของประชาชนใหไดรับความเปนธรรมอยาง ทั่วถึง และเสมอภาค เปนองคกรที่ใหความรูดานกฎหมายแกประชาชนทั่วไป หรือผูที่เกี่ยวของทางคดี เชน คูความ ผูเสียหาย ผูตองหา ทนายความ อัยการ ตำรวจ พยาน เปนตน งานประชาสัมพันธของ ศาลยุติธรรมจึงมีบทบาทสำคัญตอการใหขอมูลขาวสาร โดยมีวิธีการประชาสัมพันธหลากหลายรูปแบบ โดยเฉพาะอยางยิ่งการประชาสัมพันธผานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เชน เว็บไซต วีดิทัศน วิดีโอ และ


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 58 ชองทางออนไลนอื่น ๆ รวมถึงสื่อประชาสัมพันธที่เปนสื่อสิ่งพิมพ ปายประชาสัมพันธ หรือการจัด กิจกรรมตาง ๆ ที่เปนการใหความรูแกประชาชนทุกกลุมที่มีความเกี่ยวของกับศาลยุติธรรม ดังนั้น เพื่อใหบุคลากรศาลยุติธรรมไดตระหนักถึงความสำคัญของงานประชาสัมพันธ เสริมสราง ความรู ความเขาใจของงานประชาสัมพันธ และนำไปใชในการปฏิบัติงานเพื่อใหเขาถึงประชาชนไดอยาง ทั่วถึง สะดวก และรวดเร็ว สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์จึงเห็นสมควรใหมีการจัดสัมมนา เรื่อง “ทำอยางไรให PR เขาถึงประชาชน” ขึ้น วัตถุประสงค 1. เพื่อใหผูเขารวมการสัมมนาไดตระหนักถึงความสำคัญของงานประชาสัมพันธของศาลยุติธรรม 2. เพื่อใหผูเขารวมการสัมมนาเสริมสรางความรู ความเขาใจของงานประชาสัมพันธของ ศาลยุติธรรม วิทยากร 1. นายสรวิศ ลิมปรังษี ผูพิพากษาหัวหนาศาลประจำสำนักประธานศาลฎีกา 2. นายธวัช จตุรภัทรไพบูลย นักประชาสัมพันธชำนาญการพิเศษ 3. นางสาววังสุภา เพ็ญรัตน นักวิเคราะหนโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ วันและสถานที่ วันพฤหัสบดีที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2566 ณ ศูนยวิทยบริการศาลยุติธรรม ชั้น 6 อาคารศาลอาญา ถนนรัชดาภิเษก กรุงเทพมหานคร เวลา 09.00 – 11.00 นาิกา รูปแบบการดำเนินงาน การสัมมนาเชิงปฏิบัติการในรูปแบบการอภิปรายและเผยแพรความรูโดยวิทยากรผูทรงคุณวุฒิที่ มีประสบการณ ณ ศูนยวิทยบริการศาลยุติธรรม ชั้น 6 อาคารศาลอาญา ถนนรัชดาภิเษก กรุงเทพมหานคร ผานระบบถายทอดสัญญาณภาพและเสียง (Streaming) โดยปฏิบัติตามหนังสือ สำนักงานศาลยุติธรรม ที่ ศย 012/ว103 (ป) ลงวันที่ 14 กรกฎาคม 2564 เรื่อง การเบิกคาใชจายในการ ฝกอบรม โดยวิธีการติดตอสื่อสารดวยเทคโนโลยีที่สามารถถายทอดเสียงหรือทั้งภาพและเสียงไดอยาง ตอเนื่อง สรุปการสัมมนา การสัมมนานี้มีวัตถุประสงคเพื่อใหขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรมตระหนักถึงความสำคัญ ของงานประชาสัมพันธของศาลยุติธรรมและเสริมสรางความรู ความเขาใจงานประชาสัมพันธของ ศาลยุติธรรม กอนการสัมมนา สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ไดจัดเก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถาม


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 59 การดำเนินงานดานประชาสัมพันธของศาลชั้นตน จำนวน 254 ศาล เพื่อใชประกอบการสัมมนา พบวา ศาลเห็นวาประชาชนในเขตอำนาจศาลสามารถเขาถึงการใหบริการจากศาลไดโดยเรียงลำดับ 3 ลำดับ คือ ในระดับมาก รอยละ 51.2 ระดับปานกลาง รอยละ 24.4 และระดับมากที่สุด รอยละ 22.4 งบประมาณดานประชาสัมพันธไดรับงบประมาณเพียงพอ รอยละ 78.7 ขอขัดของในการสื่อสารและการ ประชาสัมพันธเปนดานทักษะและความสามารถของบุคลากร รอยละ 71.3 เครื่องมือหรืออุปกรณ ที่ใชในการผลิตสื่อประชาสัมพันธ รอยละ 60.6 และขอขัดของในการสื่อสารกับประชาชน รอยละ 32 ซึ่ง ศาลสวนใหญเห็นวาประชาชนไมสามารถเขาถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ ไมมีอุปกรณที่ใชในการสื่อสาร และสื่อประชาสัมพันธที่เขาถึงประชาชนมากที่สุด 3 ลำดับแรกคือ สื่อบุคคล เว็บไซตของหนวยงาน และการจัดกิจกรรมรวมกับหนวยงานภายนอก PR มาจากคำวา Public Relations สำหรับหนวยงานศาลยุติธรรมมีความทันสมัยพอแลว เพราะวาประชาสัมพันธ คือประชาชนกับความสัมพันธ สำหรับในภาคเอกชน ใชคำวา “การสื่อสาร องคกร” เปนเรื่องที่หนวยงานพยายามจะสื่อสารที่จะทำใหประชาชนหรือวา Stakeholder คูความ หรือวาบุคคลที่มีสวนเกี่ยวของไดรับทราบ บางทีในยุคปจจุบันควรมองใหแตกตางจากเรื่อง Public Relations หรือการประชาสัมพันธ ควรมองในมุมของการสื่อสารองคกรมากกวา เมื่อมองเห็น Concept เรื่องการสื่อสารองคกรภารกิจหลักของศาลยุติธรรม ซึ่งภารกิจหลักมีความเกี่ยวของกับประชาชนใน สังคม ในอดีตเมื่อศาลมีคำพิพากษาตัดสินคดีจะมีเพียงคูความเทานั้นที่ทราบผลคำพิพากษากลุมที่ นอกเหนือจากกลุมนี้ไมทราบเลยวาศาลตัดสินอยางไร จึงเปนขอจำกัด ซึ่งตอมาไดมีการใชสื่อมวลชน ในการนำเสนอขาว ซึ่งก็จะเปนเรื่องที่ประชาชนใหความสนใจ สุดทายแลวในวิธีการที่นำเสนอสิ่งที่ศาล ทำก็ขึ้นกับการนำเสนอของสื่อมวลชนโดยที่ศาลไมมีโอกาสเขามากำกับหรือควบคุมรูปแบบภาพลักษณ ของศาลยุติธรรมได หรือสื่อที่ประชาชนควรจะไดรับ จึงเปนที่มาของศาลยุติธรรมตองการนำเสนอ การสื่อสารองคกร ถึงแมจะไมสามารถควบคุมความคิดเห็นของประชาชนได แตความสำคัญ ในเรื่องของการสื่อสารองคกร ศาลยุติธรรมสามารถนำเสนอไดผานชองทางหรือความสามารถในการ ประชาสัมพันธดวยตนเอง สามารถกำกับหรือควบคุมเนื้อหาสาระหรือกำกับการนำเสนอสื่อที่ตองการ นำเสนอใหกับประชาชนได ซึ่งเปนภาพลักษณที่ประชาชนจะมองมาที่องคกรของศาลยุติธรรมไดอยาง ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น การวัดความรับรูและความเขาใจของประชาชนที่สำนักงานศาลยุติธรรมสื่อสารออกไปในแตละ ชองทางขึ้นอยูกับชองทางหรือวิธีการที่สื่อสาร ในปจจุบันมีการใชการสื่อสารทางเทคโนโลยีจำนวน ผูติดตามหรือคนที่ดูผานชองทางตาง ๆ เปนขอมูลที่เที่ยงตรง คนที่เขามาดูผานสื่อเทคโนโลยีเพราะ ตองการทราบขอมูลในเรื่องนั้น ใชเวลาเขาถึงขอมูลไดเร็ว หากเปนการจัดสัมมนาอบรมเผยแพรกฎหมาย กับประชาชนตามตางจังหวัด การวัดผลลัพธคอนขางยากเมื่อเทียบกับคาใชจาย เวลาที่ใชในแตละครั้ง เพราะความตั้งใจฟงของประชาชนวัดไดยาก เพราะฉะนั้นจึงมองวาหนวยงานศาลมีขอมูล จำนวนมาก


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 60 เพียงแตวาจะเอาขอมูลที่มีอยูมาใชอยางไรไดบาง ในเรื่องของการประเมินผลมองวาสิ่งที่ตองดูระหวาง ชองทางวิธีการที่สื่อสารคือชองทางไหน แลวการประเมินผลก็ควรจะตองใหสอดคลองกับวิธีการที่สื่อสาร การผลิตสื่อประชาสัมพันธควรมุงเนนที่เนื้อหา (Content) หรือรูปแบบใดที่ทำใหประชาชนเขาใจ เราจะ มีวิธีการ มีขอความอยางไรใหประชาชนผูมาติดตอราชการเขาใจไดบาง Mindset วิธีการคิดในการที่จะ สื่อสารในการที่ทำความเขาใจใหกับประชาชน ดานการผลิตสื่อบทบาทของสวนกลางและศาลควรเปน บทบาทที่เสริมกัน ถาเปนเรื่องนโยบายหรือกฎหมายใหม ซึ่งเริ่มตนมาจากหนวยงานสวนกลางก็ควรมี บทบาทที่จะทำสื่อในการเผยแพรเพราะรูถึงวามีความสำคัญอยางไรที่จะทำใหประชาชน ผูมีสวน เกี่ยวของรับทราบ ขณะเดียวกันปญหาในแตละพื้นที่ แตละจังหวัดไมเหมือนกัน เปนปญหาเฉพาะ สวนกลางไมรูก็ไมอาจทำได หนวยงานศาลในพื้นที่ยอมรูไดดีกวา ก็ยอมทำไดดีกวา การประชาสัมพันธ ควรมีการประชาสัมพันธที่ตอเนื่อง ไมหยุดการประชาสัมพันธ ถาจะประชาสัมพันธใหเขาถึงและมี ประสิทธิภาพตองเลือกใชชองทางที่กลุมเปาหมายชอบและเขาถึงดวย ตองรูกลุมเปาหมายที่ชัดเจน เพราะเจาะลงไปที่ตัวคน ศาลหรือหนวยงานในพื้นที่เขาไปสื่อสารโดยตรงเปนการสื่อสารสองทาง ที่จะอธิบายตอบปญหาขอของใจใหกับประชาชนได ก็เปนสวนที่เสริมกัน การประสานงานดานประชาสัมพันธกับหนวยงานภายนอกหรือการมีเครือขายมาก มีความสัมพันธ กับหนวยงานอื่นที่สามารถมาสนับสนุน โอกาสที่เกิดความเสียหายมีนอยมาก แตจะใชประโยชนอยางไร ใหคุมคา และมากนอยเพียงใด ผลประโยชนที่มีก็ประเมินคาไมได เพราะสามารถสงตอไปไดเรื่อย ๆ เหมือนขยาย Network เพียงแตวาสุดทายถาไมสามารถที่จะสื่อสารทำใหดูนาสนใจ ไมสามารถทำให รูสึกวาสิ่งที่สื่อสารออกไปวามีประโยชนกับชีวิตเขาอยางไร ตอใหไปสรางความสัมพันธหรือรวมมือกัน ก็จริง ก็อาจจะไมสามารถขยาย Network ตอไปได ในการประชาสัมพันธยุคใหม Influencer ไมไดจำกัดความวาเปนบุคคลแตเพียงอยางเดียว แตรวมถึงเปนสินคาหรือบริการได เชน สื่อโซเชียล เพจ Facebook ที่มีเนื้อหาสาระ Influencer ของ หนวยงาน คือการใหบริการแกประชาชนหรือใหความยุติธรรมแกประชาชนที่เขามาติดตอใหเปนที่ ประทับใจที่ไดจากเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ ชวยดูแล ใหคำแนะนำอยางละเอียด สิ่งนี้เปนความประทับใจ ที่เกิดขึ้นกับเขาโดยอัตโนมัติ พนักงานตอนรับประจำศาลหรือสาวเสื้อฟาเปนบุคคลแรกที่ทำหนาที่เปน นักประชาสัมพันธ ถาประชาชนมีความรูสึกแรกที่ดี หลังจากนั้นก็อาจจะทำใหรูสึกดีไปตลอด สาวเสื้อฟา อาจจะไมมีความรอบรูทั้งหมด แตหากปฏิบัติงานดวยความยิ้มแยม แสดงออกดวยทาทีที่มีใจใหบริการ มีไมตรีจิต เชื่อวาเพียงเทานี้ความรูสึกคนที่มารับบริการดีอยูแลว คือจุดเริ่มตนที่ดีในการใหบริการ ทิศทางในการประชาสัมพันธหนวยงานศาลยุติธรรมในอนาคตควรจะเปนอยางไรเพื่อจะสราง ภาพลักษณที่ดีใหกับประชาชนใหมากขึ้น ตองเริ่มจากมุมมองของประชาชนที่เขามาศาลวาชอบ การสื่อสารรูปแบบไหน ขอความหรือวิธีการแบบไหนที่เขาถึงประชาชน สอดคลองกับนโยบายประธาน ศาลฎีกา “ประชาชนผูรับบริการเปนศูนยกลาง” จะเห็นภาพวาแนวทางที่สื่อสารใหกับประชาชน


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 61 เปนแบบไหน วิธีการสื่อสารที่เหมาะสมควรจะเปนอยางไร ในรูปแบบที่ประชาชนเขาใจได ในอนาคต เรื่องของเทคโนโลยีก็ยังมีความสำคัญอยู เพราะวาเปนสิ่งที่ทำใหการดำเนินชีวิตงายขึ้น เขาถึง กลุมเปาหมายหรือประชาชนไดมากขึ้น เปนการลงทุนที่นอยแตคุมคา ในสวนของกองสารนิเทศฯ มีภารกิจที่จะตองสนับสนุนการทำงานดานประชาสัมพันธของ หนวยงานทุกหนวยงานในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรม ตลอดจนใหคำแนะนำและใหคำปรึกษาในเรื่อง ของการดำเนินการดานประชาสัมพันธทุกรูปแบบ ชวยดูแลสนับสนุน แตทั้งนี้การประชาสัมพันธองคกร ประชาสัมพันธศาลเปนเรื่องของเนื้อหาของศาลกับประชาชนกลุมเปาหมายที่จะตองมากำหนดกอนวา กลุมเปาหมายเปนใคร แลวเนื้อหาคืออะไร เพื่อที่จะใหสงตรงกัน บางเรื่องสวนกลาง กองสารนิเทศฯ ก็ไมรูในเรื่องของเนื้อหาที่ศาลตองการจะสื่อถึงประชาชนในพื้นที่ แลวก็บางเรื่องที่กองสารนิเทศฯ จะสงไปใหศาลก็อาจจะไมสามารถที่จะเอาไปเผยแพรตอในประชาชนไดแบบสำเร็จรูปเชนเดียวกัน เพราะฉะนั้นก็ตองมีการเอามาปรับประยุกตใชรวมกัน ในสวนของเชิงนโยบายในการประชาสัมพันธและการสื่อสารองคกร เปนเรื่องที่มีความสำคัญ ของการทำงานที่เกี่ยวของกับสถาบันศาลยุติธรรม ที่เกี่ยวของโดยตรงกับชีวิต สิทธิเสรีภาพ ทรัพยสิน ของประชาชน ควรตองใหความชวยเหลือ ใหความรูกับประชาชนหรือคูความ ที่มาพึ่งศาลเวลาที่มีความ เดือดรอน ประชาชนสวนใหญไมใชคนที่มีความคุนเคยเรื่องของศาล เพราะฉะนั้นการที่จะทำใหเขา มีความรูความเขาใจไดเปนเรื่องที่มีความสำคัญ เพราะฉะนั้นตองมีความรวมมือกันในทุกภาคสวน ทุก ภาคสวนมีความสำคัญเพราะวาการประชาสัมพันธที่ดีที่สุดก็คือการทำงานของศาลยุติธรรม ถาชวยกัน ในการทำงานดวยดี ภาพลักษณในการประชาสัมพันธก็มีผลโดยตรง แมการประชาสัมพันธที่ดีแลวก็อาจ ตองมีชองทางในการประชาสัมพันธเพื่อออกไปสูสังคมหรือประชาชน ซึ่งบทบาทตรงนี้ในสวนของ สวนกลางและหนวยงานของศาลในพื้นที่ก็คงจะสามารถทำงานประสานกัน แลวก็เสริมทั้งจุดออน จุดแข็งของแตละสวนดวยกันไปไดเพื่อสุดทายนำไปสูเปาหมายเดียวกัน


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 62


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 63 โครงการสัมมนา เรื่อง ซักซอมความเขาใจเพื่อสนับสนุนการดำเนินโครงการพัฒนาระบบ การใหคำปรึกษาดานจิตสังคมในคดียาเสพติดและคดีอื่นที่เกี่ยวของในระบบศาล ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2567 ผานระบบถายทอดสัญญาณภาพและเสียง (Streaming) วันศุกรที่ 21 กรกฎาคม 2566 เวลา 13.30 – 15.30 นาิกา ณ ศูนยวิทยบริการศาลยุติธรรม ชั้น 6 อาคารศาลอาญา หลักการและเหตุผล สืบเนื่องจากสำนักงานศาลยุติธรรมไดลงนามในบันทึกขอตกลงวาดวยความรวมมือเพื่อการ ดำเนินงานใหคำปรึกษาดานจิตสังคมแกผูตองหาหรือจำเลยคดียาเสพติดในระบบศาลรวมกับสำนักงาน คณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติด (สำนักงาน ป.ป.ส.) เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2565 โดย กำหนดใหสำนักงานศาลยุติธรรมมีหนาที่หลักในการขยายผลการดำเนินงานคลินิกใหคำปรึกษาดาน จิตสังคมไปยังศาลที่มีความพรอมในการเขารวมโครงการตามเกณฑการพิจารณาที่กำหนด และสำนักงาน ป.ป.ส. มีหนาที่หลักในการสนับสนุนงบประมาณเพื่อดำเนินงานตลอดระยะเวลา 3 ป (พ.ศ. 2566 - 2568) โดยที่ในปงบประมาณ พ.ศ. 2566 มีศาลที่เขารวมดำเนินงานใหคำปรึกษาดาน จิตสังคม รวมทั้งสิ้น 163 ศาล ประกอบดวย กลุมศาลจังหวัด กลุมศาลแขวง กลุมศาลเยาวชนและ ครอบครัว และกลุมศาลที่พิจารณาพิพากษาคดีอาญาในเขตกรุงเทพมหานคร โดยมีวัตถุประสงคเพื่อให คำปรึกษาทางดานจิตวิทยาแกผูตองหาหรือจำเลยที่ไดรับการปลอยชั่วคราวในชั้นสอบสวนหรือชั้นการ พิจารณาคดีของศาลเพื่อแกไข ฟนฟู บำบัด ใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ พฤติกรรม และความ ประพฤติใหสามารถกลับมาใชชีวิตในสังคมไดอยางปกติและไมกลับไปกระทำความผิดซ้ำ โดยประเภทคดี ที่มุงเนนใหคำปรึกษาดานจิตสังคมเปนสำคัญ คือ คดีเกี่ยวกับยาเสพติด แตอยางไรก็ตามในคดีความ รุนแรงในครอบครัวและคดีความผิดเกี่ยวกับเพศ ก็สามารถเขารับคำปรึกษาจากการใหคำปรึกษาดาน จิตสังคมไดเชนกัน การดำเนินงานใหคำปรึกษาดานจิตสังคมในระบบศาล ประกอบดวย 2 สวนหลัก คือ (1) การ ดำเนินงานตามผังกระบวนงาน (Flow Chart) การใหคำปรึกษาดานจิตสังคม ซึ่งถือเปนอำนาจและ เปนไปตามดุลพินิจของแตละศาลในการพิจารณาและดำเนินการภายใตกรอบของกฎหมายที่เกี่ยวของ และ (2) การบริหารโครงการดานตางๆ ซึ่งสำนักงานศาลยุติธรรมมอบหมายใหสถาบันวิจัยและพัฒนา รพีพัฒนศักดิ์มีบทบาทหลักในการสนับสนุนการดำเนินงาน ไดแก การจัดทำคำของบประมาณสนับสนุน จากสำนักงาน ป.ป.ส. การกำกับดูแลการดำเนินงานตามกิจกรรมตางๆ ของศาลที่เขารวมโครงการ ภายหลังไดรับงบประมาณสนับสนุนแลว ตลอดจนการบริหารโครงการในดานตาง ๆ การรายงานผล การดำเนินงาน การรายงานปญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน การสรุปผลการดำเนินงาน รวมถึงการ ประสานงานและติดตอกับหนวยงานภาคีภายใตบันทึกขอตกลงวาดวยความรวมมือ เปนตน ซึ่งการ


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 64 ดำเนินงานในปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ที่ผานมา โดยเฉพาะในสวนของการบริหารโครงการ ศาลที่เขา รวมโครงการไดถือปฏิบัติตาม “แนวทางการดำเนินโครงการพัฒนาระบบการใหคำปรึกษาดานจิตสังคม ในคดียาเสพติดและคดีอื่นที่เกี่ยวของในระบบศาล” เพื่อใหการบริหารโครงการเปนไปในทิศทางเดียวกัน ตามระเบียบและขอบังคับที่สำนักงานศาลยุติธรรมไดกำหนดไว แตอยางไรก็ตามยังพบวามีปญหา ขอขัดของสำคัญ คือ ระยะเวลา ที่ไมตอเนื่องของงบประมาณ ที่ไดรับการสนับสนุนจากสำนักงาน ป.ป.ส. ทั้งนี้ เนื่องมาจากเปนงบประมาณเบิกจายแทนกัน ดังนั้น ดวยกระบวนการของระบบงบประมาณ ตามปกติของทางราชการ จำเปนตองมีระยะเวลาในการตัดโอนงบประมาณเบิกจายแทนกันระหวาง หนวยงาน ประมาณ 1 - 2 เดือน อันสงผลกระทบตอความตอเนื่องในการใหคำปรึกษาดานจิตสังคม โดยเฉพาะอยางยิ่งคาจางนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะหของงานใหคำปรึกษาดานจิตสังคม ซึ่งถือ เปนกลุมบุคลากรที่เปนกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนงานใหคำปรึกษาดานจิตสังคมในระบบศาล ดังนั้น เพื่อเปนการปองกันหรือแกไขปญหาที่เกิดขึ้น รวมถึงเปนการเตรียมความพรอมตลอดจน การซักซอมความเขาใจเพื่อการสนับสนุนการดำเนินโครงการพัฒนาระบบการใหคำปรึกษาดานจิตสังคม ในคดียาเสพติดและคดีอื่นที่เกี่ยวของในระบบศาล ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2567 สถาบันวิจัยและ พัฒนารพีพัฒนศักดิ์จึงจัดทำโครงการสัมมนา เรื่อง “ซักซอมความเขาใจเพื่อสนับสนุนการดำเนิน โครงการพัฒนาระบบการใหคำปรึกษาดานจิตสังคมในคดียาเสพติดและคดีอื่นที่เกี่ยวของในระบบศาล ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2567” เพื่อใหเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานในศาลที่เขารวมโครงการและศาลที่สนใจ มีความรู ความเขาใจ และสามารถปฏิบัติงานสนับสนุนการดำเนินโครงการไดอยางถูกตองตามระเบียบ ขอบังคับและแนวทางการดำเนินงานที่กำหนดไว อันจะนำไปสูการบริหารโครงการที่มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลมากยิ่งขึ้นตอไป วัตถุประสงค เพื่อใหขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรมที่ไดรับมอบหมายใหปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับการ บริหารโครงการ “พัฒนาระบบการใหคำปรึกษาดานจิตสังคมในคดียาเสพติดและคดีอื่นที่เกี่ยวของใน ระบบศาล” ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2567 หรือผูที่สนใจ มีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน สนับสนุนการดำเนินโครงการไดอยางถูกตอง ชัดเจน ตามระเบียบ ขอบังคับและแนวทางการดำเนินงาน ที่กำหนดไว วิทยากร 1. นายเสริมศักดิ์ พรหมหาญ ผูอำนวยการสำนักการคลัง 2. นางสาวแสงโสม กออุดม นักวิเคราะหนโยบายและแผนชำนาญการ


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 65 เปาหมายการดำเนินงาน ขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรมที่ไดรับมอบหมายใหปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับการบริหาร โครงการ “พัฒนาระบบการใหคำปรึกษาดานจิตสังคมในคดียาเสพติดและคดีอื่นที่เกี่ยวของในระบบ ศาล” ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2567 หรือผูที่สนใจ ระยะเวลาดำเนินงาน วันศุกรที่ 21 กรกฎาคม 2566 เวลา 13.30 – 15.30 นาิกา ณ ศูนยวิทยบริการศาลยุติธรรม ชั้น 6 อาคารศาลอาญา ผลการดำเนินงาน การสัมมนาครั้งนี้มีผูลงทะเบียนเขารวมรับฟงการสัมมนา จำนวน 971 ราย ประกอบดวย ผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของ ขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรมและบุคลากรที่สนใจ ซึ่งมีผูประเมินความ คิดเห็น จำนวน 167 ราย คิดเปนรอยละ 17.20 ผลการประเมินความคิดเห็นเกี่ยวกับการสัมมนาใน ภาพรวม อยูในระดับมากที่สุด (คาเฉลี่ย 3.31) วิทยากรไดอภิปรายในหัวขอ “ซักซอมความเขาใจเพื่อ สนับสนุนการดำเนินโครงการพัฒนาระบบการใหคำปรึกษาดานจิตสังคมในคดียาเสพติดและคดีอื่นที่ เกี่ยวของในระบบศาล ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2567” ประกอบดวย การอภิปรายเกี่ยวกับความ เปนมา การดำเนินงานใหคำปรึกษาดานจิตสังคมในระบบศาล ผลการดำเนินงาน และประเด็นคำถาม จากศาลที่เขารวมโครงการพัฒนาระบบการใหคำปรึกษาดานจิตสังคมในคดียาเสพติดและคดีอื่นที่ เกี่ยวของในระบบศาล สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ไดจัดทำแนวทางการดำเนินงานเพื่อสนับสนุน โครงการ “พัฒนาระบบการใหคำปรึกษาดานจิตสังคมในคดียาเสพติดและคดีอื่นที่เกี่ยวของในระบบ ศาล” ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2567 (ระหวางรอรับการตัดโอนเงินงบประมาณ) ไปยังหนวยงานใน สังกัดสำนักงานศาลยุติธรรม ที่เขารวมโครงการฯ เพื่อใชเปนแนวทางในการจางนักจิตวิทยาหรือนักสังคม สงเคราะห ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2567 และใชเปนแนวทางในการเบิกจายคาตอบแทนผูให คำปรึกษาดานจิตสังคม ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2567 ประโยชนที่ไดรับจากการดำเนินงาน ขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรมที่ไดรับมอบหมายใหปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับการบริหาร โครงการ “พัฒนาระบบการใหคำปรึกษาดานจิตสังคมในคดียาเสพติดและคดีอื่นที่เกี่ยวของในระบบ ศาล” ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2567 สามารถปฏิบัติงานสนับสนุนการดำเนินโครงการไดอยางถูกตอง ตามระเบียบ ขอบังคับ และแนวทางการดำเนินงานที่กำหนดไวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 66 สรุปผลการสัมมนา โครงการสัมมนา เรื่อง “ซักซอมความเขาใจเพื่อสนับสนุนการดำเนินโครงการพัฒนาระบบการให คำปรึกษาดานจิตสังคมในคดียาเสพติดและคดีอื่นที่เกี่ยวของในระบบศาล ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2567” มีวัตถุประสงคเพื่อใหขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรมที่ไดรับมอบหมายใหปฏิบัติงาน ที่ เกี่ยวของกับการบริหารโครงการ “พัฒนาระบบการใหคำปรึกษาดานจิตสังคมในคดียาเสพติดและคดีอื่น ที่เกี่ยวของในระบบศาล” ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2567 หรือผูที่สนใจ มีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับ การปฏิบัติงานสนับสนุนการดำเนินโครงการไดอยางถูกตอง ชัดเจน ตามระเบียบ ขอบังคับและ แนวทางการดำเนินงานที่กำหนดไว โดยสรุปผลการอภิปรายได ดังนี้ ความเปนมาของโครงการพัฒนาระบบการใหคำปรึกษาดานจิตสังคมในคดียาเสพติดและคดี อื่นที่เกี่ยวของในระบบศาล การดำเนินงานใหคำปรึกษาดานจิตสังคมในศาลยุติธรรม เริ่มตนเมื่อ พ.ศ. 2552 ศาลแรกที่เริ่ม ดำเนินการ คือ ศาลอาญาธนบุรี มีการบริหารจัดการภายในของศาลและขอรับการสนับสนุนงบประมาณ บางสวนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) และสำนักงานคณะกรรมการ ปองกันและปราบปรามยาเสพติด (สำนักงาน ป.ป.ส.) นับตั้งแตป 2557 เปนตนมา มีศาลที่เขารวม โครงการมากขึ้น สำนักงาน ป.ป.ส. เห็นวาการดำเนินงานใหคำปรึกษาดานจิตสังคมไดชวยเหลือ แกไข ฟนฟู และบำบัดผูติดยาเสพติด สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในทางที่ดีขึ้นอยางยั่งยืน ไมหวนกลับไป กระทำความผิดซ้ำ จึงไดใหการสนับสนุนงบประมาณ และไดจัดทำบันทึกขอตกลงวาดวยความรวมมือ (MOU) รวมกับสำนักงานศาลยุติธรรม รวมทั้งสิ้น 4 ฉบับ โดย MOU ฉบับที่ 4 มีการลงนามเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2565 ซึ่งสำนักงานศาลยุติธรรมมีหนาที่หลักในการขยายผลการดำเนินงานคลินิกใหคำปรึกษา ดานจิตสังคม ไปยังศาลที่มีความพรอมตามเกณฑการพิจารณาที่กำหนด และสำนักงาน ป.ป.ส. ใหการ สนับสนุนงบประมาณเพื่อดำเนินงานตลอดระยะเวลา 3 ป ตั้งแตป พ.ศ. 2565 - 2568 โดยใน ปงบประมาณ พ.ศ. 2567 มีศาลที่ใหความสนใจเขารวมโครงการฯ และจัดทำคำของบประมาณ โครงการ “พัฒนาระบบการใหคำปรึกษาดานจิตสังคมในคดียาเสพติดและคดีอื่นที่เกี่ยวของในระบบศาล” มายัง สำนักงานศาลยุติธรรม จำนวน 189 ศาล ซึ่งมีจำนวนเพิ่มขึ้นจากปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จำนวน 26 ศาล การดำเนินงานใหคำปรึกษาดานจิตสังคมในระบบศาล ประกอบดวย 2 สวน คือ สวนที่ 1 การดำเนินงานตามผังกระบวนงาน โดยการใหคำปรึกษาดานจิตสังคมถือเปนอำนาจ และเปนไปตามดุลพินิจของแตละศาลในการพิจารณา และดำเนินการภายใตกรอบของกฎหมายที่ เกี่ยวของ


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 67 สวนที่ 2 การบริหารโครงการดานตางๆ ซึ่งสำนักงานศาลยุติธรรมมอบหมายใหสถาบันวิจัยและ พัฒนารพีพัฒนศักดิ์มีบทบาทหลักในการสนับสนุนการดำเนินงาน ไดแก - การจัดทำคำของบประมาณสนับสนุนจากสำนักงาน ป.ป.ส. - การกำกับดูแลการดำเนินงานตามกิจกรรมตาง ๆ ของศาล ที่เขารวมโครงการภายหลัง ไดรับงบประมาณสนับสนุนแลว - การบริหารโครงการในดานตาง ๆ - การรายงานผลการดำเนินงาน - การรายงานปญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน ผลการดำเนินงานของโครงการพัฒนาระบบการใหคำปรึกษาดานจิตสังคมในคดียาเสพติด และคดีอื่นที่เกี่ยวของในระบบศาล การดำเนินงานใหคำปรึกษาดานจิตสังคม สามารถปรับเปลี่ยนทัศนคติ และพฤติกรรมของผูเขา รับคำปรึกษาใหเปนไปในทางที่ดีขึ้น ลดทอนการเกิดอาชญากรรม และทำใหประชาชนในสังคมมีความ ปลอดภัย ซึ่งมีผลการดำเนินงาน ดังนี้ 1. ปงบประมาณ พ.ศ. 2557 – 2559 (MOU ฉบับที่ 1) มีศาลที่เขารวมโครงการ จำนวน 3 ศาล ซึ่งมีผูตองหาหรือจำเลยที่เขารับคำปรึกษาดานจิตสังคม ในระบบศาล จำนวน 4,947 คน และมีผูตองหาหรือจำเลยที่กลับไปกระทำความผิดซ้ำ จำนวน 64 คน คิดเปนรอยละ 1.20 ของผูตองหาหรือจำเลยที่เขารับคำปรึกษาทั้งหมด โดยใชงบประมาณในการ ดำเนินงานทั้งสิ้น 8,505,700 บาท 2. ปงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562 (MOU ฉบับที่ 2) มีศาลที่เขารวมโครงการ จำนวน 5 ศาล ซึ่งมีผูตองหาหรือจำเลยที่เขารับคำปรึกษาดานจิตสังคม ในระบบศาล จำนวน 9,650 คน และมีผูตองหาหรือจำเลยที่กลับไปกระทำความผิดซ้ำ จำนวน 133 คน คิดเปนรอยละ 1.30 ของผูตองหาหรือจำเลยที่เขารับคำปรึกษาทั้งหมด โดยใชงบประมาณในการ ดำเนินงานทั้งสิ้น 13,391,150 บาท 3. ปงบประมาณ พ.ศ. 2563 – 2565 (MOU ฉบับที่ 3)


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 68 มีศาลที่เขารวมโครงการ จำนวน 102 ศาล ซึ่งมีผูตองหาหรือจำเลยที่เขารับคำปรึกษาดานจิต สังคมในระบบศาล จำนวน 25,791 คน และมีผูตองหาหรือจำเลยที่กลับไปกระทำความผิดซ้ำ จำนวน 157 คน คิดเปนรอยละ 0.60 ของผูตองหาหรือจำเลยที่เขารับคำปรึกษาทั้งหมด โดยใชงบประมาณใน การดำเนินงานทั้งสิ้น 54,266,489 บาท 4. ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 – 2568 (MOU ฉบับที่ 4) มีศาลที่เขารวมโครงการ จำนวน 163 ศาล โดยมีผูตองหาหรือจำเลยที่เขารับคำปรึกษาดาน จิตสังคมในระบบศาล จำนวน 36,781 คน และมีผูตองหาหรือจำเลยที่กลับไปกระทำความผิดซ้ำ จำนวน 378 คน คิดเปนรอยละ 1.03 ของผูตองหาหรือจำเลยที่เขารับคำปรึกษาทั้งหมด (ขอมูลตั้งแตเดือน ตุลาคม 2565 - เดือนมิถุนายน 2566) โดยใชงบประมาณในการดำเนินงานทั้งสิ้น 109,154,178 บาท ประเด็นคำถามจากศาลที่เขารวมโครงการพัฒนาระบบการใหคำปรึกษาดานจิตสังคมในคดี ยาเสพติดและคดีอื่นที่เกี่ยวของในระบบศาล ประเด็นที่ 1 การจางนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะหในปงบประมาณ 2567 ประเด็นที่ 1.1 กรณีที่ศาลจะจางนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห (รายเดิม) จาก ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จะดำเนินการจางตอเนื่องอยางไร สามารถเริ่มดำเนินการไดเมื่อใด และ ตองดำเนินการใหแลวเสร็จภายในวันที่เทาใด คำตอบ : กรณีศาลจะดำเนินการจางนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะหรายเดิมใหดำเนินการ จัดจางโดยวิธีเฉพาะเจาะจง ตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุ ภาครัฐ พ.ศ. 2560 ขอ 78 (ค) และดำเนินการตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ดวนที่สุด ที่ กค (กวจ) 04052/ว 346 ลงวันที่ 8 กันยายน 2560 เรื่อง “การอนุมัติยกเวนใหการเชา/หรือการจางที่ตองกระทำ ตอเนื่องไปในปงบประมาณใหม แตไมอาจลงนามในสัญญาไดทันมีผลยอนหลัง” ซึ่งสำนักงาน ป.ป.ส. จะ ดำเนินการวิเคราะหงบประมาณและแจงผลการจัดสรรงบประมาณมายังสำนักงานศาลยุติธรรมภายใน วันที่ 1 กันยายน 2566 ทั้งนี้ศาลที่เขารวมโครงการฯ จะสามารถดำเนินการจางนักจิตวิทยาหรือ นักสังคมสงเคราะหรายเดิมตอเนื่องได เมื่อไดรับหนังสือแจงผลการจัดสรรงบประมาณจากสถาบันวิจัย


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 69 และพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ และศาลตองดำเนินการใหแลวเสร็จภายในวันที่ 30 กันยายน ของปงบประมาณ ปจจุบัน และตองมีบุคคลที่จะมาปฏิบัติหนาที่นักจิตวิทยา หรือนักสังคมสงเคราะหภายในวันที่ 30 กันยายน ของปงบประมาณปจจุบัน ประเด็นที่ 1.2 กรณีศาลตองดำเนินการจางนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห (รายใหม) ศาลสามารถดำเนินการเปดรับสมัครไดเมื่อใด และสามารถลงนามในสัญญาจางไดเมื่อใด คำตอบ : ศาลสามารถดำเนินการจางนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห (รายใหม) เมื่อไดรับ หนังสือแจงผลการจัดสรรงบประมาณของสำนักงาน ป.ป.ส. จากสถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ โดยดำเนินการจัดจางโดยวิธีเฉพาะเจาะจง ตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการจัดซื้อจัดจางและ การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 และดำเนินการตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ดวนที่สุด ที่ กค (กวจ) 04052/ว 346 ลงวันที่ 8 กันยายน 2560 เรื่อง “การอนุมัติยกเวนใหการเชา/หรือการจางที่ตองกระทำ ตอเนื่องไปในปงบประมาณใหม แตไมอาจลงนามในสัญญาไดทันมีผลยอนหลัง” ประเด็นที่ 1.3 หากในปงบประมาณ พ.ศ. 2567 สำนักงานศาลยุติธรรมไดรับการจัดสรร งบประมาณจากสำนักงาน ป.ป.ส. เปนงวด เชน งวดที่ 1 (ระหวางเดือนตุลาคม 2566 - มีนาคม 2567) และงวดที่ 2 (ระหวางเดือนเมษายน 2567 – กันยายน 2567) ศาลจะดำเนินการทำสัญญา จางนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะหอยางไร คำตอบ : เนื่องจากเงินประมาณที่สำนักงานศาลยุติธรรมไดรับการจัดสรรจากสำนักงาน ป.ป.ส. ไดรับจัดสรรใหตลอดทั้งปงบประมาณ เพียงแตอาจมีการแบงโอนมาเปนงวดหรือไตรมาส ศาลสามารถ ดำเนินการทำสัญญาจางนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะหไดทั้งปงบประมาณ โดยไมตองทำสัญญา การจางเปนงวด หรือตามไตรมาสที่มีการโอนงบประมาณมาจากสำนักงาน ป.ป.ส. ประเด็นที่ 1.4 กรณีที่นักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะหลาออกระหวางปงบประมาณ ศาล ตองดำเนินการอยางไร คำตอบ : ศาลตองดำเนินการจัดทำบัญชีผูมีคุณสมบัติที่ผานการคัดเลือกไว เมื่อนักจิตวิทยาหรือ นักสังคมสงเคราะหรายเดิมลาออก ศาลสามารถเลือกบุคคลผูมีคุณสมบัติที่ผานการคัดเลือกลำดับถัดไป มาทำสัญญาจางใหมได โดยไมตองประกาศรับสมัครสอบแขงขันใหม ประเด็นที่ 1.5 กรณีที่นักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะหมีคาปรับที่เกิดขึ้นดวยเหตุ อันใดก็ตาม ศาลตองดำเนินการอยางไรกับคาปรับดังกลาว คำตอบ : เงินคาปรับ คือ เงินของผูรับจางที่ถูกหักกรณีผิดสัญญาจาง เมื่อผูรับจางถูกปรับ ให ศาลดำเนินการหักคาปรับจากคาจางของผูรับจาง และนำเงินดังกลาวสงเปนรายไดแผนดิน ตางกับ เงินที่หักจากผูรับจางกรณีที่ไมไดมาทำงาน ซึ่งคิดตามวันที่นักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห ไมไดมา ทำงานในแตละเดือน ซึ่งเงินสวนนี้จะไมไดนำสงเปนรายไดแผนดินใหถือวาเปนเงินเหลือจาย


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 70 ประเด็นที่ 2 การใชจายงบประมาณ ประเด็นที่ 2.1 ศาลที่เขารวมโครงการฯ สามารถกอหนี้ผูกพัน ไดแก การจัดซื้อวัสดุอุปกรณ สำนักงานตางๆ การจัดกิจกรรมอบรม การจายคาตอบแทนผูใหคำปรึกษาไดเมื่อใด (เนื่องจาก สำนักงาน ปปส. จะแจงผลการจัดสรรเงินงบประมาณมายังสำนักงานศาลยุติธรรมกอน และตัดโอน เงินงบประมาณมาในภายหลัง) คำตอบ : ศาลสามารถดำเนินการกอหนี้ผูกพัน ไดแก การจัดซื้อวัสดุ อุปกรณสำนักงานตางๆ การจัดกิจกรรมการอบรม การจายคาตอบแทนผูใหคำปรึกษา เมื่อไดรับโอนเงินงบประมาณ (ตัวเงิน) มายังศาลเปนที่เรียบรอยแลว ทั้งนี้ สำนักงานศาลยุติธรรมจะดำเนินการโอนเงินดังกลาว เขาไปบัญชี “เงินในงบประมาณ” ของศาล เจาหนาที่การเงินหรือผูที่เกี่ยวของตองจัดทำทะเบียนคุมสำหรับการใช จายงบประมาณโครงการจิตสังคมฯ เพื่อปองกันการใชจายเงินงบประมาณของรายการอื่น และเพื่อให การสงคืนเงินงบประมาณเหลือจายเปนรายไดแผนดินถูกตองตามประเภทหรือโครงการ เนื่องจากเงินใน บัญชี“เงินในงบประมาณ” ของศาล จะมีเงินงบประมาณหลายประเภทหรือเงินงบประมาณของ โครงการอื่นรวมอยู ประเด็นที่ 2.2 การเบิกจายงบประมาณกิจกรรมที่ 1 คาใชจายในการสนับสนุนการ ดำเนินงาน “รายการคาวัสดุอุปกรณที่ใชในการสนับสนุนการดำเนินงาน” ศาลที่เขารวมโครงการฯ สามารถใชจายเปนอะไรไดบาง คำวา “วัสดุ อุปกรณ” สนับสนุนการดำเนินงาน ครอบคลุมถึง อะไรบาง และสามารถนำไปซื้อคอมพิวเตอร และเครื่องพิมพ (printer) ไดหรือไม คำตอบ : รายการคาวัสดุอุปกรณที่ใชในการสนับสนุนการดำเนินงาน ศาลสามารถใชจายได คือ รายการคาวัสดุอุปกรณที่ใชสำหรับโครงการ เพื่อใหโครงการบรรลุตามวัตถุประสงค และมีความจำเปน ที่จะตองใช เชน วัสดุสิ้นเปลือง วัสดุที่มีความคงทนถาวรมีอายุการใชงานเกิน 1 ป และไมเกินวงเงิน 5,000 บาท ไมครอบคลุมคอมพิวเตอรและเครื่องพิมพ (printer) เนื่องจากมีอายุการใชงานเกิน 1 ป และ ราคาเกินกวา 5,000 บาท การจัดซื้อคอมพิวเตอรและเครื่องพิมพ (printer) ตองเบิกจายจากงบลงทุน ประเด็นที่ 2.3 การเบิกจายงบประมาณ “รายการวัสดุอุปกรณที่ใชสนับสนุนการดำเนินงาน” เชน รายการแจงจัดสรรงบประมาณกำหนดใหศาลตองซื้อกระดาษ A4 จำนวน 5 รีม และซื้อปากกา จำนวน 6 กลอง เปนตน และกำหนดราคาที่ชัดเจนไว หากในทางปฏิบัติและความจำเปน ศาลไม สามารถใชจายตามรายละเอียดรายการที่ไดรับแจงการจัดสรรงบประมาณได เชน ซื้อกระดาษ A4 จำนวน 8 รีม และซื้อปากกาจำนวน 2 กลอง เปนตน ทั้งนี้ ไมเกินวงเงินที่ไดรับการจัดสรร ศาลตอง ดำเนินการอยางไร คำตอบ : ศาลสามารถบริหารการจัดการคาใชจายสำหรับรายการประเภทนี้ใหเหมาะสมกับการ ใชงานได โดยไมกระทบตอการดำเนินโครงการฯ


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 71 ประเด็นที่ 2.4 กิจกรรมที่ 1 กำหนดใหมีรายการคาใชจายยอยภายใตกิจกรรม ประกอบดวย (1) เงินคาจางบุคลากรรายเดือน (2) เงินคาตอบแทนผูใหคำปรึกษารายวัน (3) คาใชจายสำหรับ วัสดุอุปกรณ (4) คาใชจายในการจัดทำรายงานผลการดำเนินงาน (5) คาใชจายประชาสัมพันธ กรณีคาใชจายในการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานมีงบประมาณคงเหลือ หรือศาลไมไดใชจาย รายการดังกลาวตามที่ไดรับการจัดสรร ศาลสามารถนำเงินงบประมาณดังกลาวไปใชจายเปน คาใชจายสำหรับวัสดุอุปกรณแทนไดหรือไม ทั้งนี้ ไมเกินวงเงินที่ไดรับการจัดสรรทั้งหมดในกิจกรรม ที่ 1 คำตอบ : ตองตรวจสอบจากเอกสารงบประมาณวามีการระบุใหสามารถถัวจายในรายการ คาใชจายยอยไดหรือไม หากมีการระบุไว สามารถนำเงินในรายการอื่นมาถัวจายได ประเด็นที่ 2.5 การเบิกจายงบประมาณ กิจกรรมที่ 2 การจัดอบรมเกี่ยวกับการดำเนินงาน คลินิกใหคำปรึกษาดานจิตสังคม เชน กิจกรรมยอยที่ 2.2 การจัดอบรมสำหรับผูใหคำปรึกษา เดิม กำหนดไววาจะจัด 2 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน หากในทางปฏิบัติดวยความจำเปน ศาลอาจจัดเพียง 1 ครั้ง 1 วัน ไดหรือไม โดยใชงบประมาณตามที่จายจริง หรือศาลสามารถจัดไดมากกวาที่รายละเอียดแจง จัดสรรงบประมาณกำหนดไวไดหรือไม เชน เดิมกำหนดผูเขารวมโครงการฯ จำนวน 25 คน แต ในทางปฏิบัติมีผูเขารวมโครงการฯ 40 คน โดยไมกระทบตอวงเงินงบประมาณเดิมที่ไดรับการจัดสรร คำตอบ : หากมีความจำเปนศาลสามารถลดจำนวนครั้งในการจัดอบรมได แตงบประมาณที่ใช ตองเหมาะสมสอดคลองกับการจัดอบรม และศาลสามารถจัดไดมากกวาที่รายละเอียดแจงจัดสรร งบประมาณกำหนดไวได เชน เดิมกำหนดผูเขารวมโครงการฯ จำนวน 25 คน แตในทางปฏิบัติมีผูเขารวม โครงการฯ 40 คน โดยไมกระทบตอวงเงินงบประมาณเดิมที่ไดรับการจัดสรร ศาลสามารถดำเนินการได เพราะเปนการบริหารงบประมาณไดอยางมีประสิทธิภาพ ประเด็นที่ 2.6 การถัวจายงบประมาณภายใตกิจกรรมเดียวกัน สามารถดำเนินการไดหรือไม คำตอบ : ศาลที่เขารวมโครงการฯ สามารถถัวจายงบประมาณภายใตกิจกรรมหลักที่ 2 ได ประกอบดวย กิจกรรมที่ 2.1 การอบรมแนวทางการดำเนินงานดานจิตสังคมในศาล กิจกรรมที่ 2.2 การ จัดอบรมสำหรับผูใหคำปรึกษา และกิจกรรมที่ 2.3 การจัดอบรมสำหรับผูเขารับคำปรึกษา เนื่องจากอยู ภายใตกิจกรรมหลักเดียวกัน ทั้งนี้ กิจกรรมหลักที่ 1 คาใชจายในการสนับสนุนการดำเนินงาน ประกอบดวย 5 รายการ ไดแก (1) รายการคาจางบุคลากร (นักจิตวิทยา/นักสังคมสงเคราะห) (2) คาตอบแทนผูใหคำปรึกษา (3) รายการคาวัสดุอุปกรณ (4) รายการคาใชจายสรุปผลการดำเนินงาน และ (5) คาใชจายในการ ประชาสัมพันธ ไมสามารถถัวจายได เนื่องจากเปนงบประมาณตางประเภทกัน คือ งบบุคลากร และงบ บริหารจัดการ


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 72 กลาวโดยสรุป สามารถถัวจายได เฉพาะกิจกรรมยอยที่ 2.1 - 2.3 ภายใตกิจกรรมหลักที่ 2 เทานั้น ประเด็นที่ 3 การคืนเงินงบประมาณประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 เปนรายไดแผนดิน ประเด็นที่ 3.1 ตามที่สำนักงานศาลยุติธรรมมีหนังสือแจงใหศาลที่เขารวมโครงการฯ คืนงบประมาณ (เหลือจาย) กลางป ภายในวันที่ 7 กรกฎาคม 2566 ที่ผานมาแลวนั้น สำหรับ งบประมาณคงเหลือที่ยังไมไดคืนมายังสำนักการคลัง ศาลที่เขารวมโครงการฯ สามารถใชจายตอไป ไดจนสิ้นปงบประมาณ พ.ศ. 2566 และสงคืนงบประมาณเหลือจาย (ถามี) เปนเงินรายไดแผนดิน กรณีนี้ศาลควรดำเนินการสงคืนเงินเปนรายไดแผนดินอยางไร และภายในวันที่เทาใด คำตอบ : งบประมาณที่เหลือจาย ศาลตองนำสงคืนเปนรายไดแผนดินภายใน 3 เดือน นับแตสิ้น ปงบประมาณ ทั้งนี้ หลักเกณฑในการสงคืนเงินเปนรายไดแผนดินจะดำเนินการอยางไร ตองรอ สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์แจงใหทราบอีกครั้ง วาจะมีแนวทางใหศาลดำเนินการอยางไร เกี่ยวกับการนำสงเงินงบประมาณเหลือจายจากโครงการฯ เนื่องจากสำนักงานศาลยุติธรรมตองการทราบ รายละเอียด วาเงินงบประมาณที่แตละศาลใชจายไปมีจำนวนเทาใด และคงเหลือเงินงบประมาณเทาใด เพื่อบริหารจัดการงบประมาณในปถัดไป และไมใหมีการขอจัดสรรงบประมาณเกินกวาความจำเปน บาง ศาลขอรับจัดสรรงบประมาณมาเปนจำนวนมาก แตมีการใชจายงบประมาณนอยมาก เชน ใชจายจริง 10% และสงคืนเงิน 90% เปนตน ทั้งนี้สำนักงานศาลยุติธรรมจะนำขอมูลดังกลาว หารือกับสำนักงาน ป.ป.ส. ในการเสนอขอรับการจัดสรรงบประมาณในปงบประมาณถัดไป และเปนแนวทางในการบริหาร จัดการในการของบประมาณไมใหเกินความจำเปน ซึ่งงบประมาณดังกลาว สำนักงาน ป.ป.ส. ไดรับ อำนาจตามกฎหมาย เพื่อจัดสรรใหกับหนวยงานที่เกี่ยวของเกี่ยวกับในเรื่องการปองกันและปราบปราม ยาเสพติดซึ่งศาลเปนหนวยงานที่ไดรับการจัดสรร ดังนั้น เมื่อมีการจัดสรรงบประมาณแลว กรณีที่มีเงิน งบประมาณคงเหลือจะไมไดถูกคืนไปยังสำนักงาน ป.ป.ส. แตจะถูกสงคืนไปเปนเงินรายไดแผนดิน จากนั้นสำนักงาน ป.ป.ส. จะรายงานการใชจายงบประมาณของศาลตอผูมีอำนาจอนุมัติ เพื่อทบทวนการ จัดสรรงบประมาณมายังสำนักงานศาลยุติธรรม เพื่อจะไดไมมีเงินงบประมาณเหลือจายเปนจำนวนมาก ประเด็นที่ 4 การปฏิบัติหนาที่ของผูใหคำปรึกษาดานจิตสังคมประจำศาล ประเด็นที่ 4.1 ผูใหคำปรึกษาดานจิตสังคมประจำศาล สามารถปฏิบัติหนาที่ไดถึงวันที่ 30 กันยายน 2566 หรือไม และสามารถเบิกคาใชจายไดถึงวันที่ 30 กันยายน 2566 หรือไม คำตอบ : ผูใหคำปรึกษาดานจิตสังคมประจำศาล สามารถปฏิบัติหนาที่ไดถึงวันที่ 30 กันยายน 2566 เชนเดียวกับนักจิตวิทยาและนักสังคมสงเคราะห


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 73


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 74 การจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนานวัตกรรมการอำนวยความยุติธรรม เรื่อง การเขียนขอเสนอวิจัยเพื่อพัฒนางานศาลยุติธรรม ผานสื่ออิเล็กทรอนิกส (Zoom Meeting) และโดยวิธีการถายทอดสัญญาณภาพและเสียง (Facebook Live เพจสื่อศาล) วันอังคารที่ 12 กันยายน 2566 ณ ศูนยวิทยบริการศาลยุติธรรมเฉลิมพระเกียรติ ชั้น 6 อาคารศาลอาญา กรุงเทพมหานคร หลักการและเหตุผล การวิจัยเปนการศึกษาคนควา วิเคราะห เพื่อแสวงหาความรู ขอเท็จจริง อยางมีระบบระเบียบที่ มีแบบแผนและขั้นตอน มีจุดมุงหมายที่แนนนอน มีกฎเกณฑในการรวบรวมขอมูล วิเคราะหและแปลผล ของขอมูลเพื่อใหไดมาในคำตอบ หรือประเด็นการศึกษาที่ตั้งไว โดยใชวิธีวิทยาที่มีความเชื่อถือและ เที่ยงตรงเปนที่ยอมรับทำใหเกิดการพัฒนาและตอยอดไปสูนวัตกรรม การเปลี่ยนแปลงเพื่อกาวทัน เทคโนโลยี หนวยงานในกระบวนการยุติธรรมหลาย ๆ หนวยงานไดตระหนักความสำคัญในการทำวิจัย เนื่องจากผลที่ไดจากการศึกษาวิจัยจะทำใหเกิดความรูใหม สามารถนำมาชวยแกปญหาพัฒนาระบบงาน ในหนวยงานไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งชวยกำหนดนโยบายและวางแผนของหนวยงานทำใหการ ปฏิบัติงานตาง ๆ เปนไปอยางถูกตอง ทั้งนี้ การวิจัยจะเปนเครื่องมือที่สำคัญในการไดพบขอเท็จจริงใน การพัฒนางานศาล ปรับปรุงกฎหมายแตละเรื่อง เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานของหนวยงาน และ เปนแนวทางในการพัฒนาองคกรศาลไดอยางมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ดังนั้น สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ในฐานะมีบทบาทหนาที่สำคัญในการจัดทำการวิจัย และพัฒนาระบบงานของศาลยุติธรรมเพื่อสรางองคความรูในงานธุรการของศาลยุติธรรม งานสงเสริม งานตุลาการและงานวิชาการ สนับสนุนและอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติภารกิจของศาลยุติธรรมให สอดคลองกับนโยบายประธานศาลฎีกา ในขอ 2 รวมใจมุงเนนใหบุคลากรในองคกรศาลยุติธรรมรวมมือ รวมใจปฏิบัติหนาที่อยางมุงมั่น ตั้งใจ โปรงใส มีความรับผิดชอบ มีจิตบริการ พรอมอำนวยความยุติธรรม ใหแกประชาชน ดวยความรวดเร็ว เปนธรรม อยางทั่วถึงและมีมาตรฐานเดียวกันบนระบบการทำงานที่ เนนผลสัมฤทธิ์และประโยชนสวนรวม รวมทั้งพันธกิจศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาระบบการอำนวยความ ยุติธรรมใหเกิดสังคมสันติสุข และการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่ยั่งยืน จึงเห็นสมควรจัดสัมมนา เรื่อง “การเขียนขอเสนอวิจัยเพื่อพัฒนางานศาลยุติธรรม” เพื่อเปนการสงเสริมความรูความเขาใจเกี่ยวกับ ความสำคัญของการวิจัย ประเภทของการวิจัย ขั้นตอนการวิจัย และหลักการเขียนรายงานวิจัยแก ขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม พนักงานราชการและลูกจางในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรม


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 75 วัตถุประสงค เพื่อใหขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม พนักงานราชการและลูกจางในสังกัดสำนักงาน ศาลยุติธรรมไดรับความรู ความเขาใจเกี่ยวกับความสำคัญของการวิจัย ประเภทของการวิจัย ขั้นตอนการ วิจัย และหลักการเขียนงานวิจัย วิทยากร นายสมบัติ พฤฒิพงศภัค ผูพิพากษาหัวหนาคณะในศาลจังหวัดนนทบุรี วัน เวลา และสถานที่ วันอังคารที่ 12 กันยายน 2566 เวลา 13.30 – 15.30 นาิกา ณ ศูนยวิทยบริการศาลยุติธรรม เฉลิมพระเกียรติ ชั้น 6 อาคารศาลอาญา กรุงเทพมหานคร ผูเขารวมสัมมนา ขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม พนักงานราชการและลูกจางในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรม ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม พนักงานราชการและลูกจางในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรม มีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับความสำคัญของการวิจัย ประเภทของการวิจัย ขั้นตอนการวิจัย และ หลักการเขียนงานวิจัยสามารถนำไปจัดทำการวิจัยเพื่อพัฒนางานศาลยุติธรรมไดอยางมีประสิทธิภาพ สรุปผลการสัมมนา การสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนานวัตกรรมการอำนวยความยุติธรรม เรื่อง “การเขียน ขอเสนอวิจัยเพื่อพัฒนางานศาลยุติธรรม” มีวัตถุประสงคเพื่อเปนการสงเสริมใหเกิดความรูความเขาใจ เกี่ยวกับความสำคัญของการวิจัย ประเภทของการวิจัย ขั้นตอนการวิจัย และหลักการเขียนรายงานวิจัย แกขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม และบุคลากรในสังกัดศาลยุติธรรม โดยมีนายสมบัติ พฤฒิพงศภัค ผูพิพากษาหัวหนาคณะในศาลจังหวัดนนทบุรี ซึ่งสามารถสรุปผลการสัมมนาฯ ไดดังนี้ 1. ขอสังเกตการใหความสำคัญในเรื่องการวิจัยของศาลยุติธรรมในอดีต จากประสบการณที่เคยทำหนาที่กำกับดูแลสถาบันวิจัยรพีพัฒนศักดิ์จึงมีขอสังเกต 4 ประการ ไดแก 1) อาคารสถานที่ทำงานของสถาบันวิจัยรพีพัฒนศักดิ์ในอดีตมีการเปลี่ยนแปลงสถานที่ ของสำนักงานหลายครั้ง 2) บุคลากรที่ทำหนาที่อยูในสถาบันวิจัยรพีพัฒนศักดิ์ไมไดมีประสบการณในการทำวิจัย หรือสำเร็จการศึกษาดานการวิจัยมากอน


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 76 3) งบประมาณที่ศาลยุติธรรมดำเนินการใหสถาบันวิจัยรพีพัฒนศักดิ์ ทั้งที่เปน งบประมาณในการดำเนินงานของสถาบันวิจัยรพีพัฒนศักดิ์ และงบประมาณที่จะจัดจางในการทำวิจัย ไดรับจัดสรรงบประมาณในปริมาณนอย หากเปรียบเทียบกับองคกรอื่นที่มีภารกิจเกี่ยวกับการวิจัยจะได จัดสรรงบประมาณในปริมาณมาก และ 4) การนำผลงานวิจัยไปใชประโยชนในสังคมยังนอย และยังขาดประสานงานกับ หนวยงานที่เกี่ยวของ เชน สำนักกฎหมายและวิชาการศาลยุติธรรม โดยการออกรางกฎหมายฉบับใหมยัง ไมมีลักษณะการใหสถาบันวิจัยรพีพัฒนศักดิ์ดำเนินการศึกษาวิจัยกอนที่จะออกรางกฎหมายฉบับใหม วาสมควรจะดำเนินการออกรางกฎหมายหรือไมสมควรออกรางกฎหมาย รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ของ ศาลยุติธรรมที่จะดำเนินการออกเปนนโยบายหรือออกประกาศไมไดผานกระบวนการทำวิจัยกอน ทั้งนี้ ขอสังเกตทั้ง 4 ประการลวนเปนปญหาอุปสรรคในการใหความสำคัญการทำวิจัยที่ผานมา ของสถาบันวิจัยรพีพัฒนศักดิ์ ดังนั้น จึงเห็นควรนำเอาขอสังเกตดังกลาวพิจารณาวาการใหความสำคัญ ในการทำวิจัยอยูในระดับที่เพียงพอเหมาะสมหรือไม 2. ความหมายของการวิจัยและประเภทของการวิจัย การวิจัยเปนกระบวนการสรางความรู หาความรู หรือการแกไขปญหาเพื่อนำไปสูการอธิบาย ปรากฏการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นอยางเปนระบบ และเปนที่เชื่อถือไดในทางวิชาการ สวนประเภทของการ วิจัยแบงออกไดหลายประเภทตามเกณฑตาง ๆ ดังนี้ 2.1 พิจารณาจากประโยชน หรือความตองการที่ไดรับจากการวิจัย จะแบงออกเปน 3 ประเภท ไดแก 1) การวิจัยบริสุทธิ์ หรือการวิจัยพื้นฐานเปนการวิจัยเพื่อหาทฤษฎี หรือสรางกฎ เพื่อเปนพื้นฐานในการศึกษาเรื่องอื่น ๆ ตอไป 2) การวิจัยประยุกตเปนการวิจัยเพื่อนำผลทดลองใชแกปญหาอื่น ๆ ตอ ไป และ 3) การวิจัยเชิงปฏิบัติเปนการวิจัยประยุกตในลักษณะที่มุงแกปญหาเฉพาะเรื่องไป 2.2 พิจารณาจากลักษณะขอมูล จะแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก 1) เชิงปริมาณเปนการใชขอมูลทางคณิตศาสตร และสถิติ และ 2) เชิงคุณภาพเปนการใชขอมูลเชิงคุณลักษณะและไมไดใชคณิตศาสตร หรือ สถิติเขามาชวย การเก็บขอมูลทำไดโดยการใชสังเกต การสัมภาษณ และการบันทึก โดยทำการวิเคราะห เชิงพรรณนา และสรุปความคิดเห็น 2.3 พิจารณาจากระดับของการศึกษาตัวแปร จะแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก 1) การวิจัยเพื่อการสำรวจเปนการวิจัยเพื่อสำรวจตัวแปร และปรากฎการณ ของตัวแปรเพื่อนำผลมาอธิบายการเกิดขึ้นของปรากฎการณนั้น ๆ


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 77 2) การวิจัยเพื่อตรวจสอบสมมุติฐานเปนการศึกษาเพื่อสรางทฤษฎีและเพื่อที่จะ นำไปใชทำนายซึ่งการวิจัยชนิดนี้จะเปนการตั้งสมมุติฐานและตรวจสอบดูวาสมมุติฐานที่ตั้งขึ้นวาถูกตอง หรือไม 2.4 พิจารณาจากชนิดของขอมูล จะแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก 1) เชิงประจักษเปนการวิจัยที่หาความจริงจากขอมูลปฐมภูมิ โดยใชวิธีการเก็บ ขอมูล และใชสถิติในการวิเคราะห และ 2) เชิงไมประจักษเปนการวิจัยที่หาความรู ความจริงจากขอมูลเอกสาร และ วรรณกรรม ไมมีการใชสถิติมาวิเคราะห 2.5 พิจารณาจากลักษณะการศึกษาตัวแปร จะแบงออกเปน 3 ประเภท ไดแก 1) เชิงสำรวจ เชน การสำรวจทัศนคติเพื่อหาขอเท็จจริง 2) การศึกษายอนหลังในสิ่งที่เกิดขึ้นแลวเปนการศึกษาหาความสัมพันธ ของตัวแปรจากเหตุการณที่เกิดขึ้นอยูกอน สวนใหญใชในการวิจัยทางการศึกษา และ 3) เชิงทดลองเปนการศึกษาตัวแปร โดยการควบคุมที่มุงวิจัยและสังเกต ผลที่เกิดขึ้น สวนใหญใชในการทดลองวิทยาศาสตร 2.6 พิจารณาจากระเบียบการวิจัย จะแบงออกเปน 3 ประเภท ไดแก 1) วิจัยเชิงประวัติศาสตรเปนการศึกษาหาขอเท็จจริงที่เปนเรื่องราวในอดีตเพื่อ ใชความรูมาอธิบายเหตุการณในปจจุบัน และอนาคต 2) วิจัยเชิงพรรณนาเปนการศึกษาเพื่อบรรยายปรากฎการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้น และ 3) วิจัยเชิงทดลองเปนการศึกษาตัวแปรเพื่อทราบสาเหตุที่ทำใหเกิดผล 3. ปจจัยที่ตองใชในการทำวิจัยและวัตถุประสงคที่ตองทำวิจัย การทำวิจัยตองประกอบดวยหลายปจจัยไมใชเฉพาะความรูที่เกี่ยวของกับผูทำวิจัยเทานั้น โดย งบสนับสนุนการทำวิจัยเปนสิ่งสำคัญที่จะใชในการสรางความรู หรือหาความรู หรือแกไขปญหา และ ผูทำวิจัยตองมีความรู มีประสบการณ มีความซื่อสัตยในทางวิชาการ มีความเพียร และมีความอดทนรอ ผลที่จะเกิดขึ้น สวนวัตถุประสงคที่ตองทำวิจัยเพื่อใหมีความเปนอยูที่ดีและเกิดความยั่งยืน โดยตอบปญหาขอ สงสัย สรางองคความรู สรางนวัตกรรม แกไขปญหา ปรับปรุง พัฒนางาน พัฒนาคน พัฒนาองคกร เศรษฐกิจ สังคม การเมือง ชุมชน สุขภาพ สิ่งแวดลอม ตามความตองการของผูใชประโยชน 4. ความสำคัญของการวิจัย การวิจัยเปนเรื่องที่สำคัญมาตั้งแตอดีต จนปจจุบัน และยิ่งจะมีความสำคัญในอนาคต โดย ผลิตภัณฑตาง ๆ ที่ใชในการอุปโภคในชีวิตประจำวันกอนออกจำหนายใหแกผูบริโภคตองผานขั้นตอน


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 78 กระบวนการวิจัยเพื่อใหผูบริโภคไดรับความปลอดภัย สวนกระบวนการยุติธรรมหากเปรียบกระบวนการ พิจารณาคดีของศาล หรืออำนาจหนาที่ของศาลเปนผลิตภัณฑประเภทหนึ่ง ศาลจะดำเนินการผลิตภัณฑ ออกมาจะตองผานกระบวนการทำวิจัยเพื่ออำนวยความยุติธรรมใหแกประชาชน การวิจัยจึงมี ความสำคัญ ดังนี้ 4.1 การวิจัยจะชวยใหเขาใจปรากฏการณตาง ๆ ในสังคมไดดีขึ้น เชน ทำใหเขาใจ ปรากฏการณตาง ๆ ในสังคมวาเกิดขึ้นไดอยางไร พัฒนามาเปนแบบนี้ไดอยางไร และสามารถทำนาย ปรากฏการณที่จะเกิดขึ้นตอไปวาจะเกิดอะไรขึ้นซึ่งเปนการทำนายที่ตองใชหลักวิชาการในการทำนาย ในการวิเคราะห 4.2 การวิจัยจะชวยในการกำหนดนโยบายขององคกร สามารถชวยในการวาง แผนยุทธศาสตรของศาลยุติธรรม รวมทั้งสามารถชวยตัดสินปญหาหรือการตัดสินใจของผูบริหารได อยางถูกตองเนื่องจากหากผูบริหารมีขอมูลที่เชื่อถือได และผานการสังเคราะหวิเคราะหเรียบรอยแลว จะสามารถตัดสินใจไดอยางถูกตองแมนยำ ฉะนั้นถาขอมูลที่ผูบริหารจะใชในการตัดสินใจนี้ ผานกระบวนการวิจัยและการวิเคราะห จะสงผลใหการสั่งการของผูบริหารเปนไปไดอยางถูกตองรวดเร็ว รวมทั้งชวยสงเสริมในการวางนโยบายและวางแผนงานของผูบริหารหนวยงานไดอยางดี 4.3 การวิจัยสามารถตอบคำถามที่คลุมเครือใหกระจางขึ้นได หากตั้งประเด็นปญหาขึ้น จากการใชอารมณความรูสึก หรือความคิดเห็นของคนใดคนหนึ่ง หรือความคิดเห็นของกลุมใดกลุมหนึ่ง จะไมใชคำตอบที่ถูกตองและไมใชคำตอบที่เหมาะสมที่สุด เพราะวาอารมณความรูสึกเปนสามัญสำนึก ของคนแตละคนที่แปรผันได แตถาใชการตอบคำถามดวยการวิจัยจะสามารถตอบปญหานั้นไดกระจาง ขึ้น 4.4 การวิจัยจะชวยกระตุนความสนใจของนักวิชาการใหมีการใชผลการวิจัยและทำงาน คนควาวิจัยตอไป 4.5 การวิจัยจะทำใหเราทราบขอเท็จจริงตาง ๆ ที่จะนำมาใชประโยชนในการปรับปรุง พัฒนาบุคคลและหนวยงานใหเจริญกาวหนายิ่งขึ้น 4.6 ชวยใหคนพบทฤษฎีสิ่งประดิษฐใหม ๆ ทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพื่อให มนุษยดำเนินชีวิตในโลกไดอยางมีความสุขสบาย สะดวกรวดเร็วปลอดภัย 4.7 การวิจัยทำใหมีผลงานวิจัยเพิ่มมากขึ้นซึ่งจะชวยเสริมใหทราบขอเท็จจริงได กวางขวางและแจมชัดยิ่งขึ้น โดยจะชวยพยากรณผลภายหนาของสถานการณ ปรากฏการณและ พฤติกรรมตาง ๆ ไดอยางถูกตอง 4.8 การวิจัยชวยกระตุนบุคคลใหมีเหตุผล รูจักคิดและคนควาความรูอยูเสมอ กลาวไดวา การวิจัยเปนการทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งผานการคนควาการหาความรูมากอน จึงชวยใหบุคคลมีเหตุรูจักคิด และ รูจักคนควาความรูอยูไดเสมอ


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 79 4.9 การวิจัยชวยใหมีเครื่องมือและเทคโนโลยีใหม ๆ ที่ทันสมัยเกิดขึ้นอยูตลอดเวลาซึ่ง อำนวยความสะดวกสบายใหแกมนุษยเปนอยางมาก 5. ขั้นตอนการวิจัย ขั้นตอนวิจัยประกอบ ดวย 10 ขั้นตอน ดังนี้ 5.1 การทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัย จะพิจารณาจาก 1) ความเชี่ยวชาญและประสบการณของผูเขียนในเรื่องนั้น ๆ 2) ตรวจสอบความถูกตองของเนื้อหา และความสอดคลองของเนื้อหากับโจทยที่ ใชในการเขียนวิจัยที่กำหนด 3) พิจารณาขอมูลที่ทันสมัยมีการตีพิมพลาสุดไมเกิน 5 ป 4) มีแหลงขอมูลที่ใชประกอบจากแหลงปฐมภูมิ 5) มีการเรียบเรียงที่ดีไมซับซอน และเขาใจงาย และ 6) มีหนังสือหรือเอกสารที่เกี่ยวของที่นาเชื่อถือและทันสมัย 5.2 การกำหนดหัวขอปญหางานวิจัย จะมีลักษณะ ดังนี้ 1) การกำหนดหัวขอปญหาหรือคำถามของการวิจัยควรอยูในรูปแบบของ ความสัมพันธระหวางตัวแปรสองตัว 2) กำหนดใหรูปคำถามของการตั้งคำถามใหชัดเจน และไมกำกวม และ 3) ควรเขียนในรูปที่สามารถทดสอบเชิงประจักษหรือจากสภาพความเปนจริงได 5.3 การกำหนดวัตถุประสงคงานวิจัย จะมีลักษณะ ดังนี้ 1) มีความสอดคลองกับชื่อเรื่องหรือหัวขอปญหางานวิจัย และ 2) ตองเขียนจากวัตถุประสงคหลักกอนคอยไลเรียงไปยังวัตถุประสงคยอยตอไป การใชภาษาตองกระชับ ไดใจความและมีความชัดเจน โดยสวนใหญจะขึ้นตนวา “เพื่อ” เชน เพื่อศึกษา สภาพสังคมของผูติดโรคโควิด – 19 ที่มีอายุระหวาง 18 - 24 ป 5.4 การตั้งกรอบแนวคิดของงานวิจัย จะมีลักษณะ ดังนี้ 1) ปญหาหลักที่ตองการศึกษาวิจัยคืออะไร 2) สิ่งใดคือตัวแปรที่ตองนำมาศึกษาวิจัย 3) ขอมูลที่ใชในงานวิจัยมีอะไรบาง และตองหาแหลงขอมูลใด 4) การเก็บขอมูลเพื่อทำงานวิจัยจะสามารถเก็บไดอยางไร และเหตุผลของการ ใชวิธีนั้นอยางไร 5) แนวคิดและทฤษฎีที่สนับสนุนงานวิจัยมีอะไรบาง และ 6) มีเงื่อนไขหรือขอตกลงเบื้องตนในการทำงานวิจัยอยางไร


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 80 5.5 การเก็บขอมูลงานวิจัยจะเปนการกำหนดระเบียบวิธีวิจัย รายละเอียดวิธีการวิจัยวา จะใชเปนการวิจัยเชิงสำรวจ การวิจัยเอกสารหรือการวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งแตละรูปแบบจะมีการใชวิธีการ เก็บขอมูลที่แตกตางกันไป ซึ่งขอมูลที่เก็บมานั้นจะตองสนองตอบวัตถุประสงคของการวิจัยอยางครบถวน รวมทั้งมีการกำหนดขอมูลและตัวชี้วัด กำหนดแหลงขอมูล กำหนดกลุมตัวอยาง และกำหนดวิธีการเก็บ ขอมูล 5.6 การวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการเก็บขอมูล แบงได 2 รูปแบบ ไดแก 1) การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณจะเปนการวิเคราะหโดยใชสถิติบรรยาย และ สถิติอางอิง และ 2) การวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพจะเปนวิธีการสรางขอสรุปจากขอมูลจำนวน หนึ่งซึ่งจะไมใชสถิติในการวิเคราะห 5.7 การแปลผลการวิจัยจะเปนการอธิบายถึงเหตุผลของการวิจัยที่ไดรับมีความ สอดคลอง หรือขัดแยงกับสมมุติฐานงานวิจัยที่ตั้งไว รวมทั้งตองตรวจสอบรวมกับแนวคิดหรือทฤษฎีที่ได ศึกษาคนควาในขั้นตอนการกำหนดกรอบแนวคิดพรอมกับบอกเหตุผลวามีความสอดคลองหรือขัดแยง อยางไร 5.8 การเสนอแนะผลการวิจัยเปนการเสนอแนะประเด็นที่ไดจากการศึกษาวิจัย ไมวาจะ เปนการใชประโยชนในการพัฒนา การปรับปรุง หรือการเพิ่มประสิทธิภาพในดานตาง ๆ เพื่อใหผูสนใจ ศึกษา หรือมีความเกี่ยวของสามารถนำเอางานวิจัยไปใชประโยชนเพื่อตอยอดตอไปได โดยจะ ประกอบดวย 2 ประเด็น ไดแก 1) ขอเสนอแนะจากผลการวิจัย และ 2) ขอเสนอแนะสำหรับการวิจัยในครั้งตอไป 5.9 การเขียนเอกสารอางอิงเปนการเขียนเอกสารอางอิงที่ใชในงานวิจัยทั้งหมด โดยจะ เขียนเปนรายชื่อหนังสือ สิ่งพิมพอื่น ๆ โสตทัศนวัสดุ ตลอดจนวิธีการไดขอมูลมาประกอบการเขียน มี การจัดเรียงลำดับตามอักษรของชื่อผูแตงซึ่งหากเปนภาษาไทยจะเปนชื่อตน ภาษาอังกฤษจะเปนชื่อทาย และใหเรียงภาษาไทยกอนภาษาอังกฤษ 5.10 การเผยแพรผลการวิจัยเปนขั้นตอนของกระบวนการวิจัยที่เกิดขึ้นเปนลำดับ สุดทาย เพราะงานวิจัยที่มีประโยชนจะตองเปนงานวิจัยที่ไดการเผยแพรผลงานวิจัยเพื่อใหเกิด กระบวนการวิพากษวิจารณ และใหบุคคลที่สนใจสามารนำไปตอยอดไดตอ 6. ตัวอยางหัวขอการวิจัยเพื่อพัฒนางานศาลยุติธรรม 6.1 การสรางภาพลักษณของศาลยุติธรรมใหเปนที่เชื่อถือศรัทธาของประชาชนมาก ยิ่งขึ้น 6.2 คำพิพากษาศาลฎีกาที่สมควรนำมาใชเปนแนวบรรทัดฐานไดในปจจุบันและอนาคต


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 81 6.3 จำนวนคดีที่ผูพิพากษาตองพิจารณาพิพากษากับผลกระทบตอสุขภาพอนามัยของ ผูพิพากษา 7. คำถามจากผูรับชมการสัมมนาฯ 7.1 แหลงสืบคนขอมูลเพื่อนำมาประกอบงานวิจัยที่ชวยในการวางแผนการทำงานของ ศาลยุติธรรม แหลงสืบคนขอมูลมีมากมาย อาทิ แหลงสืบคนจากหองสมุดของสถาบันการศึกษาตาง ๆ มี ทั้งในรูปตัวเลม และเปนไฟลเอกสาร และมีระบบการสืบคนจากแหลงขอมูลอิเล็กทรอนิกสทั้งของ ตางประเทศ เชน ฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกส Westlaw และฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกส Lexis เปนตน จะ เปนในรูปแบบของวิทยานิพนธ งานวิจัย และบทความตาง ๆ 7.2 ทานเคยพบปญหาระหวางการวิจัยทำหรือไม แลวมีวิธีการแกไขปญหาอยางไร จะ ขอยกตัวอยางจากการทำวิทยานิพนธจะทำใหเห็นภาพไดงาย เชน การทำวิทยานิพนธในระดับปริญญา โท และปริญญาเอกไดสำเร็จตองหาอาจารยที่ปรึกษาที่มีความรูและความเขาใจหัวขอวิทยานิพนธของ ผูวิจัย หากเจออาจารยที่ปรึกษาที่ไมมีความรูในเรื่องที่ผูวิจัยจะทำการศึกษาจะเปนอุปสรรคในการ แนะนำการปรับปรุงและการแกไขวิทยานิพนธได


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 82


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 83 โครงการสัมมนา เรื่อง ภาษาอังกฤษกับความสำคัญในการยกระดับบุคลากรในกระบวนการยุติธรรม วันอังคารที่ 26 กันยายน 2566 เวลา 09.00 – 11.00 นาิกา ณ ศูนยวิทยบริการศาลยุติธรรม ชั้น 6 อาคารศาลอาญา ถนนรัชดาภิเษก กรุงเทพมหานคร ผานระบบถายทอดสัญญาณภาพและเสียง (Streaming) และ Facebook Live เพจสื่อศาล หลักการและเหตุผล ภาษาอังกฤษนับไดวามีความจำเปนอยางยิ่งสำหรับผูประกอบวิชาชีพทางดานกฎหมายใน ปจจุบัน โดยเฉพาะผูปฏิบัติงานในศาลยุติธรรมและหนวยงานในกระบวนการยุติธรรม เนื่องจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีอยางรวดเร็ว ประกอบกับการเขาเปนภาคีสมาชิก และภาคีสนธิสัญญาตาง ๆ ทั้งระดับภูมิภาคและระดับโลก ไมวาจะเปนการเขาสูประชาคมอาเซียนหรือ การรวมเปนภาคีในสนธิสัญญาระหวางประเทศ เชน อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรี ในทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination against Women - CEDAW) อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child - CRC) อนุสัญญา ตอตานการทรมานและการปฏิบัติหรือการลงโทษที่โหดรายไรมนุษยธรรม เปนตน สงผลใหศาลยุติธรรม และหนวยงานในกระบวนการยุติธรรมตองปรับตัวและเตรียมความพรอมโดยการพัฒนาทักษะทางดาน ภาษาอังกฤษใหกับผูปฏิบัติงานดานกฎหมายและผูเกี่ยวของ เพื่อรองรับการประสานติดตอราชการ การ ใหบริการ การใหคำปรึกษา แนะนำแกคูความ และประชาชนผูมาติดตอ ทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศ ตลอดจนการวิจัยและพัฒนางานของศาลยุติธรรมและหนวยงานในกระบวนการยุติธรรมเพื่อยกระดับ การอำนวยความยุติธรรมและการคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนใหเปนไปตามมาตรฐานสากล ซึ่ง สอดคลองกับแผนยุทธศาสตรศาลยุติธรรม พ.ศ. 2565 – 2568 ยุทธศาสตร R เชื่อถือในระดับสากล (Reliability) ที่มุงมั่นพัฒนามาตรฐานการอำนวยความยุติธรรมของศาลยุติธรรมโดยการคุมครองสิทธิ เสรีภาพของประชาชนใหเปนที่ไววางใจและมีการปฏิบัติงานที่เปนไปตามมาตรฐานสากล สถาบันวิจัย และพัฒนารพีพัฒนศักดิ์เห็นถึงความสำคัญของการเตรียมความพรอมดังกลาว จึงเห็นสมควรจัดการ สัมมนา เรื่อง “ภาษาอังกฤษกับความสำคัญในการยกระดับบุคลากรในกระบวนการยุติธรรม” เพื่อให ผูเขารวมสัมมนาตระหนักถึงความสำคัญของภาษาอังกฤษที่มีตอผูปฏิบัติงานดานกฎหมายใน ศาลยุติธรรมและหนวยงานในกระบวนการยุติธรรม รวมถึงมีแนวทางในการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ทางดานกฎหมายที่สามารถนำไปปรับใชกับการทำงานไดอยางมีประสิทธิภาพตอไป วัตถุประสงค 1) เพื่อใหผูเขารวมสัมมนาตระหนักถึงความสำคัญของภาษาอังกฤษที่มีตอผูปฏิบัติงานดาน กฎหมายในศาลยุติธรรมและหนวยงานในกระบวนการยุติธรรม


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 84 2) เพื่อใหผูเขารวมสัมมนามีแนวทางในการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษทางดานกฎหมายที่ สามารถนำไปปรับใชกับการทำงานไดอยางมีประสิทธิภาพ วิทยากร 1) นางสาววรัญญา ตรงพิสุทธิ์ศักดิ์ ผูพิพากษาศาลจังหวัดมุกดาหาร ชวยทำงานชั่วคราว ในตำแหนงผูพิพากษาศาลจังหวัดปทุมธานี 2) นายอุกฤษณ มากมี อัยการประจำกอง สำนักงานการยุติการดำเนินคดี แพงและอนุญาโตตุลาการ สำนักงานอัยการสูงสุด 3) นางสาวศรินทร เลืองวัฒนะวณิช อุปนายกฝายตางประเทศสภาทนายความ ในพระบรมราชูปถัมภ 4) ผศ. ดร.นิสิต อินทมาโน ผูอำนวยการหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม วัน เวลา และสถานที่ วันอังคารที่ 26 กันยายน 2566 เวลา 09.00 – 11.00 นาิกา ณ ศูนยวิทยบริการศาลยุติธรรม ชั้น 6 อาคารศาลอาญา ถนนรัชดาภิเษก กรุงเทพมหานคร รูปแบบการดำเนินงาน การสัมมนาในรูปแบบการอภิปรายและเผยแพรความรูโดยวิทยากรผูทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ ณ ศูนยวิทยบริการศาลยุติธรรม ชั้น 6 อาคารศาลอาญา ถนนรัชดาภิเษก กรุงเทพมหานคร ผานระบบ ถายทอดสัญญาณภาพและเสียง (Streaming) และ Facebook Live เพจสื่อศาล โดยปฏิบัติตามหนังสือ สำนักงานศาลยุติธรรม ที่ ศย 012/ว103 (ป) ลงวันที่ 14 กรกฎาคม 2564 เรื่อง การเบิกคาใชจายในการ ฝกอบรมโดยวิธีการติดตอสื่อสารดวยเทคโนโลยีที่สามารถถายทอดเสียงหรือทั้งภาพและเสียงไดอยาง ตอเนื่อง ผูเขารวมสัมมนา ขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม พนักงานราชการและลูกจาง วิทยากร ผูสังเกตการณ ผูที่สนใจ และเจาหนาที่ผูจัดสัมมนา จำนวน 50 คน ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรมสามารถนำความรูและแนวทางในการพัฒนาทักษะ ภาษาอังกฤษทางดานกฎหมายไปปรับใชในการทำงาน เพื่อสนับสนุนกระบวนพิจารณาคดีของ ศาลยุติธรรมใหเปนไปตามมาตรฐานสากล


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 85 สรุปการสัมมนา การสัมมนา เรื่อง “ภาษาอังกฤษกับความสำคัญในการยกระดับบุคลากรในกระบวนการ ยุติธรรม” มีวิทยากรซึ่งมีความเกี่ยวของในหนวยงานกระบวนการยุติธรรมทั้ง 4 ทาน ไดแก 1) นางสาว วรัญญา ตรงพิสุทธิ์ศักดิ์ ผูพิพากษาศาลจังหวัดมุกดาหาร ชวยทำงานชั่วคราวในตำแหนง ผูพิพากษา ศาลจังหวัดปทุมธานี 2) นายอุกฤษณ มากมี อัยการประจำกอง สำนักงานการยุติการดำเนินคดีแพง และอนุญาโตตุลาการ สำนักงานอัยการสูงสุด 3) นางสาวศรินทร เลืองวัฒนะวณิช อุปนายกฝาย ตางประเทศ สภาทนายความ ในพระบรมราชูปถัมภ และ 4) ผศ. ดร.นิสิต อินทมาโน ผูอำนวยการ หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม โดยมีการอภิปรายเปน 3 ชวง ดังนี้ ในชวงแรก วิทยากรแตละทานไดกลาวถึงจุดเริ่มตนที่เกี่ยวของกับการใชภาษาอังกฤษ ดังนี้ นางสาววรัญญา ตรงพิสุทธิ์ศักดิ์: หลังจากศึกษาจบระดับปริญญาตรีไดศึกษาตอที่สำนักอบรม ศึกษากฎหมายแหงเนติบัณฑิตยสภา ระหวางที่เรียนอยูนั้นไดทุนของสำนักงานคณะกรรมการขาราชการ พลเรือน (ก.พ.) ซึ่งตองไปศึกษาตอระดับปริญญาโทในตางประเทศในระยะเวลาที่กะทันหันที่ประเทศ อังกฤษ จึงเปนจุดที่ทำใหชีวิตเปลี่ยน หลังจากกลับมาจากประเทศอังกฤษไดไปใชทุนที่กระทรวงศึกษาธิการ เมื่อไดไปใชทุนครบแลว ก็ไดมาสอบเปนผูพิพากษาตามที่ไดตั้งใจไว นายอุกฤษณ มากมี: เริ่มตนเมื่อเรียนที่โรงเรียนไดเห็นวาภาษาอังกฤษเปนเรื่องสำคัญ ไมวา จะเปน skill ดานการฟง การพูด การอาน และการเขียน เมื่อเรียนจบเนติบัณฑิต 2 ป จึงเดินทางไป ศึกษาตอที่ตางประเทศ โดยที่แรกไดเรียนที่มหาวิทยาลัย Dundee ประเทศ Scotland เมื่อกลับมาแลว ก็เก็บตั๋วทนายแลวสมัครเขาทำงานที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรเปนนักวิเทศสัมพันธกับนักวิชาการ ทั้ง 2 ตำแหนง เก็บประสบการณ จึงเห็นอาจารยในมหาวิทยาลัยใชภาษาอังกฤษเยอะมาก มีการ จัดสัมมนา Conference ตาง ๆ บอยมาก ภาษาอังกฤษที่ไดเรียนมาจึงไดใชประโยชน หลังจากนั้นก็เริ่ม สอบคัดเลือกเปนผูพิพากษาและอัยการ ไดพรอมกัน 2 สนาม ในระยะเวลาใกล ๆ กัน ซึ่งเปนอาชีพ ที่ใฝฝนทั้งคู แตก็เลือกอาชีพอัยการที่คิดวาเหมาะสมกับตัวเอง นางสาวศรินทร เลืองวัฒนะวณิช : กอนที่จะมาไดถึงวันนี้ ภาษาอังกฤษเปนวิชาที่ออนที่สุด ก็เลยจะตองฝกโดยการที่ทองคำศัพทเวลาเดินทาง ขึ้นรถเมล ขึ้นรถไฟฟา แตเราก็มองวาภาษาอังกฤษ เปนสิ่งที่อยากจะพัฒนามาตลอด จึงเลือกไปเรียนที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ จึงเปนจุดเริ่มตนของการที่ได เริ่มใชภาษาอังกฤษ ตอมาจึงไดศึกษาตอในหลักสูตร European Master in Law ซึ่งเปนหลักสูตรที่ตอง เรียน 3 ประเทศ ในเวลา 9 เดือน โดยเรียนที่ประเทศอิตาลี ประเทศเบลเยี่ยม และประเทศเนเธอรแลนด ผศ. ดร.นิสิต อินทมาโน : ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเปนคนที่เรียนภาษาอังกฤษไมเกง ได เกรดต่ำ คิดวาไมชอบภาษาอังกฤษ พยายามหลีกเลี่ยงมาตลอด เมื่อตองศึกษาตอในระดับปริญญาตรี ได ตัดสินใจที่จะเรียนนิติศาสตรเพราะมีวิชาภาษาอังกฤษนอยที่สุด ตอมาชวงหนึ่งที่เกิดวิกฤตตอนป 2540 ตองหาเงินสงตัวเองเพื่อเรียนตอ ประกอบกับโอกาสที่เพื่อนบานขอใหสอนวิชาภาษาอังกฤษใหกับเด็ก


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 86 และไดรับคาจาง ผลการสอนสามารถทำใหเด็กคนนั้นสอบวิชาภาษาอังกฤษไดเกรดที่ดี จึงเปนจุดเริ่มตน ของการเปนติวเตอรสอนภาษาอังกฤษ โดยใชวิธีการอานหนังสือแบบเรียนนิติศาสตร ตอมาไดทุนศึกษา ตอในระดับปริญญาโทและปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัย Wisconsin-Madison ประเทศสหรัฐอเมริกา ทำใหมีแรงผลักดันในการเปนอาจารยสอนหนังสือ ตอมาวิทยากรไดกลาวถึงความสำคัญของภาษาอังกฤษที่มีตอผูปฏิบัติงานดานกฎหมายใน กระบวนการยุติธรรม ดังนี้ นางสาวศรินทร เลืองวัฒนะวณิช : งานทนายความวา เปนการใหบริการทางกฎหมายแก ประชาชน เนื่องจากโลกในยุคปจจุบันเปนโลกไรพรมแดน ดังนั้น การบริการทางกฎหมายจึงเพิ่มขึ้นตาม สภาพสังคมที่เปลี่ยนไป โดยมีการใชภาษาอังกฤษตั้งแตชาวตางชาติเขามาเริ่มตนทำธุรกิจโดยการให คำแนะนำทางกฎหมาย การใหคำปรึกษาในการจัดตั้งธุรกิจ การทำสัญญา ไปจนถึงเรื่องของคดีความใน ศาล การเปนทนายความที่สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษไดเปนอยางดี จะทำใหสามารถ รับลูกความไดเบ็ดเสร็จ รอบดาน ทำใหลูกความรูสึกสบายใจที่สามารถสื่อสารกับทนายความไดอยาง เต็มที่ สำหรับในบริบทของสภาทนายความ ปจจุบันเปดใหมีการอบรมในสำนักฝกอบรมวิชาวาความ เปน การอบรมวิชาภาษาอังกฤษและมีขอสอบภาษาอังกฤษในสวนของภาคทฤษฎีดวย นอกจากนี้ ยังมีการ ผลักดันในเรื่องของลาม เนื่องจากระบบการดำเนินคดีในศาลในปจจุบันทนายความไมสามารถถามเปน ภาษาอังกฤษดวยตนเองได ตองถามผานลาม ดังนั้นเมื่อมีพยานเปนชาวตางชาติ หลีกเลี่ยงไมไดที่ ทนายความตองใชบริการลาม ซึ่งรูปแบบการใชภาษาของทนายความในประเทศไทย มีรูปประโยคที่มี ความซับซอน ประกอบกับตองสื่อสารผานลาม สภาทนายความจึงเห็นความสำคัญโดยการเขามาชวย ศาลในการพัฒนาศักยภาพของลามที่สามารถเขาใจความตองการของทนายความ เพื่อความถูกตอง แมนยำในการแปลมากยิ่งขึ้น นายอุกฤษณ มากมี: การทำงานของกองอนุญาโตตุลาการเปนการระงับขอพิพาททางเลือก อยางหนึ่งนอกจากศาล ซึ่งเปนคดีทางแพงและทางปกครองเปนสวนใหญ รวมถึงเรื่องของการสัมปทาน ปจจุบันมีคดีที่มีทุนทรัพยสูงมากขึ้น ตัวอยางสำนวนที่ตนเองรับผิดชอบปจจุบันอยูที่มูลคารวมประมาณ 1,000 ลานบาท นอกจากนี้ ยังมีในสวนของสัญญาในคดีพิพาทที่เปนภาษาอังกฤษทั้งหมด กลาวคือ เปน โครงการ Megaproject ซึ่งรัฐเปนคูสัญญากับตางชาติ เชน การกอสรางเขื่อน การกอสรางสถานีสูบน้ำ การกอสรางโรงงานนิวเคลียร หรือการกอสรางทางดวน เปนตน ก็จะเขาสูงานอนุญาโตตุลาการ หากมีขอ สัญญาระบุไววาใหระงับขอพิพาททางเลือกโดยผานอนุญาโตตุลาการ โดยตองพิจารณาขอสัญญาหรือ การตอบเอกสารขอพิพาทที่เปนภาษาอังกฤษ ซึ่งหากไมเขาใจถึงรายละเอียดขอสัญญาวามีชองโหวใน การสูคดีอยางไร การวาความก็อาจเกิดปญหาได นอกจากนี้ ยังมีในสวนของกรณีที่อัยการเขาไปเกี่ยวของ ในขั้นตอนกอนมีคดีพิพาท เชน การเปนอนุกรรมการ การเปนที่ปรึกษาใหกับหนวยงานของรัฐในกรณี ที่มีสัญญาเปนภาษาอังกฤษ เชน การขึ้นคาทางดวนแตละครั้งตองมีการปรึกษากับทางอัยการกอน โดย


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 87 ปจจุบันสำนักงานอัยการสูงสุดเห็นถึงความสำคัญของภาษาอังกฤษมากขึ้น เนื่องจากโลกในยุคไร พรมแดนทำใหอัยการตองตอสูคดีกับบริษัทที่ปรึกษาทางกฎหมายขนาดใหญมากขึ้น ดังนั้นจึงมีการ พัฒนาศักยภาพทางดานภาษาโดยมีทุนสงเสริมใหอัยการที่ตองการเรียนรูภาษาอังกฤษไดไปศึกษาตอยัง ตางประเทศ รวมถึงสงเสริมการเขารวมประชุมสัมมนาระหวางประเทศดวย นางสาววรัญญา ตรงพิสุทธิ์ศักดิ์: ในการปฏิบัติหนาที่ผูพิพากษา แมจะมีการกำหนดใหการ ดำเนินกระบวนพิจารณาคดีในศาล กรณีวิธีพิจารณาความอาญา ตองดำเนินการเปนภาษาไทย โดย ดำเนินกระบวนพิจารณาผานลาม เนื่องจากตองการใหคูความทุกฝายมั่นใจและเขาใจไปพรอมกัน แตใน ความเปนจริงผูพิพากษาไมสามารถหลีกเลี่ยงการมีคูความที่เปนชาวตางชาติได ซึ่งจากประสบการณใน คดีที่รับผิดชอบ กรณีคดีที่มีคูความที่เปนชาวจีน ซึ่งศาลไดจัดลามภาษาจีนให แตคูความชาวจีนเลือกที่ จะตอบคำถามเปนภาษาอังกฤษเพื่อสื่อสารกับผูพิพากษาโดยตรง เนื่องจากไมตองการสื่อสารผานลาม เพื่อใหมั่นใจไดวาการสื่อสารนั้นไมผิดพลาด เชนเดียวกับมุมมองของความยุติธรรม หากผูพิพากษา สื่อสารกับคูความไมเขาใจ ก็ยากที่จะทำใหคูความวางใจไดวาผูพิพากษาสามารถใหความเปนธรรมกับ ตนเองได นอกจากนี้ ในการทำคดีมักพบปญหาในการแปลคดีผานลาม เนื่องจากการเปลี่ยนถอยคำเพียง เล็กนอยอาจทำใหคูความรูสึกวาไมตรงกับสิ่งที่ตองการสื่อสาร ซึ่งแมจะเปนรายละเอียดเพียงเล็กนอย แตเมื่อเกิดปญหาขึ้น ผูพิพากษามีหนาที่ในการดำเนินกระบวนพิจารณาใหทุกฝายรูสึกวาไดรับความเปนธรรม ผูพิพากษาจึงตองจับประเด็นในการแปลใหถูกตองตรงกับขอเท็จจริงมากที่สุดเพื่อทำการชี้ขาด หรือใน คดีบางประเภท เชน คดีที่ตองใชความรูเฉพาะดาน ไดแก คดีทางการแพทย หรือคดีทางดานวิศวกรรม ซึ่งตองมีการแปลศัพทเฉพาะจำนวนมาก โดยตองคำนึงถึงการรักษารูปศัพทภาษาอังกฤษ และการแปลเปนภาษาไทยควบคูกัน ซึ่งหากผูพิพากษาไมมีความรูพื้นฐานทางดานภาษาอังกฤษ การทำ คดีลักษณะดังกลาวจะคอนขางยาก ดังนั้นจึงเปนการยากที่จะหลีกเลี่ยงการใชภาษาอังกฤษ ไมวาจาก คูความ การดำเนินกระบวนพิจารณา หรือจากเนื้อหาของคดี รวมไปถึงศาลชำนัญพิเศษ เชน ศาลทรัพยสิน ทางปญญาและการคาระหวางประเทศ ที่ตองทำงานเกี่ยวของกับคดีที่มีเนื้อหาเปนภาษาอังกฤษมากขึ้น เชน เนื้อหาสัญญาตาง ๆ นอกจากนี้ ในสวนของกอนการเขามาเปนผูพิพากษา ภาษาอังกฤษก็มี ความสำคัญอยางมาก โดยทั้งการฝกอบรมวิชาวาความ การสอบเนติบัณฑิต หรือการสอบเปนอัยการ หรือผูพิพากษาในทุกสนาม ก็มีคะแนนภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะสนามเล็กและสนามจิ๋ว ทั้งนี้ คนที่สอบ สนามใหญควรใหความสำคัญกับคะแนนในสวนของภาษาอังกฤษมากขึ้นดวย เนื่องจากอาจเปนคะแนนที่ เพิ่มจากคะแนนในสวนของกฎหมายที่ทำใหสามารถสอบผานได นอกจากความสำคัญในการสอบและ การเรียนแลว ยังมีสวนสำคัญในการเพิ่มโอกาสการสอบทุนการศึกษาในการไปศึกษาตอตางประเทศ ดังนั้น ภาษาอังกฤษจึงเปนคุณสมบัติอยางหนึ่งที่จะเปดโอกาสใหกับตนเองในตลอดเสนทางวิชาชีพของ นักกฎหมาย


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 88 ผศ. ดร.นิสิต อินทมาโน : ในสวนของการเปนอาจารยในหลักสูตรทางดานกฎหมายไดมีการ จัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษที่เกี่ยวของกับกฎหมายในมหาวิทยาลัย ซึ่งหลายครั้งไดมีการเปดสอน โดยไมมีคาใชจาย เนื่องจากเห็นวาเปนการใหโอกาสทางการศึกษาและมีความจำเปนตองนำไปใชในการ สอบคัดเลือกเปนทั้งผูพิพากษาและอัยการ โดยในสวนของการเปนอาจารยหลีกเลี่ยงไมไดที่ตองใชความรู ทางดานภาษาอังกฤษ เนื่องจากตองมีการศึกษา คนควาความรูใหม ๆ อยูตลอดเวลา เชน การศึกษา ความรูเกี่ยวกับกฎหมายตางประเทศ การเขียนบทความทางวิชาการ หรือการเปนที่ปรึกษาวิทยานิพนธ รวมถึงการที่ไดมีโอกาสทำงานรวมกับหนวยงานในกระบวนการยุติธรรม หรือเปนที่ปรึกษาใหกับ หนวยงานตาง ๆ เชน ที่ปรึกษากรรมาธิการกิจการผูแทนราษฎร ซึ่งไดนำความรูความสามารถทางดาน กฎหมายและความรูในเรื่องของภาษาอังกฤษเขามาชวยในการทำงานดังกลาวเปนอยางมาก ดังนั้น การมี ความรูความสามารถดานภาษาอังกฤษ ไมวาจะเปนความสามารถในการสืบคน การใช หรือการสื่อสาร จึงทำใหผูปฏิบัติงานดานกฎหมายสามารถชวยเหลือประเทศไดในอีกหลายมิติ ในการอภิปรายชวงตอไป วิทยากรแตละทานไดกลาวถึงแนวทางในการพัฒนาทักษะ ภาษาอังกฤษทางดานกฎหมายที่สามารถนำไปปรับใชกับการทำงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ดังนี้ นางสาวศรินทร เลืองวัฒนะวณิช : มีวิธีการคือ เริ่มตนจากรวบรวมศัพทภาษาอังกฤษเปนคลัง คำศัพทโดยมีทั้งคำศัพททั่วไปและคำศัพทที่เปนวิชาการ ดูเรื่องไวยากรณ (grammar) คำศัพท ภาษาอังกฤษ การเลือกใชคำศัพทที่คลายกัน จะคนควาวามีคำเหมือน (synonym) กับคำนี้มีอะไรบาง แตละคำมีการยกตัวอยางใหดูในรูปประโยคเพื่อดูวาควรใชคำใดใหเหมาะสมกับบริบท จากนั้นก็เริ่มดู ภาพยนตร มีความกลาที่จะฝกใชภาษาอังกฤษ เปน on-the-job training ดวยเนื่องจากไปศึกษาตอ ที่ตางประเทศ ดังนั้น จะพาตัวเองไปอยูในสภาพแวดลอมที่เปนภาษาอังกฤษโดยอยูในกลุมที่มีเพื่อน ตางชาติเพื่อใชเวลากับกลุมเพื่อนตางชาติ เชน ไปเที่ยว หรือการทำงานกลุมที่ตองพยายามพาตัวเองให เพื่อนรับเขากลุมทำงานดวย นายอุกฤษณ มากมี: เริ่มตนจากการฟง (listening) ฝกจากสิ่งที่เราชอบ เชน ชอบเรื่องอาหาร เครื่องสำอาง ซึ่งปกติสินคาเหลานี้จะมีการลงขอความเปนทั้งภาษไทยและภาษาอังกฤษ เริ่มจากอาน ขอความภาษาไทยกอนแลวเทียบกับภาษาอังกฤษ เมื่อเปนสิ่งที่เราสนใจ ความเขาใจ ความอยากรูก็จะ เกิดขึ้น เคยมีงานวิจัยวาถารูคำศัพทจำนวน 1,200 คำ ก็จะรู เขาใจ และมีความมั่นใจมากขึ้น และ บทเรียนคือการเรียนรูจากขอผิดพลาด การไปศึกษาตอตางประเทศที่ตองอยูหอพักกับตางชาติ จะได เพื่อน ดังนั้น จึงเรียนใหสนุกและตองใจกลา นางสาววรัญญา ตรงพิสุทธิ์ศักดิ์: ตองมีความเขาใจกอนวา ภาษาคือเครื่องมือสื่อสาร ไมใชเปน การทอง จำ จะตองหาแรงบันดาลใจกอนวามีเปาหมายอะไร จะเริ่มตนจากกการฝก grammar กอน จากนั้นก็จะนำเอาภาษาอังกฤษมาอยูในชีวิตประจำวัน กิจกรรมอะไรที่ตัวเราชอบพยายามเริ่มตนจากสิ่ง นั้น เชน ชอบดูการตูน ฝกฟงที่เปนภาษาอังกฤษ หรือชอบดูกีฬาก็ฟงผูบรรยายกีฬาของตางประเทศเปน


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 89 ภาษาอังกฤษ เพราะเราจะมีสวนรวมการแสดงความคิดเห็นลงในสื่อออนไลนไปดวย เปนการฝกทั้งฟง ทั้งเขียน และที่สำคัญตองนำเอาภาษาอังกฤษไปใชในชีวิตจริงก็จะทำใหเขาใจภาษาอังกฤษไดดีขึ้น เชน ไปรวมกิจกรรมที่มีภาษาอังกฤษ การประชุมดานกฎหมาย การแขงขันทดสอบความรู ผศ. ดร.นิสิต อินทมาโน : เทคนิคคือจะใชแนวทางตามพุทธศาสนา นั่นคือ อิทธิบาท 4 ประกอบดวย ฉันทะ คือความรักในภาษาอังกฤษ วามีพอหรือไม วิริยะ คือความกลา ความพากเพียรที่ จะเรียนรู จิตตะ คือ มีสมาธิกับการเรียนรูภาษาอังกฤษ และวิมังสา คือ การตรวจ การทบทวนสิ่งที่ไดคิด ไดทำมา ถามีครบก็จะประสบความสำเร็จ ในชวงสุดทายแตละทานไดตอบคำถามเรื่อง หากผูที่ไมมีโอกาสเดินทางไปศึกษาตอหรือไดรับทุน ศึกษาตอในตางประเทศ จะสามารถสรางบรรยากาศการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษได อยางไร โดยเฉพาะในระดับการใชภาษาเพื่อการทำงานดานกฎหมาย และมีแหลงการเรียนรูแนะนำ อยางไร นายอุกฤษณ มากมี: เริ่มจาการหาแอปพลิเคชันตาง ๆ ที่ชวยในการฝกภาษาและการออกไป พบปะกับคนตางชาติ นางสาวศรินทร เลืองวัฒนะวณิช : ไดกลาววาพยายามพาตัวเองเขาไปอยูในพื้นที่ที่มี ชาวตางชาติ มีชุมชนชาวตางชาติมาทำกิจกรรม เชน โบสถ รานอาหาร เปนตน นางสาววรัญญา ตรงพิสุทธิ์ศักดิ์: ก็พยายามเขาหาพื้นที่ที่มีคนตางชาติ เชน เวลาไปศึกษาตอ ตางประเทศก็จะมีงานเลี้ยงสังสรรค การแขงขันกิจกรรมทางดานกฎหมายที่เปนการใชภาษาอังกฤษ เชน ศาลจำลอง มีการจำลองการพิจารณาของศาลโดยใชภาษาอังกฤษสื่อสาร หรือการไปประชุมวิชาการ ตางประเทศระดับนานาชาติ


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 90


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 91 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนานักวิจัยของศาลยุติธรรม: นักวิจัยตนแบบสูการพัฒนางานวิจัยศาลยุติธรรม (ภายใตโครงการบริหารจัดการองคความรูเพื่อการพัฒนาศาลยุติธรรม) หลักการและเหตุผล งานวิจัยเปนองคความรูทางวิชาการดานหนึ่งที่เปนประโยชนตอหนวยงานศาลยุติธรรม ชวยใหเขาใจปญหาและคนหาแนวทางแกไขปญหาใหตรงกับประเด็นปญหาสำหรับศาลยุติธรรม ซึ่งเปน หนวยงานในกระบวนการยุติธรรม ในปจจุบันปญหาตาง ๆ ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง มีความ ยุงยากซับซอนมากยิ่งขึ้นตามสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป จึงจำเปนตองมีองคความรูที่ถูกตอง และเหมาะสมที่จะนำไปใชแกไขปญหาดังกลาว การนำผลที่ไดจากงานวิจัยมาพัฒนาและสรางสรรคงาน ใหมๆ จะนำไปสูการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ดวยความสำคัญของงานวิจัยที่มีตอศาลยุติธรรม ปจจัยที่สำคัญอยางยิ่งตอการขับเคลื่อนการวิจัย คือ นักวิจัยของศาลยุติธรรม โดยที่งานวิจัยเปนงานที่สามารถทำไดทุกคน ไมวาจะเปนขาราชการตุลาการ ขาราชการศาลยุติธรรม พนักงานราชการและลูกจางในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรม จึงมีความจำเปนที่ จะตองเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถของผูที่ปฏิบัติงานดานการวิจัย ซึ่งตองมีความรูเกี่ยวกับ กระบวนการวิจัยขั้นพื้นฐาน ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ตั้งแตเริ่มตนจนสิ้นสุดกระบวนการวิจัย ดังนั้น สำนักงานศาลยุติธรรม โดยสถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ไดตระหนักถึงความสำคัญของปญหา ดังกลาว จึงเห็นสมควรจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การพัฒนานักวิจัยของศาลยุติธรรม : นักวิจัยตนแบบสูการพัฒนางานวิจัยศาลยุติธรรม” ขึ้น ซึ่งในการจัดอบรมครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อเปน การเสริมสรางความรู ความเขาใจในเทคนิค วิธีการและกระบวนการจัดทำงานวิจัย เพื่อนำไปใช ประโยชนในการพัฒนาระบบงานของศาลยุติธรรม ทั้งยังเปนการเพิ่มพูนความรูและพัฒนาศักยภาพ บุคลากรใหเปนนักวิจัยของศาลยุติธรรมที่มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น วัตถุประสงค 1. เพื่อฝกทักษะดานความคิด วิเคราะหขอมูล และพัฒนาความคิดอยางเปนระบบ 2. การเสริมสรางความรู ความเขาใจในเทคนิค วิธีการและกระบวนการจัดทำงานวิจัย 3. เพื่อสงเสริมและพัฒนาขีดความสามารถในการจัดทำงานวิจัยใหกับนักวิจัยศาลยุติธรรม เปาหมายการดำเนินงาน ขาราชการศาลยุติธรรม พนักงานราชการและลูกจางในสังกัดสถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ วิทยากร ผูสังเกตการณ และเจาหนาที่จัดอบรม จำนวน 40 คน


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 92 ระยะเวลาในการดำเนินงาน ระหวางวันที่ 17 - 18 ธันวาคม 2565 ผลการดำเนินงาน 1. การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การพัฒนานักวิจัยของศาลยุติธรรม: นักวิจัยตนแบบสูการ พัฒนางานวิจัยศาลยุติธรรม” ระหวางวันที่ 17 - 18 ธันวาคม 2565 ณ โรงแรมเวลคัม เวิลด บีช รีสอรท แอนด สปา จังหวัดชลบุรี โดยมีผูเขารวมการอบรม จำนวน 40 คน 2. งบประมาณที่ไดรับอนุมัติเพื่อเบิกจายคาใชจายในการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการฯ จำนวนเงิน 146,600 บาท (หนึ่งแสนสี่หมื่นหกพันหกรอยบาทถวน) สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ดำเนินการเบิกคาใชจายทั้งสิ้น 143,119.50 บาท (หนึ่งแสนสี่หมื่นสามพันหนึ่งรอยสิบเกาบาทหาสิบ สตางค) คิดเปนรอยละ 97.63 ซึ่งไมเกินวงเงินงบประมาณที่ไดรับอนุมัติ 3. การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการฯ แบงเปน 2 รูปแบบ ไดแก 3.1 การอภิปราย หัวขอเกี่ยวกับการจัดทำงานวิจัย การเขียนโครงการวิจัย การออกแบบ สำรวจเพื่อใชในการวิจัย วิธีการเก็บขอมูลเพื่อใชในการวิจัย การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพ เทคนิคการทำงานวิจัย รวมถึงการตีพิมพเผยแพรงานวิจัยทั้งระดับชาติและนานาชาติ โดย วิทยากร จำนวน 3 คน ไดแก ผูชวยศาสตราจารย ดร.นิสิต อินทมาโน รองศาสตราจารย ดร.สุบิน ยุระรัช และวาที่รอยตรีไกรวิทย เศรษฐธรรม 3.2 การแบงกลุมฝกปฏิบัติ จำนวน 3 กลุม โดยกำหนดหัวขอเปนโครงการวิจัยที่สถาบันวิจัย และพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ดำเนินการในปงบประมาณ พ.ศ. 2566 เพื่อใหเกิดประโยชนในการพัฒนา ตอยอดงานวิจัยที่ดำเนินการอยูใหแลวเสร็จ ผลงานวิจัยมีคุณภาพเพิ่มขึ้น และนำไปใชประโยชนใน การพัฒนาระบบงานของศาลยุติธรรมไดอยางมีประสิทธิภาพ 4. การประเมินการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการฯ โดยผูเขารับการอบรม จำนวน 29 คน คะแนนเต็ม 5 คะแนน ผลการประเมิน 4.67 คะแนน คิดเปนรอยละ 93.50 อยูในเกณฑระดับมากที่สุด 5. ขอเสนอแนะจากการอบรมเชิงปฏิบัติการฯ 5.1 บุคลากรควรมีองคความรูดานระเบียบวิธีวิจัยที่ถูกตองเพื่อพัฒนางานวิจัยของ ศาลยุติธรรมใหสามารถนำผลงานวิจัยในการพัฒนาระบบงานของศาลยุติธรรมใหเกิดประโยชนสูงสุด ตอหนวยงานศาลยุติธรรม 5.2 ควรมีการเผยแพรองคความรูดานการวิจัยไปยังบุคลากรของศาลยุติธรรม และเพิ่มชอง ทางการประชาสัมพันธผลงานวิจัยไปสูหนวยงานภายนอก


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 93 ประโยชนที่ไดรับจากการดำเนินงาน 1. ผูเขารับการอบรมมีทักษะดานความคิด วิเคราะหและพัฒนาความคิดอยางเปนระบบ 2. ผูเขารับการอบรมไดรับความรู ความเขาใจในเทคนิคและกระบวนการจัดทำงานวิจัยอยาง ถูกตอง 3. ศาลยุติธรรมและสำนักงานศาลยุติธรรมมีนักวิจัยที่มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น รูปภาพกิจกรรม


Click to View FlipBook Version