The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by iprd.pic, 2023-11-20 02:41:53

รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 94


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 95


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 96 โครงการ พัฒนาระบบการใหคำปรึกษาดานจิตสังคม ในคดียาเสพติดและคดีอื่นที่เกี่ยวของในระบบศาล ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 หลักการและเหตุผล ดวยรัฐบาลกำหนดใหปญหายาเสพติดเปนวาระแหงชาติ โดยยึดหลักนิติธรรมในการปราบปราม ลงโทษผูผลิต ผูคา และยึดหลักผูเสพ คือ ผูปวย ที่ตองไดรับการบำบัดรักษาใหกลับมาเปนคนดีของสังคม ซึ่งมุงเนนการบูรณาการการทำงานของทุกภาคสวนเพื่อลดระดับของปญหายาเสพติดโดยเร็ว อีกทั้ง ในปจจุบันรัฐบาลประกาศนโยบายเบี่ยงเบนโทษจำคุกและสรางมาตรการทางเลือกแทนการลงโทษจำคุก เพื่อบรรเทาสถานการณคนลนคุก ซึ่งปจจุบันนักโทษในเรือนจำ/ทัณฑสถานกวารอยละ 70 ลวนเปน ผูกระทำความผิดในคดียาเสพติด การใหคำปรึกษาดานจิตสังคมในระบบศาลเปนมาตรการคุมครองสิทธิผูตองหาหรือจำเลย ที่ไดรับการปลอยชั่วคราวหรือไดรับโอกาสรอการกำหนดโทษหรือรอการลงโทษในคดียาเสพติดหรือ คดีอาญาที่ไมรายแรงใหมีโอกาสในการเขารับคำปรึกษาดานจิตสังคมจากผูใหคำปรึกษา เพื่อแกไข ฟนฟู ผูตองหาหรือจำเลยใหปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ไมหลบหนีในระหวางปลอยตัวชั่วคราวและปองกัน มิใหหวนกลับไปกระทำความผิดซ้ำ และชวยเยียวยาผูเสียหายหรือบุคคลอื่นที่จำเปนตองไดรับคำปรึกษา ดานจิตสังคม วัตถุประสงค 1. เพื่อสรางกลไกการใหคำปรึกษาดานจิตสังคมแกผูตองหาหรือจำเลยผานคลินิก ใหคำปรึกษาดานจิตสังคมในระบบศาล สรางระบบเครือขายและการสงตอผูมีปญหาทางสังคม และจิตเวช รวมทั้งสงเสริม ประสานงานดานการสงเคราะหกับหนวยงานที่เหมาะสม เพื่อแกไข ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสนับสนุน ผูตองหาหรือจำเลยในคดีความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดและคดี ที่ไมรายแรง 2. เพื่อใหผูตองหาหรือจำเลย ซึ่งสวนใหญเปนผูดอยโอกาสสามารถอยูกับครอบครัวและชุมชนได อยางปกติสุข ไมหวนกลับไปกระทำผิดซ้ำ รวมถึงดำเนินการอื่นใดตามที่ศาลกำหนดทั้งกอนและหลัง จากที่ศาลพิพากษา 3. เพื่อใหผูเสียหายหรือบุคคลอื่นมีโอกาสไดเขารับคำปรึกษาดานจิตสังคมตามที่ศาลเห็นสมควร เปาหมายการดำเนินงาน 1) ผูตองหาหรือจำเลย ในคดีความผิดตามประมวลกฎหมายยาเสพติด และคดีอื่นที่ไมรายแรง ที่ศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่ง ใหเขาสูกระบวนการคลินิกใหคำปรึกษาดานจิตสังคมในระบบศาล รวมถึง ผูเสียหายหรือบุคคลอื่นที่สมัครใจเขารับคำปรึกษา มีจำนวนภาพรวม 163 ศาล ไมนอยกวา 27,165 คน


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 97 2) ผูตองหาหรือจำเลยมีการกระทำความผิดซ้ำลดลง หรือการกระทำความผิดซ้ำเปนศูนย ระยะเวลาดำเนินงาน ภายในปงบประมาณ พ.ศ. 2566 (เดือนตุลาคม 2565 ถึงเดือนกันยายน 2566) ประโยชนที่ไดรับจากการดำเนินงาน ผูตองหาหรือจำเลย ผูเสียหายและบุคคลอื่นที่มีความจำเปนตองไดรับคำปรึกษาดานจิตสังคม ไดรับการดูแลจากการใหคำปรึกษาทั้งทางดานจิตใจ สุขภาพ อาชีพ และครอบครัว ตลอดทั้งชุมชน ตองไดรับความปลอดภัยจากการกลับไปสูชุมชนของผูรับคำปรึกษา รวมทั้งกรณีที่ผูพิพากษาหัวหนาศาล ผูพิพากษาประจำคลินิก หรือผูพิพากษาเจาของสำนวนพิจารณาเห็นสมควรใหสิ้นสุดการใหคำปรึกษา โดยการบูรณาการ พัฒนาการดำเนินงานของคลินิกใหคำปรึกษาดานจิตสังคมใหมีขั้นตอนวิธีการปฏิบัติ ที่ชัดเจนเปนรูปธรรม เพื่อใหเกิดประโยชนแกการบำบัด แกไข ฟนฟู ผูกระทำผิดในคดียาเสพติด หรือในคดีอื่น ผลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงานคลินิกใหคำปรึกษาดานจิตสังคมไปยังศาลชั้นตนทั่วประเทศรวมจำนวน 163 ศาล โดยเปนศาลที่ดำเนินงานภายใตบันทึกขอตกลงวาดวยความรวมมือ (MOU) เพื่อการดำเนินงาน ใหคำปรึกษาดานจิตสังคมแกผูตองหาหรือจำเลยคดียาเสพติดในระบบศาล (ฉบับที่ 4) ดังนี้ ในปงบประมาณ พ.ศ. 2566 มีศาลที่เขารวมโครงการ 163 ศาล โดยมีปริมาณคดีที่เขาสู กระบวนการใหคำปรึกษา 40,985 คดี ผูเขารับคำปรึกษา 46,333 คน และผูกระทำความผิดซ้ำ 528 คน ดังตาราง ศาลที่เขารวมโครงการ ปริมาณคดีที่เขา สูกระบวนการให คำปรึกษา (คดี) จำนวนผูเขา รับคำปรึกษา (คน) จำนวน ผูกระทำ ความผิด ซ้ำ (คน) สำนักศาลยุติธรรมประจำภาค 1 (จำนวน 32 ศาล) 1. ศาลจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 438 979 8 2. ศาลจังหวัดนนทบุรี 243 225 2 3. ศาลจังหวัดปทุมธานี 289 350 1 4. ศาลจังหวัดธัญบุรี 213 231 0 5. ศาลจังหวัดสระบุรี 229 230 2 6. ศาลจังหวัดลพบุรี 1,266 1,531 24 7. ศาลจังหวัดชัยบาดาล 260 299 26


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 98 ศาลที่เขารวมโครงการ ปริมาณคดีที่เขา สูกระบวนการให คำปรึกษา (คดี) จำนวนผูเขา รับคำปรึกษา (คน) จำนวน ผูกระทำ ความผิด ซ้ำ (คน) 8. ศาลจังหวัดชัยนาท 1,342 1,373 50 9. ศาลจังหวัดสิงหบุรี 311 344 23 10. ศาลจังหวัดอางทอง 489 460 13 11. ศาลจังหวัดสมุทรปราการ 97 132 0 12. ศาลแขวงดอนเมือง 538 554 14 13. ศาลแขวงดุสิต 227 239 4 14. ศาลแขวงธนบุรี 1,878 2,019 39 15. ศาลแขวงปทุมวัน 73 175 1 16. ศาลแขวงพระนครเหนือ 939 1,453 0 17. ศาลแขวงพระนครใต 98 94 5 18. ศาลแขวงบางบอน 752 740 5 19. ศาลแขวงพระนครศรีอยุธยา 576 597 5 20. ศาลแขวงนนทบุรี 580 687 12 21. ศาลแขวงสระบุรี 704 701 3 22. ศาลแขวงลพบุรี 667 1,212 19 23. ศาลแขวงสมุทรปราการ 728 776 10 24. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนนทบุรี 163 182 12 25. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดปทุมธานี 212 323 2 26. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดสมุทรปราการ 213 273 8 27. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 243 237 0 28. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดสระบุรี 82 81 0 29. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดลพบุรี 63 88 0 30. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดชัยนาท 21 51 0 31. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดสิงหบุรี 67 90 0 32. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดอางทอง 31 40 0 รวม 14,032 16,766 288 สำนักศาลยุติธรรมประจำภาค 2 (จำนวน 12 ศาล) 33. ศาลจังหวัดชลบุรี 67 67 0


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 99 ศาลที่เขารวมโครงการ ปริมาณคดีที่เขา สูกระบวนการให คำปรึกษา (คดี) จำนวนผูเขา รับคำปรึกษา (คน) จำนวน ผูกระทำ ความผิด ซ้ำ (คน) 34. ศาลจังหวัดพัทยา 190 190 0 35. ศาลจังหวัดตราด 47 47 1 36. ศาลจังหวัดสระแกว 15 24 0 37. ศาลแขวงชลบุรี 593 593 15 38. ศาลแขวงพัทยา 425 425 0 39. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดจันทบุรี 0 0 1 40. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดฉะเชิงเทรา 1,165 1,167 27 41. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดชลบุรี 78 80 1 42. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดตราด 54 53 0 43. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดระยอง 71 77 0 44. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดสระแกว 455 455 0 รวม 3,160 3,178 45 สำนักศาลยุติธรรมประจำภาค 3 (จำนวน 18 ศาล) 45. ศาลจังหวัดชัยภูมิ 17 26 0 46. ศาลจังหวัดนครราชสีมา 83 85 0 47. ศาลจังหวัดสีคิ้ว 93 105 0 48. ศาลจังหวัดพิมาย 63 199 3 49. ศาลจังหวัดบุรีรัมย 102 104 0 50. ศาลจังหวัดนางรอง 184 163 2 51. ศาลจังหวัดกันทรลักษ 0 15 0 52. ศาลจังหวัดสุรินทร 84 73 0 53. ศาลจังหวัดรัตนบุรี 18 69 0 54. ศาลแขวงนครราชสีมา 487 453 2 55. ศาลแขวงสุรินทร 203 210 8 56. ศาลแขวงอุบลราชธานี 99 114 0 57. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนครราชสีมา 304 292 0


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 100 ศาลที่เขารวมโครงการ ปริมาณคดีที่เขา สูกระบวนการให คำปรึกษา (คดี) จำนวนผูเขา รับคำปรึกษา (คน) จำนวน ผูกระทำ ความผิด ซ้ำ (คน) 58. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดยโสธร 77 81 1 59. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดศรีสะเกษ 76 74 2 60. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดสุรินทร 140 165 0 61. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดอำนาจเจริญ 144 153 0 62. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดอุบลราชธานี 169 132 0 รวม 2,343 2,513 18 สำนักศาลยุติธรรมประจำภาค 4 (จำนวน 18 ศาล) 63. ศาลจังหวัดกาฬสินธุ 71 71 0 64. ศาลจังหวัดขอนแกน 15 33 0 65. ศาลจังหวัดนครพนม 102 179 0 66. ศาลจังหวัดบึงกาฬ 164 228 0 67. ศาลจังหวัดเลย 109 111 0 68. ศาลจังหวัดสกลนคร 610 610 0 69. ศาลจังหวัดหนองคาย 865 949 8 70. ศาลจังหวัดหนองบัวลำภู 185 197 3 71. ศาลแขวงอุดรธานี 323 333 0 72. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดกาฬสินธุ 26 38 1 73. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดขอนแกน 99 439 2 74. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดบึงกาฬ 155 170 0 75. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดมุกดาหาร 87 87 0 76. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดเลย 173 190 0 77. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดสกลนคร 107 146 0 78. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดหนองคาย 83 119 0 79. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดหนองบัวลำภู 152 166 0 80. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดอุดรธานี 152 167 0 รวม 3,478 4,233 14 สำนักศาลยุติธรรมประจำภาค 5 (จำนวน 19 ศาล)


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 101 ศาลที่เขารวมโครงการ ปริมาณคดีที่เขา สูกระบวนการให คำปรึกษา (คดี) จำนวนผูเขา รับคำปรึกษา (คน) จำนวน ผูกระทำ ความผิด ซ้ำ (คน) 81. ศาลจังหวัดเชียงราย 8 9 0 82. ศาลจังหวัดเชียงใหม 447 475 2 83. ศาลจังหวัดฮอด 88 294 0 84. ศาลจังหวัดฝาง 461 494 2 85. ศาลจังหวัดนาน 15 24 0 86. ศาลจังหวัดพะเยา 76 76 4 87. ศาลจังหวัดเชียงคำ 0 0 0 88. ศาลจังหวัดแมฮองสอน 11 11 0 89. ศาลจังหวัดลำพูน 499 552 0 90. ศาลแขวงเชียงใหม 818 819 25 91. ศาลแขวงลำปาง 25 28 0 92. ศาลแขวงเวียงปาเปา 231 234 2 93. ศาลแขวงเชียงดาว 188 189 0 94. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดเชียงราย 25 27 0 95. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดเชียงใหม 326 382 3 96. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดพะเยา 33 79 0 97. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดแมฮองสอน 22 24 0 98. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดลำปาง 93 106 0 99. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดลำพูน 20 22 0 รวม 3,386 3,845 38 สำนักศาลยุติธรรมประจำภาค 6 (จำนวน 16 ศาล) 100. ศาลจังหวัดพิจิตร 54 226 2 101. ศาลจังหวัดพิษณุโลก 149 149 0 102. ศาลจังหวัดวิเชียรบุรี 564 599 31 103. ศาลจังหวัดสวรรคโลก 143 152 1 104. ศาลจังหวัดอุตรดิตถ 81 80 1 105. ศาลแขวงนครสวรรค 88 89 0


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 102 ศาลที่เขารวมโครงการ ปริมาณคดีที่เขา สูกระบวนการให คำปรึกษา (คดี) จำนวนผูเขา รับคำปรึกษา (คน) จำนวน ผูกระทำ ความผิด ซ้ำ (คน) 106. ศาลแขวงนครไทย 903 903 0 107. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดตาก 42 51 1 108. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนครสวรรค 145 148 3 109. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดพิจิตร 367 440 1 110. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดพิษณุโลก 131 137 6 111. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดเพชรบูรณ 384 382 14 112. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดสุโขทัย 137 144 0 113. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดอุตรดิตถ 66 84 0 114. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดอุทัยธานี 153 166 0 115. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดกำแพงเพชร 31 30 0 รวม 3,438 3,780 60 สำนักศาลยุติธรรมประจำภาค 7 (จำนวน 9 ศาล) 116. ศาลจังหวัดประจวบคีรีขันธ 269 276 0 117. ศาลจังหวัดราชบุรี 10 10 0 118. ศาลจังหวัดสุพรรณบุรี 56 65 1 119. ศาลแขวงสุพรรณบุรี 47 47 0 120. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดกาญจนบุรี 78 80 0 121. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนครปฐม 57 58 1 122. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดราชบุรี 30 40 0 123. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดสมุทรสาคร 151 174 0 124. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดสุพรรณบุรี 35 36 0 รวม 733 786 2 สำนักศาลยุติธรรมประจำภาค 8 (จำนวน 18 ศาล) 125. ศาลจังหวัดกระบี่ 121 120 0 126. ศาลจังหวัดชุมพร 297 319 1 127. ศาลจังหวัดหลังสวน 68 69 0 128. ศาลจังหวัดนครศรีธรรมราช 47 48 0 129. ศาลจังหวัดทุงสง 39 39 0


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 103 ศาลที่เขารวมโครงการ ปริมาณคดีที่เขา สูกระบวนการให คำปรึกษา (คดี) จำนวนผูเขา รับคำปรึกษา (คน) จำนวน ผูกระทำ ความผิด ซ้ำ (คน) 130. ศาลจังหวัดพังงา 56 78 0 131. ศาลจังหวัดตะกั่วปา 55 58 0 132. ศาลจังหวัดภูเก็ต 972 942 20 133. ศาลจังหวัดระนอง 956 1,074 6 134. ศาลจังหวัดสุราษฎรธานี 171 171 2 135. ศาลจังหวัดเกาะสมุย 68 68 0 136. ศาลจังหวัดเวียงสระ 144 151 0 137. ศาลแขวงนครศรีธรรมราช 1,325 1,325 2 138. ศาลแขวงสุราษฎรธานี 114 114 2 139. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดกระบี่ 28 24 0 140. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนครศรีธรรมราช 416 478 0 141. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดสุราษฎรธานี 291 336 0 142. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดพังงา 58 59 1 รวม 5,226 5,473 34 สำนักศาลยุติธรรมประจำภาค 9 (จำนวน 15 ศาล) 143. ศาลจังหวัดตรัง 24 24 0 144. ศาลจังหวัดนราธิวาส 219 219 1 145. ศาลจังหวัดปตตานี 823 823 8 146. ศาลจังหวัดพัทลุง 338 607 2 147. ศาลจังหวัดยะลา 818 850 12 148. ศาลจังหวัดเบตง 4 4 0 149. ศาลจังหวัดสงขลา 113 215 0 150. ศาลจังหวัดนาทวี 90 152 2 151. ศาลจังหวัดสตูล 54 54 0 152. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดตรัง 45 50 0 153. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดปตตานี 92 96 4 154. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดพัทลุง 119 128 0 155. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดยะลา 46 46 0


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 104 ศาลที่เขารวมโครงการ ปริมาณคดีที่เขา สูกระบวนการให คำปรึกษา (คดี) จำนวนผูเขา รับคำปรึกษา (คน) จำนวน ผูกระทำ ความผิด ซ้ำ (คน) 156. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดสงขลา 606 613 0 157. ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดสตูล 280 290 0 รวม 3,671 4,171 29 ศาลที่ไมสังกัดภาค (จำนวน 6 ศาล) 158. ศาลอาญา 126 192 0 159. ศาลอาญาธนบุรี 175 175 0 160. ศาลอาญากรุงเทพใต 125 127 0 161. ศาลอาญาพระโขนง 52 53 0 162. ศาลอาญาตลิ่งชัน 27 28 0 163. ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง 1,013 1,013 0 รวม 1,518 1,588 0 รวมทั้งสิน 40,985 46,333 528 รายละเอียดอื่น ๆ ประกอบ


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 105


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 106


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 107


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 108 การประเมินตนเองของศาลยุติธรรมไทยใหเปนไปตามมาตรฐานสากลเพื่อความเปนเลิศทางการศาล หลักการและเหตุผล นับตั้งแต พ.ศ. 2551 ถึงปจจุบัน กรอบสากลเพื่อความเปนเลิศทางการศาล (The International Framework for Court Excellence : IFCE) ถูกนำมาใชเปนแนวทางของศาลทั่วโลก ในการนำไปใช ประเมินและวางแผนการปรับปรุงคุณภาพของกระบวนการยุติธรรมและการบริหารงานของศาลยุติธรรม ของตนใหดียิ่งขึ้น โดยไมมีผลตอการประเมินผลการปฏิบัติงานของศาล ทั้งนี้ ไดนำไปใชในการ ประเมินผลการดำเนินงานของศาลแลวกวา 20 ประเทศ รวม 51 เขตอำนาจศาลทั่วโลก ซึ่งในประเทศ ไทยไดมีการพัฒนาแบบประเมินตนเองฉบับศาลยุติธรรมไทย (Self – Assessment Checklist) ขึ้นจาก กรอบสากลเพื่อความเปนเลิศทางการศาล (IFCE) ดังกลาว เมื่อ พ.ศ. 2563 โดยสำนักงานศาลยุติธรรม จำแนกการประเมินออกเปน 7 ดาน แตละดานมีจำนวนขอแตกตางกัน รวมทั้งสิ้น 59 ขอ ซึ่งในการให คะแนนการประเมินแตละขอจำแนกเปน 6 ระดับ ตั้งแต 0 – 5 คะแนน และมีคะแนนรวมสูงสุด 760 คะแนน ทั้งนี้ ผลคะแนนรวมของแตละศาลไมมีผลตอการประเมินผลการปฏิบัติงานของศาลแตอยางใด แตจะเปนขอมูลสำหรับการนำไปประกอบการพัฒนาตนเองของศาลทั้ง 7 ดานตอไป วัตถุประสงค เพื่อดำเนินการประเมินผลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ตามแบบประเมินตนเองฉบับศาล ยุติธรรมไทย (self-Assessment checklist) และรายงานตอเลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรม ซึ่งเปน ขอมูลสำคัญในการพัฒนา ปรับปรุง นำไปสูความสำเร็จในพันธกิจของศาลยุติธรรมและพัฒนาบุคลากร อยางมีประสิทธิภาพในระดับสากลตอไป เปาหมายการดำเนินงาน เพื่อใหผูบริหารศาลยุติธรรมกลุมศาลสูงจำนวน 12 ศาลไดสำรวจสภาพการปฏิบัติงานในศาล ถึงขอดีที่มีการพัฒนาแลว และขอที่จะปรับปรุงพัฒนาใหดีขึ้น ทำใหการอำนวยความยุติธรรมของศาล มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ระยะเวลาการดำเนินงาน ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 งบประมาณ ไมใชงบประมาณ


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 109 ผลการดำเนินงาน ผลการจัดทำแบบประเมินตนเองฉบับศาลยุติธรรมไทย (Self - Assessment Checklist) ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 กลุมศาลสูง จำนวน 12 ศาล มีผลการประเมินตนเองในภาพรวม คิดเปนคะแนนเฉลี่ย เทากับ 4.71 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน หรือคิดเปนรอยละ 94.40 ซึ่งสามารถอุปมานไดวา “ในภาพรวมกลุมศาลสูงสวนใหญสามารถปฏิบัติราชการศาลที่มีทิศทางเปนไป ตามกรอบสากลเพื่อความเปนเลิศทางการศาล (The International Framework for Court Excellence : IFCE) โดยมีการปฏิบัติราชการตามตัวชี้วัดที่กำหนดไวตามแบบประเมินตนเองฉบับ ศาลยุติธรรมไทยไดแลวเสร็จทั้งหมด แตอยางไรก็ตามยังจำเปนตองมีการพัฒนาหรือปรับปรุงเพิ่มเติม บางสวน” อันเปนไปตามวัตถุประสงคของการประเมินตนเองในการปฏิบัติราชการของศาลเพื่อใหเกิด การพัฒนาหรือปรับปรุงอยางตอเนื่อง ผลการประเมินในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ดังนี้ 1. ผลการประเมินในเชิงปริมาณ ประกอบดวย 1.1 ผลการประเมินตนเองของกลุมศาลสูงจำแนกตามรายดาน ตารางที่ 1 แสดงคะแนนผลการประเมินตนเองของกลุมศาลสูง จำแนก 7 ดาน ดานการประเมิน 7 ดาน คะแนนเฉลี่ย (เต็ม 5 คะแนน) รอยละ ดานที่ 1 ความเปนผูนำและการบริหารจัดการศาลยุติธรรม 4.85 97.00 ดานที่ 2 การวางแผนและนโยบายของศาลยุติธรรม 4.75 95.00 ดานที่ 3 ทรัพยากรของศาล : ทรัพยากรบุคคลและการเงิน 4.69 93.80 ดานที่ 4 การพิจารณาคดีและกระบวนการตาง ๆ ของศาล 4.79 95.80 ดานที่ 5 ความตองการและความพึงพอใจของผูใชบริการ 4.61 92.20 ดานที่ 6 การใหบริการของศาลที่คาใชจายไมสูงและสามารถเขาถึงไดงาย 4.69 93.80 ดานที่ 7 ความไววางใจและความเชื่อมั่นจากสาธารณชน 4.69 93.80 รวม 4.72 94.48


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 110 แผนภูมิที่ 1 แสดงคะแนนผลการประเมินตนเองของกลุมศาลสูง จำแนก 7 ดาน จากตารางที่ 1 และแผนภูมิที่ 1 พบวา ผลการประเมินตนเองของกลุมศาลสูงในภาพรวม ทั้ง 7 ดาน คิดเปนรอยละ 94.48 หรือคิดเปนคะแนนเฉลี่ย 4.72 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนนโดย ดานที่ศาลสูงสวนใหญมีคะแนนประเมินตนเองสูงที่สุด คือ ดานที่ 1 ความเปนผูนำและการบริหารจัดการ ศาลยุติธรรม คิดเปนรอยละ 97.00 หรือคิดเปนคะแนนเฉลี่ย 4.85 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน รองลงมา คือ ดานที่ 4 การพิจารณาคดีและกระบวนการตาง ๆ ของศาล คิดเปนรอยละ 95.80 หรือคิด เปนคะแนนเฉลี่ย 4.79 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน และดานที่ 2 การวางแผนและนโยบายของ ศาลยุติธรรม คิดเปนรอยละ 95.00 หรือคิดเปนคะแนนเฉลี่ย 4.75 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ตามลำดับ สำหรับดานที่ศาลสูงสวนใหญมีคะแนนประเมินตนเองต่ำที่สุด คือ ดานที่ 5 ความตองการและ ความพึงพอใจของผูใชบริการ คิดเปนรอยละ 92.20 หรือคิดเปนคะแนนเฉลี่ย 4.61 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน แตอยางไรก็ตามไมพบวามีดานการประเมินใดที่กลุมศาลสูงมีคะแนนประเมินตนเองต่ำกวารอย ละ 90 หรือคะแนนเฉลี่ย 4.50 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน 97 95 93.8 95.8 92.2 93.8 93.8 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 111 1.2 ผลการประเมินตนเองของกลุมศาลสูงเปรียบเทียบกับปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ที่ผานมา ตารางที่ 2 แสดงการเปรียบเทียบผลการประเมินตนเองกลุมศาลสูงระหวางปงบประมาณ พ.ศ. 2565 กับปงบประมาณ พ.ศ. 2566 กลุมศาลสูง ผลการประเมินตนเองของกลุมศาลสูง ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 เปรียบเทียบ รอยละของผล คะแนน ครั้งที่ 2/65 และ ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 1/2565 (เต็ม 925 คะแนน) ครั้งที่ 2/2565 (เต็ม 925 คะแนน) ป พ.ศ. 2566 (เต็ม 760 คะแนน) ศาลฎีกา 702.00 (รอยละ 75.89) 765.00 (รอยละ 82.70) 665.00 (รอยละ 87.50) + รอยละ 4.80 ศาลชั้น อุทธรณ 837.45 (รอยละ 90.54) 858.27 (รอยละ 92.79) 720.00 (รอยละ 94.73) + รอยละ 1.94 แผนภูมิที่ 2 แสดงการเปรียบเทียบผลการประเมินตนเองกลุมศาลสูงระหวางปงบประมาณ พ.ศ. 2565 กับปงบประมาณ พ.ศ. 2566 75.89 90.54 82.70 92.79 87.50 94.73 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ศาลฎีกา ศาลชั้นอุทธรณ ครั้งที่ 1/2565 ครั้งที่ 2/2565 ป พ.ศ. 2566


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 112 จากตารางที่ 2 และแผนภูมิที่ 2 พบวา เมื่อเปรียบเทียบผลการประเมินตนเองของกลุมศาลสูงระหวาง ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 กับปงบประมาณ พ.ศ. 2565 (รอบการประเมินครั้งที่ 2/2565) ทั้งศาลฎีกา และศาลชั้นอุทธรณมีผลการประเมินตนเองในภาพรวมที่สูงขึ้น จากปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ที่ผานมา โดยศาลฎีกามีผลการประเมินตนเองเพิ่มขึ้นรอยละ 4.80 สวนศาลชั้นอุทธรณมีผลการประเมินตนเอง เพิ่มขึ้นรอยละ 1.94 รายละเอียด ดังนี้ (1) ศาลฎีกา ผลคะแนนของศาลฎีกา ในปงบประมาณ พ.ศ. 2565 การประเมินครั้งที่ 1/2565 มีคะแนนเทากับ 702 คะแนน จากคะแนนเต็ม 925 คะแนน หรือคิดเปนรอยละ 75.80 สวนการประเมินครั้งที่ 2/2565 มีคะแนนเทากับ 765 คะแนน จากคะแนนเต็ม 925 คะแนน หรือคิดเปนรอยละ 82.70 และในปงปบระมาณ พ.ศ. 2566 ศาลฎีกามีคะแนนประเมินตนเอง เทากับ 665 คะแนน จากคะแนนเต็ม 760 คะแนน หรือคิดเปนรอยละ 87.50 หรือคิดเปน คะแนนเฉลี่ย เทากับ 4.37 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ซึ่งสามารถอนุมานไดวา “ศาลฎีกา สามารถดำเนินภารกิจไปในทิศทางตามแนวทางกรอบความเปนเลิศทางการศาลโดยยังสามารถปรับปรุง ใหดียิ่งขึ้นได มีการปฏิบัติภารกิจในภาพรวมแลวเสร็จทั้งหมด แตจำเปนตองมีการพัฒนาหรือปรับปรุง เพิ่มเติมบางสวน” (2) ศาลชั้นอุทธรณ ผลคะแนนของกลุมศาลชั้นอุทธรณ ในปงบประมาณ พ.ศ. 2565 การประเมินครั้งที่ 1/2565 มีคะแนนเทากับ 837.40 คะแนน จากคะแนนเต็ม 925 คะแนน หรือคิดเปนรอยละ 90.54 สวน การประเมินครั้งที่ 2/2565 มีคะแนนเทากับ 858 คะแนน จากคะแนนเต็ม 925 คะแนน หรือคิดเปนรอย ละ 92.29 และในปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ศาลชั้นอุทธรณมีคะแนนประเมินตนเองในภาพรวม เทากับ 720 คะแนน จากคะแนนเต็ม 760 คะแนน หรือคิดเปนรอยละ 94.73 หรือคิดเปนคะแนนเฉลี่ย เทากับ 4.88 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ซึ่งสามารถอนุมานไดวา “กลุมศาลชั้นอุทธรณสามารถดำเนิน ภารกิจไปในทิศทางตามแนวทางกรอบความเปนเลิศทางการศาลโดยยังสามารถปรับปรุงใหดียิ่งขึ้นได มี การปฏิบัติภารกิจในภาพรวมแลวเสร็จทั้งหมดแตจำเปนตองมีการพัฒนาหรือปรับปรุงเพิ่มเติมบางสวน” 2. ผลการประเมินในเชิงคุณภาพ จำแนกเปน 7 ดาน ประกอบดวย ดานที่ 1 ความเปนผูนำและการบริหารจัดการศาลยุติธรรม ผลการดำเนินงานในภาพรวม ที่สำคัญ ดังนี้ (1) มีการดำเนินงานภายใตนโยบายประธานศาลฎีกา พ.ศ. 2565 - 2566 และ แผนยุทธศาสตรศาลยุติธรรม พ.ศ. 2566 – 2568 รวมถึงวิสัยทัศน พันธกิจ หลักคานิยมของศาล ทั้ง 10 ประการ โดยสวนใหญมีการจัดทำแผนปฏิบัติการที่สอดคลองซึ่งเจาหนาที่ระดับสูงมีสวนรวม


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 113 (2) มีการรับฟงความคิดเห็นจากผูใชบริการเปนประจำ เชน มีการจัดทำแบบสอบถาม ความพึงพอใจการใหบริการของศาลเปน QR code เพื่อวัดความพึงพอใจของผูใชบริการ และใหมีการ แจกแบบสอบถามผานสาวเสื้อฟาของศาล รวมทั้งตั้งกลองรับฟงความคิดเห็นไวยังจุดตาง ๆ (3) มีการทบทวน วางแผน การใหบริการขอมูลและความรูแกผูมาใชบริการและชุมชน อยางสม่ำเสมอ โดยการมีสวนรวมเชิงรุกของผูบริหารและเจาหนาที่ของศาล เชน การจัดโครงการ ประชาสัมพันธเขตอำนาจศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ (APSC Talk) แกประชาชนภายนอก แบบ onsite และแบบ online ผานระบบโปรแกรม Zoom, Facebook Live เพจสื่อศาล, ระบบถายทอดสัญญาณ ภาพและเสียง (Streaming และเว็บไซตศาล) (ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ) การจัดโครงการเผยแพร ความรูกฎหมายเกี่ยวกับการไกลเกลี่ยกอนฟองและหลังฟองแกนักศึกษา (ศาลอุทธรณภาค 8) เปนตน ดานที่ 2 การวางแผนและนโยบายของศาลยุติธรรม ผลการดำเนินงานในภาพรวมที่สำคัญ ดังนี้ (1) มีการจัดประชุมผูบริหารศาล ผูอำนวยการ และหัวหนาสวน เพื่อทบทวน แผนปฏิบัติการทุกเดือน เพื่อใหทันตอสภาวการณในปจจุบัน และรายงานผลและขอขัดของการ ดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการใหผูบริหารศาลทราบทุกไตรมาส รวมถึงรายงานผลการปฏิบัติงาน ตามแผนงานประจำ งานโครงการ ไปยังสำนักงานศาลยุติธรรมตามระยะเวลาที่กำหนด (2) มีการกำหนดนโยบายของศาลเพื่อสนับสนุนคานิยม เปาหมาย และแผนปฏิบัติการ เชน โครงการสงเสริมคุณธรรม จริยธรรมและการมีสวนรวมในสาธารณประโยชน ปนน้ำใจ สานสายใย ศาลฎีกา (ศาลฎีกา) โครงการบริหารจัดการ Happy Workplace (ศาลอุทธรณ) การกำหนดนโยบายการ บริหารจัดการคดีอยางมีประสิทธิภาพ มุงเนนการใหความเปนอิสระแกผูพิพากษาในการพิจารณา พิพากษาคดี และคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนภายใตหลักนิติธรรม (ศาลอุทธรณภาค 7) เปนตน (3) มีการจัดสรรทรัพยากรทั้งทางดานงบประมาณ บุคลากร วัสดุอุปกรณตาง ๆ ใหเพียงพอกับการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ เชน โครงการอบรมเพิ่มพูนความรู ทักษะและ ประสบการณเกี่ยวกับการไกลเกลี่ยขอพิพาทในศาลสูงและกฎหมายที่เกี่ยวของ และกิจกรรมสงเสริม สุขภาพและปองกัน Covid - 19 และวัคซีนไขหวัดใหญใหแกบุคลากร รวมถึงการสรางเครือขาย ความรวมมือจากคณะทำงานหรือหนวยงานสนับสนุนภายนอก (ศาลฎีกา) เปนตน (4) มีการเผยแพรประชาสัมพันธนโยบายของศาลใหประชาชนทั่วไปทราบผานทาง ชองทางตาง ๆ เชน เว็บไซตของศาล, Application Line, COJ Talk, การเผยแพรตามสถานศึกษา, การจัดทำบอรดนโยบายประธานศาลฎีกาติดตั้งภายในบริเวณศาล รวมถึงเผยแพรประชาสัมพันธ ใหความรูทางวิชาการและกฎหมายแกประชาชน ดานที่ 3 ทรัพยากรของศาล : ทรัพยากรบุคคลและการเงิน ผลการดำเนินงานในภาพรวม ที่สำคัญ ดังนี้


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 114 (1) มีการคาดการณและบริหารจัดการทรัพยากรใหรองรับปริมาณงานที่คาดหมายไว ดานอัตรากำลัง มีการจัดใหมีการฝกอบรมใหกับบุคลากรอยางตอเนื่อง รวมถึงมีการสอบถามความ ตองการในการฝกอบรมของบุคลากร ทำใหสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีคุณภาพ ดานงบประมาณ มีการบริหารการเงินไดอยางมีประสิทธิภาพตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและแผนงบประมาณที่ กำหนด ดานการบริหารจัดการคดี มีการบริหารจัดการปริมาณงานของผูพิพากษาและเจาหนาที่ได เหมาะสม (2) มีหองพิจารณาคดีที่เพียงพอตอจำนวนคดีที่นัดไวในแตละวัน และมีมาตรการรักษา ความปลอดภัยในหองพิจารณาคดีอยางเหมาะสมและมีมาตรฐาน เชน การตรวจสอบอาวุธ มีตำรวจศาล และกลองวงจรปดบันทึกเหตุการณในหองพิจารณาคดี เปนตน (3) มีการจัดเตรียมขอมูลซึ่งจำเปนตอการพิจารณาคดีใหแกผูพิพากษา เชน จัดทำ ฐานขอมูลแนวคำพิพากษา คำสั่งศาลอุทธรณและมติที่ประชุมใหญ เพื่อใหผูพิพากษาและบุคลากร ในศาลคนควาขอมูลประกอบการพิจารณาพิพากษาคดีใหเปนธรรมแกคูความ (ศาลอุทธรณภาค 2 และ ศาลอุทธรณภาค 7) จัดใหมีเจาหนาที่นิติกรประจำองคคณะผูพิพากษาเพื่อจัดเตรียมขอมูลทางกฎหมาย ขอมูลวิชาการ และอำนวยความสะดวกดานตาง ๆ เพื่อสนับสนุนการพิจารณาคดีของผูพิพากษา เปนตน ดานที่ 4 การพิจารณาคดีและกระบวนการตาง ๆ ของศาล ผลการดำเนินงานในภาพรวม ที่สำคัญ ดังนี้ (1) มีการบริหารจัดการคดีไดแลวเสร็จตามกรอบเวลาที่กำหนด มีการกำหนดระยะเวลา ของขั้นตอนการปฏิบัติงานของแตละงาน เพื่อใหประชาชน หรือคูความไดรับบริการจากศาลในเรื่อง ตาง ๆ โดยไมลาชา โดยเปนไปตามระเบียบราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรมวาดวยการกำหนด ระยะเวลาการพิจารณาพิพากษาคดีของศาลยุติธรรม พ.ศ. 2566 (2) มีการทบทวนบทบาทหนาที่ของผูพิพากษาและเจาหนาที่ เพื่อใหกระบวนพิจารณามี ประสิทธิภาพ เชน การหารือแนวทางการบริหารจัดการคดียาเสพติดใหมีประสิทธิภาพระหวางประธาน แผนกคดียาเสพติด ผูพิพากษาและเจาหนาที่ (ศาลอุทธรณ) การรับฟงคำติชมและขอรองเรียนจาก คูความเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของผูพิพากษาและเจาหนาที่ (ศาลอุทธรณภาค 1, ศาลอุทธรณภาค 3 และศาลอุทธรณภาค 4) การจัดประชุมองคคณะผูพิพากษาและผูชวยผูพิพากษา เพื่อทบทวนหลักการ และแนวปฏิบัติในการพิจารณาพิพากษาคดีเลือกตั้ง (ศาลอุทธรณภาค 8) เปนตน (3) มีการจัดเก็บขอมูลและสำนวนคดีอยางครบถวน ถูกตอง ปลอดภัยและงาย ตอการนำมาใช เชน การสแกนสำนวนคดีจัดทำเปนสำนวนอิเล็กทรอนิกสเพื่อจัดทำรางคำพิพากษา อิเล็กทรอนิกส (ศาลฎีกา) การจัดจางหนวยงานเอกชนจัดเก็บเอกสารโดยวิธีการสแกนดวยระบบ อิเล็กทรอนิกส ไดแก สำเนาคำพิพากษาป พ.ศ. 2534 - 2557 คำสั่งคำรองคดีแพงและคดีอาญา และชุดตรวจรางคำพิพากษา (ศาลอุทธรณ) การจัดเก็บสำนวนคดีและเอกสารที่เกี่ยวของตามระเบียบ


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 115 คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมวาดวยงานธุรการเกี่ยวกับสำนวนความและเอกสาร พ.ศ. 2557 เปนตน ดานที่ 5 ความตองการและความพึงพอใจของผูใชบริการ ผลการดำเนินงานในภาพรวม ที่สำคัญ ดังนี้ (1) มีการปฏิบัติตอผูใชบริการอยางเหมาะสม และพรอมรับฟงทุกปญหาหรือ ขอเสนอแนะ เชน การจัดเคานเตอรหรือหองสำหรับรับเรื่องรองเรียน และพื้นที่สำหรับพูดคุยกับ ผูมาติดตอรองเรียน (ศาลฎีกา และศาลอุทธรณ) การจัดตั้งปาย QR Code เพื่อประชาสัมพันธการรับ เรื่องรองเรียนและขอความเปนธรรมในคดีของศาลยุติธรรม (ศาลอุทธรณภาค 6 และศาลอุทธรณภาค 7) การปฏิบัติตอผูใชบริการโดยไมเลือกปฏิบัติและรับฟงทุกปญหาหรือขอเสนอแนะ เปนตน (2) มีการนำความคิดเห็นของผูใชบริการที่ไดรับจากชองทางตาง ๆ เชน แบบสอบถาม ขอรองเรียน กลองรับฟงความคิดเห็น เว็บไซตของศาล เปนตน มาวิเคราะหเพื่อพัฒนา ปรับปรุง แกไข กระบวนการและขั้นตอนการปฏิบัติงานใหตรงกับความตองการและเปนที่พึงพอใจของผูใชบริการ มากขึ้น เชน การปรับปรุงพื้นที่ใหบริการอานหนังสือในหองสมุด และมีการใหบริการ Wi-Fi ในบริเวณ หองสมุด มีคณะทำงานที่รับฟงความคิดเห็นจากผูใชบริการ (ศาลฎีกา) การจัดใหผูบริหารมีสวนรวม ในการพูดคุยกับผูใชบริการเพื่อแกไขปญหาในบางกรณี (ศาลอุทธรณ และศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ) เปนตน ดานที่ 6 การใหบริการของศาลที่คาใชจายไมสูงและสามารถเขาถึงไดงาย ผลการดำเนินงาน ในภาพรวมที่สำคัญ ดังนี้ (1) มีการเผยแพรประชาสัมพันธเกี่ยวกับหลักเกณฑหรือแนวทางในการเรียกเก็บ การยกเวน หรือขยายระยะเวลาในการชำระคาธรรมเนียมศาลที่ชัดเจน โดยมีการเผยแพรประชาสัมพันธ ใหประชาชนทราบไวอยางเปดเผยในบริเวณศาลและหนาเว็บไซตของศาล (2) มีการจัดใหบริการแกประชาชนผูมาติดตอราชการศาลสามารถเขาถึงไดงาย โดยดำเนินการจัดทำปายประชาสัมพันธเกี่ยวกับการใหบริการตาง ๆ จัดใหมีเจาหนาที่เปนผูแนะนำ และอำนวยความสะดวกแกผูมาติดตอราชการ จัดใหมีสถานที่และอุปกรณสิ่งอำนวยความสะดวก ใหแกผูพิการและผูดอยโอกาส เพื่อใหไดรับบริการอยางเทาเทียมกันโดยไมเลือกปฏิบัติ เปนตน (3) มีการใหบริการตอเนื่องหากการขอรับบริการจากประชาชนไมแลวเสร็จใน เวลาทำการ เชน การบริการไมพักเที่ยง การเปดทำการศาลในวันหยุดราชการ เปนตน รวมถึงศาล จะไมมีคำสั่งใหคูความรับภาระหรือมีภาระเกินควร หากสิ่งที่สั่งไมมีผลตอการเปลี่ยนแปลงผลของคดี หรือดำเนินการใด ๆ นอกเหนือจากที่กฎหมายกำหนดไว หรือเครงครัดเกินไป (4) มีการใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อลดคาใชจายของคูความ เชน การใหบริการ ขอมูลและเอกสารคดีออนไลน (CIOS) การไกลเกลี่ยออนไลน ระบบยื่นคำฟองอิเล็กทรอนิกส


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 116 สำหรับประชาชน (e - Filing) การสืบพยานผานระบบสื่อสารทางไกลผานทางจอภาพ ระบบติดตาม ความคืบหนาคดี (Tracking System) การอานคำสั่งคำรองขอปลอยตัวชั่วคราวผานระบบสื่อสาร ทางไกลผานจอภาพ (web Conference) เปนตน ดานที่ 7 ความไววางใจและความเชื่อมั่นจากสาธารณชน ผลการดำเนินงานในภาพรวม ที่สำคัญ ดังนี้ (1) มีกระบวนการที่แสดงใหเห็นวาผูมาใชบริการเขาใจกระบวนการทำงานของศาล เชน การติดตามและประเมินผลโดยใชแบบสอบถามหรือจัดใหมีเจาหนาที่ของศาลประสานงาน ทางโทรศัพทเพื่อสอบถามความเขาใจของประชาชนที่มาใชบริการหลังเสร็จสิ้นการใหบริการของศาล รวมถึงมีการจัดทำแผนผัง วีดิทัศน แผนพับ บอรดประชาสัมพันธ แนะนำวิธีขั้นตอนการปฏิบัติงาน การพิจารณาคดี มีเจาหนาที่ของศาลคอยใหคำแนะนำ และมีระบบรับแจงปญหาหรือขอขัดของในการ ติดตอราชการผาน QR CODE เปนตน (2) มีการเผยแพรผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานระยะเวลาที่กำหนดไว เชน การประชาสัมพันธจำนวนสถิติคดีที่พิพากษาแลวเสร็จ จำนวนผูตองขังหรือจำเลยที่ไดรับการปลอย ชั่วคราว รวมถึงการจัดใหมีระบบ Tracking System ที่หนาเว็บไซตของศาลเพื่อคูความจะไดติดตามผล และความคืบหนาของคดี เปนตน (3) มีการตรวจสอบบัญชี/รายจายเปนประจำทุกป โดยมีการจัดทำรายงานการเงิน ประจำป เสนอผูบริหารและสำนักงานศาลยุติธรรม มีการตรวจสอบบัญชีโดยผูตรวจสอบบัญชีจาก หนวยงานตรวจสอบภายในตามรอบที่สำนักงานศาลยุติธรรมกำหนด จากผลการประเมินทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่กลาวมาขางตน แสดงใหเห็นวา การจัดทำแบบประเมินตนเองฉบับศาลยุติธรรมไทย ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของกลุมศาลสูง จำนวน 12 ศาล สอดคลองและเปนไปตามหลักการของสมาคมระหวางประเทศเพื่อความเปนเลิศ ทางการศาล (International Consortium on Court Excellence : ICCE) ที่มุงเนนใหมีการติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติราชการศาลของตน เพื่อนำไปสูการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการปฏิบัติ ราชการศาลใหที่ดียิ่งขึ้นอยางตอเนื่องตอไป ประโยชนที่ไดรับจากการดำเนินงาน แบบประเมินตนเองฉบับศาลยุติธรรมไทยเปนคานิยม แนวคิด และเครื่องมือสำหรับหนวยงาน ศาล เพื่อใหบรรลุเปาหมายสูงสุดในการยกระดับ ปรับปรุงคุณภาพของระบบศาลยุติธรรมและการบริหาร กระบวนการยุติธรรม โดยใหหนวยงานประเมินตนเองในแตละดาน สงผลใหสามารถที่จะระบุและ จัดลำดับความสำคัญของจุดแข็งและจุดออน และพัฒนาแผนงานเพื่อปรับปรุงตนเอง ตลอดจนสามารถ ที่จะวัดผลในการประเมินตนเอง และเสนอแนะกระบวนการที่ศาลสามารถนำไปประยุกตแกไขใหดีขึ้น


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 117 ทั้งยังสะทอนบทบาทของหนวยงานใหมีความชัดเจนตอบุคลากร สังคม และประชาชนผูรับบริการ ซึ่ง ผลลัพธที่ไดจากการทำแบบประเมินตนเองฯ ที่ดีที่สุดอีกประการหนึ่งคือ การไดความสามัคคีโดย ทางออมที่ทุกคนในหนวยงานไดระดมความคิด รวมมือกันทำ แบงปนประสบการณและขอเสนอแนะ เพื่อใหบรรลุเปาหมายเดียวกัน เปนการสรางวัฒนธรรมที่เอื้อตอการปฏิรูป การปรับปรุงบริการ และ นวัตกรรม ถือเปนขั้นตอนแรกที่สำคัญในการกาวสูความเปนเลิศของศาล และตั้งอยูบนพื้นฐาน ความมีคุณธรรมและจริยธรรม การจัดทำแบบประเมินตนเองฉบับศาลยุติธรรมไทย ในฐานะสมาชิกของ IFCE นับไดวา หนวยงานไดรับประโยชนในการพัฒนาปรับปรุงแกไขขอบกพรอง ดวยการประเมินตนเองอยาง มีคุณธรรม จริยธรรม ผลลัพธของการดำเนินการที่มีประสิทธิภาพ นาเชื่อถือ และเปนมาตรฐานสากล จำเปนตองใชเวลา เนื่องจากตองสรางความเขาใจ ทัศนคติของบุคลากรใหตระหนักถึงความสำคัญ ในการพัฒนามาตรฐานการอำนวยความยุติธรรมใหเปนที่ยอมรับของสาธารณชนทั้งในประเทศและ ตางประเทศ ตลอดจนชวงเวลาของการจัดทำแบบประเมินตนเอง ฯ ควรใหมีระยะเวลาที่เวนวาง ที่เหมาะสม เพื่อใหไดเห็นถึงการปรับปรุงพัฒนาเปลี่ยนแปลงไป ตลอดจนใหศาลไดมีระยะเวลาทบทวน สำหรับการแกไขขอบกพรอง หรือพัฒนาสรางสรรคงานไดอยางไมเปนการเรงรัดจนเกินไป


รายงานผลการดำเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 118


Click to View FlipBook Version