พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี )งบับปรับปรบง( ผู้เรียบเรียงนายประสาร ธาราพรรค์ พระมหากษัตริย์ในราชจักรีวงศ์ พระราชประวัติที่ผู้ศึกษาจะต้อง รู้สึกแปลกใจ พิศวงสงสัย อาทิพระองค์เป็นผู้มีสิทธิ์พร้อมสมบูรณ์ที่จะได้ ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระราชบิดา แต่เมื่อถึงเวลากลับไม่ได้ขึ้นครองราชย์ ต้องหนีราชภัยไปผนวชถึง 27 ปี แต่ท้ายสบดยังได้กลับขึ้นครองราชย์ อีก ทั้งพระองค์ยังทรงก่อให้เกิดมหาราช 2 พระองค์คือ พ่อขบนรามค าแหง มหาราช และ พระปิยมหาราช อีกทั้งพระองค์ยังทรงเป็น พระมหากษัตริย์นักบวชผู้ก่อก าเนิดธรรมยบติกนิกาย และหากจะกล่าวถึง ความรู้ความสามารถพระอัจงริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ จนได้รับการยกย่องทรงเป็น “พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย”
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ จักรีวงศ์ ชนพิศวง พระราชประวัติ น่ากล่าวขาน ออกผนวช หนีราชภัย อย่างยาวนาน ทรงสืบสาน การศาสนา 27 ปี ทรงก่อเกิด นิกาย ธรรมยบติ ศีลพิสบทธิ์ ตามพระธรรมวินัย พิสิษฐ์ศรี ทรงธบดงค์ เดินทางไป ทั่วธาตรี พระบารมี พบศิลาจารึก พ่อขบนรามฯ ขึ้นครองราชย์ ทรงปกครอง แบบอารยประเทศ พระทรงเดช เปลี่ยนชื่อชาติ เป็นสยาม
เปลี่ยนธงชาติ เป็นช้างเผือก แสนงดงาม ทบกเขตคาม ปรับทันสมัย ไทยมั่นคง ทรงค านวณ พยากรณ์ สบริยคราส ธ ชาญงลาด แสนแม่นย า สมประสงค์ ที่หว้ากอ เมืองประจวบ แดนไพรพง เหตบการณ์ตรง ทรงพยากรณ์ เรื่องอัศจรรย์ ทรงแต่งทูต เจริญพระราชไมตรี หลากหลายชาติ คานอ านาจ ชาติตะวันตก ไม่แปรผัน ทรงฝึกทหาร แบบยบโรป พร้อมโรมรัน ค าประพันธ์ ทรงเสกสรร เลิศวิไล ตบลาการ ทรงประยบกต์ใช้ แบบตะวันตก เพื่อพสก ทรงดูแล และแก้ไข พระอัจงริยภาพ เลื่องลือ ระบือไกล นิกรไทย เทิดองค์ไท้ ไว้นิรันดร์ ................................................. ประสาร ธาราพรรค์ ร้อยกรอง
พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 เป็นพระราช โอรสองค์ที่ 43 ในพระบาทสมเด็จพระพบทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 กับกรมสมเด็จพระศรีสบริเยนทราบรมราชินี ทรงประสูติเมื่อวันที่ 17 ตบลาคม พ.ศ. 2347 ตรงกับขึ้น 14 ค่ า เดือน 11 ปีชวด งศก จ.ศ. 1166 และมีพระนามเรียกขานว่า “ทูลกระหม่อมฟ้าพระองค์ใหญ่”
การศึกษา พระบาทสมเด็จพระพระพบทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อทรงพระเยาว์ได้ทรงศึกษาหาความรู้ด้านอักขรภาษาไทย กับ สมเด็จพระพบทธโฆษาจารย์ )ขบน( แห่งวัดโมลีโลกยาราม นอกจากนั้น พระองค์ยังได้ทรงศึกษาวิชาส าหรับกษัตริย์ อาทิ ต าราพิชัยสงคราม การ ฝึกหัดอาวบธ วิชาคชกรรม วิชาโหราศาตร์ อีกทั้งพระองค์ยังทรงสนพระทัย ในการศึกษาภาษาต่างประเทศเป็นอย่างยิ่ง ในปี พ.ศ. 2355 เมื่อพระชนมายบได้ 9 พรรษา สมเด็จพระบรมชนก นาถ พระบาทสมเด็จพระพระพบทธเลิศหล้านภาลัย มีพระราชประสงค์ที่ จะให้เป็นเกียรติอันยิ่งใหญ่ แก่พระองค์ที่ทรงเป็นพระราชโอรสที่ทรงศักดิ์ เป็นเจ้าฟ้าพระองค์ใหญ่ โปรดให้ตั้งการพระราชพิธีมหาพิชัยมงคลสรง สนานรับพระปรมาภิไธย หรือเรียกย่อ ๆ ว่า “พระราชพิธีลงสรง” โดยจัด ตามพระราชประเพณี ซึ่งเป็นการจัดอย่างถูกต้องครบถ้วนกระบวนพิธี
นับเป็นครั้งแรกที่จัดพิธีนี้ขึ้นในกรบงรัตนโกสินทร์ และพระองค์ได้รับ พระราชทานนามจารึกในพระสบพรรณบัฏว่า “สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามงกบฎ สมมบติเทวาวงศ์ พงศ์อิศวรกษัตริย์ขัตติยราชกบมาร” เสด็จออกศึกสงคราม พ.ศ. 2358 สมิงสอดเบา และพวกมอญเมืองเมาะต าเลิม ก่อการ กบฏต่อพม่า ได้พาครอบครัวเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารถึง 40,000 คน สมเด็จพระบรมราชชนก รัชกาลที่ 2 โปรดให้สมเด็จเจ้าฟ้า มงกบฎ พระราชโอรส ซึ่งขณะนั้นมีพระชนมายบ 11 พรรษา เป็นแม่ทัพคบม ก าลังไพร่พลไปรับครัวมอญ ที่ด่านเจดีย์สามองค์ เมืองกาญจนบบรี โดยมี เจ้าฟ้ากรมหลวงพิทักษ์มนตรีเป็นพระอภิบาล เมื่อพระองค์ เจริญพระชนมายบได้ 13 พรรษา สมเด็จพระราชบิดา ทรงจัดให้มีพระราช พิธีโสกันต์พระองค์ขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ มีเขาไกรลาศสูง เจ็ดวา มีมณฑปยอดเขา และมีขบวนแห่ตามระบอบโบราณราช ประเพณี และในปี พ.ศ.2360 พระองค์ทรงผนวชเป็นสามเณรโดยมี สมเด็จพระญาณสังวรณ์เป็นพระอบปัชฌาย์และประทับ ณ วัดมหาธาตบเป็น เวลา 7 เดือน และเมื่อทรงลาผนวชก็เสด็จประทับในพระราชวังฝ่ายหน้า พระต าหนักอยู่หน้าพระที่นั่งดบสิตมหาปราสาท พระองค์ทรงมีพระหฤทัย ใฝ่ในพระพบทธศาสนาทรงเสด็จไปศึกษาธรรมะที่วัดอรบณราชวรารามอยู่ เนือง ๆ ครั้นเมื่อพระชนมพรรษาควรแก่การรับราชการ สมเด็จพระบรม ชนกนาถโปรดให้ทรงเข้ารับราชการในหน้าที่อธิบดีกรมมหาดเล็ก
ทรงผนวช ในช่วงปลายรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพบทธเลิศหล้านภาลัย บรรดาโหราจารย์ได้ท านายทายทัก สมเด็จเจ้าฟ้ามงกบฎโชคร้ายต้องราหู อีกทั้งมีลางร้ายคือช้างเผือกคู่บบญบารมีรัชกาลที่ 2 ล้ม เพื่อแก้ลางร้าย บรรดาพระญาติเชื้อพระวงศ์จึงอันเชิญให้สมเด็จเจ้าฟ้ามงกบฎผนวชอีกทั้ง พระชนมายบครบอบปสมบท ได้ทรงผนวช เมื่อ พ.ศ. 2367 ณ วัดพระศรี รัตนศาสดาราม โดยมีพระสังฆราช )ด่อน( วัดมหาธาตบ เป็นพระ อบปฌาย์ และพระองค์มีพระงายาว่า“วชิรญาณภิกขบ” ประทับวัดมหาธาตบ 3 วัน แล้วเสด็จจ าพรรษาที่วัดสมอราย )วัดราชาธิราช(
พระภิกษบเจ้าฟ้ามงกบฎทรงผนวชได้ 2 สัปดาห์ สมเด็จพระบรมราช ชนก พระบาทสมเด็จพระพบทธเลิศหล้านภาลัย ได้ทรงพระประชวร กะทันหัน มีพระอาการอ่อนซึมมึนและเมื่อยพระองค์ได้เสวยพระโอสถชื่อ ไนเพชรซึ่งพระองค์เคยเสวย ครั้นเสวยแล้วเกิดพระอาการร้อนเป็นก าลัง จึงเสวยพระโอสถอีกขนานชื่อทิพย์โอสถ พระอาการก็ไม่คลาย เอ่ยกระแส พระราชด ารัสไม่ได้ ยังมิทันมอบหมายราชสมบัติให้แก่ผู้ใดก็เสด็จ สวรรคตเมื่อวันพบธ เดือน 8 แรม 11 ค่ า เวลาย่ าค่ าแล้ว 5 บาท ปีวอก จ.ศ. 1186 พ.ศ. 2367 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวขึ้นครองราชย์ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
ในฐานะที่พระภิกษบเจ้าฟ้ามงกบฎทรงเป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ใน สมเด็จพระบรมราชินี ดังนั้น ราชบัลลังก์จึงสมควรเป็นของพระองค์ แต่ ในขณะนั้นพระเจ้าลูกยาเธอกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ พระราชโอรสองค์ ใหญ่ที่ประสูติจากพระสนมเจ้าจอมมารดาเรียม มีพระอ านาจเหนือผู้ใด ท าให้พระบรมวงศานบวงศ์และขบนนางผู้ใหญ่ต่างพากันเห็นว่าพระเจ้าลูกยา เธอกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์สมควรจะครองราชสมบัติรักษาแผ่นดินสืบ บรมราชตระกูลต่อไป จึงอันเชิญเสด็จขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ ทรงพระ นามว่า พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ช่วงการเปลี่ยนแปลง แผ่นดินพระภิกษบเจ้าฟ้ามงกบฎได้ถูกควบคบมพระองค์ไว้ในโบสถ์วัดพระศรี รัตนศาสดาราม เมื่อเหตบการณ์สงบก็ได้รับการปล่อยตัวให้เสด็จกลับจ า พรรษาอยู่ที่วัดสมอรายตามเดิม รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 พระภิกษบเจ้าฟ้ามงกบฎจึงครองเพศบรรพชิตตลอด รัชกาล ซึ่งกินเวลาถึง 27 ปี โดยจ าพรรษาอยู่วัดมหาธาตบ วัดสมอราย 12 ปี 6 เดือน และทรงครองวัดบวรนิเวศวิหารเป็นเวลา 14 ปี 3 เดือน
วัดสมอรายหรือวัดราชาธิวาส ในพรรษาแรกพระภิกษบสมเด็จเจ้าฟ้ามงกบฎได้ทรงศึกษาทาง สมถวิปัสสนาที่วัดสมอราย 1 ปี และในพรรษาต่อมาได้ศึกษาสมถวิปัส สนาต่อที่วัดพลับ)วัดราชสิทธิ์( พระองค์ศึกษาได้รวดเร็วจน แตกงาน ต่อมาได้หันมาศึกษาทางด้านคันถะธบระพระไตรปิฎก พระธรรม
วินัย พระปริยัติธรรม จากพระวิเชียรปรีชา )ภู่( เป็นเวลา 3 ปี จนมี ความรู้แตกงานและสามารถแปลพระปริยัติธรรมได้คล่องแคล่วรวดเร็วจน กิตติศัพท์เล่าลือว่า พระภิกษบเจ้าฟ้ามงกบฎ ออกทรงผนวชได้เพียงไม่กี่ พรรษาก็สามารถแปลพระไตรปิฎกได้เชี่ยวชาญแตกงาน จนความทราบ ไปถึงพระเนตรพระกรรณพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ ทรงปิติยินดีและโปรดให้พระภิกษบเจ้าฟ้ามงกบฎเข้าแปลพระปริยัติธรรม หน้าพระที่นั่งโดยพระราชาคณะผู้ใหญ่เป็นองค์คณะผู้สอบไล่พระปริยัติ ธรรมซึ่งทรงแปลถึงประโยค 4 จึงทรงยบติ เนื่องจากทรงได้ยินเสียงกระซิบ แสดงความไม่พอพระทัยในการแปลพระปริยัติธรรมของพระองค์จากกรม หลวงรักษ์รณเรศ)หม่อมเจ้าไกรสร โอรสรัชกาลที่ 1 ) ในการแปลครั้งนี้ นับว่าเป็นครั้งแรกในประวิติศาสตร์ที่มีพระภิกษบที่เป็นเชื้อพระวงศ์ชั้นสูง เข้ าแปลพ ระป ริยัติธ ร รมหน้ าพ ระที่นั่งพ ระมห ากษัต ริย์ ต่อม า พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงแต่งตั้งพระภิกษบเจ้าฟ้ามงกบฎ เป็นพระราชาคณะและเป็นคณะกรรมการผู้สอบไล่พระปริยัติธรรมของ คณะสงฆ์ไทยด้วยพระองค์หนึ่ง
วัดมหาธาตบยบวราษฎร์รังสฤษฎิ์ ปีระกา พ.ศ. 2368 ทรงย้ายจากวัดสมอรายมาจ าพรรษา ณ วัด มหาธาตบ จากที่พระองค์ได้ทรงศึกษาภาษามคธในพระคัมภีร์พระไตรปิฎก โดยละเอียดทบกงบับทั้งทรงสอบสวนข้อธรรมวินัยในพระพบทธศาสนา ทรง พบว่าวินัยลัทธิที่พระสงฆ์ไทยประพฤติปฏิบัติกันอยู่โดยมากในเวลานั้น คลาดเคลื่อนจากพระพบทธบัญญัติเป็นอันมาก พระองค์จึงทรงใคร่ครวญที่ จะหาผู้มีความรู้แตกงานเชี่ยวชาญในพระธรรมวินัยและไตรปิฎกตามพระ พบทธบัญญัติที่แท้จริง และต่อมาก็ทรงได้ทราบข่าวว่ามีพระมอญรูปหนึ่ง ชื่อ ชาย ซึ่งภาษาไทย แปลว่าผึ้ง มีงายาทางพระว่า “พบทธวังโส” เป็น
พระราชาคณะมอญ มีสมณศักดิ์ “พระสบเมธาจารย์” เป็นผู้เชี่ยวชาญลบ่ม ลึกในพระธรรมวินัยพระไตรปิฎกยิ่งนัก โดยเข้ามาจ าพรรษา ณ วัดบวร มงคล ฝั่งตรงข้ามกับวัดมหาธาตบ และเมื่อพระองค์ได้เสด็จไปหาแล้วทรง ธรรมสากัจงา ซักถามพระธรรมวินัย พระสบเมธาจารย์ก็ตอบได้อย่าง ชัดเจนแจ่มแจ้งเป็นที่พอพระทัยยิ่งนัก บังเกิดความเลื่อมใสในลัทธิอย่าง มอญ และทรงตั้งพระทัยที่จะทรงปฏิบัติพระธรรมวินัยในลัทธิของมอญ ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา
วัดสมอราย วัดราชาธิวาสราชวรวิหาร ในปี พ.ศ. 2372พระภิกษบเจ้าฟ้ามงกบฎได้ออกจากวัดมหาธาตบมา ประทับจ าพรรษาที่วัดสมอราย และได้ตั้งคณะธรรมยบติกนิกายขึ้นโดยมี พระที่มาร่วมประพฤติวินัยอย่างเคร่งครัดเป็นพระเถระผู้เป็นต้นวงศ์ธรรม ยบติ 10 รูป อาทิ พระปัญญาอัคคเถระ คือสมเด็จพระสมณเจ้ากรมพระ ยาปวเรศวริยาลงกรณ์ วัดบวรนิเวศวิหาร พระปบสสเถระ คือ สมเด็จ พระสังฆราช )สา( วัดราชประดิษฐ์ พระพบทธสิริเถระ คือ สมเด็จพระวัน รัต )ทับ( เป็นต้น อีกทั้งทรงให้การบรรพชาอบปสมบทแก่กบลบบตรที่ศรัทธา เลื่อมใสและทรงสงเคราะห์คฤหัสถ์ด้วยธรรมกถาอนบสาสโนวาทในธรรม วินัยสวนะ ทรงเปลี่ยนแปลงวิธีครองผ้าเป็นครองแหวกตามอย่างพระสงฆ์ รามัญ ทรงท านบบ ารบงการปฏิบัติของสงฆ์ให้ตั้งอยู่ในสังวร ไม่งมงายน า
ไสยศาสตร์มาเกี่ยวข้อง ใช้ความตริตรองให้เห็นประโยชน์แห่งการปฏิบัติ โดยเคร่งครัดในธรรมวินัย สังฆราชปัลเลกัวส์)Pallegoiux) ในครั้งที่พระองค์ประทับอยู่ ณ วัดสมอราย ได้ทรงรู้จักกับท่าน สังฆราชปัลเลกัวส์)Pallegoiux) ชาติฝรั่งเศส ท่านสังฆราชได้สอนภาษา ลาตินให้กับพระองค์ โดยพระองค์ได้ทรงสอนภาษาบาลีเป็นการ แลกเปลี่ยน อีกทั้งเมื่อประทับอยู่ ณ วัดบวรนิเวศ พระองค์ได้ทรงติดต่อ หมอสอนศาสนานิกายโปรแตสแตนท์ชาวอเมริกา คือด๊อกเตอร์คาสเวลล์ )Caswell) บรัดเล )Bradley)และเฮาซ์ )House) พระองค์ได้ศึกษา ภาษาอังกฤษกับท่านเหล่านี้ ได้ทรงเรียนพูดและเขียนได้อย่าง
คล่องแคล่ว นอกจากนั้นพวกหมอสอนศาสนาได้ช่วยเหลือพระองค์ใน การศึกษาวิทยาการแผนใหม่ โดยเงพาะอย่างยิ่งวิชาภูมิศาสตร์และดารา ศาสตร์ซึ่งพระองค์สนพระทัยเป็นอันมาก พระปฐมเจดีย์ ปี พ.ศ. 2374 พระภิกษบเจ้าฟ้ามงกบฎได้เสด็จไปยังเมืองนครชัยศรี (จังหวัดนครปฐม(นมัสการพระปฐมเจดีย์ ซึ่งในสมัยนั้นเดินทางไป ยากล าบากเพราะเป็นป่ารกชัฏ พระองค์ทรงเลื่อมใสและเชื่อถือว่าคงเป็น เจดีย์สถานของเก่า และใหญ่โตมั่นคงยิ่งกว่าพระเจดียฐานในเขตแดน
สยาม และทรงคาดว่าน่าจะมีพระบรมธาตบของสมเด็จผู้มีพระภาคเจ้า ประดิษฐาน ณ เจดีย์แห่งนี้ พระสัมพบทธพรรณี พระองค์ได้ทรงอธิษฐานขอให้เทพยดาผู้ทรงรักษาพระมหาเจดีย์นี้ จงมีเมตตากรบณาแบ่งพระบรมธาตบ 2 องค์ เพื่อน าไปบรรจบในพระพบทธรูป ที่หล่อใหม่ มีพระนามว่า “พระสัมพบทธพรรณี” และบรรจบในพระเจดีย์ ทองเหลืองหบ้มเงินองค์หนึ่ง เพื่อไว้เป็นที่เคารพบูชาในกรบงเทพฯ ต่อไป โดยตั้งพานแก้วไว้ในโพรงพระเจดียฐานด้านตะวันออก แต่เมื่อน าพาน
กลับมาก็หามีสิ่งใดไม่ ต่อเมื่อเสด็จนิวัติกลับกรบงเทพฯมาได้เดือนเศษ ณ หอพระวัดมหาธาตบได้เกิดอัศจรรย์ ประมาณเวลา 5 ทบ่ม ขณะที่พระสงฆ์ สวดมนตร์ได้ปรากฏควันสีแดงคลบ้งขึ้นและมีกลิ่นหอมเหมือนควันธูปเทียน บริเวณพระพบทธรูปประธานพระพบทธเนาวรัตน์ จนดูพระองค์เป็นสีแดง เหมือนสีนาก วันรบ่งขึ้นพระสงฆ์ในวัดมหาธาตบได้น าความขึ้นกราบทูลให้ พระองค์ทรงทราบ พระองค์จึงเสด็จลงมาทอดพระเนตรพระพบทธ เนาวรัตน์ทรงเห็นมีพระบรมสาริกธาตบที่บรรจบในองค์พระพบทธรูปนั้นมี จ านวนมากขึ้นกว่าเก่า 2 องค์ เป็นอัศจรรย์และเมื่อเสด็จด ารงสิริราช สมบัติแล้วจึงโปรดให้บูรณะปฏิสังขรณ์พระปฐมเจดีย์เป็นการใหญ่โดย สร้างเป็นพระเจดีย์องค์ใหญ่ครอบองค์เดิมไว้ทั้งองค์ เสด็จธบดงค์สบโขทัยพบพระแท่นมนังคศิลาบาตรและศิลาจารึกพ่อขบนรามฯ พระแท่นมนังคศิลาบาตร
ในปี พ.ศ.2376 พระภิกษบเจ้าฟ้ามงกบฎได้เสด็จธบดงค์ไปยังจังหวัด สบโขทัย ได้เสด็จไปบริเวณเมืองเก่า ทรงพบแท่นศิลาอันใหญ่ตั้งอยู่ใกล้ ปราสาทเก่า ซึ่งเป็นสิ่งที่ประชาชนในแถบนั้นนับถือเป็นของศักดิ์สิทธ์ หลักศิลาจารึกพ่อขบนรามค าแหง นอกจากแท่นหินแล้วยังทรงพบหลักศิลาจารึกอีก 2 หลัก หลักหนึ่ง จารึกเป็นอักษรขอม อีกหลักหนึ่งจารึกเป็นภาษาไทยโบราณ พระองค์ โปรดให้น าพระแท่นและหลักศิลาทั้ง 2 หลักลงมากรบงเทพฯ มา ประดิษฐานไว้ที่วัดสมอราย ซึ่งพระแท่นศิลานั้นคือ พระแท่นมนังคศิลา บาตรในสมัยพ่อขบนรามค าแหง ส่วนจารึกหลักที่เป็นอักษรขอมจารึกใน สมัยพระมหาธรรมราชาลิไทย ส่วนหลักศิลาจารึกอักษรไทยโบราณเป็น
หลักศิลาจารึกของพ่อขบนรามค าแหง ซึ่งต่อมาเป็นหลักฐานส าคัญทาง ประวัติศาสตร์และอักษรศาสตร์ในสมัยสบโขทัย ภายหลังพ่อขบนรามค าแหง จึงได้รับการยกย่องเป็น “พ่อขบนรามค าแหงมหาราช” เนื่องจากศิลาจารึก ที่พระภิกษบเจ้าฟ้ามงกบฎน ากลับมาจากสบโขทัยนั่นเอง พระราชวังนารายณ์ราชนิเวศน์ ลพบบรี จากการเสด็จธบดงค์ไปยังจังหวัดต่าง ๆ ได้ทรงค้นพบหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ที่ส าคัญหลายประการ และโบราณสถานทรงคบณค่า เมื่อ พระองค์ได้ขึ้นครองราชย์แล้วก็โปรดให้ซ่อมแซมโบราณสถานในจังหวัดที่ เคยเสด็จธบดงค์ อาทิ ซ่อมแซมพระราชวังนารายณ์ราชนิเวศน์ที่ ลพบบรี พระพบทธบาทที่สระบบรี วิหารวัดพระพบทธชินราชที่พิษณบโลก
วัดบวรนิเวศวิหาร เมื่อพระเทพโมลี (สิน( เจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศวิหารลาสิกขาบท พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงอาราธนาพระภิกษบสมเด็จ เจ้าฟ้ามงกบฎ ซึ่งผนวชประทับอยู่วัดสมอราย ให้เสด็จมาครองวัดบวรนิเวศ วิหาร และทรงสร้างพระต าหนักพระราชทาน คือ พระต าหนักปั้นหยาตึก ฝรั่งพื้น 3 ชั้น และพระองค์เสด็จมาอยู่ครองวัดนี้เมื่อวันพบธที่ 11 มกราคม 2379 วัดบวรนิเวศซึ่งคนทั่วไปเรียกกันว่า “วัดบน” เมื่อเสด็จประทับจ า พรรษา ณ วัดแห่งนี้ทรงตั้งขนบธรรมเนียมไว้ส าหรับวัดคือ ตั้งการ นมัสการพระเป็นการท าวัตรทั้งเช้า ค่ า ประจ าวัน พระองค์ทรงแต่งค า นมัสการขึ้นใหม่เป็นภาษามคธ เป็นค าร้อยแก้วเป็นพระคาถา และนิยมใช้ กันแพร่หลายต่อมาทั้งทรงตั้งการท าบูชาพิเศษในอภิลักขิตสมัยแห่ง สมเด็จพระบรมศาสดา คือท ามาฆบูชาในเพ็ญเดือน 3 และวิสาขบูชาใน เพ็ญเดือน 6 ทรงชักน าการบ าเพ็ญกบศลต่าง ๆ อย่างอื่นอีกตามเทศกาล
อาทิ ถวายสลากภัตรหน้าผลไม้ ถวายผ้าจ าน าพรรษาเมื่อออก พรรษา นอกจากนั้นยังทรงบ ารบงการเรียนพระปริยัติธรรมให้รบ่งเรือง พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ปี พ.ศ.2394 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระ ประชวร มีพระอาการปรากฏให้เห็นคือพระบังคลเบาขบ่นข้นเป็นตะกอน พระวรกายก็ทรบดโทรม บรรทมไม่หลับ ให้ทรงคลื่นเหียน เสวยพระกระยา หารไม่ค่อยได้ ไม่สบายพระองค์ ถึงประชบมแพทย์พระโอสถอาการก็ไม่ดี จึงเสด็จแปรพระราชฐานจากพระที่นั่งจักรพรรดิพิมานองค์ตะวันออกซึ่ง เป็นที่บรรทมแต่เดิมมาประทับอยู่ ณ พระที่นั่งตะวันตก เมื่อพระอาการ ทรบดหนักโดยล าดับใกล้สวรรคตพระองค์มิได้แต่งตั้งองค์รัชทายาทด้วย
พระองค์เองทั้ง ๆที่พระองค์มีพระราชโอรสและพระราชธิดา รวมทั้งสิ้น 51 พระองค์ โดยประสูติก่อนพระบรมราชาภิเษก 38 พระองค์ และ ประสูติเมื่อบรมราชาภิเษกแล้ว 13 พระองค์ แต่กลับทรงพระราชทาน พระบรมราชานบญาตให้พระบรมวงศานบวงศ์คณะเสนาบดีขบนนางผู้ใหญ่ เลือกพระเจ้าแผ่นดินตามเห็นสมควร ครั้นถึงวันพบธ เดือน 5 ปีกบน โทศก จบลศักราช 1212 เวลา 8 ทบ่ม ห้า บาท ซึ่งตรงกับ วันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2394 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า เจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต ขึ้นครองราชย์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขึ้นครองราชย์
พระภิกษบเจ้าฟ้ามงกบฎ เมื่อสิ้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบรมวงศา นบวงศ์และคณะเสนาบดีได้ประชบมพร้อมกันมีมติให้อันเชิญพระภิกษบเจ้าฟ้า มงกบฎขึ้นครองราชย์ วันรบ่งขึ้นเจ้าพระยาพระคลัง (ดิส บบนนาค( ว่าที่สมบห กลาโหม และข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ได้ไปที่วัดบวรนิเวศน์เพื่ออันเชิญ พระภิกษบเจ้าฟ้ามงกบฎขึ้นครองราชย์ พระองค์ทรงรับอาราธนาด้วยดบษณีย ภาพยินดีจะเป็นพระมหากษัตริย์จึงเสด็จออกจากวัดบวรนิเวศไปประทับ อยู่ในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระบรมมหาราชวังในค่ าวันนั้น และวันที่ 5 พฤษภาคม 2394 พระองค์ทรงลาผนวชต่อหน้าพระราชาคณะ ฐานานบกรมเปรียญ 30 รูป อันเป็นพระสงฆ์ธรรมยบติกนิกาย แล้วเสด็จไป ประทับ ณ พลับพลา หน้าคลังศบภรัตน์ข้างวัดพระศรีรัตนศาสดาราม พอ ถึงวันพฤหัสบดีที่ 15 พฤษภาคม 2394 พระองค์เสด็จสรงน้ ามบรธาภิเษก
ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก และเสด็จเงลิมพระราชมณเฑียรสถาน ตามโบราณขัตติยราชประเพณี มีจารึกพระบรมนามาภิไธยในพระ สบพรรณบัตรว่า “พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกบฎ สบทธิสมมบติเทพยพง ศวงศาดิศรกษัตริย์ วรขัตติยราชนิกโรดม จาตบรันตบรมมหาจักรพรรดิราช สังกาศ อบภโตสบชาติสังสบทธิเคราะหณีจักรีบรมนารถ อดิศวรราชรามวรัง กูล สบจริตมูลสบสาธิตอบกฤษฐวิบูลย บบรพาดูลยกฤษฎาภินิหาร สบภาธิการ รังสฤษดิ ธัญญลักษณ์ วิจิตรโสภาคสรรพางค์ มหาชนโนตมางค ประนต บาทบงกชยบคล ประสิทธิสรรพสบภผลอบดม บรมสบขบมาลยมหา บบรบษยรัตน ศึกษาพิพัฒนสรรพโกศล สบวิสบทธิวิมล ศบภศีลสมาจารย์ เพ็ช รญาณประภาไพโรจน์ อเนกโกฏิสาธบคบณวิบูลยสันดาน ทิพยเทพาวตาร ไพศาลเกียรติคบณอดบลยพิเศษ สรรพเทเวศรานบรักษ์เอกอัครมหาบบรบษ สบต พบทธมหากระวีตรี ปิฎกาทิโกศล วิมลปรีชามหาอบดมบันฑิต สบนทรวิจิตร ป ฏิ ภ า ณ บ ริ บู ร ณ์ คบ ณ ส า รั ส ย า ม า ทิ โ ล ก ย ดิ ล ก ม ห า ป ริ ว า ร นายก อนันต์ มหันตวรฤทธิเดช สรรพวิเศษสิรินทร มหาชนนิกรสโมสร สมมติ ประสิทธิวรยศมโหดมบรมราชสมบัตินพปดลเศวตงัตราดิงัตร สิริ รัตโนปลักษณ์มหาบรมราชาภิเศกาภิษิต สรรพทศทิศวิชัตชัย สกลมไหศว ริยมหาสวามินทรมเหศวรมหินทรมหาราชาธิราชวโรดม บรมนารถชาติอา ชาวศรัย พบทธาทิไตรรัตนสรณารักษ์ อบกฤษฐศักดิ์อัครนเรศราธิบดี เมตตา ก รบ ณ า สี ต ล ห ฤ ทั ย อโ น ป มั ย บบ ญ ก า ร ส ก ลไ พ ศ า ล ม ห า รัษ ฎ า ธิเบนทร ปรเมนทรธรรมิกมหาราชาธิราชบรมนารถบรมบพิตร พระจอม เกล้าเจ้าอยู่หัวฯเสด็จเถลิงถวัลราชย์ในพระบรมมหาราชวัง กรบงเทพฯ
กรมหลวงรักษรณเรศ (หม่อมเจ้าไกรสร( การขึ้นครองราชย์ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ใช่จะราบรื่นโดยง่ายดาย ได้มีผู้แสดงตนเป็นศตรูขัดขวางคือ กรมหลวงรักษรณเรศ (หม่อมเจ้าไกรสร( พระโอรสในพระบาทสมเด็จ พระพบทธยอดฟ้าจบฬาโลก รัชกาลที่ 1 กับเจ้าจอมมารดาน้อยแก้ว ธิดา พระจักรีเมืองนครราช ศรีธรรมราช ซึ่งได้แสดงตนเป็นศตรูกับพระองค์ ตั้งแต่คราวที่เสด็จแปลพระปริยัติธรรมหน้าพระที่นั่งรัชกาลที่ 3 เมื่อ พระองค์ได้รับความเห็นชอบจากพระบรมวาศานบวงศ์ให้ขึ้นครองราชย์ท า ให้กรมหลวงรักษรณเรศไม่เห็นชอบไม่พอพระทัย จึงน าก าลังขัดขวาง ท้ายสบดกรมหลวงรักษรณเรศก็ถูกจับและถูกลงพระราชอาญาส าเร็จโทษ
ทรงแต่งตั้งเจ้าฟ้ากรมขบนอิศเรศรังสรรค์ พระอนบชาให้ด ารงพระยศเสมอ ด้วยพระมหากษัตริย์ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อพระองค์ได้ขึ้นครองราชย์แล้ว ทรงแต่งตั้งเจ้าฟ้ากรมขบนอิศเรศ รังสรรค์ พระอนบชาให้ด ารงพระยศเสมอด้วยพระมหากษัตริย์อีกพระองค์ หนึ่ง ทรงพระนามว่า “พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว แทนที่จะ แต่งตั้งให้ขึ้นเป็นสมเด็จกรมพระราชวังบวรฯตามประเพณีสืบมาเพราะ ทรงมีความรักใคร่ผูกพันเคยร่วมทบกข์ร่วมสบขมาแต่ก่อน ทั้งทรงมีพระ ป รีช าส าม า รถ รอบ รู้ก า รในพ ระนค รแล ะก า รต่ างป ร ะเทศทั้ง ขนบธรรมเนียมและศิลปศาสตร์เป็นอันมากทั้งพระบรมวงศานบวงศ์และ เสนาบดีนิยมยินดีนับถือโดยทั่วกัน
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นเสวยราชย์ เมื่อ พ.ศ. 2394 ซึ่งในช่วงแรกของการขึ้นครองราชย์นับว่าเป็นระยะหัวเลี้ยว หัวต่อที่ส าคัญยิ่งของประเทศ มหาอ านาจในยบโรปแผ่อิทธิพลเข้า ครอบครองดินแดนส่วนใหญ่ในทวีปเอเชีย พระองค์ทรงหาหนทาง แก้ไขโดยทรงปรับเปลี่ยนทัศนะในการปกครองประเทศโดยทรง ผสมผสานระหว่างตะวันตกและตะวันออกคือพร้อมรับอารยธรรม สมัยใหม่แบบตะวันตกทั้งวางพระองค์ประดบจดังบิดาของประชาชนแบบ ตะวันออก พระองค์ทรงมีบบญคบณต่อประเทศชาติอย่างอเนกอนันต์ ทรง เป็นอัจงริยกษัตริย์น าประเทศชาติให้พ้นจากการเข้าครอบครองของนัก ล่าอาณานิคมตะวันตกอาทิ อังกฤษ ฝรั่งเศส
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์เป็นกษัตริย์ในแถบเอเชียเพียงพระองค์เดียวที่สามารถน า ประเทศชาติให้รอดพ้นจากบรรดานักล่าอาณานิคม ทรงรักษาอิสรภาพ ของประเทศไทยไว้ได้โดยศึกษาบทเรียนจากประเทศอื่น ๆ ที่ต้องตกเป็น เมืองขึ้นอันเนื่องจากมีวิเทโศบายที่ผิดพลาดปิดประเทศไม่ยอมรับอิทธิพล ของประเทศทางตะวันตก พระองค์ทรงคิดว่าวิธีเดียวที่ประเทศไทยจะคง อยู่ได้ก็คือ ต้องพยายามรับเอาอิทธิพล ความรู้ การปกครองของตะวันตก มาประยบกต์พัฒนาปรับปรบงประเทศชาติให้ทันสมัย พระองค์ทรง ตระหนักดีถึงผลที่เกิดขึ้นในประเทศจีน เมื่อประเทศนั้นพยายามผลักดัน ชาวตะวันตกออกไป ทรงทราบดีว่าประเทศจีนแพ้ในสงคราม ฝิ่น ประเทศไทยต้องไม่ท าตามอย่างจีนต้องยกเลิกการอยู่อย่าง โดดเดี่ยว อย่างที่เคยท ากันมา ต้องยอมเปิดประเทศท าการค้ากับต่างชาติ
และรับความคิดเห็นใหม่ ๆ แก้ไขเปลี่ยนแปลงประเพณีอันล้าสมัยของ ตน ทั้งจ าต้องศึกษาหาความรู้เข้าใจในวิชาการ ความคิด และการ ปกครองบ้านเมืองแบบตะวันตก ด้วยการทรงวางนโยบายการปกครองที่ งลาดล้ าลึกยากที่จะหาผู้ใดเสมอเหมือน นอกจากนี้พระองค์ยังทรง ยอมรับฟังความคิดเห็นของคนส่วนใหญ่ทั้งได้ทรงจัดระบบการปกครองให้ ทันสมัยทัดเทียมกับอารยประเทศ และยังทรงเป็นผู้น าที่ก้าวหน้าทาง วิทยาการแผนใหม่ ท าให้ชาติไทยเจริญก้าวหน้ารอดพ้นจากการตกเป็น เมืองขึ้นของนักล่าอาณานิคมตะวันตก กระบวนเสด็จรัชกาลที่ 4 เสด็จไปยังวัดพระเชตบพลวิมลมังคลาราม
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระมหากรบณาธิคบณ เป็นอเนกอนันต์หาที่สบดมิได้ ด้วยพระราชกรณียกิจใหญ่น้อยทั้งปวงที่ทรง กระท าอันแสดงถึงพระอัจงริยะของพระองค์ไม่ว่าจะเป็นการปกครอง การทูต หรือทางด้านวิชาการ ซึ่งจะหามหากษัตริย์ที่พระปรีชาสามารถ เทียบเท่าพระองค์ได้ยากยิ่งและพระราชกรณียกิจที่ส าคัญอันท าให้ ประเทศชาติอยู่รอดปลอดภัยประชาไทยประสบสบขเป็นผลมาจาก หลักธรรมทางศาสนาประกอบกับการใช้ชีวิตในระหว่างที่ทรงผนวชที่ต้อง คลบกคลีกับสามัญชน จึงท าให้พระองค์ท่านทรงเมตตาต่อราษฎรของ พระองค์อย่างแท้จริง ทรงเห็นว่าไม่มีประโยชน์ที่จะไปยึดตามโบราณราช ประเพณีที่มบ่งจะรักษาความปลอดภัยโดยการห้ามราษฎรเฝ้าใกล้ชิดและ มองดูพระมหากษัตริย์ของตน จึงมีพระราชด าริเปิดโอกาสให้แก้ไขตาม ความเหมาะสม
พระราชลัญจกรรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชลัญจกรประจ ารัชกาลที่ 4 เรียกว่า พระราชลัญจกรพระมหามงกบฎ ลักษณะเป็นรูปกลมรี ลาย กลางเป็นรูปพระมหาพิชัยมงกบฎ อันเป็นพระราชสัญลักษณ์ของพระบรม นามาภิไธยว่า "มงกบฎ" ซึ่งเป็นศิราภรณ์ส าคัญของพระมหากษัตริย์ อยู่ใน เครื่องเบญจราชกบธภัณฑ์ มีงัตรบริวารตั้งขนาบข้างที่ริมขอบทั้งสองข้าง มี พานทองสองชั้นวางพระแว่นสบริยกานต์หรือเพชรข้างหนึ่ง สมบดต าราข้าง หนึ่ง รูปพระแว่นสบริยกานต์หรือเพชรนี้มาจากงายาเมื่อผนวชว่า "วชิร ญาณ" ส่วนสมบดต ารามาจากเหตบที่ได้ทรงศึกษาเชี่ยวชาญในทางอักษร ศาสตร์และดาราศาสตร์ องค์พระราชลัญจกรนี้เป็นตรากลมรีรูปไข่ แนวนอน กว้าง 5.5 เซนติเมตร ยาว 6.8 เซนติเมตร
พระบรมราชอิสริยยศ สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้า )18 ตบลาคม พ.ศ. 2347 - 8 มีนาคม พ.ศ. 2356) สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามงกบฎสมมติเทววงศ์ พงศ์อิศวร กษัตริย์ วรขัตติยราชกบมาร )8 มีนาคม พ.ศ. 2356 - 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2367) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามกบฎสมมติวงศ์ พระวชิรญาณมหา เถร )7 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 - 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2394) พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกบฎฯ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว )15 พฤษภาคม พ.ศ. 2394 - 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2459) ภายหลังการสวรรคต พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหามงกบฎ พระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว )11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2459 - สมัยรัชกาลที่ 7) พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกบฎฯ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว )สมัยรัชกาลที่ 7 - 18 ตบลาคม พ.ศ. 2562) พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหามงกบฎ พระ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระสยามเทวมหามกบฏวิทยมหาราช )18 ตบลาคม พ.ศ. 2562 - ปัจจบบัน(
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย พ.ศ. 2404 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคล นพรัตนราชวราภรณ์ (น.ร.( )ฝ่ายหน้า( พ.ศ. 2404 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่ง ช้างเผือก ชั้นที่ 1 ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.( ดาราไอยราพต (เครื่องต้น( ดาราไอยราพต )องค์รอง( เครื่องอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ ฝรั่งเศส : เครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ ชั้น ประถมาภรณ์ )พ.ศ. 2406) พระราชสมัญญานาม พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย พระสยามเทวมหามกบฏวิทยมหาราช ชั้นยศ จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ
ธรรมเนียมพระยศของ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ธงประจ าพระอิสริยยศ ตราประจ าพระองค์ การทูล ใต้ฝ่าละอองธบลีพระบาท การแทนตน ข้าพระพบทธเจ้า การขานรับ พระพบทธเจ้าข้าขอรับ/เพคะ
พระพบทธรูปประจ ารัชกาลที่ 4 พระชัยวัฒน์พระประจ ารัชกาลที่ 4 และ พระชัยเนาวโลหะ)พระชัยนวโลหะเนื้อสัมฤทธิ์เหลือง(
วัดประจ ารัชกาลที่ 4 วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิด ราชวรวิหาร ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ สร้างขึ้น ตามธรรมเนียมประเพณีโบราณที่ว่า ในราชธานีจะต้องมีวัด ส าคัญประจ า 3 วัด คือ วัดมหาธาตบ วัดราชบูรณะ และวัดราชประดิษฐาน เช่นที่สบโขทัย สวรรคโลก พิษณบโลก และพระนครศรีอยบธยา แต่ในสมัย รัตนโกสินทร์ สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสบรสิงหนาท กรมพระราชวังบวร สถานมงคลในรัชกาลที่ 1 โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาวัดสลัก เป็นวัด นิพพานารามและเปลี่ยนเป็นวัดพระศรีสรรเพชญ์ แต่ต่อมามีพระราชด าริ
ว่า ในกรบงเทพฯ ยังไม่มีวัดมหาธาตบ จึงเปลี่ยนชื่อวัดพระศรีสรรเพชญ์เป็น วัดมหาธาตบ และพระสัมพันธวงศ์เธอ กรมหลวงเทพหริรักษ์ พระโอรสใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสบดารักษ์ พระเชษฐภคินีใน รัชกาลที่ 1 ทรงบูรณะวัดเลียบ ต่อมา ได้นามว่าวัดราชบูรณะ ยังคงขาด แต่วัดราชประดิษฐฯ เท่านั้น จึงทรงสร้างขึ้นใหม่เพื่อให้ครบตามโบราณ ราชประเพณี และเพื่อพระอบทิศถวายแก่พระสงฆ์ฝ่ายธรรมยบติกนิกาย เพื่อที่พระองค์เองและเจ้านาย ข้าราชการ ที่จะไปท าบบญที่วัดฝ่าย ธรรมยบติกนิกายใกล้พระบรมมหาราชวังได้สะดวก วัดราชประดิษฐจึงเป็น วัดฝ่ายธรรมยบติกนิกายวัดแรกที่สร้างขึ้นเพื่อพระสงฆ์ในนิกายนี้ เพราะวัด อื่น ๆ ของฝ่ายธรรมยบติเป็นวัดที่แปลงมาจากวัดของมหานิกาย
รายพระนามและรายนามพระภรรยาเจ้า เจ้าจอมมารดา เจ้าจอม ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระภรรยาเจ้า 3 พระองค์ เจ้าจอมมารดา เจ้าจอม 56 พระองค์ รวม 59 พระองค์ พระภรรยาเจ้า ล าดับ พระบรมงายาลักษณ์ พระนาม 1. สมเด็จพระนางเธอ พระองค์เจ้าโสมนัสวัฒนาวดี ในที่สมเด็จพระนางนาฏบรมอรรคราชเทวี ต าแหน่ง : พระอัครมเหสี พระนามเดิม: หม่อมเจ้าโสมนัส ในพระองค์เจ้าลักขณานบคบณ พระราชสมภพ : 21 ธันวาคม พ.ศ. 2377 สวรรคต : 10 ตบลาคม พ.ศ. 2395 (17 พรรษา(
ล าดับ พระบรมงายาลักษณ์ พระนาม 2. สมเด็จพระนางเธอ พระองค์เจ้าร าเพยภมราภิรมย์ ในที่สมเด็จพระนางนาถราชเทวี ต าแหน่ง : พระอัครมเหสี พระนามเดิม: หม่อมเจ้าร าเพย ในกรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ พระราชสมภพ : 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2377 สวรรคต : 9 กันยายน พ.ศ. 2404 (27 พรรษา( 3. หม่อมเจ้าพรรณราย พระนามเดิม: หม่อมเจ้าแง่ ในกรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ ประสูติ: 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2381 สิ้นพระชนม์: 22 มิถบนายน พ.ศ. 2457 (76 ปี( เจ้าจอมมารดา ล าดับ รูป นาม 1. เจ้าจอมมารดากลิ่น ต าแหน่ง : พระสนมเอก นามเดิม: กลิ่น, ซ่อนกลิ่น )สกบลเดิม คชเสนี( เกิด : พ.ศ. 2377 ถึงแก่อสัญกรรม : 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 (91 ปี( 2. เจ้าจอมมารดาเกศ, เกษ เกิด : พ.ศ. 2362 ถึงแก่อสัญกรรม : 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2458 (96 ปี( [11]
ล าดับ รูป นาม 3. เจ้าจอมมารดาแก้ว นามเดิม: แก้ว )สกบลเดิม บบรณศิริ( เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : 24 มกราคม พ.ศ. 2444 4. เจ้าจอมมารดาเขียน นามเดิม: เขียน )สกบลเดิม สิริวันต์( งายา : เขียนอิเหนา เกิด : พ.ศ. 2385 ถึงแก่อสัญกรรม : พ.ศ. 2484 (99 ปี( 5. เจ้าจอมมารดาจันทร์ ต าแหน่ง : พระสนมเอกนามเดิม: จันทร์ )สกบลเดิม สบขสถิต( เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : 24 กบมภาพันธ์ พ.ศ. 2448[13] 6. เจ้าจอมมารดาชบ่ม นามเดิม: ชบ่ม )สกบลเดิม โรจนดิศ( เกิด : พ.ศ. 2387 ถึงแก่อสัญกรรม : 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2466 (80 ปี( 7. เจ้าจอมมารดาเชย เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : 17 ธันวาคม พ.ศ. 2451[14]
ล าดับ รูป นาม 8. เจ้าจอมมารดาดวงค า นามเดิม: เจ้าหนูมั่นแห่งเวียงจันทน์ งายา : มั่นดวงค า เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : 29 ตบลาคม พ.ศ. 2449 9. เจ้าจอมมารดาตลับ ต าแหน่ง : พระสนมเอก นามเดิม: ตลับ )สกบลเดิม บบณยรัตพันธบ์( เกิด : พ.ศ. 2375 ถึงแก่อสัญกรรม : พ.ศ. 2427 (52 ปี( 10. เจ้าจอมมารดาเที่ยง ต าแหน่ง : พระสนมเอกนามเดิม: เที่ยง )สกบลเดิม โรจนดิศ( เกิด : 27 ธันวาคม พ.ศ. 2374 ถึงแก่อสัญกรรม : 24 มกราคม พ.ศ. 2456 (81 ปี( 11. เจ้าจอมมารดาน้อย นามเดิม: คบณหญิงน้อย เกิด : 24 ตบลาคม พ.ศ. 2348ถึงแก่อสัญกรรม : พ.ศ. 2389–2400 (ราว 41–52 ปี( 12. เจ้าจอมมารดาบัว นามเดิม: บัว )สกบลเดิม ณ นคร( เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : 31 มีนาคม พ.ศ. 2441
ล าดับ รูป นาม 13. เจ้าจอมมารดาเปี่ยม ต าแหน่ง : พระสนมเอก [19] นามเดิม: เปี่ยม )สกบลเดิม สบจริตกบล( ประสูติ: 5 มีนาคม พ.ศ. 2381 พิราลัย : 13 เมษายน พ.ศ. 2447 (66 ปี( 14. เจ้าจอมมารดาพึ่ง, ผึ้ง ต าแหน่ง : พระสนมเอกนามเดิม: เต่า )สกบลเดิม อินทรวิมล( เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : 9 มีนาคม พ.ศ. 2433 (53 ปี( [13] 15. เจ้าจอมมารดาพบ่ม นามเดิม: พบ่ม )สกบลเดิม ณ ราชสีมา( เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : ไม่มีข้อมูล 16. เจ้าจอมมารดาเพ็ง นามเดิม: หบ่น งายา : หบ่นเมขลา เกิด : พ.ศ. 2386 ถึงแก่อสัญกรรม : 28 กันยายน พ.ศ. 2432[20] 17. เจ้าจอมมารดาแพ ต าแหน่ง : พระสนมเอก [13] นามเดิม: แพ )สกบลเดิม ธรรมสโรช( เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2404
ล าดับ รูป นาม 18. เจ้าจอมมารดามาไลย เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : ไม่มีข้อมูล 19. เจ้าจอมมารดาวาด ต าแหน่ง : พระสนมเอก นามเดิม : แมว )สกบลเดิม งามสมบัติ( งายา : แมวอิเหนา เกิด : 11 มกราคม พ.ศ. 2384 ถึงแก่อสัญกรรม : 25 กบมภาพันธ์ พ.ศ. 2482 (98 ปี( 20. เจ้าจอมมารดาสังวาล ต าแหน่ง : พระสนมโทนามเดิม: ปล้อง )สกบลเดิม ณ ราชสีมา( สมญา : หนูสังวาลย์ เกิด : พ.ศ. 2381 ถึงแก่อสัญกรรม : 8 กันยายน พ.ศ. 2456 (75 ปี( 21. เจ้าจอมมารดาส าลี ต าแหน่ง : พระสนมเอกนามเดิม: ส าลี )สกบลเดิม บบนนาค( เกิด : พ.ศ. 2378 ถึงแก่อสัญกรรม : 21 มกราคม พ.ศ. 2443 (65 ปี(
ล าดับ รูป นาม 22. เจ้าจอมมารดาสบ่น นามเดิม: ยี่สบ่น )สกบลเดิม สบกบมลจันทร์( เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : 3 กันยายน พ.ศ. 2443 23. เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์แสง นามเดิม: หม่อมราชวงศ์แสง )สกบลเดิม ปาลกะวงศ์( เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : ไม่มีข้อมูล 24. เจ้าจอมมารดาหรบ่น นามเดิม : หรบ่น )สกบลเดิม ศบภมิตร( เกิด : พ.ศ. 2384 ถึงแก่อสัญกรรม : 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2472 (88 ปี( 25. เจ้าจอมมารดาห่วง เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : พ.ศ. 2463 26. เจ้าจอมมารดาหว้า เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : ไม่มีข้อมูล
ล าดับ รูป นาม 27. เจ้าจอมมารดาหบ่น เกิด : พ.ศ. 2383[25] ถึงแก่อสัญกรรม : 16 มีนาคม พ.ศ. 2467 28. เจ้าจอมมารดาเหม งายา : แฝดเหม เกิด : พ.ศ. 2382 ถึงแก่อสัญกรรม : 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2465 (83 ปี( [26] 29. เจ้าจอมมารดาโหมด ต าแหน่ง : พระสนมโท นามเดิม: โหมด )สกบลเดิม อินทรวิมล( เกิด : พ.ศ. 2381 ถึงแก่อสัญกรรม : 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2462 (81 ปี( [12] 30. เจ้าจอมมารดาอิ่ม, อินทร์ เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : 19 ตบลาคม พ.ศ. 2450[27] 31. เจ้าจอมมารดาเอม นามเดิม: เอม )สกบลเดิม นาครทรรพ( เกิด : พ.ศ. 2382 ถึงแก่อสัญกรรม : 5 กบมภาพันธ์ พ.ศ. 2456 (75 ปี( [28]
ล าดับ รูป นาม 32. เจ้าจอมมารดาเอี่ยม เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : 3 ตบลาคม พ.ศ. 2443[29] เจ้าจอม ล าดับ รูป นาม 1. เจ้าจอมกลีบ เกิด : พ.ศ. 2391 ถึงแก่อสัญกรรม : ไม่มีข้อมูล 2. เจ้าจอมพระองค์เจ้าก าโพชราชสบดาดวง พระนามเดิม : นักเยี่ยม ประสูติ: พ.ศ. 2394 สิ้นพระชนม์: ไม่มีข้อมูล 3. เจ้าจอมกบหลาบ นามเดิม : กบหลาบ )สกบลเดิม ณ นคร( เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : ไม่มีข้อมูล
ล าดับ รูป นาม 4. เจ้าจอมกบหลาบ นามเดิม : กบหลาบ )สกบลเดิม ณ สงขลา( เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : ไม่มีข้อมูล 5. เจ้าจอมเกด เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : ไม่มีข้อมูล 6. เจ้าจอมเกตบ นามเดิม : เกตบ )สกบลเดิม ณ นคร( เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : ไม่มีข้อมูล 7. เจ้าจอมเขียน นามเดิม : เขียน )สกบลเดิม ณ นคร( เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : ไม่มีข้อมูล 8. เจ้าจอมจับ นามเดิม : จับ )สกบลเดิม ณ นคร( เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : ไม่มีข้อมูล
ล าดับ รูป นาม 9. เจ้าจอมช้อย นามเดิม : ช้อย )สกบลเดิม โรจนดิศ( เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : ไม่มีข้อมูล 10. เจ้าจอมตาด เกิด : พ.ศ. 2369 ถึงแก่อสัญกรรม : ไม่มีข้อมูล 11. เจ้าจอมทองดี เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : ไม่มีข้อมูล 12. เจ้าจอมทับทิม นามเดิม : ทับทิม )สกบลเดิม ณ นคร( เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : ไม่มีข้อมูล 13. เจ้าจอมทับทิม นามเดิม : ทับทิม )สกบลเดิม เพ็ญกบล( เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : ไม่มีข้อมูล
ล าดับ รูป นาม 14. เจ้าจอมทับทิม นามเดิม : ทับทิม )สกบลเดิม วัชโรทัย( เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : ไม่มีข้อมูล 15. เจ้าจอมทับทิม นามเดิม : ทับทิม )สกบลเดิม สบรคบปต์( เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : ไม่มีข้อมูล 16. เจ้าจอมทิพย์ เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : ไม่มีข้อมูล 17. เจ้าจอมบบนนาค เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : ไม่มีข้อมูล 18. เจ้าจอมประทบม นามเดิม : เจ้าประทบมแห่งเวียงจันทน์ เกิด : ไม่มีข้อมูล ถึงแก่อสัญกรรม : ไม่มีข้อมูล